steam boiler

Page 1

เอกสารวิชาการ

ชางหมอน้ํา

กรมอูทหารเรือ (จัดพิมพเมื่อ กันยายน ๒๕๔๘)


สารบัญ หนา บทที่ 1 การเกิดของไอน้ํา (THE GENERATION OF STEAM) 1.1 การกลายเปนไอ, กรรมวิธีการกลายเปนไอ, การระเหย, การเดือด 1.2 ผลของความรอน (EFFECT OF HEAT) 1.3 คุณสมบัติของน้ําเมื่อไดรับความรอน 1.4 สภาวะตาง ๆ ของน้ํา 1.5 การทดลองการเกิดไอน้ํา 1.6 ชนิดของไอน้าํ 1.7 การคํานวณหาปริมาณความรอน 1.8 ความจุความรอน 1.9 เอนทันบีของไอแหงและไอเปยก 1.10 พลังงานภายในของไอน้ํา 1.11 ปริมาตรจําเพาะและความหนาแนนของไอแหง 1.12 เอนทันบีของไอดง 1.13 ความรอนรวมของไอน้ํา 1.14 เอนโทรบี (ENTROPY) 1.15 ตารางไอน้ํา 1.16 ความดัน (PRESSURE) 1.16.1 ความดันบรรยากาศ (ATMOSPHERIC PRESSURE) 1.16.2 ความดันสมบูรณ (ABSOLUTE PRESSURE) 1.16.3 เครื่องวัดความดัน (PRESSURE GAUGE) 1.16.4 หนวยความดันเปรียบเทียบ 1.17 MODERN STEAM BOILERS 1.18 APPENDIX TABLES 1.19 DRY SATURATED STEAM : PRESSURE TABLE 1.20 PROPERTIES OF SUPERHEATED STEAM บทที่ 2 หมอน้ํา (STEAM BOILER) 2.1 ประวัตแิ ละวิวฒ ั นาการของหมอน้ํา 2.2 การแบงประเภทหมอน้ํา

1 2 3 3 4 7 9 11 13 14 15 16 17 18 20 21

26 27 28 29 31 32


บทที่ 3 สวนประกอบตาง ๆ ของหมอน้ํา 3.1 เปลือกหมอ (SHELL) 3.2 ฝาหมอน้ํา (BOILER HEAD) 3.3 ประตูหมอน้ํา 3.4 สะเต (STAY) 3.5 หลอดน้ํา (WATER TUBE) 3.6 หลอดไฟ 3.7 เตา (FURNACE) 3.8 หองเผาไหมหรือหองเชื้อเพลิง (COMBUSTION CHAMBER) 3.9 หองควัน (SMOKE BOX) 3.10 ปลองไฟ (CHIMNEY) 3.11 สวนประกอบอื่น ๆ ของหมอน้ํา บทที่ 4 ระบบตาง ๆ ของหมอน้ํา 4.1 หมอน้ําแบบหลอดน้ํา (WATER TUBE BOILER) 4.2 หมอน้ําแบบคอรนิช (CONNISH BOILER) 4.3 หมอน้ําแบบแลงแคชไซร (LANCASHIRE BOILER) 4.4 หมอน้ําแบบแบบคอกและวิลคอก (BABCOCK & WILCOX BOILER) 4.5 หมอน้ําแบบยารโรว (YARROW BOILER) 4.6 หมอน้ําแบบราชนาวีญี่ปุน (JAPANESE ADMIRALTY BOILER) 4.7 หมอน้ําแบบทอรนิครอฟ (THORNYCROFT BOILER) 4.8 หมอน้ํารถไฟ (LOCOMOTIVE BOILER) 4.9 หมอน้ําแบบตั้งตรง (VERTICAL BOILER OR VERTICAL TUBULAR BOILER) 4.10 หมอน้ําเรือ (SCOTCH MARINE BOILER) บทที่ 5 เครื่องชวยหรือเครื่องประกอบภายในและภายนอกของหมอน้ํา (INTERNAL AND EXTERNAL FITTING) 5.1 ทอไอแหง (DRY PIPE) 5.2 หมอดักน้ํา (STREAM TRAPS) 5.3 หมอแยกน้ํา (STREAM SAPARATOR) 5.4 ลิ้นไอใหญ (MAIN STEAM STOP VALVE) 5.5 ลิ้นไอชวย (AUXILIARY STEAM STOP VALVE)

36 37 37 38 39 40 40 43 44 44 44 46 48 50 51 56 56 57 61 63 66

68 68 69 71 71


5.6 ลิ้นน้ําเลี้ยง (FEED CHEAK VALVE) 5.7 เครือ่ งปรับระดับน้ําเลี้ยงอัตโนมัติ (AUTOMATIC FEED WATER REGULATOR) 5.8 กอกถายน้ําหรือกอกเปาน้ํา (BLOW OFF COCK) 5.9 กอกระบายน้ํา (DRAIN COCK) 5.10 กอกอากาศ (AIR COCK) 5.11 กอกซาลิโนมิเตอร (SALINOMETER COCK) 5.12 หลอดแกววัดระดับน้ํา (WATER LAVEL GAGE OR WATER GAGE) 5.13 กอกทดลอง (TEST COCK OR GAGE COCK) 5.14 เครื่องกวนน้ํา (HYDROKINETER) 5.15 เครื่องวัดกําลังดันไอน้ํา (STEAM PRESSURE GAGE) 5.16 เครื่องวัดกําลังดันแบบไดอะแฟรม (DIAPHRAGM GAGE) 5.17 แมโนมิเตอร (MANOMETER OR DRAFT GAGE) 5.18 เครื่องบันทึกกําลังดัน (DIAPHRAGM AND RECORDING GAGE OR GRAPHIC RECORDING GAGE) 5.19 ลิ้นนิรภัยหรือลิ้นปองกันอันตราย (STEAM SAFETY VALVE) 5.19.1 แบบน้าํ หนักกดหลังลิ้น (DEAD WEIGHT SAFETY VALVE) 5.19.2 แบบคานชั่ง (LEVER SAFETY VALVE) 5.19.3 แบบสปริงกดหลังลิ้น (SPRING LOADED SAFETY VALVE) 5.20 ลิ้นปองกันอันตรายเมื่อกําลังดันสูงและระดับน้ําต่ํา (HIGH PRESSURE AND LOW WATER SAFETY VALVE) 5.21 หมุดอันตราย (FUSIBLE PLUG) 5.22 เครื่องเปาเขมา (SOOT BLOWERS) 5.22.1 แบบมาตรฐาน (STANDARD TYPE) 5.22.2 แบบยืดหดได (RETRACTABLE TYPE) บทที่ 6 อุปกรณที่เกี่ยวกับเรื่องเผาไหม 6.1 วัสดุทนไฟ (REFRACTORY MATERIALS) 6.1.1 อิฐทนไฟประเภทกรด (ACID REFRACTORIES) 6.1.2 อิฐทนไฟประเภทดาง (BASE REFRACTORIES) 6.1.3 อิฐทนไฟประเภทเปนกลาง (NEUTRAL REFRACTORIES)

71 71 73 74 74 74 74 75 76 76 77 78 78 79

80 81 82

83


6.2 เครื่องอุนอากาศ (AIR PREHEATER OR AIR HEATER) 6.2.1 แบบ RECUPERATIVE 6.2.2 แบบ REGENERATIVE 6.3 กระแสลมเรง

85

88

บทที่ 7 เครื่องบดและเครื่องปอนเชื้อเพลิงถานหิน 7.1 การผลิตความรอนของ STEAM POWER PLANT 92 7.1.1 การเผาเปนกอน 7.1.2 การบดละเอียด (PULVERIZED COAL) 7.1.2.1 เครื่องบดถานหิน (COAL PULVERIZING MILL OR PULVERIZERS) 7.1.2.2 หัวพนถานหิน (COAL BURNERS) 7.1.2.3 เครื่องปอนเชื้อเพลิงถานหิน (STOKERS) 7.2 ประเภทของเครื่องปอนเชื้อเพลิง 98 7.2.1 สโตกเกอรแบบปอนเชื้อเพลิงเขาทางดานบน (OVERFEED STOCKS) 7.2.2 สโตกเกอรแบบกระจาย (SPREADER STOCKS) 7.2.3 สโตกเกอรแบบปอนเชื้อเพลิงเขาทางดานลาง (UNDERFEED STOCKS) 7.3 ระบบการเผาไหมน้ํามันเชื้อเพลิง (OIL BURNING SYSTEM) 103 บทที่ 8 น้ําเลี้ยงหมอน้ํา (BOILER FEED WATER) 8.1 น้ําเลี้ยงหมอน้ํา 8.2 สารละลายคลอไรด (SOLUBLE MINERAL MATER CHLORIDE) 8.3 สารละลายความกระดาง (SOLUTION MINERAL MATTER - HARDNESS) 8.4 สารแขวนลอย - น้ํามัน (SUSPENED MATTER - OIL) 8.5 ลักษณะของน้ําเลี้ยง 8.6 การปองกันการเกิดคราบปูนและการทําใหนา้ํ เปนน้ําออน 8.6.1 การทําใหน้ําสะอาดกอนเขาหมอ (EXTERNAL TREATMENT) 8.6.2 การทําใหน้ําสะอาดเมือ่ อยูในหมอ 8.7 การตรวจน้ําเลี้ยงและน้ําในหมอ 8.7.1 การตรวจดวย HYDROMETER หรือ SALINOMETER 8.7.2 การตรวจดวยกระดาษลิตมัส (LITMUS PAPER) 8.7.3 การตรวจดวยไฟฟา (ELECTRICAL SALINITY INDICATOR) 8.7.4 การตรวจดวยวิธีเคมี (CHEMICAL TEST)

110 113 114 115 117 118

119


บทที่ 9 การใชงานและการบํารุงรักษาหมอน้ํา (BOILER OPERATION AND MAINTENANCE) การใชงาน 9.1 การเตรียมการติดไฟหมอน้ํา (PREPARATION TO LIGHT - OFF) 122 9.2 การติดไฟหมอน้ํา (LIGHTING OFF BOILER) 123 9.3 การใสไฟ, การลุมไฟ, การแตงไฟ, การเรงไฟ และการชักไฟ 125 9.4 การเปดไอน้ําใชงาน 126 9.5 การดับไฟเลิกใชหมอน้ํา 126 การบํารุงรักษาหมอน้ํา (MAINTENANCE OF STEAM BOILER) 127 - การบํารุงรักษาดานสัมผัสไฟ - การบํารุงรักษาดานสัมผัสน้ํา การระวังรักษาเมื่อเลิกใชหมอน้ํา 132 - การระวังรักษาหมอน้ําโดยการสูบน้ําไวเต็มหมอ - การระวังรักษาหมอน้ําโดยการสูบน้ําออกจากหมอใหหมด การผุกรอนของหมอน้ํา 133 การปองกันการผุกรอนของหมอน้าํ 133 น้ําเลี้ยงสําหรับหมอน้ําและการระวังรักษา 135 บรรณานุกรม

137


1

บทที่ 1 การเกิดของไอน้ํา (THE GENERATION OF STEAM) เราอาจใหคําจํากัดความของคําวา “ไอ” (Vapoure) ไดวา “ไอคือวัสดุไหลชนิดหนึ่ง ซึ่งอาจ ทําใหเปนของเหลวไดโดยที่มกี ําลังดันหรือมีอุณหภูมิเปลีย่ นไปเพียงเล็กนอย “ เชน ไอน้ํากลายเปน น้ํา ซึ่งไมเปนไปตามกฎของแกส (Charactoristic Equation of a prefect Gas) ในเครื่องจักรไอน้ํา ไอน้ําที่มกี ําลังดันและอุณหภูมิสูง ถือวาเปนตัวกลางที่นําเอาพลังงานจาก ตนกําเนิด (เชื้อเพลิง) ไปใชกับ Prime Mover เพื่อใชขับงานตาง ๆ ได ไอน้ําที่เกิดขึ้นในหมอน้าํ นั้น เกิดจากสวนที่ไดรับความรอนมากที่สุดของภาชนะ คือ สวน ของหมอน้ําดานที่สัมผัสแกสรอนและน้ํา หรือสวนที่เรียกวา “พื้นผิวเผารอน” (Heating Surface) 1.1 การกลายเปนไอ (Vaporization) หมายถึงการทีข่ องเหลวเปลีย่ นสถานะกลายเปนไอ เนือ่ งจากไดรับความรอนสูง และสูง พอที่จะทําใหแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลของ ๆ เหลวนั้นเคลื่อนไหวดวยความเร็วสูงทําใหแรงดึงดูด ระหวางโมเลกุล ไมสามารถยึดเหนี่ยวอยูใ นสถานะของ ๆ เหลวนั้นตอไปอีกได ทุกโมเลกุลตางก็จะ กระจายฟุงออกกลายเปนไอ กรรมวิธีการกลายเปนไอ ถาเพิ่มความรอนใหกับน้ํา 1 ปอนด ที่อุณหภูมิ 33 องศา F ภายใตความกดดันบรรยากาศปกติ (14.7 ปอนด/ ตร.นิ้ว) น้ําก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้น ๆ เนื่องจากความรอนจําเพาะของน้ําทีร่ ะดับอุณหภูมนิ ้ํา มีคาประมาณ 1 ดังนั้นเมื่อเพิม่ ความรอนใหน้ํา 1 B.T.U. อุณหภูมกิ ็จะสูงขึ้น 1 องศา F เมื่อเพิ่มความ รอนไปถึง 180 B.T.U. อุณหภูมิของน้ํานัน้ ก็จะเปน 212 องศา F ซึ่งเปนจุดเดือดของน้ํา ณ ความดัน บรรยากาศปกติ น้ําก็จะเดือด เมื่อเพิ่มความรอนใหอีกน้ําก็จะกลายเปนไอ การกลายเปนไอของน้ําจะ เขาใจไดดีจากเรื่องการทดลองการเกิดไอ ซึ่งจะไดกลาวตอไป การระเหย (Evaporation) คลายการกลายเปนไอแตจะเปนไปอยางชา ๆ และเกิดเฉพาะผิวหนาของของเหลวเทานั้น การ ระเหยนี้อาจเกิดขึ้นไดทกุ อุณหภูมิ แตในอุณหภูมิสูง การระเหยจะมีมากขึ้น การเดือด (Boiling or Ebullition) คือการที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเปนไอ แตเกิดขึน้ อยางรวดเร็วเกือบพรอมกันทั้งกอน เพราะ ไดรับความรอน จนทําใหโมเลกุลของของเหลว มีความเร็วแหงการเคลื่อนไหวเกือบพรอมกันหมดทั้ง


2

กอน ไมจํากัดอยูเฉพาะผิวหนา ทําใหมองเห็นการกลายเปนไอของของเหลวบางสวน แทรกผานขึ้น ดานบนกลายเปนการเดือด เชน ในเวลาตมน้ําใหเดือด ทีแรกจะเห็นฟองอากาศลอยขึ้น ตอมาจะเห็น ฟองโตขึ้น ขณะนีฟ้ องอากาศมีไอน้ําปนอยูดว ยฟองนี้เมื่อขึ้นมาถึงตอนบนซึ่งยังเย็นอยูก ็จะควบแนน และยุบตัวเปนน้ําตามเดิม การควบแนนและยุบตัวจะมีเสียงเกิดขึน้ ซึ่งจะไดยินเมื่อน้ําใกลเดือด ตอจากนั้นฟองไอน้ําจะเกิดมากขึ้นทุกทีและลอยพนขึ้นไปในอากาศได ตอนนี้น้ําจะเปลี่ยนเปน สถานะเปนไอไดทั่วทั้งกอนซึ่งเรียกวาเดือด อุณหภูมิทตี่ ั้งตนเดือนเรียกวา “จุดเดือด” (Boiling

Point)

ฉะนั้นจุดเดือดก็คือ อุณหภูมทิ ี่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเปนไปไดทั้งกอน ขณะที่เดือดนี้ อุณหภูมิของเหลวจะคงที่อยูเ สมอ จนกวาจะเปนไอหมด แลวจึงสูงตอไปไดอีก การเดือดนีจ้ ะเกิดขึ้นไดเมื่อกําลังดันสูงสุดของของเหลว เทากับกําลังดันของบรรยากาศ ดังนั้นจุดเดือดของของเหลวทุกชนิดจะไมคงที่ แตจะเปลี่ยนไปตามกําลังดันของบรรยากาศ เชน ถาตม น้ําภายใตความกดดัน 14.7 Psia. หรือที่บรรยากาศ น้ําจะเดือดที่ 212 องศา F ที่ 200 Psia จะเดือดที่ 381.7 องศา F ที่ 1 Psia. เดือดที่ 102.1 องศา F เปนตน กอนที่จะกลาวถึงเรื่องการทดลองการเกิดไอตอไป จะขอกลาวถึงเรื่องผลของความรอนพอ สังเขป คือ .1.2 ผลของความรอน (Effect of Heat) ผลของความรอน จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางอุณหภูมิ ขนาด, รูปราง และสถานะ ดังนั้นความรอนจึงแบงออกไดดังนี้ คือ.1. Sensible Heat คือความรอนที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางอุณหภูมิเชนเดิม เมื่อน้ํา มีอุณหภูมิ 32 องศา F เมื่อไดรับความรอนก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นเปน 212 องศา F Sensible Heat นี้ สามารถวัดไดดวยเทอรโมมิเตอร 2. Latent Heat (ความรอนแฝง) คือมีความรอนที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสถานะ เชน จากของแข็งเปนของเหลว จากของเหลวเปนไอ หรือจากไอเปนของเหลว มีชื่อเรียกไดหลายอยาง คือ .2.1 Latent heat of Vaporization (ความรอนแฝงของกลายเปนไอ) คือ ความรอนที่ ทําใหของเหลวเปนไอ เชน จากน้ําเปนไอน้ํา 2.2 Latent heat of Fusion (ความรอนแฝงของการละลาย) คือความรอนที่ทําให ของแข็งเปนของเหลว เชน น้ําแข็งเปนน้ํา เปนตน 2.3 Latent heat of Condensate (ความรอนแฝงของการกลั่น) คือความรอนที่ทําให ไอเปนของเหลว เชน ไอน้ําเปนน้ํา


3

2.4 Latent heat of Subrimation (ความรอนแฝงของการระหิด) คือความรอนที่ทําให ของแข็งเปนไอ 3. Superheat คือความรอนที่ทําใหไอน้ําซึ่งมีอุณหภูมิอยูที่จุดเดือดของน้ํา มีอุณหภูมิ สูงขึ้น กลายเปนไอเผา 2 ครั้งหรือไอดง อุณหภูมิหรือจํานวนองศาที่สงู เพิ่มขึ้นไปจากจุด เดือดของน้ําเรียกวา “Degree of Superheat” . . Degree of Superheat = อุณหภูมขิ องไอดง – อุณหภูมิของไอแหง 1.3 คุณสมบัตขิ องน้ําเมื่อไดรับความรอน น้ําเปนของเหลวที่มีคุณสมบัติแปลกไปจากของเหลวอืน่ คือ เมื่อนําน้ําไปตมในภาชนะที่เปด (ไมมีฝาปดทึบ) ภายใตความดันบรรยากาศปกติที่ระดับน้ําทะเล คือทีค่ วามดัน 14.7 Psia. น้ําก็จะมี อุณหภูมิสูงขึ้น ๆ ไปเรื่อย ๆ จนถึง 212 องศา F หรือ 100 องศา C ซึ่งเปนจุดเดือดของน้ํา น้ําใน ภาชนะนั้นก็จะเดือด เมื่อใหความรอนเพิม่ ขึ้นอีกเทาไรก็ตามอุณหภูมขิ องน้ําก็จะคงที่คือเทากับ 212 องศา F หรือ 100 องศา C ซึ่งเปนจุดเดือดของน้ํา ความรอนที่ใหเพิม่ ขึ้นนี้ก็ไมไดสูญหายไปไหน แต เปนความรอนที่นําไปใชทําใหน้ําที่มีอุณหภูมิ 212 องศา F เปลี่ยนสภานะเปนไอน้ําที่อุณหภูมิ 212 องศา F นั้นคือแฝงไปกับไอน้ําสูบรรยากาศ อุณหภูมิของน้ําจึงไมสูงขึน้ ดังกลาว แตถาตมน้ําในภาชนะที่มีฝาปดทึบ (ไอน้ํารั่วออกสูบรรยากาศภายนอกไมได จุดเดือดหรือ อุณหภูมิของน้าํ ภายในภาชนะนั้นก็จะสูงขึ้นเกินกวา 212 องศา F หรือ 100 องศา C ได ที่เปนเชนนี้ก็ เพราะไอน้ําทีเ่ กิดขึ้นและสะสมอยูภายในภาชนะทําใหเกิดแรงดัน จุดเดือดของน้ําจึงเปลี่ยนแปลง คือ จะสูงขึ้นตามความดันทีเ่ พิ่มขึน้ ในขณะตม เชนที่ความดัน 14.7 Psi. น้ําจะเดือดที่อุณหภูมิ 212 องศา

F ที่ 200 Psi. น้ําจะเดือดทีอ่ ุณหภูมิ 381.7 องศา F ที่ 1200 Pai. น้ําจะเดือดที่ 567.4 องศา F ที่ 1 Psi. น้ําจะเดือดที่ 102.1 องศา F ดังนั้นการตมน้ําในภาชนะที่ปดทึบ เชน ในหมอน้ําของโรงงานตมกําลัง (Prime Mover) ไอน้ําที่เกิดขันจะมีกําลังและอุณหภูมิสูง จึงสามารถนําไปใชงานตาง ๆ ได เชน เครื่องจักรไอน้ํา, เครื่องกังหันไอน้ํา เปนตน เพราะไอน้ําที่มคี วามดันและอุณหภูมิสูง จะมีพลังงานสะสมอยูในมาก 1.4 สภาวะตาง ๆ ของน้ํา สภาวะตาง ๆ ของน้ําตั้งแตเปนน้ําแข็งหรือมีอุณหภูมิต่ํากวาจุดเยือกแข็งจนถึงเปนไป ดังมีชื่อ เรียกตามสภาวะดังนี้ คือ.Subcoioled ice คือน้ําแข็งที่อุณหภูมิต่ํากวาจุดเยือกแข็ง หรือต่ํากวา 0 องศา C หรือ 32 องศา F

Subcooled water Saturated water

คือน้ําที่มีอุณหภูมิต่ํากวาจุดเดือด คือ น้ํา ณ อุณหภูมิจดุ เดือด แตยังไมเปนไอน้ําเพราะ


4

Saturated temperature Saturated Steam Superheated Steam

ตองใชความรอนแฝงเพื่อทําใหน้ําเปนไอ คืออุณหภูมิทจี่ ดุ เดือด คือ ไออิ่มตัวหรือไอแหง หมายถึงไอน้ําที่มอี ุณหภูมิ อยูที่จุดเดือดของน้ํา คือ ไอดงหรือไอเผา 2 ครั้ง หมายถึงไอน้ําที่ไดรับ ความรอนเพิ่มขึ้น จนมีอุณหภูมิสูงกวาจุดเดือดของน้ํา

1.5 การทดลองการเกิดไอน้ํา การทดลองการเกิดไอที่จะกลาวตอไปนี้ เปนการทดลองการเกิดไอน้ําที่บรรยากาศปกติ หรือ ที่ความกดดัน 14.7 Psi. เครื่องมือที่ใชในการทดลองใชกระบอกสูบซี่งมีพื้นที่หนาตัด 1 ตารางนิ้ว ปลายดานหนึง่ ปด ใชบรรจุน้ํา เหนือขึน้ มาเปนลูกสูบ ซึ่งจะตองทําดวยโลหะหรือวัสดุที่มีน้ําหนักเบา ที่สุด เลื่อนขึ้นลงไดคลอง และสมมุติวา ไมมีน้ําหนัก ใชสําหรับปดหรือปองกันไมใหไอน้ําภายใน กระบอกสูบรัว่ ออกสูบรรยากาศภายนอกได ตามรูป

รูปที่ 1 เดิมสมมุติวาน้ํามีอณ ุ หภูมิ 32 องศา F หรือ 0 องศา C เมื่อใหความรอนตอนลาง น้ําภายใจ กระบอกสูบก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้น ๆ จนถึง 212 องศา F หรือ 100 องศา C ซึ่งเปนจุดเดือดของน้ํา ณ ความดันบรรยากาศ 14.7 Psi. ความรอนที่ใหนี้จึงเปน Sensible Heat เพราะเปนความรอนที่ทําให น้ําซึ่งมีอุณหภูมิ 32 องศา F มีอุณหภูมิสูงขึ้นเปน 212 องศา F เดิมสมมุติวาน้าํ มีอุณหภูมิ 32 องศา F หรือ 0 องศา C เมื่อใหความรอนตอนลาง น้ําภายใจ กระบอกสูบก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้น ๆ จนถึง 212 องศา F หรือ 100 องศา C ซึ่งเปนจุดเดือดของน้ํา ณ ความดันบรรยากาศ 14.7 Psi. ความรอนที่ใหนี้จึงเปน Sensible Heat เพราะเปนความรอนที่ทําให น้ําซึ่งมีอุณหภูมิ 32 องศา F มีอุณหภูมิสูงขึ้นเปน 212 องศา F


5

รูปที่ 2 ถาใหความรอนเพิ่มขึ้นอีก น้าํ ซึ่งมีอุณหภูมิ 212 องศา F หรือ 100 องศา C ก็จะเปลี่ยนสถานะ กลายเปนไอไปทีละนอยจนหมด แตไอน้าํ ขณะนีจ้ ะมีละอองน้ําหรือความชื้นปนอยูม าก คือ ยังไมได กลายเปนไอน้าํ โดยสมบูรณ ไอน้ําในขณะนี้เรียกวา “ไอเปยก” (Wet steam) แตอุณหภูมิของไอ เปยกยังคงเทากับจุดเดือดของน้ํา คือเทากับ 212 องศา F สวนความดันก็จะเทากับ 14.7 Psi. หรือเทา บรรยากาศขณะที่ทดลอง ความรอนที่ใหเพิ่มขึ้นนี้ เรียกวาความรอนแฝงของการกลายเปนไอ เพราะเปนความรอนที่ทํา ใหเกิดการเปลีย่ นแปลงทางสถานะ คือน้ําเปนไอน้ํา รูปที่ 3 เมื่อใหความรอนเพิ่มตอไปอีก ไอเปยกก็จะไดรับความรอนเพิ่มขึ้นและกลายเปนไอโดย สมบูรณ คือไมมีละอองน้ําหรือความชื้นปนอยูเลย ไอน้ําในขณะนี้ เรียกวา “ ไอแหง หรือไออิ่มตัว” (Dry Steam or Saturated Steam) เมื่อถึงตอนนี้ความรอนแฝงจะถูกเก็บไวในไอน้ําทั้งหมด แต อุณหภูมิและความดันของไอแหงนีจ้ ะยังคงเทาเดิม หรือเทากับไอเปยก คืออุณหภูมขิ องไอแหงยังคง เทากับจุดเดือดของน้ําหรือ 212 องศา F สวนความดันเทากับ 14.7 Psi. แตปริมาตรมากกวาไอเปยก ความรอนที่เพิม่ ใหอีกนี้ เรียกวาความรอนแฝงของการกลายเปนไอ เชนเดียวกัน เพราะเปน ความรอนที่ทําใหละอองน้ําในไอเปยกกลายเปนไอน้ํา รูปที่ 4 เมื่อใหความรอนเพิ่มขึ้นตอไปอีก ไอแหงซึ่งมีอุณหภูมเิ ทากับจุดเดือดของน้ํา คือ 212 องศา F ก็จะมีอณ ุ หภูมสิ ูงเกินจุดเดือด กลายเปนไอเผา 2 ครั้ง หรือไอดง (Super heated Steam) ความดัน ของไอดงยังคงเทากับไอเปยกและไอแหง แตมีปริมาตรมากกวา ความรอนที่ใหเพิ่มครั้งหลังนี้เรียกวา “Superheat” เพราะเปนความรอนที่ทําใหไอน้ําซึ่งมี อุณหภูมิอยูที่จดุ เดือด มีอณ ุ หภูมิสูงขึ้น จากการทดลองการเกิดไอน้ํา ภายใตความดันตาง ๆ ปรากฎวาจุดเดือดของน้ําจะเปลี่ยนแปลง ตามความกดดัน เชน ที่ความดัน 14.7 Psi, น้ําจะเดือดที่ 212 องศา F ที่ 200 Psi. น้ําจะเดือดที่ 381.7 องศา F ที่ 1200 Psi. น้ําจะเดือดที่ 567.4 องศา F และที่ 1 Psi. น้ําจะเดือดที่ 102.1 องศา F สวนความ รอนแฝงในการทําใหน้ํากลายเปนไอจะลดลงเมื่อความดันเพิ่มขึ้น (ดูรปู Fig. 1.1) สรุปผลจากการทดลองการเกิดไอของไอน้ํา 1. ถาความดันคงที่ไมเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิ ณ จุดเดือดของน้ําก็ยังคงเทาเดิม จนกระทั่งน้ํา กลายเปนไอหมด 2. อุณหภูมิของไอน้ําและน้ําในหมอน้ําใบเดียวกัน ยอมเทากัน


6

3. ความรอนที่เพิม่ เขาไประหวางที่น้ํากําลังกลายเปนไอ ไมไดไปทําใหอุณหภูมิสูงขึ้น แต จะไปทําใหน้ํากลายเปนไป 4. ความรอนที่เพิม่ เขาไปหลังจากที่น้ํากลายเปนไอหมดแลว จะไปทําใหไอน้ํามีอณ ุ หภูมิ สูงขึ้น 5. ถาความดันหรือกําลังดัน ทีก่ ระทําตอผิวหนาของของเหลวเปลี่ยนไป อุณหภูมหิ รือจุด เดือดของของเหลวที่ระเหยกลายเปนไอ ก็จะเปลี่ยนแปลงไอดวย กลาวคือ เมื่อความดัน สูงขึ้น อุณหภูมิของจุดเดือดก็จะสูงสูงขึ้นดวย แตถาความดันต่ําลง จุดเดือดก็จะต่ําลง 6. เมื่ออุณหภูมิหรือจุดเดือดในการทําใหน้ํากลายเปนไอสูงขึ้น ความรอนในการทําใหน้ํา กลายเปนไอกลับลดนอยลง ถานําอุณหภูมแิ ละจํานวนความรอน ที่เพิ่มใหกับน้ําและไอน้ํา มาเขียนเปนกราฟจะไดตามรูป Fig. 1- 1

การใหความรอน เพื่อใหน้ํากลายเปนไอ อาจแบงออกไดเปนขั้น ๆ คือ ขั้น 1. Sensible heat or Heat of Liquid แสดงดวยเสน A. B. ตามเสนโคง Saturated

Liquid เปนความรอนที่ทําใหน้ํามีอุณหภูมิถึงจุดเดือด (ตามเสนโคงที่แสดงถึงการตมน้ําภายใตความ ดัน 14.7 Psi.) ขั้น 2. Latent heat or Heat of Vaporization แสดงดวยเสน BC คือความรอนที่ทํา ใหน้ําที่มีอณ ุ หภูมิที่จุดเดือดกลายเปนไอน้ํา


7

ขั้น 3. Superheat แสดงดวยเสน CD คือความรอนที่ทําใหไอแหง ซึ่งมีอุณหภูมิเทากับจุด เดือดของน้ํามีอุณหภูมิขึ้นกลายเปนไอดงหรือไอเผา 2 ครั้ง (Superheated Steam) จากการทดลองและจากกราฟตามรูป Fig. 1 – 1 จะเห็นวา จุดเดือดและความรอนแฝงของ น้ําจะเปลีย่ นแปลงตามความดัน คือ ถาเพิ่มความดันใหสงู ขึ้น จุดเดือดก็จะสูงขึ้นดวย แตความรอนแฝง ที่ทําใหน้ํากลายเปนไอกลับลดลง และถาเพิ่มกําลังดันใหสูงขึ้น ๆ จนถึงจุด ๆ หนึ่ง ที่เสน ๅ Liquid

Line หรือเสน Saturated Liquid และเสน Dry Steam Line หรือเสน Saturated Steam มา พบกัน ซึ่งเรียกวา “จุดวิกฤต” (Critical Point) น้ําก็จะเดือดกลายเปนไอทันที โดยไมตองใช ความรอนแฝงของการกลายเปนไอเลย อุณหภูมิ ณ จุดนี้จะมีอุณหภูมิ 705.4 องศา F เรียกวา “อุณหภูมิวิกฤต” (Critical temperature) สวนความดัน ณ จุดนี้เรียกวา “ ความดันวิกฤต” ซึ่งจะมี ความดัน 3206.2 Psia. ที่ความดันนี้ความหนาแนนของน้ําและไอน้ําจะเทากันและไมมีความแตกตาง ระหวางสภาวะทั้งสอง ดังนั้นเมื่อน้ําไดรบั ความรอนจนถึงอุณหภูมิวกิ ฤต น้ําจึงกลายเปนไอไดทันที โดยไมตองใชความรอนแฝงของการกลายเปนไอเลย 1.6 ชนิดของไอน้ํา จากการทดลองการเกิดไอน้ํา ไอน้ําจึงแบงออกได 3 ชนิด คือ.1. ไอเปยก (Wet Steam) หมายถึงไอน้าํ ที่ยังมีละอองน้ําหรือความชืน้ ปนอยูคือ ยังไมเปนไอ น้ําโดยสมบูรณ มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา Quality Steam เชนไอน้าํ Quality 90 % หมายความ วาไอน้ํานั้นเปนไอเปยก คือยังมีความชื้นปนอยู 10 สวน เปนไอน้ํา 90 สวน อัตราสวนเปรียบเทียบของน้าํ หนัก ของสวนที่เปนไอตอน้ําหนักของสวนผสมทั้งหมด (ไอ เปยก) เรียกวา “อัตราความแหงของไอ” (Dryness fraction) . . Q = WS WS + W Q = Dryness fraction Ws = น้ําหนักของไอน้ําที่อยูในไอเปยก W = น้ําหนักของละอองน้าํ หรือความชื้นในไอเปยก ตัวอยาง จากการตรวจสอบไอน้ําของหมอน้ําใบหนึ่ง พบวาไอน้ําที่ผลิตออกเปนไอเปยก (Wet steam) ใน 1 ปอนด จะมีความชื้นปนอยู 0.16 ปอนด อัตราความแหงของไอน้ําจากหมอน้ําใบนีจ้ ะ เปนเทาไร จากสูตร Q =

WS

WS + W


8

Ws หรือน้ําหนักของสวนที่เปนไอ W หรือน้ําหนักของละอองน้ํา ..

Q

= 1 – 0.16 = 0.84 ปอนด = 0.16 ปอนด 0.84 = 0.84 + 0.16

อัตราความแหงของไอเปน .84 หรือประมาณ 84 % หมายเหตุ ไอน้ําจะยังคงเปนไอเปยก และจะเปนไอแหงไมได ตราบใดที่ไอน้ํานั้นยังคงสัมผัสอยู กับผิวหนาน้ํา ขณะทีก่ ําลังกลายเปนไออยู 2. ไอแหงหรือไออิ่มตัว (Dry steam or Saturated steam) หมายถึงไอน้ําที่ไมมีละอองหรือความชื้นปนอยูเลย คือเปนไอน้ําทั้งหมดโดยสมบูรณ ไอ อิ่มตัวนี้จะเปนไอน้ํา Quality 100 % อุณหภูมิของไออิ่มตัวขณะนีเ้ รียกวา “อุณหภูมิอิ่มตัว” (Saturated temperature) เพราะเปนอุณหภูมิที่ทําใหน้ํากลายเปนไอน้ําภายใตความดันคงที่ ตอนนี้ อุณหภูมิของน้าํ และไอจะเทากันและคงทีเ่ สมอ จนกวาจะเปลี่ยนเปนไอไปหมด เชน ถาตมน้ําภายใต ความดัน 600 Psi. น้ําจะเดือดที่อุณหภูมิ 486.2 องศา F อุณหภูมิของไออิ่มตัวจะเทากับ 486.2 องศา F ดวย 3. ไอดงหรือไอซุปเปอรฮีต (Superheated Steam) หรือเรียกวาไอเผา 2 ครั้ง ไดจากการนําเอาไอแหงมาทําการเผาหรือเพิ่มความรอนขึ้นอีก จนมีอุณหภูมสิ ูงขึ้น คือสูงเกินกวาจุดเดือดของน้ํา การเพิ่มความรอนใหกับไอแหง เพื่อทําใหเปนไอดง นั้น ทําไดโดยนําเอาไอแหงไปผานหมูหลอดทําไอดง (Superheater) ซึ่งติดตั้งอยูภายในเตาหรือที่ ๆ แกสรอนผาน ปริมาตรของไอดงจะมากขึ้นแตกําลังดันยังคงเทาเดิม ปกติไออิ่มตัวเมื่อกําลังดันคงที่ จะมีปริมาตราจําเพาะทีแ่ นนอนอันหนึ่ง แตเมื่อเพิ่มความรอน ขึ้นเพื่อใหเปนไอดง ปริมาตรจําเพาะจะเพิม่ ขึ้น เชน ไออิ่มตัว 1 ปอนด เมื่อมีกําลังดัน 400 Psi. อุณหภูมิอิ่มตัว 445 องศา F มีปริมาตรจําเพาะ 1.1613 ลบ.ฟุต เมื่อเปนไอดงที่กําลังดันเทาเดิม อุณหภูมิจะสูงขึ้นเปน 745 องศา F จะมีปริมาตรจําเพาะ 1.326 ลบ.ฟุต มีปริมาตรเพิ่มขึ้นถึง 0.1647 ลบ.ฟุต ตอไอน้ําเพียง 1 ปอนด ดังนั้นในปจจุบันจึงนิยมใชไอดงเดินเครื่องจักรใหญ เพราะไอแหงหรือไออิ่มตัวมีโอกาสที่ เกิดความชืน้ ขึน้ กอนที่เดินเขาเครื่องจักร เนื่องจากไอน้ําคายหรือถายเทความรอนใหกับทอทางและ เครื่องจักร แตถาเปนไอดง จะไมเกินขึ้นเลย เพราะมีอณ ุ หภูมิสูงมาก ถึงแมจะคายความรอนใหกบั ทอ ทางบาง อุณหภูมิกย็ ังคงสูงกวาไอน้ําแหงอยูนั่นเอง


9

ผลเสียที่ใชไออิ่มตัวหรือไอเปยกเดินเครื่องจักร 1. ทําใหเกิดการผุกรอนแกบรรดาทอทางไอและเครื่องจักร 2. เปลืองไอน้ํา เนื่องไอน้ําบางสวนเกิดการกลั่นตัวเปนน้ํา เพราะคายความรอนใหกับทอ ทางและเครื่องจักร กําลังดันและอุณหภูมิของไอน้ําจะลดต่ําลง (คุณภาพของไอน้ําต่ําลง) ซึ่งจะตองเปดไอมากขึ้น 3. ทําใหเกิดการกัดกรอนแกบรรดาทองทางไอ และสวนตาง ๆ ภายในของเครือ่ งจักร เนื่องจากการกระแทกตัวของความชื้น หรือละอองน้ําที่มีอยูในไอน้ํา ขณะที่ไอน้ําวิ่งผาน ไปดวยความร็วสูง ถาจะกลาวถึงประสิทธิภาพของเครื่องจักรไอน้ํา เนื่องจากการใชไอดงแลวเครื่องจักรที่ใชไอ ดง จะมีประสิทธิภาพสูงกวา เชน เครื่องกังหันไอน้ําขนาดปานกลางทีใ่ ชจะมีประสิทธิภาพเพิ่มขึน้ 1 % ทุก ๆ อุณหภูมิ 35 องศา F ที่สูงกวาไออิ่มตัว และจะเพิม่ ขึ้น 15 % ทุก ๆ อุณหภูมิ 200 องศา F ที่ เพิ่มขึ้น จึงเปนการประหยัดเชื้อเพลิง และจะมีผลทําใหน้ําหนักตอแรงมาของเครื่องลดลงดวย อยางไรก็ตาม ไอดงก็ไมเหมาะที่จะใชกับเครื่องจักรชวย เพราะอุณหภูมิของไอดง จะทําใหความแข็งแรงของชิ้นสวนของเครือ่ งจักรลดลง เนื่องจากอุณหภูมิของไอดงสูงมาก เพราะ เครื่องจักรชวยไมไดสรางดวยโลหะพิเศษเหมือนเครื่องจักรใหญ 1.7 การคํานวณหาปริมาณความรอน ความรอนจําเพาะ (Spacific heat) คืออัตราสวนเปรียบเทียบระหวางปริมาณความรอนที่ทํา ใหวตั ถุที่มีมวล 1 หนวย มีอุณหภูมิเพิ่มขึน้ 1 องศา ตอปริมาณความรอนที่ทําใหน้ําที่มีมวล 1 หนวย เทากัน มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศา ความรอนจําเพาะของน้ําเทากับ 1 คาความรอนจําเพาะของวัตถุ จึง บอกเปนตัวเลขลอย ๆ ไมมีหนวย ดังนั้นเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติ เราอาจนิยมความรอนจําเพาะใหมวา “ความรอนของ วัตถุใด คือจํานวนความรอนที่พอดีทําใหวัตถุที่มีมวล 1 หนวย มีอุณหภูมิสูงขึน้ 1 องศา” วัตถุที่มีคาความรอนจําเพาะมาก หมายถึงวัตถุนั้นรับความรอนไวมาก เชน เหล็กมีคา ความรอน จําเดาะ 0.1140 ทองแดงมีคาความรอน 0.0931 ก็หมายความวาเหล็กจะรับความรอนไวไดมากกวา ทองแดง เพราะเหล็ก 1 กรัม เมื่อตองการใหมีอุณหภูมสิ ูงขึ้น 1 องศา C จะตองใชความรอน 0.1140 คาลอรี่ แตทองแดงใชความรอนเพียง 0.0931 คาลอรี่ ความรอนจําเพาะของสารแบงออกได 2 กรณีย คือ.1. ความรอนจําเพาะที่คิดจากมวลสารที่มีปริมาตรคงที่ใชอักษรยอ Cv 2. ความรอนจําเพาะเมื่อสารมีความดันคงที่ใชอักษรยอ Cp การหาความรอนจําเพาะหาไดจากสูตร C

=

Q t


10

C

= ความรอนจําเพาะ หรือแทนดวย S มีหนวยเปน B.T.U./lb./F หรือ Cal./ gm./ C Q = ปริมาณความรอน B.T.U. หรือ Cal t = อุณหภูมิทเี่ ปลี่ยนไป องศา F หรือ องศา C หมายเหตุ ความรอนจําเพาะของน้ําไมคงที่เหมือนวัตถุชนิดอื่น คือ จะเปลี่ยนแปลงไปตาม อุณหภูมิ ที่อณ ุ หภูมิ 15 องศา C ความรอนจําเพาะเทากับ 1 แตในการคํานวณใช ความรอนจําเพาะของน้ําเทากับ 1 ตารางความรอนจําเพาะ วัตถุ ความรอนจําเพาะ วัตถุ ความรอนจําเพาะ น้ํา 4 องศา C 1.0049 อัลกอฮอลล .62 “ 10 องศา C 1.0021 ทองแดง .0931 “ 15 องศา C 1.0000 ทองเหลือง .092 “ 20 องศา C .9982 เหล็ก .114 “ 25 องศา C .9973 กํามะถัน .176 “ 30 องศา C .9971 อลูมิเนียม .217 “ 100 องศา C .421 สังกะสี .093 “ 0 องศา C (น้ําแข็ง) .502 แกวคราวน .16 ตะกัว่ .0310 แกวฟลินท .117 ปรอท .0331 แกวเทอรโมมิเตอร .199 ดีบุก .0262 ทองคําขาว .0324 เงิน .0572 ไฮโดรเจน 3.409 นิเกิล .109 กลีเซอรีน .56 อากาศ .237

การหาปริมาณความรอน

Q Q m s t

=

m.s.t.

=

ปริมาณความรอนที่วัตถุรับเขาไปหรือคายออก

=

มวลสารวัตถุ

=

ความรอนจําเพาะของวัตถุ

=

อุณหภูมิของวัตถุที่เปลี่ยนแปลง


11

ตัวอยาง ทองแดงกอนหนึ่งหนัก 120 กรัม ถาตองการใหอุณหภูมิเพิม่ ขึ้นจาก 20 องศา C เปน 50 องศา C จะตองใหปริมาณความรอนเทาไร ? ความรอนจําเพาะทองแดงเทากับ .0931 Q = m.s.t. จากสูตร

Q

= = ทองแดงจะตองรับความรอน

แทนคา

120 x .0931 x (50 - 20) 335.16 335.16 คาลอรี่

Ans.

1.8 ความจุความรอน (Thermal capacity) คือปริมาณความรอนที่ทําใหวัตถุทั้งกอนมีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 องศา C = m.s.

C m s สูตรการหาปริมาณความรอนคือ Q Q

=

ความจุความรอน

=

มวลสาร

=

ความรอนจําเพาะ

=

m.s.t. C.t. (m.s. = C)

= ตัวอยาง ทองเหลืองหนึ่งมีความจุความรอน 92 คาลอรี่ อยากทราบวาทองเหลืองกอนนี้มีมวลสาร เทาไร ? และถาตองการใหอุณหภูมิของทองเหลืองกอนนี้ลดลงจาก 20 องศา C เปน - 10 องศา C จะคายความรอนออกเทาไร (ความรอนจําเพาะทองเหลือง .092) จากสูตร C = m.s. 92

=

m x 0.092

92 .092 = 1,000 กรัม ทองเหลืองมีมวลสาร 1,000 กรัม Ans. ถาตองการใหอุณหภูมิลดลงจาก 20 องศา C เปน - 10 องศา C จะคายความรอนออกเทาไร

จากสูตร แทนคา

m

=

Q Q

=

m.s.t.

= =

1000 x .092 x (20 - ( - 10 ) 1000 x .092 x 30 2,760 คาลอรี่

Ans. จะคายความรอนออก การคํานวณหาความรอนที่มอี ยูในน้ําและไอน้ํา จากการทดลองการเกิดไอ จะเห็นวา ถาเราเพิ่มความรอนใหกับน้ํา 1 ปอนด ที่อุณหภูมิ 32 องศา F ณ ความดันบรรยากาศปกติ น้ําก็จะมีอณ ุ หภูมสิ ูงขึ้น ๆ จนถึง 212 องศา F ซึ่งเปนจุดเดือด


12

ของน้ํา จํานวนความรอนใหกับน้ําตั้งแตอุณหภูมิ 32 องศา F จนถึงจุดเดือดคือ 212 องศา F เรียกวา “Sensible heat” หรือ “Enthalpy of Liquid” ถาจะศึกษาจากกราฟรูป Fig 24 ซึ่งแทนดวยเสน AB จะตองใชความรอนไป 180 B.T.U. หรือจะหาไดจากสูตร คือ

hf hf เมื่อ

= Cp ( tv - 0 )

หนวย º C หนวย º F

= Cp ( tv - 32 )

hf

คือ Enthalpy of Liquid คา hf นี้สามารถหาไดจาก Satuated table 1 และ 2ในชอง Enthalpy of Steam liquid ณ อุณหภูมหิ รือความดันที่เกิดขึ้น Cp คือ ความรอนจําเพาะเมื่อความดันคงทีห่ นวยเปน B.T.U./1b/F

tv

คืออุณหภูมิที่จุดเดือด หนวยเปน องศา F เมื่อใหความรอนตอไป น้ําที่มี อุณหภูมิที่จุดเดือด (212 องศา F) ก็จะ เปลี่ยนสถานะกลายเปนไอน้าํ จนหมด ความ รอนที่ทําใหนา้ํ อุณหภูมิ 212 องศา F เปนไอ เรียกวา ความรอนแฝงของการกลายเปนไอ (Latent Heat) หรือ “Enthalpy of

Evaporation” (hfg) แทนดวยเสนนอนBC. ตามรูป Fig 24 ซึ่งตองใชความรอนทั้งสิ้น 970.3 B.T.U. Fig. 24 change during formation 1 lb steam คา Enthalpy of evaporation (hfg) หรือความรอนแฝงของการกลายเปนไอนี้จะมีคานอยลง เมือ่ ความกดดันในขณะที่ทําการตมน้ํานั้นสูงขึ้น และจะมีคาเปน 0 เมื่อยูท ี่จุดวิกฤต (Critical point) คือที่ อุณหภูมิ 705.4 องศา F หรือที่ความดัน 3,206.4 Psia. คา Enthalpy of Evaporation (hfg) นอกจากจะดูไดจาก Steam Table 40 และ 41 แลวยัง หาไดโดยเอาความรอนที่เปนพลังงานภายใน (ufg) รวมกัยความรอนที่เปน External Work or Flow work . . Enthalpy of evaporation = Internal Energy + External work


13

External work เปนงานที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของน้ํา 1 ปอนด เปนไอแหงที่ กําลังดันคงที่ ดูรูป Fig. 25 คาของ External work ไดจาก เอาแรงดันคูรกับปริมาตรที่เปลี่ยนแปลงหนวยเปน B.T.U. คือเทากับ 144 APu ซึ่งในที่นี้ A P U

1 778 = กําลังดันสมบูรณ = ปริมาตรที่เปลี่ยนแปลงของน้ํา 1 ปอนด เปนไอแหงที่แรงดันเทากัน จะเขาใจไดจากรูป Fig 25

=

. . Extermal Work = 144 p ( vg - vf ) 778 แตก็ไมไดหมายความวาความรอนแฝงหรือ Enthalpy of evaportation จะถูกนําไปเปน External work ทั้งหมด สวนใหญจะเปนพลังงานภายใน (Internal energy) ของไอน้ํา และเรียกวา “Internal energy of evaporation” ( ufg) . . ufg = hfg - 144 Apu. นั่นคือ

hfg hfg

= =

ufg + 144 Apu. ufg + 144 p ( vg - vf ) 778

เมื่อใหความรอนกับไอน้ํานีต้ อไป ไอน้ํานี้กจ็ ะมีอุณหภูมิสูงขึ้นเกินกวาจุดเดือดของน้ํา กลายเปนไอดงหรือไอเผา 2 ครั้ง ซึ่งปริมาตรของไอจะเพิ่มขึน้ ความรอนที่ทําใหไอน้ํามีอณ ุ หภูมิ สูงขึ้นนี้เรียกวา “Superheat” แทนดวยเสน CD ตามรูป Fig.24 1.9 เอนทัลปของไอแหงและไอเปยก ไอแหง 1 ปอนด (hg ) หมายถึงความรอนรวมหรือความรอนทั้งหมด (Total heat) ที่ทําใหน้ําที่อุณหภูมิ 32 องศา F

Enthalpy of Liquid, Internal Latent heat และ External Latent heat ตามรูป Fig. 24 จะแสดงดวยเสนจาก A – C คา hg. หาไดจาก Steam table ในชอง Enthalpy of Vapor หรือไดจากสูตร hg = hf + ufg + 144 Apu. หรือ hg = hf + hfg กลายเปนไอน้าํ แหงหรือไปอิม่ ตัว ซึ่งจะเทากับผลรวมของ


14

ไอเปยก 1 ปอนด (hW ) หมายถึงความรอนรวมที่ทําใหน้ํา 1 ปอนด ที่อุณหภูมิ 32 องศา F เปนไอเปยก คลายกับ Enthalpy ของไอแหง แต Enthalpy ของไอเปยกจะนอยกวาของไอแหง เพราะยังมีละอองน้ําปนอยู ไอน้ําจึงไดรับความรอนแฝงไวไมเต็มที่ หาไดจากสูตร hW = hf + x hfg

hf hfg x

ตัวอยาง

= Enthalpy of Liquid = Enthalpy of evaporation =

Quality ของไอน้ํา บอกคาเปนทศนิยมหรือ Dryness fraction ถา เปนไอแหง ซึ่งมี Quality 100 % จะมีคา เปน 1 จงหา Enthalpy ของไอเปยก 1 ปอนด ที่มี Quality 90 % ความดัน 150 Psia. จากสูตร hW = hf + x hfg

hf x

hfg hW

= 330.51 ไดจาก Steam table 2 = .9 (Dryness fraction) = 863.6 ไดจาก Steam table 2

แทนคา = 330.51 + ( .9 x 863.6) = 1107.75 Enthalpy ของไอเปยกนี้ = 1107.75 B.T.U./lb. 1.10 พลังงานภายในของไอน้ํา (Internal energy of Steam) พลังงานภายในของไอน้ํา 1 ปอนด (ug) จะเทากับพลังงานภายในของการกลายเปนไอ (Internal energy of evaporation = u f ) + ความรอนที่ทําใหน้ํามีอุณหภูมิสูงขึ้นถึงจุดเดือด (Sensible heat of Enthalpy of Liguid = hf) . . Ug = ufg + hf หรือ U g = h g - 144 Apu. (โดยที่ enthalpy ของไอน้ํา 1 ปอนด = พลังงานภายใน + พลังงานภายนอก หรือ h g = U g + 144 Apu) ตัวอยาง เกจวัดความดันของหมอน้าํ ใบหนึ่งอานได 115.3 psi. ที่บรรยากาศที่เครื่องวัด บรรยากาศอานได 29.92 นิ้วปรอท ใหหาปริมาตร, enthalpy of Liquid , Internal Latent

heat และ enthalpy ของไอแหง 1 ปอนด วิธีทํา ความดันบรรยากาศ 29.92 นิ้วปรอท = 29.92 x 0.491 x 14.7 psi. เกจวัดความดันหมอน้ําอานได 115.3 psi = 115.3 + 14.7 = 130 psia.


15

จาก Steam table 41 ปริมาตรจําเพาะ (Specific Volume) ของไอน้ําที่ความดัน 130 psia. ในชอง Vg = 3.455 Cu.ft. Enthalpy of Liguid ในชอง hf = 318.81 B.T.U.

Internal Latent heat หรือ Internal energy of evaporation (ufg) คํานวณไดจาก สูตร

U g = Ufg + hf

U g ไดจาก Steam table 41 ที่ 130 psia. = 1108.6 Hf ไดจาก Steam table 41 ที่ 130 psia = 318.81 1108.6 - 318.31 = 789.79 B.T.U. Ufg = Enthalpy ของไอแหง 1 ปอนด ในชอง Enthalpy sat. Vapor (hg) = 1191.7 B.T.U. Ans. 1.11 ปริมาตรจําเพาะและความหนาแนนของไอแหง ปริมาตรจําเพาะ (Specific Volume = Vg) ของไอแหง ก็คือปริมาตรของไอน้ําแหงที่มี น้ําหนัก 1 ปอนด ปริมาตรจําเพาะนี้จะเปลี่ยนแปลงตามความดัน และจะเปลีย่ นแปลงปริมาตรอยาง รวดเร็วเมื่อความดันต่ํา ปริมาตรจําเพาะของไอน้ําแหง 1 ปอนดทคี่ วามดันใด ๆ ก็ตาม จะตองมี ปริมาตรเปน 2 เทาของไอน้ําแหงครึ่งปอนดที่ความดันเทากัน นั่นคือ ปริมาตรจําเพาะ =

ปริมาตร หนวยเปน ลบ.ฟุต (cu. ft.) น้ําหนัก ” ปอนด (lb) ปริมาตรจําเพาะ ” ล.บ. ฟุต/ปอนด (ft /lb) ในทางกลับกันหรือตรงกันขามของ Specific Volume ก็คือ Specific density หรือความ หนาแนนจําเพาะของไอน้ํา ซึ่งก็คือ น้ําหนักตอปริมาตรของไอน้ํา 1 ปอนด และความหนาแนนนี้จะ เปลี่ยนแปลงตามความดัน นัน่ คือ ความหนาแนนจําเพาะ = น้ําหนัก เนื่องจากไอดงไดมาจากการนําเอาไอแหงมาเผาหรือใหความรอนเพิ่มขึ้น ไอน้ําแหงซึ่งเดิมมี อุณหภูมิที่จุดเดือดของน้ํา จึงมีอุณหภูมสิ ูงขึ้นเกินกวาจุดเดือดของน้าํ และปริมาตราของไอน้ําก็จะ สูงขึ้นดวย อุณหภูมิของไอน้ําสวนที่เพิ่มขึ้นจากจุดเดือดเรียกวา “Degree of Superheat” สวน ความรอนที่ทําใหอุณหภูมิสูงขึ้นก็เรียก “Super heat” หรือเรียกกวา “Sensible heat” ก็ไดเพราะ เปนความรอนที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางอุณหภูมิ


16

จํานวนความรอนที่ทําใหไอแหงเปนไอดงหาไดจากสูตร

hs = Cp (ts - tv) hs = ความรอนที่ทําใหไอแหงเปนไอดง (Superheat) Cp = คาความรอนจําเพาะของไอดง มีคาไมคงที่ คือเปลี่ยนแปลงตาม ความดันและอุณหภูมิ เชนที่ 600 Psia. 360 องศา F จะมีคา 0.65 ts = อุณหภูมิของไอดง tv = อุณหภูมิของไอแหง 1.12 ENTHALPY ของไอดง Enthalpy ของไอดง 1 ปอนด หมายถึงจํานวนความรอนรวมของไอดงตั้งแตน้ําที่มอี ุณหภูมิ 32 องศา F กลายเปนไอดง ซึ่งจะเทากับความรอนของไอแหง บวกกับความรอนที่ทําใหเปนไอดง ความรอนที่ทําใหไอแหงเปนไอดงหาไดโดย เอาความรอนจําเพาะของไอดง (Cp) คูณกับ Degree

of Superheat. ตามสูตรขางบน hs = hg + Cp ( ts - tv ) hs = Enthalpy ของไอดง 1 ปอนด hg = Enthalpy ของไอแหง 1 ปอนด ( ts - tv ) = Degree ov Superheat Cp = ความรอนจําเพาะของไอดง


17

คาความรอนจําเพาะของไอดง ตามที่กลาวแลววามีคาไมแนนอน คือจะเปลี่ยนแปลงไปตาม ความดันและอุณหภูมิ เชนที่ความ 600 Psia. อุณหภูมิ 360 องศา F มีคา 0.65 คาความรอน จําเพาะนี้หาไดจากเสนโคง (Curve) ตามรูปบน ตัวอยาง จงคํานวณหาจํานวนความรอนของไอดง 10 ปอนด ที่ความดัน 250 Psia. Degree of Superheat 120 องศา F] จากสูตร hS = h g hg = 1201.1 (ดูจาก Steam table 41 ชอง Enthalpy Sat.

Cp (ts - tv )

=

Vapor ที่ 250 Psi. Abs) 0.615 ไดจาก Curve รูปบน 120 องศา F

= แทนคา h S = 1201.1 + 0.615 (120) = 1274.9 B.T.U./ lb. ไอดง 10 ปอนด = 12749 B.T.U. Ans. การคํานวณเกีย่ วกับความรอนในไอน้ํา อาจคํานวณไดจากสูตรดังตอไปนี้ ซึ่งผิดกับสูตรที่ กลาวมาแลว แตก็ไดคาหรือคําตอบอยางเดียวกันคือ.1.13 ความรอนรวมของไอน้ํา (Total heat of Steam) คือความรอนทั้งหมดที่ทําให น้ําที่มีอุณหภูมิ 32 องศา F กลายเปนไอน้ํา ปริมาณความรอน ที่ทําใหน้ํากลายเปนไอน้ํานี้ คือ ผลรวมของ Sensible heat, Latent heat และความรอนที่ทําใหไอน้ํา มีอุณหภูมิสูงเกินกวา 212 องศา F ความรอนของไอน้ํา 1 ปอนด ที่อณ ุ หภูมิ 212 องศา F จะเทากับ 1146.6 (B.T.U.) และจะ เพิ่มขึ้นประมาณ 0.305 Units (B.T.U.) ทุก ๆ อุณหภูมทิ ี่สูงขึ้นนับจาก 212 องศา F (ดูจาก Steam

table ใน Modern Steam Boilers) .. H = 1146.6 + [ 0.305 ( t - 212 ) ] H = Total heat t = อุณหภูมิของไอน้ําขณะนั้น ตัวอยาง จําคํานวณหาความรอนรวมของไอน้ําที่มีอุณหภูมิ 358 องศา F H = 1146.6 + [ 0.305 ( 358 - 212 ) ] = 1146.6 + ( 0.305 x 146 ) = 1191.13 B.T.U.

Ans.


18

อีกสูตรหนึ่งของ Regnaults Experiments คือ

Total heat

= 1082.4 + 0.3 t = 1082.4 + 0.3 x 358 = 1189.8 B.T.U. Ans. Heat Required to Superheat Steam การคํานวณหาความรอนที่ทําใหไอแหงเปนไอเผา 2 ครั้ง ใชสูตรดังนี้ Heat = (T - t ) x 0.48 B.T.U. / lb. T = อุณหภูมิของไอดง t = อุณหภูมิของไอแหง ตัวอยาง จงคํานวณหาความรอนที่ทําใหไอแหงเปนไอเผา 2 ครั้ง ของไอน้ํา 1 ปอนด อุณหภูมิ 470 องศา F กําลังดัน 150 Psia. จาก Steam table อุณหภูมิหรือจุดเดือดของน้ําที่ 150 Psia. เทากับ 358.3 องศา F

Heat =

( T - t ) x 0.48 B.T.U. /lb.

= ( 470 - 358.3 ) x 0.48 = 53.6 B.T.U. Ans. Total heat of Superheated Steam ความรอนรวมของไอเผา 2 ครั้ง คือ ความรอนที่ทําใหน้ําที่มีอุณหภูมิ 32 องศา F กลายเปน ไออิ่มตัว รวมกับความรอนที่ทําใหไออิ่มตัวเปนไอดง จากตัวอยางขางบน ความรอนรวมของไอดง เทากับ 53.6 B.T.U. รวมกับความรอนของไออิ่มตัวจาก Steam table ที่ 150 Psia. เทากับ 1191.2 รวมเปน 1191.2 + 1244.8 B.T.U. หรือจะหาไดจากสูตร Total heat = 1082.4 + 0.3 t + 0.48 ( T - t ) T = อุณหภูมิของไอดง t = อุณหภูมิของไออิ่มตัว 1.14 ENTROPY เปนคุณสมบัติอยางหนึ่งของสาร หรือเปนคาที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงทาง พลังงานความรอน เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางอุณหภูมิ คาของ Entropy ใชแทนดวยสัญญลักษณ S มีใชมากโดยนํามาใชในการแก (Solution ) ปญหาเกีย่ วกับความรอนที่ใชในทางปฏิบัติเกี่ยวกับ งานทางชางกล คาของ Entropy ไมแนนอนเชนเดียวกับ hf., hfg. และ hg. คือขึ้นอยูกับความ รอนที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง กับอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งนี้เพราะ Entropy ที่เปลี่ยนแปลง


19

(The change in Entropy) คืออัตราสวนเปรียบเทียบของความรอนที่เปลี่ยนแปลง (เขาหรือออก) ของสารที่มีน้ําหนัก 1 ปอนด ตออุณหภูมิสมบูรณที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น แบงออกได 3 ลักษณะ คือ.1. Entropy of Water เปน Entropy ที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากเพิ่มความรอนใหกับน้าํ จาก อุณหภูมิ 32 องศา F – 212 องศา F หรือเรียกอีกอยางหนึง่ วา “Entropy of Liquid” แทนดวย สัญลักษณ Sf 2. Emtropy of Evaporation เปนการเปลี่ยนแปลงของ Entropy ระหวางที่เกิดเปนไอ คํานวณไดโดยเอาความรอนที่ทําใหเปนไอ หารดวยอุณหภูมิสมบูรณของจุดเดือด (Heat of

evaporation divided by the absolute temperature of the boiling point) แทนดวย สัญญลักษณ Sfg 3. Entropy of Steam คือผลบวกของ Entropy of Water กับ Entropy of Evaporation รวมกันแทน ดวยสัญลักษณ Sg . . Sg

=

Sf + Sf

คาของ Entropy กําหนดไวใน 3 ชองทายของตารางไอน้ํา Table 40

Total Entropy ของไอแหง (Sg.) ก็คือ Entropy ของไอน้ําตามที่กลาวมาแลวในเรื่อง Entropy of Steam สวน Total Entropy ของไอดง ก็คือ Entropy ที่เปลี่ยนแปลงของความรอนที่ทําให ไอแหงเปนไอดงที่อุณหภูมทิ ี่ตองการ รวมกับ Entropy ของไอแหง (Sg) สําหรับไอเปยก คาของ hg อยูในตารางไอแหงซึ่งจะตองมีคาสูงกวาความเปนจริงหรือ Entropy ที่เปลี่ยนแปลงไปจริง ๆ เพราะยังไมเปนไอน้ําโดยสมบูรณคอื ยังมีละอองน้ําหรือน้ํารวมอยู ดังนั้น Entropy of Evaporation (hfg.) จะมีเพียงสวนหนึ่งไมไดเปนทั้งหมดฉะนั้นคาของ Sfg จริงก็จะนอยลงดวย คือจะเทากับ Sfg x Quality X (คาของ X คือ Dryness fraction) ดังนัน้ คา ของ Entropy ของไอเปยกหาไดจากสูตร เมื่อ

S S SF X

= = = =

Sf + X Sfg Entropy ของไอเปยก Entropy of Liquid Dryness fraction


20

ตัวอยาง จงคํานวณหา Entropy ที่เปลี่ยนแปลงไป ระหวางที่เกิดการกลายเปนไอของน้ํา 1 ปอนด ที่อุณหภูมิ 212 องศา F เมื่ออุณหภูมิคงที่ขณะเกิดการกลายเปนไอ Sfg = hfg ÷ T

Hfg =

ความรอนที่ทําใหน้ํา 1 ปอนดเปนไอน้ํา ดูจาก Steam table 40 ชอง

Enthalpy hfg ที่ 212 องศา F เทากับ 907.3 B.T.U T

=

อุณหภูมิสมบูรณของไอ เทากับ 212 องศา + 460 = 672 องศา F Sfg = 970.3 แทนคา 672 Change of Entropy = 1.44 Ans

จากการทดลองการเกิดไออยางละเอียด (Experimental measurements) โดยการเพิ่ม อุณหภูมิใหแกน้ํา และบันทึกจํานวนความรอนที่น้ําไดรบั ในปริมาณของน้ําทุก 1 ปอนด น้ําหนัก ใน ทุกคาความดันที่เปลี่ยนแปลงไป แลวนําอเอาคาตาง ๆ ที่ไดมาเขียนเปนตารางไอน้าํ ขึ้น เรียกวา “ตารางไอน้ํา” (Steam Tables) ตารางนี้สามารถนําไปใชประโยชนในการคํานวณการขยายตัว ของไอน้ํา (Expansion of Steam) คํานวณกําลังงานของไอน้ํา และใชเปนหลักในการคํานวณหา คาตาง ๆ ของไอเปยก ไอแหง และไอดง 1.15 ตารางไอน้ํา (Steam table) การคํานวณเกีย่ วกับไอน้ําตองอาศัยผลลัพธที่ไดจากการทดลองอยางละเอียด แลวนํามา รวบรวมทําเปนตารางขึ้นตามที่กลาวแลว กอนที่จะใชตารางไอน้ําจะตองทราบหรือทําตความเขาใจ หนวยตาง ๆ ทีใ่ ชในตารางไอน้ํา และสัญลักษณตางๆ กอน คือ.P แทน กําลังดันของไอน้ํา ซึ่งจะบอกเปนกําลังดันสมบูรณ (Absolute Pressure) หนวยเปน Psia.

t Vf

อุณหภูมิอิ่มตัว หนวยเปนองศา F

” ” ”

ปริมาตรของ ๆ เหลวอิ่มตัว หนวยเปน ลบ. ฟุต/ปอนด ปริมาตรที่เปลี่ยนแปลงไปเมือ่ น้ํา 1 ปอนด เปนไอหมด ปริมาตรของไออิ่มตัว หนวยเปน ลบ. ฟุต/ปอนด

hfg

” ”

hg Sf

” ”

Enthalpy ของ ๆ เหลวอิ่มตัว หนวยเปน B.T.U./ปอนด Enthalpy of Evaporation (ความรอนแฝงของการกลายเปนไอ) หนวยเปน B.T.U./ ปอนด Enthalpy ของไออิ่มตัวหนวยเปน B.T.U./ปอนด Entropy ของ ๆ เหลวอิ่มตัว

Vfg

Vg hf


21

Sfg Sg

” ” ” ”

Entropy ที่เพิ่มขึ้นระหวางการระเหยกลายเปนไอ Entropy ของไออิ่มตัว Uf พลังงานภายในของ ๆ เหลวอิ่มตัว หนวยเปน B.T.U. / ปอนด Ug พลังงานภายในของไออิ่มตัว หนวยเปน B.T.U./ ปอนด Steam Table ทั้ง 3 ตารางตอไปนี้เปนตารางที่แสดงคาคุณสมบัติตาง ๆ ของไออิ่มตัว

Table 40 วัดที่อุณหภูมิตา ง ๆ และ Table 41 วัดทีก่ ําลังดันตาง ๆ สวน Table 42 แสดงคา คุณสมบัติของไอดง ที่กําลังดันและอุณหภูมิตาง ๆ จากตารางทั้งสาม มีขอสังเกตที่ควรจะยึดถือเปนหลัก คือ .1. ปริมาตรของ ๆ เหลวอิม่ ตัว เพิ่มขึ้นตามกําลังดันและอุณหภูมิ แตเนื่องจากเราถือกันวา ของเหลวจะยุบปริมาตรตัวเองลงไมได (Incompressible fluid) ดังนั้นปริมาตรของ ๆ เหลวที่ เปลี่ยนไป จึงไมเกี่ยวกับกําลังดัน หากแตเพิ่มเพราะอุณหภูมิสูงขึ้นและจาก Table 40 จะเห็นวา ปริมาตรของไออิ่มตัว (Vg) เทากับผลรวมของปริมาตรของ ๆ เหลวอิ่มตัว และปริมาตรที่เพิ่มขึ้น ระหวางที่ระเหยกลายเปนไอ นั่นคือ Vg = Vf + Vfg

2. จาก Table 41 จะเห็นวา ถากําลังดันเหนือผิวหนาน้ํา เทากับ 0.088 Psia. น้ําจะเริ่ม

เดือดที่ อุณหภูมิ 32 องศา F ถาตองการจะทําใหน้ําทีเ่ ริ่มเดือดแลวนี้กลายเปนไออิ่มตัว จะตองเพิ่ม ความรอนขึ้นอีก hfg = 1075.8 B.T.U. / ปอนด ความรอนที่ตองการทําใหน้ําอิม่ ตัวกลายเปนไอนี้ เรียกวา “ความรอนแฝงของการกลายเปนไอ” หรือ “ความรอนแฝง” ถาสังเกตใหดีหรือดูจากรูป Fig.24 หนา 35 จะเห็นวา เมื่อกําลังดันและอุณหภูมิสูงขึน้ hfg จะลดลง hg = hf + hfg

3. สําหรับ Entropy ก็เชนเดียวกับ Enthalpy โดยนับเสนเกณฑ (Datum line) ของน้ํา

อิ่มตัวที่ 32 องศา F นั่นคือ S = O และ

S = Sg = Sf +

Sfg

1.16 ความดัน (Pressure) คือแรงที่กระทําตอพื้นผิวของวัตถุ การวัดคาความดัน วัดเฉพาะแรงที่กระทําตอหนึ่งหนวย พื้นที่ โดยเอาแรงทั้งหมดทีก่ ระทําหารดวยพื้นที่ แรง . . ความดัน = พื้นที่ หรือ แรง

=

ความดัน x พื้นที่


22

หนวยของความดัน จะเปนน้ําหนักตอ 1 หนวยพืน้ ที่ คือ.ระบบเมตริก ถาแรงเปน ก.ก. พื้นที่เปน ตร.ซม. หนวยของความดันเปน กก./ตร.ซม. ระบบอังกฤษ ถาแรงเปนแรงปอนด พื้นที่เปน ตร.นิ้ว หนวยของความดันเปน ปอนด/ ตร.นิ้ว หรือ Psi. ระบบ S.i. unit แรงเปนนิวตัน พื้นที่เปน ตร.เมตร หนวยของความดันเปน นิวตัน/ ตร.ม. หมายเหตุ แรงดันอาจกระทําตอของแข็ง, ของเหลว หรือแกสก็ได ถาแรงกระทําตอของไหล แรงที่กระทําตอผนังภายในภาชนะจะเทากันทุกจุด ตัวอยาง

หมอน้ําใบหนึ่งใชลิ้นปองกันอันตราย ซึ่งมีพื้นที่ของลิ้นสวนที่สัมผัสกับไอน้ํา 3 ตร.นิ้ว เมื่อตองการตั้งไอน้ําในหมอน้ําใหมีแรงดัน 450 ปอนด/ ตร.นิ้ว จะตอง ตั้งสปริงใหกดหลังลิ้นเทาไร ? แรง จากสูตร ความดัน = พ.ท. 450 = แรง 3 . . จะตองใหสปริงกดหลังลิ้น 1350 ปอนดแรง

Ans.

1.16.1 ความดันบรรยากาศ (Atmospheric Pressure) แกสที่หุมหอโลกเราหนาประมาณ 500 ก.ม. อากาศจํานวนนี้จึงมีน้ําหนักกดลงที่พื้นโลก วัดเปนความกดดันที่ระดับน้าํ ทะเลได 14.7 ปอนด / ตร.นิ้ว หรือ 29.92 นิ้ว – ปรอท ดังนัน้ ความดัน 1 บรรยากาศเทียบได ดังนี้ คือ.ความดัน 1 บรรยากาศ = 14.7 Psi. =

1.033 Kg./cm

= = = =

29.92 in. hg. ( 30 In . hg.) 760 ม.ม. – ปรอท. 10.33 ม. – น้ํา 34 ฟุต – น้ํา

1.16.2 ความดันสมบูรณ (Absolute Pressure) คือความดันหรือกําลังดันจริง ๆ ของของเหลวหรือของแกส ซึ่งจะตองมีคามากกวากําลังดันที่ ไดจากเครื่องวัด โดยเอาความดันที่ไดจากเครื่องวัดรวมกับกําลังดันบรรยากาศ ขณะทีท่ ําการวัดนั้น หรือบรรยากาศปกติ


23

. . Pa

=

Pa Pg P

= =

Pg + P Absolute Pressure หนวย Psia. Gauge Pressure “ Psai. Barometric Pressure or Atmospheric Pressure

= = 14.7 ปอนด / ตร.นิ้ว หรือ 29.92 นิ้วปรอท ในกรณีที่เครื่องวัดความดันเปนสูญญากาศ หรือบอกเปนสูญญากาศ Pg จะมีคา

หมายเหตุ เปน ลบเสมอ ตัวอยาง Steam Pressure gauge ของหมอน้ําใบหนึ่งอานคาความดันบนหนาปทมได 200 Psi. จะเทียบกับความดันตอไปนีไ้ ดเทาไร ? ก. กําลังดันสมบูรณ ข. Kg./Cm . ค. บรรยากาศ ก. ความดันสมบูรณ = ความดันจากเครื่องวัด + 14.7 = 200 + 14.7 = 214.7 . . ความดันสมบูรณของไอน้ําในหมอน้ําใบนี้ = 214.7 Psia. Ans. ข. ความดัน 1 ก.ก. / ตร.ซม. = 14.22 ปอนด / ตร.นิ้ว . . ความดัน 200 Psi. = 200 / 14.22 = 14.06 Kf./ Cm. Ans. ค. ความดัน 1 บรรยากาศ . . 8;k,fyo 200 Psi.

=

14.7 xvofN/ 9I”ohb;

=

200 / 14.7

=

13.6 บรรยากาศ

Ans.

ตัวอยาง เครือ่ งวัดความดันของหมอดับไอของเครื่องกังหันไอน้ําเครื่องหนึ่ง อานคาได 10 Psia. หมอดับไอใบนี้จะมีความดันสมบูรณเทาไร และเทากับกี่นิ้วปรอท ? Pg + 14.7 จากสูตร Pa =

Pg = Pa =

10 Psi. (เพราะเปนสูญญากาศ)

- 10 + 14.7 = 4.7 . . ความดันสมบูรณของหมอดับไอ 1 Psia. = 2.036 นิ้ว – ปรอท . . หมอดับไอมีความดัน = 4.7 x 2.036 = 9.56 นิ้ว – ปรอท Ans. 1.16.3 เครื่องวัดความดัน (Pressure gauge) เปนเครื่องมือที่ใชวัดความดันของของไหลและแกสตาง ๆ ไดแก น้ํา, ไอน้ํา, อากาศ เปนตน คาตัวเลขที่อานไดบนหนาปทมเครื่องวัด จะเปนคาความดันที่เหนือบรรยากาศ (ความกดดัน สวนที่มากกวาความกดดันบรรยากาศ) หรือใตบรรยากาศ (ความกดดันสวนที่ต่ํากวาความดัน บรรยากาศ) อยางใดอยางหนึ่งหรือทั้ง 2 อยาง ซึ่งแลวแตชนิดของเครื่องวัด


24

ความดันที่อานไดจากเครื่องวัดชนิดที่ใชสําหรับวัดสวนที่เกินกวาความดันปกติ (เหนือเสน ศูนย) เรียกวา “Gauge Pressure” สวนชนิดที่ใชวัดความกดดันต่ํากวาบรรยากาศ จะอานเปน สูญญากาศ (Vacuum) ดังนั้น ขีดศูนยบนหนาปทม (Datum Line) ของเครื่องวัดกําลังดัน ก็คือ เสนความกดดันของบรรยากาศ หรือเทากับความกดดันของบรรยากาศปกติ คือ เทากับ 14.7 ปอนด/ ตร.นิ้ว หรือ 29.92 นิ้ว - ปรอท คาตัวเลขที่บอกบนเครื่องวัดนี้ จะบอกเปนปอนด/ตร.นิ้ว, กก./ ตร.ซม. เปนความสูงของ ปรอท (นิ้ว ปรอท, มม. – ปรอท) เปนความสูงของน้ํา (ฟุต –น้ํา) ก็ได ซึ่งแลวแตชนิดและหนวยวัด ของเครื่องวัดนั้น ๆ จึงมิไดเปนกําลังดันทีแ่ ทจริงหรือกําลังดันสมบูรณของแกส หรือของเหลวทีว่ ัด แตก็สามารถนํามาคํานวณหาไดโดยนํามารวมกับความดันบรรยากาศ ตามที่อธิบายไวแลวในเรื่อง ความดันสมบูรณ ตัวอยาง Steam power Plant ของโรงงานไฟฟาแหงหนึ่ง ใชหมอน้ําแบบหลอดน้ําซึ่งเครื่องวัด กําลังดันไอน้ําอานคาได 250 Psi. และเครื่องวัดสูญญากาศหมอดับไออานได 10.7 Psi. อยากทราบ วาหมอน้ําและหมอดับไอมีความดันสมบูรณเทาไร ก. จากสูตร ความดันสมบูรณ = กําลังจากเครื่องวัด + 14.7 = 250 + 14.7 = 264.7 หมอน้ํามีความดันสมบูรณ 264.7 Psia. Ans. ข. หมอดับไออานคาได 10.7 Psi จะมีคาเปนลบ . . ความดันสมบูรณ = - 10.7 + 14.7 = 4 . . หมอดับไอมีความสมบูรณ = 4 Psia. Ans. 1 Psia. = 2.036 นิ้ว - ปรอท หรือหมอดับไอมีความดันสมบูรณ 4 x 2.036 = 8.14 นิ้วปรอท Ans. ตัวอยาง เครื่องวัดสูญญากาศของหมอดับไอของโรงงานตนกําลังไอน้ําแหงหนึ่ง อานคาได 9.92 นิ้วปรอท อยากทราบวาหมอดับไอมีกําลังดันสมบูรณเทาไร ตอบเปนนิ้ว - ปรอท และ ปอนด / ตร.นิ้ว จากสูตร Pa = Pg + P แทนคา = - 9.92 + 29.92 = 20 ก. หมอดับไอมีความดันสมบูรณ 20 นิ้วปรอท Ans. 1 นิ้วปรอท = .49 Psi. 20 นิ้วปรอท = 20 x .49 = 9.8 ข. หมอดับไอมีความดันสมบูรณ 9.8 Psia Ans. หมายเหตุ กําลังดันบรรยากาศที่ 29 นิ้วปรอท จะมีกําลังดันสมบูรณสูงกวาที่ 26 นิ้วปรอท แตถาเปนเครื่องวัดสูญญากาศแลวที่ 26 นิ้วปรอท จะมีกําลังดันสูงกวา 29 นิ้วปรอท


25

หนวยวัดความดันของแกสหรือของเหลววัดเปน ปอนด/ตร.นิ้ว, กก./ตร. ซม, นิ้วปรอท คือ ระบบอังกฤษ เปนปอนด/ ตร.นิ้ว สมบูรณ (Psia.), เปนนิ้ว – ปรอท ระบบเมตริก เหมือนแบบอังกฤษ คือ วัดเปนบรรยากาศ แตเนื่องจาก 1 บรรยากาศ (14.7 Psia.) = 1.033 กก./ ตร.ซม. แทน โดยตัดเศษหลังจุดทศนิยมทิ้งและเรียกเสียใหมวา “บรรยากาศเทคนิค” เพื่อไมใหเกิดความสับสน คาที่อานไดจะเปนความดันเหนือหรือใตบรรยากาศ เสนศูนย (Datum Line) จึงเปนความดันปกติของบรรยากาศเทคนิค เชน ถาเข็มชี้ที่ตัวเลข 5 เหนือขีด 0. ก็หมายความวา กําลังดันที่วดั ขณะนัน้ มีความกดดันเหนือบรรยากาศเทคนิค 5 บรรยากาศหรือ 5 กก./ ตร.ซม. นั่นคือ มีความดัน 5 + 1 = 6 บรรยากาศเทคนิคสมบูรณ หรือ 6 กก./ ตร.ซม. สมบูรณ แตถาชี้ที่ขีด 0.2 (ใตเสนศูนย) ก็หมายความวา ความดันขณะทีว่ ัดมีความดันต่ํากวาบรรยากาศเทคนิค 0.2 นั่นคือ มีความดัน 1 - 0.2 = 0.8 บรรยากาศเทคนิคสมบูรณ หรือ 0.8 กก./ ตร.ซม. สมบูรณ 1.16.4 หนวยความดันเปรียบเทียบ ความดัน 1 บรรยากาศ (Barometric Pressure)

1 Psia.

= = = =

1 นิ้ว – ปรอท = ความดัน 1 บรรยากาศเทคนิค = =

14.7 Psi. 29.92 นิ้ว – ปรอท 760 มม. – ปรอท 2.036 นิ้ว – ปรอท 0.4913 Psia. 1 กก./ ตร.ซม. 14.223 Psi.


26

1.17 MODERN STEAM BOILERS Steam Table PROPERTIES OF SATURATED STEAM


27

1.18 APPENDIX TABLES


28

TABLE 1.19 DRY SATURATED STEAM : PRESSURE TABLE*


29

APPENDIX TABLES TABLE 1.20 PROPERTIES OF SUPERHEATED STEAM*


30

APPENDIX TABLES TABLE 1.20 (Continues) PROPERTIES OF SUPERHEATS STEAM*


31

บทที่ 2 หมอน้ํา (STEAM BOILER) 2.1 ประวัติและวิวัฒนาการของหมอน้ํา หมอน้ําคืออุปกรณที่สําคัญของโรงงานตนกําลังที่ใชไอน้าํ (Sream power plant) มี หนาที่สําหรับผลิตไอน้ําหรือเปลี่ยนน้ําใหกลายเปนไอน้าํ โดยความรอนที่เกิดจากการเผาไหมของ เชื้อเพลิงภายในเตาของหมอน้ํา สําหรับเรือที่ขับเคลื่อนดวยเครื่องจักรไอน้ํา หมอน้ําก็จะทําหนาที่ ผลิตไอน้ําใหแกบรรดาเครื่องจักรตาง ๆ ตลอดลําเรือ โดยมีอุณหภูมิและความดันทีแ่ นนอนอันหนึ่ง ความจริงมนุษยรูจักสรางหมอน้ํามานานแลว คือประมาณ 200 ปกอนคริสตศักราช แต มิไดนําเอาไอน้ํามาใชกับเครื่องจักรไอน้ํา เพียงแตนํามาใชในกิจการอื่น ๆ เชน ตมน้ํา, อุนน้ํา ฯลฯ เปนตน หลักฐานนี้ไดจากการขุดพบหมอน้ําในซากปรักหักพังของเมือง “ปอมเปอี” (Pompeii) ใน ประเทศอิตาลี ซึ่งเปนเมืองที่เจริญรุงเรืองสมัยโรมัน แตถูกภูเขาไฟวิสุเวียซระเบิดทับหมด หมอน้ําที่ ขุดพบนี้เปนหมอน้ําแบบเตาอยูภายในหมอ หลังจากนี้ก็ไมปรากฏหลักฐานวามีการสรางหมอน้ําขึ้น อีกเลย จนถึงศตวรรษที่ 18 มนุษยจึงไดเริ่มสรางหมอน้ําขึ้นมาใชอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากในยุคนี้ มนุษยเริ่มสรางเครื่องจักรกลออกมาใช การสรางหมอน้ําในศตวรรษที่ 18 นี้ จึงดําเนินควบคูก ันไปกับการสรางเครื่องจักร แต ทั้งหมอน้ําและเครื่องจักรก็ยงั ทํางานไมไดผลดี จึงไมนับวาเปนหมอน้ําที่สมบูรณพอที่จะนํามาใชงาน จริงจังได หมอน้ําสมัยที่กลาวนี้จะทําดวยเหล็กหลอ สวนเตาจะอยูภ ายนอกตอนลางหมอน้ํา กําลัง ดันไอน้ําไมเกิน 10 ปอนด/ตารางนิ้ว รูปรางของหมอน้ําก็สรางเปนรูปตาง ๆ กันตามสะดวก โดย ไมคํานึงถึงวารูปรางอยางไรจึงจะทนกําลังดันไอน้ําไดมากที่สุด เพราะปญหาเรื่องระเบิดหรือแตกไม คอยมี เนื่องจากกําลังดันใชงานต่ํา ครั้นตอมาเมือความตองการในการใชงานมีมากขึ้น คือตองใชไอ น้ําที่มีกําลังดันสูงและจํานวนไอน้ํามากขึน้ จึงมักเกิดระเบิดหรือแตกขึ้นบอย ๆ ความสําคัญของ รูปรางของหมอน้ําจึงจําเปนตองเอามาพิจารณา เพื่อใหหมอน้ําทนกําลังดันไอน้ําไดสูง ผลิตไอน้ําได เร็ว โดยไมเปนอันตรายตอหมอน้ํา และพบวาหมอน้ํารูปทรงกลม เปนหมอน้ําที่แข็งแรงที่สุด ทนกําลังดันไอน้ําไดสูง แตไมสะดวกในการสราง ตอมาจึงไดมีการดัดแปลงแกไขและหาวิธีการใหม ๆ จึงพบวา หมอน้าํ รูปทรงกระบอก กลมเปนหมอน้ําที่สรางงายแข็งแรงและทนกําลังดันไอน้ําไดสูง ดังนัน้ จะเห็นไดวาหมอน้ําทุกแบบใน ปจจุบัน มีลักษณะเปนรูปทรงกระบอกกลม สวนขนาด, รูปรางหรือลักษณะการติดตั้งขึ้นอยูก ับ สถานที่และงานที่จะนําไปใช คืออาจติดตั้งในทางตั้ง (Vertical) หรือในแนวนอน (Horizontal)


32

ก็ได สวนเตาซึ่งเปนที่สําหรับใหเชื้อเพลิงเกิดการเผาไหมเพื่อใหความรอนกับน้ํานัน้ ในสมัยแรก ๆ จะติดตั้งอยูภายนอกหมอน้ํา น้ําจึงเดือดกลายเปนไอชาและผลิตไอไดนอย เนื่องจากพื้นผิวเผารอน นอย และความรอนยังกระจายออกสูบรรยากาศไดมากและงายดวย เปนการสิ้นเปลืองความรอนและ เชื้อเพลิง ซึ่งเปนการไมประหยัดเชื้อเพลิง ตอมาในป ค.ศ. 1800 โอลิเวอร อีแวน (Oliver Evan) นักวิศวกรชาวอเมริกนั ได ออกแบบสรางหมอน้ําขึ้น โดยใหแกสรอนเดินผานเขาไปภายในตัวหมอน้ํา ลักษณะของหมอน้ําเปน รูปทรงกระบอกกลม 2 ใบสวมกัน น้ําบรรจุอยูระหวางหมอใบเล็กและใบใหญ วิธีนี้จะทําใหน้ํา เดือดกลายเปนไอไดเร็วขึ้น เนื่องจากมีพนื้ ผิวเผารอนเพิ่มมากขึ้น ตอมาริชารด เทรวิทิค (RichardTrevithick)ไดนําเอาแนวความคิดของโอลิเวอร อีแวน นี้มาสรางหมอน้ําแบบ “คอรนิช” (Cornish) ขึ้น ซึ่งหมอน้ําแบบคอรนิชนี้นับวาเปนตนแบบหรือ แนวทางในการสรางหมอน้ําแบบหลอดไฟ (Fire tube Boiler) ขึ้น หมอน้ําแบบหลอดไฟจัดวาเปนหมอน้ําแบบทันสมัย ถาไมเทียบกับหมอน้ําแบบ หลอดน้ําสมัยใหมที่ใชกับเรือรบ หมอน้ําแบบหลอดไฟสามารถทํากําลังดันไอน้ําไดสูง แตไมเกิน 300 ปอนด/ตารางนิ้ว ปจจุบันยังนิยมใชกันมากในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กทั่วไป ในเรือ สินคา และรถไฟ เนื่องจากหมอน้ําแบบหลอดไฟเปนหมอน้ําที่ไมแข็งแรง ทนกําลังดันไอน้ําไดไมสูง และผลิตไอน้ําไดชา ไมเหมาะที่จะนํามาใชกับเรือรบทีต่ องการความเร็วและกําลังขับสูงมาก ซึ่งจะ ตองใชไอน้ําทีม่ ีกําลังดันสูงและผลิตไอไดเร็ว เชนหมอน้าํ แบบ M-type เปนหมอน้ําที่ใชในเรือรบ อเมริกัน มีหลายขนาด ผลิตไอไดตั้งแต 100,000 - 250,000 ปอนด/ชม. มีกําลังดันไอน้ํา 615 ปอนดตอตารางนิ้ว อุณหภูมิ 490 oF ซึ่งในหมอน้าํ แบบหลอดไฟไมสามารถจะทําได เพราะไม แข็งแรงพอ ในการออกแบบสรางหมอน้ําใหมีความแข็งแรงนั้น ทําไดโดยสรางเตาไวภายนอก หมอน้ํา สวนการเพิ่มพื้นผิวเผารอนใหมากนั้นทําไดโดยแยกน้ําทีจ่ ะใหเปนไอน้ําออกจากตัวหมอและ บรรจุไวในหมูหลอด แตมีทอทางไหลวนเวียนถึงกันกับน้ําในหมอ หมูหลอดเหลานี้บรรจุอยูภายใน เตา วิธีนี้จะทําใหน้ําเดือดเปนไอน้ําเร็วขึ้น และมีกําลังดันสูง หมอน้ําแบบดังกลาวนี้เรียกวา “หมอน้ํา แบบหลอดน้ํา” (Water tube Boiler) นิยมใชกับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ ขนาดกลาง ทั่วไป และในเรือรบสมัยใหม มีหลายแบบหลายชนิดซึง่ จะไดกลาวตอไป 1.2 การแบงประเภทหมอน้ํา (Classification of Boiler) หมอน้ําซึ่งทําหนาที่ผลิตไอน้ําออกมาใชกบั เครื่องจักรใหญ และเครือ่ งจักรชวยตาง ๆ ที่ ใชในเรือและโรงงานอุตสาหกรรมนั้น มีหลายแบบหลายชนิด แตในที่นี้จะขอกลาวเฉพาะ หมอน้ํา แบบหลอดไฟ(Fire tube Boiler)


33

หมอน้ําแบบหลอดไฟ (Fire tube Boiler) หมอน้ําแบบหลอดไฟ หรือที่เรียกกันทั่ว ๆ ไปวา “แบบไฟเดินในหลอด” นี้ ลักษณะโดย ทั่ว ๆ ไปมีลักษณะเปนรูปทรงกระบอกกลม ภายในบรรจุน้ํา, ไอน้ํา หมูหลอดไฟ, และเตา แตเตา จะอยูน อกหมอน้ําหรือในหมอน้ําก็ไดแลวแตชนิดของหมอน้ํา จํานวนเตา มีตั้งแต 1 – 4 เตา ตาม ขนาดของหมอน้ํา


34

แกสรอนที่เกิดจากการเผาไหมของเชื้อเพลิงในเตา จะเดินจากเตาผานไปยังหองเผาไหม, หมูหลอดไฟ , หองหลอดไฟ, หองควันแลวออกปลองตามลําดับ หมอน้ําแบบหลอดไฟนี้ ถาแบงออกตามลักษณะ การเดินของแกสรอนจากเตาไปออกปลองแลว แบงออกได 2 ชนิด คือ.1. หมอน้ําแบบหลอดไฟตรง (Direct fire tube Boiler) มีลักษณะเปนรูปทรงกระบอกกลม ติดตั้งในแนวนอนหรือตั้งตรงก็ไดแลวแตชนิดของ หมอน้ํา ภายในบรรจุเตา, หลอดไฟ, น้ําและไอน้ํา ฯลฯ เปนตน การเดินของแกสรอนจะเดินจาก เตา ซึ่งอยูทางดานหนาหมอน้ํา ผานเขาไปยังหมูห ลอดไฟซึ่งอยูใตระดับน้ําในหมอ ไปยังหองควัน แลวออกปลองซึ่งอยูอีกทางดานหนึง่ ของหมอน้ํา (ติดตั้งอยูคนละดานกับเตา) จะเห็นวาแกสรอนเดิน เปนทางตรง คือ จากทางดานหนาของหมอน้ําไปออกทางตอนทายของหมอน้ํา ดังนั้นลักษณะ โดยทั่วไปของหมอน้ําแบบไฟตรงจึงมีลักษณะเตี้ย, แคบหรือเล็ก แตยาง จึงเหมาะที่จะนําไปใชกับ เรือที่กินน้ําตื้น และรถไฟ หมอน้ําแบบไฟตรง ชนิดที่ตัวหมอน้ําวางตามแนวนอน จึงมีชื่อเรียกอีก อยางหนึ่งวา “หมอน้ํารถไฟ” (Locomotive Boiler) 2. หมอน้ําแบบหลอดไฟกลับ (Return fire tube Boiler) มีลักษณะเปนรูปทรงกระบอกกลม ภายในบรรจุเตา, หองเผาไหม, หลอดไฟ, น้ํา, ไอ น้ํา ฯลฯ เปนตน แตเตาจะอยูภายในหมอหรือภายนอกหมอน้ําก็ไดแลวแตแบบของหมอน้ํา การเดิน ของแกสรอนจะเดินจากเตาซึ่งอยูทางดานหนาหมอน้ํา ผานเขาไปในหองเผาไหมหรือหองเพลิง ซึ่ง อยูถัดจากเตาเขาไป จากนี้แกสรอนจะเดินยอนกลับมาทางดานหนาหมอน้ํา โดยผานมาตามหมู หลอดไฟ ซึ่งอยูใตระดับน้ําในหมอน้าํ ออกจากหลอดไฟก็เขาไปยังหองควันแลวออกปลอง ซึ่งอยู ทางดานหนาหมอน้ําเหนือเตาขึ้นไป จะเห็นไดวาแกสรอนเดินยอนกลับผิดกับแบบไฟตรง ลักษณะโดยทัว่ ไปของหมอน้ําแบบนี้ จึงมีลักษณะ สูง, ใหญ แตสั้น เหมาะที่จะ นําไปใชกับเรือหรือโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก จึงมีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา “หมอน้ําเรือ”

(Marine type or Marine Boiler)


35

ลักษณะการเดินของแกสรอนของหมอน้ําแบบไฟตรงและแบบไฟกลับแบบตาง ๆ


36

บทที่ 3 สวนประกอบตาง ๆ ของหมอน้ํา 3.1 เปลือกหมอ (Shell) มีลักษณะเปนรูปทรงกระบอกลมยาว ทําดวยแผนเหล็กแผนเดียวหรือหลายแผน และ เปนเหล็กกลาประเภทคารบอนต่ํา (Mild steel) มาดัดเปนรูปวงแหวนแลวย้ําติดกันดวยหมุดย้ํา จากนั้นจึงนําเอาแผนเหล็กรูปวงแหวนเหลานั้นมาประกอบติดกันเปน หรือเชื่อมดวยไฟฟา รูปทรงกระบอกอีกทีหนึ่ง สําหรับหมอน้าํ สมัยใหม โดยเฉพาะหมอน้ําแบบหลอดน้ําประเภทหลอดเล็ก ทําดวย แผนเหล็ก 2 แผน ดัดเปนรูปครึ่งวงกลม แลวมาประกอบติดกันดวยหมุดย้ําหรือเชื่อมดวย ไฟฟา แตสว นมากเชื่อมดวยไฟฟาเพราะแข็งแรงกวาและน้ําหนักเบา สําหรับแผนเหล็กที่จะตอง เจาะรูใสหลอดน้ํา คือ แผนเหล็กรับหลอด (Tube sheet) จะตองสรางใหหนากวาอีกแผนหนึ่ง หรือแผนหอหุม (Wrapper sheet) การย้ําหมุดเพื่อตอตะเข็บ หรือรอยตอของเปลือกหมอนั้นมี 2 วิธี คือ ตอทับ และตอชน ตามรูป


37

3.2 ฝาหมอน้ํา (Boiler head) มีลักษณะเปนแผนเหล็กกลม ประกอบอยูท างดานหนา และดานหลัง หรือทั้งสองดาน ของเปลือกหมอ จะเปนแผนเรียบ นูนออกหรือเวาเขาก็ได แตสวนมากมักจะนูนออก ฝาหมอ ดานที่ประกอบอยูทางดานหนาหมอน้ําเรียกวา “ฝาหนา” (Front head) สวนทีป่ ระกอบอยู ทางดานหลังเรียกวา “ฝาหลัง” (Rear head) เปลือกหมอ (Shell) ที่ประกอบดวยฝาหมอ (Boiler head) ทั้งสองเรียกวา “Drum” ถามี ขนาดเล็กคนลอดผานเขาไปภายในไมไดกม็ ีชื่อเรียกวา “Header”

3.3 ประตูหมอน้ํา เปนชองทางสําหรับใหชางปรับซอมหมอน้ําเขาไปทําความสะอาดหรือซอมแซมภายใน หมอ หรือนําเฉพาะเครื่องมือเขาทําความสะอาดหมอน้าํ โดยทัว่ ไปจะมีลักษณะเปนชองรูปวงรี หรือรูปไขมี 2 ชนิด คือ 3.1 ชองคนเขา (Man hole) ประกอบหรือติดตั้งอยูที่เปลือกหมอน้ํา และที่ฝาหมอ เปนชองที่มีขนาดใหญ ชางปรับซอมสามารถลอดเขาไปในหมอได โดยทั่วไปมีขนาด 10” X 16” หรือ 11” X 15” 3.2 ชองทําความสะอาดดวยมือ (Hand hole) หรือเรียกวา “ชองมือลวง” มีลักษณะ เชนเดียวกับชองคนเขา แตมีขนาดเล็ก คนเขาไมได ใชสําหรับเปนชองทางนําเครื่องมือเขาไป ทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของหมอน้ํา เชน หลอดน้ํา เปนตน ประกอบอยูทเี่ ปลือกหมอน้ํา และที่ Header ของหมอน้ําแบบ Babcock


38

รูปแสดงใหเห็นถึงการติดตั้ง Man Hole ที่เปลือกหมอน้ําแบบตาง ๆ

3.4 สะเต (Stay) โดยทั่วไปจะมีลักษณะเปนทอนเหล็กกลมตันหรือกลวง ปลายทั้งสองทําเปนเกลียว ทําหนาที่ยดึ สวนตาง ๆ ของหมอน้ําใหแข็งแรง เพื่อปองกันไมใหหมอน้ําระเบิดหรือแตกไดงาย เชน ที่ฝาหมอ , เปลือกหมอ , หองเผาไหม เปนตน มีหลายชนิดแบงออกไดดังนี้คือ 1. สะเตทิว้ หรือสะเตหลอดไฟ (Stay tube) มีลักษณะเชนเดียวกับหลอดไฟ แตหนา และใหญกวาหลอดไฟ ประกอบอยูระหวางผนังของหองเผาไหมกบั ฝาหมอ หรือติดตั้งอยูใน หมูหลอดไฟนัน่ เอง ปลายทัง้ สองทําเปนเกลียวเพื่อยึด มีหนาที่ยดึ ผนังหองเผาไหมหรือผนังเตา กับฝาหมอ นอกจากจะมีหนาที่เปนสะเตแลว ยังทําหนาที่เปนหลอดไฟอีกดวย จํานวนของสะเต หลอดไฟมีตั้งแต 1/5 – 1/3 ของหลอดไฟทั้งหมด 2. สะเตยาว (Through stay or Longitudinal stay) เปนทอนเหล็กกลมตันยาวและยาว ตลอดความยาวหมอน้ํา ประกอบอยูระหวาง ฝาหนาและฝาหลังหมอน้ําโดยทัว่ ไปมีขนาดโต 2”–3½” 3. สะเตสั้นหรือสะเตเกลียว (Combustion stay or stay bolt or screw stay) เปนทอน เหล็กกลมตันและทําเปนเกลียวตลอดทอน ทําหนาทีย่ ดึ ในสวนที่แคบ ๆ ของหมอน้ํา เชน ผนัง หองเผาไหมกบั เปลือกหมอและฝาหมอ มีขนาดโต 1 ¼” - 1 ¾” 4. สะเตเกอรเดอร (Girder stay or Dog stay) มีลักษณะคลายสะเตเกลียว แตทําหนาที่ ยึดผนังหองเผาไหมดานบนไมใหยุบพังลง การยึดของสะเตเกอรเดอรเพื่อไมใหยุบพังลงนั้นไม ยึดติดกับเปลือกหมอเหมือนแบบหมอน้ํารถไฟซึ่งเรียกวา “Raidal stay” แตจะยึดดวยแผน เหล็กรูปคลายตัว ยู ตั้งแต 2 แผนขึ้นไปหนา ¾” - 7/8” วางเรียงกันไปบนผนังหองเผาไหม ดานบน แผนเหล็กดังกลาวจะยึดติดกันดวยสลักเพื่อใหตงั้ อยูได ดูรูป 5 ไดแอกกอนัลสะเต (Diagonal stay) เปนทอนเหล็กกลมตัน ทําหนาที่ยึดผนังหมอ น้ําในสวนที่เปนมุมฉาก ซึ่งสะเตจะตองติดตั้งเอียงเปนมุมหรือเปนเสนทะแยงมุม เชนระหวาง เปลือกหมอกับฝาหมอ ดูรูปในหมอน้ําแบบหลอดไฟ และรูป 68


39

รูปแสดงการติดตั้ง ของ Diagonal stay ซึ่งจะยึดอยู ระหวางฝาหมอ (Boiler head) กับเปลือกหมอ (Shell) ของ หมอน้ําแบบหลอดไฟ คือที่ มุมดานบนซาย

Fig 68 - Stays for Supporting Back Tube plate 3.5 หลอดน้ํา (Water tube) มีลักษณะเปนทอเหล็กกลมทําดวยเหล็กเหนียวเนื้อเดียวไมมีตะเข็บ ซึ่งทําไดโดยการ รีด ใชกับหมอน้ําแบบหลอดน้ํา ประกอบอยูระหวางหมอพักน้ําและหมอพักไอของหมอน้ํา แบบหลอดเล็กหรือแบบหลอดโคง มีขนาดตั้งแต 1” – 2” ถาเปนหมอน้ําแบบหลอดนอนหรือ แบบ Babcock & Wilcock จะประกอบอยูระหวาง Upcast header และ Downcast header โดยทั่วไปมีขนาดตั้งแต 1½” – 4”


40 หลอดน้ํามีหนาที่ทําใหน้ําเกิดการไหลวนเวียนเพื่อทําใหเกิดการพาความรอนไดดี และ ยังทําหนาทีเ่ ปนพื้นผิวเผารอนดวย เนือ่ งจากน้ําในหลอดน้ําเปนสวนที่ไดรับความรอนมาก ที่สุด ไอน้ําที่เกิดขึ้นสวนใหญจะเกิดจากน้ําในหลอด ดังนัน้ หลอดน้ําจึงมีชื่อเรียกวา “Circulating tube or Generating tube”

3.6 หลอดไฟ มีลักษณะเชนเดียวกับหลอดน้ําแตใชกับหมอน้ําแบบหลอดไฟ ประกอบอยูระหวาง ผนังหองเผาไหมกับฝาหนาหรือผนังเตากับฝาหลัง (สําหรับหมอน้าํ แบบหลอดไฟชนิดเตาอยู ภายในหมอหรือหมอน้ําเรือและหมอน้ํารถไฟ) ถาเปนหมอน้ําแบบ Dry back Boiler จะ ประกอบอยูระหวางฝาหนาและฝาหลัง หลอดไฟทําหนาที่ สําหรับใหแกสรอนที่เกิดจากการเผาไหม เดินผานไปออกปลองไฟ สวนน้ําจะเดินอยูภายนอกรอบ ๆ หลอด จึงทําหนาที่เปนพื้นผิวเผารอนดวย โดยทัว่ ไปมีขนาด เสนผาศูนยกลางภายนอกโต 2½” - 3½” หนาตั้งแต 1/8” - 1/2” การประกอบปลายหลอด เขากับแผนเหล็กจะตองใหปลายหลอดยืน่ พนแผนเหล็กประมาณ 1/8” - 1/2” สําหรับปลาย หลอดดานหองเผาไหมจะตองงอพับ (Beaded) ใหแนบกับแผนเหล็กเพื่อมิใหผุกรอนเร็ว หรือ จะใชเฟอรูล (Furrule) ซึ่งเปนหลอดทอนสั้น ๆ สวมแทนก็ได ซึ่งเปนการประหยัดและ สะดวกกวา ภายในหลอดไฟมีแผนเหล็กบิดเปนเกลียวเรียกวา “Retarder” สวมอยู เพื่อทํา ใหแกสรอนเดินผานไปไดชาลง ซึ่งทําใหความรอนจากแกสรอนถายเทความรอนใหกับน้ํา ไดมากขึ้น น้ําในหมอจะไดรับความรอนเพิ่มขึ้นประมาณ 2 - 8% นอกจากนีย้ ังชวยทําความ สะอาดหลอดไฟ โดยจะชวยขูดเขมาภายในหลอดไฟออกขณะทีด่ ึง Retarder ออก

3.7 เตา (Furnace) เปนที่สําหรับบรรจุเชื้อเพลิงหรือทําใหเชื้อเพลิงเกิดการเผาไหม เพื่อใหความรอน แกหมอน้ํา เตาติดตั้งอยูภายในหมอหรือนอกหมอก็ไดแลวแตชนิดของหมอน้าํ และจะมี มากกวา 1 เตาก็ได ถาเปนหมอน้ําแบบหลอดน้ําเตาจะตองติดตั้งอยูภ ายนอกหมอเสมอ แต


41 แบบหลอดไฟเตาจะอยูในหมอหรือนอกหมอก็ได แตหมอน้ําแบบหลอดไฟสมัยใหมมกั ออกแบบใหเตาอยูภายในหมอ หมอน้ําประเภทที่เตาอยูนอกหมอ ผนังเตาจะตองทําดวยอิฐทนไฟ (Fire Brick) สวนประเภทเตาอยูในหมอผนังเตาทําดวยแผนเหล็ก สวนมากสรางใหมลี ักษณะเปนรูป ทรงกระบอกกลม ผนังเตาจะเรียบหรือเปนลอนลูกฟูกนั้นขึ้นอยูก ับขนาดและชนิดของหมอน้ํา ฉะนั้นเตาหมอน้ําถาแบงออกตามลักษณะของผนังเตา อาจแบงออกได 2 แบบ 1. เตาเรียบ (Plain Steel furnace) สวนมากออกแบบมาใชกับหมอน้ําขนาดเล็ก กําลังดันไอน้ําต่ํา ลักษณะของเตาเปนรูปสี่เหลี่ยมผนังเตาเรียบ ไดแก หมอน้ําแบบเกา ๆ หรือ หมอน้ํารถไฟ ผนังเตาจะไมแข็งแรง จึงตองมี Stay ยึดโดยทั่วไป ถาเปนเตารูปทรงกระบอก ก็ไมตองใช Stay แตถาเตามีขนาดใหญและยาวมาก ความแข็งแรงก็จะลดลงถึงแมจะเปนรูป ทรงกระบอกก็ตาม จึงตองทําเปนทอน ๆ แลวนํามาประกอบกัน ตรงรอยตอระหวางทอน ทําเปนวงแหวนเพื่อความแข็งแรง เตาของหมอน้ําประเภทที่มวี งแหวนนี้เรียกวา “Adamson Ring furnace” 2. เตาลูกฟูก (Corrugated furnace) เปนเตาที่ออกแบบมาสําหรับใชกับหมอน้าํ ขนาดใหญ กําลังดันไอน้ําสูง จึงตองออกแบบใหผนังเตามีความแข็งแรงเปนพิเศษ ลักษณะ ของเตาจะมีลกั ษณะเปนรูปทรงกระบอกกลม แตผนังเตาทําเปนลอน ๆ หรือลูกฟูกตลอด ความยาวเตา ซึ่งมีหลายแบบตามผูออกแบบสราง คือ แบบ Fox, Purve, Merison, Deighton เปนตน เตาเรียบชนิดกระบอกกลม (Plain Steel Furnace)

Adamson, Furnace

Bowling Hoop Furnace เปนแบบที่แกไขมาจาก Adamson ทําใหหยุนตัว ไดเมื่อไดรบั ความรอน


42

Fox corrugated Furnace แบบนี้ลูกฟูกโคงขึ้นลงเทากัน ทุกสูบซึ่งจะทําความสะอาดยาก Purve Furnace แกไขมาจาก แบบ Fox เพื่อทําความสะอาดได งายขึ้น Morison Furnace Deighton Furnace ดัดแปลงมาจาก แบบ Morison โดยทําใหสวนลาง โคงขึ้นเล็กนอย

การออกแบบใหผนังเตาเปนแบบลูกฟูกดังกลาวก็เพื่อจุดประสงคดังตอไปนี้คือ ก. แข็งแรง ข. ทําใหหมอน้ํามีน้ําหนักเบาเพราะไมตองใช Stay ค. เปนการเพิ่มพืน้ ผิวเผารอนใหกับหมอน้ํา ง. ลดอันตรายที่เกิดขึ้นตอรอยตอ เนื่องจากการขยายตัวเมือ่ ไดรับความรอนเนื่องจาก ผนังเตาแบบลูกฟูกสามารถหยุนตัวได สวนประกอบของเตา เตาหมอน้ําประเภททีใ่ ชถานหรือฟนเปนเชือ้ เพลิง จะตองประกอบดวยสวนประกอบที่ สําคัญ ๆ คือ ก. เปลือกเตาหรือผนังเตา ไดกลาวรายละเอียดไวแลวในเรื่องเตา ข. เหล็กตะกรับ (Grate) มีลักษณะเปนแผนเหล็กรูปสี่เหลี่ยมผืนผาเจาะรู หรือจะใชเหล็กเสนวางเรียงหรือสาน กันก็ได ถาเปนหมอน้ําแบบตั้งตรงจะมีลกั ษณะเปนแผนเหล็กกลมแบนเจาะรู แบบตะกรับ เตาหุงตมตามครัวเรือน ทําดวยเหล็กหลอมีหนาที่รองรับเชื้อเพลิง เชน ถาน , ฟน , ถานหิน


43 นอกจากนี้ยังทําหนาที่แยกถานและเถาออกจากกัน เพื่อใหการเผาไหมดําเนินไปไดดวยดี เหล็ก ตะกรับมีหลายแบบหลายชนิด ตามชนิดและขนาดของหมอน้ํา คือ 1. ตะกรับแบบอยูนิ่ง (Stationary grate) สวนมากใชกับหมอน้ําแบบเกา ๆ หรือหมอน้ําขนาดเล็ก ๆ เชน หมอน้ําแบบตั้งตรง เปนตน 2. ตะกรับแบบเขยาหรือสัน่ (Rocking or Shaking gtate) เปนแบบทีใ่ ชกับหมอน้ําขนาดใหญแบบตั้งตรง สามารถแยกเถาออกจากถานไดดี ทําใหการเผาไหมของเชื้อเพลิงดีขึ้น โดยไมตองใชคนคอยแตงไฟอยูเสมอ 3. แบบตะกรับเลื่อน (Traveling or Chain grate) หรือเรียกวาแบบ “Conveyou” มีใชในหมอน้ําขนาดใหญ หรือประเภท Central Station” แบบเกา เพราะถาเปนหมอน้ําแบบสมัยใหมจะใชน้ํามันเชือ้ เพลิงฉีดเปนฝอยละออง เขาเตาและไมตองใชตะกรับ ค. พนัง (Bridge Wall) ทําดวยอิฐทนไฟ ติดตั้งอยูระหวางเตาและหองเผาไหม มีหนาที่ปองกันไมใหถาน กอนโต ๆ กระเด็นเขาไปในหองเผาไหม นอกจากนี้ยังชวยรองรับเหล็กตะกรับไวดว ย ง. ประตูเตา (Fire Door) ประกอบอยูทางดานหมอน้ําเหนือเหล็ก ตะกรับ ใชสําหรับปด – เปด เพื่อบรรจุ เชื้อเพลิง จ. ประตูเถา (Ashpit Door) ประกอบอยูทางหนาหมอน้ําตอนลางของประตูเตา ใชสําหรับปด – เปดเพื่อ นําขี้เถาออกทิ้ง ง. ประตูกนเตา (Clean out Door) ประกอบอยูทางตอนหลังของหมอน้ําหรือหองเผาไหม มีประโยชนสําหรับเปน ชองทางเขาไปทําความสะอาดและซอมแซมภายในเตาและหองเผาไหม

3.8 หองเผาไหมหรือหองเชื้อเพลิง (Combustion chamber) หรือเรียกวา “หองไฟคุ” มีลักษณะเปนหองสี่เหลี่ยมอยูถ ัดจากเตาเขาไปเปนที่รวมควัน และแกสรอน ทั้งที่เผาไหมแลวและยังไมเผาไหมจากเตา กอนทีจ่ ะเดินผานหลอดไฟไปยังหอง ควันแลวออกปลอง ดังนัน้ แกสที่ยังไมไดเผาไหมก็จะเกิดการเผาไหมขึ้นภายในหองเผาไหมนี้ จึงมีหนาที่ทําใหเชื้อเพลิงเกิดการเผาไหมหมดจดสมบูรณขึ้น


44

3.9 หองควัน (Smoke Box) เปนที่รวมของแกสรอนและควันหลังจากที่ใหความรอนกับน้ําแลว กอนที่จะนําสง ออกสูปลองตอไป หองควันติดตั้งอยูที่โคนปลอง ถาเปนหมอน้ําแบบหลอดไฟกลับจะอยูเ หนือ เตาดานเดียวกัน และมีประตูปด - เปด เพือ่ ทําความสะอาดหลอดไฟ

3.10 ปลองไฟ (Chimney) มีลักษณะเปนรูปทรงกระบอกลมหรือสี่เหลี่ยมยาวตอจากหองควันขึน้ ไป ทําดวย แผนเหล็ก หรืออิฐแลวแตชนิดของหมอน้าํ ปลองไฟของหมอน้ํารถไฟหรือเรือทําดวยเหล็ก แต ถาเปนโรงงานอุตสาหกรรมมักทําดวยอิฐหรือคอนกรีต มีหนาที่เปนทอทางนําแกสรอนและ ควันออกทิ้งสูบ รรยากาศภายนอกหมอน้ํา นอกจากนีย้ ังชวยทําใหเกิดกระแสลมเรงทาง ธรรมชาติ (Natrual draft) ดีขึ้นอีกดวย ปลองไฟที่ใชในเรือสวนมากทําเปน 2 ชั้น เพื่อการระบายความรอนและปองกัน อันตรายเมื่อไปถูกหรือสัมผัสขณะทํางานใกลกับปลองไฟ 3.11 สวนประกอบอื่น ๆ ของหมอน้ํา 1. หมูหลอดทําไอ (Generating tube) ก็คือหมูหลอดน้าํ นั่นเองอธิบายไวแลวในเรื่อง หลอดน้ํา 2. หมูหลอดทําไอเผา 2 ครั้ง (Superheater) หรือเรียกวาหมูห ลอดทําไอดงเปนหมู หลอดจํานวนหนึ่งติดตั้งอยูภ ายในเตา มีหนาที่ทําใหไอน้ําจากหมอน้ําที่เดินผานกลายเปนไอดง หรือไอเผา 2 ครั้ง 3. หมูหลอดทําลายไอดง (Desuper heater) เปนหมูหลอดจํานวนหนึ่งติดตัง้ อยู ภายในหมอพักไอใตระดับน้ํา มีหนาที่ทําใหไอดงกลายเปนไอแหงหรือไออิ่มตัวเพื่อนําไปใช กับเครื่องจักรชวยอื่น ๆ เนื่องจากไอดงคายความรอนใหกับน้ําในหมอน้ํานอกจากนี้ยังทําใหน้ํา เดือดเร็วขึน้ อีกดวย 4. หมูหลอดอุนไอ (Reheater) มีลักษณะคลายหมูห ลอดทําไอดงติดตั้งอยูภ ายใน เตาเชนเดียวกัน มีหนาที่ทําใหไอน้ําที่ใชงานแลวมีคุณภาพดีขึ้นสามารถนํากลับไปใชไดอกี เพราะไอน้ําเมือ่ ผานหมูหลอดนี้แลวจะถูกเผาใหรอนขึ้น 5. หลอดปุม (studded tube) ก็คือ หลอดน้ํานั่นเอง แตผิวภายนอกหลอดเหลานี้ ไดทําเปนปุมติดอยูเปนจํานวนมาก เฉพาะสวนที่เกาะติดกับผนังเตาเทานั้น จุดประสงคเพื่อ ทําหนาที่ยดึ เหนี่ยวหรือเกาะติดกับวัสดุทใี่ ชกอผนังเตาไดแนนไมหลุดลวงไดงาย เพราะหมู หลอดน้ําชนิดนี้จะประกอบติดกับผนังเตา เพื่อระบายความรอนใหกับผนังเตาไมใหรอน จนเกินไป นอกจากนีย้ ังเปนการทําใหน้ําไดรับความรอนเพิ่มขึ้นและเปนการปองกันการสูญเสีย ความรอนที่ผานออกทางผนังเตาดวย


45 6. หลอดกําบัง (Water screen or Screen tube) ก็คือหลอดน้ํานั่นเองแตมีขนาดโตกวา ประกอบอยูระหวางหมอพักไอ เชนเดียวกับหลอดน้ํา แตอยูใ นบริเวณที่ไดรับความรอนรุนแรงมากกวาปกติ เชน แถวดานหนา เตา ปกติมีอยูป ระมาณ 2 - 4 แถว 7. ผนังน้ําหรือหลอดผนังเตา (Water wall) คือ หลอดน้ําแบบหลอดปุมนั่นเอง แตหลอดน้ําเหลานี้ติดตั้งเรียงติดตอกันไปและติดกับผนังเตา จึงทําหนาที่คลายกับผนังเตา จุดประสงคก็เชนเดียวกับหลอดปุม นอกจากนีย้ ังเปนการลดคาใชจายในการสรางผนังเตา คือ ไมตองสรางผนังใหหนามากนัก


46

บทที่ 4 ระบบตาง ๆ ของหมอน้ํา 4.1 หมอน้ําแบบหลอดน้ํา (Water tube boiler) หมอน้ําแบบหลอดน้ําหรือที่เรียกวา “หมอน้ําแบบน้ําเดินในหลอด” มีลักษณะเปนรูป ทรงกระบอกกลม ภายในบรรจุน้ําและไอน้ํา สวนเตาจะอยูภายนอกหมอน้ํา จุดประสงคในการ ออกแบบใหเตาไวภายนอกหมอก็เพื่อความแข็งแรงและทนกําลังดันไอน้ําสูง สําหรับหลอดน้ํา ประกอบอยูภายนอกหมอน้ําและติดตั้งอยูภายในเตา แตแกสรอนที่เกิดจากการเผาไหมในเตาจะเดิน ผานผิวภายนอกหลอด แลวออกสูปลอง หมอน้ําแบบหลอดน้ําเปนหมอน้ําผลิตไอไดเร็วและมีกําลังดันสูง จึงนิยมใชกับโรงงาน อุตสาหกรรมขนาดใหญ ขนาดกลางทั่วไป และในเรือรบ แบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ 4.1.1 หมอน้ําแบบหลอดใหญหรือแบบหลอดนอน (Header boiler) หรือมีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา หมอน้ําแบบ “หัวตอหลอดหรือแบบเฮดเดอร” ประกอบดวย หมอน้ํารูปทรงกระบอกกลมขนาดใหญเพียงใบเดียว ติดตั้งในแนวนอน (Horizontal) หมูหลอดน้ําที่ ประกอบอยูภายในเตามีขนาดใหญ และวางตามความยาวกับหมอน้ํา โดยทํามุมกับพื้นระดับเล็กนอย หรือประมาณ 15 ๐ นับวาเปนหมอน้ําแบบเกา เพราะเปนหมอน้ําแบบหลอดน้ําแบบแรกที่ได จัดสรางขึ้น และสรางโดย บริษัท แปปคอก และวิลคอก จึงมีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา “หมอน้ําแบบ แปปคอก” นิยมใชกับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญทั่วไป สําหรับในเรือมีใชในเรือรบขนาดใหญ แบบเกา 4.1.2 หมอน้ําแบบหลอดเล็กหรือแบบหลอดตั้ง (Exptress Boiler) หรือเรียกวา “หมอน้ําแบบเรงเร็ว” เพราะสามารถผลิตไอน้ําไดเร็วและมีกําลังดันสูงมาก ลักษณะโดยทั่วไปประกอบดวยหมอน้ํารูปทรงกระบอกกลมวางตามแนวนอน ตั้งแต 2 ใบขึ้นไป เปนหมอพักไอ 1 ใบ (Steam Chamber or Steam Drum) ที่เหลือเปนหมอพักน้ํา (Water Chamber or Water drum or Mud Drum) หมูหลอดน้ําที่ประกอบอยูระหวางหมอพักน้ําและหมอพักไอ เพื่อใหน้ํา ไหลวนเวียนถึงกันนั้น มีขนาดเล็ก และติดตั้งทํามุมกับพื้นระดับประมาณ 45 ๐ – 60 ๐ จึงเกิดการ ไหลวนเวียนของน้ําไดอยางรวดเร็ว นิยมใชกับเรือรบสมัยใหม หรือเรือโดยสารที่มีความเร็วสูง หมอน้ําแบบเรงเร็วนี้ แบงออกไดหลายชนิด ตามลักษณะของการติดตั้งและบริษัท ผูออกแบบสราง ไดแก ก. หมอน้ําแบบ เอ. (A- type Boiler) ข. หมอน้ําแบบ ดี. (D - type Boiler) ค. หมอน้ําแบบ เอ็ม. (M – type Boiler)


47 ง. หมอน้ําแบบ ยารโรว (Yarrow Boiler) จ. หมอน้ําแบบราชนาวีญี่ปุน (Japanese Abmiralty Boiler) ฉ. หมอน้ําแบบทรอนิครอฟ (Thornycroft Boiler) ขอดีของหมอน้ําแบบหลอดน้ํา 1. มีหนักเบาหรือน้ําหนักตอแรงมานอย 2. สะดวกในการยกออกและติดตั้งในเรือ 3. ผลิตไอน้ําไดเร็วและไดจํานวนมาก 4. อันตรายจากหมอน้ําระเบิดนอยเพราะแข็งแรง 5. เรงไอไดเร็วเพราะการไหลวนเวียนของน้ําดีและเร็ว 6. ทําการซอมแซมบํารุงรักษางาย ขอเสียของหมอน้ําแบบหลอดน้ํา 1. ตองใชน้ําสะอาด 2. ราคาแพง 3. การชํารุดเสียหายเกิดแกหลอดไดงาย และเปลี่ยนยาก 4. ถาหลอดใดหลอดหนึ่งแตก ตองเลิกใชหมอน้ําทันที 5. ไมคอยรูระดับน้ําในหมอไดแนนอน 6. ตองคอยระวังเรื่องน้ําเลี้ยงเขาหมอน้ําเสมอ ขอดีของหมอน้ําแบบหลอดไฟ 1. การจายไอสม่ําเสมอดี เพราะน้ําในหมอน้ํามีมาก 2. ระดับน้ําคงที่แนนอน 3. สะดวกตอการระวังรักษาในการทําความสะอาดพื้นผิวหนาของหลอดไฟ 4. ในกรณีจําเปนอาจใชน้ําเค็มได 5. ขนาดกะทัดรัดเมื่อเทียบกับแบบหลอดน้ํา เพราะสามารถสรางเปนหนวยเล็ก ๆ ได (คือหมอน้ําขนาดเล็ก) ขอเสียของหมอน้ําแบบหลอดไฟ 1. มีน้ําหนักมากกวา หรือน้ําหนักตอแรงมานอย 2. จายไอชา เพราะการไหลวนเวียนของน้ําไมดี 3. ไอน้ํามีกําลังดันต่ํา เพราะหมอน้ําไมแข็งแรง โดยเฉพาะบริเวณหัวตอหลอดไฟไม มั่นคงเหมือนหลอดน้ํา 4. อันตรายจากหมอน้ําระเบิดแตกมีมาก ถาปลอยใหกําลังดันไอสูงขึ้น หรือพื้นผิวเผา รอน รอนจัดและน้ําในหมอลดลง


48 5. หมอน้ําเย็นตัวลงไดรวดเร็ว ถาเปดประตูเตาไวหรือในกรณีอื่น ๆ ซึ่งจะเปนอันตราย ตอรอยตอตาง ๆ ของหมอน้ํา เนื่องจากการยืดหดตัวของหมอน้ํา

4.2 หมอน้ําแบบคอรนิช (Cornish Boiler) เปนหมอน้ํารูปทรงกระบอกกลม วางตามแนวนอน (Horiizontal) ประกอบดวยหมอน้ํารูป ทรงกระบอกกลม 2 ใบสวมกัน หมอใบเล็กหรือใบในใชเปนเตาหรือใหแกสรอนเดินผาน สวนใบ นอกหรือใบใหญใชบรรจุนา้ํ และไอ คือน้ําจะอยูระหวางหมอใบเล็กและหมอใบใหญ การติดตัง้ หมอ ใบเล็กนั้นจะตองติดตั้งใหคลอยลงตอนลาง คือจุดศูนยกลางของหมอใบเล็กอยูต่ํากวาจุดศูนยกลาง ของหมอใบใหญ ถาเปนหมอน้ําแบบใชถานหรือฟนเปนเชื้อเพลิงจะตองมีตะกรับรองรับ ภายในเตา หรือหมอน้ําใบเล็ก ถัดจากเตาเขาไปหรือทางดานในจะติดตั้งทอทางน้ําขนาดใหญหลายทอ ติดตั้ง ขวางทางเดินแกสรอนแตมีทอ ทางตอกับน้ําในหมอน้าํ มีหนาที่ดกั เก็บความรอนจากแกสรอนที่ผา น นอกจากนี้ยังชวยทําใหน้ําเกิดการไหลวนเวียนดีขึ้น ทอทางน้ําดังกลาวนีเ้ รียกวา “กัลโลเวทิ้ว” (Galloway tube) การเดินของแกสรอน แกสรอนจะเดินจากเตาซึ่งอยูทางดานหนาภายในหมอน้ําเขาไปทาง ตอนทายของหมอน้ํา เมื่อผานออกนอกหมอน้ําแลวแกสรอนก็จะเดินผานมาทางดานหนาหมอน้าํ โดย ผานทางชอง M และ M1 ซึ่งเปนชองอยูภายนอกดานขางหมอน้ํา จากนีแ้ กสรอนก็จะรวมกันลงสู ชอง N ซึ่งเปนชองอยูภายนอกดานลางหมอน้ํา แลวเดินผานไปออกปลองที่อยูทางตอนทายหมอน้าํ หมอน้ําแบบคอรนิชเปนหมอน้ําที่ใชกับโรงงานอุตสาหกรรมแบบเกา โดยทั่ว ๆ ไปมีขนาด เสนผาศูนยกลางประมาณตั้งแต 3 – 6 ฟุต มีความยาวตั้งแต 9 - 26 ฟุต ผลิตไอไดประมาณตั้งแต 400 – 3,000 ปอนด/ชม. กําลังดันใชงานประมาณ 80 - 100 ปอนด/ตารางนิ้ว


49

รูปหมอน้ําแบบคอรนิช ชนิดที่ทางตอนทายเตาเปนหลอดขนาดเล็กจํานวนมากแทน ทอทางซึ่งเปนรูปทรงกระบอกขนาดใหญ นับวาเปนตนแบบของหมอน้ําแบบหลอดไฟ


50

4.3 หมอน้ําแบบแลงแคชไซร (Lancashire Boiler) คลายแบบคอรนิช แตประกอบดวย 2 เตา หรือหมอน้าํ ใบเล็ก 2 ใบ สวมอยูภายในหมอน้ํา ใบใหญ การออกแบบใหมี 2 เตา ก็เพื่อเปนการเพิ่มพืน้ ผิวเผารอนใหกับหมอน้ํา ซึ่งจะทําใหสามารถ ผลิตไอไดเร็วและมากขึ้น นอกจากนี้ยังทําใหสะดวกในการบรรจุถาน คือไดผลัดเปลี่ยนกันทีละเตา และยังสามารถเพิ่มหรือลดการผลิตไอไดดวย คือ ถาไมตองการเรงไอหรือไมตองการไอมากนักก็ใช เตาเดียว หมอน้ําแบบ แลงแคชไซรเปน หมอน้ําที่ใชกับโรงงานอุตสาหกรรมแบบ เกาเชนเดียวกับแบบคอรนิชแตมีขนาดใหญ กวาคือ โดยทั่ว ๆ ไป มี ขนาดเสน ผา ศูนยกลางตั้งแต 5 ฟุต 6 นิ้ว ถึง 9 ฟุต 6 นิ้ว ยาวตั้งแต 14 - 32 ฟุต ผลิตไอไดประมาณ ตั้งแต 2,300 - 10,300 ปอนด/ชม. กําลังดัน ใชงานประมาณ 120 - 160 ปอนด/ตารางนิ้ว บางครั้งสูงถึง 200 ปอนด/ตารางนิ้ว

รูปแสดงใหเห็นสวนตาง ๆ ตามยาวของหมอน้ําแบบแลงแคชไซร


51

4.4 หมอน้ําแบบแบบคอกและวิลคอก (Babcock & Wilcox Boiler) เปนหมอน้ําแบบหลอดน้ําชนิดหลอดใหญหรือหลอดนอนที่สรางขึ้นโดย Messrs Bab cock & Wilcox, London, E.C. 4 ลักษณะโดยทั่วไปประกอบดวยหมอน้ํารูปทรงกระบอกกลม ขนาดใหญ 1 ใบ ภายในบรรจุน้ําและไอน้ํา เตาอยูน อกหมอน้ํา ถาเปนแบบใชถานหรือฟนเปน เชื้อเพลิง จะตองมีตะกรับรองรับ และมักเปนแบบตะกรับเลื่อน (Chain grate) เพราะเปนหมอน้ํา ขนาดใหญ สําหรับหมูหลอดน้ํามีขนาดใหญและวางตามความยาวกับตัวหมอโดยทํามุมกับพื้นระดับ เล็กนอย สําหรับแบบที่หมูหลอดวางตามความยาวกับตัวหมอ นับวาเปนหมอน้ําแบบหลอดน้ํา แบบแรกและเปนแบบแรกทีบ่ ริษัท แบบคอกและวิลคอกสรางขึ้น จึงนับวาเปนหมอน้ําแบบเกานิยม ใชกับโรงงานอุตสาหกรรมบนบกหรือเรียกวา “หมอน้ําบก” (Land type Boiler) ตอนหัวและทายของ หมอน้ําแบบนี้ ประกอบดวยครอสบอก (Cross Box) ดานละ 1 อัน ถัดจากครอสบอกลงมาเปน นิ้ปเปล (Nipple) และเฮดเดอร (Header) ตามลําดับ ระหวางเฮดเดอรดานหนาและหลังประกอบดวย หมูหลอดน้ําจํานวนมาก จํานวนหลอดน้ําและเฮดเดอร 2 อันที่หมูหลอดน้ําประกอบอยูรวมกัน เรียกวา 1 ชุด หรือ 1 อีลีเมน (Element) หมอน้ําแบบแบบคอกแบบนีจ้ ะติดตั้งหมูหลอดไดประมาณ 6 - 8 อีลีเมน สามารถผลิตไอน้ําไดชวั่ โมงละประมาณ 24,500 ปอนด กําลังดันไอน้ําประมาณ 208 ปอนด/ตารางนิ้ว อุณหภูมิของไอเผา 2 ครั้ง 602๐ F ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขนาดของหมอน้ําและ เชื้อเพลิงที่ใช รายละเอียดที่กลาวเปนหมอน้ําแบบใชถานเปนเชื้อเพลิง ที่กรมอูทหารเรือก็มีหมอน้ํา แบบนี้แตใชนา้ํ มันเตาเปนเชือ้ เพลิง ประกอบดวยหมูหลอดน้ํา 9 อีลีเมน รวม 91 หลอด แตขณะนี้ ไมไดใชงาน สําหรับหมอน้ําแบบคอกชนิดที่ติดตัง้ หมูหลอดขวางกับตัวหมอน้ํา เปนแบบทีอ่ อกแบบ มาใชกับเรือ (Marine type) ซึ่งออกแบบไว 2 แบบคือ แบบที่ใชหลอดน้ําขนาดใหญและขนาดกลาง รวมกัน และอีกแบบหนึ่งใชหลอดขนาดใหญทั้งหมด การออกแบบใหหมูห ลอดติดตั้งขวางกับตัว หมอน้ําดังกลาวนี้จะสามารถติดตั้งหมูหลอดไดมากกวาคือประมาณ 10 - 16 อีลีเมน จึงเปนแบบที่ สามารถผลิตไอน้ําไดมากกวา เนื่องจากหมูหลอดน้ําติดตั้งขวางกับตัวหมอน้ํา หมอน้ําแบบนี้จึงมีชื่อเรียกอีกอยาง หนึ่งวาหมอน้าํ แบบ “ครอสตรัม” (Cross Drum Boiler) หมายเหตุ ตัวหมอน้ําทั้งชุดติดตั้งโดยการแขวนติดกับคานเหล็ก ทั้งนี้เพื่อขจัดปญหาการขยายตัว ของหมอน้ํา ซึ่งอาจเปนอันตรายตอฐาน (Setting) ซึ่งทําดวยอิฐ


52


53 รู ป ด า นซ า ยมื อ เป น รู ป หม อ น้ํ า แบบ Babcock และ Wilcox ชนิดที่หมู หลอดน้ําติดตั้งตามความยาวกับตัวหมอน้ํา ซึ่งเปนแบบเกา สําหรับรูปดานซายมือ เปนรูปที่แสดงใหเห็นสวนตาง ๆ ภายใน และภายนอกหมอน้ําเฉพาะทางดานหนา หมอน้ํา

รูปหมอน้ําแบบ Babcock และ Wilcox ชนิดที่หมูหลอดน้ําติดตั้งขวางกับตัวหมอน้ํา


54

รูปหมอน้ําแบบ Cross Drum 1. Dry pipe 3. Drum 5. Downcast header 7. Chimney 9. Baffle 11. Hand hole 13. I- beam

2. Deflection Plate 4. Nipple 6. Oil burner 8. Super heater 10. Upcast header 12. Steel Casing


55


56

1. Hand hole

2. หลอดน้ํา 3. Header 4. สวนที่ตอกับ Nipple รูปแสดงสวนประกอบตาง ๆ ของหมอน้ําแบบ Babcock และ Wilcock

4.5 หมอน้ําแบบยารโรว (Yarrow Boiler) คือหมอน้ําแบบหลอดเล็กหรือแบบหลอดตั้งนั่นเอง สรางโดยบริษัทยารโรวประเทศอังกฤษ ลักษณะโดยทัว่ ไปประกอบดวยหมอน้ํา 3 ใบ บางแบบ 4 ใบ ติดตั้งเปนรูปสามเหลี่ยมหรือตัว A (A - type) ใบใหญหรือใบบนเปนหมอพักไอ ที่เหลือเปนหมอพักน้ํา หมูหลอดน้ําที่ประกอบอยู ระหวางหมอพักน้ําและหมอพักไอ เปนหลอดตรง ปลายหลอดทีส่ วมหรือประกอบกับเปลือกหมอ จะทําเปนมุมตาง ๆ กับเปลือกหมอ เนื่องจากเปลือกหมอโคงแตหลอดตรง หมอน้ําแบบยารโรว มีหลายแบบ บางแบบมีหมอสําหรับหมอพักไอเผา 2 ครั้ง ตางหากอีก 1 ใบ มีพื้นผิวเผารอนรวม 3,420 ตารางฟุต หรือมากกวา สามารถผลิตไอน้ํามีกําลังดันใชการตั้งแต 575 – 1,000 ปอนด/ตารางนิ้ว อุณหภูมิ 700 - 750 ๐ F

4.6 หมอน้ําแบบราชนาวีญี่ปุน (Japanese Admiralty Boiler) ลักษณะคลายแบบยารโรวมาก โดยเฉพาะถาดูภายนอก เพราะดัดแปลงมาจากแบบยารโรว ผิดกันที่หมูห ลอดดานใน และดานนอกที่ประกอบอยูระหวางหมอพักน้ําและหมอพักไอจะโคงออก จากกัน โดยเห็นวา หมูหลอดของหมอน้ําแบบยารโรวเมื่อเวลาใชงานไปแลวจะโคงเขาหาไฟเสมอ เนื่องจากความรอน นอกจากนี้ยังชวยทําใหหลอดน้ําเกิดหยุนตัวไดดีโดยไมเปนอันตรายตอหัว ตอหลอด


57

Yarrow Boiler 1. Chimney 3. Down Commer 5. Water tube 7. Water drum

Japanese Admiralty Boiler 2. Steam Chamber 4. Baffle Plate 6. Steel Casing 8. Furnace

4.7 หมอน้ําแบบทอรนิครอฟ (Thornycroft Boiler) ลักษณะโดยทัว่ ไปคลายแบบยารโรว แตหมูหลอดน้าํ ที่ประกอบอยูระหวางหมอพักน้ําและ หมอพักไอจะโคงงอมาก ผิดกับแบบยารโรวและแบบของญี่ปุน ปลายหลอดน้ําที่ประกอบกับเปลือก หมอจะทําเปนมุมฉากกับเปลือกหมอทุกหลอด หมอน้ําแบบนี้จึงมีชื่อเรียกอีกแบบหนึ่งวา “หมอน้าํ แบบหลอดโคง” (Bent tube Boiler) การออกแบบใหหลอดโคงงอและปลายหลอดตั้งฉากกับเปลือกหมอก็เพื่อ 1. เจาะรูเพื่อประกอบหลอดไดงาย 2. เจาะรูเพื่อใสหลอดไดจํานวนมากกวา 3. ประกอบหลอดไดแนนและสะดวกกวา 4. พื้นที่ผิวเผารอนหลอดมากขึน้ หมอน้ําแบบทอรนิครอฟ ยังแบงออกได 4 แบบ คือ แบบชคูเลช , แบบตาตา แบบสปดดี้ และ แบบดาริ่ง ตามรูปที่แสดงในหนาตอไป


58 หมอน้ําแบบหลอดโคง เปนหมอน้ําที่ผลิตไอไดมาก เร็วและมีกําลังดันสูง ผลิตไอไดตั้งแต 1,000 ถึง 1,000,000 ปอนด/ชม. ซึ่งขึ้นอยูกับขนาดและแบบของหมอน้ํา นับวาเปนแบบที่มี ประสิทธิภาพสูงที่สุด ในป ค.ศ.1910 มีประสิทธิภาพสูงสุดประมาณ 75% แตหมอน้ําแบบหลอดโคง ในปจจุบนั หรือสมัยใหมมีประสิทธิภาพสูงถึง 93 % ประมาณ 60 % ของหมอน้ําแบบนี้ทั้งหมดมีกาํ ลัง ดันใชการประมาณ 600 ปอนด/ตารางนิ้ว และมีหลายแหงที่ใชกําลังดัน 800 – 1,500 ปอนด/ตารางนิ้ว และบางแหงใชกําลังดันถึง 2,000 ปอนด/ตารางนิ้ว อุณหภูมิ 600 - 1,050 ๐ F เนื่องจากหมอน้ําแบบเรงเร็วสมัยใหม ประกอบดวยหมอน้ําหลายใบ และติดตั้งเปนรูปตาง ๆ หมอน้ําแบบนีจ้ ึงเรียกชื่อตามลักษณะการติดตั้งก็ได เชน แบบ เอ (A- type) แบบ ดี (D - type) และ แบบ เอ็ม (M-type)


59


60

หมอน้ําตามรูปซายมือ เปนหมอน้ํา แบบหลอดน้ํา และเปนแบบหลอดโคง ติดตั้งเปนรูปตัวเอ็ม (M-type Boiler) ออกแบบมาใชกับเรือรบอเมริกัน มีหลาย ขนาด ผลิตไอไดตั้งแต 100,000-250,000 ปอนด/ชม. ไอน้ํามีกําลังดัน 615 Psi อุณหภูมิ 490 ๐F ไอเผา 2 ครั้ง มีอุณหภูมิ 850 ๐ F หลอดน้ําโดยทั่วไป มีขนาด 1” - 2” สําหรับหลอดไอเผา 2 ครั้ง ทําดวย Spacial alloy steel

หมอน้ําตามรูป Fig 3-11 เปนหมอ น้ําแบบหลอดโคงที่ใชในเรือรบอเมริกัน เชนเดียวกัน แตทันสมัยกวาติดตั้งเปนรูป ตัว ดี (D-type Boiler) สามารถผลิตไอได 60,000 - 275,000 ปอนด / ชม. กําลังดัน ไอน้ําอยูระหวาง 435 - 1,200 Psi อุณหภูมิ ของไอเผา 2 ครั้ง 750 ๐ F – 950 ๐ F ( ดูรูปหนาตอไป )


61

4.8 หมอน้ํารถไฟ (Locomotive Boiler) คือหมอน้ําแบบหลอดไฟตรงนั่นเอง แตติดตั้งในแนวนอน เตาเปนรูปสี่เหลี่ยมอยู ภายในหมอน้ําและเปนแบบ Open type การออกแบบสรางหมอน้ําแบบนี้จะถูกออกแบบใหกินเนือ้ ที่ นอยที่สุดทั้งทางสวนสูง และความกวาง นอกจากนีจ้ ะตองออกแบบใหมีกําลังดันไอน้ําสูงและผลิต ไอน้ําไดเร็ว มีลักษณะเตี้ยแคบ หรือเล็กแตยาว จึงนิยมหรือเหมาะที่จะใชกับรถไฟและเรือที่กินน้ําตื้น เนื่องจากเปนหมอน้ําแบบหลอดไฟทีม่ ีเตาอยูภายในหมอ ซึ่งไมคอยแข็งแรงนักแต จะตองออกแบบใหผลิตไดเร็วและมีกําลังดันสูง คือบางแบบผลิตไอไดถึง 100,000 ปอนด/ชม. ไอน้ํา มีกําลังดังประมาณ 200 - 300 Psi จึงตองออกแบบใหแข็งแรงเปนพิเศษ คือผนังเตาดานในจะหางจาก เปลือกหมอประมาณ 5 - 8 นิ้ว โดยมี Stay bolt ยึดอยูทวั่ ไป โดยทิ้งระยะหางกันประมาณ 4 นิ้ว สวน


62 ผนังเตาดานบนหรือเรียกวา Crown sheet ก็จะยึดติดกับเปลือกหมอน้ําดวยสะเตยเชนเดียวกัน แตยาว กวา เพราะมีระยะหางกวา เรียกวา “Radial Stay” หมอน้ํารถไฟ เปนหมอน้ําทีม่ ีขนาดเล็กกะทัดรัด จึงนิยมใชในกิจการที่มีความตองการไอน้ํา มาก ๆ จากหมอน้ําขนาดเล็ก แตความดันไอไมมากนัก สาเหตุที่ผลิตไอน้ําไดเร็วเนื่องจากบรรจุน้ํา มากและภายในหมอไดออกแบบใหมี Steam Space มากดวย

รูปแสดงสวนประกอบตาง ๆ ของหมอน้ํารถไฟ 1. Water level gauge 2. Stay bolt 3. Fire cox 5. Fuel oil burner 6. Chimney 7. Smoke box

4. Hand hole

สําหรับตัวตนกําลังของหมอน้ํารถไฟเปนแบบ Non condensing plant จึงมีประสิทธิภาพ ทางความรอนต่ํา คือประมาณ 5 – 8% สวนแบบใชระบบ Turbo electric คือใชเครื่องกังหันขับ เครื่องกําเนิดไฟฟา แลวใชไฟฟาขับมอเตอร เพื่อขับเพลาลอจะมีประสิทธิภาพสูงกวานี้ สวนแบบที่ ใชเครื่องกังหันขับเพลาลอซึ่งเปนแบบใหมนั้น เปนแบบที่ใหกําลังฉุดลากที่ความเร็วสูงไดดีมาก จะ มีประสิทธิภาพทางความรอนสูงถึง 15% การเดินของไอน้ําจากหมอน้ําไปยังเครื่องจักรนั้น ไอจะเดินออกจากหมอน้ําผานเขาไปยัง หมูหลอดทําไอเผา 2 ครั้ง ซึ่งติดตั้งอยูในหองควัน และในทอทางแกสรอนหรือหลอดไฟขนาด ใหญของหมอน้ําไปยังลิ้นทรอตเติล (Throttle Valve) ซึ่งควบคุมหรือปด - เปดไดดว ยมือ ที่ ลิ้นทรอตเติลจะมีทอทางไอแยกออกเปน 2 ทาง คือทอทางอันหนึ่งแยกไปยังสูบของเครื่องจักรไอน้ํา


63 2 สูบ (Main engine) อีกทอทางหนึ่งแยกไปยังสูบของเครื่องจักรชวย (Booster engine) ซึ่งเปน เครื่องจักรไอน้ําขนาดเล็กใชขับลอดานหลัง (Rear track wheel) เปนการเพิ่มกําลังใหกับเครื่องจักร ใหญในการเริม่ เดินครั้งแรก เนื่องจากตองใชกําลังฉุดลากมาก กระแสลมเรงของหมอน้ํารถไฟเปนแบบกระแสลมเรงกล (Force or Mechanical draft) โดยใชไอน้ําหรือไอเสียปลอยออกทางปลองผานทางหัวพน (Nozzle) เพื่อทําใหเกิดความเร็ว ซึ่งจะ มีผลทําใหควันพนออกมาจากปลองเร็วขึ้น

รูปแสดงสวนประกอบตาง ๆ ของรถจักรไอน้ํา

4.9 หมอน้ําแบบตั้งตรง (Vertical Boiler or Vertical Tubular Boiler) คือหมอน้ําแบบหลอดไฟตรงนั้นเอง แตติดตั้งในแนวตั้ง ดังนั้นตอนลางหมอน้ําจะเปนเตา ถัดจากเตาขึ้นไปเปนหลอดไฟ หองควัน และปลอง ตามลําดับ การเดินของแกสรอนจะเดินจากตอน ลางสุดขึ้นสูเตาตอนบนของหมอน้ํา คือ จากเตาซึ่งอยูตอนลางสุดผานขึ้นไปตามหมูห ลอดไฟ เพื่อไป ยังหองควันแลวจึงออกปลองซึ่งอยูดานบนสุด หมอน้ําแบบตั้งตรงเปนหมอน้ําขนาดเล็ก มีน้ําหนักเบา เคลื่อนยายไปมาไดสะดวก เหมาะ ที่จะติดตั้งหมอน้ําแบบตั้งตรงเปนหมอน้ําขนาดเล็ก มีน้ําหนักเบา เคลื่อนยายไปมาไดสะดวก เหมาะ ที่จะติดตั้งหรือใชในทีแ่ คบ และเหมาะทีจ่ ะนํามาใชกับงานนอยๆ เชนโรงงาน ขนาดเล็ก สวนในเรือ ใชเปนหมอน้ําชวย เชนหมอกลั่นน้ํา เครื่องกวานตาง ๆ เนื่องจากผลิตไอน้ําไดนอ ยและมีกําลังดัน ไอน้ําต่ํา โดยทั่ว ๆ ไปประมาณ 100 - 150 Psi. การออกแบบสรางหมอน้ําชนิดนี้จึงไมสูแข็งแรง มากนัก มีหลายแบบ หลายชนิด แตสวนมากจะเปน แบบหลอดไฟแทบทั้งสิ้น สําหรับแบบหลอดไฟ นั้นอาจแบงออกได 2 ชนิด คือแบบ Vertical exposed tube Boiler ซึ่งเปนแบบที่หลอดไฟยื่นอยู เหนือระดับน้ําในหมอ และแบบ Submerged tube Boiler คือเปนแบบที่หลอดไฟจมอยูใตระดับ


64 น้ํา เตามีลักษณะเปนรูปทรงกระบอก ติดตั้ง ภายในหมอตอนลาง และเปน แบบ Open type คือผนังตอนลาง ไมไดเปนสวนของหมอผนังเตา ดานขางโดยรอบเปนสวนของหมอน้ํา เรียกวา “Water Leg” สวนผนังเตา ดานบน ซึ่งเปนที่ยึดปลายหลอด ดานลาง เรียกวา “Crown Sheet”

ส ว นแผ น เหล็ ก ด า นบนที่ ยึ ด ติ ด กั บ ปลายหลอดด า นบนซึ่ ง เป น ส ว นหนึ่ ง ของห อ งควั น เรี ย กว า “Tube Sheet” โดยทั่วไปผลิตไอ แหงออกมาใชงาน ถาเปนแบบ Exposed tube Boiler จะสามารถ ผลิตไอเผา 2 ครั้ง ไดโดยมี Degree of Superheat 10 ๐ – 15 ๐ F หม อ น้ํ า แบบตั้ ง มี ห ลาย ขนาดเชนเดียวกับแบบอื่น ๆ คือ ตั้งแตขนาดเสนผานศูนยกลาง 2’ 9” หรือประมาณ 3 ฟุตถึง 5 ฟุต สูง ตั้งแต 6’ 6” ถึง 14” ขนาดของ หลอดตั้งแต 2” - 3” จํานวนหลอด ตั้งแต 48 ถึง 110 หลอด มี น้ําหนักตั้งแต 920 ถึง 1,670 ก.ก.


65 หมอน้ําแบบตัง้ ตรงชนิดนี้บางแบบสรางเปนรูปทรงกระบอกกลม 2 ใบ สวมกันคลายแบบ Cornish แตติดตั้งในทางตัง้ คือ ใบในหรือใบเล็กใชเปนเตาและใหแกสรอนเดินผานไปออกปลอง สวนใบใหญหรือใบนอกใชบรรจุน้ําและเปน Steam Space ภายในหมอใบเล็กไดติดตั้งทอทางน้ํา ขนาดใหญ ติดตั้งขวางทางเดินแกสรอนเรียกวา “Galloway tube” เพื่อทําหนาที่ดกั เก็บความรอนจาก แกสรอนที่ผาน จึงมีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวาแบบ Crosstube type นับวาเปนหมอน้ําแบบที่นิยมใชกนั แพรหลายมากเพราะสรางงาย มีขนาดตั้งแต 2’ 3” – 6 สูง 5’ 6” – 13’ กําลังดันไอน้ํา 100 Psi มีกําลังตั้งแต 2 - 20 แรงมา สําหรับแบบที่มีแรงมาตั้งแต 2 - 8 แรงมา มีลักษณะเชนเดียวกันแตเปน แบบที่ไมแข็งแรงเพราะไมมี Stay ยึดระหวาง Crown Sheet และ ผนังหมอน้ําดานบน ตามรูป Fig. 132


66

4.10 หมอน้ําเรือ (Scotch Mairne Boiler) คือหมอน้ําแบบหลอดไฟกลับนัน่ เอง แตเปนแบบที่มีเตาอยูภายในหมอและมีตั้งแต 1 – 4 เตา ผนังเตาเปนแผนเหล็กมีลักษณะเปนรูปทรงกระบอกกลม ถาเปนหมอน้ําที่มีขนาดเตาใหญจะทําเปน ลอน ๆ หรือลูกฟูก (Corrugated furnace) เพื่อใหเตาแข็งแรงโดยไมตองใชสะเต โดยทั่วไปเตามี ขนาดเสนผาศูนยกลาง ตั้งแต 42” - 48” หองเผาไหมซึ่งอยูถัดจากเตาเขาไปมีลักษณะเปนหองรูป สี่เหลี่ยมทําดวยแผนเหล็กและมีน้ําลอมรอบอยูอีกดานหนึ่ง (ดานนอก) เนื่องจากผนังหองเผาไหม ดานหลังเปนน้ํา หมอน้ําแบบนี้จึงมีชื่อเรียกอีกแบบหนึง่ วาแบบ “Wet Back Boiler” และเนื่องจาก ผนังหองเผาไหมเปนแผนเหล็กแบบเรียบ จึงตองมีสะเตยึดไว เพื่อความแข็งแรง หมอน้ําแบบหลอดไฟกลับแบบที่เปนที่รูจกั กันและนิยมใชกันโดยทั่ว ๆ ไป มีขนาดเสนผา ศูนยกลาง ตั้งแต 7 - 16 ฟุต ยาว 8 - 11 ฟุต ผลิตไอน้ําได ตั้งแต 1.000 - 15.000 ปอนด/ชม. ดวยกําลังดันไอน้ํา 250 Psi. มีกําลัง 2,000 Bo. - hp. แบบที่ใชกับเรือขนาดใหญมีขนาด 14 - 15 ฟุต บางแบบอาจโตถึง 20 ฟุตก็มี สามารถผลิตไอไดถึง 25,000 ปอนด/ชม. หมอน้ําแบบไฟกลับแบบ ที่ใชกับเรือหรือ แบบ Wet back Boiler นี้ ยังแบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ 4.10.1 แบบติดไฟไดดานเดียว (Single ended retrun fire tube Boiler) 4.10.2 แบบติดไฟได 2 ดาน (Double ended return fire tube Boiler) ทั้งสองแบบนี้จะเขาใจไดจากรูปหนาตอไป


67

รูปซายมือเปนรูป หมอน้ําเรือแบบติดไฟ ได ด า นเดี ย ว (Single ended return fire tube Boiler) สวน ในรูป Fig. 121 เปน แบบติดไฟได 2 ดาน เนื่องจากมีเตาทั้ง 2 ดาน


68

บทที่ 5 เครื่องชวยหรือเครือ่ งประกอบภายใน และภายนอกของหมอน้ํา (INTERNAL AND EXTERNAL FITTINGS) คืออุปกรณที่นาํ มาติดตั้งใหกบั หมอน้ําภายหลัง หรือหลังจากที่สรางตัวหมอน้ําเสร็จแลว อุปกรณที่นํามาติดตั้งดังกลาวจะชวยทําใหหมอน้ําทํางานมีประสิทธิภาพดีขึ้น ปลอดภัยขึน้ และ ทํางานไดผลสมบูรณโดยไมเปนอันตรายหรือตองหยุดการทํางาน อุปกรณที่สําคัญเหลานี้ไดแก

5.1 ทอไอแหง (Dry pipe) เปนทอขนาดใหญ ติดตั้งอยูใ นสวนทีเ่ ปนไอของหมอน้าํ (Steam space) โดยวางตาม แนวนอนเกือบชิดสวนบน ตอนสวนบนของทอเจาะรูเล็ก ๆ ไวจํานวนมาก สวนตอนลางรูโตกวา มี หนาที่ปองกันไมใหละอองน้ําปนไปกับไอน้ําที่เปดออกไปใชนอกหมอ ทอไอแหงนี้มีทอทางตอกับ กอกปด – เปดไอนอกหมอ เพื่อเปดไอน้ําออกไปใชงาน

5.2 หมอดักน้ํา (Steam Traps) เปนอุปกรณทที่ ําหนาที่ดกั เก็บน้ํา ทีเ่ กิดจากการกลัน่ ตัวของไอน้ําจากหมอแยกน้ํา (Steam separator) ในทอทางไอจากลิ้นปด – เปดไอของหมอน้ํา แลวสงกลับไปยังถังน้ําเลี้ยง แตจะ ไมยอมใหไอน้ํารั่วไหลผานออกหรือผานไดก็นอยที่สุด เปนการปองกันไมใหละอองน้ําปนไปกับไอ น้ํา ซึ่งจะทําใหเกิดเปนไอเปยกอันจะกอใหเกิดการเสียหายหลายประการ ตามที่กลาวไวแลวในเรื่อง การเกิดไอน้ํา หมอดักน้ําโดยปกติจะติดตั้งรวมกับหมอแยกน้ํา โดยติดตั้งอยูในตําแหนงที่ต่ําที่สุด เพื่อใหน้ําจากหมอแยกน้ําไหลผานออกไปไดสะดวก น้ําจากหมอดักน้ํานี้จะไหลออกไปยังถังน้าํ เลี้ยง ไดโดยอัตโนมัติ มีหลายแบบคือ มีทั้งแบบอาการกลและแบบใชความรอน ตามรูป Fig. 5 – 25 เปน แบบลูกลอยหรือแบบอาการกล ทํางานคลายกับลูกลอยของโถชักโครกคือ เมื่อลูกลอยสูงขึ้นเนื่องจาก ระดับน้ําสูงขึน้ ลิ้นก็จะเปดใหน้ําออก เมือ่ ลูกลอยลดต่ําลงลิ้นก็ปดน้ําจึงรั่วไหลผานออกไปไมได อีกแบบหนึ่งเปนแบบใชความรอน คือ ปด – เปด โดยการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ (Thermostatic steam trap) ตัวลูกลอยมีลกั ษณะคลายหีบเพลงชักหรือคลายกับเทอรโมสตัดในระบบ ระบายความรอนของรถยนต ภายในลูกลอยบรรจุของเหลวที่ขยายตัวและยุบตัวไดงา ย เมื่อมีน้ําเขามา ในหมอดักน้ํา ลูกลอยจะหดตัวและทําใหลนิ้ เปดใหน้ําไหลออก เมื่อน้ําไหลออกไปจนหมด ไอน้ําก็


69 จะไหลผานเขามาแทนที่ ของเหลวในลูกลอยก็จะขยายตัวพาใหลูกลอยขยายตัวออกและทําใหลนิ้ ปด เปนการปองกันไมใหไอน้ํารัว่ ไหลผานออกไปไดหรือไดนอยที่สุดตามที่กลาวแลว

Fig. 5 – 25 Mechaincal Steam Trap

Thermostatic Trap

5.3 หมอแยกน้ํา (Steam Saparator) หรือเรียกวา “Steam Purifier” เปนอุปกรณที่ทําหนาทีแ่ ยกละอองน้ําออกจากไอน้ํา ใน ทอทางไอที่สงมาจากลิ้น ปด – เปดไอ เพื่อปองกันไมใหเปนไอเปยกหมอแยกน้ํา หมอแยกน้ํามีหลายแบบแตทุกแบบก็มีหลักการ ทํางานเชนเดียวกัน คือ ใหไอน้ําวิ่งปะทะแผนกั้น หรือสิ่งกีดขวางทางเดินของไอน้ํา ละอองน้ําที่ติดมา กับไอน้ําก็จะเกาะติดกับแผนกั้น และรวมตัวกันเปน น้ําตกคางอยูภ ายในหมอแยกน้ํา จากนี้จะถูกสงตอไป เขาหมอดักน้ําตอไป สําหรับหมอน้ําขนาดใหญ ตัว หมอแยกน้ําจะติดตั้งไวที่ทางออกของไอน้าํ ซึ่งจะอยู ภายนอกภายในหมอน้ําก็ได หมอแยกน้ําแบงออกได เปน 2 ประเภท คือ แบบใชแรงเหวีย่ ง (Centrifugal type) และแบบแผนกั้น (Baffle plate)


70


71 5.4 ลิ้นไอใหญ (Main Steam stop valve) ติดตั้งอยูบนหลังหมอน้ําหรือที่ทอทางออก (Outlet) ของหมอน้ํา มีหนาที่สําหรับตัดตอ ไอจากหมอน้ํากับทอไอใหญและจะเปดไอน้ําไปใชกับเครื่องจักรใหญ บางชนิดสรางใหมีทอทางแยก ออก 2 ทาง เพื่อตอรวมกับทอไอใหญของหมอน้ําใบอืน่ 5.5 ลิ้นไอชวย (Auxiliary Steam stop valve) มีลักษณะเชนเดียวกับลิ้นไอใหญ แตมีขนาดเล็กกวา และมีทอทางตอมาจากลิ้นไอใหญ มีหนาที่สําหรับเปดไอน้ําออกไป ใชกับเครื่องจักรชวยตาง ๆ เชน เครื่องสูบน้ํา, สูบน้ํามัน, สูบลม, พัดลม เครื่องกําเนิดไฟฟา ฯลฯ เปนตน

5.6 ลิ้นน้ําเลี้ยง (Feed Check valve) ติดตั้งอยูดานขางหมอน้ํามีหนาที่เปดน้ําเขาหมอน้ํา เพื่อชดเชยน้ําที่สูญเสียไป เนื่องจาก กลายเปนไอและถูกนําไปใชงาน นอกจากนีย้ ังชวยปองกันไมใหนา้ํ ในหมอไหลออกนอกหมอเมื่อ กําลังดันน้ําเลีย้ งต่ํากวาน้ําในหมอ ที่ทํางานได 2 หนาที่เนื่องจาก ลิ้นน้าํ เลี้ยงประกอบดวยลิน้ ปด - เปด น้ําและลิ้นกันกลับอยูในเรือนเดียวกัน (Stop valve & Check valve) หมอน้ําสวนมากประกอบดวยลิ้นน้ําเลี้ยง 2 ตัว แตละตัวมีระบบน้ําเลี้ยงของตัวเอง แต ไมไดทํางานพรอมกัน คือ :6.1 ลิ้นน้ําเลี้ยงใหญ (Main feed check valve) เปนลิ้นขนาดใหญ ใชสําหรับเปดน้ําเขา เมื่อเครื่องจักรใหญทํางานหรือขณะเรือแลน จึงมีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา “ลิ้นน้ําเลี้ยงเรือเดิน” 6.2 ลิ้นน้ําเลี้ยงเล็ก (Donkey feed check valve) มีลักษณะเชนเดียวกันแตขนาดเล็กกวา สําหรับเปดน้ําเขาหมอขณะที่เครื่องจักรใหญหยุดทํางานหรือขณะเรือจอด จึงมีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา “ลิ้นน้ําเลี้ยงเรือจอด”

5.7 เครื่องปรับระดับน้ําเลี้ยงอัตโนมัติ (Automatic feed water regulator) ตั้งอยูบริเวณฝาหนาของหมอพักไอ มีหนาที่สําหรับปรับแตงระดับน้ําในหมอน้ําใหอยู ในระดับทีใ่ ชการตลอดเวลาที่ใชงานหมอน้ํา สวนมากนิยมใชกับหมอน้ําขนาดใหญหรือหมอน้ําที่มี การผลิตไอน้ําสูงและมีการเปลี่ยนแปลงภาระอยูเสมอ ซึ่งจะควบคุมระดับน้ําดวยมือแบบหมอน้ําแบบ เกา ๆ อีกไมได เพราะมีโอกาสผิดพลาดไดงาย เครื่องปรับระดับน้ําเลี้ยงอัตโนมัติมีหลายแบบ แตละ แบบจะทํางานโดยสงอาการไปปด – เปดลิ้นในทอทางน้ําเลี้ยง การปด – เปดของลิ้นในทอทางน้ํา เลี้ยงนี้จะทําใหเกิดแรงดันลดลงหรือเพิ่มขึน้ ในทอทาง ซึ่งมีผลไปเปลี่ยนแปลงความเร็วของสูบน้ํา เลี้ยง ใหสงน้ําเลี้ยงเขาหมอมากนอยไดตามตองการคือ :7.1 แบบลูกลอย (Float type Regulator) เปนแบบงาย ๆ การทํางานคลายกับลูกลอย ในโถชักโครก ถือถาระดับน้ําต่ําลูกลอยก็จะลดต่ําลงดวยขณะเดียวกันก็จะเปดใหนา้ํ ไหลเขามากขึ้น (ดูรูป a)


72 7.2 โดยการขยายตัวของของเหลว (Thermohydraulic or Generator diaphragm type or Vapor - Pressure - Operated) ของเหลวที่ใชเปนน้ําบรรจุไวในหลอดและติดตั้งไวในระดับเดียวกับ ระดับน้ําในหมอพักไอโดยรอบหลอดนี้ทาํ เปนครีบไวโดยรอบเพื่อระบายความรอน ปลายดานหนึ่ง ของหลอดนี้มที อทางเล็ก ๆ ตอไปยังแผนไดอะแฟรมและลิ้นปด – เปดน้ํา ภายในหลอดนี้มีทอทาง ขนาดเล็กสวมอยูภายใน โดยมีปลายทั้งสองตอกับสวนที่เปนไอและน้ําของหมอพักไอ ความรอนจาก น้ําและไอน้ําจะสงผานใหกบั น้ําในหลอดของเหลวและระบายออกทางครีบระบายความรอน เมื่อ ระดับในหมอน้ําลดลง ระดับน้ําในหลอดเล็กที่สอดอยูในหลอดของเหลวจะลดลงดวย และมีไอน้ํา มากกวาน้ําความรอนจากไอน้ําจะถายเทความรอนใหกบั น้ําในหลอดของเหลว (หลอดใหญหรือ หลอดนอก) ไดมากขึ้นกวาเดิม น้ําในหลอดของเหลวจึงขยายตัวและมีกําลังดันสูงขึ้น ซึ่งจะสงอาการ ไปเปดลิ้นใหน้ําเขาหมอมากขึ้นได (ดูรูป b) 7.3 โดยการขยายตัวของทอเหล็ก (Thermostatic Expansion – tube type) แบบนี้คลาย กับแบบ Thermohydraulic แตทํางานโดยอาศัยการยืดหดตัวของทอเหล็กยาว ทอเหล็กนี้มีทอทางตอ กับไอน้ําและน้ําในหมอพักไอ โดยติดตัง้ อยูในระดับเดียวกับระดับน้ําของหมอน้าํ เมื่อระดับน้ําใน หมอลดลง ระดับน้ําในทอเหล็กจะลดลงดวย ทอเหล็กจะมีอณ ุ หภูมิสูงขึ้นและขยายตัวยาวออกไป การขยายตัวของทอเหล็กนี้จะสงอาการตอไปเปดลิ้นใหน้ําเขาหมอน้ํามากขึ้น (ดูรูป c)


73

Vapor – pressure – operated automatic feed – water regulator. (b)

5.8 กอกถายน้ําหรือกอกเปาน้ํา (Blow off Cock) เปนกอกน้ําสําหรับถายหรือนําเอาสิ่งสกปรกตาง ๆ ภายในหมอน้ําออกทิง้ มี 2 อยาง คือ :8.1 กอกถายหนาน้ํา (Surface blow off cock) กอกนี้มีทอทางตอกับถาดรองรับสิ่ง สกปรก (Scum pan) ซึ่งลอยอยูที่ระดับน้ําหรือต่ํากวาเล็กนอย ทําหนาที่เปดเพื่อนําสิ่งสกปรกตาง ๆ ที่อยูที่ผิวหนาน้ําออก เชน น้ํามัน, ฟอง และอื่น ๆ กอกนี้บางทีเรียกวา “กอกโบลฟอง” 8.2 กอกโบลกนหมอ (Bottom blow off cock) ติดตั้งอยูตอนลางสุดภายในหมอ น้ํา มีหนาที่เปดเพื่อนําเอาสิ่งสกปรกและสิง่ ตกตะกอนตาง ๆ ออกทิ้ง หมายเหตุ การเปดกอกโบลฟองและกอกโบลกนหมอ จะตองเปดกอกอีกตัวหนึ่ง หมายเลข 4 ที่ตอรวมอยูกับกอกทั้งสองเพือ่ นําเอาสิ่งสกปรกออกนอกเรือ


74

5.9 กอกระบายน้ํา (Drain cock) ติดตั้งอยูตอนลางสุดของหมอน้ํา มีหนาทีส่ ําหรับถายหรือระบายน้ําในหมอออกทิ้ง เพื่อ ทําความสะอาด, เปลี่ยนน้ําใหม, ทําการตรวจซอมและเลิกใชหมอน้ําเปนเวลานาน ๆ

5.10 กอกอากาศ (Air cock) ติดตั้งอยูตอนบนสุดของหมอน้ํา มีหนาทีเ่ ปดเพื่อระบายอากาศหรือแกสตาง ๆ ออกเมื่อ เริ่มติดไฟหมอน้ํา และปดเมือ่ แกสและอากาศออกหมดแลว นอกจากนี้ยังชวยในการถายน้ําออกจาก หมอ โดยเปดกอกอากาศนี้ออกขณะถายน้าํ

5.11 กอกซาลิโนมิเตอร (Salinometer cock) ติดตั้งอยูบริเวณดานหนาหรือดานขางหมอน้ํา มีหนาที่สําหรับเปดน้ําในหมอออกมาทํา การตรวจ เชน ตรวจกรด, ดาง, เกลือ, และความเขมขนของน้ํา

5.12 หลอดแกววัดระดับน้ํา (Water Level gage or Water gage) มีลักษณะเปนแทงหรือหลอดแกวยาวประกอบอยูทางดานหนาหมอน้ําหรือที่เห็นไดงา ย ปลายดานบนติดตั้งอยูในสวนที่เปนไอของหมอน้ํา สวนปลายลางอยูในสวนที่เปนน้าํ หลอดแกวนี้จะ ติดตั้งในแนวตรงหรือเอียงก็ไดเพื่อใหเห็นไดงายขึ้น มีหนาที่สําหรับวัดหรือบอกระดับน้ําภายในหมอ โดยดูจากระดับน้ําในหลอดแกว ปกติระดับน้ําจะอยูในระดับ ½ หรือ ¾ ของหลอดแกว หรือจะ มีเข็มหรือสีทาชี้บอกไวอกี ทีหนึ่ง หลอดแกววัดระดับน้ําไมไดตอกับหมอน้ําโดยตรง แตมักจะติดตั้ง ไวที่ทอทางน้ําขนาดใหญ เรียกวา “Steady pipe หรือ Stand pipe หรือ Water column” ซึ่งทอทาง


75 นี้จะมีทอทางตอกับหมอน้ําโดยตรง ทําใหการกระเพื่อมของน้ําลดนอยลง และอานระดับน้ําใน หลอดแกวไดแนนอนขึน้ ที่หลอดแกวมีกอกปด – เปด 3 ตัว ตัวบนสําหรับเปดไอเขาหลอด เรียกวา “กอกไอ” ตัวลางเปดน้ําเขาหลอด เรียกวา “กอกน้ํา” สวนตัวลางสุด สําหรับเปดน้ําในหลอดแกวออกทิ้งเพื่อใช ตรวจสอบวาทางน้ําและทางไอที่เขาหลอดแลวไมอุดตัน

5.13 กอกทดลอง (Test cock or Gage cock) เปนกอกน้ําขนาดเล็ก ประกอบหรือติดตัง้ อยูที่ตัวหมอหรือที่ Water column มี 3 ตัว (บางชนิดมี 2 ตัว) ติดตั้งอยูใ นสวนทีเ่ ปนไอ 1 ตัว สูงกวาระดับน้ําเล็กนอย ตัวกลางอยูที่แนวระดับ น้ําที่ใชงานตามปกติ สวนตัวลางอยูต่ํากวาระดับน้ําในระดับที่ต่ําทีส่ ุดที่ยอมใหได ถาระดับน้ําใน หมอต่ํากวาระดับนี้จะเกิดอันตรายแกหมอน้ําไดงาย แตอยางไรก็ตาม ตําแหนงของกอกตัวลางสุดนี้ จะอยูสูงกวาผนังหองเผาไหมดานบนประมาณ 4 นิ้ว

Water Column on hrt boiler. กอกทดลองมีประโยชนสําหรับชวยตรวจสอบระดับน้ําในหมอน้ําแทนหลอดแกววัด ระดับน้ํา ในกรณีที่หลอดแกววัดระดับน้ําแตกหรือชํารุด ดังนั้นจึงมีชอื่ เรียกอีกอยางหนึ่งวา “กอกตา บอด” (Blind cock)


76

5.14 เครื่องกวนน้ํา (Hydrokineter) ติดตั้งอยูภ ายในตอนลางหมอน้ํา มีลักษณะเปนกรวย 3 ชั้น วางซอนกันโดยมีทอทาง ตอกับทอทางไอน้ําจากหมอใบอื่นหรือหมอชวย (Donkey Boiler) และมีลิ้นปดเปดดวยมือซึ่งเปนลิ้น แบบ Stop valve & check valve มีหนาที่ทําใหน้ําในหมอเกิดการไหลวนเวียน ซึ่งจะทําใหน้ําเดือด กลายเปนไอไดเร็ว ใชในกรณีเริ่มติดไฟหมอน้ําและตองการเรงไอ เมือ่ น้ําในหมอเกิดมีกําลังดันไอสูง เทาหรือสูงกวาไอน้ําที่ใชในเครื่องกวนน้ํา ลิ้นปด – เปด ก็จะปดไดเองดวย Check valve เครื่องกวนน้ํามีประโยชนมากและนิยมใชในหมอน้ําเรือ

Weir’s Hydrokineter

5.15 เครื่องวัดกําลังดันไอน้ํา (Steam Pressure gage) ติดตั้งอยูทางดานหนาตอนบนของหมอน้ําหรือสวนที่เปนไอน้ํา ลักษณะคลายหนาปทม นาฬิกา ใชสําหรับวัดหรือบอกกําลังดันของไอน้ําภายในหมอขณะใชงาน ภายในเครื่องวัดเปนหลอด โลหะทําดวยทองแดงหรือเหล็กดัดเปนรูปครึ่ง วงกลมคลายฝกมะขามหรือรูปตัว C เรียกวา “ฝก มะขาม” (Bourdon tube) พื้นที่หนาตัดของหลอด เปนรูปไข (Oval) ปลายหลอดดานหนึง่ ตันตอกับ เฟองของเข็มวัด และจะเคลื่อนที่ไดอิสระ สวน ปลายอีกดานหนึ่งตอเขากับทอทางไอหมอน้ํา และ ยึดติดแนนอยูก ับเรือนเครื่องวัด(อยูนิ่ง) เมื่อไอน้ําที่ มีกําลังจากหมอน้ําผานเขาในหลอด หลอดนี้ก็จะ เหยียดหรือกางออก จะเหยียดออกมากนอยขึ้นอยูก ับ กําลังดัน อาการนี้จะถูกถายทอดตอไปยังเข็ม เครื่องวัดกําลังดันอีกทีหนึ่งคาที่อานไดบนเครื่องวัด กําลังดันไอน้ําชนิดนี้ จะบอกเปนปอนด/ตารางนิ้ว (1b./1n.2 หรือ psi.) หรือกิโลกรัม/ตารางเซ็นติเมตร (kg/cm.2)


77 ไอน้ําที่มีอุณหภูมิ และกําลังดันสูงที่ เขาไปดันภายใน หลอด Bourdon นาน ๆ จะทําให ความเที่ยงตรงลด นอยลง จึงไดใช น้ําแทน โดยใช หลอดโลหะดัดเปน รูปตัว U หรือ วงกลม เพื่อใชกัก เก็บน้ํา เรียกวา Typers of siphons “Water Siphon” ติดตั้งอยูระหวางหมอน้ําและเครื่องวัดกําลังดัน และมีกอกปดเปดอยูตอนลาง เมื่อเปดกอกนีไ้ อน้ําจาก หมอก็จะดันใหน้ําใน Water Siphon เขาไปในหลอด Bourdon แทน กอกนี้จะปดเมื่อจําเปน สําหรับตัวเครือ่ งวัดกําลังดันจะตองไดรับการระบายความรอนใหรอนใหเย็นพอในขณะใชงาน

5.16 เครื่องวัดกําลังดันแบบไดอะแฟรม (Diaphragm Gage) เปนเครื่องวัดกําลังดันอีกแบบหนึ่งใช สําหรับวัดกําลังดันอากาศในเตาหมอน้ํา หรือปลองไฟ เพราะสามารถวัดกําลังดัน ไดละเอียดหรือมีความไวมาก ถึงแมจะมี ดันแตกตางกันเพียงเล็กนอย ภายความใน ของเครื่องวัดแบบนี้เปนแผนไดอะแฟรม ซึ่งตอติดกับเข็มเครื่องวัด ดานหนึง่ ของ แผนไดอะแฟรมมีทอทางตอกับสวนที่จะ วัด อีกดานหนึง่ มีทอทางตอกับบรรยากาศ


78

5.17 แมโนมิเตอร (Manometer or Draft gage) เปนเครื่องวัดกําลังดัน ที่ใชสําหรับวัดกําลังดันที่มกี ําลัง ดันต่ําซึ่งสามารถวัดไดละเอียด และแนนอนดีมากใชสําหรับวัด ความแตกตางของกําลังดัน ระหวางภายในและภายนอกของ เตาและปลองไฟ ลักษณะของ เครื่องวัดเปนหลอดแกวรูปตัว U ภายในบรรจุของเหลว เชน น้ํา, น้ํามัน หรือปรอท ปลายดาน หนึ่งตอเขากับสวนที่ตองการวัด สวนปลายอีกดานหนึง่ ติดตอกับ บรรยากาศ การวัดกําลังจะวัดจากความแตกตางของระดับของเหลวในหลอดแกว คือ ถากําลังดัน ภายในของสวนที่ตองการวัดสูงกวาบรรยากาศ ของเหลวภายในหลอดดานทีว่ ัดจะต่ําลง สวน ทางดานบรรยากาศจะสูงขึ้น และถาดานที่ตองการวัดมีกําลังดันต่ํากวาบรรยากาศหรือเปนสุญญากาศ ของเหลวดานนี้ก็จะสูงขึ้น สวนดานบรรยากาศจะต่ําลง ความแตกตางของระดับของเหลวใน หลอดแกวทั้งสองดานซึ่งสวนมากบอกเปนนิ้วโดยมีเสกลขีดบอกไวบนหลอดแกว สามารถนํามา คํานวณเปนกําลังดันได คือ เปน ปอนด/ตร.นิ้ว โดยเอา ความสูงระหวางระดับของของเหลวทั้งสอง ดาน คูณดวยน้ําหนักของของเหลว เปน ปอนด/ลบ.นิว้ ก็จะเปนความแตกตางของกําลังดันของทั้ง สองดาน เปน ปอนด/ตร.นิ้ว 5.18 เครื่องบันทึกกําลังดัน (Diaparagm and Recording gage or Graphic Recording gage) เปนเครื่องวัดกําลังดันแบบไดอะแฟรม ที่ใชวัดกําลังไอน้ําในหมอ นอกจากใชวดั กําลัง ดันไอน้ําในหมอแลว ยังสามารถบันทึกกําลังดันลงในแผนกราฟตลอดเวลาที่ใชการ ซึ่งจะสามารถ ทราบการเปลี่ยนแปลงกําลังดันภายในหมออยูตลอดเวลาที่ใชงาน โดยบันทึกลงเปนเสนบนแผนกราฟ ลักษณะโดยทั่วไปก็คลายกับ เครื่องวัดกําลังดันไอน้ําโดยทั่วไป แตกลไกที่วดั กําลังดันจะสงตอไป ยังเข็มชี้ซึ่งเปนปากกา เข็มชี้ที่เปนปากกานี้จะขีดหรือบันทึกกําลังดัน ลงในแผนกราฟบนหนาปทม ซึ่งสามารถหมุนหรือเคลื่อนที่ไปได ครบรอบภายในเวลา 24 ชั่วโมง หรือในชวงเวลาหนึง่ เครื่องวัด กําลังดันแบบ Graphic Record สมัยใหมเปนแบบไฟฟา


79

5.19 ลิ้นนิรภัยหรือลิ้นปองกันอันตราย (Steam Safety Valve) ติดตั้งอยูภ ายนอกตอนบนสุดหรือสวนที่เปนไอของหมอน้ําหรือที่ Steam dome มี หนาที่ปองกันไมใหหมอน้ําระเบิดแตกเมือ่ กําลังดันสูงเกินกําหนดที่ตงั้ ไว คือเมื่อกําลังดันไอน้ําใน หมอสูงเกินกวาที่กําหนดที่ตงั้ ไว ลิ้นนีก้ ็จะทําหนาทีเ่ ปดใหไอน้ําในหมอออกทิ้ง จนกระทั่งกําลังดัน ไอลดนอยลงเทากับเกณฑใชงาน ลิ้นก็จะปดตามเดิม นอกจากจะเปดไดเองดวยกําลังดันไอน้ําแลว ยังสามารถเปดไดดว ยมือ หมอน้ําแตละใบจะตองมี Safety valve อยางนอย 1 ตัวเสมอ ถาเปน หมอน้ําขนาดใหญ หรือมีพนื้ ผิวเผารอนมากกวา 500 ตร.ฟุต อาจมีถึง 2 ตัวหรือมากกวาก็ได ทัง้ นี้ เพื่อจะไดเปดไอน้ําออกจากหมอไดเร็วขึ้น ลิ้นปองกันอันตรายแบงออกได 3 ชนิด คือ 5.19.1 แบบน้ําหนักกดหลังลิ้น (Dead Weight Safety Valve) เปนแบบเกาสวนมากใช ในโรงงานอุตสาหกรรมบนบกแบบเกา แตในปจจุบันไมนิยมใช น้าํ หนักทีใ่ ชกดหลังลิ้นจะมากนอย เทาไรนั้น คํานวณจาก พ.ท.หนาตัดของลิ้นดานที่สัมผัสกับไอน้ําและกําลังดันไอน้าํ ใชการ เชน ถาตองการใหหมอน้ํามีกําลังดันใชการ 100 psi. ลิ้นมี พ.ท. หนาทีห่ นาตัด 3 ตร. นิ้ว แรงที่ไอน้ํากระทําตอหนาลิน้ = 100 x 3 = 300 ปอนด / ตร.นิ้ว ∴ ตองใช น.น. กดหลังลิ้น 300 ปอนด ตัวอยาง หมอน้ําใบหนึง่ ใช Safety valve ที่มีเสนผาศูนยกลางหนาลิ้น 4 นิ้ว โดยทีห่ มอน้ํา มีกําลังดันใชการ 150 psi. จะตองใชน้ําหนักกดหลังลิน้ กี่ปอนด 2 3.1416 x 16 D π พ.ท. หนาตัดของลิ้น = 4 = = 12.56 4 แรงที่ไอน้ํากระทําตอหนาลิน้ = 12.56 x 150 = 1,884 ปอนด ∴ ตองใช น.น. กดหลังลิ้น = 1,884 ปอนด Ans. 5.19.2 แบบคานชั่ง (Lever Sefety Valve) เปนแบบที่ใชงายและสะดวกกวาแบบแรก เพราะไมตองเพิ่มหรือลดน้ําหนัก เมื่อตองการเปลี่ยนแปลงกําลังดันใชการหมอน้ํา เพียงแตเลื่อน น้ําหนักถวงเขาหรือออกจากตัวลิ้น ก็จะสามารถเปลี่ยนแปลงแรงกด หรือน้ําหนักที่กดลงที่ลนิ้ ได เชนเดียวกับเครื่องชั่งน้ําหนักแบบคานชั่ง สวนจะเลือ่ นเขาออกนอยเทาไรนัน้ คํานวณไดโดยใชหลัก ของคาน สวนมากใชกับหมอน้ําที่มีกําลังดันไอน้ําต่ํา ๆ (ดูรูปบนหนาตอไป) WxL = Fx1 F = แรงที่ไอน้ํากระทําตอลิ้น 5.19.3 แบบสปริงกดหลังลิ้น (Spring Loaded Safety Valve) เปนแบบที่นิยมใชมาก ที่สุด โดยเฉพาะในเรือซึ่งตองโคลงไปมาอยูตลอดเวลา เพราะสามารถทํางานไดผลแนนอน, มีขนาด เล็กกะทัดรัด ปรับแตงกําลังดันไดสะดวกโดยใชสปริงขนาดใหญเปนตัวกดลิ้นแทนน้ําหนักสําหรับ


80 คันยก (Lever) มีไวสําหรับเปดใหไอออกดวยมือเพือ่ ลดกําลังดันไอน้ําในหมอ หรือเมื่อเกิดการ ขัดของ (ดูรูปลางซาย)

5.20 ลิ้นปองกันอันตรายเมื่อกําลังดันสูงและระดับน้ําต่ํา (High pressure and Low water safety valve) เปนลิ้นปองกันอันตรายอีกชนิดหนึง่ มีหนาที่เชนเดียวกับแบบอืน่ ๆ คือเปดไอน้ําใน หมอออกทิ้งเมือ่ กําลังดันสูงเกินกําหนด นอกจากจะมีหนาที่ดังกลาวนีแ้ ลวยังทําหนาที่ปองกันอันตราย


81 เนื่องจากระดับน้ําในหมอต่าํ กวากําหนดอีกดวย โดยจะทําหนาที่เปดไอน้ําออกเพื่อเปนการเตือน เชนเดียวกัน เปนแบบที่นยิ มใชกับหมอน้ําแบบ Cornish และ Lancashire หรือหมอน้ําแบบ หลอดน้ําขนาดเล็กบนบก

5.21 หมุดอันตราย (Fusible plug) ทําหนาที่คลายกับลิ้นปองกันอันตราย คือ ปองกันอันตรายอันเกิดจากระดับน้ําในหมอ มีระดับต่ําลงจนถึงจุดอันตรายที่จะทําใหพนื้ ผิวเผารอนของหมอน้ํา เชน หองเผาไหม, ผนังเตารอน จัดจนยุบตัว ซึ่งจะทําใหหมอน้ําระเบิดแตกขึ้นได โดยปกติพนื้ ผิวเผารอนของหมอน้ําจะตองมีน้ํา ลอมรอบเพื่อถายความรอนออกจากพืน้ ผิวเผารอนอยูตลอดเวลา เมื่อระดับน้ําต่ําลงจนถึงจุดดังกลาว พื้นผิวเผารอนจะไดรับความรอนสูงมากและถายเทความรอนออกไมไดหรือไมทัน จึงออนตัวลง กําลังดันของไอน้ําในหมอจะดันใหผนังเผาหรือหองเผาไหมยุบตัวลงได หมุดอันตรายทําดวยทองเหลืองรูปเรียว และทําเปนเกลียวเพื่อยึดติดแนนกับพืน้ ผิวเผา รอน ตรงกลางของหมุดทําเปนรูโดยตลอดและทําเปนรูรูปเรียวเชนเดียวกัน แลวบรรจุไวดว ยโลหะ ผสมซึ่งมีดีบุกอยู 99 % จุดหลอมละลายของโลหะผสมนี้จะตองสูงกวาอุณหภูมิของไอน้ํา แตตา่ํ กวา แกสรอนในเตา (โลหะผสมมีจุดหลอมละลาย 445 – 450๐ F) ประกอบหรือติดตั้งอยูที่พื้นผิวเผารอน สวนที่สูงที่สุดหรือใกลระดับน้ําในหมอ เชน ผนังหองเผาไหมดานบน, ฝาหลังของหมอน้ําแบบ หลอดไฟกลับตอนบน หรือตําแหนงที่สูงกวาหลอดไฟไมนอยกวา 1 นิ้ว ดังนัน้ ดานหนึง่ ของหมุด อันตรายจะสัมผัสอยูกับน้ําในหมอ อีกดานหนึ่งสัมผัสแกสรอน แตไมอาจทําใหดีบกุ ในหมุดละลาย ไดเพราะไมถึงจุดละลายเนื่องจากถายเทความรอนออกใหกับน้ํา อุณหภูมิจึงไมถึงจุดหลอมละลาย แตเมื่อระดับน้าํ ต่ําลงกวาตําแหนงของหมุด ตัวหมุดจะอยูส ูงกวาระดับน้าํ จึงไดรับความรอนจากแกส รอนเต็มที่ และจะถายเทความรอนใหแกน้ําก็ไมได ดีบุกในหมุดอันตรายก็จะหลอมละลายปลอยให ไอน้ําพนออกทางหมุดเขาไปในเตา เพือ่ ลดกําลังดันไอน้ําลงและยังทําใหไฟในเตาดับ จึงเปนการ ปองกันไมใหหมอน้ําระเบิดแตกได

Fig. 22.37 Fusible plugs


82

5.22 เครื่องเปาเขมา (Soot Blowers) มีลักษณะเปนทอเหล็กทําดวยโลหะผสมพิเศษ (Special alloys) ที่ทนอุณหภูมิไดสูง ติดตั้งอยูภ ายในเตาใกลกับหมูหลอดน้ํา โดยแทรกอยูระหวางแถวของหมูหลอดน้ํา ที่แปบเจาะรูไว โดยรอบเปนระยะ ๆ เพื่อใหไอน้ําที่มีกําลังสูงที่ปลอยเขาไปในทอนีพ้ นออกจากรูที่เจาะไว (Nozzle) ดวยความเร็วสูงและจะเปาเขมาที่เกาะตามผิวหมูหลอดน้ําหรือสวนอืน่ ๆ ใหหลุดออก ในขณะที่ทํา การเปาเขมาจะตองเปดพัดลมใหแรงขึ้นเพือ่ ไลเขมาที่หลุดออกทางปลองไฟ หมอน้ําใบหนึ่ง ๆ จะมี เครื่องเปาหลายอัน การเปาเขมาจะกระทํามากนอยตามการใชงาน หรือตามคูมือที่กําหนดไว ถาเปน เรือขณะเดินทางเปาวันละ 2 ครั้ง หางกันครั้งละ 12 ชม. เรือจอดวันละครั้ง ถางานหนัก (Over load) จะเปาบอยครั้งขึ้นและจะตองเปาทุกครั้งที่เลิกใช เครื่องเปามี 2 แบบ คือ :5.22.1 แบบมาตรฐาน (Standard type) แบบนี้ตัวแปบเปาเขมายื่นเขาไปอยูภายในเตา ตลอดเวลา ถึงแมวาจะไมไดใชงานก็ตาม และเปนแบบที่สามารถหมุนไดรอบตัว คือ 360 องศา ตัว แปบเปาเขมาติดตั้งในแนวนอนสวนมากใชเปาหลอดน้าํ

Standard type 5.22.2 แบบยืดหดได (Retractable type) คลายแบบแรกแตขณะทีไ่ มไดใชงาน ตัว แปบเปาเขมาจะหดเขามาอยูภ ายในชองวางระหวางเปลือก หมอน้ํา ซึ่งหมุนใหเขาออกไดดว ยพวงมือ ถาเปนหมอน้ํา แบบหลอดไฟตามรูปลาง ก็จะถูกเลื่อนถอยหลังเขามาเก็บ ไวในชองวาง (Recess in Wall) ของผนังเตาซึ่งเปนอิฐ ทนไฟ ตัวแปบเปาเขมาเปนทอสั้นติดตั้งไวในทางตัง้ แต หมุนสายไปมาได ½ รอบ หรือ 180 องศา โดยคัน บังคับ (Handle) จากภายนอก


83

บทที่ 6 อุปกรณที่เกี่ยวกับเรื่องเผาไหม อุปกรณตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการเผาไหมหรือมีสวนทําใหเชื้อเพลิงในเตาเกิดการเผาไหม และ ทําใหเกิดการเผาไหมขึ้นไดอยางหมดจด ที่จะกลาวในบทนี้ไดแก 1. วัสดุทนไฟ (Refractory Materials) 2. เครื่องอุนอากาศ (Air Preheater) 3. กระแสลมเรง (Draught or Draft) 4. เครื่องบดและเครื่องปอนเชื้อเพลิง (Pulverizer and Stokers) 5. หัวพนน้ํามัน (Fuel oil Burner)

6.1 วัสดุทนไฟ (Refractory Materials) วัสดุทนไฟ หมายถึงวัสดุที่สามารถนําไปใชงานที่มีความรอนสูงได หรือทนความรอนได ณ ที่ ๆ มีอุณหภูมิสูง โดยไมหลอมละลาย, ไมออนตัวหรือเยิ้ม และแตกหัก ฯลฯ วัสดุทนไฟสําคัญ ที่จะกลาวในบทนี้ เปนวัสดุทนไฟที่อยูใ นสภาพของอิฐ สวนมากใชในงานอุตสาหกรรมตาง ๆ ที่ใช ความรอน เชน เตาถลุงโลหะ, เตาหลอม, เตาอบ, เตาหมอน้ํา, ใชทําทอทางเดินของแกสรอน, ทําปลอง, ตลอดจนใชกรุภายในเตา ฯลฯ เปนตน นอกจากจะใชวัสดุทนไฟเพื่อทนความรอนได ดังกลาวแลว ยังใชปองกันไมใหโลหะและขี้ตะกรันกัดอิฐที่ใชทําเตาดวย วัสดุทนไฟที่นํามาใชกบั เตา ไดดีจะตองมีคณ ุ สมบัติที่สําคัญ ๆ ดังนี้คือ.1. ทนความรอนที่อุณหภูมิสงู ๆ ไดโดยไมเปลี่ยนสภาพ คือเยิ้มหรือหลอมละลาย 2. รักษาความแข็งแรงไวได ณ อุณหภูมิสงู 3. ไมแตกหักหรือเปราะงาย เมื่อไดรับการกระทบกระเทือน 4. มีน้ําหนักเบา 5. มีสัมประสิทธิ์ของการขยายตัวต่ําและสม่ําเสมอ 6. ตานทานตอการเกิดปฏิกริ ิยาทางเคมี ตอตะกรัน, เถาและสารที่ไมเกิดเผาไหมที่มีอยูใน เชื้อเพลิง 7. ราคาถูก สําหรับเตาหมอน้ํา โดยเฉพาะชนิดทีเ่ ตาอยูภายนอกหมอน้ํา จําเปนจะตองใชวัสดุทนไฟ ทําผนังเตา เพราะนอกจากจะสามารถทนอุณหภูมิสูง ๆ ไดแลว ยังสามารถรักษาอุณหภูมิภายในเตา ไวไดดีคือทําหนาที่เปนฉนวนกันความรอนไมใหความรอนสูญเสีย หรือกระจายถายเทออกสูภายนอก


84 มากจนเกินไป และยังเปนตัวสะทอนความรอนภายในเตาดวย ดวยเหตุดังกลาวนี้ จึงทําใหเชื้อเพลิง เกิดการเผาไหมไดอยางสมบูรณ แตโดยทัว่ ไปวัสดุที่มีการสะทอนความรอนสูง จะไมเปนฉนวน ความรอนที่ดี ดังนั้น ผนังเตาหมอน้ําที่สรางดวยอิฐทนไฟ จึงตองสรางดวยวัสดุทนไฟหลายชนิด คือ ผนังเตาดานในสรางวัสดุที่สะทอนความรอนสูง สวนผนังเตาดานนอกสรางดวยวัสดุที่เปนฉนวนกัน ความรอน โดยทั่วไปวัสดุทนไฟที่ใชคือดินเผา, ซิลิกา, เคโอะลิน, ไดสปอร, อลูมินา ปกติจะอยูใ น รูปของอิฐ วัสดุทนไฟหรืออิฐทนไฟแบงออกได 3 ประเภทคือ 6.1.1 อิฐทนไฟประเภทกรด (Acid Refractories) วัส ดุ ท นไฟชนิ ด นี้ มี คุ ณ สมบั ติ เ ป น กรด จึ ง ต า นทานต อ ตะกรั น ที่ เ ป น กรดได ดี แต ต า นทานต อ ตะกรันที่เปนดางไดต่ํา โดยมี ซิลิกา (Si O2) เปน สวนประกอบที่สําคัญ หรือมีมากกวาสวนประกอบ อื่น ๆ คือประมาณ 95% ของสวนประกอบทั้งหมด ไดแก กานิสเตอร (Ganister) ควอรท, ดินขาว (Al2 O3 . 2 Si O2. 2H2 O) และดินทนไฟธรรมดา ซึ่งไดแกดินขาวที่ไมบริสุทธิ์ นั่นเอง


85 อิฐทนไฟชนิดที่เปนกรดและชั้นแพรหลายมากไดแก อิฐซิลิกา (Silica Brick) อิฐทนไฟ ธรรมดา (Fire Brick) ปจจุบันใชมากในเตาถลุงเหล็ก เตาทําถานโคก เตาถลุงตะกั่ว ดีบุก เหล็กหลอ ทองแดง ทอแกสรอน หองอุนอากาศและอุนเชื้อเพลิงหลังคาของเตา ฯลฯ เปนตน 6.1.2 อิฐทนไฟประเภทดาง (Basic Refractories) วัสดุทนไฟประเภทนี้ มีคณ ุ สมบัติเปนดาง จึงมีความตานทานตอตะกรันที่เปนดางไดดี แต มีความตานทานตอตะกรันที่เปนกรดต่ํา วัสดุที่ใชทําอิฐทนไฟชนิดนีส้ วนมากเปนออกไซดของโลหะ ตาง ๆ เชน เหล็กออกไซด แม็กนิเซี่ยมออกไซด ปูนขาว หินปูนโคโลไมท โครมแม็กนิไซด ไดแก อิฐแม็กนิไซด อิฐโดโลไมท็ และอิฐโครมแม็กนิไซด อิฐแม็กนิไซด ใชมากที่สุดในการทําเตาผลิตเหล็กกลา เตาเก็บเหล็กเหลว เตาเผาปูนซีเมนต ปูนขาวและเตาอุตสาหกรรมเคมีอื่น ๆ 6.1.3 อิฐทนไฟประเภทเปนกลาง (Neutral Refractories) วัสดุทนไฟชนิดนี้ ไมทําปฏิกิริยากับขี้ตะกรันชนิดเปนกรดและดางไดเลย ดังนั้นจะเลือกใช กับขี้ตะกรันชนิดใดก็ได ไดแก แกรไฟท (Graphite) โครไมท (Fe2 O3 Cr2 O3) ซิลิกอนคารไบด อิฐทนไฟเหลานี้ไดแก อิฐคารบอน อิฐโดรไมท อิฐซิลิกอนคารไบด ฯลฯ เปนตน 3.1 อิฐคารบอน เปนอิฐที่ทาํ จาก Graphite ใชแทนอิฐทนไฟธรรมดาในการทําเตาถลุงเหล็ก ขนาดใหญ ทนอุณหภูมิไดสูงกวาอิฐทนไฟธรรมดา เพราะจุดหลอมละลายถึง 3,000 ๐C ไมเปราะ ควบคุมอุณหภูมิในเตาไดดี ทนตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยางรวดเร็วได และทนตอการกัดกรอน ของขี้ตะกรันที่เปนกรดไดดี 3.2 อิฐโดรไมท ใชมากในเตาอบเหล็กแทงกอนที่จะไปทําการรีดตอไป ใชกับเตาทีม่ ีการกัด ของขี้ตะกรันมาก แตไมเหมาะกับเตาถลุงไฟฟา โดยเฉพาะเตาถลุงเหล็กกลา เพราะโครเมี่ยมในอิฐ แบบนี้จะเขาผสมกับเหล็ก ทําใหอิฐแตกไดงาย 3.3 อิฐซิลิกอนคารไบด มีที่ใชจํากัด คือไมใชทั่วไปเหมือนแบบอื่น ๆ เพราะราคาแพง สวนมากใชสรางเตาถลุงสังกะสี โดยใชทําทอกลั่นสังกะสี ซึ่งทนกวาอิฐทนไฟธรรมดา นอกจากใช ในงานเกี่ยวกับอิฐทนไฟแลวยังใชทําผงขัดสิ่งของตาง ๆ เชน กระดาษทราย หินลับเครื่องมือ หินที่ ใชในงานขัดเกลาโลหะตาง ๆ ในการเลือกใชอิฐทนไฟทําเตาหรือบุเตา จําเปนจะตองพิจารณาถึงคุณสมบัติของวัสดุทนไฟ และตะกรันที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนตัวทําใหอายุใชการของอิฐทนไฟหรือเตาสั้น ปจจัยสําคัญอีกอันหนึ่งคือ ความตานทานตอการเปลี่ยนแปลงทางอุณหภูมิอยางรวดเร็ว ซึ่งจะทําใหอิฐแตกได

6.2 เครื่องอุนอากาศ (Air preheater or Air heater) เปนอุปกรณชนิดที่ประกอบอยูในระบบของเตา ของหมอน้ําสมัยใหมหรือหมอน้ําขนาดใหญ มีหนาที่อุนอากาศที่สงเขาเตาใหรอนขึ้น ซึ่งจะมีผลทําใหเชื้อเพลิงเกิดการเผาไหมหมดจดสมบูรณดี


86 ขึ้น ความรอนที่ใชทําการอุนอากาศนี้ก็ไดจากแกสรอนภายในเตานั่นเอง ซึ่งปกติจะตองถูกปลอย ออกทิ้งไปโดยเปลาประโยชน เครื่องอุนอากาศถาแบงออกตามวิธีการถายเทความรอนจากแกสรอนใหอากาศที่จะอุนแลว แบงออกได 2 แบบ คือ :1. แบบ Recuperative เครื่องอุนอากาศแบบนี้ ความรอนจากแกสรอนจะถายเทใหกับอากาศ ที่จะอุนไดโดยตรงและติดตอกันตลอดเวลา ซึ่งถาแบงออกตามลักษณะการสรางแลวจะแบงออกได 2 ชนิดคือ :1.1 แบบแผน (Plate-type preheater) เปน แบบที่นิยมใชกันมากที่สุด ลักษณะเปนรูปกลอง หรือหีบสี่เหลีย่ มขนาดใหญภายในแบงเปนชอง ๆ หลายชองดวยแผนเหล็กเรียบหลายแผน โดยวาง ขนานกันไป แกสรอนจากเตาที่จะนํามาอุนและ อากาศที่จะเขาเตาจะถูกบังคับใหเดินตามชอง เหลานี้สลับกันไป แตจะไมผสมคลุกเคลาหรือ ปะปนกันไดความรอนจากแกสรอนจึงถายเทใหกับ อากาศไดโดยผานทางแผนเหล็กเหลานี้ตลอดเวลา 1.2 แบบหลอด (Tubular type preheater) ลักษณะการสรางคลายหมอดับไอ คือ เปนรูปทรง กระบอกกลมยาวขนาดใหญ ภายในเปนหมูหลอด ติดตั้งตามความยาวหรือในทางตั้ง สําหรับใหแกส รอนจากเตาเดินผานจากดานบนลงดานลางแลว ออกปลอง สวนอากาศที่จะสงเขาเตาจะเขาทาง ดานขาง ตอนลางขึ้นสูดานบน โดยที่อากาศเดินอยู ภายนอกรอบ ๆ หลอด ความรอนจากแกสรอน ภายในหลอดจึงถายเทความรอนใหกับอากาศที่เดิน อยูภายนอกรอบหลอดได 2. แบบ Regenerative เครื่องอุนอากาศแบบนี้ความรอนจากแกสรอนจะไมถายเทใหอากาศ โดยตรงเหมือนแบบแรก การถายเทความรอนจะเปนแบบการพาความรอนโดยอาศัยพื้นผิว หรือแผน พาความรอน (Convection Surface) อันเดียวกันเปนตัวรับความรอนจากแกสรอน แลวจึงหมุนหรือ เคลื่อนที่ไป เพื่อนําความรอนไปถายเทใหอากาศที่พัดผานเขาเตาอีกทีหนึ่ง ดังนัน้ แผนพาความรอนนี้ จึงไมรอนตลอดเวลาเหมือนแบบแผนและแบบหลอดที่กลาวมาแลว ซึ่งจะมีแกสรอนผานอยูเสมอ ตลอดเวลา แผนพาความรอนแบบหมุนนี้จึงมีอุณหภูมสิ ูงขึ้นแลวก็เย็นตัวลงสลับกันไปตลอดเวลาที่


87 หมุนหรือทํางาน แตอากาศที่พัดผานเขาเตาจะถูก อุนใหรอนอยูเสมอตลอดเวลาที่ทํางาน (ดูรปู หนา ตอไป) ขอดี ของเครื่องอุนอากาศ 1. ทําใหเชื้อเพลิงเผาไหมหมดจดขึ้น

2. ประหยัดเชือ้ เพลิง 3. ใชเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพต่ําได 4. ประสิทธิภาพของหมอน้ําดีขึ้น หรือ สามารถลดขนาดของหมอน้ําใหเล็กลงได 5. ชวยลดความชื้นของถานหิน

6. ลดเขมา

แบบ Regenerative


88

6.3 กระแสลมเรง (Draught of Draft) คือกระแสลมจากภายนอกเตาหรือภายนอกหมอน้ํา ทีพ่ ัดผานเขาตา เพื่อชวยทําใหเชื้อเพลิง ในเตาเกิดการเผาไหมหมดจดสมบูรณและเกิดการเผาไหมรุนแรงขึ้น ซึ่งจะมีผลทําใหน้ําในหมอน้ํา เดือดกลายเปนไอเร็วขึ้นและเปนการประหยัดเชื้อเพลิงดวย กระแสลมเรงแบงออกได 2 ชนิดคือ :1. กระแสลมเรงธรรมชาติ (Natural Draft) แบบนี้กระแสลมจากภายนอกเตาจะพัดผานเขา เตาเพื่อชวยในการเผาไหม แลวผานออกทางปลองไดเองโดยไมตองใชกําลังจากภายนอกหรือพัดลม ชวยดูดหรือเปา การไหลวนเวียนของอากาศเขาเตาไดเองโดยธรรมชาติน้ี เกิดจากความกดดันของ บรรยากาศที่ไมเทากันนัน่ เอง คือเมื่อเชื้อเพลิงในเตาเกิดการเผาไหม อากาศภายในเตาและทีโ่ คน ปลอง ซึ่งมีอุณหภูมิสูงจะขยายตัวลอยขึ้นสูดานบนออกทางปลอง จึงเกิดความกดอากาศต่ําหรืออากาศ เบาบางขึ้นภายใน อากาศภายนอกที่มคี วามหนาแนนสูงกวาหรือเย็นกวาจะเขาแทนที่ จึงเกิดการ ไหลเวียนของอากาศหรือกระแสลมเรงขึ้นได กระแสลมเรงธรรมชาตินี้ควบคุมไมได อัตราการเผา ไหมของเชื้อเพลิงจึงเกือบคงที่ แตอยางไรก็ตามกระแสลมเรงธรรมชาติก็จะยังสามารถทําใหเกิดมาก ขึ้นไดโดยการทําใหปลองสูงขึ้น กระแสลมเรงธรรมชาติสวนมากใชกับหมอน้ําแบบเกาทีจ่ ายกําลังออกไมมากเกินไป หรือกับ หมอน้ําที่ไมคอ ยมีการเปลี่ยนแปลงภาระมากนัก จึงไมเหมาะกับหมอน้ําสมัยใหมโดยเฉพาะหมอน้ํา เรือรบในปจจุบัน 2. กระแสลมเรงกล (Mechanical Draft) เปนกระแสลมจากภายนอกทีพ่ ัดผานเขาเตาเชนเดียวกับแบบธรรมชาติ แตแบบนี้เปนแบบที่ ทําใหเกิดมากขึ้น โดยใชพดั ลมเปาเขาเตา หรือดูดควันออกจากปลองเพื่อทําใหเกิดกระแสลมเรงมาก ขึ้นหรือใหอากาศเขาเตามากขึ้น และจะมีผลทําใหเชื้อเพลิงในเตาเกิดการเผาไหมมากกวาปกติ ปกติน้ํามันเตา 1 ปอนด จะตองใชอากาศชวยในการเผาไหมประมาณ 17 ปอนด (มากกวา ถานหิน) ดังนัน้ ถาตองการจะใหเชื้อเพลิงในเตาเกิดการเผาไหมมากขึน้ และรวดเร็วขึ้น เชน ในหมอน้ํา แบบเรงเร็วหรือเมื่อตองการเรงไอเนื่องจากภาระสูงขึ้น ก็จะตองใชอากาศมากยิ่งขึ้นและอาจสูงถึง 40,000 ลบ. ฟุต/นาที ซี่งกระแสลมเรงแบบธรรมชาติ ไมอาจจะทําได กระแสลมเรงกลนิยมใชกับหมอน้ําสมัยใหม หรือหมอน้ําที่ตองมีการเปลี่ยนแปลภาระอยู เสมอหรือหมอน้ําที่ตองรับภาระมาก ๆ กระแสลมเรงแบบกลถาแบงตามลักษณะของการทําใหกระแส ลมเขาเตาแลวแบงได 2 แบบ คือ :ก. แบบ Force Draft ทําไดโดยใชพัดลม (Blower) สูบลมจากภายนอกอัดเขาไปในเตาแลว ออกทางปลอง จึงเกิดกระแสลมเรงขึ้นได ข. แบบ Induce Draft เปนแบบที่ใชพดั ลมเชนเดียวกันแตทําหนาที่ดูดควันออกจากปลอง โดยติดตั้งอยูระหวางปลองกับหองควัน วิธีนี้จะทําใหเกิดความกดอากาศต่ําอยางมากขึ้นที่ตอนลาง


89 ของปลองอากาศจากภายนอกที่มีกําลังดันสูงกวาก็จะวิ่งเขาแทนที่ทางประตูเตา จึงเกิดกระแสลมเรง ขึ้นได กระแสลมเรงแบบกล คือ แบบ Force Draft และ Induced Draft ทั้งสองนี้แบงออกได ดังนี้คือ :2.1 แบบหมอน้ําปดทึบ (Closed fire room) แบบนี้ประกอบดวยพัดลม (Blower) 1 ตัวหรือมากกวา ทําหนาที่สูบอากาศจากภายนอก สงเขาหองหมอน้ํา (Boiler room) ซึ่งปดทึบอากาศรั่วเขาออกไมได นอกจากผานเขาทางเตาแลวออก ทางปลอง กําลังดันอากาศภายในหองหมอน้ําจะมีกาํ ลังดันสูงกวากําลังดันภายนอก ดังนัน้ อากาศ ภายในหองหมอน้ํา ซึ่งมีกาํ ลังดันสูงกวาบรรยากาศภายนอก จะพัดผานหรือสงเขาเตาออกทางปลอง ดวยความเร็วสูงตลอดเวลา จึงเกิดกระแสลมเรงขึ้นได ที่ประตูทางเขาออกหองหมอน้ําจะตองทําเปน 2 ชั้น เพื่อปองกันไมใหอากาศภายในหองหมอน้ํากระโชกหรือผานออกทางประตูขณะเปดประตูหอง หมอ ซึ่งจะทําใหเปลวไฟในเตาแลบออกนอกหมอ และเกิดอันตรายขึน้ ได กระแสลมเรงแบบปดหองหมอทึบเปนแบบเกาไมนิยมใชในปจจุบนั แตกย็ ังคงมีใชอยู บางในเรือ 2.2 แบบกระแสลมดูด (Suction or Induce Fraft) ประกอบดวยพัดลม (Blower) 1 ตัวติดตั้งอยูระหวางหองควันหรือทอทางออกจากหมอน้ํา กับปลองหรือบริเวณโคนปลอง ทําหนาทีด่ ูดควัน และแกสรอนภายในเตาออกทางปลองดวยความเร็ว สูง จึงเกิดความกดอากาศต่ําขึ้นภายใน อากาศจากภายนอกจึงพัดผานเขาเตาและเกิดกระแสลมเรง ขึ้นได 2.3 แบบเปลือกหนาหมอน้ํา 2 ชั้น (Double – front force Draft) คลายแบบหองหมอปดทึบ คือประกอบดวยพัดลม (Blower) 1 ตัวทําหนาที่ดดู อากาศจาก ภายนอกหรือภายในหองหมอสงเขาเตา แตหองหมอน้ําไมไดทึบ ประตูเตาหรือดานหนาหมอน้ําทํา เปน 2 ชั้น ชั้นนอกปดทึบขณะทํางาน สวนชั้นในทําเปนชองรูปกรวย เพื่อใหอากาศจากพัดลมเปา ผานเขาเตาไปออกปลองและเกิดกระแสลมเรงขึ้นได โดยที่กําลังดันภายนอกหองหมอและภายใน หองหมอเทากันซึ่งไมทําใหเกิดอึดอัดเหมือนแบบปดหองหมอทึบ 2.4 แบบเปลือกหมอน้ํา 2 ชัน้ (Double case boiler force Draft) คลายแบบหองหมอ 2 ชั้น ประกอบดวยพัดลม (Blower) 1 ตัวติดตัง้ อยูภายในหองหมอ ทําหนาที่ดดู อากาศจากภายนอกหองหมอน้ําผานเขามาทางชองวางระหวางเปลือกหมอ เนื่องจากทํา เปน 2 ชั้น จากนี้จึงเขาเตาแลวออกสูปลองตอไป นับวาเปนแบบที่ทันสมัยและนิยมใชในเรือ กําลังดัน อากาศภายในและภายนอกหองหมอน้ําเทากัน ชางจึงไมถูกรบกวน ถึงแมวาจะถูกโจมตีดวยแกสพิษ


90 2.5 แบบปดประตูรบั เถา (Closed aspshit door) คลายแบบ force Draft ทั่ว ๆ ไป แตแบบนี้ใชพัดลมเปาลมเขารังเถาใตตะกรับ แตประตู รังเถาปดทึบ โดยใหผานเขาทางเตาตามตองการ ปกติผา นรังเถาใตตะกรับ 3 สวน ทางประตูเตาหรือ บนตะกรับ 1 สวน ฉะนั้นเวลาจะเปดประตูเตาจะตองปดพัดลมกอน เพื่อปองกันไฟแลบกลับ 2.6 แบบเปดไอน้ําออกทางปลอง (Steam or Exhaust Blast) เปนกระแสลมเรงกลประเภท Irduce Draft คือชวยเปาควันออกทางปลองเพื่อทําใหเกิด ความกดอากาศต่ําขึ้นในปลอง เปนแบบที่นิยมใชกับรถไฟ โดยใชไอน้ําจากหมอน้ําหรือไอเสียปลอย หรือพนออกทางปลอง โดยผานออกทางหัวพน (Nozzle) เพื่อทําใหเกิดความเร็วสูง และเกิดกระแสลม เรงขึ้นได เปนแบบที่สิ้นเปลืองไอน้ําและเชื้อเพลิงมากจึงไมเหมาะกับเรือเดินทะเล หรือหมอน้ําทีใ่ ช ในแหลงที่หาน้ําจืดยาก


91

Double case boiler force Draft ขอดีของหมอน้ําที่ใชกระแสลมเรงกล 1. ประหยัดเชือ้ เพลิงเพราะการไหมหมดจด 2. ผลิตไอไดเร็ว จึงสามารถลดขนาดของหมอน้ําลงได 3. สามารถใชเพชื้อเพลิงที่มีคุณภาพต่ําลงไดเนื่องจากการเผาไหมหมดจด 4. ใหหมอน้ํามีกําลังสูงขึ้นเพราะผลิตไอไดเร็ว 5. ควบคุมการเผาไหมและการผลิตไอน้ําไดงายขึ้น 6. ลดความสูงของปลองลงได


92

บทที่ 7 เครื่องบดและเครื่องปอนเชือ้ เพลิงถานหิน PULVERIZERS & STOKERS ตามที่กลาวมาแลวในเรื่องเชื้อเพลิงและการเผาไหมวาเชื้อเพลิง คือ สารหรือวัตถุที่เมื่อทํา ปฏิกิริยาทางเคมี หรือรวมตัวกับออกซิเจนแลวจะเกิดการเผาไหมขนึ้ และจายความรอนออกมาได เชื้อเพลิงที่ใชกับ Steam power plant มีหลายชนิด แตแบงออกได 3 ประเภทใหญ ๆ คือ ประเภท ของแข็ง, ของเหลวและแกส เชื้อเพลิงที่สําคัญที่จะกลาวในบทนี้ คือ ถานหิน ซึ่งนับวาเปนเชื้อเพลิงที่มีความสําคัญมาก ในปจจุบนั เนื่องจากปญหาการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง และน้ํามันมีราคาสูงขึ้นมาก ดังนัน้ ใน โรงงานอุตสาหกรรมที่ใชไอน้ํา จึงหันกลับมาใชถานหินกันมากขึ้น เนื่องจากมีราคาถูกและมี เหลืออยูอยางมากมาย การเผาถานหิน การเผาถานหิน หรือการทําใหถานหินเกิดการเผาไหม เพื่อผลิตความรอนออกมาใชเผาน้ํา ใหเดือดกลายเปนไปของ Steam power plant 7.1 การผลิตความรอนของ Steam power plant 7.1.1. การเผาเปนกอน สวนมากใชกับหมอน้าํ ขนาดเล็ก หรือน้ําแบบเกา ซึ่งจะตองมีตะกรับรองรับถาน ตะกรับ จะเปนแบบอยูก ับที่ (Stationary grate) แบบเขยา (Shaking grate) และแบบตะกรับเลื่อน (Traveling grate) ก็ได แลวแตแบบและชนิดของหมอน้ํานั้น ซึ่งกลาวไวแลวในเรื่องสวนประกอบของเตา การปอนถานหินหรือสงถานหินเขาเตาแบบเปนกอนนี้ ทําไดโดยใชแรงคนตักสาดเขาเตา ซึ่งจะตองใชแรงงานและความชํานาญมาก สวนชนิดปอนดวยเครื่องมือกล (Mechanical stoker) นั้น มักใชกับเตาหมอน้ําขนาดใหญ ซึ่งจะไดกลาวตอไปในเรื่องเครื่องปอนเชื้อเพลิง (Stoker) 7.1.2 การบดละเอียด (Pulverized Coal) สวนมากใชกบั หมอน้ํา หรือ Steam power plant ขนาดใหญ หรือกับหมอน้ําสมัยใหม โดยการนําเอาถานหินมาบดใหละเอียดดวยเครื่องบดถานหิน แลวพนเขาเตาดวยหัวพนถานหิน (Coal Burners) ซึ่งทํางานไดโดยใชลมหรืออากาศเปาหรือพนใหถานหินเขาเตา วิธีนี้ถานจะเกิดการเผาไหม ไดอยางหมดจดสมบูรณ จะไดกลาวตอไปในเรื่อง เครื่องบดและหัวพนถานหิน


93 7.1.2.1 เครื่องบดถานหิน (Coal pulverizing mill or Pulverizers) เปนอุปกรณทใี่ ชสําหรับบดถานหินใหเปนผงละเอียด แลวเขาเตาดวยหัวพนถานหิน (Coal Burner) เพื่อใหเกิดการเผาไหมไดอยางหมดจดและสมบูรณ ถานหินที่บดเพื่อสงเขาเตานี้ จะตอง ละเอียดมากพอที่จะสามารถทําใหลอยอยูในอากาศหรือภายในเตาไดชวั่ ระยะเวลาหนึง่ เพื่อใหเกิดการ เผาไหม แตถานหินจะบดไดละเอียดมากนอยแคไหนนัน้ ขึ้นอยูกับ ชนิดของถานหินและความชืน้ ที่มี อยูในถานหินนั้น แตเดิมเคยมีความคิดวา ถานหินที่ถูกบดใหละเอียดเพื่อสงเขาเตานี้สวนใหญหรือ 85% จะตอง มีความละเอียดถึง 200 Mesh แตเมื่อทดลองแลวพบวาไมจําเปนจะตองละเอียดมากขนาดนั้น ที่ใชกัน สวนมากอยูระหวาง 65 – 75% ของถานหินที่บดมีความละเอียด 200 Mesh, 90% ของถานที่บดมีขนาด 100 Mesh และ 99% ของถานที่บดมีขนาด 40 Mesh ถานหินที่บดนี้ ถามีความละเอียดมากเทาไรจะมี ผลทําใหเกิดการเผาไหมดีและประหยัดมากยิ่งขึ้น แตถาหยาบมากก็จะมีผลเสีย คือ ในทางตรงขามกับ ที่กลาว เพราะถานหินจะตกลงสูตอนลางกอนที่จะเผาไหมหมด การใชถานหินบดเปนเชื้อเพลิงหรือใชเครื่องบดถานหิน สวนมากมีใชกับหมอน้ําขนาดใหญ ประเภท Central หรือ Industrail power station เชน ที่โรงจักรพระนครเหนือ แตเดิมใชถานหิน ลิกไนทบดละเอียดเปนเชื้อเพลิง ตอมาไดเปลี่ยนมาใชน้ํามันเตา (Bunker oil) เปนเชื้อเพลิงแทน แตในป 2518 ไดหันกลับมาใชถานหินลิกไนทบดละเอียดพนเขาเตาตามเดิม หมายเหตุ คําวา 200 Mesh หมายถึงตะแกรงกรองที่มีขนาดหรือจํานวนรู 200 รู ในพืน้ ที่ 1 ตารางนิว้ Coal Pulverizing mill มีหลายแบบ แตสามารถแบงออกได 2 ระบบ คือ 1. ระบบถัง (Bin or Central System) หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา “Storage System” ระบบนี้เมื่อถานหินถูกบดดวยเครือ่ งบดแลว จะถูกนําไปเก็บไวในถังเก็บกอน (คือไมพนเขาเตาโดยตรง) เมื่อตองการจะใชกป็ อนเขาเตาดวยหัว พนถานหิน โดยมีทอทางตอจากถังเก็บไปยังเครื่องปอนอีกทีหนึ่ง การทํางานของแบบ Central System เปนดังนี้คือ.ทีแรกถานหินที่เปนกอนจะถูกนําจากยุงหรือที่เก็บ (Coal Bunker) ไปยังเครื่องอบแหง (Dryer) เพื่อไลความชื้นออก แลวจึงนําเขาเครื่องบด (Coal Pulverizer) ถานหินที่บดละเอียดแลวจะถูก นําไปยังเครื่องแยก (Cyclone Separator or Dust Collector) ดวยลม (Air Stream) จากนี้จึงถูกสงไป เก็บไวยังถังเก็บ (Storage Bin) ดวยกําลังดันลม Compressed air ถานหินจาก Storage Bin นี้จะ ถูกนําสงผานทอทางไปยังหัวพนถานหินดวยลมแลวพนเขาเตาตอไป ระบบการบดถานหินแบบนี้ เปนระบบที่ยุงยาก และเกะกะเปลืองเนื้อที่มากจึงไมคอยนิยม ใชกัน


94 ขอดีของระบบถัง 1. การปอนหรือพนถานหินเขาเตาไมมีการหยุดชะงัก เนื่องจากมีถังเก็บถานหินที่บดละเอียด แลวแยกอยูตางหาก 2. สามารถควบคุมความละเอียดของถานหินที่บดได 3. เครื่องบดถานหิน จะทําการบดถานหินดวยภาระคงที่ (Constant load) ตลอดเวลาถึงแมวา ภาระของหมอน้ําจะเปลีย่ นแปลง 4. สามารถกําหนดจํานวนและตําแหนงหัวพนได

Bin or Central System ขอเสียของระบบถัง 1. เกะกะเปลืองเนื้อที่มาก เพราะตองสรางเปนโรงหนึ่งตางหาก 2. จําเปนตองใชเครื่องอบถานหิน 3. ระบบการสงถานหินยุงยากมาก 4. ราคาแพง


95 2. ระบบหนวย (Unit System) ระบบการบดถานหินของระบบหนวยนี้ นับวาเปนระบบการบดถานหินที่งา ยและไมยุงยาก เหมือนระบบถังจึงเปนที่นิยมใชกันมาก โดยเฉพาะกับหมอน้ําขนาดเล็กที่ใชถานหินบด นอกจากนี้ ยังเปนแบบทีป่ ระหยัดคาใชจายมากกวาระบบถัง การทํางานของแบบ Unit System นี้ โดยทั่ว ๆ ไปจะเปนไปดังนี้ คือ ทีแรกถานหินที่เปน กอน (Raw Coal) จากที่เก็บ (Coal Bunker) จะถูกนําไปยังเครื่องบดเพือ่ บดใหละเอียดการบดถานหิน ใหละเอียดนี้ ทีแรกเขาจะนําเอาถานหินกอน มาบดใหแตกเปนกอนเล็ก ๆ ประมาณ 3/4” กอน แลวจึงนําไปแยกเอาเศษเหล็กซึ่งอาจมีอยูในถานหินออก ดวยเครื่องแยกแมเหล็ก เสร็จแลวจึงนํามาบด ใหละเอียดดังที่กลาวแลว ตอจากนี้จึงนําสงไปยังหัวพนถานหิน (Coal Burner) โดยตรง หัวพน ถานหินก็จะพนถานหินเขาเตาใหเกิดการเผาไหม การนําถานหินบดจากเครื่องบดถานหินไปยังหัวพน ทําไดโดยใชลมจากเครื่องพัดอากาศ (Blower or fan) ความเร็วของผงถานและลมในทอทางจาก เครื่องบดไปยังหัวพนถานหินจะตองคงที่ ทั้งนี้เพื่อปองกันไมใหผงถานหินแยกตัวออกจากอากาศ ซึ่ง จะทําใหเกิดการเผาไหมไมสมบูรณ ขอสําคัญของระบบการบดถานหินแบบ Unit System นี้ก็คอื เครื่องบดถานหินจะตองสามารถ บดถานหินไดละเอียดที่สุด และจะตองมีขนาด ใหญ หรือมีความจุมาก ทีจ่ ะจายใหกับหมอน้ําได อยางเพียงพอ ขอดีของแบบ Unit System 1. ระบบการสงถานหินไมยุงยาก 2. ไมตองใชเครื่องอบถานหิน (Dryers) 3. ไมตองมีถังเก็บถานหินที่บดแลว เหมือนแบบระบบถัง 4. ไมเกะกะเปลืองเนื้อที่ 5. ราคาถูกกวาระบบถัง ขอเสียของแบบ Unit System 1. การปอนหรือพนถานหินเขาเตาใหคงทีต่ ลอดเวลา โดยไมมกี ารหยุดชะงัก ทําไดยาก 2. ภาระการทํางานของเครื่องบดถานหินไมแนนอน เพราะจะเปลีย่ นแปลงอยูเสมอตามภาระ (Varying Load) ของหมอน้าํ จึงไมสามารถทํางานไดดีทสี่ ุดตลอดเวลา 3. ขนาดและความจุของเครื่องบดถานหิน จะตองมีมากกวาแบบระบบถัง


96 7.1.2.2 หัวพนถานหิน (Coal Burners) เปนอุปกรณสาํ คัญที่ใชสําหรับเผาถานหิน เพราะสามารถทําใหถานหินเกิดการเผาไหมได อยางหมดจดสมบูรณที่สุด เนื่องจากสามารถใชกับถานหินที่มีคุณภาพต่ําไดและเปนการประหยัด จึง เปนที่นิยมใชกันมากกับ โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ หรือประเภท (Central Station) โดยการ นําเอาถานหินมาบดใหเปนผงละเอียด ดวยเครื่องบดถานหิน (Coal Pulverizer) แลวสงไปยังหัวพน ถานหิน (Coal Burner)โดยเคลื่อนตัวไปตามทอทางดวยแรงดันอากาศ (Primary air) เมื่อไปถึงหัวพนก็ จะไปพบกับทอทางอากาศอีกทอทางหนึ่ง ซึ่งมีทอทางตอรวมกันบริเวณปลายหัวพนอากาศสวนหลัง (Secondary air) นี้ จะเปนตัวพนหรือพาใหผงถานหินกระจายเขาตา และเกิดการเผาไหมขนึ้ เชนเดียวกับน้าํ มันเตา

การเริ่มติดไฟครั้งแรกของถานหินจาก Coal Burner ก็มีหลักการ หรือวิธีการ เชนเดียวกับหัวพนน้ํามัน (Oil Burner) คือตองใชเปลวไฟชวยจุดครั้งแรก (Lighing up) เปลวไฟที่ ใชจุดถานหินครั้งแรกนี้ไดจาก หัวพนแกสหรือหัวพนน้ํามัน (Auxiliary gas or Oil Burner) เมื่อ ถานหินพนเขาไปกระทบกับเปลวไฟดังกลาว ก็จะเกิดการลุกไหมขนึ้ ทันที ถึงแมวาจะไมมีปญ  หา ยุงยากในการทํางาน แตก็ตองใชชางทีม่ ีความชํานาญ เมื่อหัวพนถานหินทํางานแลวการเผาไหม ของถานหินจะเปนไปโดยอัตโนมัติ ความรอนที่เกิดจากการเผาไหมของถานหินสวนแรกหรือครั้งแรกจะเหลือสูงพอ ที่จะทําให ถานหินสวนหลัง ๆ หรือทีพ่ นออกมาทีหลังเกิดการเผาไหมตอไปได โดยไมตองใชเปลวไฟชวย ขอดีของการใชหัวพนถานหิน 1. เกิดการเผาไหมสมบูรณ 2. เกิดการเผาไหมสม่ําเสมอ 3. ความรอนจะกระจายไปทัว่ โดยไมเกิดความรอนสูงสุดเฉพาะแหง (Superhot Spot) ซึ่ง เปนอันตรายตอเตาและหมอน้ํา


97 4. สามารถควบคุมจุดที่เกิดการเผาไหม และปรับแตงรูปรางของเปลวไฟได ขอเสีย 1. สิ้นเปลืองคาใชจายในการบดถานหิน 2. เถาที่เกิดจากการเผาไหมประมาณ 60 – 70 % จะลอยออกสูอากาศภายนอกทําให สิ่งแวดลอมไมดี 3. ตองมีอุปกรณที่ใชดกั หรือเก็บเถา (Dust collector) 4. ตองมีเครื่องบดถานหิน 7.1.2.3 เครื่องปอนเชื้อเพลิงถานหิน (STOKERS) ตามที่กลาวมาแลววา การเผาเชื้อเพลิงถานหินนัน้ เราทําได 2 วิธี คือ เผาเปนกอนและโดย การบดละเอียดแลวพนเขาเตา สวนการปอนเชื้อเพลิงเขาเตาเพื่อใหเกิดการเผาไหมขึ้นภายในเตานั้นก็ ทําได 2 วิธี คือ 1. โดยใชแรงคน ทําไดโดยใชคนตักถานหินสาดเขาเตาโดยตรง ซึ่งสวนมากใชกบั โรงงาน ที่ใชหมอน้ําขนาดเล็กเทานัน้ และในปจจุบันก็ไมคอยมีหรือนิยมใชกนั เพราะจะตองใชความชํานาญ และแรงงานมาก 2. โดยใชเครื่องมือกล (Mechanical Stokers) แบบนี้เชื้อเพลิงถานหิน จะถูกปอนเขาเตาไดดว ยเครื่องกล หรือโดยอัตโนมัติ ซึ่ง ไมตองอาศัยใชแรงคนตักสาดเหมือนแบบแรกที่กลาวมาแลว สวนมากใชกับหมอน้าํ ขนาดใหญขนาด สามารถผลิตไอน้ําไดประมาณ 1,000 ปอนด ตอชั่วโมง ขึน้ ไป หรือบางทีนอยกวาก็มี การใช Stokers กับหมอน้ําจะทําใหประหยัดถานหิน เพิ่มประสิทธิภาพในการเผาไหม ถานหิน และชวยลดควันที่เกิดขึ้นจากการเผาไหม ขอดีในการใช Strokers 1. ใชแรงงานนอยกวา 2. สามารถใชถานหินที่มีคุณภาพต่ํากวาได 3. การเผาไหมหมดจดกวา 4. ประหยัดถานหินมากกวา 5. ประสิทธิภาพของเตาดีขึ้น 6. มีความคลองตัวในการทํางาน 7. มีควันนอยกวาชนิดที่ปอนดวยมือ (Hamd firing) ขอเสียในการใช Strokers 1. ตองเสียคาใชจายในการซอมแซมและการทํางานมากกวา 2. ตองเสียไอน้ําไปใชในการรับ Stroker ประมาณ 6% ของที่ผลิตได


98

7.2 ประเภทของเครื่องปอนเชื้อเพลิง เครื่องปอนเชื้อเพลิงสวนมาก ใชกับหมอน้ําขนาดใหญ ที่มีขนาดตั้งแต 200 แรงมาหมอน้ํา ขึ้นไป (Boiler horse Power) มีหลายแบบหลายชนิด แตแบงออกได 2 ประเภทใหญ ๆ คือ :- (ดูรูป Fig. 10 - 27 หนา 168 ประกอบ) 1. สโตกเกอรแบบปอนเชื้อเพลิงเขาทางดานบน (Overfeed Stokers) แบบนีเ้ ชื้อเพลิงหรือถานหินจะถูกปอนหรือสงเขาเตาทางดานบน หรือสูงกวาตําแหนงทางเขา ของอากาศที่สงเขาไปชวยในการเผาไหม นั่นคืออากาศจะผานเขาทางดานลางของถานหินแลวผานขึน้ สูดานบน แบบ Overfeed นี้ยังแบงออกได 2 วิธี คือ:1.1 แบบสายพานหรือตะกรับเลื่อน (Chain and Traveling grate Stoker) แบบสายพานหรือแบบตะกรับเลื่อนนี้บางทีเรียกวา "Conveyor Stoker" นิยมใชกับโรงงาน ตนกําลังที่ใชไอน้ําขนาดใหญ คือพวก Central Station หรือกับโรงงานอุตสาหกรรมที่ใชไอน้ําขนาด 150 แรงมาหมอน้ําขึ้นไป โดยทั่วไปประกอบดวยแผนโลหะหลายแผนตอกันเปนรูปสายพาน ลักษณะคลายสายพานของ รถแทรกเตอรหรือรถถัง สายพานนีจ้ ะทําหนาที่รับถานหินทางปลายดานหนึ่ง (ดานหนาเตา) แลว คอย ๆ เลื่อนผานเขาไปในเตาเพื่อใหเกิดการเผาไหม เมื่อสายพานนี้เลื่อนไปจนสุดทางอีกดานหนึ่ง ถานหินนีจ้ ะเผาไหมหมดพอดีและก็จะถูกปลอยทิ้งเพื่อกําจัดขี้เถาที่เกิดขึ้นไปในตัว (ดูรูป Fig.10 - 29) สายพานเลื่อนนี้จะถูกขับหรือพาใหเลื่อนไปไดดว ยเฟอง 2 ตัว และเคลื่อนที่ไปไดดวยความเร็วต่ํา ประมาณ 30 ฟุต/ตอชั่วโมง มีพื้นที่รับถานหินไดตั้งแต 25 – 600 ตารางฟุต เมื่อมีกระแสลมเรงชวยใน การเผาไหม (Force Draft) จะมีอัตราการเผาไหมโดยเฉลี่ย 20 – 35 ปอนดตอตารางฟุต / ชม. สําหรับถานหินประเภทแอนทราไซด และบิทูมัสประมาณ 30 – 50 ปอนดตอตารางฟุต / ชม.


99 ขอดีของสโตกเกอรแบบตะกรับเลื่อน 1. การทํางานไมยุงยาก เพราะอุปกรณนอย 2. การเผาไหมหมดจดดี เพราะสามารถควบคุมความเร็วของตะกรับได 3. ปริมาณของควันและเขมาที่ออกปลองนอย

Fig. 10 - 29 Principle of the conveyor stoker ขอเสีย

1. มีขีดจํากัดในการทํางาน 2. ใชกับถานหินบางชนิดไมได 3. ตองใชชางที่มีความชํานาญสูงในการควบคุมการทํางาน 4. ตองทําการบํารุงรักษาบอย 1.2 สโตกเกอรแบบกระจาย (Spreader Stokers) เครื่องปอนเชื้อเพลิงแบบนีม้ ีลักษณะการปอนถานหินคลายหัวพนถานหิน (CoalBurner) มาก คือ ถานหินจะถูกสงเขาเตาในลักษณะทําใหกระจายไปทั่วหองเผาไหมดว ยเครื่องปอนซึ่งมีลักษณะ คลายใบพัดเปนตัวหมุนวักเอาถานหินเขาเตา ตลอดเวลาถานหินที่บดเปนผงละเอียดหรือชิ้นเล็ก ๆ นี้ จะเกิดการเผาไหมขึ้นอยางรวดเร็วขณะลอยตัวอยูภายในเตา สวนถานหินที่เปนกอนจะตกลงบน ตะกรับ และก็จะเกิดการเผาไหมขึ้นขณะที่อยูบนตะกรับนี้ ซึ่งเปนแบบตะกรับเลื่อน ดังนั้น เตาแบบ นี้จึงสะอาดอยูเ สมอ เพราะตะกรับเลื่อนจะทําหนาที่นําเถาที่เกิดจากการเผาไหมออกตลอดเวลา


100 เนื่องจากวิธนี ี้ทําใหถานหินเกิดการเผาไหมไดอยางหมดจด หินที่มีคุณภาพต่ําเปนเชื้อเพลิงได จึงเปนที่นิยมใชกันมากขึ้น (ดูรูป)

และสามารถใชกบั ถาน

FIG. 4.15 Spreader-stoker reciprocating - type coal feeder and rotary distribution mechanism. (Detroit Stoker Co.) สโตกเกอรแบบกระจายประกอบดวยสวนประกอบที่สําคัญ 3 สวน คือ 1. ถังเก็บและตัวปอน (Hopper and Feeder) 2. ใบพัดสําหรับจายถานหิน (Distributor or Rotor) 3. ตะกรับ (Grate) ถังเก็บประกอบหรือติดตั้งอยูตอนบนสุด ใชสําหรับบรรจุถานหินที่จะสงเขาเตา ถัดจากถัง เก็บลงมาเปนเครื่องปอน (Feeder) ซึ่งจะทําหนาที่ลําเลียงถานหินจากถังเก็บไปยังเครื่องจายหรือสง ถานหินเขาเตา (Distributor or Rotor) มีลักษณะเปนใบพัดถูกขับใหหมุนตลอดเวลาขณะทํางาน ดวยมอเตอร ทําหนาที่หมุนเพื่อวักหรือสาด (Impet) ถานหินใหกระจายไปทั่วหองเผาไหม ขอดี 1. สามารถใชกับถานหินไดทุกชนิด 2. เหมาะกับงานที่ตองเปลี่ยนแปลงภาระ 3. ไมมีขีดจํากัดในการทํางาน หรือมีขีดจํากัดในการทํางานต่ํา


101 ขอเสีย 1. มีปริมาณเขมาและควันออกจากปลองมาก 2. ตองมีอุปกรณสําหรับดักขี้เถา (Dust Collector) ที่จะออกจากปลองสูบรรยากาศภายนอก

Fig. 141 Spreader Stoker 2. สโตกเกอรแบบปอนเชื้อเพลิงเขาทางดานลาง (Underfeed Stokers) เครื่องปอนเชื้อเพลิงแบบปอนลางนี้ การทํางานจะตรงขามกับแบบปอนบน คือ เชื้อเพลิงถานหินจะถูกปอนหรือสงเขาเตาทางดานลาง หรือต่ํากวาตําแหนงทางเขาของอากาศที่สง เขาไปชวยในการเผาไหม ตามรูป Fig. 10 - 27 หนา 168 ถานหินเหลานี้จะถูกสงเขาเตาดวยแรงดัน หรือภายใตความดัน (Under Pressure) โดยรับ อาการจาก Ram and Pusbers ซึ่งมีลักษณะคลายลูกสูบของเครื่องยนต บางชนิดเปนแบบเกลียว (Screw) ตัวดันนี้จะทําหนาที่ดันถานหินไปตามรางใหเคลื่อนตัวลําเขาไปในเตาตลอดเวลา จึงเกิดความ ดันขึ้นในถานสวนลาง ซึ่งจะทําใหถานหินสวนอื่นหรือตอนบนขยับขึน้ สวนบนได วิธีนี้จะทําใหสาร ระเหยที่มีอยูในถานหิน ระเหยขึ้นสูสวนบน จึงทําใหติดไฟไดงายขึน้ และเกิดการเผาไหมขึ้นไดอยาง สมบูรณ ถานหินที่ลุกไหมหมดแลวเปนเถาซึ่งอยูสวนบนสุด จะถูกถานหินตอนลางดันกระจายลง สูที่รองรับเถา ดูรูป Fig. 10 - 31 ถึงแมวาสโตกเกอรแบบปอนลางนี้ จะสามารถทําใหถานหินเกิดการเผาไหมไดอยาง สมบูรณก็ตาม แตก็ไมเหมาะกับถานหินที่เปนผงละเอียด เพราะจะทําใหถานหินนี้ถูกอัดเปนกอน ขณะที่ถูกอัดสงเขาเตาดวยแรงดันและถานหินเปนกองสูงหนามาก กระแสลมเรง (Draft) ที่สงเขา เตาเพื่อชวยในการเผาไหม จึงตองเปนกระแสลมเรงกล (Mechanical Draft) ที่มีความดันสูง สวนตัวดันถานหินเขาเตาก็รบั กําลังขับจากเครื่องจักรไอน้ํา หรือมอเตอรก็ได


102 การควบคุมการเผาไหมทําไดโดยการเปลี่ยนแปลงระยะชัก หรืออัตราเร็วของตัวดัน ถานหิน (Pusher) สวนอัตราหรือจํานวนอากาศที่สงเขาเตา ก็สามารถปรับใหพอเหมาะกันไดทชี่ อง อากาศเขาเตา อากาศที่สงเขาเตาเพื่อชวยการเผาไหมเชือ้ เพลิงนี้ จะผานเขาไปในเตาไดทางชองหรือ พวยรับลม (Tuyeres) ซึ่งติดตั้งอยูภ ายในเตา สโตกเกอรแบบปอนลาง แบงออกได 2 แบบดวยกัน คือ:2.1 ชนิดรางเดียว (Single - Retort underfeed Stoker) 2.2 ชนิดหลายราง (Multiple - Retort underfeed Stoker)

FIG’. 10 - 31 Multiple - retort underfeed stoker. (Courtesy Power)

Taylor Stoker - Section though fuel - bed


103

รูป Fig. 143 เปน Stoker แบบลางชนิด หลายราง ซึ่งไดแสดงใหถึงชองหรือพวยรับลม (tuyeres) รางบรรจุถานหิน และตัวดันหรือสงถานหิน (Ram and Pushers) ใหเคลื่อนขึ้นมาตามราง สวนรูป Fig. 113 เปนรูปตะกรับแบบสายพานหรือแบบตะกรับเลื่อนที่สราง ดวยแผนโลหะหลายแผนประกอบกันเขา ลักษณะคลาย สายพานรถแทรกเตอร

Fig. 143 Tuyeres and Retorts.

Fig. 133 Chain grate showing links and driving Sprocket. 7.3 ระบบการเผาไหมน้ํามันเชื้อเพลิง (Oil burning system) การเผาไหมนา้ํ มันเชื้อเพลิงที่ใชกับหมอน้าํ หรือน้ํามันเตา (Bunker Oil) ซึ่งสวนมากใช กับหมอน้ําสมัยใหม เพราะมีขอดีหลายประการตามทีก่ ลาวไวแลวในเรื่องเชื้อเพลิงและการเผาไหม ระบบน้ํามันเชือ้ เพลิงที่ใชกับหมอน้ํานี้ ประกอบดวยสวนประกอบที่สาํ คัญ ๆ คือ:-


104

1. ถังเก็บ (Storage tank) ใชสําหรับเก็บหรือบรรจุน้ํามันเปนจํานวนมาก ๆ ถังเก็บนี้จะติดตั้งอยู เหนือหรือต่ํากวาระดับพื้นดินก็ได 2. สูบน้ํามันเชือ้ เพลิง (Oil pump) ทําหนาที่ดูดน้ํามันจากถังผานเขาในระบบแลวสงเขาเตา ในกรณีที่ น้ํามันมีความหนืดสูงมากซึง่ จะไหลผานปมไดยาก น้ํามันก็จะไดรับการอุนกอน เพือ่ ใหมีความหนืด นอยลง สูบน้ํามันถูกขับใหหมุนไดดวยเครื่องจักรไอน้ําหรือมอเตอร 3. เครื่องอุนน้าํ มัน (Oil heater) ทําหนาที่อุนน้ํามันเชื้อเพลิง (น้ํามันเตา) ซึ่งปกติมีความหนืดสูง ใหมีความหนืดต่ําหรือใสขึน้ กอนที่จะสงผานหัวพนน้ํามันเขาเตา ทั้งนี้เพื่อใหน้ํามันแตกกระจายเปน ฝอยละออง (Atomized) ไดดี การอุนน้ํามันทําไดโดยใชไอน้ํารอน, หรือขดลวดไฟฟา ถาเปน หัวพนน้ํามันแบบ Mechanical Atomizer น้ํามันจะตองไดรับการอุนใหมีอุณหภูมิสงู 180 - 350 ๐F แบบใชไอน้ํา (Steam Atomized) ประมาณ 150 - 200 ๐ F 4. หมอกรองน้ํามัน (Straimers) ทําหนาที่กรองผลและสิ่งสกปรกตาง ๆ ในน้ํามันออก เพื่อไมใหเกิด การอุดตันในระบบและในทอทางหรือรูของหัวพนน้ํามันเชื้อเพลิง มี 2 ชุด คือ ชุดแรกเปนหมอ กรองหยาบ มีความละเอียด 16 – 20 mesh จะทําหนาที่กรองน้ํามันจากถังกอนสงเขาในระบบ ชุด หลังอยูระหวางทอทางจากเครื่องอุนน้ํามันกับหัวพนน้ํามัน หรือกอนที่จะเขาหัวพนเปนหมอกรอง ละเอียดมีความละเอียด 40 – 60 mesh ทําหนาที่กรองผงหรือสิ่งสกปรกตาง ๆ ที่อาจจะผานจากหมอ กรองชุดแรกเขามา เพื่อไมใหผานไปยังหัวพนน้ํามันซึ่งจะทําใหเกิดการอุดตันขื้นได 5. เครื่องมือวัดและอุปกรณที่ใชในการควบคุมตาง ๆ (Measuring Instruments and Control Equipment) ไดแกเครื่องวัดอุณหภูมิ เครื่องวัดกําลังดันน้ํามัน และลิ้นผอนกําลังดันลิ้นนี้จะทํา


105 หนาที่ลดกําลังดันภายในเครื่องกรองน้ํามันใหต่ําลง เนื่องจากเกิดการขยายตัวเพราะไดรับการอุน ให รอนขึ้น โดยจะทําหนาทีเ่ ปดระบายออก ซึ่งจะปด – เปด ดวยมือหรืออัตโนมัติ 6. เครื่องพนน้าํ มันเชื้อเพลิง (Fuel Oil Burners) ประกอบหรือติดตั้งอยูทางดานหนาหมอน้าํ หรือที่ประตูเตา ทําหนาที่ฉีดหรือพนน้ํามันให เปนฝอยละอองคลายหมอก ผสมคลุกเคลากับอากาศที่สงเขาไปชวยตามอัตราสวนที่เหมาะสมกับ น้ํามัน และเกิดการเผาไหมขึ้นภายในเตา การเผาไหมที่เกิดขึน้ นีจ้ ะมีลักษณะคลายกับการเผาไหม แกสและจะเผาไหมไดอยางหมดจด หมอน้ําใบหนึ่งจะมีเครื่องพนน้ํามันตั้งแต 3 – 9 เครื่อง ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับขนาดของหมอน้ํา หัวพนน้ํามันเชื้อเพลิงประกอบดวยสวนประกอบตาง ๆ หลายอยาง คือ หัวฉีด, เครื่อง บังคับอากาศ, ลิ้นปด – เปดน้ํามัน สวนประกอบตาง ๆ ที่ประกอบหัวฉีดเขากับทอทางน้ํามันและ อุปกรณควบคุมการไหลของน้ํามันเขาหัวฉีด แตสวนประกอบที่สําคัญไดแก 6.1 หัวฉีด (Atomizer) หรือเรียกวา “งวงพนน้ํามัน” ประกอบอยูตรงกึ่งกลางชองทางเครื่อง บังคับอากาศ โดยใหตอนปลายยื่นเขาไปในเตา มีหนาที่ทําใหน้ํามันที่ฉีดออกแตกกระจายเปน ฝอยละออง เพื่อจะไดเขาผสมคลุกเคลากับอากาศเปนเนื้อเดียวกันไดงาย และเกิดการเผาไหมไดอยาง หมดจด ตามรูป Fig. 3 – 7 เปนรูปของหัวฉีดแบบ (Mechanical Atomizer) ที่แยกออกเปนสวน ๆ ซึ่งประกอบดวยสวนประกอบที่สําคัญ ๆ คือ ก. นัตครอบปลายหัวฉีด (Tip) ทําหนาที่ยดึ แผนหนาแวน (Sprayer

Plate) ใหแนบติดกับหัวพน (Nozzle) Fig. 3 – 7 Atomizer before and after assembly ข. แผนหนาแวน (Sprayer Plate) มีลักษณะเปนแผนเหล็กกลมแบนทําดวย Chrome nicket stell ตรงกลางเจาะรูเล็ก ๆ เพียงรูเดียว (Orifice) ทางดานหลังของแผนหรืออีกดานหนึ่งของ แผนหนาแวนเซาะทําเปนแองเวารูปทรงกลมเรียกวา “Atomizing Chamber” บนแผนหนาแวนรอบ ๆ Atomizing Chamber เซาะทําเปนรอง (Tangential Slot) หลายรอง โดยมีแนวสัมผัสกับ Atomizing Chamber น้ํามันจาก Nozzle จะผานทางรองเหลานี้ไปยัง Atomizing Chamber น้ํามันที่ผานออก จึงหมุนกระจายออกเปนรูปกรวยเขาเตา แผนหนาแวนนี้เปนตัวทําใหน้ํามันแตกกระจายเปนฝอย ละออง


106 ค. หัวพน (Nozzle) ประกอบอยูระหวางกระบอกฉีดกับแผนหนาแวนหรือถัดจากหนาแวน ออกมา ทําหนาที่เปนตัวน้ํามันจากกระบอกฉีดสงใหแผนหนาแวน โดยเจาะเปนรูน้ํามันหลายรูตลอด ความยาว สวนทางปลายดานที่ติดกับแผนหนาแวนเซาะเปนรองไวโดยรอบ ง. กระบอกฉีด (Barrel) มีลักษณะเปนทอเหล็กกลมยาวปลายทั้งสองทําเปนเกลียวทางปลาย ดานหนึง่ ยึดติดกับ Nozzle, Sprayer Plate และ Tip สวนอีกดานหนึ่งยึดติดกับคอหานหรือขอตอ (Goose Neck or Coupling) ความจุของหัวฉีดหรือจํานวนน้ํามันที่ฉีดออกตอชั่วโมง จะมากนอยขึ้นอยูก ับกําลังดันของ น้ํามันและขนาดรูในแผนหนาแวน (Orifice) ซึ่งหัวฉีดมีขนาดความจุตั้งแต 150 – 5000 ปอนด/ชม. ถาภาระเปลี่ยนแปลงไมมากก็สามารถปรับแตงจํานวนน้ํามันได โดยการเปลี่ยนแปลงกําลังดันของ น้ํามันซึ่งทําไดงาย แตถาภาระเปลี่ยนแปลงมากก็ทําได โดยการเปลี่ยนขนาดของหนาแวน แตถา เปนหมอน้ําขนาดใหญที่มีเครื่องพนน้ํามันหลายอัน เชน ขนาดจํานวน 9 เครื่อง ก็สามารถเพิ่มหรือ ลดภาระไดโดยเพิ่มหรือลดจํานวนเครื่องพนน้ํามัน การทําใหน้ํามันแตกกระจายเปนฝอยละอองนั้นสามารถทําได 3 วิธี ดังนั้น หัวฉีด (Atomizers) จึงแบงออกได 3 ชนิดคือ:6.1.1 ชนิดใชไอน้ํา (Steam Atomizer or Steam Jet) เปนแบบที่ไมตองใชกําลังน้าํ มันสูงมากนัก เพราะใชไอน้ําจากหมอน้ําที่มีกําลังดัน และอุณหภูมิสงู เปนตัวชวยทําใหน้ํามันแตกกระจายเปนฝอยละออง ซึ่งจะเปนฝอยละอองไดดี อัตรา การเผาไหมของน้ํามันหรือจํานวนน้ํามันที่สงเขาเตามีขนาดตั้งแต 500 – 3500 ปอนด/ชม. โดยไม ตองเปลี่ยน Spray pate โดยใชกําลังดันไอน้ําตั้งแต 20 – 70 psi. และกําลังดันน้ํามันตั้งแต 100 – 140 psi. ถาการใชงานหมอน้ําเปนไปดวยดีและถูกตอง จะสิ้นเปลืองไอน้ําในการใชหัวพนชนิดนี้ ประมาณ 1% ของไอน้ําทั้งหมดที่ผลิตได ถาไอน้ํามีกําลังดันต่ํามากหรือเปนไอเปยกความหมดเปลือง ไอน้ําจะมีมากขึ้น หัวฉีดน้ํามันชนิดใชไอน้ํานิยมใชกับโรงงานอุตสาหกรรมบนบก หรือกับแหลงทีห่ า น้ําจืดไดงาย จึงไมนยิ มใชกบั เรือ 6.1.2 ชนิดใชอากาศ (Air Atomizer) คลายแบบใชไอน้ํา แตใชอากาศอัดที่มีกําลังดันสูงเปนตัวชวยทําใหน้ํามันแตก กระจายเปนฝอยละอองแทนไอน้ําหลักการทํางานโดยทั่วๆ คลายกันมากไมนยิ มใชในเรือหรือแหลงที่ หาน้ําจืดยากเพราะเปลืองไอน้ํา เนื่องจากตองใชเครื่องจักรไอน้ําเดินเครื่องอัดลม และยังเปนการ เกะกะเปลืองเนื้อที่อีกดวย หมายเหตุ หัวฉีดน้ํามันแบบใชไอน้ําและอากาศ มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา ”Spray Burners” และในหัวฉีดน้ํามันบางชนิดเปนทั้งแบบใชไอน้ําและอากาศรวมกัน


107

หัวพนแบบใชไอน้าํ และอากาศรวมกัน 6.1.3 แบบใชกาํ ลังดันของน้ํามันเอง (Mechanical Atomizer) เปนแบบที่นยิ มใชกันมากในแหลงที่หาน้าํ จืดยากหรือในเรือ เพราะเปนแบบที่ สามารถทําใหน้ํามันเปนฝอยละเอียดไดดีโดยไมตองใชไอน้ํา หรืออากาศอัดตามทีก่ ลาวแลว ซึ่งมี ขอเสีย หลายอยาง คือ เปลืองไอน้ํา, เกิดความชืน้ ขึ้นภายในเตา ซึ่งจะทําใหเกิดการผุกรอนขึ้น ได ถาเปน ไอเปยกเปลวไฟอาจดับได, เกิดเสียงดัง ฯลฯ เปนตน กําลังดันของน้ํามันทีใ่ ชมี กําลังดันตั้งแต 150 - 1,000 psi. ซึ่งแลวแตแบบและความจุของหัวฉีด แตสวนมากใชกําลังดัน ตั้งแต 150 - 350 psi. น้ํามันที่มีกําลังดันสูงนี้จะผาน Nozzle ไปยัง Sprayer Plate แลวแตกเปน ฝอยละอองเขาเตาซึ่งไดกลาวแลวในหัวขอ 6.1

Mechanical Atomizer


108 หัวพนเริ่มติดไฟ (Lighting – up Burner) เปนหัวพนน้ํามันเชื้อเพลิงอีกชนิดหนึ่ง ที่ใชสําหรับจุดติดไฟหมอน้าํ ครั้งแรกหรือเมื่อยังไม มีไอน้ํา ทั้งนี้เพราะน้ํามันเตาที่ใชกับหมอน้ํา เปนน้ํามันที่มีความหนืดสูงจะจุดใหลุกไหมในหัวพน น้ํามันไดจะตองอุนใหรอนกอนดวยไอน้ําหรือขอลวดไฟฟา แตน้ํามันเชื้อเพลิงทีใ่ ชกับหัวพนเริม่ ติด ไฟเปน น้ํามันที่มีความหนืดต่ําหรือใส เชน น้ํามัน High Speed ที่ใชกับเครื่องยนตดีเซล ซึ่ง มีจุดวาบไฟและติดไฟต่ํากวาน้ํามันเตา มาก จึงติดไฟไดงายเพียง แตทําใหเปน ฝอยละอองแลวใชเปลวไฟ หรือประกาย จาก การสะปาก (Electricspark) เขาไป ใกล ก็จะเกิดการลุกไหมขนึ้ ได การใช หัวพนเริ่มติดไฟ จะตองใชไปจนกระทั่ง เกิดไอน้าํ สามารถใชอุนน้ํามันหรือ เดินเครื่องอัดอากาศได ก็เปลี่ยนมาใชหัวพนใชการตอไป ลักษณะของหัวพนเริ่มติดไฟ ก็คลายกับหัวพนน้ํามันทัว่ ไปแตทอทางน้ํามันจากปมที่จะตอ เขากับหัวพนจะยื่นเขาไปในเตาหรือดานหนาของหัวพนกอน ทั้งนี้เพื่อใหเปลวไฟจากหัวพนชวยอุน น้ํามันในทอทางของตัวเองใหรอน จึงเผาไหมไดดีและเกิดควันนอย (ตามรูป) 6.2 เครื่องบังคับอากาศ (Air Register) ติดตั้งอยูทางดานหนาหรือที่ประตูเตา มีหนาที่บังคับอากาศจากภายนอกหรือจากพัดลม ของกระแสลมเรงกล (Mechanical Draft) ที่สงเขาเตาใหเกิดการหมุนเหวี่ยงตัวดวยความเร็วสูง เพื่อทําใหอากาศและฝอยน้ํามันผสม คลุกเคลาเปนเนื้อเดียวกัน ซึ่งจะทําใหเกิดการเผาไหมหมดจด ตามรูป Fig 3 – 8. แสดงใหเห็นถึงการติดตั้งและสวนประกอบตาง ๆ ของเครื่องบังคับอากาศ ซึ่ง ประกอบดวนสวนประกอบที่สําคัญคือ.6.2.1 ประตูลม (Air door) ทําหนาทีเ่ ปด – ปดอากาศที่สงผานเขาเตาหรือเครื่อง บังคับอากาศ ซึ่งปกติจะเปดเต็มที่ หรือปดสนิท (Fully open or fully closed) คือเมื่อประตูลมเปด อากาศจากภายนอกจะวิ่งผานเขาไปดวยความเร็ว แลวเกิดการหมุนเหวี่ยงตัวดวยกรวย กระจายลม (Diffuser plate) และจะปดไมใหอากาศเขาเมื่อปดน้ํามันเขาหัวฉีดหรือเมื่อดับไฟเลิกใชหมอน้ํา 6.2.2 กรวยกระจายลม (Diffuser plate) มีลักษณะเปนรูปกรวยหรือคลายจานทํา ดวยแผนเหล็กเจาะเปนชอง ๆ เพื่อใหอากาศจากประตูลมที่ผานไปเกิดการหมุนเหวีย่ งตัว (Whirling motion) เพือ่ ผสมคลุกเคลากับละอองน้ํามันจากหัวฉีดในขั้นแรก อากาศจากภายนอกที่ผานกรวย กระจายลมเขามาแลวนี้เรียกวา “Primary air” นอกจากนีย้ ังเปนตัวชวยปองกันการแลบกลับของ เปลวไฟจากหัวฉีดอีกดวย


109 6.2.3 แผนกั้นหรือครีบบังคับอากาศ (Air foil) มีลักษณะเปนแผนเหล็กจํานวนมากติด ตั้งอยูที่ทอทางอากาศดานในถัดจากกรวยกระจายลมเขาไปทําหนาที่เปลี่ยนทิศทางการไหลของอากาศ จากกรวยกระจายลมหรือ primary air ใหเกิดการหมุนเหวี่ยงตัวมากขึ้น ซึ่งทําใหละอองน้ํามัน และอากาศผสมคลุกเคลากันดียิ่งขึ้น อากาศที่ผานครีบบังคับอากาศเขามานี้เรียกวา “Secondary air” 6.2.4 กระบอกสวมหัวฉีด (Distance piece) มีลักษณะเปนทอเหล็กกลมยาวประกอบอยู ที่ประตูเตา ปลายดานในยึดติดกับกรวยกระจายลม อีกดานหนึ่งติดกับประตูเตา ทําหนาที่หอหุมหรือ รองรับหัวฉีด หัวฉีดจะสวมอยูห รือเคลื่อนไปมาอยูภ ายในทอนี้ หัวฉีดใดที่ไมไดใชกจ็ ะเคลื่อน เขามาอยูในทอนี้เพื่อปองกันหัวฉีดสกปรก เนื่องจากเขมาจับ


110

บทที่ 8 น้ําเลี้ยงหมอน้ํา (BOILER FEED WATER) 8.1 น้ําเลี้ยงหมอน้ํา (Boiler feed water) น้ําเลี้ยงที่ใชกบั หมอน้ําแบงออกได 3 ลักษณะ คือ :1. น้ําในหมอ (Boiler water) หมายถึงน้ําที่ตกคางอยูภายในหมอน้ํา น้ําในหมอนี้จะตองรักษาใหสะอาดดวยสารเคมี ตามที่กลาวแลว 2. น้ําเลี้ยง (Feed water) หมายถึงน้ําที่ใชสําหรับทดแทนน้ําในหมอที่สูญเสียไปเนือ่ งจากการกลายเปนไอ น้ํานี้ ไดจากการนําเอาไอเสียหรือไอน้ําที่ใชการแลวมาดับหรือกลั่นใหเปนน้ําตามเดิมดวยหมอดับไอ (Condenser) 3. น้ําอะไหล (Make up feed water) หมายถึงน้ําทีส่ ูบเขาหมอน้ําเพื่อทดแทนน้าํ ที่สูญเสียไปเนื่องจากการรัว่ ไหลตาง ๆ ถา เปนในเรือโดยเฉพาะเรือรบจะไดจากเครื่องกลั่นน้ํา จึงไมจําเปนตองรักษาใหสะอาดกอนดวยสารเคมี แตถาไดจากแหลงน้ําจืดจากธรรมชาติ จะตองนํามาทําใหสะอาดเสียกอน เพราะน้ําสะอาดบริสุทธิ์ ไมไดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งจะไดกลาวตอไป 3.1 น้ําฝน ไดจากธรรมชาติ ยังไมจดั วาเปนน้ําบริสุทธิ์ เพราะยังมีฝุนละอองและแกสตาง ๆ เจือ ปนอยู ไดแก N2, O2, CO2 และจากการที่ฟาแลบอาจมี NH4 NO3 และอาจมีเขมาละลายปนอยูด วย ดังนั้นฝนที่ตกลงมานาน ๆ จะสะอาดกวาเมื่อเริ่มตก 3.2 น้ําในแมน้ํา น้ําในแมน้ํานีร้ วมถึงน้ําในบอ, ทะเลสาบและในคลองดวย น้ําเหลานี้กค็ ือน้ําฝนนั่นเอง ที่ไหลผานดินและภูมิประเทศมาเปนน้ําดังกลาว ดังนั้นน้ําในแมน้ํานีจ้ ะมีสิ่งสกปรกละลายเจือปนอยู มาก เชน ไบคารบอเนตของ Ca, Mg, Fe และเกลือ พวกทีไ่ มละลายน้ํา คือ พวกสารแขวนลอย ไดแก โคลน, ดิน, ทราย เปนตน


111

3.3 น้ําพุ ผิดกับน้ําในแมน้ําลําคลอง คือ อยูใตดินและถูกกรองดวยดินอีกชั้นหนึ่ง มีเกลือแร ปนอยูมาก และมีสารอินทรียซึ่งอาจเปนกรดตาง ๆ 3.4 น้ําทะเล เปนน้ําทีม่ ีสารละลายเจือปนอยูมาก และมากกวาน้ําชนิดอื่น ๆ ทีก่ ลาวมาแลว สารตาง ๆ ทีป่ นอยูในน้ําทะเลเหลานี้เปนตัวทําใหเปนน้าํ กระดาง ซึ่งจะเปนอันตรายรายแรงมากตอ หมอน้ําและจะตองลบลางดวยวิธีเคมี สารที่สําคัญที่ละลายอยูในน้ําทะเลไดแก

Sedium Chloride (Na Cl) Magnisium Chloride (Mg Cl2) Magnisium Sulphate (Mg2 SO4) Calcium Sulphate (Ca SO4) Potassium Sulphate (K2 SO4) Magnesium Bromide (Mg Br2) Calcium Carbonate (Ca CO3)

Parts per million (p.p. m) 27215 3807 1658 1260 865 76 121

Ibs/ton of sea Water 54.430 7.614 3.314 2.524 1.726 0.152 0.242

นอกจากนี้ยังประกอบดวย Na Br. K CI, Mg CO3, K2 CO3 และเกลือของธาตุที่หา ยากอื่น ๆ ละลายปนอยูเ ล็กนอย คําวา PPM หรือ Parts Per Million เปนหนวยทีใ่ ชวิเคราะหการละลายที่ปนอยูในน้ํา คิดเปนจํานวนสวนของสารที่ละลายปนอยูในหนึ่งลานสวนของน้ําทีต่ รวจ โดยคิดเปนน้ําหนักตอ น้ําหนัก เชน น้ําเลี้ยงที่ใชเติมหมอน้ํามีความกระดาง 1 PPM. หมายความวาน้ําเลี้ยง 1,000,000 ปอนด มีสารที่เปนความกระดางเพียง 1 ปอนดปนอยู หนวยวิเคราะหอีกอันหนึ่งคือ สมบูรณตอลานเขียนดวยตัวยอวา epm (Eguivalent per Million) คิดเปนน้ําหนักตอน้ําหนักเชนเดียวกัน แตในการวิเคราะหใชเปน PPM. ทั้งหมดก็ได 1 Grain = 0.06 Gram 1 Grain = 17.1

PPM


112 ตารางความกระดางของน้ํา ชนิดของน้ํา น้ําออนมาก น้ําออนธรรมดา น้ํากระดาง น้ํากระดางปานกลาง น้ํากระดางมาก

Total hardness (PPM. Ca CO3) นอยกวา 15 15 - 16 61 - 120 121 - 180 180 ขึ้นไป

น้ําออน (Soft water) คือน้ําที่ไมมีเกลือของ Mg, Ca และสารพวกไบคารบอเนต, คารบอเนต, ซัลเฟต, คลอ ไรดละลายปนอยูหรือมีอยูน อ ยมาก เมื่อฟากสบูจะเปนฟองไดงายและมีฟองมาก ไดแก น้าํ ฝน น้ําประปา เปนตน น้ํากระดาง (Hard water) คือน้ําที่ถูกสบูแลวเปนฟองไดยากหรือไมเปนฟองเลย คือตรงขามกับน้ําออน เพราะมี เกลือของ Mg และ Ca ละลายปนอยูม าก น้ํากระดางนี้ถานําไปใชเปนน้ําเลี้ยงกับหมอน้ําจะเปน อันตรายตอหมอน้ํามาก ซึ่งจะไดกลาวตอไป ดังนั้นกอนจะนําใช จะตองทําใหสะอาดหรือทําใหเปน น้ําออนเสียกอน น้ํากระดางแบงออกได 2 ชนิด คือ :1. น้ํากระดางชั่วคราว (Temporary hard water) คือน้ํากระดางที่มีเกลือของ Mg และ Ca คือ Mg (H CO3)2 และ C2 (H CO3)2 อยางใดอยางหนึ่งหรือทั้งสองอยาง ละลายปนอยู แกดว ยการตมสามสมการ คือ Ca (H CO3)2 + heat Ca CO3 + CO5 + H2O 2. น้ํากระดางถาวร (Permanent hard water) คือน้ํากระดางที่มีเกลือ ซัลเฟต, คลอไรด คารบอเนตและไนเตรดของ Mg และ Ca ละลายปนอยู จะแกโดยการตมแบบน้ํากระดางชั่วคราวไมได เพราะตะกรันของพวกซัลเฟตแข็งตัว มาก จึงตองแกดวยสารเคมีซึ่งจะไดกลาวตอไป หมายเหตุ น้ํากระดางถาวร มักมีเกลือของพวก SO4 สวนมาก Carbonate และ Bicarbonate ออนจึงทําใหน้ําเปนน้ํากระดางชั่วคราวและแกไดงาย


113

8.2 สารละลายคลอไรด (Soluble Mineral matter Chlorides) ในน้ําทะเลมีสารละลายพวกคลอไรด ปนอยูจํานวนมาก คือ Na CI และ Mg Cl2 สําหรับ Na CI หรือเกลือแกง มีอยูประมาณ 78 % แตไมเปนอันตรายมากเหมือนชนิดอื่นเพราะไม ทําใหเกิดตะกรัน สามารถทําใหเปนกลางไดเกือบหมด และงายตอการตรวจวัด ฉะนั้นถาตรวจพบวา มีเกลือในน้ําเลี้ยงหรือน้ําในหมอ แสดงวามีการรัว่ ไหล และอาจเปนการแสดงถึงสมรรถภาพของ เครื่องกลั่นน้ําดวย สาเหตุที่มีเกลือหรือน้ําทะเลเขาหมอไดนั้น เนื่องมาจากการรั่วไหลของระบบตาง ๆ ดังนี้ :1. หมอดับไอใหญและหมอดับไอชวย 2. เครื่องกลั่นน้ํา 3. หมอดับไอเปาแกลนด (เครื่องกังหันไอน้ํา) 4. ลิ้นโบลกนหมอรั่ว (ขณะหมอน้ําไมไดใชงาน) 5. ทางดูดของระบบน้ําเลี้ยงและทอทางระบาย ที่วางไวใตพื้นหอง 6. ตะเข็บหรือหมุดย้ําถังน้ําเลี้ยง 7. น้ําทะเลที่ใชดบั ไอในหมอดับไอ ผลที่เกิดจากโซเดียมคลอไรด (Effects of Sodium Chloride) น้ําในหมอหรือสารละลายคลอไรดจะเกิดเกล็ดเกลือ (Scale forming Salt) เกล็ดเกลือที่ เกิดขึ้นจะกอปญหายุงยากกับหมอน้ําหลายอยาง คือ เกิดเปนเกล็ดเกลือเกาะตามผิวภายในหลอดและ ภายในหมอ นอกจากนี้จะทําใหเกิดน้ําเปนฟอง (Foaming), น้ําพลาน (Cary over) น้ําเปนฝอยละออง (Priming) ซึ่งเปนอันตรายตอหลอดน้ํา, ทอไอและเครื่องจักรและยังทําใหประสิทธิภาพของเครื่องจักร จะลดลง พวกคลอไรดไมทําใหเกิดตะกรัน แตทําใหเกิดฟอง แตเมื่อทําปฏิกิริยากับพวกซัลเฟต จะกลายเปนเกลือซัลเฟตและทําใหเกิดตะกรันได เมื่อไดรับความดันและอุณหภูมิสงู จะทําปฏิกิรยิ า กับ H ในน้ํากลายเปน H CI เมื่อระเหยไปจะทําการกัดกรอนสวนตาง ๆ การเกิดฟอง (Foaming) หมายถึงการเกิดเปนฟองไอขึน้ ที่ผิวหนาของน้ําในหมอพัก ไอ สาเหตุเนื่องจากน้ําในหมอสกปรก หรือมีเกลือมาก ฟองที่ผิวหนาน้ําจะเปนตัวกั้นไมใหไอน้ํา ระเหยไปไดงาย น้ําพลาน (Priming) หมายถึงการเกิดไออยางผิดปกติและเกิดเปนจํานวนมากกระจาย อยูผิวหนาน้ํา ซึ่งจะทําใหละอองน้ําหรือความชิ้นปนไปกับไอน้ําไดงาย สาเหตุเนื่องมาจากเรงไอ ทันทีทันใด, น้ําในหมอพักไอมีมากเกินไปหรือเรือโคลง


114 ความชื้นหรือละอองน้ําที่ปนไปกับไอน้ําเนื่องจากการเกิดฟอง เพราะน้ําสกปรกนัน้ จะ ทําใหเกิดคราบปูนจับหรือเกาะติดตามทอทางไอเผา 2 ครั้งและอื่น ๆ และประสิทธิภาพของไอน้ํา ตกต่ําลง การลบลางและปองกันสารคลอไรดไมใหเกินกําหนด (Counter action and prevent exessive Chloride Content) ทําไดโดยถายน้ําในหมอออกเสียบาง แลวเติมน้ําสะอาดเขาแทน เทาจํานวนที่ถายออก การถายน้ําออกนี้ทําไดโดยเปดกอกโบลฟอง (Surface blow off Cock) เพราะสารละลายคลอไรด จะมีความเขมขนแถวบริเวณผิวหนาน้ํา อีกวิธีหนึ่งคือ ปลอยใหสารละลายคลอไรดถึงเกณฑ แลวเปลี่ยนน้ําใหมทั้งหมอ

8.3 สารละลายความกระดาง (Solution mineral matter – hardness) น้ําที่เกิดฟองสบูไดยากหรือน้ํากระดาง เปนน้ําที่มีสารละลายความกระดางปนอยูมาก สารละลายความกระดางเหลานี้ไดแกเกลือของ Ca และ Mg (Ca SO4, Mg SO4), พวกคารบอเนต (CO3) และไบคารบอเนตเปนตน Ca SO4 (แคลเซี่ยมซัลเฟต) เปนเกลือที่เปนอันตรายตอหมอน้ํามากที่สุด เพราะจะเกิด เปนคราบปูนแข็ง จับแนนภายในหลอดและเปลือกหมอ จนไมสามารถเอาออกไดดวยเครื่องมือกล Ca เมื่อรวมกับคารบอนเนตไอออนจะกลายเปน Ca CO3 ซึ่งไมละลายในน้ําและไมยึดติดแนนกับ หลอดมากนัก ลักษณะคลายโคลน จึงเปนอันตรายนอยกวา เพราะถายออกไดงาย แตถึงอยางไรก็ทํา ใหการถายเทความรอนลดลง ตะกรันของพวก SO4 และ Si O4 (ซิลิเกต) จะแข็งมาก แตพวก Carbonate และ Bicarbonate จะออน ผลที่เกิดจากความกระดาง (Effect of hardness) 1. เกิดคราบปูน (Scale) จับตามผนังหลอดและหมอน้ํา ถาหนามากจะทําใหเกิดการ ถายเทความรอนนอยลง เพราะเปนฉนวนความรอน เมื่อหลอดไดรบั ความรอนมาก จะทําใหหลอด แตกหรือละลายได 2. สิ้นเปลืองเชื้อเพลิงเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากคราบปูนดังกลาวเปนฉนวนความรอน น้าํ จะ เดือดกลายเปนไอชา จากการคํานวณพบวา ตะกรันหนา 1 / 16” เปลืองเชื้อเพลิงเพิ่มขึน้ 2 % ” 1 / 8” ” 28 % ” 1 / 4” ” 50 % 3. ตองเสียกําลังในการขับปมน้ํามากขึ้นเพราะทอทางน้ําแคบลง (ตัน) น้ําจะไหลวนเวียน ยากขึ้น ทําใหอายุใชงานของปมสั้นลง เพราะตองทํางานหนักขึ้น


115 การลบลางและปองกันความกระดาง (Counter acting and Preventing hardness) เนื่องจากน้ําทีใ่ ชสําหรับเติมหมอน้ํา, ไดมาจากแหลงน้ําตาง ๆ หลายแหง ซึ่งแตละแหง จะหาน้ําที่เหมาะสมจริง ๆ ไมได สิ่งสกปรกตาง ๆ หรือสิ่งที่เจือปนมาเหลานี้ เมื่อสะสมกันมากขึน้ ก็ จะกอตัวและเกิดเปนอันตรายตอหมอน้ํา ตามที่กลาวมาแลวจึงจําเปนตองมีการ Treatment เพื่อลบ ลางความกระดาง โดยการใชสารเคมีหมอน้ํา (Boiler Compound) จุดประสงคในการใชสารเคมี เติมลงในหมอน้ําก็คือ :1. ทําใหน้ําในหมอน้ําเกิดความเปนดาง 2. ปองกันการเกิดคราบปูน และไมใหคราบปูนจับแนน 3. ทําใหสิ่งไมบริสุทธิ์ตกตะกอน กลายเปนโคลน และถายออกไดงาย 4. ปองกันการผุกรอน เนื่องจากการเกิด Oxidation สารเคมีที่ใชเติมหมอน้ํา ไดแก Disodium phosphate (Na2 H PO4) 4 สวนโดยน้ําหนักหรือประมาณ 48 % 3 สวนโดยน้ําหนักหรือประมาณ 39 % Sodium carbonate (Na2 CO3) แปงขาวโพด (Corn starch) 1 สวนโดยน้ําหนักหรือประมาณ 13 % Disodium phosphate และ Sodium carbonate เมื่อรวมตัวกับ Calcium Sulphate จะ ทําใหเกลือหมดฤทธิ์ลงและชวยละลายตะกรันตาง ๆ ออกรวมตัวกันเปนกอน จึงไมเกิดคราบปูน Sodium Carbonate นอกจากจะมีคณ ุ สมบัติดังกลาวแลว ยังใชสําหรับปรับจํานวนดาง ของน้ําในหมอ และยังชวยละลายตะกอนที่จะกอตัวเปนเกลืออีกดวย สวนแปงขาวโพดนั้น ทําหนาที่หลายอยาง คือทําใหตะกรันที่ละลายออกเปนโคลนหรือ เปนเมือก ซึ่งทําใหเกิดการไหลตัว หรือถายออกทิ้งภายนอกหมอไดงาย, ชวยลด O2 ในน้ําคือ เมื่อ รวมตัวกับ O2 ในน้ําจะกลายเปนเมือกแลวจมลงกนหมอ โดยจะมีลักษณะเปนเยื่อบาง ๆ เคลือบตาม ผิวภายในหมอ ซึ่งเปนการปองกันไมให O2 เขาถึงเนื้อโลหะ นอกจากนีย้ ังชวยปองกันไมใหเกิด ฟองและน้ําพลาน การเติมสารเคมีหมอน้ําเขาหมอมีหลายวิธี แตที่นิยมใชในเรือโดยเฉพาะในเรือรบทําได โดยละลาย Boiler Compound ลงในทอทางดูดของสูบน้าํ เลี้ยงเขาหมอ (Feed water Pump) โดยตรง เกณฑการใชสารเคมี กําหนดใหใชสูงสุดเพียง 40 ปอนด ตอน้ํา 10,000 แกลลอน ฉะนั้นเมื่อถึงเกณฑกําหนดแลว จะตองถายออกหรือเปลีย่ นน้ําใหม

8.4 สารแขวนลอย – น้ํามัน (Suspened matter – Oil) สารแขวนลอยน้ํามัน ไดแกพวกน้ํามันหลอลื่นและน้ํามันเชื้อเพลิง ทีร่ ั่วไหลผานเขาไป ในหมอน้าํ สาเหตุที่น้ํามันรัว่ ไหลผานเขาไปในหมอน้ําได เพราะ :1. หมออุนน้ํามันเชื้อเพลิงและหมออุนน้ํามันหลอลื่นรั่ว 2. แปบไออุนน้ํามันในถังรั่ว


116 3. น้ํามันหลอลื่นจากเครื่องจักร ที่ปนหรือรวมตัวไปกับไอเสีย เมื่อไอเสีย (ไอน้ํา) กลั่นตัวเปนน้ําแลวจะถูกสูบสงเขาหมอ น้าํ มันจึงเขาหมอได ผลเสียที่เกิดจากน้ํามันเขาหมอน้ํา 1. ทําใหเกิดฟอง ซึ่งจะทําใหเกิดความชื้นปนไปกับไอน้าํ ได 2. เกิดคราบน้าํ มันจับตามผิวภายในหมอ และหลอดน้ํา เชนเดียวกับคราบปูน ซึ่งจะทํา ใหน้ําชํารุดเสียหายได 3. ทําใหเกิดการหมุนเวียนของน้ําชาลง หรือหยุดการไหลวนเวียนได เนื่องจากน้ํามัน เกาะเปนกอนกลมอุดหลอด 4. เกิดเปนกรดซึ่งจะทําใหเกิดกรดผุกรอนได การตรวจหาน้าํ มันในน้าํ ยังไมมีวิธกี ารตรวจ แตทราบไดโดยดูจากหลอดแกววัดระดับน้ํา และดูจากน้ําที่ระบาย ออกจากหมออุนน้ํามันเชื้อเพลิงและหมออุนน้ํามันหลอลื่น โดยจัดใหน้ําที่ระบายออกจากหมออุนมา รวมกันในถังตรวจ และจะตองตรวจทุก ๆ ชั่วโมง กอนจะสงไปยังถังน้ําเลี้ยง การลบลางและปองกันไมใหน้ํามันเขาหมอน้ํา 1. ใชหมอน้ํากรอง กรองน้ําเลี้ยงเขาหมอ 2. อยาสงน้ําเลี้ยงที่มีน้ํามันเขาหมอ คือถาตรวจพบในถังตรวจใหถายทิ้ง 3. ทําความสะอาดดวยเครื่องมือกล 4. ทําความสะอาดโดยการตมดวยสารเคมี (Boiling Out) สารแขวนลอย – นอกจากน้ํามัน (Suspened matter – other than oil) สารแขวนลอยเหลานี้ไดแก สนิมของโลหะตาง ๆ (Iron oxide) สิ่งสกปรกและโคลนที่ เกิดจากสารเคมีหมอน้ําและสิ่งสกปรกตาง ๆ ที่เกิดขณะซอมทําหมอน้ํา เปนตน สารแขวนลอยที่มีน้ําหนัก เชน สนิมของโลหะตาง ๆ ไมคอยเปนอันตรายตอหมอน้ํา เพราะจะไหลไปกับน้ํา และมักไปสะสมอยูในหมอพักน้ําและ Header ซึ่งถายออกไดงาย สวนสาร แขวนลอยประเภทที่มนี ้ําหนักเบา เชน แปงและสารที่เกิดจากปฏิกิริยาทางเคมี จะกระจายไปทัว่ จับ เปนคราบตามผิวภายใน เมื่อไดรับความรอนจะเปนคราบแข็ง และมีอันตรายเชนเดียวกับคราบปูน นอกจากนี้จะทําใหเกิดฟองดวย


117

Impuriy

Trouble and Limit of Tolerance in feed water Trouble Limit of Tolerance in feed water

O2 CO2 Ca, Mg, Salts Fe Si O2 Na alkalinity Total dissolved Solids in boiler water Turbidity Oil

Corrosion ” Scale

0.03 cc per liter 3 ppm. 20 (low pressure) to 2 (highpressure) ppm as Ca CO3 Scale Trace Carry over, Scale 40 (low pressure) to 5 (high pressure) pmm Embrittlement 5 ppm as CaCO3 at high press. Foam Variable at low press. Priming Foam Changing according to Boiler steam press. Sludge Sediment 5 ppm or less Foam 5 ppm or less

การลบลาง และปองกันทําไดโดยถายออก ดวยลิ้นโบลกนหมอ (Bottom blow off cock) ทุก ๆ 200 ชั่วโมงใชงานและหลังจากดับไฟหมอน้ําแลว 2 ชั่วโมง (รอใหตกตะกอน)

8.5 ลักษณะของน้ําเลี้ยง น้ําเลี้ยงที่ใชเติมหมอน้ํา ควรเปนน้ําที่สะอาด, บริสุทธิ์จริง ๆ ตามที่กลาวมาแลวใน ตอนตน ซึ่งในทางปฏิบัติจริง ๆ แลวไมสามารถจะทําได แตอยางไรก็ตาม น้ําเลี้ยงที่ใชเติมหมอน้ํา ควรเปนน้ําที่มลี ักษณะที่สําคัญ ๆ ดังนี้ คือ :1. เปนน้ําออน หรือน้ําที่บริสุทธิ์มากที่สุด ไมควรมีความกระดางเกิน 0.5 emp. (Equivalent Per million) 2. น้ําเลี้ยงที่ใชกับหมอน้ําทีม่ ีกําลังดันสูง จะตองมีความสะอาดมากกวาหมอน้ําที่มี กําลังดันต่ํา 3. น้ําเลี้ยงหมอน้ํา จะตองมีความเปนดางเล็กนอย เพื่อลบลางความเปนกรดของน้ําที่จะ เกิดขึ้นภายหลัง และเพื่อทําใหแม็กนิเซีย่ มคลอไรดซึ่งเปนเกลือที่รายแรงที่สุดของหมอน้ํา ใหเปน กลาง


118 การทําใหเปนดางนั้น ทําไดโดยเติมสารเคมีเชนโซเดี่ยมคารบอเนต (Na2 CO3) หรือ โซเดี่ยมฟอสเฟต Na2PO3 ลงในน้ําเลี้ยง แตตองอยูในพิกัด เพราะถามากไปจะกลับเปนผลเสียตอ หมอน้ํา คือจะเกิดเปนตะกรันขึ้นไดเชนเดียวกัน การทําใหน้ําเลี้ยงเปนดางดังกลาว จะชวยทําใหตะกรันแข็งประเภทซัลเฟตลดนอยลง ดวย เพราะตะกรันที่เกิดขึ้นคือ Ca CO3 เปนตะกรันที่ออนสามารถลบลางหรือนําออกไดงาย

8.6 การปองกันการเกิดคราบปูนและการทําใหน้ําเปนน้ําออน การทําใหน้ําเปนน้ําออน เพื่อปองกันไมใหเกิดคราบปูนหรือเกิดตะกอนไดนนั้ แบงออก ไดเปน 3 วิธีการใหญ ๆ คือ :1. การทําใหสะอาดกอนเขาหมอ (External Treatment) เปนการทําความสะอาดน้ําทีจ่ ะนํามาใชเปนน้ําเลี้ยง กอนที่จะสูบสงเขาหมอ การทํา ความสะอาดน้าํ กอนเขาหมอ ยังแบงออกไดหลายวิธี คือ.1.1 โดยวิธีกล (Mechanical Processes) ไดแกการทําใหใส (calarification) การทําใหตกตะกอน, การกรอง และวิธีอื่น ๆ ที่ เหมาะสม แตวิธีนี้ไมสามารถทําใหเปนน้ําออนหรือบริสุทธิ์ได 1.2 โดยวิธีเคมี (Chemical Processes) เปนการทําใหน้ําเปนน้ําออนโดยผานสารเคมี สารเคมีนี้จะทําปฏิกิริยากับความ กระดาง คือ ทําหนาที่จับอณูของซัลเฟต (SO4) คารบอเนต (CO3) และคลอไรด (CI) สารเคมีนี้คือ ซีโอไลท (Zeolite) บางทีเรียกเพอรมวิ ทิตหรือเพอรมิวไททเปนทรายธรรมชาติ แตปจจุบันสามารถทําขึ้นได จากสารประกอบโซเดี่ยม โดยทําเปนเม็ดเล็ก ๆ ที่นยิ มใชกันมาก ไดแก Na2 AI2 Si2 O8 (Na – Zeolite) เขียนยอ ๆ คือ Na2 Z แตบางชนิดที่ทําขึ้นไมมี Si อยูดว ย สารเคมีดังกลาวนี้ เมือ่ ใชไปนานตามระยะเวลาทีก่ ําหนด หรือเมื่อใชผานน้าํ ใน ปริมาณที่กําหนดแลว สารเคมีนี้ก็จะเสื่อมคุณภาพ เพราะสารประกอบของโซเดียม (Na) หมดไป แตก็สามารถทําใหกลับมีคุณสมบัติตามเดิมได โดยนําไปผานโซเดียมคลอไรด (Na CI) เหลวที่รอน และเขมขน ปฏิกิริยาทางเคมีระหวางน้ํากระดางกับสารซีโอไลทเพื่อเปนน้ําออนเปนดังนี้คือ.Ca SO4 + Na2 Z Na2 SO4 + Ca Z 2 Na H CO3 + Mg Z Mg (H CO3)2 + Na2 Z ปฏิกิริยา กับ Na CI เพื่อคืนสูสภาพเดิมเปนดังนี้ Ca Z + 2 Na CI Na Z + Ca CI2

Mg Z + 2 Na CI

Na2 Z + Ma CI2


119 การทําน้ําใหเปนน้ําออนดวยวิธีเคมี หรือดวย Zeolite นี้ สวนมากใชกับโรงงานขนาด ใหญเพราะทํางานไดผลดี 1.3 โดยวิธีใชความรอน (Thermal Processed) ไดแกการตม, การกลั่น เปนตน การตม คือ การใหความรอนแกน้ํา สามารถทําใหน้ําเปนน้าํ ออนได ถาน้ํานั้น เปนน้ํากระดางชั่วคราว การกลั่น เปนวิธีที่ทําใหน้ํา เปนน้ําออนที่บริสุทธิ์ไดดีที่สุด 2. การทําใหน้ําสะอาดเมื่ออยูในหมอ เปนการทําความสะอาดน้ําภายในหมอ ขณะที่หมอน้ํากําลังใชงานอยูหรือบรรจุเขาไป ภายในหมอน้ําแลว เพื่อปองกันไมใหน้ําในหมอสกปรก คือ มีเกลือมาก, มีความเขมขนสูง ซึ่งจะทํา ใหเกิดฟอง, น้ําพลานตามที่กลาวมาแลว การทําใหน้ําในหมอน้ํา สะอาดในขณะอยูในหมอหรือขณะใชงานนัน้ ทําได 2 วิธี คือ.1.4 โดยใชสารเคมี (Boiler Compound) ไดกลาวไวแลวในเรื่องสารละลายความกระดาง 1.5 โดยถายน้าํ ในหมอออก (Blow off) ทําไดโดยการถายน้ําในหมอออกบางสวนเมื่อตรวจพบวาน้ําในหมอสกปรกถึงเกณฑ ที่จะถายออก แลวเติมน้ําสะอาดเขาแทน เทากับจํานวนที่ถายออก หรือจะปลอยใหถึงเกณฑแลว เปลี่ยนน้ําในหมอใหมทั้งหมดก็ได

8.7 การตรวจน้ําเลี้ยงและน้ําในหมอ มีวิธีการตรวจ 4 วิธี คือ.1. ดวย Hydrometer หรือ Salinometer 2. ดวยกระดาษลิตมัส (Litmus paper) 3. ดวยไฟฟา (Electrical salinity indicator) 4. ดวยวิธีเคมี (Chemical Test) 1. การตรวจดวย Hydrometer หรือ Salinometer เปนการตรวจหาความเขมขนหรือจํานวนเกลือของน้ําในหมอน้ํา แตเปนการวัดแบบ หยาบ ๆ เทานั้น คือไมสามารถบอกจํานวนเกลือในน้ําที่แนนอนได ลักษณะของเครื่องวัดคลายลูก ลอยของเครื่องวัดความเขมขนน้ํายาแบตเตอรี่เรียกวา “Salinometer” หรือ “Hydrometer” ทําดวย ทองเหลืองหรือแทงแกว ทีล่ ูกลอยเครื่องวัดมีขีดและตัวเลขบอกไว คือ 0, 1/32, 2/32, 3/32 และขีด Blow ซึ่งอยูระหวาง 2/32 และ 3/32 ถาระดับน้ําที่ตรวจอยูที่ 0 แสดงวาน้ําทีว่ ัดเปนน้ําบริสุทธิ์ ขีด 1/32 แสดงวาน้ํามีเกลืออยู 1 สวน ในจํานวนน้ําทั้งหมด 32 สวน หรือ 5 ออนซตอน้ํา 1 แกลลอน


120 ถาอยูที่ขีด Blow แสดงวาน้ํามีเกลือสูงถึงเกณฑจะตองถายออก เครื่องวัดนีว้ ัดที่อุณหภูมิ 200๐F บางแบบเขียนเปนตัวเลขบอกไวคือ เลข 0, 5, 10, 15, 20, 25, 30 ถาระดับน้าํ ที่วัดอยูที่ขดี 10 แสดงวาน้ําทีว่ ดั มีความเขมขน 1.10 ของน้ํา บางชนิดก็บอกเปนจํานวนเกลือตอน้ํา 1 แกลลอน ซึ่ง รายละเอียดจะเขาใจไดจากคูม ือการใช 2. การตรวจดวยกระดาษลิตมัส (Litmus paper) เปนการตรวจหาความเปนกรดหรือดางของน้ําในหมอน้าํ แตไมอาจทราบจํานวนกรด หรือตางที่อยูในน้ํานั้นได จึงไมคอยนิยมใช กระดาษลิตมัสมี 2 สีคือ สีแดงและสีนา้ํ เงิน ถานํากระดาษลิตมัสสีแดงแชลงในน้ําที่มกี รดกระดาษลิตมัสจะไมเปลีย่ นสี ถาแชในน้ํา ที่เปนดางจะเปลี่ยนเปนสีนา้ํ เงิน ถานํากระดาษลิตมัสสีน้ําเงินแชลงในน้ําทีม่ ีกรด กระดาษลิตมัสจะเปลีย่ นเปนสีแดง ถา แชในน้ําที่มีดา งจะไมเปลีย่ นสี หมายเหตุ การวัดความเปนกรด – ดางของน้ํา วัดโดยคา pH ถาคา pH ที่ไดมีคาสูงกวา 7 น้ําที่วัด ไดจะมีความเปนดาง ถาต่ํากวา 7 มีความเปนกรด น้าํ ที่ใชกับหมอน้ําควรมีคา pH = 10 สําหรับน้ํา กลั่นเปน Neutral Solution จะมีคา pH value = 7 3. การตรวจดวยไฟฟา (Electrical Salinity Indicator) เปนการตรวจหาจํานวนเกลือที่มีอยูในน้ํา โดยอาศัยหลักของการเปนตัวนําไฟฟาของน้ํา ที่จะตรวจ คือน้ําที่มีเกลือละลายปนอยูจะเปนตัวน้ําไฟฟา หรือกระแสไฟฟาจะผานไดดีกวาน้ําที่ไมมี เกลือ หรือมีเกลือละลายปนอยูนอยกวา ดังนั้น เข็มชี้บนหนาปทมเครื่องวัดจะชี้สงู ขึ้นมากนอยตาม จํานวนเกลือหรือกระแสไฟฟาที่ไหลผาน โดยมีเลขบอกเปนจํานวนเกลือซึ่งจะบอกเปนเกรนตอน้ํา 1 แกลลอน สวนมากใชสําหรับตรวจน้ําเลีย้ งเขาหมอน้ํา เครื่องตรวจเกลือดวยไฟฟานี้ เปนเครื่องตรวจที่ละเอียดและมีความไวมาก ถึงแมจะมี เกลือแตกตางกันเพียงเล็กนอย เข็มก็จะชีบ้ อกใหทราบความแตกตางไดเปนอยางดี 4. การตรวจดวยวิธีเคมี (Chemical test) เปนการตรวจเพื่อหาความเปนกรด ดาง, เกลือ ความกระดาง และ Dissolved oxygen ที่มีอยูในน้ํา โดยอาศัยการเกิดปฏิกิริยาทางเคมี การตรวจโดยวิธีเคมีนนี้ บั วาไดผลแนนอนและนิยมใช กันมาก รายละเอียดตาง ๆ ศึกษาไดจากคูมือการใชในเรื่องนี้โดยเฉพาะ ในหนังสือเลมนี้จะกลาวไว พอเขาใจ 4.1 การตรวจหาเกลือ (Chloride test) น้ํายาที่ใชในการตรวจ ใชเกลือเงิน (Silver nitrate) ละลายในน้ํา ใหมีเงินไนเกรดละลายปนอยู 4 % เปนน้ํายาเรียกวา “Silver Nitrate Solution” เวลาจะตรวจหาเกลือก็หยดน้ํายานี้ลงในน้ําทีต่ องการจะตรวจแลวเขยา ถาน้ํานั้นขุน แสดง


121 วามีเกลือ แตไมทราบจํานวนเกลือ ในการตรวจทดลองหาจํานวนเกลือจะตองมีกรรมวิธีมากกวานี้ โดยใชวัดจํานวนน้ํายาที่หยดลงในน้ําที่จะตรวจก็จะทราบจํานวนเกลือได 4.2 การตรวจหากรดดาง (Alkalinity test) น้ํายาที่ใชเรียกวา Methylorange หยดลงใน น้ําที่จะตรวจ ถาน้ําเปนสีเหลืองแสดงวาเปนดาง ถาเปนสีชมพูหรือสีแดงแสดงวาเปนกรด การตรวจหาดางอีกวิธีหนึ่งโดยใช Phenolphthalein หยดลงในน้ําที่จะตรวจ 2 - 3 หยด ถาเปนดางจะเปลีย่ นเปนสีชมพู แลวใชกรดไนตริค (Nitric acid) หยดลงตอไปจนกระทั่งสี ชมพูหายไปจึงหยุด จํานวนกรดไนตริคทีใ่ ชไปจะเทากับคาความเปนดางของน้ํานั้น 4.3 การตรวจหาความกระดาง (Hardness test) น้ํายาที่ใชคือ Soap solution ใชหยด ลงในน้ําที่จะตรวจแลวเขยาอยางแรงแลวตั้งทิ้งไว ถาฟองที่เกิดขึ้นอยูไดไมถึง 5 นาที แสดงวาน้ํา เปนน้ํากระดาง ใหหยดน้ํายาแลวกระทําเชนเดียวกันจนฟองเกิดอยูไดนานถึง 5 นาที ก็จะสามารถ ทราบคาความกระดางไดโดยคํานวณจากคาความเปนฟองและจํานวนน้าํ ยาที่ใช


122

บทที่ 9 การใชและการบํารุงรักษาหมอน้ํา (BOILER OPERATION AND MAINTENANCE) การใชและการบํารุงรักษาหมอน้ํา เปนเรื่องที่สําคัญที่เราจะเวนเสียไมได เพราะถาทํา ไปตามหลักการหรือกําหนดที่ถูกตองจะมีผลทําใหหมอน้ําอยูในสภาพที่ใชการไดดี มีอายุใชการ ยาวนาน และมีประสิทธิภาพสูง ฉะนั้นผูที่มีหนาที่ในเรื่องนี้จะตองเปนผูที่มีความรูเรื่องหมอน้ําเปน อยางดี และเอาใจใสเปนพิเศษเพื่อมิใหเกิดการผิดพลาดเสียหายไดงาย การใชงานอยางผิด ๆ หรือไม ระมัดระวังและไมเอาใจใสจะทําใหประสิทธิภาพของหมอน้ําตกต่ําลงอยางมาก จงจําไวเสมอวาหมอ น้ําเปนหัวใจสําคัญของโรงงานตนกําลัง คือทําหนาที่ผลิตไอใหกับเครื่องจักรตาง ๆ ถาเกิดผิดพลาด หรือชํารุดเสียหายแกหมอน้าํ แลว กิจการทั้งหลายในโรงงานจะตองหยุดทํางานทั้งหมดทันที และ สวนมากความผิดพลาดทั้งหลายที่เกิดขึ้นมักจะเกิดจากขาดความเอาใจใสการใชและการระวังรักษาไม ถูกตองนั่นเอง การใชงานหมอน้ํา (Operation of Steam Boiler) แบงออกเปนขั้น ๆ ดังนี้คือ.1. การเตรียมการติดไฟหมอน้ํา 2. การติดไฟหมอน้ํา 3. การใสไฟ, การลุมไฟ , การแตงไฟ, การเรงไฟ, การชักไฟ 4. การเปดไอน้ําใชงาน 5. การดับไฟเลิกใชหมอน้ํา 9.1 การเตรียมการติดไฟหมอน้ํา (Preparation to light – off) หมอน้ําไมวาจะเปนแบบใด หรือใชเชื้อเพลิงอะไรก็ตาม กอนจะทําการติดไฟ โดยเฉพาะเมื่อยังไมมีไอ หรือจะติดไฟใหม จะตองปฏิบัติหรือเตรียมปฏิบัติหรือเตรียมการติดไฟ ดังนี.้ 1. เติมน้ําเขาหมอใหไดระดับที่กําหนด โดยดูจากเครื่องวัดระดับหมอน้ํา โดยมีขีด เครื่องหมายหรือเข็มชี้บอกไว แตโดยปกติจะอยู ½ หรือ ¾ ของหลอดแกว 2. ทดลองกอกหลอดแกววัดระดับน้ําเพื่อใหแนใจวาไมอุดตัน 3. หมุนปด – เปดลิ้นกอกตาง ๆ แลวปดไวตามเดิม 4. เปดกอกอากาศเพื่อไลอากาศและแกสตาง ๆ ที่อาจมีอยูออก แลวปดตามเดิมเมื่อเริ่ม มีไอน้ําออก 5. เปดกอกเครื่องวัดตาง ๆ ใหอยูใ นสภาพเปดทุกตัว


123 6. ตรวจสอบลิ้นปองกันอันตราย อยาใหมีสิ่งใดกีดขวาง และทดลองยกดวยมือเพื่อให แนใจวาไมติดแนนหรือขัดของ 7. เปดฝาปดปลอง (Damper) หรือผาคลุมปลอง (หมอน้ําที่ใชกบั เรือ) สวนลวดยึด ปลองอยาใหตงึ เกินไป ควรคลายใหหยอนเทากันทุกตัว 8. ตรวจความเรียบรอยตาง ๆ ภายในเตา เชน ภายในประตูกนเตา ตองไมมีเชื้อเพลิง ตกอยู หองเพลิงตองสะอาดเรียบรอย ชองทางที่เปลวไฟผานตองสะอาด เหล็กตะกรับวางเรียงให ถูกตอง ไมมีตะกรังหรือเถา ผนังเตาซอมใหเรียบรอย หลอดไฟสะอาดไมมีเขมาจับหนามาก ภายใน เตาไมมีสิ่งของวางลืมไว 9. ตรวจเติมน้ํามันหลอในที่ตาง ๆ ใหเรียบรอย 10. เปดชองอากาศเขาเตาใหมากที่สุด 11. เตรียมเครือ่ งมือดับเพลิงใหพรอมเพื่อจะไดใชการไดทันที 9.2 การติดไฟหมอน้ํา (Lighting off Boiler) การติดไฟหมอน้ํา จะเริ่มทําไดหลังจากเตรียมการตาง ๆ เรียบรอยแลว แบงออกได 2 วิธีคือ.1. การติดไฟหมอน้ําโดยใชถาน หรือฟนเปนเชื้อเพลิง การติดไฟหมอน้ําชนิดใชถาน หรือฟนเปนเชื้อเพลิงสวนมากใชกับหมอน้ําแบบเกา ๆ (ปจจุบันมีใชนอยมากเพราะสวนมากหันมาใชน้ํามันเตาแทน) โดยทําดังนี้คือ.1.1 การติดไฟเมื่อยังไมมีไอน้ํา ใชถานกอนโต ๆ สาดเขาเตาแลวเกลี่ยใหเสมอกันบริเวณประตูเตา แตอยาใหหนา เกินไป (แตถา ถานที่ใชมีขนาดเล็กควรใชกระดาษ หรือผาปูรองกอน) ตอจากนัน้ ก็ใชยุต หรือเศษผา ชุบน้ํามันกาดวางบนถาน แลวจึงเอาฟนวางทับยุตอีกทีหนึ่ง การวางฟนควรวางใหโปรงเพือ่ สอด เปลวไฟเขาไดสดวก โดยเอาดุนเล็กไวตอนลางดุนใหญไวบน เสร็จแลวจึงเอาถานเททับบนฟนอีกที หนึ่งใหทั่วเปนการเสร็จการบรรจุเตา ตอจากนี้จึงใชเปลวไฟสอดเขาไปจุดยุตหรือเศษผาใหติดไฟขึ้น ขณะที่ไฟเริ่มติดใหเปดประตูเตาไวเล็กนอย สวนประตูเถาปด ไฟจะเริ่มติดจากทางดานหนาเขาไป ดานในทีละนอยเรื่อยไป เมือ่ เปนเชนนีใ้ หเพิ่มถานเขาไปอีกไฟจะติดดีขึ้น ถาเปดประตูเตาและประตู เถา เมื่อถานติดไฟทั่วดีแลวก็กระจายถานออกไปใหทวั่ ตะกรับ แลวคอยสาดถานเลี้ยงเรื่อยไป หมายเหตุ การบรรจุเตาและติดไฟหมอน้ําตามที่กลาวนี้จะไมตองกระทําเลยก็ได ถาหากมีหมอน้ํา ใกลเคียงที่ตดิ ไฟอยูแลว โดยเพียงแตตกั ถานจากเตาที่ตดิ ไฟอยูแ ลวมาใสเตาแลวสาดถานดิบเขาไป เทานั้น


124 1.2 การติดไฟหมอน้ําเมื่อมีไอน้ําอยูแลว การติดไฟหมอน้ํานี้ ไมตองบรรจุเตาใหมเหมือนเมื่อยังไมมีไอ เพราะภายในเตายังคงมี เชื้อเพลิงอยู คือรุมไฟไวเนือ่ งจากหยุดใชเครื่องจักรใหญชั่วคราว การติดไฟก็เพียงแตเกลี่ยถานหรือ ฟนเขาไปเทานั้น 2. การติดไฟหมอน้ําโดยใชนา้ํ มันเปนเชื้อเพลิง การติดไฟหมอน้ําชนิดใชนา้ํ มันเชื้อเพลิง (น้ํามันเตา) นี้ แบงออกได 3 วิธี ตามชนิด ของหัวพนน้ํามันเชื้อเพลิง ซึ่งมี 3 ชนิด ตามที่กลาวมาแลว แตทั้ง 3 วิธีก็มีวิธีคลายกัน การติดไฟ หมอน้ําครั้งแรก หรือเมื่อยังไมมีไอน้ําชนิดที่ใชนา้ํ มันเตาเปนเชือ้ เพลิงนี้มีปญหายุงยากเนื่องจาก น้ํามันเตามีความหนืดและจุดติดไฟสูง ซึง่ จะตองอุนใหรอนเสียกอนจึงจะติดไฟไดงา ย ฉะนั้นถาหมอน้ําไมมีไอน้ําเลย จะตองติดไฟดวยถานหรือฟนกอน (แบบเกา) หรือจะ ใชหัวพนเริ่มติดไฟก็ไดถามี ซึ่งเปนระบบที่ใชน้ํามันที่มคี วามหนืดและจุดติดไฟต่ํากวา คือ น้ํามัน ประเภท High Speed จนกระทั่งเกิดไอน้าํ มีกําลังดันประมาณ 10 - 20 psi. สามารถนํามาอุนน้ํามัน ใหรอน หรือชวยทําใหน้ํามันเตาเปนฝอยละอองได ก็ใหเปลี่ยนมาใชหัวพนใชการแทน ซึ่งใชน้ํามัน เตาตอไป การติดไฟหมอน้ําชนิดใชนา้ํ มันเปนเชื้อเพลิง นอกจากจะตองเตรียมการติดไฟตามที่ กลาวไวในเรื่องการติดไฟดวยถานแลว จะตองเตรียมการอื่น ๆ อีกดังนี.้ 1. ตรวจเตาอยาใหมนี ้ํามันหยดเลอะตามที่ตาง ๆ ควรทําความสะอาดและเช็ดใหแหง ตลอดทั้งตอนใตหมอน้ําดวย 2. ทําความสะอาดหัวฉีด ตรวจสอบขนาดใหเหมาะสมแลวประกอบเขาที่ ถอดอันที่ ไมไดใชในการเริ่มติดไฟครั้งแรกออก และทดลองปด - เปดประตูลมเครื่องบังคับอากาศ 3. ทดลองและตรวจดูรอยรัว่ ของทอทางน้าํ มัน การติดไฟหมอน้ําเมื่อมีไอน้าํ อยูแลวสําหรับหมอน้ําที่ใชน้ํามันเปนเชื้อเพลิง ก็คลายกับ การติดไฟครั้งแรก เพราะภายในเตาไมมีเชื้อเพลิงที่กําลังลุกไหมเหมือนแบบใชถานหรือฟน แตกท็ ํา ไดไมยากเพราะไมตองใชหัวพนเริ่มติดไฟ โดยเพียงแตใชเปลวไฟสอดเขาไปที่ปลายหัวพนน้ํามันใช การแลวเปดน้าํ มันก็จะติดไฟขึ้นได เนื่องจากน้ํามันถูกอุนใหรอนอยูแ ลวดวยไอน้ํา แตกอนจะทําการ ติดไฟจะตองเดินเครื่องพัดลมกอน เพื่อไลแกสที่อยูภายในเตาออกไป เมื่อน้ํามันติดไฟดีแลวจึงแตง น้ํามัน, ลม หรือไอน้ําใหเหมาะเพื่อรักษากําลังดันไอน้ําใหไดตามเกณฑใชการ หมายเหตุ ในการติดไฟหมอน้ําเพื่อผลิตไอครั้งแรกหรือเมื่อยังไมมไี อน้ํานี้ จะตองทําใหหมอน้ํา รอนขึ้นชา ๆ ถาเปนหัวพนน้ํามันควรใชหนาแวน (Sprayer Plate) ทีมีขนาดเล็กทีส่ ุด เพราะถาเรง ใหรอนขึ้นเร็วเกินไปจะทําให หมูห ลอด, ผนังเตาชํารุดได ปกติจะใชเวลาในการทําไอประมาณ 1 ถึง 2 ชม. แตถากออิฐในเตาใหมจะตองใชเวลานานกวา


125 9.3 การใสไฟ คือการนําเชือ้ เพลิงถานหรือฟนเขาเตา เพื่อใหเกิดการเผาไหม หรือใหเกิดการเผาไหม หรือใหความรอนแกหมอน้ําอยางสม่ําเสมอ การใสไฟจะตองมีความชํานาญและกระทําอยางรวดเร็ว ทั้งนี้เพื่อปองกันไมใหลมเย็นเขาเตามากเกินไปเปนเวลานาน ๆ การใสไฟควรปฏิบัติดังนี้ คือ.1. การใสถานควรใหมีระดับสม่ําเสมอไมเปนหลุมบอ 2. การบรรจุแตละครั้งควรมีจํานวนเทากัน 3. ขนาดของถานควรใกลเคียงกัน 4. ระยะเวลาการบรรจุแตละครั้งควรเทากัน การใสไฟของหมอน้ําที่ใชนา้ํ มันเปนเชื้อเพลิงไมมี เพราะใชหวั พนน้าํ มัน และหัวพน น้ํามันจะพนน้าํ มันเขาตลอดเวลาอยูแลว การลุมไฟ คือการเลี้ยงเชื้อเพลิงที่เปนถานในเตา ไมใหดบั ในขณะที่เลิกใชเครื่องจักรใหญ ชั่วคราว โดยการโกยถานในเตามากองรวมกันไวที่ประตูเตาหรือที่พนัง แลวใชถานละเอียดลาดคลุม ไวบาง ๆ สวนประตูเตาและประตูเถาใหปดหรือเปดไวเล็กนอย ถามีลิ้นปดปลอง ก็ใหเปดไวเล็กนอย เพื่อใหการเผาไหมเปนไปอยางชาง ๆ จุดประสงคในการรุมไฟก็เพื่อรักษากําลังดันไอน้ําไว สําหรับ เดินเครื่องจักรชวยตาง ๆ การรุมไฟสําหรับหมอน้ําแบบใชน้ํามันไมมี เพราะเปลืองเชื้อเพลิง จึงใชวิธีดับไฟเก็บ ไอน้ําแทน เนือ่ งจากสามารถติดไฟใหมไดงาย การแตงไฟ คือการทําใหเชื้อเพลิงในเตาเกิดการเผาไหมอยางสมบูรณและสม่าํ เสมอ เพื่อให หมอน้ําผลิตไอน้ําออกสม่ําเสมอและมีกําลังดันเปนปกติ ถาเปนหมอน้ําแบบใชถานหรือฟนเปน เชื้อเพลิง ทําไดโดยคอยเกลีย่ ถานไมใหเกิดขึ้นตะกรังหรือเถาหนามากเกินไป และเมื่อความหนาของ ถานไมเทากัน ทําใหลมเดินผานขึ้นไปไดไมสะดวก การแตงไฟควรทําทีละเตา แตถาเตามีขนาดใหญ ควรทําทีละครึ่งเตา ทั้งนี้เพื่อไมใหลมเย็นเขาเตามากเปนเวลานาน ๆ การแตงไฟของหมอน้ําแบบใชน้ํามันเปนเชื้อเพลิงทําไดโดย 1. แตงกําลังน้ํามันใหพอดี 2. อุนน้ํามันใหพอดี 3. จัดกระแสลมเขาเตาใหสมสวนกัน 4. อุนน้ําเขาหมอใหพอดี การเรงไฟ หรือเรียกวา “การเรงไอ” คือการทําใหเชื้อเพลิงในเตาเกิดการเผาไหมรวดเร็วขึ้น เพื่อใหเกิดไอไดมากและเร็วขึ้น การเรงไฟของหมอน้ําที่ใชถานทําได โดยบรรจุถานทีละนอยแต บอยครั้ง แตถาเปนแบบใชน้ํามันกระทําไดโดย 1. เดินเครื่องสูบน้ํามันใหแรงขึ้น และเปดน้ํามันเขาเตามากขึ้น 2. อุนน้ํามันใหรอนขึ้น 3. เดินเครื่องพัดลมใหแรงขึ้นเหมาะสมกับน้ํามันที่เขามากขึ้น


126 4. อุนน้ําเขาหมอใหรอนขึ้น หมายเหตุ การติดไฟหมอน้ําจนกระทั่งเกิดไอน้ําเทากับกําลังดันใชการนั้น ไมควรเรงหรือทําใหเกิด ไอน้ําเร็วเกินไป เพราะจะทําใหหมอน้ําชํารุดเสียหายไดงาย เนื่องจากการขยายตัวของสวนตาง ๆ ไม เทากัน ฉะนัน้ ควรปฏิบัติตามคูมือที่กําหนดหรือตามเกณฑดังนี้ คือหมอน้ําขนาดใหญประมาณ 24 ชั่วโมง หมอน้ําขนาดกลางประมาณ 12 ชั่วโมง หมอน้ําขนาดเล็กประมาณ 3 - 6 ชั่วโมง แตอยางไรก็ตาม หมอน้ําจะตองสามารถผลิตไอ เพื่อใชกับเครื่องจักรชวยตาง ๆ ได ภายในเวลาไมนอยกวา 1 ชั่วโมง การชักไฟ คือ การนําเชื้อเพลิงออกจากเตาและเลิกใชหมอน้ําทันที ในกรณีที่เมื่อเกิดเหตุ อยางใดอยางหนึ่งเกิดขึ้น เชน น้ําแหง หมอน้ําชํารุด เปนตน หรือเมื่อตองการดับไฟเลิกใชหมอ น้ํา ถานําเชื้อเพลิงออกไมทันในกรณีเกิดเหตุฉกุ เฉิน ก็ใหใชถานหรือเถาเปยกสาดเขาเตาแลวปด ประตูเตาและประตูเถาใหไฟดับ หมอน้ําก็จะคอย ๆ เย็นลงเอง สําหรับหมอน้ําที่ใชน้ํามัน ทําไดโดยหยุดฉีดน้ํามันเขาเตา

9.4 การเปดไอน้ําใชงาน กอนที่จะเปดไอน้ําจากหมอน้ํา ซึ่งมีกําลังดันสูงและอุณหภูมิสูงไปใชงาน หรือผานไป ตามทอทางซึ่งยังเย็นอยูนนั้ จะตองทําการอุนทอทางไอและไลน้ําทีต่ กคางอยูตามทอทางออกใหหมด เสียกอน เพราะจะทําใหเกิดชํารุดเสียหายขึ้นไดโดยการเปดลิ้นไอเดินลัด ถาไมมีกใ็ หเปดลิ้นไอใหญ เล็กนอย เพื่อใหไอน้ําผานเขาไปไดนอย กําลังดันจึงไมสูงมาก ไอน้ํานี้จะเขาไปไลน้ําที่ตกคางอยูใน ทอทางออกไปจนหมด การทําเชนนี้ยังเปนการอุนทอทางใหคอย ๆ รอนขึ้นและยังชวยปองกันไมให เกิดการรัว่ ตามหนาแปลนหรืออาจทําใหแตกโดยการกระแทกของน้ํา (Water Hammer) ที่ตกคาง อีกดวย เมื่อกําลังดันไอน้ําในหมอสูงกวากําลังดันไอน้ําในทอทางไอใหญ 5 - 10 psi. ใหเปด ลิ้นไอเดินลัดหรือลิ้นไอใหญทีละนอยจนกําลังดันเทากัน แลวจึงเปดลิ้นไอใหญชา ๆ จนกระทัง่ เปด เต็มที่ การเปดลิ้นไอชวยเพือ่ เปดไอน้ําไปใชกับเครื่องจักรชวยตาง ๆ ก็กระทําเชนเดียวกัน

9.5 การดับไฟเลิกใชหมอน้ํา คือการนําเชื้อเพลิงออกจากเตาหรือหยุดฉีดน้ํามันเขาเตา เมื่อเลิกใชหมอน้ําเพื่อหยุดเดิน เครื่องจักรตาง ๆ ทั้งหมด การดับไฟเลิกใชหมอน้ํามี 2 วิธี คือ :1. การดับไฟเก็บไอน้ํา เปนการดับไฟเลิกใชหมอน้ําชัว่ คราว คลายกับการรุมไฟผิดกัน ที่ตองนําเชื้อเพลิงออกจากเตาใหหมด เนือ่ งจากเลิกใชเครื่องทั้งหมด แตกอนจะดับไฟเลิกใชหมอน้ํา


127 จะตองทํากําลังดันไอน้ําใหเทากับกําลังดันใชการกอน เพือ่ เก็บไวใชเดินเครื่องจักรชวยเมื่อจําเปน เชน เครื่องสูบน้ํามัน และเพือ่ จะไดติดไฟหมอน้ําใหมไดสะดวกระหวางที่ดับไฟนีจ้ ะตองหมัน่ ดูความ เรียบรอยตาง ๆ เชน ระดับน้ําในหมอ เปนตน 2. การดับไฟไมเก็บไอน้ํา เปนการดับไฟเลิกใชหมอน้ํา และเครื่องจักรตาง ๆ เปน เวลานาน ๆ เชน ในกรณีนาํ เรือเขาซอมหรือตองการซอมแซมสวนตาง ๆ ของหมอน้ํา เชน เตา เปน ตน การดับไฟไมเก็บไอน้ํามีขอที่ตองปฏิบัติดังนี้ คือ :1. เปดไอเปาเขมาเพื่อทําความสะอาดพื้นผิวเผารอนหมอน้ําดานสัมผัสไฟ เชน หมู หลอดไฟ ขณะเดียวกันก็เดินเครื่องพัดลมใหแรงขึ้นเพือ่ ไลเขมาออกทางปลอง ถาเปนเรือใหสบู น้ํา ทองเรือออกดวย 2. ปดลิ้นน้ํามันที่หัวพนน้ํามันเชื้อเพลิงทีละหัว และปดประตูลมเครื่องพัดอากาศ แลวเบาเครื่องสูบน้ํามันเชื้อเพลิง และเครื่องพัดลมลง เมื่อปดลิ้นน้ํามันหัวพนหมดทุกอันแลวใหหยุด เครื่องสูบน้ํามัน แลวจึงปดลิ้นน้ํามันทุกลิ้นในระบบ 3. หยุดเครื่องพัดลมแลวปดประตูลมเครื่องบังคับอากาศใหแนน เพื่อไมให ลมเย็นเขาเตา 4. เมื่อกําลังดันไอน้ําในหมอลดต่ําลง เหลือประมาณ 5 – 8 กก./ตร.ซม. ใหสูบน้ํา เขาหมอใหเต็มจนลนออกทางกอกอากาศ เวนแตจะทําการซอมหมอน้ําในวันตอไป 5. เมื่อไอลดลงจนเดินเครื่องจักรตาง ๆ ไมไดแลว ใหเลิกใชเครื่องจักรชวยทั้งหมด 6. ปดลิ้นน้ําเลีย้ งเขาหมอ และลิ้นไอตาง ๆ ใหเรียบรอย 7. ทําความสะอาดบริเวณหนาเตา, พื้นหองและความเรียบรอยทั่ว ๆ ไป 8. เมื่อเตาเย็นลงพอที่คนจะเขาไปได ใหเปดประตูเตาเขาไปตรวจสภาพภายในเตา, ทําความสะอาดและซอมแซมสวนที่ชํารุด 9. ถอดหัวพนน้ํามันทุกหัวออกทําความสะอาด

การบํารุงรักษาหมอน้ํา (Maintenance of Steam Boiler) สาเหตุสําคัญที่หมอน้ําชํารุดเสียหายไดงาย, สภาพทั่วไปไมด,ี ประสิทธิภาพของหมอน้ํา ตกต่ําและอายุใชการสั้น มักจะเนื่องมาจากการบํารุงรักษาหมอน้ําไมถูกตอง ฉะนั้นตองหมัน่ ตรวจ และเอาใจใสอยูเสมอ ทุกครั้งที่ซอมแซมหรือทําความสะอาดหมอน้ําควรบันทึกสภาพ, วิธีซอมและ ผลการซอมทําเอาไว พยายามจัดใหหมอน้าํ ทุกใบที่มีขนาดเดียวกัน มีจํานวนชั่วโมงใชงานใกลเคียง กัน หมอน้ําทีไ่ มไดใชงานควรบรรจุน้ําเต็ม สวนทางดานสัมผัสไฟจะตองแหง, สะอาดและปดสนิท การบํารุงรักษา หรือการระวังรักษาหมอน้ํา มีสวนที่จะตองระวังรักษาที่สําคัญ 2 สวน คือ :-


128 1. การบํารุงรักษาดานสัมผัสไฟ (Maintenace of Fire side) การบํารุงรักษาหมอน้ําดานสัมผัสไฟ เปนการระวังรักษาเพื่อปองกันไมใหเกิดเขมาหรือ สิ่งสกปรกบนพื้นผิวเผารอนหมอน้ําสัมผัสไฟ เชน เปลือกหมอหลอดน้ําใหสะอาดอยูเสมอ เพราะ เขมาและสิ่งสกปรกตาง ๆ เหลานี้ จะเปนตนเหตุทําใหประสิทธิภาพของหมอน้ําตกต่ํา, สิ้นเปลือง เชื้อเพลิง เนือ่ งจากเขมาจะทําหนาที่คลายฉนวนความรอน ทําใหการการถายเทความรอนใหกับหมอ น้ําไดไมดี เกิดการผุกรอนเร็ว เนื่องจากกรดที่เกิดขึ้นจากกํามะถันในน้ํามันเตา และถาหากปลอยให เขมาหนามากก็จะทําใหชองทางที่แกสรอนเดินผานแคบลง พัดลมของเครื่องพัดอากาศจะตองทํางาน หนักขึ้น วิธีกําจัดเขมาที่เกาะตามพื้นผิวเผารอนดานสัมผัสไฟนั้นมีหลายวิธี คือ:1.1 ใชไอน้ําเปาเขมาดวยเครื่องเปาเขมา เปนวิธีที่ไดผลดีมาก เพราะสามารถทําความ สะอาดไดโดยที่หมอน้ํายังทํางานหรือยังรอนอยู คือระหวางใชงานหรือกอนดับไฟ เพราะเขมาจะ หลุดออกไดงาย และระหวางเปาเขมาจะตองเดินเครื่องพัดลมใหแรงขึน้ เพื่อเปาออกทางปลอง 1.2 โดยใชลมหรืออากาศอัด การทําความสะอาดโดยใชอากาศอัดน้ําจะตองใชพรอม กับเครื่องมือดามยาวสําหรับแยงเขาไปเปาเขมาตามซอกระหวางแถวหมูห ลอด ซึ่งไมสามารถเปาดวย เครื่องเปาเขมา หรือเครื่องเปาเขมาเขาไปไมถึง 1.3 โดยใชเครื่องมือกล ที่มีลักษณะคลายเลื่อยใชขูดเขมา ตะกรังและสิ่งสกปรกออก หรือใชแปรงลวดขัดถูออกโดยเฉพาะหลอดไฟ การเอาเขมาออกโดยวิธีนี้ใชในกรณีที่ไมสามารถเอา ออกไดดว ยไอน้ําหรืออากาศอัด สําหรับเขมาภายในหลอดไฟก็ทําความสะอาดดวยแปรงลวดหรือ เครื่องขูดเขมา (ดูรูป Fig. 221) 1.4 โดยใชน้ําฉีดลาง เปนการนําเอาเขมาออกที่ไดผลดีมาก ที่เครื่องมือกลธรรมดาไม สามารถจะทําได เพราะยากตอการเขาไปทําความสะอาด เชน หมูหลอดทําไอเผา 2 ครั้ง หมูหลอด อุนน้ํา, หลอดอุนอากาศ สวนหมูห ลอดทําไอถาสกปรกมากก็มักนิยมใชน้ําฉีกลางเชนเดียวกัน การใชน้ําฉีดลางไมควรทําบอย ๆ จะทําก็ตอเมื่อมีเขมาจับหนาและแนนมาก เพราะอาจ ทําความเสียหายใหกับสวนอื่นได และหลังจากฉีดลางแลวจะตองทําใหหมอน้ําแหงสนิท เครื่องมือที่ ใชในการฉีด มี 2 ชนิด คือ ใชหัวฉีดพิเศษ (Water lance) และใชเครื่องเปาเขมาเปนเครื่องฉีดน้ํา โดยใชน้ําที่มกี าํ ลังดัน 150 - 200 Psi. การทําใหแหงหลังจากฉีดลางดวยน้ําแลว ทําไดโดยติดไฟ หมอน้ําโดยใชหมอพนน้ํามันที่มีขนาดหนาแวนเล็กที่สุดประมาณ 15 นาที แลวดับไฟ 15 นาที เปน ชวง ๆ จนครบ 5 ชม. แลวทิ้งไว 1 ชม. จากนี้จึงติดไฟเพื่อผลิตไอน้ําไปใชเครื่องจักรชวย ถายัง ไมตองการใชไอน้ําหรือยังทําไมได ใหติดไฟแลวดับเปนชวง ๆ ดังกลาวตอไปอีก 2 ชม. เมื่อครบ กําหนดใหเปดประตูเตา เพื่อตรวจสภาพตาง ๆ ภายในเตา


129 2. การบํารุงรักษาดานสัมผัสน้ํา (Maintenance of Water side) การบํารุงหรือระวังรักษาหมอน้ําดานสัมผัสน้ํา เปนการระวังรักษาเพือ่ ปองกันไมใหเกิด คราบปูนหรือเปนที่สะสมสิ่งสกปรก ซึ่งจะทําใหหมอน้ํามีประสิทธิภาพตกต่ําและเกิดชํารุดเสียหาย หรือระเบิกแตกไดงาย การปลอยใหมีคราบปูนหรือตะกรัน (Scale) มากไปจะทําใหเกิดผลเสียตอ หมอน้ําดังนี้ คือ:2.1 ทําใหหมอน้ําระเบิดแตกไดงา ย เพราะตะกรันจะทําหนาที่คลายฉนวนคัน่ ความรอน ความรอนจากเปลือกหมอและหลอดน้ําจึงถายเทความรอนใหกับน้ําไดนอย เปลือกหมอและหลอดจึง รอนจัด และเกิดชํารุดเสียหายขึ้นได สาเหตุสวนใหญที่ทําใหหมอน้ําระเบิดแตกสวนมากเกิดจาก ตะกรัน 2.2 เปลืองความรอนหรือเชือ้ เพลิง เนื่องจากถายเทความรอนใหกับน้ําในหมอไดนอย ความรอนที่เกิดจากการเผาไหมหรือแกสรอนจึงถูกปลอยออกมาทางปลองมาก 2.3 หมอน้ําผลิตไอน้ําชาลง เนื่องจากการถายเทความรอนจากแกสรอนใหนา้ํ ในหมอ นอยลงนั่นเอง การกําจัดคราบปูนออกจากผิวภายในหมอน้ํา ควรทําตามกําหนดเวลาที่กําหนดไวใน คูมือ โดยทัว่ ๆ ไปทําทุก 1,800 – 2,000 ชั่วโมงใชการ แตหมูห ลอดไอเผา 2 ครั้ง ประมาณ 3,600 ถึง 4,000 ชั่วโมงใชการ และทําความสะอาดไดดังนี้ คือ:1. โดยใชเครื่องมือกล (Mechanical Cleaner) เครื่องมือกลที่ใชทําความสะอาดหรือเอาคราบปูนออกมีหลายชนิด ซึ่งขึ้นอยูกับสวน ของหมอน้ํา เชนที่หัวตอหลอดหรือหมอพักน้ํา ใหใชแปรงลวดขัด สวนหมูห ลอดก็ใชแปรงลวด ซึ่ง ขับดวยเครื่องจักรกล เชน มอเตอรแยงลงไปในหลอด ขนาดของแปรงลวดตองมีขนาดพอเหมาะกับ ขนาดโตภายในของหลอด ซึ่งจะไดกลาวในเรื่องเครื่องมือทําความสะอาดคราบปูนตอไป 2. โดยการตมดวยสารเคมี (Boiling out) เปนการนําเอาคราบปูนในหมอน้ําออกในกรณีที่ไมสามารถเอาออกไดดวยเครื่องมือกล ตามที่กลาวมาแลว โดยใชสารเคมี (Boiler Compound) 40 ปอนดตอ น้ํา 1,000 แกลลอน โดยใช สารเคมีละลายในน้ํารอนกอนจึงผสมกับน้าํ แลวสูบสงเขาหมอน้ํา จากนี้จึงตมดวยไอน้ําจากหมอน้ํา ใบอื่น โดยเปดและตอทอทางไอเขาตอนลางสุดของหมอน้ําและสวนอื่น ๆ ที่ตอ งการตม พยายาม รักษากําลังดันใหไดประมาณ 50 psi. และตมอยูน านประมาณ 48 – 72 ชั่วโมง ระหวางตมนี้ให ระบายน้ําออกทิ้ง 1 – 2 ครั้ง เพื่อถายสิ่งสกปรกออก เมื่อครบกําหนดแลวใหถายน้าํ ออกทิ้งแลวลาง ใหสะอาด สารเคมีที่ใชตมหมอน้ําบางชนิดใช Soda ash, Trisodium phosphate และ Caustic Soda อยางละ 2 ปอนดตอน้ํา 1,000 ปอนด เติมลงไปในหมอแลวติดไฟหมอน้ํา 2 – 3 วัน โดยใช


130 กําลังดันไอ 1/3 ของกําลังดันใชการ แตไมควรเกิน 300 psi. ระหวางนี้ใหโบลน้ําทิ้งออกเปนระยะ ๆ แลวเติมน้ําเขาแทน และตมตอไป เสร็จแลวจึงเปดออกทิ้งแลวทําความสะอาดโดยใชน้ําฉีดลาง การตมดวยสารเคมี นอกจากจะใชทําความสะอาดคราบปูนและสิ่งสกปรกตาง ๆ ที่ เกิดขึ้น เชน คราบน้ํามัน ไขมันเนื่องจากใชงานแลว ยังใชทําการตมเพื่อทําความสะอาดน้ํามันและ ไขมันหมอน้ําใหม กอนทีจ่ ะนํามาใชงานดวย นอกจากจะตมดวยดางแลว หมอน้ําบางชนิดจะตม หรือทําความสะอาดดวยกรด (Acid Clean) กอนทีจ่ ะนําไปใชงาน ซึ่งตองทํางานติดตอกันเปน เวลานาน ๆ (Continuous Service) การตมดวยกรด จะใชกับหมอน้ําที่ตองใชงานที่กําลังดัน 800 psi. หรือมากกวา เครื่องมือกลที่ใชในการทําความสะอาดหมอน้ํา เครื่องมือกลที่ใชทําความสะอาดตะกรันหรือคราบปูนที่พื้นผิวเผารอนหมอน้ําดานสัมผัส น้ํามีหลายชนิด ตามชนิดหรือตําแหนงที่เกิดของตะกรัน เชน ที่หวั ตอหลอดหรือภายในหลอดน้ําจะ ใชแปรงลวดขัดดวยเครื่องมือกลตามที่กลาวมาแลว ถาเปนตะกรันที่แข็งมาก ไมสามารถจะเอาออกได ดวยแปรงลวดดังกลาว หรือเปนตะกรันที่เกิดขึ้นที่ผิวภายนอกหลอดไฟ ก็จะตองใชเครื่องมือกล ประเภทอื่น คือ :1. เครื่องมือทําความสะอาดตะกรันหลอดไฟ ตะกรันที่เกิดขึ้นที่ผิวภายนอกหลอดไฟ ของหมอน้ําแบบหลอดไฟนัน้ จะใชเครื่องมืออื่นเขาขูดทําความสะอาดไดยากมาก จึงตองใชเครื่องมือ กลพิเศษหรือมอเตอรเขาไปทําความสะอาด โดยใชเครื่องมือกลดังกลาวสอดเขาไปในหลอดไฟ เครื่องมือกลนี้จะถูกขับใหหมุนไดดว ยไอน้ําหรืออากาศอัด ตอนปลายมอเตอรมีน้ําหนักหรือตุม เหล็กติดอยู (Knocker head) และติดกันดวยขอตอออน ฉะนั้นเมือ่ มอเตอรหมุนน้ําหนักถวงนี้ก็จะ หมุนเหวีย่ งตัวกระแทกหรือเคาะผิวดานในของหลอดไฟ แรงสัน่ สะเทือนจากการกระแทกของ น้ําหนักถวง จะทําใหตะกรันกะเทาะหลุดออกจากหลอด (ดูรูป Fig. 6.1 (a) เครื่องมือกลทําความสะอาดตะกรันหลอดไฟบางชนิดเปนลูกสูบเล็ก ๆ หรือลูกกระทุง (Vibrating plunger) หลายอันกระแทกผิวภายในหลอด (Fig. 220) 2. เครื่องมือทําความสะอาดตะกรันหลอดน้ํา เครื่องมือกลที่ใชทําความสะอาดตะกรัน ภายในหลอดน้ําที่จะกลาวนี้ เปนเครื่องมือชนิดพิเศษโดยเฉพาะตะกรันที่แข็งมาก ซึ่งไมสามารถจะ เอาออกไดดว ยเครื่องมือกลอื่น ๆ เชน แปรงลวดหรือใชแรงสัน่ สะเทือนแบบที่ใชกับหลอดไฟ ลักษณะคลายแบบที่ใชกับหลอดไฟ ตอนปลายติดตั้งเครื่องกัดหรือเครื่องขูดหลายอัน (Cutter head) ซึ่งจะหมุนไปพรอมกับมอเตอร ขณะที่สวมอยูภายในหลอดน้ํา Cutter ทุกอันจะเบงตัวหรือกางออก สัมผัสกับผนังหลอดตลอดเวลา เมื่อมอเตอรหมุนตัว Cutter นี้ก็จะหมุนไปดวย และจะขูดตะกรัน ออก ตะกรันที่ถูกหัวคัดเตอรขูดออกนีจ้ ะถูกนําออกจากหลอดหรือทําความสะอาดอีกทีหนึ่งดวยน้ํา มอเตอรนี้จะถูกขับใหหมุนโดยใชไอน้ําหรือลม ถาเปนแบบไฟฟา ตัวมอเตอรจะติดตั้งอยูภ ายนอก หลอดโดยมีเพลาตอไปขับคัตเตอรโดยตรง (ดูรูป Fig. 6.1 (b), 6.1 (c) และ Fig. 219)


131

Fig. 6.1 (a)

Air – drive fire – tube cleaner.

Fig. 6.1 (c)

Air – driven watertube cleaner.

Fig. 220 Vidrating type of fire tube scale Remover


132 รูป Fig. 6.1 (a) เปนเครื่องมือทําความสะอาดตะกรันที่เกาะอยูที่ผิวภายนอกหลอดไฟ (Vibrating cleaner for use in cleaning fire tube) สวนรูป (b) และ (c) เปนเครื่องทําความ สะอาดตะกรันที่ผิวภายในของหลอดน้ํา (Cutter head type – cleaner for water tube) การทําความสะอาดตะกรันหมอน้ําสําหรับสวนที่สามารถเขาไปขูดหรือทําความสะอาดได สะดวก นอกจากจะใชแปรงลวดขัดถูแลว ยังใชคอนและสกัดปากทื่อ (Hammer and blunt chisel) สกัดออกก็ได

การระวังรักษาเมื่อเลิกใชหมอน้ํา เปนการระวังรักษาหมอน้ําในขณะที่หมอน้ําไมไดใชงาน เชนในกรณีนําเรือเขาซอมในอู เปนเวลานาน ๆ แบงออกได 2 วิธี คือ 1. โดยการสูบน้ําไวเต็มหมอ 2. โดยการสูบน้ําออกจากหมอใหหมดแลวทําใหแหง กอนจะทําการเก็บรักษาหมอน้ําทั้ง 2 วิธีดังกลาว จะตองทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของหมอน้ําทัง้ ภายนอกและภายในตลอดจนทําการตรวจสวนประกอบตาง ๆ ใหเรียบรอย ตามหัวขอ ดังนี้คือ 1. ทําความสะอาดภายนอกและภายในหมอน้ํา 2. ทําความสะอาดหลอดไฟและหลอดน้ํา 3. ทําความสะอาดกอกถายน้ํา (Blow off clock) โดยถอดออกชะโลมดวยน้ํามัน 4. ตรวจทอทางน้าํ เลี้ยงอยาใหตนั เนื่องจากตะกรัน โดยเฉพาะบริเวณที่เปนของอ 5. ทําความสะอาดเตา, หองเพลิง, หองควันโดยการขูดเขมาออก แลวทาดวยน้ํามัน เพื่อกันสนิม 6. ตรวจซอมผนังเตาที่เปนอิฐทนไฟ เมื่อเกิดชํารุดหรือแตกราว 7. ตรวจเปลือกหมอน้ํา ซึง่ มักเกิดตามรอยตอแผนเหล็กและฝาอัดชองคนเขา 8. ตรวจหัวตอลิ้นและทอทางตาง ๆ อยาใหเกิดรัว่ ไหลได 9. เหล็กยึดตาง ๆ ของหมอน้ํา 10. ผิวภายนอกเปลือกหมอน้ําอยาใหเปยกชื้นเพราะจะทําใหเกิดสนิมขึ้นได การระวังรักษาหมอน้ําโดยการสูบน้ําไวเต็มหมอ วิธีนี้มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา “แบบหมอเปยก” เปนวิธีการระวังรักษาหมอน้ําเมื่อ ตองการเลิกใชหมอน้ําเปนการชั่วคราวหรือไมนานมากนัก ทําไดโดยการสูบน้ําสะอาดผสมดาง เชน ปูนขาวหรือโซดาเขาหมอใหเต็มแลวปดใหสนิท เพื่อไมใหอากาศเขาออกไดสวนตามหลอดน้ํา, หมอ พักน้ํา, หมอพักไอใหใชน้ํามันทาเพื่อกันสนิม สวนบริเวณที่ทาน้ํามันไมไดหรือเขาไมถึงก็ใชน้ํามัน ดินเผาเพื่อใหเกิดควันแลวนําเขาไปวางไวบริเวณนั้น


133 การระวังรักษาโดยการสูบน้าํ ออกจากหมอใหหมด หรือเรียกวา “แบบหมอแหง” เปนการระวังรักษาหมอน้ําเมื่อตองการเลิกใชหมอน้าํ เปน เวลานาน ๆ ทําไดโดยถายน้ําออกจากหมอน้ําใหหมดแลวเช็ดหรือทําใหภายในแหงสนิท แลวนําปูน ขาวใสถาดวางไวภายในหมอเพื่อดูดความชืน้ ที่เกิดขึน้ อีกทีหนึ่ง แตจะตองเปลี่ยนใหมทุก ๆ 6 เดือน หรือตามกําหนด สวนภายในเตาก็ใชถานใสถาดสุมไวบนตะกรับเพื่อไลความชืน้ เมื่อเห็นวาแหงดี แลวก็ใหปดประตูเตา ในกรณีที่ตองการเลิกใชหมอน้ําเปนเวลานานมาก ๆ เชน เปนแรมป ก็ใหใชน้ํามันหรือ ไขทาผิวภายในหมอเพื่อกันสนิม แตเมื่อตองการจะใชหมอน้ําอีก จะตองทําความสะอาดใหหมด โดยการตมดวยดาง หรือสารเคมีหมอน้ําตามที่กลาวมาแลว

การผุกรอนของหมอน้ํา ปญหาเรื่องการผุกรอนของหมอน้ํา นับวาเปนปญหาทีส่ ําคัญมาก เพราะไมสามารถที่จะ ทําใหหมอน้ําไมเกิดการผุกรอนได 100 % นอกจากจะทําใหการผุกรอนลดนอยลงไดเทานั้น หมอ น้ําทุกใบยอมจะตองเกิดการผุกรอน ดังนัน้ อายุใชการของหมอน้ําจึงสั้นลง แตถายังตองการที่จะใช หมอน้ําตอไปหรือใหมีอายุใชการไดตอไปอีก ก็อาจทําไดโดยลดกําลังดันไอน้ําใชการลงบาง การผุกรอนของหมอน้ําจะเกิดขึ้นไดทั้งภายนอกและภายในหมอน้ํา การผุกรอนของ หมอน้ําเนื่องจากสนิมซึ่งเกิดขึ้นภายนอกหมอน้ํา มักจะเนื่องมาจากการรั่วไหลของน้ํามี่ซึมออกมา ตามรอยตอหรือรอยราวหนื่องจากการยืดหดไมเทากัน จึงตองคอยหมั่นตรวจอยูเสมอ สวนการผุ กรอนที่เกิดขึน้ ภายในมักจะมีสาเหตุที่สําคัญ ๆ ดังนี้ คือ :1. ออกซิเจนและคารบอนไดออกไซด (O2 and CO2) กาซทั้งสองนี้สามารถผานเขาไปในหมอน้ําไดโดยปนไปกับน้ําเลี้ยงเขาหมอ เมื่อเขาไป ในหมอก็ทําปฏิกิริยา (Oxidize) กับเปลือกหมอทําใหเกิดสนิม การเกิด Oxidize จะมีมากถาหมอน้ํา มีกําลังดันสูง 2. กรดในไขมัน (Fatty acid) กรดชนิดนี้จะเกิดขึน้ จากน้ํามันทีไ่ ดจากน้ํามันแรจะ แยกตัวออกเมือ่ ไดรับความรอน 3. กรดในน้ํามันพืช (Stearic acid & Oleic acid) กรดนี้เกิดจากน้ํามันพืชโดยจะ แยกตัวออกเมือ่ ไดรับความรอน หมายเหตุ กรดทั้ง 2 ชนิดตามขอ 2, 3 มีอํานาจในการกัดเปลือกหมอน้ําใหเกิดการผุกรอนขึน้ ได น้ํามันพืชและน้ํามันแรทั้งสองนี้ใชในการหลอลื่นเครื่องจักร และผานเขาหมอน้าํ ไดโดยปนไปกับ น้ําเลี้ยงเขาหมอ เนื่องจากใชไอเสียจากเครื่องจักรมาทําการกลั่นตัวเปนน้ํา


134 4. กรดที่เกิดจากแกสคลอรีน แกสคลรีนน้ําเกิดจากแม็กนิเซี่ยมคลอไรดในน้ําทะเลที่รั่ว ผานเขาไปในหมอน้ํา เมื่อแยกตัวออกมาแลวจะเขาทําปฏิกริยาทางเคมีกับไฮโครเจนในน้ํากลายเปน กรดขึ้นได 5. ปฏิกิริยาทางไฟฟา (Galvanic Action) การผุกรอนที่เกิดจากปฏิกริยาทางไฟฟานี้ เกิดขึ้นเนื่องจากใชโลหะตางชนิดกัน เชน ภายในหมอดับไอประกอบดวยหลอดทองเหลือง เปลือก หมอน้ําเปนเหล็ก สวนน้ําในหมอเปรียบเสมือนน้ํายา (Electorlyte) จึงเกิดปฏิกริ ิยาทางไฟฟาขึ้น คลายแบตเตอรี่ และจะเกิดการผุกรอนขึ้นที่แผนเหล็ก ซึ่งมีสภาวะเปนขั้วบวก (Anodes) สวนหลอด ทองเหลืองมีสภาวะเปนขัว้ ลบ (Cathodes) การปองกันการผุกรอนของหมอน้ํา ตามที่ไดกลาวแลววา การผุกรอนของหมอน้ํานั้นยอมจะตองเกิดขึ้นเสมอ เพราะวิธีที่ ปองกันหรือทําใหไมเกิดการผุกรอนขึ้นเลยนั้นไมมี เพียงแตสามารถทําใหการผุกรอนนั้นลดนอยลง ไดเทานัน้ โดยมีวิธีการดังนีค้ ือ :1. พยายามใชน้ําจืดและลดจํานวนเกลือภายในหมอลง ขณะเดียวกันก็พยายามอยาให น้ําเค็มเขาหมอน้ํา 2. ใชหมอกรองกรองน้ําเลี้ยงที่จะสงเขาหมอ เพื่อไมใหไขมันหรือน้ํามันเขาหมอน้ําได 3. ใชแผนสังกะสีกันกรอน (Zinc protection) ติดตั้งไวในบริเวณที่เห็นวาผุไดงาย เนื่องจากปฏิกริ ิยาทางไฟฟา คือบริเวณทีเ่ ปนหนาเรียบภายในหมอน้ําใตระดับน้ํา เชน บริเวณผนัง หองเผาไหม (ตามรูป) และจะตองยึดติดแนนกับ สวนของหมอน้ํา เมื่อติดตั้งแผนสังกะสีแลว การ เกิดปฏิกิริยาทางไฟฟาที่เกิดขึ้นจะเปลีย่ นไป คือ จะเกิดขึ้นระหวางแผนสังกะสีกันกรอนกับหลอด ทองเหลือง เพราะแผนสังกะสีจะมีสภาวะเปน ขั้วบวก (Cathodes) อยางแรง หรือแรงกวาเปลือก หมอ จึงเกิดการผุกรอนขึ้นที่สังกะสีแทน แตถา สังกะสีเกิดผุกรอนจนหมด การผุกรอนก็จะ เกิดขึ้นที่เปลือกหมออีก 4. ปองกันไมให O2 และ CO2 เขาหมอไดโดยใช Air ejector และถังน้ําเลี้ยงชนิดไล อากาศ 5. ใชสารเคมีเพื่อแกความเปนกรดหรือดางและอื่น ๆ ตามที่กลาวแลวในเรื่องการรักษา น้ําในหมอ


135 6. ถาหากตองใชน้ําทะเลเขาหมอน้ําทะเลรั่วไหลเขาหมอน้ําได ตองถายน้ําดวยกอก โบลฟองเสมอ ๆ หรือใสปูนขาวเขาหมอน้ํา ปูนขาวนี้จะเกาะผิวเผารอนใหหนาขึ้นเปนการปองกัน การผุกรอน แตขณะเดียวกันจะทําใหสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงมากขึ้น น้ําเลี้ยงสําหรับหมอน้ําและการระวังรักษา BOILER FEED WATER AND TREATMENT การเลือกใชน้ําเพื่อนําไปใชเปนน้ําเลี้ยงหมอน้ําสําหรับ Steam Power Plant นั้น จะตอง เปนน้ําที่สะอาดบริสุทธิ์จริง ๆ ยิ่งกวาน้าํ ที่ใชดื่มอีก น้ําที่ใชดื่มถามีเกลือเจือปนอยูบางเล็กนอย ( 2 – 3 เกรน) อาจเกิดคุณประโยชนตอรางกาย แตถานํามาใชเปนน้ําเลี้ยงหมอน้ํากลับจะเปนอันตราย ตอหมอน้ํา เนื่องจากน้ําทีใ่ ชเติมหมอน้ําไดมาจากหลายแหง เชน น้ําฝน, จากแมน้ํา, จากทะเล, จาก น้ําบาดาล ฯลฯ เปนตน ซึ่งแตละแหงจะหาน้ําบริสุทธิ์ที่เหมาะสมกับหมอน้ําจริง ๆ ตามที่กลาวแลว ไมไดเลย เพราะจะมีสิ่งเจือปนอยูเสมอไมมากก็นอย สําหรับหมอน้าํ เรือ โดยเฉพาะเรือเดินทะเลหรือเรือรบ มีกําเนิดมาจากน้ําทะเลเพราะมี เครื่องกลั่นน้ําสําหรับกลั่นน้าํ จืดจากน้ําทะเลแทบทุกลํา น้ําที่ไดจากเครื่องกลั่นนี้เรียกวา “น้ําอะไหล” (Make up feed Water) น้ําอะไหลนจี้ ะถูกสงเขาหมอน้าํ เพื่อทดแทนที่สูญเสียไป แตน้ําที่ไดจากการ กลั่นนี้ ก็ยังไมจัดวาเปนน้ําที่บริสุทธิ์เพราะยังมีสารหรือสิ่งเจือปน (Dissolve Solid) รวมอยูบ าง ฉะนั้น เมื่อน้ําระเหยกลายเปนไอไป สิ่งที่ละลายเจือปนอยูนจี้ ะสะสมมากขึ้น ๆ จนอาจจะเทากับที่ มีอยูในน้ําทะเลหรืออาจมากกวาก็ได เมื่อเปนเชนนี้ เราจึงทราบเหตุผลวา ทําไมจึงตองคอยระวังและกําจัดสิง่ สกปรกตาง ๆ ที่ปน มากับน้ํา ไมใหมีมากจนเกินไปจนเกิดเปนอันตรายตอหมอน้ําได เชน คอยเติมสารเคมี (Boiler Compound) เขากับน้ําเลี้ยง, โบลน้ํากนหมอและโบลฟองผิวหนาน้ําออกทิ้งเสียบาง เปนตน


บรรณานุกรม วิวัฒน ภัททิบธนี. เทคโนโลยีไอน้ํา. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพ ฯ : บริษัท เอช. เอ็น. กรุป จํากัด, 2543 สุชาติ ถูกระเบียบ. ทฤษฎีเครื่องมือกลเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 10. กรุงเทพ ฯ, 2531


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.