ส� ำ รวม The Restraint of the Senses
บ ดสอ ท ร งกา u ย ี พ เ u น้า นี้เป็นพ์ใน issวิสทิทุกธิห์ โพธิ อ ื ส าก หนัง พิม ังไม่ครบ �ำนวนมวัฒน์ าย ี่ผิดจ เนื้อหยังมีค�ำท ั้ง อีกท
ส�ำรวม วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์ พิมพ์ครั้งแรก : กุมภาพันธ์ 2556
ส�ำนักพิมพ์บุ๊กเกอร์
2
สํ า ร ว ม
3
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
คำ�นำ�
ทันทีทลี่ งมือเขียนเรือ่ งส�ำรวม ผูเ้ ขียนก็รสู้ กึ ได้ทนั ทีวา่ ตนก�ำลังเสีย่ งหยัง่ เท้าลงในมหาสมุทร ทีซ่ งึ่ กว้างใหญ่ และ ลึกสุดยากจะหาที่เหยียบยืน เพราะเหตุว่า เป็นการเขียน ที่เลียบเคียงแนวค�ำสอนทางพระพุทธศาสนา อีกทั้งเรื่อง ดังกล่าวก็มเี นือ้ หามากมายทีเ่ กีย่ วร้อยกัน ซึง่ นับเป็นเรือ่ ง ยาก ต้องใช้ความระมัดระวังในการเขียน ข้อความต่างๆ ที่ประกอบด้วยทัศนะความเห็นของผู้เขียนจะต้องไม่สวน ทางกับหลักการ แล้วเมื่อการเขียนล่วงไปเรื่อยๆ ก็ยิ่งมอง เห็นรายละเอียดทีเ่ ชือ่ มโยงกันเป็นสาย ไม่สามารถเพิม่ เติม เข้ามาในบทความฉบับขนาดสั้นเรื่องนี้ได้หมด ดังนั้น จึง เป็นความรู้สึกที่อุปมาว่าก�ำลังยืนในมหาสมุทร บทความเรื่อง ส�ำรวม เป็นเพียงการท�ำสังเขป ของผลการศึกษาธรรมะภาคปฏิบัติโดยผู้เขียน เป็นการ
4
สํ า ร ว ม
อธิบายด้วยการเล่าเรือ่ งแบบแลกเปลีย่ นระหว่างเพือ่ น และ ในธรรมชาติการเล่าแบบนีก้ ไ็ ม่ได้ใช้หลักวิชาการ แต่กระนัน้ เมื่อน�ำมาเผยแพร่จึงพยายามตรวจสอบว่าบางถ้อยค�ำที่ พาดพิงไปถึงหลักค�ำสอนนั้นข้อเขียนเหล่านี้ ความนั้นๆก็ ต้องไม่ย้อนแย้งหรือสวนทางกับพุทธวจนต่างๆ โดยมากเรามักจะได้ยนิ จากการบอกสอนว่า การศึกษา (ปฏิบัติ) พุทธธรรมนั้น เป็นการท�ำที่พึ่งให้กับตนเอง เพราะ ในสงสารสาครนี้เต็มไปด้วยภัย ซึ่งภัยจากภายนอกตัวนั้นก็ นับว่าส�ำคัญ แต่ภัยที่ส�ำคัญมากกว่าคือภัยที่ไม่ได้มองเห็น โดยตาเนื้อ นั่นก็คือภัยจากภายใน ภัยนี้เกิดแก่เราเงียบๆ แต่ให้ผลที่รุนแรง ภัยนี้อาศัยอยู่กับเรา และกัดกินเราอยู่ทุก ลมหายใจทัง้ เวลาทีเ่ ราเกิดสุขและเวลาทีเ่ ราเกิดทุกข์ ภัยจาก ภายนอกนั้นบางครั้งเราป้องกันตัวเองด้วยที่ก�ำบัง ด้วยการ เดินหนี ด้วยการร้องขอ เหตุนนั้ ยังได้รบั ความปราณีบา้ ง แต่ ภัยจากภายในนี้ไม่เคยปราณีไม่เคยเห็นอกเห็นใจ ไม่ว่าจะ ซ่อนตัวอยู่ในที่มิดชิดเพียงใด ก็ไม่อาจจะรอดพ้นจากการ คุกคามภัยชนิดนี้ได้ ภัยซึ่งเรียกว่าโมหะ คือ ‘ความเผลอ’ หรือความหลงอันมีต้นตอมาจากความไม่รู้ในความจริงของ ‘ธรรมดา’ ดังนั้นการศึกษาพุทธธรรม (ปฏิบัติศึกษา) เบื้อง ต้นจึงเป็นการศึกษาเพือ่ เร้าตัวเองให้เป็นผูต้ นื่ ตืน่ จากความ เผลอหรือความหลง ที่ครอบง�ำเรามาอย่างยาวนาน ซึ่งการ จะตื่นขึ้นมารู้–เห็นได้นั้น บุคคลจ�ำเป็นต้องพึ่งปัญญาการ ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ได้แนะน�ำบอกสอนวิธี การนั้นไว้แล้ว เราเพียงน�ำตนเองสู่การปฏิบัติเพื่อการตื่น
5
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
ขึ้น เพื่อท�ำที่พึ่งที่แท้จริงของชีวิตให้แก่ตนเอง ซึ่งเรื่องที่ พึ่งที่แท้จริงของชีวิตนั้น พระพุทธองค์ก็พร�่ำสอนให้เราทั้ง หลายนั้นมีที่พึ่ง พระพุทธองค์ตรัสว่า สนาถา วิหรถ มา อนาถา อธิบาย ว่า ท่านทัง้ หลายจงมีทพี่ งึ่ เถิด อย่าอยูโ่ ดยปราศจากทีพ่ งึ่ เลย แล้วในบรรดาสรรพสิง่ ทัง้ หลายในสากลโลก หรือสากลพิภพ นี้ อะไรล่ะจะเป็นทีพ่ งึ่ ได้จริงๆ พระรัตนตรัยนี้ สามารถเป็นที่ พึง่ ได้จริง พึง่ ปัญญาการตรัสรูข้ องพระพุทธเจ้า พึง่ พระธรรม ค�ำสัง่ สอนและสงฆ์สาวกผูน้ ำ� ค�ำสอนมาเผยแผ่ เมือ่ เราศึกษา ปฏิบตั แิ ละเข้าถึงสารัตถของค�ำสอนแล้ว ก็ชอื่ ว่าปลอดภัยใน สังสารวัฏทุกข์ มีหลักประกันหรือที่พึ่งให้กับตนเอง สาระหลั ก ของหนั ง สื อ เล่ ม นี้ แ บ่ ง ออกเป็ น 3 ส่ ว น ประกอบด้วยบทที่ 1 เรือ่ ง ค่าทีต่ อ้ งจ่ายให้กบั ความเผลอ เป็นการกล่าวถึงโทษหรือผลเสียของความเผลอ ซึง่ แสดงให้ เห็นถึงลักษณะของการท�ำกรรมที่จะน�ำไปสู่วิบากหรือผลที่ ตามมา บทที่ 2 เรื่อง ไม่มีกรรม’ไร เมื่อรู้ตามจริง ว่าด้วย เรือ่ งของการสะกัดกัน้ การท�ำกรรม ในลักษณะทีจ่ ะไม่มวี บิ าก ผลตามมา และบทที่ 3 เรื่อง ส�ำรวม ได้อธิบายถึงแนวทาง ปฏิบัติในลักษณะการส�ำรวมอินทรีย์ หรือการระวังรักษาจิต ไม่ให้เผลอหรือคล้อยตามอารมณ์ อันเป็นเหตุให้เกิดกรรม หรือการกระท�ำทางมโนทวาร ซึง่ ทัง้ สามส่วนนีห้ วังว่าจะเป็น ประโยชน์ในเบื้องต้น ในการที่ผู้อ่านจะศึกษาเพิ่มเติมจากผู้ รู้ ครู อาจารย์ที่มีความแตกฉานในล�ำดับต่อไป หนังสือเล่ม
6
สํ า ร ว ม
นี้อาจจะไม่ได้ให้แนวทางโดยละเอียด เจตนาของการเขียน ก็เพื่อเป็นการเชิญผู้อ่านท�ำบุญใหญ่ให้แก่ตัวเอง บุญซึ่ง มากกว่าการสร้างโบสถ์สร้างวิหาร บุญทีเ่ กิดจากการภาวนา เจริญปัญญา ส่วนท้ายของค�ำน�ำนี้ ผูเ้ ขียนขออุทศิ ธรรมทานนีใ้ ห้เป็น กุศลถึงเพื่อนเกิดแก่เจ็บตาย ดวงจิตของเจ้ากรรมนายเวร ซึ่งผู้เขียนได้เคยล่วงละเมิดทั้งต่อหน้าและลับหลัง เคยได้ เบียดเบียนด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ทัง้ ในชาตินี้ และชาติทผี่ า่ นๆ มา ขอให้ทา่ นได้รบั กุศลอันเย็นนีด้ ว้ ยเทอญ วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
7
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
สารบัญ
ค�ำน�ำ ๓ อารัมภบท ๔
บ ท ที่ ๑ ค่าที่ต้องจ่ายให้กับ ความเผลอ
• อาการของความเผลอ • ทุก (ข์) อย่างทันท่วงที • ขณะตาย ‘อาการเผลอ’ คือค่าบัตรผ่านไปอบาย
๒๐ ๒๘
8
สํ า ร ว ม
บ ท ที่ ๒ ๑๐ ไม่มีกรรม’ไรเมื่อรู้ตามจริง
๒๓ • กรรมวิจิตร
๓๔
• รู้ตามจริง • ไม่มีกรรม’ ไร เมื่อรู้ตามจริง • ส�ำรวม: กางกั้นอบายภูมิ • จิตที่เจริญกุศลเนืองๆ มีผลมากในขณะก�ำลังตาย
บ ท ที่ ๓ ๔๓ ส�ำรวม
๕๕ • ชีวิตที่เอื้อต่อการภาวนา
• ระวังศัตรูย่องผ่านประตูทั้ง ๖ • ไม่เป็นผู้ร้อนใจในภายหลัง
๑๑๐ ค�ำลงท้าย
9
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
อ า รั ม ภ บ ท “ อย่าคิดว่าเราจะอยู่ที่นี่เรื่อยไป ประกอบการงานตลอดฤดูทั้งสาม ควรคิดถึงความตายบ้าง ”
เมื่อเริ่มสนใจต่อธรรมจริงจัง ก็มักจะพบว่าธรรมะนั้น มีหลายหมวด เป็นป่าใหญ่แบบหิมพานต์ นาทีทตี่ ระหนักว่า ตนเกิดความสนใจในธรรมะ พร้อมกันนั้นก็เหมือนกับก�ำลัง ตื่นขึ้นแล้วพบว่า ตนเองได้ตกอยู่ในสภาพหลงทางอยู่กลาง ป่ามาเนิ่นนาน ครั้นเมื่อคิดจะออกเดินเพื่อให้พ้นอันตราย ในป่า เลยกลายเป็นเรื่องกลายเป็นธุระที่จะต้องท�ำให้การ เดินทางนั้นบรรลุผลคือพ้นเสียไปจากป่า และเครื่องมือที่จะ ช่วยให้เดินทางได้อย่างมั่นใจอันหนึ่งก็คือเข็มทิศ ผู้บอก ผู้ แนะน�ำทาง หากไม่มีเครื่องมือก�ำหนดทิศก็พลอยจะท�ำให้
10
สํ า ร ว ม
หลงทางอยู่เรื่อยไป หรือไม่ก็วนเวียนอยู่กับที่เดิม ไม่เกิด ความก้าวหน้า ไม่น�ำพาให้ได้ไปยังเป้าหมายที่พึงไป ธรรมะเป็นธรรมชาติปา่ ใหญ่ หนทางออกพ้นจากป่าได้ ถูกปกปิดมานาน จนกระทัง่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้คน้ พบ หรือถางทางทีถ่ กู ซ่อนไว้ให้เผยออกเป็นผูแ้ รก การเป็นผูเ้ ปิด เผยเส้นทางสายนัน้ นับเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ ทีย่ ากแท้จะ บรรยายได้หมด รอยเท้าแรกที่ได้ย่างน�ำออกไปจากป่าแห่ง สังสารวัฏได้น�ำให้ผู้หลงทางรุ่นต่อมาเดินตาม ผ่านมาเนิ่นนาน ตั้งแต่มหาบุรุษพุทธโคดมได้เดิน น�ำทางเป็นผู้แรก ทางสายดังกล่าวยังคงมีผู้คนเดินตาม ออกไปอยู่ทุกยุคทุกสมัย รอยจาริกซ�้ำลงไปบนทางสาย นั้น ท�ำให้อนุชนในครั้งหนหลัง ได้พอมองเห็นเป็นรอยทาง พอที่จะเดินตามออกไป แต่กระนั้นคนจ�ำนวนมากก็ยังคง โอ้เอ้ เพลิดเพลินกับดอกไม้และความงามอันเป็นเครื่องล่อ ริมรายทาง จนบางครั้งก็ลืมตระหนักว่า ด้วยกาลเวลาที่ ล่วงไปล่วงไปเช่นนี้ ย่อมจะท�ำให้ร่องรอยเท้าของผู้น�ำทาง นั้นจางคลายลบเลือน หรือถูกม่านไม้เถาวัลย์ขึ้นคลุมจนมิด ปิดทางไว้ ความใส่ใจในโอกาสทีไ่ ด้ ‘ร่วมขณะ’ เมือ่ รอยทางยังคง ชัดเจน สภาพสังคมยังสงบสุขไม่มสี งคราม อาหารและเสบียง เลี้ยงชีวิตยังคงหาได้ง่าย รวมถึงสิ่งส�ำคัญคือเรี่ยวแรงและ ร่างกายยังมีนนั้ เราผูห้ ลงอยูใ่ นป่ามาเนิน่ นานพึงได้ตระหนัก ถึงโอกาสอันส�ำคัญเช่นนี้หรือไม่ อีกทั้งได้เพียรพยายาม เพียงใดจะเดินตามในขณะทีท่ างยังคงชัดเจน เพือ่ ให้พน้ จาก
11
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
ภัยที่มีมากในป่าแห่งนี้ หากพิจารณาอย่างเป็นกลาง เราไม่ อาจหวังได้ว่า โอกาสที่จะได้เกิดในอัตภาพของมนุษย์อย่าง ชาตินี้นั้นจะมีได้ทุกๆ ครั้งที่เกิดใหม่หรือไม่ เมือ่ ครัง้ สมัยพุทธกาล พระสารีบตุ รได้ทลู ถามพระพุทธ องค์ว่า “การได้เกิดเป็นมนุษย์นั้นมีโอกาสมากน้อยเพียงใด พระพุทธเจ้าข้า” พระพุทธองค์ไม่ได้ตรัสตอบทันที แต่ทรงใช้ ปลายนิว้ แตะลงบนพืน้ ดินแล้วชูขนึ้ พร้อมกับตรัสกับพระสา รีบุตรว่า “มีเพียงเท่านี้...สารีบุตร” หากแปลความตามพุทธ วจนะก็อาจกล่าวได้วา่ สรรพสัตว์ทตี่ อ้ งไปเวียนว่ายตายเกิด อยูใ่ นภพภูมติ า่ งๆ มีจำ� นวนมากเทียบเท่ากับดินทัว่ พืน้ ปฐพี แต่ที่มีบุญบารมีพอจะเกิดเป็นมนุษย์ได้นั้น มีเพียงแค่ดินที่ ติดป้ายนิว้ ของพระพุทธองค์เท่านัน้ อีกความหนึง่ พระพุทธ องค์ตรัสอุปมาถึงความยากของการได้เกิดเป็นมนุษย์ไว้ว่า อุปมาเหมือนเต่าตาบอดตัวหนึง่ ด�ำน�ำ้ อยูใ่ นทะเล ทุกๆ ๑๐๐ ปี เต่าตาบอดตัวนั้นจะโผล่หัวขึ้นมาจากทะเลครั้งหนึ่ง และ ในทะเลมีห่วงเล็กๆ ขนาดใหญ่กว่าหัวเต่าหน่อยหนึ่งลอย อยู่ ๑ ห่วง โอกาสที่เต่าตาบอดตัวนั้นจะโผล่ขึ้นมา แล้วหัว สวมเข้ากับห่วงพอดียากเพียงใด กระนั้นก็ตาม โอกาสเช่น นั้นของเต่าก็ยังนับว่ามีมากกว่า การที่เหล่าสรรพสัตว์จะได้ มาเกิดเป็นมนุษย์ ในพุทธพจน์นั้นกล่าวว่า “การเกิดเป็นมนุษย์ เป็น ของยาก”
12
สํ า ร ว ม
พุทธสุภาษิต ทีต่ อ้ งการให้เราได้ตระหนักถึงคุณค่าของ การได้เกิดมาเป็นมนุษย์ กล่าวคือ หากนับว่ามนุษย์เป็นสัตว์ โลกเหมือนกับสัตว์โลกอื่นๆ การได้เกิดเป็นมนุษย์นนั้ นับว่า เป็นโชคดี เพราะในทางพุทธศาสนาถือว่าสัตว์โลกทุกชนิด ล้วนแต่ดนิ้ รนเพือ่ ให้ตนเองพ้นทุกข์ แต่มเี พียงมนุษย์เท่านัน้ สามารถทีจ่ ะพัฒนาจิตวิญญาณให้เกิดปัญญา เพือ่ ความพ้น ทุกข์กระทั่งไม่กลับเข้ามาเวียนว่ายตายเกิดได้ สัตว์อื่นก็ ติดอยู่ที่ข้อจ�ำกัดนี้ และสรรพสัตว์นั้นก็เพียงแค่ใช้ชีวิตตาม สัญชาตญาณไปเรื่อยๆ แม้แต่เทวดายังยินดีในอัตภาพของความเป็นมนุษย์ ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า “ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ความเป็นมนุษย์แล เป็นส่วน แห่งการไปสุคติ1ของเทวดาทั้งหลายฯ” เพราะเชื่อว่า เทวดาครั้นเกิดเป็นมนุษย์แล้วย่อมได้ ศรัทธาในธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้วนี้ ในชั้นนี้จึง เป็นโอกาสอันยิ่งที่จะได้ใช้อัตภาพแบบมนุษย์ซึ่งไม่สุขมาก (แบบภูมิเทวดา) ไม่ทุกข์มาก (แบบภูมินรก–เดรัชฉาน) ประพฤติตามธรรมวินัยเพื่อที่จะพ้นไปจากสัตวภูมิต่างๆ ดังจะเคยได้ยินได้อ่านจากเรื่องราวในพระสูตรที่บอก ว่า ครั้นเทวดาจะจุติหรือตายจากภูมิเทวดานั้น บรรดาเหล่า เทวดาด้วยกันจะกล่าวอวยพรให้ไปสู่สุคติอันเป็นภูมิแห่ง มนุษย์ ดังพระผู้มีพระภาคตรัสแล้ว ซึ่งได้ความสรุปว่า
13
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
“เมื่อใดเทวดาจะต้องจุติจากเทพนิกายเพราะความสิ้น อายุ เสียง ๓ อย่างของเทวดาทั้งหลายผู้พลอยยินดี ย่อม เปล่งออกไปว่า แน่ะท่านผู้เจริญ ท่านจากโลกนี้ไปแล้ว จงถึงสุคติ จงถึงความเป็นสหายแห่งมนุษย์ทั้งหลายเถิด ท่านเป็นมนุษย์แล้วจงได้ศรัทธาอย่างยิ่งในพระสัทธรรม ศรัทธาของท่านนัน้ พึงเป็นคุณชาติตงั้ ลงมัน่ มีมลู เกิดแล้ว มัน่ คงในพระสัทธรรมทีพ่ ระตถาคตประกาศดีแล้ว อันใครๆ พึงน�ำไปไม่ได้ตลอดชีวิต ท่านจงละกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต และอย่ากระท�ำอกุศลกรรมอย่างอื่นที่ประกอบ ด้วยโทษ กระท�ำกุศลด้วยกายด้วยวาจาให้มาก กระท�ำกุศล ด้วยใจหาประมาณมิได้ หาอุปธิมิได้ แต่นั้นท่านจงกระท�ำ บุญอันให้เกิดอุปธิสมบัตนิ นั้ ให้มาก แล้วยังสัตว์แม้เหล่าอืน่ ให้ตั้งอยู่ในพระสัทธรรมในพรหมจรรย์”
เป็นต้น ครัน้ พอได้เกิดเป็นมนุษย์แล้ว หากได้ตระหนักถึงความ ส�ำคัญนี้ ในฐานะผู้ได้โอกาสอันยิ่งใหญ่ โอกาสที่สัตวโลก ปรารถนาจะได้ เพียรศึกษาปฏิบัติเพื่อที่จะได้ขึ้นร่วมหมู่ ร่วมขบวนไปยังเส้นทางที่จะพ้นทุกข์อย่างสิ้นเชิง ก็นับว่า เป็นขณะที่ดี ที่สมควร หรืออย่างน้อยแม้ว่าบารมีธรรมจะ ไม่ส�ำเร็จประโยชน์สูงสุดในชาตินี้ ก็ถือว่าตนได้ประพฤติ สั่งสมให้มีอุปนิสัยสมบัติเกิดขึ้นในจิต ครั้นตายไปในขณะที่ ดวงจิตยังไม่พน้ สังสารวัฏ อย่างน้อยก�ำลังแห่งอุปนิสยั ทีเ่ คย ได้เจริญกุศลอยู่เนืองๆ จะเหนี่ยวน�ำให้อุบัติในกาลขณะที่มี ผู้ประกาศธรรมอันเป็นเครื่องน�ำออกจากทุกข์ หรือการได้
14
สํ า ร ว ม
เกิดในอัตภาพของมนุษย์ ในสุคติโลก ไม่ต้องตกไปยังอบาย หรือทุคติภูมิ ที่เป็นนรก เปรต เดรัชฉาน ที่หนักไปทางทุกข์ ถ่ายเดียว เกี่ยวกับเรื่องทางไปและสัดส่วนของมนุษย์ที่เมื่อ ตายจากโลกนี้แล้ว พระองค์ตรัสโดยความสรุปว่า บุคคลละ จากอัตภาพนี้แล้ว ไปสู่อบายมีจ�ำนวนดุจขนโค (มีจ�ำนวน มากมายนับไม่ได้) ผู้ที่ได้ไปสู่สุคติมีจ�ำนวนแค่เพียงเขาโค (มีน้อยมาก) หากไม่ เ ห็ น ประโยชน์ อั น มากของการได้ โ อกาสนี้ บุคคลจึงตกอยูใ่ นความประมาท หลงไปกับอารมณ์ทเี่ กิดขึน้ ตลอดเวลาในชีวิตประจ�ำวัน เรื่องความประมาทนั้น ในพระ ไตรปิฎกกล่าวถึงเหตุให้คนเราประมาท แล้วไม่รบี สร้างความ ดีไว้ ๓ ประการคือ ประการแรก เมาในความเป็นหนุ่มสาว ว่ายังไม่แก่เฒ่าแล้วประมาทไม่รีบเรียนรู้ที่จะเจริญภาวนา ประการที่สอง เมาในความไม่มีโรค ว่ายังแข็งแรง แล้วใช้ร่างกายนี้ ไปเพื่อตอบสนองความต้องการความพึง พอใจ ประการสุดท้ายซึ่งส�ำคัญมาก คือ เมาในชีวิต คิด แต่ว่ายังไม่ตายง่ายๆ อุปาทานไปว่าตนจะตายเมื่อแก่เฒ่า ตอนนี้ยังหนุ่มยังสาวอยู่ ยังไม่อยู่ใกล้กับความตาย หรือแม้ กระทั่งในวัยปลาย ๔๐ ปีแล้ว ๖๐ ปีแล้ว บางคนก็ยังหลงไป ว่า ตนไม่ได้อยู่ใกล้ความตาย เป็นต้น เมื่อยังเมาด้วยเหตุดังกล่าวเหล่านั้น ยังใช้ชีวิตไปกับ การเบียดเบียนเพื่อนมนุษย์ ทั้งในทางลับในทางเปิดเผย หรือไม่กท็ ำ� มาหากินจนลืมความตาย พลอยท�ำให้ความเผลอ เข้าครอบง�ำ เพลินในยศฐาบรรดาศักดิ์ การถูกล้อมหน้าล้อม
15
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
หลังจากบริวาร แก่งแย่ง อิจฉา ความเพลินในชีวติ เช่นนี้ เมือ่ ถึงวันทีแ่ ตกกายท�ำลายขันธ์ หากปรารถนาว่าจะได้เกิดเป็น มนุษย์อีก ท่านก็ว่าอยู่ในฐานะที่พึงหวังได้ยาก เพราะตลอด ทั้งชีวิต บุคคลนั้นด�ำรงจิตเข้าสู่สภาพอกุศล คือความไม่รู้ เนื้อรู้ตัวทั้งชีวิต ในทางตรงกันข้าม บุคคลที่หวังจะเกิดเป็น มนุษย์นี้อีกท่านจึงแนะว่า จงละความเมาทั้งสามอย่างนี้ จง ละความเผลอในชีวิตแล้วรีบเร่งสร้างความดีให้เต็มที่ ฝึกจิต ภาวนาให้เป็นอุปนิสัย ดังที่กล่าวว่า ความเพียรควรท�ำใน วันนีใ้ ครเลยจะรูว้ า่ ความตายจักมีในวันพรุง่ นี้ เพราะการผัด เพีย้ นกับพญามัจจุราชผูม้ เี สนาใหญ่ยอ่ มไม่มี หรืออีกค�ำสอน หนึ่งที่ ทรงตรัสเทศนาสั่งสอนพ่อค้าในสมัยพุทธกาลเพื่อไม่ ให้ประมาทในชีวิต ว่า “ดูก่อนอุบาสก ธรรมดาบัณฑิตไม่ควรประมาท อย่าคิด ว่าเราจะอยู่ที่นี่ ประกอบการงานตลอดฤดูทั้งสาม ควร คิดถึงความตายบ้าง…”
เช่นนั้นเราควรได้ยกข้อธรรมดังกล่าวขึ้นพิจารณาอยู่ เนืองๆ ว่า ชีวิตนี้เป็นดังไม้ใกล้ฝั่ง เราเคลื่อนไหวเข้าใกล้ ความตายทุกขณะ กระแสแห่งความเสื่อม ชรา ความเจ็บ ความตาย ท�ำให้ดับไปเรื่อยๆ ไม่มีว่างเว้นหรือหยุดหย่อน ควรมีสกั ครัง้ หนึง่ ทีจ่ ะต้องเตือนตัวเองว่าต้องรีบเร่งท�ำความ เพียร ทางสายสุคตินั้นได้มีผู้ประกาศไว้ชัดแล้ว ธรรมะของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ชี้ทางออกจากเครื่องร้อยรัดในชีวิต แล้ว พระองค์ท่านได้ท�ำให้ความเข้าใจที่ยุ่งยากทั้งหมด ที่
16
สํ า ร ว ม
มนุษย์ที่มีต่อโลก อันประกอบด้วยกายยาววาหนาคืบกว้าง ศอก มีสัญญาและวิญญาณนี้คือชีวิต คลายออก ง่ายขึ้น พระองค์เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว�่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือตามประทีปในทีม่ ดื ด้วยหวังว่า ผู้มีจักษุจักเห็นรูปดังนี้ ธรรมะที่ได้รับการเปิดเผยนั้นมีมากมายหลายหมวด ครัน้ จะเรียนรูท้ กุ ๆ เรือ่ งก็ไม่รไู้ ด้วา่ จะต้องใช้เวลาสักเท่าใดจึง จะเรียนหมด หากจ�ำเป็นต้องหยิบเอาสักเรือ่ งขึน้ มาเป็นหลัก ในการด�ำเนินตาม เรื่องใดควรจะเหมาะและสามารถใช้เป็น พาหนะที่จะพาดั้นด้นให้พ้นป่าก่อนที่ทางจะปิดอีกครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ตาม เบื้องต้นต้องตระหนักว่า พระธรรม นั้นไม่ใช่ส่ิงที่มีไว้ส�ำหรับอ่าน ฟังหรือมีไว้เพียงเพื่อส�ำหรับ พิจารณา พระพุทธธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงตรัสรู้ และ ทรงแสดงนัน้ ลึกซึง้ นัก บุคคลจะต้องน�ำตนไปสูก่ ารเรียนรูใ้ น รูปแบบของการปฏิบัติ ผู้เรียนรู้อาจจะประพฤติปฏิบัติโดย เริ่มจากจุดที่เข้าใจ ประกอบกับการศึกษาด้วยการพิจารณา พระธรรมโดยละเอียดยิ่งๆ ขึ้นในระดับต่อไป ขอถึงพระผู้มีพระภาค พระธรรมและพระภิกษุสงฆ์ ว่าเป็นสรณะ
17
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
18
สํ า ร ว ม
๑
บ ท ที่
ค่าที่ต้องจ่าย ใ ห้ กั บ ค ว า ม เ ผ ล อ “วันหนึ่ง เราเกิดตัณหาอุปาทานกี่ครั้ง อ้ายชาติชนิดนั้นจะเกิดเท่านั้นครั้ง” — พระพุทธทาส ภิกขุ
‘เผลอ’ หรือ ‘หลง’ เป็นสภาวะที่ตรงข้ามกับรู้ตื่นหรือ ส�ำรวม ในชีวติ ประจ�ำวัน ผูซ้ งึ่ ไม่ได้ฝกึ เจริญสติจะไม่สามารถ ระลึกรู้อยู่กับปัจจุบันขณะได้ แม้ว่าบางครั้งสภาวะของจิตที่ ตืน่ จะเกิดขึน้ เป็นครัง้ คราวแต่หากไม่เข้าไปรู้ สภาวะเช่นนัน้ ก็เรียกว่าเผลอ
19
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
อาการของความเผลอ* วันหนึ่งๆ เราจะสามารถประกอบกิจการงานในหน้าที่ ของตนเองได้โดยตลอดต่อเนือ่ งยาวนาน จนกระทัง่ งานนัน้ ๆ บรรลุผล พฤติกรรมการท�ำงานเช่นนี้แม้จะประกอบไปด้วย สมาธิและความจดจ่อ แต่กระนั้นก็ไม่สามารถที่จะเรียกได้ ว่าเป็นผู้ตื่นในปัจจุบันขณะ เพราะในเวลาที่เราก�ำลังท�ำงาน นั้น ธรรมดาของจิตจะคิดไปเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง จากเรื่อง นี้ไปสู่เรื่องนั้น บางความคิดอยู่กับกิจที่ก�ำลังท�ำ บางความ คิดก็หวนหาถึงสิ่งที่ผ่านมาแล้ว เลยไปจนถึงการกังวลใน อนาคต หรือนาทีข้างหน้าที่ยังมาไม่ถึง สภาพของจิตดัง กล่าวนั้นเรียกว่าได้เผลอไผลไหลไปตามเหตุแห่งความคิด หนึ่งๆ สู่ความคิดหนึ่งๆ เรื่อยไป ผู้คิดก็ไม่รู้ด้วยว่าจิตก�ำลัง คิด ลักษณะเช่นนี้เองที่เรียกว่า เผลอ หลง ท่านกล่าวว่านี้
* เผลอ ค�ำนี้เป็นไวยพจน์ของค�ำว่า หลง หรือ โมหะในภาษาธรรม หรือนัยเดียวกับค�ำว่า นันทิ คือ ความเพลิน ซึ่งทั้งหมดนั้น หมายถึงสภาวะ ที่บุคคลไม่สามารถรู้ตามที่เป็นจริง ซึ่งนับเป็นกิเลสอย่างหนึ่งในบรรดากิเลส ใหญ่ 3 อย่าง คือ โลภ โกรธ หลง ทั้งหมดนี้ล้วนแต่เป็นอวิชชา 20
สํ า ร ว ม
เป็นผู้หลับ เรื่องความเผลอเพลินนั้นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ แสดงไว้หลายกระแส ความติดเพลิน ความติดใจอยาก ความเพลิ ด เพลิ น เหล่ า นี้ คื อ สภาวะธรรมที่ เ กิ ด ขึ้ น แล้ ว บุคคลนั้นๆ ไม่รู้ว่าความเผลอเพลินก�ำลังเกิด เรื่องความ เพลินในพระสูตรใช้ความว่า นันทิ ดังจะปรากฏในพุทธ พจน์ต่างๆ นันทิหรือความติดเพลิน เป็นสภาวะธรรมฝ่าย ตัณหา อาการนี้ด�ำเนินไปอย่างละเอียดอ่อน บุคคลผู้ไม่ฝึกรู้ ตามย่อมจะรู้สภาวะนี้ได้ค่อนข้างยาก ความเผลอเพลินมัก เกิดกับปุถุชนมากเป็นที่สุดโดยไม่รู้ตัว และผู้ไม่ศึกษาเรื่อง ดังกล่าวนีใ้ ห้เข้าใจ ก็ยอ่ มจะมองว่าสิง่ นี้ (ความเผลอเพลินนี)้ ไม่เป็นโทษ แต่ในความเป็นจริงความเผลอเพลินกลับให้โทษ เท่าตัณหาทั่วๆ ไป ทว่าโดยตัวมันเองเป็นสภาวะที่ละเอียด อ่อน บุคคลจะพึงรู้ได้จะต้องฝึกและต้องมีการใคร่ควรอย่าง แยบคาย กล่าวคือต้องตืน่ ขึน้ มารูต้ ามจริง รูส้ ภาวะการเผลอ เพลินขณะนั้นๆ ความเผลอเพลินจัดได้ว่าเป็นโทษยิ่ง เพราะเมื่อเกิด ขึ้นแล้วบุคคลไม่รู้ว่ามันเกิดขึ้น จิตจึงสั่งสมจนเป็นความ เคยชินในลักษณะของการพอกพูนความไม่รู้สภาวะนั้นขึ้น เรื่อยๆ เปรียบกับทุกครั้งที่เผลอนั้นบุคคลก็ได้ฉาบเคลือบ ผนังดวงตาให้หนาขึ้นทีละชั้นๆ ท�ำให้ยากต่อการมองเห็น ไปเรือ่ ยๆ จนในทีส่ ดุ ไม่สามารถเห็นโลกทีแ่ ท้จริงอย่างทีม่ นั เป็น แต่เห็นโลกผ่านความคิดและการตีความของตน ในทีส่ ดุ ก็เชือ่ (หรือยืดมัน่ ) ในสิง่ ทีค่ ดิ ซึง่ สิง่ ทีค่ ดิ เอานัน้ ไม่ใช่สภาวะ
21
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
ที่ตนเข้าไปประจักษ์แจ้งอย่างบริสุทธิ์ คือไม่ใช้การเข้าไปรู้ ธรรมชาติจริงของมัน ถ้าพิจารณาโดยละเอียดจะเห็นว่าในชีวิตเราที่ยังคง ด�ำเนินอยู่ในขณะนี้ (หรือแม้กระทั่งอ่านประโยคนี้) ปุถุชน ต่างตกอยูภ่ ายใต้ความติดเพลินต่างๆโดยไม่รตู้ วั เช่น ความ เพลินในความสบายของอากาศเย็นๆ ในห้องท�ำงาน ความ เพลินในความสุขเมือ่ ได้ฟงั เพลงหรือดูการละเล่น หรือเพลิน ในรสอาหาร เป็นต้น เรามีปกติชีวิตที่พอใจต่อสิ่งต่างๆ ดังกล่าวโดยไม่รู้ตัว ครั้นเมื่อ สิ่งเหล่านั้นบกพร่องไป เช่น อากาศในห้องเริ่มร้อนขึ้น เครื่องเล่นเพลงเสีย รสอาหารไม่ อร่อย ต่อมาเราก็จะเกิดอาการหงุดหงิดโดยไม่รตู้ วั ทัง้ หมด นี้จัดว่าเป็นความเผลอเพลิน ซึ่งในวันหนึ่งนั้นสภาวะเช่นนี้ เกิดขึ้นตลอดเวลา แต่เราไม่สามารถเห็นหรือรู้ได้ บางครั้ง ที่คล้ายว่าจะรู้ ก็กลับไปรู้ในสิ่งที่ท�ำให้เพลินเช่น รู้ว่าตอนนี้ อากาศในห้องเย็นดีจงั ตอนนีเ้ พลงไพเราะมาก ตอนนีอ้ าหาร รสชาติดีถูกปากมาก ซึ่งการไปรู้สิ่งเหล่านี้ไม่ถือเป็นการรู้ สภาวะทีจ่ ติ ก�ำลังเพลิน และเป็นการรูท้ ไี่ ม่เอือ้ ให้เกิดปัญญารู้ ตามจริง ท่านเรียกการรูแ้ บบนีว้ า่ รูส้ งิ่ ภายนอก กล่าวคือ รูใ้ น ‘เรือ่ ง’ ทีร่ ไู้ ม่ใช่รใู้ น ‘อาการ’ ของอารมณ์ทรี่ บั สัมผัสเรือ่ งนัน้ ๆ ความเผลอ หรือความเป็นผู้หลับน�ำมาซึ่งการก่อทุกข์ ทัง้ ส่วนเสีย้ วขณะเผลอและกาลล่วงจากนัน้ หลวงพ่อปัญญา นันทภิกขุ ได้เปรียบเทียบลักษณะของชีวติ เป็นห้องห้องหนึง่ ที่มีประตู ที่จะน�ำสิ่งภายนอกเข้ามาในห้องแห่งนี้ กล่าวคือ คนเรามีตาส�ำหรับดูรูป มีหูส�ำหรับฟังเสียง มีจมูกส�ำหรับ
22
สํ า ร ว ม
ดมกลิ่น มีลิ้นส�ำหรับลิ้มรส มีกายและประสาททั่วร่างกาย ที่จะคอยรับรู้เรื่องอะไรต่างๆ ที่มากระทบทางกาย ทีนี้เมื่อ ตาเห็นรูป ใจรับรู้ สามอย่างนี้รวมตัวกันเข้า ท่านเรียกอีก อย่างว่า เกิดผัสสะ การประชุมพร้อม ต่อจากนัน้ ก็เกิดอาการ ที่เรียกว่าพอใจ ไม่พอใจ หรือเกิดเวทนาขึ้นในใจ ลักษณะ ของอาการนั้นๆ เช่น มีความสุข มีความทุกข์ หรือบางทีก็มี เฉยๆ จากนั้น ความรู้สึกพอใจเราก็ต้องการจะดึงเข้าหาตัว ความรูส้ กึ ไม่พอใจเราก็ตอ้ งการจะผลักออกไป ปรากฏการณ์ เช่นนี้เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ในแต่ละวันนั้นเราต้องดิ้นรนกับ เรือ่ งการดึงเข้าและผลักออกในเรือ่ งอารมณ์ของตนเป็นอย่าง มาก และอารมณ์ทงั้ สองฝ่ายนีเ้ องทีน่ ำ� มาซึง่ ทุกข์ทงั้ หมดทัง้ มวลของชีวิต พิจาณาความเผลอนี้ ถือเป็นอาการที่รู้ไม่เท่าทันถึง สภาวธรรมที่แท้จริงของอารมณ์ที่เข้ากระทบกับจิต ท�ำให้ เกิดความเห็นวิปลาสคลาดเคลื่อน เห็นผิดไปจากสภาว ธรรมที่แท้จริง เช่น เมื่อเราเผลอเพลินไปกับรสอร่อยของ อาหารขณะก�ำลังรับประทาน แต่ขณะนั้นจิตไม่สามารถรู้ว่า ก�ำลังรู้รสชาติความอร่อย ท�ำให้เผลอเพลินไปกับรสชาตินั้น ลักษณะนี้จึงกล่าวว่าการเผลอเพลินนั้นเป็นสภาวะที่ปิดบัง ความจริงของธรรมชาติขณะนั้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ ความที่ไม่เข้าไปก�ำหนดเฉพาะภาวะที่รู้ ท�ำให้เกิดการแปล เป็นอารมณ์ต่อเนื่องจากการรับสัมผัสนั้นๆ ส่งผลให้เกิด ความรู้สึกเป็นอารมณ์ต่างๆ เช่น อารมณ์หยาบๆ ที่เห็นได้ ง่ายคือ พอใจ ไม่พอ และ/หรือเฉยๆ
23
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
ฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่า เหตุของการเกิดการรับกระทบ อารมณ์ทั้งฝ่ายที่น่าพอใจ ไม่พอใจและเฉยๆ นั้น เกิดขึ้น เพราะความเผลอ ซึง่ สภาวะทีเ่ ลยมาถึงจุดนีท้ ำ� ให้บคุ คลมีหนี้ หรือราคา ที่จะต้องจ่ายให้กับการปล่อยให้ตนเองเกิดความ พอใจ ไม่พอใจ และหากไม่ถือเป็นธุระที่จะฝึกตนให้เป็นผู้ ตื่นจากความเผลอเพื่อเป็นผู้ปลอดจากหนี้ ชีวิตนี้ก็อาจจะ ต้องจ่ายทั้งชีวิต และที่หนักหนากว่านั้น การจ่ายหนี้ความ รู้สึกดังกล่าวไม่ได้สิ้นสุดลงเพียงกายและลมหายใจในชาติ นี้เท่านั้น กล่าวคือ ไม่ใช่ว่าเมื่อบุคคลนั้นตายแล้วถือว่าหนี้ ค้างจ่ายต่างๆ นั้นก็ถูกยกเลิกไปพร้อมการหมดลมหายใจ ด้วย แต่ความเป็นจริงปุถุชนคนหนาอย่างเราๆ หาได้พึ่ง การตายในงวดที่จะถึงนี้เป็นครั้งสุดท้ายไม่ รายการค้างจ่าย ทีแ่ ม้วา่ ชาตินจี้ ะยังไม่ได้ชำ� ระ มันก็จะติดตัวต่อเรือ่ งไปพร้อม กับการสืบต่อของจิตไปอุบัติในกาลข้างหน้าอีกครั้ง พระพุทธศาสนาพร�่ำสอนว่า ชีวิตหนึ่งๆ เวียนว่าย อยู่ในวัฏสงสารไม่อาจระบุจุดเริ่มต้นได้ การตายแล้วเกิด ยาวนานเวียนซ�ำ้ อย่างไม่มปี ระมาณ พระผูม้ พี ระภาคได้ตรัส แสดงในเรื่องนี้ว่า “ดูกรภิกษุทั้งหลาย สงสารนี้ก�ำหนดที่สุดเบื้องต้น เบื้อง ปลายไม่ได้ ฯลฯ เมื่อบุคคลหนึ่งท่องเที่ยวไปมาอยู่ตลอด กัปหนึ่ง พึงมีโครงกระดูก ร่างกระดูก กองกระดูก ใหญ่ เท่าภูเขาเวปุลละนี้ ถ้ากองกระดูกนั้นพึงเป็นของที่จะขน
24
สํ า ร ว ม
มารวมกันได้ และกระดูกที่ได้สงั่ สมไว้แล้ว ก็ไม่พงึ หมดไป ข้อนัน้ เพราะเหตุไร เพราะว่าสงสารนีก้ ำ� หนดทีส่ ดุ เบือ้ งต้น เบื้องปลายไม่ได้ ฯลฯ…”
จิตดวงสุดท้ายจะน�ำข้อมูล จะเก็บทุกสิ่งอย่างที่จิต บันทึกไว้จากชาตินี้ไปน�ำเกิดในครั้งใหม่ๆ ในอัตภาพที่แตก ต่างตามความวิจิตรของจิตนั้น ในทางพระพุทธศาสนาได้พิจารณาว่าความตายนั้น เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ และการทีม่ นุษย์รวู้ า่ ตนเอง ต้องตายนัน้ ถือเป็นคุณสมบัตพิ เิ ศษทีไ่ ม่เหมือนกับสัตว์อนื่ ๆ เพราะตลอดระยะเวลาที่ผ่านมายังไม่ข้อพิสูจน์หรือค�ำอธิ บายใดๆ ที่ชี้ให้เห็นว่าสัตว์มีความตระหนักว่าตนต้องตาย ดังนั้นธาตุรู้เรื่องนี้จึงมีอยู่ในมนุษย์ อย่างไรก็ตาม สิ่งส�ำคัญที่สุดไม่ได้อยู่ตรงที่ การรู้ว่า ตนต้องตายนั้นดีกว่าสัตว์ แต่อยู่ที่ว่า เมื่อรู้ว่ามนุษย์ต้อง ตายแล้วเราจะปฏิบัติตนอย่างไรต่างหาก ก่อนที่ความตาย นั้นจะมาถึง มีหลักฐานในพระสูตรและอรรถกถามากมายที่บันทึก ไว้ว่า บุคคลเมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู่ประกอบด้วยจิตที่มีความ เผลอครอบง� ำ อยู ่ เ ป็ น นิ จ กั บ บุ ค คลเมื่ อ ครั้ ง ยั ง มี ชี วิ ต อยู ่ ประกอบด้วยจิตทีม่ คี วามตืน่ อยูเ่ นืองๆ บุคคลทัง้ สองลักษณะ นี้เมื่อล่วงจากความตายแล้วจิตย่อมมีที่ไปที่แตกต่างกัน กล่าวถึงทางไปทีแ่ ตกต่างเป็นกลุม่ ใหญ่กไ็ ด้แก่ ไปสูส่ คุ ติภมู ิ และไปสู่ทุกคติภูมิ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ในชีวิตประจ�ำวัน ในนาทีแต่ละ
25
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
นาที ในวินาทีแต่ละวินาทีที่จิตประกอบด้วยความตื่น ความ เผลอ ย่อมหมายถึงการก�ำหนดอนาคตทั้งในระยะใกล้และ ระยะไกลของตนเองไว้แล้ว หรือกล่าวให้ชดั ในประเด็นหัวข้อ นี้ได้ว่า ความเผลอนั้นๆ มันมีราคาที่ต้องจ่าย ค�ำถามต่อมาก็คือ ที่ว่าจ่ายนั้นจ่ายอะไร?
26
สํ า ร ว ม
ทุก (ข์) อย่างทันท่วงที โดยทั่วไปเรามักจะมองว่า ทุกข์นั้นคือความไม่สบาย กาย ไม่สบายใจ ความคับแค้นกาย ความคับแค้นใจเพียง เท่านั้น ซึ่งทุกข์ลักษณะดังกล่าวนั้นเป็นเพียงทุกข์เพราะ ความไม่สมอยาก กล่าวคือ เพราะความต้องการจะให้กาย สบาย เมื่อไม่สบายก็ขัดเคืองใจ เช่นนี้จึงนับว่าเป็นอาการ ที่ดิ้นไปเรื่อยๆ เพื่อหาจุดที่กายใจจะได้รับความพึงพอใจ ลักษณะเช่นนีน้ บั ว่ายังเป็นการเข้าใจต่อทุกข์ทคี่ ลาดเคลือ่ น เป็นทุกข์ของปุถชุ น ทีย่ อ่ มจะวนเวียนน�ำมาซึง่ ทุกข์ในกายใน ใจแบบลักษณะเดิมครั้งแล้วครั้งเล่า ในลักษณะการวนเวียน กลับมาสูท่ กุ ข์ใหม่ ทีก่ ล่าวนัน้ มีตงั้ แต่วนเวียนมาด้วยเวลาไม่ กี่นาที ไม่กี่วัน จนกระทั่งวงรอบใหญ่ในการกลับมาเกิดอีก ครัง้ และก็ทกุ ข์ซำ�้ ในลักษณะเดิม นีจ่ งึ เป็นทีม่ าทีค่ ำ� สอนทาง พระพุทธศาสนาบอกว่า สังสารวัฏนั้นยาวนาน ดังนั้นพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าจึงได้ชี้ให้เห็นสิ่งที่เรียกว่าทุกข์ที่แท้จริง เพื่อให้เราเรียนรู้สภาวะนั้นให้เข้าใจ พร้อมกันนั้นพระองค์
27
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
ก็ได้ทรงชี้ทางออกไว้อย่างชัดเจน คําสั่งสอนของพระพุทธองค์นั้น ล้วนพร�่ำบอกซึ่ง หนทางออกจากทุกข์ ด้วยการทีท่ รงเห็นว่าเพราะมนุษย์ไม่รู้ ความจริงข้อนีน้ เี่ อง จึงเป็นเหตุเบือ้ งแรกทีน่ ำ� มาซึง่ กายเวียน ว่ายตายเกิดอันไม่อาจประมาณจ�ำนวนครัง้ ได้ ซึง่ ความทุกข์ จริงๆ ที่มนุษย์ทั้งหลายกําลังเผชิญกันอยู่นั้นเกิดขึ้นทุกๆ ขณะจิตทีเ่ ผลอไปรับอารมณ์ หรือเผลอเคลือ่ นกาย แต่เหตุที่ เราไม่สามารถรู้ได้เพราะมีความไม่รู้ครอบง�ำอยู่ หรือเพราะ ความไม่รู้ไม่เข้าใจในสภาวธรรมชาติของทุกข์ที่พระพุทธ องค์ได้ทรงสั่งสอน พระองค์จึงได้เทศนาสั่งสอนเรื่องเหตุเกิดแห่งทุกข์ไว้ ว่า ความเผลอเพลินเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ ปุณณะ ! รูป ที่เห็นด้วยตาก็ดี เสียง ที่ฟังด้วยหูก็ดี กลิ่น ที่ดมด้วยจมูกก็ดี รส ที่ลิ้มด้วยลิ้นก็ดี โผฏฐัพพะที่สัมผัส ด้วยกายก็ดี และธรรมารมณ์ ทีร่ แู้ จ้งด้วยใจก็ด,ี อันเป็นสิง่ ที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ ที่ยวนตา ยวนใจให้รัก เป็นทีเ่ ข้าไปตัง้ อาศัยอยูแ่ ห่งความใคร่ เป็นทีต่ งั้ แห่งความ ก�ำหนัดย้อมใจ มีอยู่ ถ้าภิกษุย่อมเพลิดเพลินย่อมพร�่ำ สรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึง่ อารมณ์มรี ปู เป็นต้นนัน้ ไซร้ เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร�่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่ง อารมณ์มรี ปู เป็นต้นนัน้ อยู,่ นันทิ (ความเพลิน) ย่อมบังเกิด ขึ้น เรากล่าวว่า เพราะความเพลินเป็นสมุทัย (เครื่องก่อ ขึ้น) จึงเกิดมีทุกขสมุทัย (ความก่อขึ้นแห่งทุกข์) ดังนี้ แล — อุปริ. ม. ๑๔/๔๘๑/๗๕๕.
28
สํ า ร ว ม
หรือธรรมเทศนาอีกหมวดหนึ่งที่ว่า “พอเสวยเวทนา อย่างหนึง่ อย่างใด เป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ ก็ตาม ไม่สุขไม่ทุกข์ก็ตาม เขาย่อมครุ่นคิดคํานึง ย่อม บ่นถึง ย่อมหมกใจอยู่กับเวทนานั้น เมื่อเขาครุ่นคิดคํา นึงเฝ้าบ่นถึง หมกใจอยู่กับเวทนานั้น นันทิ (ความติดใจ อยาก) ย่อมเกิดขึน้ ความติดใจอยากในเวทนาทัง้ หลายนัน่ แหละ กลายเป็นอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย เขาก็ มีภพ เพราะภพเป็นปัจจัยก็มชี าติ เพราะชาติเป็นปัจจัยก็มี ชรามรณะ, ความโศก ความครํ่าครวญ ความทุกข์ ความ เสียใจ ความคับแค้นผิดหวังก็มีพรั่งพร้อม ความเกิด แห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ จึงมีได้ด้วยประการฉะนี้ “ — มฺชฌิมนิกาย มูลปฺณณาสก ๑๒/๔๕๓/๔๘๘
ตลอดทั้งวัน ทันทีที่เผลอ ขณะนั้นเราได้พลาดกับการ อยูก่ บั ความเป็นจริงซึง่ ก็คอื ทุกข์อย่างทันท่วงที สภาวะเผลอ ทีเ่ กิดแก่เรานัน้ ดูประหนึง่ ว่าเป็นเรือ่ งปกติ เป็นสิง่ ทีอ่ ยูก่ บั เรา มาโดยตลอดตั้งแต่จ�ำความได้ ไม่เห็นว่าจะให้โทษก่อภัยอัน ใด แต่หากศึกษาถึงเรือ่ งโทษแห่งความเผลอเพลินนัน้ จะพบ ว่า พฤติกรรมที่คล้ายว่าเบาและไร้รูปนี้แหละ เป็นสภาวะมี ก�ำลังมากน�ำซึ่งมาซึ่งทุกข์อันไม่รู้จบแห่งชีวิต หลวงพ่อค�ำเขียน สุวัณโณ ได้แสดงธรรมเปรียบ เทียบถึงเรื่องการควบคุมความทุกข์ไว้ โดยเปรียบเหมือน กับช้างหรือควายที่มีขนาดใหญ่ พลก�ำลังเยอะ มนุษย์เรา
29
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
ซึง่ ตัวเล็กสูไ้ ม่ได้ หากเพียงแค่คำ� นึงถึงเรือ่ งพละก�ำลัง แต่ใน ความเป็นจริงท�ำไมมนุษย์ถึงสามารถล่ามควายได้ สามารถ ควบคุมช้างทีร่ า่ งกายขนาดใหญ่ได้ อีกทัง้ ช้างยอมให้มนุษย์ ขึ้นไปอยู่บนหลังและสามารถควบคุมของมันได้เพราะเหตุ ใด การท�ำได้เช่นนัน้ เพราะมนุษย์ได้เรียนรูถ้ งึ จุดทีจ่ ะจับหรือ บังคับสัตว์ขนาดใหญ่ไว้ได้ใช่หรือไม่ หลวงพ่อชา สุภทั โท เทศนาสัง่ สอนว่า “ผูใ้ ดตามรักษา จิตของตน...ผู้น้ันจะพ้นจากบ่วงของมาร” ค�ำว่าบ่วงมาร นั้นหมายถึงสิ่งที่จะน�ำมาซึ่งภัยเวรต่างๆ ทั้งในปัจจุบันและ อนาคตใกล้ไกล กล่าวคือ เพียงแค่เราปล่อยจิตให้เผลอเพลิน ไปกับเครื่องล่อทางทวารต่างๆ ให้เกิดความคิดความรู้สึก บุคคลนั้นย่อมได้ก่อตัวมารขึ้น และมารนั้นก็พร้อมที่จะกลับ มาเป็นเหตุทกี่ อ่ อารมณ์แบบเก่าให้แก่ผนู้ นั้ อีกครัง้ ทัง้ ในชีวติ ปัจจุบนั และชีวติ ในชาติตอ่ ๆ ไปตามอัตภาพต่างๆ ทีจ่ ะได้รบั
30
สํ า ร ว ม
ขณะตาย ‘อาการเผลอ’ คือค่าบัตรผ่านไปอบาย การตายในงวดที่ก�ำลังจะมาถึงนี้ หากยังต้องเกิดอีก ก็ ควรจะบริหารการเกิดใหม่ตงั้ แต่ตอนนี้ เพราะการไปเกิดใหม่ ในภพภูมหิ น้า ไม่ใช่เรือ่ งการเสีย่ งดวงแบบโยนลูกเต๋า ความ จริงแล้วกระบวนการนั้นมีกฎมีเกณฑ์ที่แน่นอนจ�ำนวนหนึ่ง ที่ได้มาเกิดครั้งนี้ ชาตินี้นั้น ปัจจัยที่น�ำเรามาก็มา ด้วยสิ่งที่เรียกว่า ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจจากเมื่อภพชาติ ก่อนแบบเดียวกับทีเ่ รามีในชาตินนี้ เี่ อง แต่การกล่าวเช่นนัน้ เป็นการกล่าวโดยอุปมา เพราะล�ำพังอวัยวะภายนอกนั้นไม่ ได้มีอ�ำนาจในระดับที่จะน�ำคนคนนั้นไปเกิดใหม่แต่อย่างใด แต่กายภาพด้งกล่าวเป็นองค์ประกอบของการท�ำกรรม ดัง นั้นหากจะระบุให้ตรงจุดก็ต้องบอกว่า กรรมน�ำมาเกิดก็ไม่ ผิด หรือจะกล่าวด้วยภาษาอภิธรรมก็บอกว่า อวิชชาน�ำมา เกิด และจะยังเกิดต่อๆ ไปถ้ายังไม่รวู้ ชิ ชาและไม่แจ้งในความ จริงที่เรียกว่า อริยสัจ
31
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
ดังที่กล่าวแล้วว่าตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจน�ำเราไปเกิด ใหม่นนั้ เป็นการกล่าวโดยอุปมา เพือ่ จะให้เข้าใจโดยละเอียด จ�ำเป็นจะต้องศึกษากรรมให้ถอ่ งแท้ แต่ในทีน่ จี้ ะกล่าวโดยย่อ ว่า ในฝ่ายของทวารทางตาอันเป็นเครือ่ งรับกระทบรูปนัน้ ตัว ตาเองไม่ได้มอี ำ� นาจอะไรน�ำไปเกิด แต่สงิ่ ทีม่ บี ทบาทคือ จิต การทีต่ าเห็นรูปนัน้ ๆ แล้ว สติไม่วอ่ งไวท�ำให้เกิดสภาวะเผลอ เพลินไปในรูปนัน้ ๆ ความเพลินอันเป็นสภาวะธรรมทีเ่ รียกว่า โมหะนัน้ ไหลเข้าไปสูก่ ลไกการท�ำงานเพือ่ สร้างภพสร้างชาติ จบครบขั้นตอนเป็นที่เรียบร้อย กระบวนการนี้เรียกว่า กระ แสปฏิจจสมุปบาท ครบวงรอบนี้แล้วก็เป็นอันว่า พื้นที่ชาติ หน้าได้รอคอยบุคคลนั้น ไปเสวยหรือรับอารมณ์ในลักษณะ เดียวกันนี้อีกครั้ง ด้วยกระบวนการของธรรมชาติเฉพาะทวารทางตานี้ เราก็ลองพิจารณาไปถึงทวารอืน่ ๆ ด้วย เช่น ทางหู ทางจมูก เป็นต้น จะเห็นว่า ทางเหล่านี้เป็นทางมาของปัจจัยเอื้อการ เกิดใหม่ทั้งนั้น วันหนึ่งๆ เราก็รับกระทบและเกิดความคิด ความรูส้ กึ ตามการรับกระทบนัน้ ๆ นับไม่ได้ ดังนัน้ จึงกล่าว ได้ว่า ทุกๆ วินาที ทุกวันที่ผ่านไป ไม่ว่าจะเป็นขณะที่เรา ประกอบกิจการงานหรือการพักผ่อน หากไม่เรียนรูว้ ธิ จี ดั การ กับจิต เราก็ต่างเป็นผู้ที่ขยันขันแข็ง (คือเผลอเพลิน) ในการ สร้างบ้านสร้างเรือนหลังใหม่ รอให้ตวั เองได้ยา้ ยเข้าไปอยูใ่ น อนาคต นี่จึงเป็นที่มาของการเกิดแล้วเกิดอีก ตายแล้วตาย อีก อันหาที่เริ่มที่สุดไม่ได้ พระพุทธทาส ภิกขุ ได้อธิบาย เรื่องนี้ว่า “วันหนึ่ง เราเกิดตัณหาอุปาทานกี่ครั้ง อ้ายชาติ
32
สํ า ร ว ม
ชนิดนั้นจะเกิดเท่านั้นครั้ง” พิจารณาให้ลึกซึ้งจึงเป็นเรื่องที่ น่ากลัว น่าเบื่อหน่าย ท่านจึงกล่าวว่า ดูก่อนผู้เห็นภัยในวัฏสงสารทั้งหลาย วัฏสงสารนี้ก�ำหนด ที่สุดเบื้องต้น และเบื้องปลายไม่ได้ เมื่อเหล่าสัตว์ทั้งมวล ล้วนมีอวิชชาเป็นทีก่ างกัน้ มีตัณหาเป็นเครือ่ งประกอบไว้ แล้ว ก็ย่อมจักท่องเที่ยวอยู่อย่างนี้เรื่อยไป โดยที่สุดเบื้อง ต้นและเบือ้ งปลายแห่งสังสารวัฏนัน้ ไม่มปี รากฏให้เห็นเลย
ความยาวนานของการเวียนว่ายตายเกิดนัน้ พระสัมมา สัมพุทธเจ้าได้ตรัสอุปมาไว้ว่า …น�้ำตาที่หลั่งออกมาจากพวกเธอทั้งหลายซึ่งเคยร้องไห้ คร�่ำครวญ เพราะได้ประสพกับสิ่งที่ไม่พอใจ พลัดพราก จากสิ่งที่ตนเองรักใคร่ ในขณะที่พวกเธอต้องท่องเที่ยว เวียนว่ายตายเกิดอยูน่ ี่ โดยกาลนานมานีม้ ปี ริมาณมากกว่า น�้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔ น�้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔ มีปริมาณ น้อยกว่านับไม่ถ้วน” …โลหิตทีห่ ลัง่ ไหลออกจากกายของพวกเธอผูซ้ งึ่ เคยถูกตัด ศีรษะในขณะทีท่ อ่ งเทีย่ วเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในสังสารวัฏ เช่น เป็นวัว ควาย เป็ด ไก่ นักโทษที่ถูกประหารชีวิต ด้วยการตัดศีรษะ เป็นต้น ยังมีปริมาณมากกว่าน�้ำใน มหาสมุทรทั้ง ๔
ดังนัน้ การตายในงวดทีก่ ำ� ลังจะถึงนีเ้ มือ่ ยังไม่แจ้งพระ นิพพาน ก็เชื่อว่ายังต้องเกิดอีก ซึ่งประเด็นการเกิดอีกแม้
33
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
จะมีความน่าเบื่อหน่าย แต่ก็น่ากลัวน้อยกว่าปัญหาที่ว่า จะ เกิดในภูมิไหน ในอัตภาพแบบใด ซึ่งเรื่องนี้ หากพิจารณา ตามหลักของศาสนาพุทธตลอดสายนั้น ย่อมจะเห็นได้ชัด ว่า แท้จริงแล้ว เราสามารถบริหารจัดการเรื่องการเกิดใหม่ ได้ด้วยตนเอง และก็สามารถกระท�ำได้เลยตั้งแต่วินาทีนี้ ไป จนกระทั่งก่อนตาย พระสูตรในพระพุทธศาสนากล่าวโดยสรุปว่า จุติจิต หรือจิตสุดท้ายของผู้ตาย จะไปก่อให้เกิดปฏิสนธิจิตในชาติ ต่อไป ถ้าจุติจิตนั้นก�ำลังรับภาพหรือได้ยินเสียงอันก่อให้ เกิดอารมณ์ใด ก็จะท�ำให้จุติจิตเสวยอารมณ์นั้น เรียกกันว่า กรรมอารมณ์ เปรียบเสมือนวัวจ�ำนวนมากทีเ่ บียดเสียดอยูใ่ น คอก อาจมีทั้งวัวสีขาวและวัวสีด�ำ เมื่อเปิดประตูคอก วัวตัว ทีอ่ ยูใ่ กล้ประตูทสี่ ดุ ก็มสี ทิ ธิหลุดออกนอกประตูกอ่ นวัวตัวอืน่
34
สํ า ร ว ม
๒
บ ท ที่
ไม่มีกรรม’ไร เ มื่ อ รู้ ต า ม จ ริ ง ความหวั่นไหวในโลกไหนๆ ของผู้ใดไม่มี เพราะพิจารณาเห็นอารมณ์อันยิ่งและหย่อน ในโลก เรากล่าวว่า ผู้นั้นซึ่งเป็นคนสงบ ไม่มีโทษดุจควัน ไม่มีทุกข์ใจ ไม่มีความหวัง ข้ามชาติและชราได้ ดังนี้ — อานันทสูตรที่ ๒
35
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
บทนี้ เมื่อแสดงหัวข้อให้เต็มรูปประโยคจะได้ความ หมายว่า เราจะปราศจากการท�ำกรรมเมื่อระลึกรู้ในสภาวะ ธรรมนั้นๆ กรรมหรือการกระท�ำทั้งทางใจ วาจาและกายมีผล ท�ำให้บคุ คลได้รบั ต่อสิ่งทีท่ ำ� เรือ่ งกรรมถือเป็นกฎธรรมชาติ ข้อหนึง่ ทีว่ า่ ด้วยการกระท�ำและผลแห่งการกระท�ำ ซึง่ การก ระท�ำและผลแห่งการกระท�ำนั้น ย่อมสมเหตุสมผลกัน เช่น เราส่ง ‘แรง’ ผ่านก�ำปั้นไปกระทบกับก�ำแพงเราย่อมได้รับ ‘แรง’ นั้นๆ กลับคืนมา เป็นต้น นอกจากนี้กรรมยังเป็น สมบัติภายในเฉพาะบุคคล ตนเองเท่านั้นที่จะได้รับผลของ สิ่งที่กระท�ำ ไม่สามารถส่งหรือเผื่อกรรมนั้นๆ ไปยังบุคคล อื่น แต่ละคนมีชีวิตอยู่ขณะนี้เป็นผลมาจากการกระท�ำใน ช่วงเวลาที่ผ่านมา ท�ำนองเดียวกัน กรรมที่ก�ำลังท�ำอยู่ขณะ นี้เป็นเหตุที่จะส่งผลสืบเนื่องต่อไปยังอนาคต กฎธรรมชาติ ข้อนีบ้ อกว่าการกระท�ำดี ไม่สามารถลบล้างการกระท�ำชัว่ ได้ เมือ่ ท�ำฝัง่ ดีแล้วผลการกระท�ำย่อมเป็นส่วนของฝัง่ ดี และเมือ่ ท�ำในด้านชั่วไปแล้วผลนั้นย่อมอยู่ในฝักฝ่ายชั่ว อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าการท�ำกรรมดีจะลบล้างกรรม ชั่วเก่าที่มีอยู่เดิมไม่ได้ แต่มีส่วนช่วยให้ผลจากกรรมชั่วที่มี อยู่เดิมผ่อนลง คือ การผ่อนหนักให้เป็นเบา ข้อนี้ อุปมาได้ กับการทีเ่ รามีนำ�้ หนึง่ แก้วแล้วผสมเกลือลงไปหนึง่ ช้อน และ หากเติมน�้ำบริสุทธิ์ลงไปแล้ว แม้ไม่สามารถท�ำให้น�้ำรสเค็ม จากเกลือนั้นกลับบริสุทธิ์ได้ แต่ก็ได้ท�ำให้น�้ำรสเค็มนั้นกลับ เจือจางลงกว่าเดิม ท�ำนองเดียวกันกรรมชัว่ ทีไ่ ด้กระท�ำลงไป
36
สํ า ร ว ม
แล้วนัน้ ย่อมเป็นก�ำลังทีน่ อนเนือ่ งรอการให้ผล ในเวลาต่อมา แม้เมือ่ ท�ำกรรมดีกไ็ ม่อาจจะลบล้างสิง่ ทีท่ ำ� ชัว่ ได้ แต่สามารถ ที่จะท�ำให้กรรมชั่วนั้นเบาบางลง
37
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
กรรมวิจิตร คนเขลา (ย่อมท�ำ) กรรมทีเ่ กิดเพราะโลภะ โทสะและโมหะ กรรมใด ที่คนเขลานั้นท�ำแล้ว น้อยหรือมากก็ตาม กรรม นั้น ให้ผลในอัตภาพ (ของผู้ท�ำ) นี้แหละ วัตถุอื่น (ซึ่งจะ เป็นที่รับผลของกรรมนั้น) ไม่มี เพราะเหตุนั้น ภิกษุผู้รู้ (ละ) โลภะ โทสะ โมหะ เสียแล้ว ยังวิชชาให้เกิดขึ้น ก็พึง ละทุคติทั้งปวงได้ — นิทานสูตรที่ ๔
ความแตกต่ า งกั น ของแต่ ล ะบุ ค คล ทั้ ง ทางด้ า นรู ป ร่างกายและทางด้านจิตใจ แตกต่างกันไปตามกรรมที่สั่งสม มา ลักษณะนี้เป็นความวิจิตร* ของแต่ละคน หรือเป็นกรรม วิจิตรของแต่ละคน จิตเป็นธรรมชาติที่วิจิตร สัตว์ บุคคล มีความแตกต่าง *วิจิตร ในที่นี้หมายถึง มีความซับซ้อน น่าพิศวง ทั้งรูปและนาม
38
สํ า ร ว ม
กันไปตามกรรม เมื่อกรรมวิจิตรแล้วเป็นเหตุให้การเกิดขึ้น ของสัตว์ต่างๆ ก็วิจิตรเพราะกรรมนั่นเองที่เป็นปัจจัย เช่น ช้างร่างกายมีขนาดใหญ่ ปลวกมีขนาดตัวที่เล็ก กรรมอะไร ที่ท�ำให้สัตว์ชนิดหนึ่งตัวใหญ่และอีกชนิดก็แสนที่จะเล็ก ซึ่ง ไม่มีใครสามารถจะรู้ได้ แต่ทั้งหมดมาจากความวิจิตรของ จิตที่ท�ำกรรมไปแต่ละขณะๆ พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๓ นิทานสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดของกรรมโดยสรุปไว้ว่า โลภะ โทสะ โมหะ เป็นต้นเหตุเพือ่ ความเกิดขึน้ พร้อมมูล แห่งกรรม กรรมอันนัน้ ย่อมให้ผลในทีๆ่ อัตภาพของบุคคล นัน้ เกิด กรรมนัน้ ให้ผลในอัตภาพใด บุคคลนัน้ ย่อมได้เสวย ผลของกรรมนัน้ ในอัตภาพปัจจุบนั บ้าง อัตภาพหน้าบ้าง อัตภาพต่อๆ ไปบ้าง
หากพิจารณาความโดยย่อในพระไตรปิฏกนีจ้ ะเห็นว่า เหตุเกิดแห่งกรรมนั้น เป็นเพราะเราปล่อยใจให้เผลอเข้าไป ในความโลภ ความโกรธและความหลง ซึง่ กิเลสทัง้ สามอย่าง นี้เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาที่เราไม่สามารถเข้าไปรู้ขณะที่มัน ก�ำลังเกิด จนกระทั่งปล่อยให้สภาวะนั้นกลายไปเป็นกรรม และเมื่อมีกรรมเกิดขึ้นวิบากก็ต้องตามมาเป็นกฎธรรมชาติ โดยปกติเรามักจะเข้าใจว่าผลกรรมหรือวิบากนั้นจะ มาในรูปของการถูกกระท�ำคืนที่สามารถมองเห็นได้ง่าย ซึ่ง หากคิดเช่นนั้นก็ไม่ถือว่าผิด เช่น เมื่อตีหัวใครสักคนกฎ แห่งการตอบแทนเราก็จะได้รับการถูกกระท�ำแบบนั้นคืน
39
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
แม้จะไม่สามารถระบุเวลาของการที่จะตอบกลับได้ แต่หาก พิจารณาให้ละเอียดกรรมที่กระท�ำไปนั้นจะสนองคืนเราไม่ รูปของการรับผัสสะและรับความรูส้ กึ นัน้ การถูกกระท�ำเป็น เพียงรูปแบบหรือเงือ่ นไขให้เกิดอารมณ์หนึง่ ๆ เท่านัน้ แต่ผล ของกรรมที่แท้จริงจะต้องกระท�ำต่อจิตใจให้เกิดเวทนาหรือ อารมณ์ เช่น คนในหมู่บ้านและอาศัยในซอยเดียวกันที่มีน�้ำ ท่วมบ้านข้าวของภายในบ้านและตัวบ้านเสียหายเท่าๆ กัน นางเอ เสียใจมากถึงขั้นหมดอาลัยตายอยากร้องห่มร้องไห้ แต่ น างบี เ พี ย งแค่ เ กิ ด ความเบื่ อ หน่ า ยเล็ ก น้ อ ยที่ จ ะต้ อ ง ซ่อมแซมอีกครั้ง ซึ่งทั้งสองคนแม้ว่าจะถูกกระท�ำเท่าๆ กัน แต่ความเสียใจมีระดับทีแ่ ตกต่างกันมาก เรือ่ งนีจ้ งึ อธิบายได้ ด้วยหลักของวิบากกรรม กล่าวคือ ผัสสะการรับกระทบของ คนทั้งสองนั้นมีความแตกต่างกันอันเนื่องมาจากกรรม หรือ เหตุที่ท�ำมาในอดีตซึ่งมีความวิจิตรซับซ้อนต่างกัน เป็นต้น ดังนั้นจะเห็นว่า สิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิต ณ ปัจจุบันขณะ สิ่งนั้นๆ เป็นผลของเหตุ หรือผลของการกระท�ำในอดีต ส่ง ผลมาให้ได้รับอารมณ์ปรากฏ ในรูปของเหตุ/สิ่งที่เกิดขึ้นใน ชีวิต ท�ำให้บุคคลมีความรู้สึกยินดี (ถูกใจ/ชอบ) ยินร้าย (ไม่ ถูกใจ/ชัง) ในน�้ำหนักหรือความรุนแรงต่างๆ ซึ่งกล่าวได้ว่า การที่ไม่รู้ชัดในผัสสะ ไม่รู้ชัดในความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้น ขณะที่มีผัสสะนั้นเป็นเหตุปัจจัยของการรับวิบากที่แตกต่าง กัน และด้วยเหตุของความไม่มสี ติรขู้ ณะปัจจุบนั สภาวะนัน้ ๆ เป็นเหตุให้หลงสร้างเหตุทางมโนกรรมบ้าง วจีกรรมบ้าง กายกรรมบ้าง ตามแรงผลักดันที่เกิดขึ้นภายใน และน�ำมา
40
สํ า ร ว ม
ซึง่ การก่อให้เกิดภพชาติใหม่อยูเ่ นืองๆ และภพชาติใหม่ของ แต่ละคนก็แตกต่างกัน ตามแต่เหตุทไี่ ด้กระท�ำโดยอาศัยช่อง ทางทัง้ สาม ในเรือ่ งเดียวกันนี้ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราชฯ ทรงอธิบายถึงลักษณะความแตกต่างอันเป็น ผลของวิบากว่า “ความแตกต่างของชีวิตที่ส�ำคัญที่สุด ที่แสดงให้เห็น อ�ำนาจที่ ใหญ่ที่สุดของกรรม คือความได้ภพชาติของ มนุษย์ กับความได้ภพชาติของสัตว์”
41
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
รู้ตามจริง วันหนึง่ ๆ หลังจากทีต่ นื่ ขึน้ จากทีน่ อน เราประกอบกิจวัตร หลายอย่างตั้งแต่การดูแลความสะอาดของร่างกาย การ แต่งกาย การรับประทานอาหาร เมื่อเดินทางออกจาก บ้านเราได้พบเจอกับเพื่อนร่วมทางเหตุการณ์มากมาย ระหว่างทาง ขณะเดียวกันก็รู้สึกกังวลในเรื่องเวลา หาก ถนนเช้านัน้ แน่นไปด้วยผูค้ นและรถยนต์ ท�ำให้คดิ ต่อไปอีก ว่าอาจจะเป็นวันทีต่ อ้ งไปท�ำงานสาย เมือ่ ความคิดกลับมา อยู่กับสถานการณ์ตรงหน้า เราก็เริ่มหงุดหงิดมากขึ้นเป็น ล�ำดับ คิดหาเหตุผลที่รถติด คิดถึงต้นตอของปัญหา ครั้น พอรถบนถนนเริ่มเคลื่อน ก็กลับมาระวังและคิดขอในใจ ให้รถไหลไปเรื่อยๆ กระทั่งเมื่อถึงที่ท�ำงาน เราก็ประกอบ กิจการงานตามรับมอบหมาย เรามีความรู้ความสามารถ ในงานที่ท�ำ มีการติดต่อประสานงานกับผู้คน หากสอน หนังสือก็ต้องเผชิญกับความหลากหลายของผู้เรียน รู้สึก พอใจหากวันนัน้ เป็นวันนัดส่งงานแล้วมีผเู้ รียนส่งการบ้าน เกือบทุกคน แต่ไม่พอใจเมื่อพบสภาพที่ขาดความรับผิด ชอบของผูเ้ รียน พลอยคิดไปว่าตนเองไม่มอี ำ� นาจพอทีจ่ ะ
42
สํ า ร ว ม
บังคับให้ใครๆ เกรงกลัว หลังจากเลิกงานเรากลับถึงบ้าน รับประทานอาหารพร้อมกับเปิดละครโทรทัศน์ และดูไป พร้อมๆ กับรสอร่อยจากอาหาร ซึ่งท�ำให้รู้สึกพอใจ คิดไป ว่าถ้าได้รบั ประทานอย่างนีท้ กุ ๆ มือ้ ก็คงจะดี ขณะเดียวกัน นั้นก็เพลิดเพลินกับภาพยนตร์หรือละครจากโทรทัศน์ พลอยรู้สึกเศร้า หัวเราะและลุ้นไปกับเนื้อเรื่อง ก่อนเวลา นอนจะมาถึงก็นั่งคิดวางแผนถึงงานในรุ่งขึ้นที่จะมาถึง
…
ตลอดทัง้ วัน เรามีชวี ติ และด�ำเนินไปในกิจกรรมต่างๆ ตามโอกาสและหน้าที่ของแต่ละคนนั้น จากเรื่องหนึ่งไปสู่ เรื่องหนึ่ง จากอารมณ์หนึ่งไหลไปสู่อารมณ์หนึ่งเรื่อยไป มี ช่วงเวลาใดบ้างที่เราได้รู้ตามความเป็นจริง เราอาจจะคิด ว่าได้รู้ว่าเราตื่นนอนขึ้นอย่างสดชื่น เดินทางไปท�ำงานด้วย รู้และความจ�ำได้ว่า ไปทางสายนี้ ท�ำงานด้วยความรู้แบบนี้ จะได้ผลงานแบบนี้ ติดต่อผู้คนด้วยมารยาทแบบนี้ ในเวลา นี้ อาหารมื้อนี้รสอร่อยกว่ามื้อเที่ยงที่ผ่านมา ภาพยนตร์ หรือละครเรื่องนี้สนุก เรื่องนี้ไม่สนุก การรู้เช่นนี้ถือเป็นการ รู้ตามจริงหรือไม่ ในความเป็นจริงแล้ว การรูต้ ามจริงหรือรูต้ ามความเป็น จริงในปกติของปุถุชนอย่างเราๆ ท่านๆ กับที่พระพุทธเจ้า ทรงสอนให้รู้ตามจริงนั้นมีความต่างกัน การรู้ของผู้ที่ไม่ได้ เรียนรู้ที่จะรู้ตามจริงส่วนมากนั้นจะเป็นการรู้การกระท�ำอัน เป็นกิจภายนอก เช่น ขณะก�ำลังอาบน�้ำ ทันทีที่น�้ำกระทบ
43
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
กายธรรมดาเราจะรู้สึกเพียงเย็นหรืออุ่นที่ผิวแล้วเกิดความ รูส้ กึ พอใจ ไม่พอใจหรือเฉยๆ การรูด้ งั กล่าวนัน้ ถือเป็นการรับ รูท้ ที่ ำ� ไปสูก่ ารให้คา่ หรือตีความ (คือความพอใจ ไม่พอใจหรือ เฉยๆ) ซึ่งไม่ถือเป็นการรู้ตามจริง หากในกิจกรรมเดียวกัน ขณะก�ำลังอาบน�้ำ ทันทีที่น�้ำกระทบกาย แล้วเรารู้สึกเย็น หรืออุ่นตามแต่สภาพน�้ำ ขณะนั้นได้เกิดความตระหนักรู้ว่า มีห้วงหนึ่งแวบเข้าไปรู้ว่าจิตก�ำลังรู้ว่าเย็น – อุ่น และไม่น�ำ ไปสูก่ ารให้คา่ ให้ความหมาย การเข้าไปรูส้ ภาวะทีก่ ำ� ลังรูน้ นั้ เรียกว่าเป็นการรู้ตามจริง การรู้ตามจริงนั้น สติขณะนั้นจะต้องคม รู้เท่าทันสิ่งที่ เกิดขึน้ ตามทีเ่ ป็นจริง แล้วไม่ตอ้ งไปออกความเห็น เช่น เมือ่ ตักอาหารเข้าปาก ทันทีที่อาหารกระทบลิ้น ธรรมชาติของ ทวารนีจ้ ะเพียงแค่รบั กระทบแล้วส่งรหัสนัน้ ไปแปรสัญญาณ ทีจ่ ติ เมือ่ จิตรับข้อมูลนัน้ มา เสีย้ ววินาทีนหี้ ากสติไม่คมไว จิต จะเกิดความเห็นขึ้นมาทันที เช่น อาหารนั้นอร่อย ต่อมาจะ เกิดการตีค่าเป็นพอใจ หากอาหารนั้นรสไม่ดี ก็จะเกิดการตี ค่าเป็นไม่พอใจ การรู้ตามจริงจะต้องเข้าไปรู้ตั้งแต่ก่อนที่จิต จะให้ค่าความหมายของการรับกระทบแต่ละอย่าง ถ้าปฏิบัติเพื่อให้รู้ตามจริง ก็จะต้องบอกตัวเองว่า หน้าที่ของเรามีอยู่อย่างเดียว คือ อะไรที่เกิดขึ้นจากการ รับกระทบ ต้องเอาสติเฝ้าดู แล้วก็รู้เฉยๆ โดยไม่ต้องไปให้ คะแนน ไม่ต้องไปออกความเห็น หรือหากมีการเผลอให้ค่า ไปแล้วก็ต้องตามไปรู้ต่อในขณะนั้นๆ ว่าก�ำลังให้ค่าความ หมาย หรือตามไปรู้วา่ เราก�ำลังพอใจหรือไม่พอใจจากสิ่งที่
44
สํ า ร ว ม
ได้รับการรับกระทบ หากศึกษาเรื่องหลักการนี้ในพระไตรปิฏกจะพบว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสัง่ สอนว่า ธรรมชาตินนั้ ๆ ทุกอย่าง จะเป็นเพียงสภาวธรรม แต่ในชีวติ ประจ�ำวันด้วยความทีม่ กั จะเผลอเพลิน ไปตามรูป เสียง กลิ่น รสและสัมผัส อย่างไม่รู้ เนื้อรู้ตัวในกิจต่างๆ ที่ก�ำลังประกอบนั้น เราเองนั่นแหละจึง เป็นผูท้ ที่ ำ� ให้ธรรมชาติทแี่ ท้จริงกลายเป็นอุปาทานและด้วย อุปาทานนีจ้ งึ เป็นการสร้างรวงรังแห่งทุกข์ขนึ้ มา ทุกอย่างจึง วุ่นวายไปหมด ธรรมชาติของจิตนั้นกระเพื่อม (หรือแปลค่าสิ่งที่รับ กระทบ) อยู่ตลอดเวลา เราไม่มีหน้าที่ที่จะห้ามการแปลค่า เหล่านั้น แต่เราต้องดูในการรับกระทบที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะส่ง ผลกระทบอย่างไรต่อจิตก็ตาม เช่น เกิดความยินดี ยินร้าย หรือเฉยๆ เราต้องเพียงแค่รใู้ นสิง่ ทีก่ ำ� ลังเกิดขึน้ ไม่ตอบโต้ ไม่มกี ารแก้ไข การทีเ่ ราเพียงแค่ดหู รือแค่รนู้ นั้ ปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้นก็คือ เราจะเห็นว่าสิ่งใดเกิดขึ้น สิ่งนั้นย่อมดับไป นี้ เรียกว่า รู–้ เห็นตามจริง เรานัน้ มีหน้าทีเ่ พียงรับรู้ ดูตามความ เป็นจริงของสิ่งที่เกิดขึ้นเท่านั้นเอง ต่อมา เมื่อรู้เห็นเช่นนี้ได้บ่อยครั้ง จิตจะเกิดการปล่อย วางลงไปด้วยตัวของจิตเอง โดยที่เราไม่ต้องไปพยายามคิด พิจารณาเพือ่ ให้เกิดการปล่อยวางแต่อย่างใด เปรียบเหมือน ชาวสวนไม่สามารถทีจ่ ะบังคับให้มะม่วงออกดอกออกผลได้
45
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
แต่สิ่งที่ท�ำได้ก็คือการท�ำเหตุซึ่งหมายถึงการรดน�้ำพรวน ดินหรือใส่ปุ๋ย หน้าที่ของการออกดอกออกผล เมื่อถึงเวลา มะม่วงจะเป็นผู้ท�ำเอง ในวิถีแห่งเซนนั้นเน้นการรักษาจิตให้ปกติ การด�ำรง สติ ระลึกรู้อยู่ทุกขณะในชีวิตประจ�ำวันถือเป็นการปฏิบัติ ธรรม เพราะเมือ่ มีสติแล้ว ย่อมไม่ปล่อยใจไปกับกิเลสทัง้ ปวง
46
สํ า ร ว ม
นิทานเซน: วิถีการกินและการนอน มีอุบาสในส�ำนักผู้หนึ่งเอ่ยถามอาจารย์เซนฮุ่ยไห่ ว่า “ท่านอาจารย์ ท่านมีเคล็ดลับในการปฏิบัติที่แตกต่างจาก ผู้อื่นหรือไม่?” อาจารย์เซนตอบว่า “มี” จากนั้นอุบาสกถามต่อไปว่า “อย่างไร?” อาจารย์เซนฮุ่ยไห่ ตอบว่า “เมื่อเรารู้สึกหิวก็จะกิน รู้สึก เหนื่อยล้าก็จะนอนหลับ” เมือ่ อุบาสกได้ยนิ ดังนัน้ จึงกล่าวแย้งว่า “แบบนัน้ จะเรียกว่า แตกต่างได้อย่างไร ใครๆ ก็ท�ำเช่นนั้นเหมือนกัน” อาจารย์เซนฮุ่ยไห่จึงบอกว่า “ที่กล่าวนั้นย่อมไม่เหมือน กัน” อุบาสกถามว่า “มีอันใดไม่เหมือน?” อาจารย์เซนฮุย่ ไห่ตอบว่า “ผูอ้ นื่ ขณะกินข้าวยังนึกถึงเรือ่ ง อื่นมากมาย ไม่ก�ำหนดจิตไว้ที่การกินข้าว เวลานอนก็ ปล่อยใจฝันเพ้อจึงไม่สามารถนอนหลับอย่างสงบ ต่าง จากเรา ยามที่เรากินข้าวก็มีเพียงกินข้าวไม่คิดถึงสิ่งอื่น ใด ยามทีเ่ รานอนหลับก็ไม่ปล่อยใจฟุง้ ซ่าน นีค่ อื สิง่ ทีแ่ ตก ต่างจากคนทั่วไป” จากนั้นจึงกล่าวต่อไปว่า “โลกียชนยากที่จะด�ำรงสติอยู่ ตลอดเวลา เพราะมักปล่อยใจว่ายวนอยู่ในห้วงกิเลส เมื่อ ไม่ได้กอ็ ยากได้ เมือ่ ได้แล้วก็หลงใหล เกิดความคิดฟุง้ ซ่าน ตลอดเวลา อารมณ์ทางโลกเหล่านี้เป็นอุปสรรคส�ำคัญที่ ขัดขวางไม่ให้พวกเขาหลุดพ้นจากแดนทุกข์”
47
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
จากนิทานเซนข้างต้นนั้นจะเห็นว่า การศึกษาธรรมะ แท้จริงคือการเรียนรู้ลงไปในจิตของตนเอง เร้าตนเองให้ เพียรเฝ้าดูการท�ำงานของจิต ไม่ปล่อยให้สิ่งนี้ส่งออกไปยัง ภายนอก และการศึกษาเรื่องธรรมะนั้นก็ไม่ได้แยกออกจาก กิจในชีวติ ประจ�ำวัน เพราะเกือบตลอดเวลาในแต่ละวันเราจะ ต้องเห็นด้วยตา ฟังด้วยหู ได้กลิน่ ด้วยจมูก ได้รสด้วยลิน้ และ สัมผัสด้วยกาย รวมถึงมีความรูส้ กึ ทางใจอันเป็นธรรมดาอยู่ แล้ว และเราไม่สามารถทีจ่ ะเลีย่ งกิจกรรมรับสัมผัสเหล่านีไ้ ด้ เรายังจ�ำเป็นต้องอาศัยวิหารอันเป็นเรือนกายนีเ้ ป็นโรงเรียน เป็นสถานที่ฝึกเพื่อเข้าถึงความจริง ซึ่งแม้ธรรมชาติให้การ รับสัมผัสของแต่ละคนมาเหมือนๆ กัน แต่ความแตกต่าง จะขึ้นอยู่กับว่าใครจะใช้ผัสสะนั้นรู้ความจริงของธรรมชาติ หรือใครจะใช้ผัสสะนั้นตอบสนองความอยากความต้องการ ของฝ่ายกิเลส แน่นอนว่าผลตอบแทนในระยะต่อไปของ การใช้สัมผัสที่แตกต่างนี้ย่อมจะได้ผลที่แตกต่างกันไปด้วย กฎของธรรมชาติ
48
สํ า ร ว ม
ผู้เป็นใหญ่ในการรู้อารมณ์ เมื่อได้ตระหนักแล้วว่า การระลึกรู้สภาวะธรรมหรือ อารมณ์ต่างๆ เกิดขึ้นแต่ละขณะๆ นั้นเป็นการสะกัดกั้นทาง มาของกิเลสอกุศล แต่ปญ ั หาก็คอื ต้องท�ำเหตุอย่างไรให้การ ระลึกรู้นั้นเกิดขึ้นบ่อย จนกระทั่งท�ำลายวงรอบของการเกิด ภพชาติให้ขาดสะบั้นลงในแต่ละขณะๆ สติ คือ ความระลึกรู้ตัว เรียกอีกนัยหนึ่งว่า สติน ทรีย์ คือ สภาวที่รู้สึกอยู่ในอินทรีย์ทั้ง ๕ หมายรวมถึง รู้ใน ผัสสะที่เกิดการรับกระทบทางตา หู จมูก ลิ้นและกาย ลักษณะเฉพาะของจิต มีการรูแ้ จ้งอารมณ์ เป็นใหญ่ใน การรูอ้ ารมณ์ มีการสืบเนือ่ งกัน คือการเกิดดับสืบต่อกัน เป็น เหตุใกล้ให้เกิดที่ว่ามีการรู้แจ้งอารมณ์เป็นลักษณะ ในพระอภิธรรมได้มีการอธิบายถึงเรื่องจิต สรุปได้ โดยย่อว่า การเกิดดับของจิตเป็นไปอย่างรวดเร็ว ยากที่จะ หาอะไรมาเปรียบเทียบได้ แม้กระแสไฟฟ้าที่เกิดดับอยู่ใน
49
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
หลอดไฟ อันมีความรวดเร็วอย่างไม่อาจมองเห็น ความเกิด ดับด้วยสายตานัน้ ก็ยงั มีความเร็วห่างไกลจากความเกิดดับ ของจิตอยู่มาก ขณะที่อารมณ์มากระทบขณะหนึ่งๆ นั้น จิต มีการเกิดดับ ๑๗ ครัง้ จึงเป็นเหตุให้บคุ คลผูไ้ ม่ฝกึ รูไ้ ด้เข้าใจ ผิดว่าจิตมีอยู่เพียงดวงเดียว ปรากฏอยู่ ทรงอยู่ไม่สูญสลาย ทีเ่ ข้าใจเช่นนัน้ เพราะการเกิดดับนัน้ เห็นได้ยาก เนือ่ งมาจาก ความเกิดดับที่สืบเนื่องติดต่อกันเร็วมาก พระคัมภีรม์ หาปัฏฐานกล่าวว่า จิตดวงแรกเกิดขึน้ และ ดับไปนั้นเป็นอนันตรปัจจัย (เหตุ) แก่จิตดวงที่ ๒ ให้เกิด ขึ้นและจิตดวงที่ ๒ เป็นอนันตรปัจจยุบ (ผล) นั้น ในขณะ เดียวกันก็เป็นอนันตรปัจจัย (เหตุ) ให้เกิดจิตดวงที่ ๓ ต่อ ไปอีกสืบต่อกันไปเช่นนี้ โดยไม่มีเวลาหยุด
50
สํ า ร ว ม
ไม่มีกรรม’ไร เมื่อรู้ตามจริง ในทางพุทธศาสนา อธิบายเรื่องกรรมไว้ใน ๒ ลักษณะ คือ กรรมฝ่ายกุศล (กรรมขาวหรือกรรมดี) และกรรมฝ่าย อกุศล (กรรมด�ำหรือกรรมชั่ว) กรรมทั้งสองฝ่ายนี้ล้วนแล้ว แต่ให้ผลไปตามกฎธรรมชาติอย่างยุติธรรม กล่าวคือ เมื่อ บุคคลท�ำกุศลกรรม ย่อมจะได้รับผลดี ตรงกันข้าม เมื่อ บุคคลท�ำอกุศลกรรมแล้ว ผลหรือวิบากฝ่ายชั่วย่อมให้ผล เช่นเดียวกัน นอกจากกรรมทั้งสองฝ่ายแล้ว พุทธศาสนา ยังสอนเรือ่ งกรรมอีกลักษณะหนึง่ คือ กรรมทีไ่ ม่เป็นทัง้ ฝ่าย กุศลกรรมหรืออกุศลกรรม หรือเรียกอีกทางว่า กรรมไม่ดำ� ไม่ ขาว ซึ่งจะมีวิบากไม่ด�ำไม่ขาว ลักษณะเช่นนี้ซึ่งเป็นกรรมที่ เกิดจากผูฝ้ กึ รูต้ ามจริงดีแล้ว เป็นไปเพือ่ ความสิน้ กรรม กรรม ไม่ด�ำไม่ขาวนั้นอยู่เหนือกรรมดีกรรมชั่ว แม้ผู้นั้นจะรับผัสส ะกระทบอยูต่ ลอดเวลา แต่จติ จะไม่เกาะเกีย่ วไม่ขอ้ งเอาเป็น อารมณ์ ฉะนั้นจึงมองว่าแม้จะมีกิริยาการกระท�ำแต่การกระ ท�ำนั้นๆ จะไม่ส่งผลใดๆ ลักษณะเช่นนี้จึงเรียกว่ากระท�ำแต่ ไม่มีผลหรือวิบากกรรม หรือไม่มีกรรมอะไรในขณะที่รู้ทัน
51
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
สภาวะนั้นๆ การท�ำกรรมนั้น ในความเป็นจริงไม่ใช่การไประบุเอา ตอนที่ร่างกายมีพฤติกรรม หรือวาจามีกิริยาอาการเท่านั้น แต่กรรมนั้นเกิดขึ้นทุกขณะที่เรารับกระทบแล้วเผลอเข้าไป เสพอารมณ์จากการรับกระทบนั้นๆ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง ว่า จิตทีค่ ดิ ทีป่ รุงแต่งนัน้ เป็นตัวภพ ตัวชาติ ไม่วา่ จะเป็นการ คิดถึงอดีต หรือถึงอนาคต หรือแม้ปรุงไปในลักษณะชอบใจ ไม่ชอบใจ ทัง้ หมดทัง้ มวลนัน้ ล้วนแล้วแต่เป็นการกระท�ำหรือ สร้างกรรม แต่ในทางกลับกัน บุคคลผู้มีสภาวะความรู้เนื้อ รู้ตัว มีขณะจิตเป็นสมาธิเกิดสติอยู่เนืองๆ บุคคลผู้นั้น ได้ ท�ำให้ภพชาติในวัฏฏสงสารสั้นลง เพราะเมื่อความรู้สึกตัว หรือสัมมาสมาธิเกิดขึน้ แล้ว ก็ยอ่ มจะเป็นการหยุดสร้างเหตุ แห่งกรรมในขณะนั้นทันที ผูฝ้ กึ เจริญสติจนกระทัง่ มีกำ� ลังสติดี เพราะอบรมสติไว้ ดีแล้ว ย่อมส�ำรวมระวังอินทรียไ์ ด้เนืองๆ เมือ่ มีการรับกระทบ ทางอารมณ์ตา่ งๆ สติทเี่ กิดรวดเร็วนัน้ จะท�ำให้ทราบชัดทันที ว่า การกระทบนี้เป็นอาการของ ‘นาม รูป’ เท่านั้น แล้วเมื่อ ปราศจากความคิดปรุงแต่งใดๆ ต่อ นามรูปนั้น สภาวะนั้น ก็ดับลง แต่หากเกิดการปรุงแต่งด้วยใจที่เผลอเข้าไปรับ อารมณ์พอใจไม่พอใจหรือเฉย วินาทีที่สติมาระลึกรู้ได้ตอน นี้ ก็ถือว่า ยังดีกว่าที่ที่จะปล่อยให้วงจรของการเกิดภพชาติ สมบูรณ์แบบ เมือ่ มีสติระลึกอยูอ่ ย่างนี้ กระท�ำให้มากอยูอ่ ย่าง นี้ อกุศลจิตย่อมไม่มี หรือหากเผลอไม่ทันรู้ตามจริง อย่าง น้อยช่วงที่รู้ทันแต่ละขณะๆ นั้นก็นับว่ามีประโยชน์มาก ดัง
52
สํ า ร ว ม
ที่มีการเปรียบเรื่องการเจริญภาวนาลักษณะนี้ว่า การเจริญ สติระลึกรู้ตามจริงได้เพียงชั่วขณะหนึ่งครู่หนึ่ง แม้จะสั้นชั่ว ช้างพับหูงูแลบลิ้น ดีกว่าหาสุขไม่ได้ตลอดกาล หลวงปู่ขาว อนาโย ศิษย์พระอาจารย์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต กล่าวว่า ผู้ที่ภาวนาจิตสงบลงชั่วช้างพับหู งูแลบสิน้ ชั่วไก่กินน�ำ้ นี่ อานิสงส์อักโข” นัยเดียวกันนี้หลวงปู่ทวด หรือสมเด็จเจ้า พะโคะ ได้เทศนาสั่งสอนไว้ว่า “การปฏิบัติจะตัดภพชาติ ให้สั้นลงทีละครึ่ง เช่น ถ้าเราจะเกิดอีก ๑๐๐ ชาติ ก็เหลือ ๕๐ ถ้าจะเกิด ๒๐ ชาติ ก็เหลือ ๑๐
ฉะนั้น เมื่อมีสติรู้ตามจริงในแต่ละขณะๆ วิบากหรือ ผลกรรมก็จะไม่เกิด พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสว่า พระ อรหันต์ทั้งหลายนั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส ค�ำว่าไกลจากกิเลส นั้น ไม่ใช่ว่าเหล่าพระอรหันต์ได้หนีกิเลสไปไกลที่ไหน หรือ ไม่ใช่ว่ากิเลสได้หนีไปจากท่าน มันมีอยู่อย่างนั้น แต่กิเลส ไม่สามารถแปดเปื้อนท่านได้ ในเรื่องดังกล่าวจึงมีอุปมาว่า เปรียบดังน�้ำกับใบบัว ถึงแม้ใบบัวกับน�้ำจะอยู่ด้วยกันก็จริง เมื่อน�้ำกระเด็นขึ้นมาบนใบบัว น�้ำก็กลิ้งอยู่บนใบบัวเพียง เท่านั้น แต่น�้ำไม่สามารถติดหรือซึมผ่านเข้าไปในใบบัวได้ กิเลสทั้งหลายก็เปรียบเสมือนน�้ำ จิตของผู้มีความว่องไว ปฏิบัติดีก็เปรียบเป็นใบบัว ความเผลอ ความติดเพลินหรือ นันทิอันเป็นกิเลสนั้นไม่สามารถเกิดขึ้นในตัวท่านได้ ไม่ สามารถซึมเข้าไปในจิตของท่านได้ อารมณ์ต่างๆ ที่จรเข้า มาในจิตในใจก็ลว้ นแต่ถกู รู้ ถูกท�ำลายด้วยการเข้าไปรูอ้ ยูท่ กุ
53
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
ขณะ เช่นนี้จึงเรียกว่า ไม่มีกรรม’ไร เมื่อรู้ตามจริง
54
สํ า ร ว ม
การส�ำรวม: กางกั้นอบายภูมิ สติที่เกิดแต่ละขณะนั้น ท�ำให้ตัดอารมณ์พอใจ หรือ ไม่ พ อใจ สภาวะที่ เ กิ ด ขึ้ น ขณะนั้ น สั ม มาสติ ไ ด้ เ กิ ด แล้ ว ลักษณะเช่นนั้นจึงไม่มีตัวเราหรือสัตว์บุคคลอยู่ใน (ความ คิด) ที่นั้นๆ เมื่อไม่มีตัวตนประกอบจึงไม่เป็นเหตปัจจัยของ การเกิดภพใหม่ จึงได้ชื่อว่าไม่มีเหตุของการสร้างบ้านเรือน รอไว้ในอนาคต ใน อรรถกถา ขุททกนิกาย สุตตนิบาต ปา รายนวรรค อชิตปัญหาที่ ๑ อรรถกถาอชิตสูตร ที่ ๑ ได้ยก เรื่อง อชิตปัญหาของ อชิตมาณพ (ผู้ที่เป็นพระโพธิสัตว์ที่ จะได้เป็นพระศรีอริยเมตตรัยอนาคตกาล) ประกอบไว้ ว่า ครัง้ นัน้ ท่านได้กราบทูลถามพระพุทธเจ้าว่า “อะไรหนอ เป็น เครื่องกั้นกระแส* ฯ” พระองค์ทรงตรัสตอบว่า “สติ นั้นแล เป็นเครื่องกั้นกระแส” ดังนั้นในขณะที่กุศลจิตเกิด (เมื่อมีสติ ระลึกรูข้ ณะอารมณ์) อกุศลจิต ก็จะเกิดไม่ได้ เพราะธรรมชาติ ของจิตเกิดได้ทลี ะหนึง่ เท่านัน้ ด้วยเหตุนนั้ เมือ่ บุคคลส�ำรวม สติระลึกรู้อารมณ์ที่จรผ่านทวารต่างๆ เข้ามาเรื่อยๆนั้น จิต ย่อมไม่ซัดส่ายปรุงแต่งไปตามอารมณ์ต่างๆ ได้ พร้อมกัน นั้นบุคคลย่อมเป็นผู้ก�ำจัดความยินดี ยินร้าย เป็นผลให้กั้น เหตุแห่งกรรมที่มีผลจะน�ำไปสู่วิบากทั้งในชาตินี้และวิบาก ที่น�ำเกิดในภพหน้า
* กระแส ทีพ่ ระพุทธองค์ทรงประกาศแล้วคือ กระแสตัณหา กระแส ทิฎฐิ กระแสกิเลส กระแสทุจริต กระแสอวิชชา กระแส 55
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
ดังที่กล่าวไว้แล้วในบทข้างต้นว่า โดยมากเรามักจะ ท�ำกรรมทั้งกาย วาจา ใจตลอดเวลา สิ่งที่เผลอคิดอัน ประกอบด้วยเจตนาขณะนี้ ล้วนแต่มีผลในวินาทีข้าง หน้า ความคิดที่อุบัติขึ้นด้วยความไม่รู้เนื้อรู้ตัวได้ต่อทาง สังสารวัฏให้ยืดยาวออกไปเรื่อยๆ กรรมนั้นแม้ส�ำเร็จแล้ว ด้วยใจ…แต่อ�ำนาจแห่งเจตนานั้นๆ ย่อมยังถูกเก็บเป็นเชื้อ พลังงานเอาไว้...รอคอยกาลเวลา หรือโอกาสทีจ่ ะงอกงามได้ ธรรมเทศนาท่านแสดงไว้ในเรือ่ ง ชวนจิต* ทีเ่ กิดขึน้ บน วิถี ทุกวิถที ที่ ำ� กรรม แม้กระทัง่ ทางมโนทวารโดยสรุปว่า จิต ที่เผลอคิดขณะหรือดวงต่างๆ นั้น ส่งผล (วิบาก) ได้ในชาติ ปัจจุบนั บ้าง ชาติหน้าบ้างหรือส่งในปวัตติกาลคือหลังเกิดมา แล้วในชาติถัดไป บางดวงไม่มีวันหมดวาระ หากยังไม่ได้ให้ ผล กรรมอันเกิดเพราะจิตเผลอนั้นสามารถเก็บเชื้อแห่งเจต นานั้นๆ นานจนกว่าจะบรรลุมรรคผลนิพพาน หากไม่บรรลุ หรือไม่มโี อกาสบรรลุ ก็รอส่งกันไปไม่มที สี่ นิ้ สุดด้วยกาลเวลา ความเปรียบเทียบว่า “พึงเห็นชวนะดวงที่ ๑ เหมือนข้าวสวยพร้อมกินในหม้อ กินได้เพียงวันเดียว ก็หมดวาระ พึงเห็นชวนะดวงที่ ๗ เหมือนข้าวสารที่เก็บไว้ให้ถังข้าวสารรอการหุงในวันพรุ่ง พึงเห็นชวนะดวงที่ ๒ ถึง ๖ เหมือนข้าวเปลือก ที่เก็บไว้
* สภาวะหรือวิถีของจิตที่ก�ำลังเสวยอารมณ์ต่างๆ ทั้งอารมณ์ที่ถูกใจ ยินดีพอใจ (อิฏฐารมณ์) หรือ อารมณ์ที่ไม่ถูกใจ หงุดหงิด ฉุนเฉียว โทสะ (อ นิฏฐารมณ์) หรือ อารมณ์ที่เฉยๆ กลางๆ 56
สํ า ร ว ม
เต็มยุ้งฉาง เก็บรอไว้ได้นานมาก
ท่านกล่าวว่า จงเห็นกรรมนั้นเป็นเสมือนคลื่นพลัง แห่งกระแสคลื่นกรรมจะไม่สูญหาย ยังเก็บอ�ำนาจของตน (กรรมนั้น) ไว้อยู่ เมื่อพิจารณาความกลัว หรือภัยแห่งความเผลอ ความ ไม่สำ� รวมแล้วจะเห็นว่า อารมณ์ (ทัง้ ฝ่ายพอใจ–ไม่พอใจ) อัน เป็นภัยสมบัตทิ เี่ กิดมาพร้อมกับความไม่รขู้ องมนุษย์นนั้ ถือ เป็นเครื่องล่อ เป็นเชื้อเพลิงที่หล่อเลี้ยงให้ชีวิตว่ายวนอยู่ใน สงสารสาครแห่งนีอ้ ยูเ่ รือ่ ยไป ธรรมชาติปกปิดไว้ซงึ่ อดีตชาติ ของมนุษย์ ท�ำให้เรารูไ้ ด้ยาก ด้วยเหตุนเี้ ราจึงไม่รวู้ า่ การเกิด และตายเมือ่ ครัง้ ผ่านๆ มานัน้ ยาวนานน่าเบือ่ หน่ายสักเพียง ไร การได้มาซึ่งอัตภาพของมนุษย์ในชาตินี้ก็ได้มาเพราะยัง ไม่รู้ตามจริงในภัยแห่งอารมณ์ และก็ถูกความไม่รู้อันเดิมนี้ ปัน่ หัว มองตัง้ แต่ตน้ จรดปลายไม่ออก และจะยังถูกโยนถ่วง ไว้ในสังสารวัฏด้วยการข้องในอารมณ์ต่างๆ ต่อไป ความพอใจ ไม่พอใจ สองฝ่ายแห่งอารมณ์นี้ชื่อว่า กรรมใหม่ เพราะเมื่อบุคคลเผลอเข้าไปในอารมณ์ทั้งสอง นั้นเรียกได้ว่าได้รับอารมณ์นั้นๆ เพราะกรรมเก่าให้ผล ใจที่ เข้าไปสัมผัสกับอารมณ์พอใจ ไม่พอใจก็เพราะเป็นผลจาก กรรมเก่าทีต่ นได้เคยท�ำไว้แล้ว อารมณ์ทงั้ หลายทีม่ าส่งมาก ระทบ จึงนับเป็น วิบาก คือ ผลของกรรม เช่น เมื่อรู้ว่าถูก เขานินทาว่าร้าย แล้วขณะนั้นไม่มีสติระลึกได้ ท�ำให้เสียง
57
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
นั้นผ่านเข้าไปปรุงแต่โดยจิต เกิดเป็นอารมณ์ฝ่ายไม่พอใจ แล้วปรุงแต่งความคิดนั้นๆ ต่อๆ ไปอีก ขณะนั้นกรรมใหม่ ได้เกิดขึ้นแล้ว วงรอบเหตุปัจจัยของการสร้างภพสร้างชาติ รอไว้แล้ว หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ความหลงในอารมณ์ นั้นๆ ได้ซื้อที่ซื้อทางสร้างบ้านหลังใหม่ไว้รอแล้ว หากบ้าน หลังทีอ่ ยูป่ จั จุบนั เสือ่ มลง ก็พร้อมทีจ่ ะย้ายเข้าอยูใ่ นบ้านหลัง ใหม่ได้ทันที อธิบายในเชิงพยัญชนะได้ว่า กรรมดีย่อมส่ง ผลให้รับผัสสะและอารมณ์ที่ดี ส่วนกรรมชั่วก็ส่งผลให้ได้รับ ผัสสะอารมณ์ที่ไม่ดี ซึ่งจะเห็นได้ว่า ตลอดเวลาที่เราเผลอนั้นเราได้กระท�ำ กรรมตลอดเวลา เพราะการเผลอน�ำมาซึง่ การเข้าไปหลงเสพ ในอารมณ์หนึ่งๆ แม้กระทั่งอารมณ์เฉยๆ กล่าวคือ เหม่อ ไปเรื่อยๆ แม้ไม่ใช่อารมณ์พอใจหรือไม่พอใจ การเหม่อนั้น ก็เป็นห้วงที่ปราศจากการรู้ในปัจจุบันขณะ ท�ำให้อกุศลจิต เกิดขึ้น อกุศลจิตที่เหม่อลอยนั้น ครั้นเมื่อถึงคราวตาย จิต ฝ่ายอกุศลที่สั่งสมไว้มาก ย่อมน�ำไปสู่อบายภูม*ิ เช่น ไปเกิด เป็นสัตว์ เป็นต้น ดังนั้น แม้บุคคลจะมีเชื่อเรื่องภพภูมิและการเวียน ว่ายตายเกิด แต่หากขาดความรู้เรื่องเหตุที่น�ำคนไปสู่ภูมิ ต่างๆ อย่างไร โดยเฉพาะภูมิต่�ำกว่าความเป็นมนุษย์เช่น
* ผู้อ่านควรศึกษาเรื่องของอบายภูมิให้เข้าใจ เพื่อจะได้เห็นถึงภัย ที่น่ากลัว จนเป็นเหตุให้ต้องศึกษาหนทางปิดกั้นทางไปแห่งทุกขภูมิดังกล่าว อย่างละเอียด 58
สํ า ร ว ม
อบายภูมินี้ ก็ยังถือว่าไม่รอบคอบนัก เพื่อปิดกั้นทางไปสู่ ภูมิดังกล่าวจึงพึงปฏิบัติส�ำรวมอินทรีย์อยู่เนืองๆ ดังที่พระ ภาวนาวิสุทธิคุณท่านได้เทศนาสั่งสอนว่า ถ้ามีสติปัฏฐาน ๔ มีสติสัมปชัญญะดี อบายภูมิก็ไม่ต้อง ไป ปิด นรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉานทางอายตนะ ธาตุ อินทรีย์ฯ
เป็นต้น
59
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
จิตที่เจริญกุศลเนืองๆ มีผลมากในขณะก�ำลังตาย มีการเปรียบเทียบลักษณะของการท�ำงานของสภาวะ จิตขณะก�ำลังจะตาย เปรียบเสมือนโคที่ถูกขังยัดทะนานอยู่ ในคอก ซึ่งโคในนั้นมีสองกลุ่มด้วยกันคือ โคที่เป็นตัวแทน กุศลกรรม และโคที่เปรียบเป็นอกุศลกรรมอัตราส่วนของโค ทัง้ สองจ�ำพวกนีห้ ากกลุม่ ใดมากกว่าก็ยอ่ มจะยืนอยูล่ น้ หลาม ภายในคอก อีกทัง้ เป็นเหตุให้ได้ยนื อยูบ่ ริเวณปากคอก และ เมือ่ ประตูเปิดออกโอกาสจะได้ออกจากคอกเป็นตัวแรกย่อม เป็นไปได้ง่าย อุปมาดังกล่าวอธิบายไว้ในเรื่อง ยทาสันนกรรม* หรือ อาสันนกรรม กล่าวว่า ส่วนในบรรดากุศลกรรมและอกุศลกรรมทั้งหลาย กรรม ๑๒๗
* พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่
60
สํ า ร ว ม
ใดสามารถระลึกถึงได้ในเวลาใกล้ตาย กรรมนัน้ ชือ่ ว่า ย ทาสันนกรรม ยทาสันนกรรมนัน่ แหละ เมือ่ กุศลกรรมและ อกุศลกรรมเหล่าอืน่ ถึงจะมีอยูก่ ็ให้ผล (ก่อน) เพราะอยู่ ใกล้มรณกาล เหมือนเมื่อเปิดประตูคอก ที่มีฝูงโคเต็ม คอก บรรดาโคฝึกและโคมีก�ำลัง ถึงจะอยู่ในส่วนอื่น ที่ไกลจากปากหรือประตูคอก โคตัวใดอยู่ใกล้ประตูคอก โดยที่สุดจะเป็นโคแก่ถอยก�ำลังหรือก�ำลังน้อยก็ตาม โค ตัวนั้นก็ย่อมออกได้ก่อนอยู่นั่นเอง
ในข้ออุปมาข้างต้นมีเรื่อง “คนเฝ้าประตูชาวทมิฬ*” เป็นตัวอย่าง ดังนี้ ในบ้านมธุอังคณะ มีนายประตูชาวทมิฬคนหนึ่งถือเอา เบ็ดไปแต่เช้า ตกปลาได้แล้วแบ่งออกเป็น ๓ ส่วน ส่วน หนึ่งเอาแลกข้าวสาร ส่วนหนึ่งแลกนม ส่วนหนึ่งต้มแกง กิน โดยท�ำนองนี้ เขาท�ำปาณาติบาตอยู่ถึง ๕๐ ปี ต่อมาแก่ตวั ลง ล้มหมอนนอนเสือ่ ในขณะนัน้ พระจุลลปิณฑปาติกติสสเถระ ชาวคิรีวิหาร ร�ำพึงว่า คนผู้นี้ เมื่อเรายังเห็นอยู่อย่าพินาศเสียเลย แล้วไป ยืนอยู่ที่ประตูเรือนของเขา ขณะนั้นภริยาของเขาจึงบอก ว่า นี่! พระเถระมาโปรดแล้ว เขาตอบว่า ตลอดเวลา ๕๐ ปี เราไม่เคยไปส�ำนักของพระเถระเลย ด้วยคุณความดี อะไรของเรา ท่านจึงต้องมา เธอจงไปนิมนต์ให้ท่านไป เสียเถิด. นางบอกพระเถระว่า นิมนต์ ไปโปรดสัตว์ข้าง หน้าเถิดเจ้าข้า พระเถระถามว่า อุบาสกมีพฤติการณ์ทาง ๑๒๘
* พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๓ - หน้าที่
61
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
ร่างกายอย่างไร นางตอบว่า อ่อนแรงแล้ว เจ้าข้า. พระ เถระเข้าไปยังเรือนให้สติ แล้วกล่าวว่า โยมรับศีล (ไหม) เขาตอบว่า รับ ขอรับพระคุณเจ้า นิมนต์ ให้ศีลเถิด พระเถระให้สรณะ ๓ แล้ว เริม่ จะให้ศลี ๕ ในขณะทีอ่ บุ าสก นั้น ว่า ปญฺจ สีลานิ นั่นแหละ ลิ้นแข็งเสียแล้ว พระเถระ คิดว่า เท่านี้ก็พอควร แล้วออกไป ส่วนเขาตายแล้วไปเกิดในภพจาตุมหาราชิกะ ก็ในขณะ ที่เขาเกิดนั่นแหละ ร�ำลึกว่า เราท�ำกรรมอะไรหนอ จึงได้ สมบัตินี้ รู้ว่าได้เพราะอาศัยพระเถระ จึงมาจากเทวโลก ไหว้พระเถระแล้ว ยืนอยู่ ณ ที่สมควรส่วนข้างหนึ่ง เมื่อพระเถระถามว่า นั่นใคร ตอบว่า กระผม (คือ) คนเฝ้า ประตูชาวทมิฬครับพระคุณเจ้า พระเถระถามว่า ท่านไป เกิดที่ไหน ตอบว่า ผมเกิดที่ชั้นจาตุมหาราชิกภพ ครับ พระคุณเจ้า ถ้าหากพระคุณเจ้าได้ให้ศลี ๕ แล้วไซร้ผมคง ได้เกิดในชั้นสูงขึ้นไป ผมจักท�ำอย่างไร พระเถระตอบว่า ดูก่อน (เทพ) บุตร ท่านไม่สามารถจะรับเอาได้เอง เทพ บุตรไหว้พระเถระแล้วกลับไปยังเทวโลก
จากเรือ่ งข้างต้นนัน้ ซึง่ เป็นตัวอย่างเรือ่ งของกุศลกรรม ก่อน ซึ่งจะเห็นว่าจิตที่เกิดกุศลในขณะก�ำลังตายนั้นมีความ ส�ำคัญยิง่ ในการทีจ่ ะน�ำไปอุบตั ยิ งั ภพใหม่ พระสูตร พระไตร ปิฏกและอรรถกถาต่างๆ ได้ชใี้ ห้เห็นว่า การเกิดใหม่นนั้ ไม่ใช่
62
สํ า ร ว ม
การทอดลูกเต๋า กล่าวคือ ไม่มคี วามบังเอิญในการเกิดใหม่ สิง่ นีม้ แี ผนการบางอย่างทีด่ ำ� เนินไปอย่างมีเหตุผลและยุตธิ รรม ส�ำหรับจิตแต่ละดวง การที่โอกาสของจิตดวงที่เป็นกุศลจะได้ยืนใกล้กับ ปากคอกนั้น ก็ไม่ใช่เรื่องบังเอิญ ที่จะปล่อยให้เป็นไปตาม ยถากรรม หากพิจารณาตามหลักนีแ้ ล้วเราจะพบว่า ในนาที ที่ยังมีลมหายใจปกติอยู่เช่นนี้ และมีเหตุผลเชื่อได้ว่าชาตินี้ ยังไม่ใช่ชาติสดุ ท้ายของตนเอง แต่ยงั ปรารถนาทีจ่ ะเกิดเป็น มนุษย์อกี สักครัง้ เพือ่ บ�ำเพ็ญเพียรต่อ เราก็สามารถทีจ่ ะสร้าง เหตุเพื่อสนับสนุนให้เกิดจิตในกลุ่มกุศลกรรมให้มากๆ การ เพิ่มกุศลกรรมจิตให้มากนี้ย่อมจะมีส่วนท�ำให้ไปกินพื้นที่ ของฝ่ายอกุศล เป็นผลให้โอกาสที่โคกุศลกรรมจะได้ยืนใกล้ ปากประตูเป็นไปได้สูง หากเป็นไปตามแผนนี้เมื่อถึงวินาที แตกกายท�ำลายขันธ์ สุคติโลกมนุษย์ก็อยู่ในฐานะที่หวังได้ บางครั้ ง เราอาจจะไม่ ใ ช่ ผู ้ โ ชคดี อ ย่ า งคนเฝ้ า ประตู ชาวทมิฬ ที่มีพระเถระอย่างพระจุลลปิณฑปาติกติสสเถระ มาโปรดในนาทีที่ก�ำลังจะตาย อีกทั้งการหวังน�้ำบ่อหน้า อยู่ตั้งอยู่ในฐานะที่ประมาท เปรียบอีกอย่าง ส�ำหรับผู้ท่ีไม่ ฝึกเจริญกุศลกรรมในขณะที่กายใจยังพร้อม หวังเอาว่า ไว้ ตอนตายหรือนอนว่างๆ อยู่บนเตียงในโรงพยาบาล ถึงตอน นั้นค่อยนึกเอา ว่าเคยใส่บาตรท�ำบุญ หากคิดเช่นนั้นก็ไม่ ต่างจากคนที่ว่ายน�้ำไม่เป็นและก�ำลังจะจมน�้ำ นาทีความ เป็นความตายเช่นนั้น ครั้นจะเริ่มต้นเรียนรู้การว่ายน�้ำ การ ทรงตัวในน�้ำ ก็ไม่ทันกาลแล้ว เพราะไม่มีใครสามารถผัด
63
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
เพี้ยนต่อมัจุราชได้
64
สํ า ร ว ม
๓ สํ า ร ว ม บ ท ที่
การส�ำรวมนั้นดูจะเป็นหัวใจหรือเป้าหมายที่จะกล่าว ถึง ในหนังสือเล่มนี้ ในบทก่อนหน้านี้ล้วนแต่เป็นสภาพ แวดล้ อ มของธรรมที่ ก� ำ ลั ง จะกล่ า วถึ ง ผู ้ ศึ ก ษาธรรมใน พระพุทธศาสนาอย่างดีจะตระหนักดีว่า การเรียนรู้ศาสนา พุทธที่ถูกคือ ผู้เรียนจะต้องมีพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ลงสู่ การปฏิบัติ โดยให้ห้วงปฏิบัตินั้นมีโอกาสเปิดเผยสาระบาง ประการให้ประจักษ์ต่อตนเอง ซึ่งเรามักจะได้ยินประโยคที่ ว่า ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหิติ หมายถึง ผู้รู้ พึงรู้ได้เฉพาะ ตน ซึง่ นัยนีม้ คี วามส�ำคัญมาก เพราะผลอันเป็นแก่นสาระใน ค�ำสอนนั้น ไม่สามารถอธิบายด้วยศัพท์บัญญัติหรือสมมติ ใดๆ แม้จะพยายามแทนด้วยค�ำหรือวลี ก็ไม่สามารถที่จะชี้ ถึงสภาวะที่เกิด (ผล) นั้นๆ ได้ เช่น เมื่อเราอยากจะให้ใคร คนหนึ่งรู้ซึ้งในรสของผลไม้ลูกนั้นๆ การบรรยายด้วยค�ำพูด
65
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
ของเราอาจจะสามารถชีแ้ จงรสของผลไม้ลกู นัน้ ได้บา้ ง แต่จะ ตรงกว่าหรือถึงความจริงของรสนัน้ ๆ ง่ายกว่า เมื่อยื่นผลไม้ ลูกนั้นให้เขารับประทาน เมื่อเป็นดังนั้นแล้ว เราก็ไม่มีความ จ�ำเป็นต้องสรรหาค�ำอธิบายในรสนัน้ ให้เขาฟัง เพราะเขาได้ ถึงซึ่งรสชาตินั้นๆ แล้วด้วยตนเอง ในทางตรงกันข้ามหาก คนคนนัน้ ไม่รบั ประทานเอง แต่อยากจะรูใ้ นรสชาตินนั้ อย่าง ละเอียดเป็นจริง แล้วพยายามจะเข้าใจรสชาตินั้นด้วยอรรถ ด้วยค�ำอธิบาย และแม้จะได้ฟงั การอธิบายถึงรสชาตินนั้ โดย ละเอียด ก็ย่อมจะเชื่อได้ว่าคนคนนั้นยังไม่ตระหนักรู้รสชาติ นั้นอย่างแท้จริง สิ่งที่รู้นั้นจึงเป็นเพียงสถานะของความจ�ำ ในพยัญชนะหรือถ้อยอรรถกา ซึ่งไม่ใช่ความประจักษ์ใน ผลนั้นๆ เช่นเดียวกันกับการศึกษาพระพุทธศาสนา แม้ว่าจะ อ่านหรือฟังว่าสภาวะของการเข้าไปประจักษ์รู้ในขณะที่ เกิดการรับกระทบนั้นเป็นอย่างไร ค�ำพูดหรือค�ำอธิบายถึง ลักษณะของสภาวะนั้นแม้จะกินพื้นที่หลายหน้ากระดาษ ก็ไม่สามารถจะแทนความจริงของสภาวะนั้นๆ ได้ ดังนั้น ค�ำอธิบายที่ย่นย่อที่สุดคือ ผู้นั้นจะต้องเข้าไปประจักษ์เอง เพราะสภาพรู้นั้นเป็นเรื่องเฉพาะตน หรือ ปัจจัตตัง ด้วย เหตุนี้จึงเป็นที่ยอมรับกันว่า พุทธศาสนาเป็นศาสนาที่เข้า ถึงด้วยการปฏิบัติ
ในบทที่ว่าด้วยเรื่องการส�ำรวมนี้ เป็นบทที่เล่าถึงการ ภาวนา หรือการเจริญ การอบรม การท�ำให้มีให้เป็นขึ้นซึ่ง
66
สํ า ร ว ม
การส�ำรวม ด้วยแนวทางการฝึกฝนอบรมจิตซึ่งจะได้แสดง ไว้เป็นล�ำดับ แต่ทั้งนี้ก็ไม่ได้กล่าวว่า จะต้องท�ำล�ำดับแรก ให้เสร็จก่อนจึงจะท�ำล�ำดับต่อๆ ไป เพราะแต่ละหมวดหมู่ เป็นสิ่งที่ต้องท�ำด้วยการบูรณาการ โดยกลุ่มเรื่องต่างๆ ใน บทนี้ ประกอบด้วย ประการแรก ชีวิตที่เอื้อต่อการภาวนา ซึ่ ง เป็ น การเตรี ย มเหตุ ป ั จ จั ย ไปพร้ อ มกั น กั บ การปฏิ บั ติ ศึกษา เช่น ประเด็นเรื่องของการทาน การท�ำสมาธิ เป็นต้น ประการสุดท้าย ระวังศัตรูย่องผ่านประตูทั้ง ๖ ซึ่งเป็นเรื่อง ของการเจริญปัญญา หรือการส�ำรวมอินทรีย์ อันเป็นหัวใจ ส�ำคัญของบทนี้
67
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
ชีวิตที่เอื้อต่อการภาวนา ฝึกท�ำตัวให้เล็กและเบาลง หากพิจารณาให้ดี ความโกรธง่าย ขัดเคืองง่าย หรือ แม้กระทั่งดีใจ พอใจง่าย อารมณ์ทั้งสองฟากนี้มีพื้นมาจาก ความเห็นผิดว่ามีตวั มีตนของเราเอง แต่ละคนก็มรี ะดับความ รุนแรงของอารมณ์ทแี่ ตกต่างกัน ตามขนาดและน�ำ้ หนักของ ตัวตนหรือตามแรงของกรรมนั้นๆ (เพราะการได้ประสบกับ อารมณ์หนึง่ ๆ ทัง้ อารมณ์ฝา่ ยพอใจไม่พอใจล้วนเป็นผลของ กรรม) หากตัวตนใหญ่และหรือเล็กแต่หนาแน่นมากด้วย อารมณ์โกรธ อารมณ์ดใี จต่างๆ ก็จะเกิดอารมณ์ขนึ้ ง่าย บาง ครัง้ ก็ทอดยาวนาน หากบุคคลตัวตนเล็กหรือเบาหน่อย เมือ่ รับกระทบปัจจัยต่างๆ ก็อาจจะพอใจ ไม่พอใจในระดับที่ไม่ มาก ในฐานะที่ยังเป็นปุถุชนที่ก�ำลังพัฒนาจิตนั้น การจะ ไม่รู้สึกรู้สมกับความขัดเคืองใจหรือความพอใจเลยก็อยู่ใน ฐานะที่ท�ำได้ยาก แต่ทั้งนี้การเป็นปุถุชนคนหนาก็ไม่ใช่เป็น ข้ออ้างทีจ่ ะได้รบั การอภัยโทษแห่งความเผลอเข้าไปในอกุศล
68
สํ า ร ว ม
ทัง้ สองฝ่ายดังกล่าว ธรรมชาตินนั้ ยุตธิ รรมไม่แยกชัน้ วรรณะ ธรรมชาติไม่เคยจดจ�ำชื่อนาย ก. นาง ข. เพศชายหรือเพศ หญิง เพราะในธรรมชาติไม่มีสมมติ ดังนั้นจิตที่เผลอก็ได้รับ อกุศล จิตที่ระลึกรู้ก็เกิดอกุศลจึงเป็นความรับผิดชอบของ จิต (หรือคน) แต่ละคน ในเรื่อง ความแวดล้อมที่เกื้อกูลการส�ำรวม ให้เกิด ขึ้นได้เนืองๆ นั้น ประเด็นหนึ่งที่ส�ำคัญคือ เราจ�ำเป็นจะ ต้องหาอุบายในชีวิตประจ�ำวันที่จะฝึกลดละความถือตัวถือ ตนให้มากที่สุด บุคคลจ�ำเป็นจะต้องท�ำความเข้าใจกับเรื่อง นี้ เพื่ออบรมตนเองว่า ด้วยเหตุแห่งเห็นผิด ความถือตัวถือ ตนอย่างมากนี้เอง จึงน�ำมาด้วยความทุกข์ กระวนกระวาย ต่างๆ เพราะความเข้าใจผิดว่ากายนี้ใจนี้มีเราอยู่ ด้วยเหตุ นี้ จึงท�ำให้เกิดสภาวะที่เรียกว่า การหลงเข้าไปยึดติดในตัว เราของเรา อารมณ์ต่างๆ ในโลกทั้งฝ่ายพอใจ และไม่พอใจ เกิดขึ้นเมื่อไร ความเป็นตัวเราก็เข้าไปรับเมื่อนั้น ภาคหนึ่ง ก็เปรียบเหมือนว่าที่เป็นเช่นนั้นก็เพื่อที่จะคอยตอกย�้ำกับ ตัวเองว่า ยังมีเรา เรายังอยู่ ยังมีตัวตน ทิฐินี้เป็นอาหารหล่อ เลี้ยงความไม่รู้ในธรรมชาติที่แท้จริงให้ด�ำเนินต่อไป แล้วก็ น�ำไปสู่การสืบภพต่อชาติแล้วๆ เล่าๆ ดังจะได้ยินค�ำกล่าว ที่ว่า ‘มนุษย์เกิดมาเพราะความไม่รู้ในอริยสัจ’ ที่ว่าไม่รู้นั้น ก็คือ ไม่รู้ธรรมชาติที่แท้จริง ธรรมชาติที่แท้จริงคือ ไม่มีสัตว์ บุคคล ตัวตน เราและเขา แต่การรู้ด้วยสมองเช่นนี้ไม่ใช่การ รู้ที่แท้จริง เพราะด้วยความที่สภาพของจิตที่ถูกเคลือบไว้ หลายชั้นจนปิดบังเนื้อเดิมของจิตนั้นท�ำให้ความจริงนี้ทะลุ
69
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
เข้าไปไม่ถงึ พุทธศาสนาชัน้ สอนว่า จิตเดิมแท้ประภัสสร ซึง่ พระพุทธทาสได้ให้ความหมายว่า จิตเดิมแท้ที่ยังว่างอยู่ ยังไม่ถูกอะไรปรุงแต่ง ยังไม่ถูก หุ้มห่อด้วยกิเลส ไม่ถูกหุ้มห่อด้วยผลของกิเลส คือความ ดี ความชั่ว เป็นต้น เหมือนอย่างเพชร มันมีรัศมีในตัว มันเอง มันเรืองแสงของมันได้ เหมือนอย่างจิตเดิมแท้ ประภัสสร แต่เป็นอยู่ตามธรรมชาติ มันจึงเปลี่ยนแปลง ได้ มันจึงต้องมีการอบรมจนเป็นประภัสสรที่ถาวร ชนิด ที่ไม่มีอะไรมาปรุงแต่งให้เปลี่ยนแปลงได้ ท่านกล่าวอีกว่า สิ่งที่เราเรียกว่าจิตเดิมแท้ ที่เป็นตัวเดียวกันกับปัญญา เราหมายถึงจิตที่ว่างจากการยึดถือมั่น” “เรา” ประกอบ ขึ้นมาหรือเคลือบด้วยอวิชชาทีไร จิตใจนี้ก็มีตัวตน และ มีของตนขึ้นมา
อุบายอย่างหนึง่ ในการลดละความเป็นตัวตนทีห่ นาแน่ ของคนก็คือ การให้ หรือ ทาน ในทุกๆศาสนา สอนเรื่องดัง กล่าว หากมองการให้ทานในฐานะเครือ่ งขูดขัดความเห็นผิด ว่ามีตัวมีตน ดังนั้น คนที่กอดตัวตนอย่างเหนียวแน่นนั้นจึง เป็นผู้ที่ให้ยาก การให้ที่ยากนั้นนอกจากไม่เกื้อกูลทุกข์ของ บุคคลอื่น ยังเป็นการเพิ่มความหนาของการเคลือบดวงจิต ไม่ให้เป็นการมองเห็นสภาวะที่เป็นธรรมชาติเดิมแท้ อย่าง น้อยบุคคลลักษณะดังกล่าว จะเข้าใจได้ยาก หากมีใครสัก คนบอกแก่เขาว่า สมบัตินอกตัวทั้งหมดทั้งมวลนี้เป็นของ
70
สํ า ร ว ม
โลก เป็นของสาธารณะ เมื่อเป็นสมบัติสาธารณะมันก็ควร จะเลือ่ นไหลถ่ายเทไปยังส่วนอืน่ หรือบุคคลทีข่ าดแคลนหรือ มีความต้องการ แต่การกอดสมบัติสิ่งของนั้นๆ ไว้ ย่อม ท�ำให้ธรรมชาตินั้นเสียดุลยภาพ ซึ่งการที่บุคคลตระหนี่ หรือหวงแหนจึงเป็นสภาวะที่ยากต่อการจะรู้ว่าความเป็น ตัวตนนั้นแท้จริงไม่มี การกอดรัดไว้เกิดขึ้นเพราะอ�ำนาจ ของอวิชชา ดวงตาที่จะเปิดเห็นธรรมในระดับต่อไปก็นับ เป็นการยาก ดังนั้น แม้บุคคลที่มีการให้ ก็จะต้องเป็นการให้ที่ไม่ใช่ ให้เพื่อสร้างเพื่อพอกตัวตนให้ยิ่งโตยิ่งหนา แต่ต้องเป็นการ ให้เพราะต้องการจะให้ เพราะต้องการจะเกื้อกูลผู้รับ บ�ำบัด ทุกข์ของผู้รับ ถัดจากนั้น กลไกของธรรมชาติจะท�ำงานของ มันเอง ด้วยเหตุแห่งการให้น้ันย่อมถือเป็นการสร้างเหตุให้ สติเกิดบ่อยขึ้นในเวลาต่อมา ในทางพระพุ ท ธศาสนาได้ แ จกแจงเรื่ อ งให้ ไ ว้ โ ดย ละเอียด ทั้งการให้ที่เป็นสมบัติสิ่งของภายนอก และสมบัติ ภายใน กล่าวคือ การสละสิ่งของและความสุขส่วนตัวเพื่อ ประโยชน์สขุ แก่ผอู้ นื่ และหมายรวมถึงการสละละทิง้ กิเลส ละ ความโลภ ความเห็นแก่ตัว ความตระหนี่ ความใจแคบ และ การเลิกละนิสัย ตลอดถึงความประพฤติที่ไม่ดี ที่ท�ำให้เกิด ความเสียหาย ก่อความบาดหมางทะเลาะเบาะแว้ง เป็นต้น เหล่านี้เป็นคุณธรรมที่เป็นเหตุให้ผู้ปฏิบัติมองเห็นและเอื้อ อาทรต่อความทุกข์ยากและความต้องการของเพื่อนมนุษย์
71
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
อืน่ ท�ำให้เป็นคนทีม่ จี ติ ไม่คบั แคบ เห็นแก่ตวั น้อยลง เอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ดว้ ยความเห็นอกเห็นใจคนอืน่ มากกว่าตัวเอง เหล่านี้ นับว่าการให้หรือทานนัน้ เป็น อุบายเครือ่ งออกจากความเห็น ผิดว่ามีตัวมีตน หรือในเบื้องต้นอย่างน้อยก็ได้ท�ำตัวตนให้ เล็กและเบาลง ซึ่งจะเป็นเครื่องอุปการะหรือ ความแวดล้อม ที่เกื้อกูลการส�ำรวมในขณะปฏิบัติ
ท�ำความปกติให้แก่ชีวิต ปิดกั้นเหตุแห่งความร้อนใจ ในบรรดาภูมิต่างๆ ทั้ง ๓๑ ภูมิ ภูมิของมนุษย์นี้เชื่อ กันว่าเป็นภูมทิ เี่ หมาะสมเกือ้ กูลแก่การพัฒนาให้เข้าใจความ จริงแท้ของธรรมชาติ หรืออริยสัจ เพราะภูมินี้ไม่ได้มีแต่สุข อันปราณีตอย่างภูมขิ องเทวดา หรือทุกข์อนั แสนสาหัสแบบ อบายภูมอิ นั ได้แก่ เปรต เดรัชฉาน หรือนรกภูมิ ซึง่ ในชัน้ ภูมิ ของเทวดา พรหมบางจ�ำพวกนั้นมีกามสุขอันเป็นเครื่องกั้น ให้เพลิดเพลิน ไม่เป็นส่วนกระตุ้นให้ต้องการพัฒนาปัญญา ไปสู่อริยสัจ ส่วนในชั้นอบายภูมินั้น ก็มากด้วยทุกข์ซึ่งใน ทุกขณะจิตนั้นๆ ไม่ว่างพอที่จะให้ระลึกถึงการฝึกตนให้พ้น ออกไปจากทุกข์ เหตุนั้นจึงกล่าวได้ว่า ชั้นภูมิของมนุษย์จึง ไม่สุขมาก ไม่ทุกข์มาก สุขและทุกข์อันวนเข้าเวียนออกนี้ มี ส่วนส�ำคัญพอที่จะท�ำให้มนุษย์ตระหนักคิดถึงหนทาง ที่จะ พ้นไปจากความข้องเกี่ยวอันร้อยรัดนี้ ดังนั้น การด�ำรงอยู่
72
สํ า ร ว ม
โดยปกติในแต่ละวัน สุขและทุกข์ก็สามารถเกิดขึ้นได้โดย เหตุปัจจัยภายในอันเป็นอารมณ์และความของบุคคลนั้นๆ อยู่แล้ว ถ้าหากน�ำตนเข้าไปข้องเกี่ยวเหตุและปัจจัยก่อทุก ภายนอก ความร้อนใจต่างๆ ก็จะต้องเพิ่มเติมเข้ามาในชีวิต มากขึ้นๆ อันจะเป็นผลพลอยให้เกิดความเดือนร้อนกาย เดือดร้อนใจ ส่งผลถึงการเป็นเครือ่ งกัน้ ทีจ่ ะเจริญปัญญา ซึง่ จะท�ำให้ล�ำบากยิ่งขึ้น ไปจนถึงขั้นท�ำไม่ได้ผล เป็นต้น เมื่อเข้าใจแล้วว่า การที่ชีวิตไม่สงบหรือสุขมากๆ เป็นข้าศึกแห่งการกระท�ำส�ำรวม โดยเฉพาะส�ำหรับผู้ฝึก ใหม่ เพราะด้วยเหตุความไม่สงบนัน้ สุขนัน้ จะง่ายต่อการน�ำ พาอารมณ์ให้คล้อยตาม เช่น ความครึกครื้นรื่นเริงมากๆ ก็ ยากที่จะส�ำรวมสติ ความทุกข์ร้อนทางกายทางใจมากๆ ก็ ยากต่อการส�ำรวมสติ เพราะอิทธิพลจากความเคลื่อนไหว ที่รุนแรงภายนอกนั้นเป็นเครื่องล่อให้จิตเข้าไปรับอารมณ์ แรงๆ ต่างๆ ซึ่งบางครั้งก็ตามต่อการรู้หรือตามทัศนคติ ใน ทางพระพุทธศาสนาจึงได้แนะน�ำเรื่องของการรักษาศีล ซึ่ง ศีลหรือความปกตินจี้ ะหล่อเลีย้ งให้สภาพของชีวติ ทัง้ ภายใน และภายนอกด�ำเนินไปอย่างเป็นเหตุเอื้อให้การส�ำรวมเกิด ขึ้นได้ง่าย เรื่ อ งศี ล นั้ น อธิ บ ายได้ ห ลายความหมาย ซึ่ ง โดย พยัญชนะนั้นแปลว่า ความปกติกายวาจา กล่าวคือความ ปกติตามระเบียบวินัย ปกติมารยาทที่สะอาดปราศจากโทษ ข้อปฏิบัติในการเว้นจากความชั่ว ข้อปฏิบัติในการฝึกหัด
73
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
กายวาจาให้ดียิ่งขึ้น ความสุจริตทางกายวาจาและอาชีพ ประโยชน์ของศีลในขั้นพื้นฐานคือท�ำให้กาย วาจา ใจ สงบ ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ท�ำให้สามารถที่จะท�ำให้จิต สงบได้ง่ายในการท�ำสมาธิ จิตที่มีสมาธิจะมีลักษณะนิ่ง เมื่อ มีสิ่ง (ความคิด) เคลื่อนไหว ก็จะระลึกรู้ได้ง่าย หรือเปรียบ ว่า ความมีสมาธิอันเป็นผลจากความปกติของกาย วาจา ใจ นัน้ คล้ายกับน�ำ้ ทีม่ คี วามใส เมือ่ น�ำ้ ใสหากมีปลาว่ายอยูใ่ นน�ำ้ ก็ยอ่ มมองเห็นได้โดยง่าย ดังนัน้ ความฟุง้ ซ่านซึง่ เป็นสิง่ ตรง ข้ามกับสมาธิจงึ ไม่สามารถทีจ่ ะมองเห็นการเคลือ่ นไหวของ อารมณ์ได้ คล้ายกับน�ำ้ ทีข่ นุ่ แม้ปลาจะว่ายวนในน�ำ้ อย่างไรก็ ไม่อาจมองเห็น ในระดับของบรรพชิตนัน้ ศีลจะมีจำ� นวนมาก เพือ่ ก�ำกับให้พระภิกษุสงฆ์สามเณรสามารถครองตนในสมณ ภาวะได้อย่างสมบูรณ์ และเอื้อต่อการประพฤติพรหมจรรย์ ในขั้นสูงต่อไปได้ การมีศีลในประโยชน์ทั่วไปยังท�ำให้ชีวิตมีความเรียบ ง่าย ศีลจ�ำนวนมากที่บัญญัติไว้ส�ำหรับภิกษุภาคหนึ่งนั้น เป็นส่วนทีท่ ำ� ให้ชวี ติ อยูใ่ นวิถที เี่ รียบง่าย พึง่ พาสิง่ อืน่ ๆ น้อย ลง ลดการคลุกคลีให้นอ้ ยลง เพือ่ ให้เป็นเหตุเอือ้ ให้การเจริญ ภาวนานั้นก้าวหน้าได้ง่าย การรักษาศีลหากแม้ไม่บัญญัติแยกเป็นข้อๆ เราก็ สามารถที่จะระมัดระวังเรื่องทั้งหมดได้ที่จิตแห่งเดียว คือ การหมัน่ รูช้ ดั ภายในอริยาบถต่างๆ ทีเ่ คลือ่ นไหว รูท้ นั ความ คิด ความรู้สึกต่างๆ รู้ไปจนกระทั่งรู้เห็นว่าสิ่งที่รู้นั้นดับไป
74
สํ า ร ว ม
เพราะจุดเริ่มต้นของการประพฤติผิดศีลทั้งหมด เริ่มที่จิต เริ่มที่ความมีเจตนา ซึ่งหากกระท�ำได้ดังนี้แล้วจะพบว่าการ พึงระวังรักษาจิตนั้นให้ประโยชน์สูงสุดทั้งตัวเองและผู้อื่น ไปพร้อมกัน เพราะหากรู้ทันว่าจิตก�ำลังมีพยาบาท เมื่อรู้ ชัดเข้าไปด้วยปัญญาผู้นั้นจะไม่มีการกระท�ำในขั้นต่อไปคือ กิรยิ าการลงมือ เพราะเขาจะเห็นว่าอารมณ์นนั้ เป็นเพียงนาม จิตทีเ่ ข้าไปรูท้ นั นีย้ อ่ มจะตัดโซ่อปุ าทานไม่ให้สบื ต่อไปยังขัน้ ตอนอื่นๆ ดังนั้นเหตุแห่งการประพฤติผิดในเรื่องปาณาติ บาทหรือการเบียดเบียนชีวติ ผูอ้ นื่ จึงตกไป บุคคลนัน้ จึงได้ชอื่ ว่าผูร้ กั ษาความปกติในศีลข้อแรกส�ำหรับผูเ้ ป็นฆารวาสไว้ได้ ในผลที่ ไ ด้ จ ากการรั ก ษาความปกติ ข องการไม่ เบียดเบียนนี้ ผูน้ นั้ ก็ยอ่ มจะได้ผลในปัจจุบนั คือ ไม่เกิดความ ร้อนใจ เช่น ไม่ต้องกลัวว่าเจ้าหน้าที่บ้านเมืองจะมาจับ ไม่ ต้องพะวงว่าเขาจะมาเอาคืน เมือ่ ความวิตกกังวลในข้อนีไ้ ม่มี ก็ย่อมท�ำให้ความว้าวุ่นใจไม่เกิดเพราะเหตุดังกล่าว และถ้า หากศึกษาและพิจารณาผลของการรักษาความปกติในเรื่อง นี้อย่างไม่ขาด ไม่ท�ำลายตลอดชั่วชีวิต หากว่าชาตินี้ยังไม่ บรรลุธรรม ยังต้องเวียนกลับมาเกิดใหม่ ครัน้ ได้อตั ภาพของ มนุษย์ บุคคลนัน้ ย่อมได้อตั ภาพทีส่ มบูรณ์ มีหตู าแขนขาและ อวัยวะครบ อีกทั้งได้รูปสมบัติที่บริบูรณ์สวยงาม8 การศึกษาเรื่องศีลให้เข้าใจตลอดสาย เพื่อให้เห็นโทษ ของการขาด การท�ำลาย และประโยชน์ของการรักษาศีล ย่อมจะท�ำให้ผู้ปฏิบัติมองเห็นความจ�ำเป็น และคุณค่าของ เรื่องดังกล่าวมากยิ่งขึ้น ดังอรรถกถาความว่า
75
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
บุคคลใด มีศรัทธาตั้งมั่นไม่หวั่นไหวในพระตถาคต มีศีล งามที่พระอริยเจ้าพอใจ สรรเสริญ มีความเลื่อมใสในพระ สงฆ์ และมีความเห็นตรง บัณฑิตทั้งหลาย เรียกบุคคล นั้นว่า เป็นคนไม่ขัดสน ชีวิตของเขาไม่เป็นหมันเปล่าไม่ ไร้ประโยชน์ เพราะเหตุนั้น บุคคลผู้มีปัญญา เมื่อระลึก นึกถึงค�ำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย พึงประกอบ เนืองๆ ซึ่งศรัทธา ศีล ความเลื่อมใส และความเห็นธรรม ให้เนืองๆเถิด — (ทฬิทสูตร ๑๕/๓๒๓)
ท�ำความสงบ เพื่อรู้เห็นความไม่สงบ
ความสงบของจิต ความไม่ฟุ้งซ่านแส่สายทางอารมณ์ นับเป็นบันไดขั้นต้นที่ก้าวไปสู่การเจริญปัญญา ในสภาวะ ของอาการสงบหรือมีสมาธินนั้ เราจะพบกับสภาพของความ แตกต่างระหว่างสิ่งที่เคลื่อนไหว กับสิ่งที่หยุดนิ่ง หรือกล่าว อีกนัยหนึ่งคือ ความไม่ฟุ้งซ่านทางจิตนั้น เมื่ออารมณ์ใดๆ เกิดขึ้นขณะหนึ่งนั้นสติที่ว่องไวจะเข้าไปรายงานจิตได้ ว่ามี การรับกระทบ สติทเี่ ป็นนายทวารนัน้ เปรียบได้วา่ เป็นทหาร เอกของพระเจ้าจักรพรรดิ ที่จะคอยรายงานเมื่อข้าศึกผ่าน ประตูเข้ามา ดังนั้นการเพิ่มก�ำลังให้สติมีความปราดเปรียว คล่องแคล่ว สมาธิจะต้องมีก�ำลังดีเป็นเบื้องต้น การท�ำสมาธิ ตามหลักของพระพุทธศาสนามีหนทาง ถึง 40 วิธี ทุกวิธลี ว้ นเป็นไปเพือ่ จุดหมายเดียว คือการท�ำให้
76
สํ า ร ว ม
จิตใจสงบแต่ทวี่ ธิ กี ารทีห่ ลากหลายก็เพือ่ ให้เหมาะสมกับพืน้ ฐานนิสยั ของแต่ละคน การท�ำสมาธิให้เป็นไปเพือ่ ความสงบ นี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สมถกรรมฐาน พระพุทธทาส ภิกขุ กล่าวว่า คนทุกชั้นควรฝึกสมาธิ คนมีภาระมากยิ่งต้องฝึก สมาธิ นอกจากนี้ท่านยังได้แนะน�ำวิธีที่เรียบง่ายในการฝึก ว่าเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติว่า “ผูกใจไว้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ นานที่สุดเท่าที่จะนานได้” แม้ผลจากการท�ำสมาธิในรูปแบบต่างๆ จะมีผลมาก เช่น เป็นไปเพื่ออภิญญาฝ่ายฤทธิ์ แต่ในที่นี้จะไม่กล่าวถึง เพราะสมาธิอันเป็นประโยชน์เพื่อการส�ำรวมนั้นมุ่งไปยัง เป้าหมายการเรียนรู้ธรรมชาติแท้ของจิต ที่เป็นเหตุให้เข้า ถึงความจริงของธรรมชาติ กล่าวคือ อริยสัจ อย่างไรก็ตาม สมาธินั้นถือเป็นเพียงวิธีการ (approach) เพื่อเข้าถึงจุดหมาย ไม่ใช่ตัวจุดหมาย การฝึกให้ เป็นผู้มีสมาธิส่วนหนึ่งก็เพื่อปรับภาวะจิตให้มีสภาพ “นุ่ม นวล ควรแก่การงาน” ซึ่งเป็นสภาวะที่เอื้อต่อการระลึกรู้ สภาพธรรมที่ปรากฏต่างๆ อันจะน�ำมาใช้เป็นที่ปฏิบัติการ ของปัญญาต่อไป
77
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
ระวังศัตรูย่องผ่านประตูทั้ง ๖ พระพุทธองค์ตรัสว่า ความพอใจ เป็นเหตุแห่งทุกข์ เมื่อคิดถึงสิ่งใด แสดงว่าพอใจในสิ่งนั้น เมื่อมีความพอใจ ย่อมมีตัณหา ด้วยตัณหานี้เองที่เป็นเครื่องน�ำไปสู่ภพใหม่ และได้อุปมาให้เห็นว่าภพนั้นแม้ชั่วขณะดีดนิ้วมือก็ยังน่า รังเกียจ ความว่า ภิกษุทั้งหลาย! คูถ แม้นิดเดียว ก็เป็นของมีกลิ่นเหม็น ฉันใด, ภิกษุทั้งหลาย! สิ่งที่เรียกว่า ภพ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน แม้ มีประมาณน้อยชั่วลัดนิ้วมือเดียว ก็ไม่มีคุณอะไรที่พอ จะกล่าวได้
นอกจากนีพ้ ระพุทธองค์ยงั ทรงชีถ้ งึ ทางออกในเรือ่ งดัง กล่าวว่า เมือ่ มีสติรกั ษาประตูทงั้ ๖ บานย่อมท�ำให้เป็นเครือ่ ง กัน้ ภพอันจะเป็นทีม่ าของทุกข์ทงั้ ปวงไม่ให้เกิดขึน้ ดังความ ตามพระไตรปิฏก ที่ได้แบ่งเนื้อความออกตามทางผ่านแห่ง อารมณ์ทั้ง ๖ ทางดังนี้
78
สํ า ร ว ม
มีสติระลึกรู้ทางตาเมื่อเห็นรูป ภิกษุทงั้ หลาย! ภิกษุนนั้ เห็นรูปด้วยตาแล้ว ย่อมไม่กำ� หนัด ยินดี ในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ย่อมไม่ ขัดเคือง ในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง
การรับกระทบทางตาถือเป็นประตูทวารหนึ่งที่น�ำมา ซึ่งการหลงรู้ หรือการเพลินในรูป เพราะทุกครั้งที่เปิดตาขึ้น มาย่อมหมายถึงการรับกระทบทางการเห็นตลอดเวลา แต่ บุคคลโดยมากจะเผลอไปในการเห็น หากรูปนั้นตอบสนอง ฝ่ายพอใจก็น�ำไปสู่อารมณ์ยินดี หรือหากเห็นรูปที่ไม่น่า ใคร่ก็น�ำไปสู่ความชังความไม่พอใจ ทุกข์และโทษย่อมเกิด ขึ้นทุกฝ่ายยินดีและไม่ยินดี ซึ่งสภาวะทั้งสองด้านนั้นล้วน แต่เป็นอกุศลจิตคือเผลอไปจนเกิดการให้ค่าให้ความหมาย ในหนังสือพุทธโอวาทสามเดือนก่อนปรินิพพาน พระพุทธ องค์ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย! เธอจงมองดูโลกด้วยความเป็นของ ว่างเปล่า มีสติอยู่ทุกเมื่อฯ” ความดังกล่าวนั้น ย่อมหมาย ถึงการเห็นนั้นจะไม่ประกอบด้วยอกุศลจะต้องมีสติก�ำกับ ให้เป็นการเห็นสักแต่ว่าเห็น ไม่เลยไปสู่การให้ค่าความ หมายตามมา
79
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
มีสติระลึกรู้ทางหูเมื่อยินเสียง ภิกษุนั้น ได้ยินเสียงด้วยหูแล้ว ย่อมไม่ก�ำหนัดยินดี ใน เสียงอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรัก ย่อมไม่ขัดเคือง ในเสียงอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง
วันหนึ่งๆ เราได้ยินสรรพเสียงหลากหลาย เสียงที่น่า ใคร่น่ายินดีเราก็พอใจ ส่วนเสียงที่เสียดแทงก็เกิดร�ำคาญ ผลักออก ขณะที่เราคล้อยตามอาการยินดีไม่ยินดีในเสียง วินาทีนั้นเราได้ถล�ำเข้าไปสู่บาปอกุศล ด้วยการที่เผลอ เข้าไปปรุงแต่ง ส�ำหรับผูท้ ถี่ อื ศีลอุโบสถนัน้ เพือ่ ให้การส�ำรวม อินทรีย์เป็นไปอย่างได้ผล ศีลข้อหนึ่งให้ถือปฏิบัติที่จะหลีก เลี่ยงการดูและการฟังเสียงที่เป็นข้าศึกต่อกุศล กล่าวคือ เสียงที่จะท�ำให้เมื่อได้ยินแล้วหลงเข้าไปในอารมณ์นั้นๆ โดยง่าย เช่น เสียงจากการละเล่น หรือการฟังการประโคม ดนตรี เพราะเสียงดังกล่าวนีเ้ ป็นปัจจัยทีจ่ ะท�ำให้ผถู้ อื ปฏิบตั ิ ขาดสติได้ง่าย เพราะการรับกระทบเสียงดนตรีนั้นจะเลยไป ถึงการแปลค่าความหมาย เป็นสนุกสนาน ไพเราะ ซาบซึ้ง โศกเศร้า ซึ่งอารมณ์เหล่านี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วย่อมถือว่าอกุศล ได้ครอบง�ำจิตแล้ว แม้จะตามเข้าไปรู้ในสภาพที่เกิดอารมณ์ ต่างๆ ก็ยากทีจ่ ติ จะตามเข้าไปรูท้ นั ดังนัน้ ในวันทีถ่ อื อุโบสถ ศีล การงดการฟังเพลงและการขับร้องจึงถือเป็นการไม่สร้าง เหตุให้หูได้ยินเสียงที่ง่ายต่อการดึงจิตให้ไหลตาม นอกจาก เสียงจากการละเล่นทีน่ ำ� มาซึง่ ความพอใจแล้ว ยังมีฝา่ ยของ เสียงที่ท�ำให้เกิดความไม่ชอบใจอีกด้วย หากเผลอเข้าไปรับ
80
สํ า ร ว ม
และแปลค่าจนเกิดเป็นความรู้สึกไม่พอใจแล้ว ก็นับได้ว่า อกุศลได้เกิดขึ้นเท่าๆ กับฝ่ายเสียงที่น่าพอใจ
มีสติระลึกรู้ทางจมูกเมื่อได้กลิ่น ภิกษุนั้น รู้สึกกลิ่นด้วยจมูกแล้วย่อมไม่ก�ำหนัดยินดี ใน กลิน่ อันมีลกั ษณะเป็นทีต่ งั้ แห่งความรักย่อมไม่ขดั เคือง ใน กลิ่นอันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง
(เขียนเพิ่ม……)
มีสติระลึกรู้ทางลิ้นเมื่อได้รส ภิกษุนั้น ลิ้มรสด้วยลิ้นแล้วย่อมไม่ก�ำหนัดยินดี ในรส อัน มีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรักย่อมไม่ขัดเคือง ในรส อัน มีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความเกลียดชัง
พุทธศาสนาสอนให้พิจารณาอาหารก่อนรับประทาน เพื่อให้เห็นคุณค่าที่แท้ของอาหาร เมื่อเราพิจารณาดีแล้ว จึงบริโภคอาหาร เรามิได้บริโภคเพื่อความสนุกสนาน ไม่ใช่ เพื่อความเมามัน ไม่ใช่เพื่อประดับและตกแต่งร่างกาย แต่ บริโภคเพื่อให้ร่างกายด�ำรงอยู่ได้ (เขียนเพิ่ม……)
81
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
มีสติระลึกรู้ทางกายเมื่อสัมผัส ภิกษุนั้น ถูกต้องสัมผัสด้วยกายแล้วย่อมไม่ก�ำหนัดยินดี ในสัมผัสทางกาย อันมีลกั ษณะเป็นทีต่ งั้ แห่งความรัก ย่อม ไม่ขัดเคือง ในสัมผัสทางกาย อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่ง ความเกลียดชัง
(เขียนเพิ่ม……)
มีสติระลึกรู้ทางใจหรืออารมณ์ที่เกิด ภิกษุนนั้ รูแ้ จ้งธรรมารมณ์ดว้ ยใจแล้วย่อมไม่กำ� หนัดยินดี ในธรรมารมณ์ อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความรักย่อม ไม่ขัดเคือง ในธรรมมารมณ์ อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่ง ความเกลียดชัง
(เขียนเพิ่ม……)
ผลที่ได้จาก การส�ำรวมอินทรีย์และมีสติ เมื่อบุคคลส�ำรวมระวัง และมีสติระลึกรู้ในแต่ละสัมผัส ย่อมได้ผลดังความในพระไตรปิฏกว่า เป็นผูอ้ ยูด่ ว้ ยสติเป็นไปในกายอันตนเข้าไปตัง้ ไว้แล้ว มีจติ หาประมาณมิได้ดว้ ยย่อมรูช้ ดั ตามทีเ่ ป็นจริงซึง่ เจโตวิมตุ ติ
82
สํ า ร ว ม
ปัญญาวิมุตติอันเป็นที่ดับโดยไม่เหลือแห่งธรรมอันเป็น บาปอกุศลทั้งหลายด้วย ภิกษุนั้น เป็นผู้ละเสียได้แล้ว ซึ่ง ความยินดี และความยินร้ายอย่างนี้แล้ว เสวยเวทนาใดๆ อันเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม มิใช่ทุกข์มิใช่สุขก็ตาม ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร�ำ่ สรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ในเวท นานั้นๆ เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร�่ำสรรเสริญ ไม่ เมาหมกอยู่ ในเวทนานั้นๆ นันทิ (ความเพลิน) ในเวทนา ทัง้ หลายเหล่านัน้ ย่อมดับไป เพราะความดับแห่งนันทิของ ภิกษุนนั้ จึงมีความดับแห่งอุปาทานเพราะมีความดับแห่ง อุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพเพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะฯ จึงดับสิ้น ความดับลงแห่ง กองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้” — มู. ม. ๑๒/๔๙๔/๔๕๘
กล่าวโดยย่อส�ำหรับผู้ศึกษาและปฏิบัติธรรม บุคคล สามารถกระท�ำเพียงการส�ำรวม กาย วาจาและใจ ซึ่งค�ำว่า “ส�ำรวม” มีนัยส�ำคัญและน่าศึกษาให้เข้าใจดังนี้ จิตและความคิดที่ซัดส่ายนั้น แท้จริงแล้วมันมีเหตุไป ตามแรงกระตุน้ ของการได้รบั ผัสสะจากการสัมผัสของอายา ตนะทั้งหมด (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) หรือส่วนใดส่วนหนึ่ง การทีเ่ ราส�ำรวมระวังจึงกล่าวได้วา่ เป็นการไม่หลงเข้าไปใน “ความรูส้ กึ ” ทีเ่ กิดจากผัสสะกระทบ ไม่วา่ จะเป็นด้านทีพ่ อใจ หรือด้านที่ไม่พอใจ เมื่อตาเห็น “รูป” ควรมีสติระลึกได้ทันที ไม่หลงเข้าไป รู้สึกชอบหรือชังแม้กระทั่งเฉย
83
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
เมื่อหู “ได้ยิน” ควรมีสติระลึกรู้ได้ทันที ไม่หลงเข้าไป รู้สึกพอใจ ไม่พอใจ เมื่อจิตมันคิด ไม่หลงเข้าไปตามเรื่องที่จิตคิด หรือ เข้าไปรู้เรื่องที่จิตคิด แต่ควรมีสติตื่นรู้ทันทีว่าจิตมันคิด ฯลฯ เมื่อความคล้อยตามสัมผัสต่างๆ ไม่เกิดขึ้นนี้เรียกว่า เราก�ำลัง “ส�ำรวมอินทรีย์” ในอรรถกถา ได้มีการยกตัวอย่างผู้ซึ่งเป็นเอกในด้าน การส�ำรวมอินทรีย์ คือ พระนันทเถระ เมือ่ ครัง้ บรรลุเป็นพระ อรหันต์แล้ว ปรากฏว่าท่านเป็นผู้ส�ำรวมระวังอินทรีย์ทั้ง ๖ คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย และใจ มิให้ยนิ ดียนิ ร้ายในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิน่ ลิม้ รส ถูกต้องโผฏฐัพพะ รูธ้ รรมารมณ์ดว้ ย ใจระวังไม่ให้กเิ ลสครอบง�ำใจในเวลารับรูอ้ ารมณ์ทาง อินทรีย์ ทัง้ ๖ มิให้ตกอยูใ่ นอ�ำนาจโลกธรรม ด้วยเหตุนี้ ท่านจึงได้รบั ยกย่องจากพระบรมศาสดา ในต�ำแหน่งเอตทัคคะหรือเป็นผู้ เลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย ในทางผู้ส�ำรวมอินทรีย์ นอกจากนี้พระพุทธองค์ยังได้ตรัสถึงลักษณะอินทรีย์ ภาวนาชั้นเลิศโดยย่อว่า อานนท์! อารมณ์อนั เป็นทีช่ อบใจ – ไม่เป็นทีช่ อบใจ เป็น ที่ชอบใจและไม่เป็นที่ชอบใจ อันบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้น ย่อมดับไปเร็วเหมือนการกระพริบตาของคน อุเบกขายัง คงด�ำรงอยู่ อานนท์! นี้แล เราเรียกว่า อินทรีย์ภาวนาชั้น เลิศในอริยวินัยฯ
84
สํ า ร ว ม
อุปริ. ม. ๑๔/๕๔๒ – ๕๔๕/๘๕๖ – ๘๖๑.
การท�ำส�ำรวมอินทรียน์ สี้ ามารถท�ำได้ในชีวติ ประจ�ำวัน ไม่ตอ้ งมีพธิ กี าร วันหนึง่ ๆ ทีเ่ ราประกอบกิจการงาน มีการรับ กระทบผ่านอินทรียท์ วารตลอดเวลา ส�ำหรับผูท้ ไี่ ม่ได้ฝกึ รูฝ้ กึ ดูนนั้ ก็อาจจะเรียกได้วา่ พอกพูนหนีท้ ตี่ อ้ งตามช�ำระมากมาย นับไม่ถ้วน เพราะอารมณ์หนึ่งๆ ในการรับกระทบแต่ละครั้ง นัน้ น�ำเราไปยังดินแดนแห่งความชอบใจ ไม่ชอบใจมากมาย ท้ายทีส่ ดุ ดินแดนเหล่านัน้ ก็รอเราอย่างมัน่ คงทีจ่ ะให้เราตาม เข้าไปอยู่ นั่นหมายความว่า กรรมต่างๆ ที่ท�ำทางอารมณ์ นั้น กฎของธรรมชาติก็จะต้องน�ำเราไปรับอารมณ์ตอบแทน นัน้ ๆ อีกครัง้ อย่างยุตธิ รรม ดังได้กล่าวมาแล้วตามทีย่ กความ ในพระไตรปิฏกอ้างว่า ทางสะกัดกั้นบาปอกุศลนั้น ท�ำได้ที่ เข้าไปรู้ทันสภาวธรรมแต่ละขณะ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ด�ำเนินชีวิตอย่างรู้เนื้อรู้ตัว ไม่เผลอไผลไปในการกระตุ้น ต่างๆ แต่ปัญหาใหญ่ส�ำหรับผู้เริ่มก็คือ ท�ำอย่างไรจึงจะไม่ เผลอนานๆ หรือ เกิดส�ำรวมได้บ่อยๆ ท่านก็มีค�ำแนะน�ำว่า จะต้องฝึกให้มีอินทรีย์กล้า ตั้งแต่การบ่มสติสมาธิให้พร้อม รองรับการตามรู้ตามดู กล่าวคือ จิตนั้นต้องอ่อนควรที่จะ รับสภาวะธรรมต่างๆ นอกจากนั้นก็ต้องเร้าตัวเองให้หมั่น ระลึกรู้อยู่เนืองๆ จากการรับกระทบในแต่ละอย่าง เริ่มแรก ก็ต้องตื่นขึ้นมารู้ให้ทันอารมณ์หยาบๆ ที่เห็นได้ง่าย เช่น อารมณ์โกรธ อารมณ์ดีใจมากๆ เหล่านี้ถือว่าเป็นอารมณ์ ที่เห็นได้ง่าย เพราะมักกระตุ้นให้ใจเต้นโครมครามปลุกเรา จากความเรียบง่ายหรือเซื่องซึม เมื่อท�ำอย่างนี้ได้ก็เรียกได้
85
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
ว่า มีอาการส�ำรวมใจ กาย ผลดีที่เกิดในปัจจุบันในทางโลก ต่อผู้นั้นมีมากมาย เป็นผู้มีสมาธิกล้า ก�ำลังจิต ก�ำลังเหล่านี้ น�ำไปใช้ท�ำอะไรก็ส�ำเร็จ ประกอบการงานก็ได้ผลกว่าปกติ และกายภาพของบุคคลนั้นก็เปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ด้วย ตาเปล่า เช่นเป็นผู้ที่มีผิวกายผุดผ่อง มีใบหน้าเอิบอิ่มไม่อม ทุกข์ หรือแววตาเลื่อนลอย เป็นผู้ที่สดชื่น เบิกบาน เพราะ อารมณ์ทั้งบวกและลบไม่มี (มาก) ในตัวบุคคล จึงเป็นที่น่า รักใคร่ของผู้พบเห็น หากยังไม่แก่กล้าในการปฏิบัติก็อาจ จะหวังประโยชน์ในโลกหน้าได้อีก คือ เป็นผู้ไม่ก่อภพ ก่อ ชาติ ไว้รอเมื่อต้องไปเกิดใหม่ หมายถึง การหลงคล้อยตาม อารมณ์ตนเองอย่างไม่ระวังทั้งบวกและลบนั้น เป็นปัจจัย ที่สร้างที่อยู่ใหม่ของจิตดวงที่จะไปอุบัติในกาลต่อไป ยก ตัวอย่าง คนที่หลงในโทสะ หรือโกรธบ่อยๆ จะสั่งสมความ เคยชินของจิตให้จ�ำอารมณ์นั้นและถนัดในอารมณ์นั้น แย่ ที่สุดเมื่อก่อนตายมีโทสะ (เพราะจิตมันชิน) ซึ่งเป็นอกุศล จิตนั้นจะลงสู่อบายไปอุบัติเป็นเดรัชฉาน หรือโชคดีหน่อย แม้ว่าจะชินกับอารมณ์โทสะ แต่ก่อนตายนั้นจิตดวงสุดท้าย เป็นจิตกุศลโผล่มาพอดี ได้สคุ ติภมู อิ บุ ตั ใิ นอัตภาพของมนุษย์ แต่เมื่อได้เป็นมนุษย์เขาจะเป็นผู้ที่มีผิวพรรณทราม เพราะ โทสะเป็นอารมณ์ที่หยาบขรุขระมาก ส่วนใหญ่จึงไปเป็นเด รัชฉาน เราก็มักจะไม่ค่อยเห็นเดรัชฉานผิวพรรณปราณีต ฉะนั้นเมื่อมาเป็นคนแม้จะได้อัตภาพคนกายหยาบก็จะไม่ ประณีตเอาเลย ร้ายกว่านั้นบุคคลนั้นกลายเป็นว่ามีสภาพ ผิวหนังที่เรียกว่า “พิการทางผิวหนัง” กันเลยก็มี
86
สํ า ร ว ม
อย่างไรก็ตาม แม้ผู้ศึกษาพุทธธรรม จะไม่รู้ข้ออรรถ ข้อธรรมอะไรมากนักให้ยึดเอาหลักการส�ำรวมนี้เป็นที่ตั้ง เปรียบกับการให้สติคอยระวังศัตรูยอ่ งผ่านประตูทงั้ ๖ เพราะ ธรรมชาติทั้งหมดทั้งหมวลอยู่ในนี้ เมื่อเพียงส�ำรวมได้ย่อม จักได้ชอื่ ว่าเป็นผูแ้ กล้วกล้าในธรรม หรือผูม้ คี วามสามารถใน ธรรม ความสามารถดังกล่าวไม่ได้หมายความว่าเป็นผูร้ มู้ าก จากการอ่านหรือการฟัง เพราะความสามารถเป็นเรื่องของ การท�ำได้ท�ำเป็นหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ความสามารถมัก ผูกติดกับการปฏิบัติ ไม่ใช่การรู้ในความรู้ การน�ำตัวเองเข้า สู่การฝึกตนแม้จะได้ผลบ้าง ไม่ได้ผลบ้าง แต่ก็ต้องท�ำต่อไป ต้องฝึก โดยถือเอาเรื่องนี้เป็นธุระ ท�ำจนกระทั่งเป็นอุปนิสัย ซึง่ การเพาะนิสยั ขึน้ ในตัวเองจะได้ชอื่ ว่าเป็นผูม้ คี ณ ุ สมบัติ ถ้า หากว่าเบื่อการเวียนว่ายตายเกิด เรื่องอื่นๆ นอกเหนือจาก การปฏิบตั เิ พือ่ ความไม่เกิดนัน้ ล้วนแต่เป็นเรือ่ งรองลงไป ระ ดับหยาบๆ ต้องต้องไม่ท�ำให้เรื่องอื่นมามีอิทธิพลกับใจมาก ไม่รักเกิน ชังเกิน ในเรื่องอะไรๆ ก็ตาม ให้ใช้โอกาสนี้ ขณะ นี้ที่ได้รู้ว่ามีพระพุทธศาสนาศึกษาและปฏิบัติ ไม่จบชาตินี้ ก็ให้เป็นเครื่องสั่งสมอุปนิสัยดังได้กล่าวมา ให้ความเคยชิน ที่ได้ฟัง ที่ได้ปฏิบัติส่งผลให้ได้พบพระพุทธศาสนาอีกครั้ง ในโลกหน้า การสั่งสมอุปนิสัยนี้และตัวดี ส�ำคัญนัก ให้มัน มีอุปนิสัยทางนี้จนเรื่องๆ อื่นเข้ามากินพื้นที่ในใจได้แต่น้อย ด้วยการส�ำรวมอินทรีย์ทั้ง ๖ ดังได้กล่าวแล้วนั้น ก็ สามารถเรียกได้วา่ บุคคลได้อยูใ่ นกระบวนการพัฒนาปัญญา หรือที่เป็นไปเพื่อ วิปัสสนา อันหมายถึง ขั้นของปัญญาที่รู้
87
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์
แจ้งเห็นจริง ในสภาวะความเป็นเองของสังขาร คือ เป็นของ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่อยู่ในวิสัยที่จะบังคับได้หรือมีสภาวะ เป็นอนัตตาไม่ควรจะถือว่าเราด้วยมานะ ไม่ควรจะถือว่า ตัวตนด้วยทิฏฐิจริง เพราะเมื่อเข้าใจรู้ว่าสิ่งอื่นไม่มีตัวมีตน ก็ตอ้ งได้รดู้ ว้ ยว่าเราก็ไม่มตี วั ตน ปัญญาทีร่ เู้ ห็นแจ้งชัดอย่าง นี้ แก่กล้าจนถึงขัน้ ทีจ่ ติ เกิดความเบือ่ หน่ายหรือนิพพิทา ไม่ เพลิดเพลิน ก�ำหนัดในความรูส้ กึ หรือสังขารอีกต่อไป กระทัง่ หลุดพ้นจากอาสวกิเลสทั้งสิ้น ในกระบวนการดังกล่าวนัน้ แม้จะยังไม่สำ� เร็จประโยชน์ ในเบื้องปลายแต่ผู้ส�ำรวมก็เชื่อได้ว่าก�ำลังสร้างบารมีธรรม สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ กล่าวถึง อานุภาพของการกระท�ำกุศลในวิปสั สนาไว้เรือ่ ง วิธสี ร้างบุญ บารมี ว่า การอุปสมบทเป็นพระ ๑๐๐ ปี ได้บญ ุ น้อยกว่า การ ท�ำสมาธิ (สมถภาวนา) แม้นานเพียงแค่ไก่กระพือปีก สมถ ภาวนา (การท�ำสมาธิ) ๑๐๐ ปี ได้บุญน้อยกว่า วิปัสสนา ภาวนา (การเจริญปัญญา) แม้เพียงชั่วขณะจิต อนึ่ง ในพุทธศาสนานั้นยกย่องผู้บูชาครู ซึ่งเป็นการ แสดงความกตัญญู การบูชาในพุทธศาสนานั้นมีหลายแบบ ที่พบบ่อยเช่น การบูชาด้วยวัตถุสิ่งของซึ่งเป็นที่นิยม แต่ สิง่ หนึง่ ทีน่ บั เป็นการบูชาทีส่ ำ� คัญคือการปฏิบตั บิ ชู า เป็นการ บูชาด้วยการปฏิบัติตามแบบที่ท่านท�ำ ปฏิบัติตามค�ำที่ท่าน สอน ซึ่งการบูชาเช่นนี้เป็นการกระท�ำที่พระพุทธเจ้าทรง ยกย่อง ดังความในพระไตรปิฏกว่า
88
สํ า ร ว ม
อานนท์ ! พุทธบริษัททั้งสี่ คือภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ท�ำสักการะบูชาด้วยเครือ่ งบูชาสักการะทัง้ หลาย อันเป็นอามิส เช่น ดอกไม้ ธูป เทียน เป็นต้น หาชือ่ ว่าบูชา ตถาคตด้วยการบูชาอันยิง่ ไม่ อานนท์เอย ! ผูใ้ ดปฏิบตั ติ าม ธรรมปฏิบตั อิ นั ชอบยิง่ ปฏิบตั ธิ รรมอันเหมาะสม ผูน้ นั้ แล ชื่อว่าสักการะบูชาเราด้วยการบูชาอันยอดเยี่ยม
ไม่เป็นผู้ร้อนใจในภายหลัง กาลเวลานั้นย่องย่างอย่างแผ่วเบา จนไม่เห็นว่ามัน เดินผ่านเราไปอย่างต่อเนื่อง ผู้ที่เห็นคุณค่าของเวลาจะรีบ ตักตวงใช้โมงยามที่ได้มาอย่างมีความหมาย หลายคนถูก เวลากลืนกินเสียท่าเสียทุนของชีวิต ในทางเศรษฐศาสตร์ นับเวลาให้เป็นต้นทุนส�ำคัญในการประกอบกิจการงานต่างๆ บริษัทใหญ่ๆ บางแห่งมีวิศวกรระบบ จัดการคน จัดการ เวลา เพื่อให้องค์กรสร้างผลิตภัณฑ์จ�ำนวนที่เพียงพอแก่ ความต้องการของตลาด ในภาคของชีวติ บุคคล คนทีป่ ระสบ ความส�ำเร็จ และมีความผาสุขจ�ำนวนมาก ล้วนแล้วแต่เป็น
89
วิสิทธิ์ โพธิวัฒน์