เอกสารวิชาการ
ชางเชื่อมประสาน
กรมอูทหารเรือ (จัดพิมพเมื่อ ตุลาคม ๒๕๔๙)
สารบัญ หนา บทที่ 1 ชนิดของการเชื่อมและเครื่องเชื่อม 1.1 การจําแนกชนิดของการเชื่อมและการตัด 1.2 การเลือกเครื่องเชื่อม
1 6
บทที่ 2 การเชื่อมและตัดโลหะดวยแกส (GAS WELDING AND CUTTING) 2.1 การเชื่อมดวยแกสออกซีอเซททีลีน 2.2 การตัดดวยแกส
14 22
บทที่ 3 การเชื่อมและตัดโลหะดวยไฟฟา (ELECTRICAL WELDING AND CUTTING) 3.1 การเชื่อมไฟฟาดวยธูปเชื่อม (SMAW) 3.2 การเชื่อมโลหะดวยแกสเฉื่อยแบบ MIG (GMAW) 3.3 การเชื่อมชนิด FLUX – CORED ARC WELDING (FCAW) 3.4 การเชื่อมโลหะดวยแกสเฉื่อยแบบ TIG (GTAW) 3.5 การเชื่อมชนิด ELECTROSLAG WELDING (EW) 3.6 การเชื่อมชนิด PLASMA ARC WELDING (PAW) 3.7 การเชื่อมชนิด STUD WELDING 3.8 การเชื่อมชนิด SUBMERGED ARC WELDING (SAW) 3.9 การตัดและซองรองดวย AIR CARBON ARC PROCESS
33 53 72 78 93 98 102 105 110
บทที่ 4 การเชื่อมตัวเรือเหล็ก (STEEL HULL WELDING) 4.1 วัสดุ 4.2 ขบวนการเชื่อม 4.3 การออกแบบ 4.4 การสรางตัวเรือ
113 125 139 154
บทที่ 5 การออกแบบรอยตอในการเชื่อม (WELDING JOINT DESIGN)
176
บทที่ 6 ความปลอดภัยในการเชื่อม (WELDING SAFTY ) 6.1 อันตรายอันเกิดจากการทํางานเชื่อม 6.2 ความปลอดภัยทั่วไป 6.3 ขอควรระวังในการเคลื่อนยายทอแกส 6.4 กฎแหงความปลอดภัยในการเชื่อมแกส
194 197 198 198
บทที่ 7 ขอบกพรองในรอยเชื่อม (WELDING DEFECT AND DISCONTINUTIES) 7.1 สาเหตุที่เกิดขอบกพรองในทางการเชือ่ ม 7.2 การซอมขอบกพรองในรอยเชื่อม 7.3 ปญหาอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในการเชื่อม บทที่ 8 การควบคุมคุณภาพงานเชื่อม (WELDING QUALITY CONTROL) 8.1 มาตรฐานการปฏิบัติในการเชื่อม 8.2 การทดสอบชางเชื่อม 8.3 เทคนิคการควบคุมคุณภาพแนวเชื่อม 8.3.1 การตรวจสอบแนวเชื่อมดวยตาเปลา (VISUAL INSPECTION) 8.3.2 การตรวจสอบแนวเชื่อมดวยผงแมเหล็ก (MAGNETIC PARTICEL INSPECTION) 8.3.3 การตรวจสอบแนวเชื่อมดวยน้ํายาแทรกซึม (LIQUID PENETRANT INSPECTION) 8.3.4 การตรวจสอบแนวเชื่อมดวยเครื่อง ULTRASONIC (ULTRASONIC INSPECTION) 8.3.5 การตรวจสอบแนวเชือ่ มดวยเครื่อง X – ray (RADIOGRAPHY INSPECTION)
200 209 210 212 213 215 216 217 219 221 225
บทที่ 9 ความรูสัมพันธกับงานเชื่อม 9.1 คุณสมบัติของโลหะธรรมทั่วไปที่มีผลตอการเชื่อม 9.2 การจําแนกชนิดของโลหะดวยประกายไฟ 9.3 ขนาดของสายเคเบิ้ล 9.4 ความเขมของกระจกหนากาก
227 230 231 234
บรรณานุกรม
235
1
บทที่ 1 ชนิดของการเชื่อมและเครื่องเชื่อม 1.1 การจําแนกชนิดของการเชื่อมและตัด
2
3
4
5
6
1.2 การเลือกเครื่องเชื่อม เครื่องเชื่อมที่ใชกันในปจจุบันมีหลายแบบและหลายขนาดดวยกัน ดังนั้นผูใชจําเปนจะตองมี ความรูทางเทคนิคมากพอควร จึงจะสามารถเลือกเครื่องไดเหมาะกับงานมากที่สุด ความรูที่จะกลาวถึง ตอไปนี้เปนความรูทางเทคนิคอันเกีย่ วแกชนิดตาง ๆ ของเครื่องเชื่อมที่ใช จึงจะเปนแนวทางใหทาน สามารถตัดสินใจเลือกชนิดที่ใหประโยชนและประสิทธิภาพแกงานมากที่สุด เครื่องเชื่อมไฟฟาสามารถจําแนกออกไดหลายชนิดดวยกัน เชน เครื่องเชื่อมแบบหมุน แบบไมหมุน แบบขับดวยมอเตอรไฟฟา แบบขับดวยเครื่องยนต แบบหมอแปลง และเร็คติไฟเออร แบบจํากัดไฟฟา ทางเขา แบบแรงเคลื่อนไฟฟาคงที่ตลอดจนแบบที่ใชไดคนเดียวหรือแบบที่ใชไดหลายคนและแบบอืน่ ๆ ชนิดของเครื่องเชื่อมที่สําคัญ 2 ชนิด (Two Basic Types) เครื่องเชื่อมแบงเปนชนิดใหญ ๆ ได 2 ชนิด คือ ชนิดกระแสคงที่ (Constant Current (CC) หรือ (Conventional) และอีกชนิดหนึ่ง คือ ชนิดแรงเคลื่อนคงที่ (Constant Voltage) (CV) หรือ Modified Constant Voltage) ชนิดกระแสคงที่ (CC) นิยมใชกับการเชือ่ มธรรมดา และบางครั้งสามารถใชกับการเชือ่ ม วิธีอัตโนมัติ สวนชนิดแรงเคลื่อนคงที่จะใชกับการเชื่อมตอเนื่องซึ่งเปนวิธีอัตโนมัติเทานั้น ขอแตกตาง ของเครื่องเชื่อมทั้งสองชนิดนี้คือการเปรียบเทียบเคิรบ (Curve) ที่ไดจากความสัมพันธระหวาง กระแสไฟฟากับแรงเคลื่อนไฟฟา โดยการตอความตานทานที่เปลี่ยนคาไดเขาไปที่เครื่อง (ซึ่งจะทํา หนาที่เปน Loads) การพลอทเคิรบจะกระทําไดจากการวัดแรงเคลื่อนระหวางปลายลวดเชื่อม (Electrode) กับงาน ณ คาตาง ๆ ของกระแสที่ใช ดังแสดงในรูปที่ 5 เครื่องเชื่อมชนิดกระแสคงที่ (Constant Current (CC) Welding Machine) เครื่องเชื่อมชนิดนี้เหมาะสําหรับใชกับการเชื่อมธรรมดาดวยธูปเชื่อม (Covered (Stick) Electrode) หรือ SMAW ใชกับการเชือ่ มแกสทังสเตน (TIG) หรือ GTAW ใชกับการเชื่อมคารบอนอารค หรือ CAW สําหรับการเซาะรอง (Arc Gouging) การเชื่อมแบบ สตัด (Stud Welding) หรือ SW นอกจากนี้ยังสามารถใชในการเชื่อมดวยวิธี อัตโนมัติ (Automatic Welding) โดยใชลวด เชื่อมขนาดโตขึ้น แตจะตองใชกับหัวปอน ลวดชนิดทีไ่ วตอแรงเคลื่อนไฟฟา (Voltage Sensing Wire Feeder)
รูปที่ 5
7
เครื่องเชื่อมชนิดกระแสคงที่ (CC) นี้ จะใหโวลท - แอมแปร (Volt - Ampere) ทางออก ดังแสดงในรูป ที่ 5 จากเคิรบ ที่แสดงนี้จะเห็นวาเครื่องเชื่อมชนิดนี้จะใหโวลเทจทางออกสูงสุดขณะไมมีโหลด (Load) หรือขณะที่มกี ระแสไหลเปนศูนย และโวลเทจจะลดลงเมื่อมีโหลดเพิม่ ขึ้นภายใตสภาพการเชื่อมปกติ โวลเทจ (Voltage) ในวงจรจะอยูใ นระหวาง 20 ถึง 40 โวลท และโวลเทจจะอยูในระหวาง 60 ถึง 80 ขณะวงจรเปด (Open Circuit) เครื่องเชื่อมชนิดนี้มีทั้งชนิดกระแสสลับหรือกระแสตรง (AC or DC) หรือทั้งกระแสสลับและกระแสตรง (AC and DC) เครื่องเชื่อมชนิดกระแสคงที่นี้เมื่อเชื่อมกับลวดเชื่อมชนิดที่มีสารพอกหุม อารคโวลเทจ (Arc Voltage) สามารถควบคุมไดโดยผูเชื่อม (Operator) อารคโวลเทจจะเปลี่ยนแปลงสัมพันธโดยตรงกับ ระยะหางของการอารคหรือ Arc Length ถาระยะของการอารคเพิ่มขึ้น อารคโวลเทจ (Arc Voltage) จะเพิ่มขึน้ ตาม และถาระยะหางของการอารคโวลเทจลดลง อารคโวลเทจก็จะลดลงตามไปดวย จากเคิรบ แสดงใหเห็นวา ขณะที่โวลเทจเพิ่มขึ้น (Long Arc) กระแสไฟจะลดลง และเมื่ออารคโวลเทจลดลง (Short Arc) กระแสไฟจะเพิ่มขึ้น ฉะนั้นดวยเหตุนผี้ ูเชื่อมสามาถเปลี่ยนกระแสไฟขณะเชื่อมหรือ เปลี่ยนความรอนในการเชื่อม (Welding Heat) ไดโดยไมจําเปนตองตั้งกระแสที่เครื่องเชื่อม หากแต เพียงเปลี่ยนระยะหางของการอารคเทานั้น เครื่องเชื่อมชนิดกระแสคงที่มีทั้งกระแสตรงหรือกระแสสลับ (DC or AC) เครื่องมีทั้งแบบหมุน และแบบไมหมุน (Rotating or Static Machines) แบบหมุนอาจไดรบั การขับจากมอเตอรไฟฟาหรือ เครื่องยนตแกสโซลีนหรือดีเซล (Gasoline or Diesel) เครื่องยนตที่ใชอาจเปนไดทั้งชนิดหลอเย็นดวยน้ํา หรืออากาศก็ได และที่เครื่องแบบหมุนนี้มกั จะมีปลั๊กสําหรับใชกับไฟแสงสวางหรือใชกับเครื่องมือที่ ตองการกําลังไฟฟาอีกดวย เครื่องเชื่อมกระแสตรง (Generator Welding Machine) ตามปกติเครื่องเชื่อมแบบหมุนหรือแบบ Generator นี้จะมีเครื่องปรับซึ่งปรับไดทั้งกระแสไฟ และแรงเคลื่อน ดังนัน้ เคิรบที่ไดจึงสามารถเปลี่ยนได ขณะไมมีโหลด (No Load) แรงเคลื่อนไฟฟา สามารถปรับไดที่ตัวควบคุมซึ่งเรียกวา Fine Adjustment ซึ่งตัวควบคุมอันนี้จะทําหนาที่ปรับกระแส อยางละเอียดขณะเชื่อมไดดว ย สวนตัวควบคุมอีกอันหนึ่ง ใชสําหรับปรับกระแสอยางหยาบ ๆ เรียกวา Coarse Adjustment สําหรับเชื่อม จากการควบคุมดังอธิบายแลวนี้ ทําใหสามารถปรับใหการอารค เปนไปในลักษณะนิ่ม (Soft) หรืออยางรุนแรงได ถาเคิรบ ที่ไดแบนราบและมีโวลเทจต่ําขณะวงจรเปด (Open Circuit) การเปลี่ยนแปลงของโวลเทจขณะอารค (Arc Voltage) จะเปนเหตุใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ของกระแสเชือ่ มอยางมาก จึงทําใหเหมาะสําหรับใชในการเชื่อมทอ (Pipe Welding) เพราะมีการ ละลายลึกดี แตถาเคิรบมีลักษณะชันพรอมกับมีโวลเทจสูงขณะวงจรเปด การเปลี่ยนแปลงของโวลเทจ ขณะอารค (Arc Voltage) ขนาดเทากันจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงของกระเชื่อมนอย และทําให การอารคนิ่ม (Soft) และเงียบ (Quiet) เหมาะสําหรับเชื่อมงานโลหะแผนบาง
8
เครื่องเชื่อมชนิดกระแสคงที่นี้สามารถนําไปใช กับการเชื่อมดวยวิธีอัตโนมัตไิ ด แตเครื่องปอนลวด (Wire Feeder) จะตองเปนแบบที่ไวตอการ เปลี่ยนแปลงของโวลเทจและลวดเชื่อมทีใ่ ชตองมี ขนาดโต
รูปที่ 6 เครื่องเชื่อมแบบหมอแปลง (Transformer Welding Machines) เครื่องเชื่อมแบบหมอแปลงนีเ้ ปนแบบที่ถูกที่สุด เบาที่สุดและดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับเครื่อง ชนิดอื่น ๆ เปนเครื่องที่ใชกระแสสลับในการเชื่อม เครื่องเชื่อมรับกําลังไฟฟาโดยตรงจากสายเมน (Main Line) กระแสไฟทางออกสามารถปรับไดโดยวิธีตา ง ๆ วิธีงาย ๆ ในการปรับกระแสเชื่อม คือ วิธีตอแทป (Tapped) ขดลวดทางออก (Secondary Coil) ของหมอแปลง วิธีนี้เปนวิธี ที่นิยมใชกันมากกับเครื่องทีจ่ ํากัดกําลังไฟฟา ทางเขา (Limited Input) ที่มีขนาดเล็ก สาย เคเบิ้ลหรือสายเชื่อม และสายดินตอกับเครื่อง โดยการเสียบหัวตอเขาไปในรูตาง ๆ(Sockets) ที่ทําไวที่เครื่องเชื่อม เพื่อเลือกเชื่อมไดตาม ตองการ เครื่องบางเครื่องอาจเลือกปรับกระแส ไฟไดโดยใช Tap Switch แทนทีจ่ ะใชเสียบ ตามรู อยางไรก็ตามการปรับกระแสแบบนี้ ไมสามารถใหคาของกระแสที่แนนอนได รูปที่ 7 เครื่องเชื่อมแบบหมอแปลงทีใ่ ชในงานอุตสาหกรรมทั่วไป มักมีเครือ่ งปรับกระแสไฟ แบบตอเนื่อง (Continuous Output Control) ซึ่งอาจเปนแบบเคลื่อนที่แกนเหล็กหรือเคลื่อนที่ขดลวดใน หมอแปลง การปรับกระแสแบบนี้เรียกวาเปนการปรับดวยวิธี Mechanical Movement ซึ่งจําเปน
9
จะตองพิจารณาถึงระยะทีจ่ ะเคลื่อนและปรับไดสูงสุด วิธีที่ดีกวาในการปรับกระแสไฟในการเชื่อมอีก แบบหนึ่ง คือ วิธีการปรับโดยอาศัยอุปกรณไฟฟา (Electrical Means) วิธีนี้แกนเหล็กของหมอแปลง หรือ Reactor ถูกทําใหอิ่มตัวโดยวงจรชวย (Auxiliary Electric Circuit) ซึ่งจะควบคุมปริมาณของ กระแสใหไหลไปทางขั้วทางออก โดยเพียงแตปรับปุมหมุน (Knob) เล็ก ๆ ก็จะสามารถทําใหควบคุม กระแสไดตั้งแต คาต่ําสุดจนถึงคาสูงสุด ถึงแมวาเครื่องเชื่อมแบบหมอแปลงจะเปนเครื่องที่ใหคุณสมบัติท่ีตองการหลายประการก็ตาม แตก็มีขีดจํากัดอยูไมนอยเชนเดียวกัน เครื่องเชื่อมแบบหมอแปลงนี้ตองการกําลังไฟฟาในระบบเฟสเดียว (Single Phase System) ความไมสมดุลยภายในสายอาจเกิดขึ้นได นอกจากนีเ้ ครื่องยังมี Power Factor ต่ํา จําเปนตองมีการปรับ Power Factor โดยการตอคอนเดนเซอร (Capacitor) เขาไปในวงจรดวย เครื่องเชื่อมแบบหมอแปลงเปนเครื่องที่มีตนทุนการผลิตต่ํา คาใชจายสําหรับผูใชนอย ตองการ เนื้อที่นอย เดินเงียบ ลดการเกิด Arc Blow ไดดี แตไมสามารถเปลี่ยนแปลงการใชงานไดกวางเทาแบบ Generator หรือแบบหมุนซึ่งมีเครื่องควบคุมถึงสองอัน เครื่องเชื่อมแบบผสมหมอแปลง - เรคติไฟเออร (Transtfomer-Rectifier Welding Machines) จากที่กลาวมาแลวขางบน เครื่องเชื่อมเปน เครื่องกระแสสลับ (AC) แบบหมอแปลง เนื่องจาก ลวดเชื่อมบางแบบ จะใหคณ ุ ภาพที่ดีตอ แนวเชื่อมก็ ตอเมื่อเชื่อมดวยไฟฟากระแสตรง (DC) ดังนัน้ วิธี ผลิตกระแสตรง ที่นอกเหนือไปจากการใชเครื่อง แบบหมุนหรือ Generator แลวยังมีอกี วิธหี นึ่ง คือ การใช เรคติไฟเออร (Rectirier) ซึ่งเปนอุปกรณ ไฟฟาอยางหนึง่ สําหรับทําหนาที่เปลี่ยนไฟฟา กระแสสลับ (AC) เปนไฟฟากระแสตรง (DC) เครื่องเชื่อมแบบเรคติไฟเออร อาจทําไดทั้งใชกับ ไฟระบบสามเฟส (Three Phase) หรือระบบเฟส เดียว (Single Phase) แบบสามเฟสจะใหผลดีกวา รูปที่ 8 แบบเฟสเดียว ในเรื่องของการไมสมดุลตอการไหล ของกระแสไฟในสาย ดังไดกลาวมาแลว ในกรณีที่ตองการกระแสไฟทั้งชนิด AC และ DC ในการเชื่อม ก็สามารถทําไดโดยการใชสวิทช ตอไปยังเรคติไฟเออรเพื่อใหกระแสไฟเชือ่ มเปน DC ดังนั้นผูเชื่อมจะสามารถเลือกใชไดทั้งกระแสตรง หรือกระแสสลับ เลือกใชขั้วบวกหรือขัว้ ลบ (Reverse of Straight Polarity) ไดตามตองการ ในเครื่องเชื่อม AC – DC บางชนิดยังประกอบเขาดวย เครื่องทําความถี่สูง (High Frequency Oscillator) ลิ้นควบคุม
10
การไหลของน้าํ และแกส ทั้งนี้เพื่อใหเหมาะสําหรับใชในการเชื่อมแบบทังสเตนอินเนิรทแกส (Tungsten Inert Gas Welding ) (TIG) เครื่องเชื่อมแบบหมอแปลง – เรคติไฟเออร มีหลายขนาด มีทั้งระบบสามเฟส และเฟสเดียว (Three Phase and Single Phase) ใชกับไฟไดหลายขนาด และมีประสิทธิภาพทางไฟฟาดีกวาแบบ Generator นอกจากนี้ยังไมมเี สียงดังขณะใชงานอีกดวย ระบบการเชื่อมหลายคน (Multiple Operator Welding System) ระบบการเชือ่ มแบบนีใ้ ชเครือ่ งเชื่อมขนาดใหญที่ใหกระแสไฟ และโวลเทจสูง ทั้งนี้เพื่อใหเพียง พอที่จะสงปอนไปยังผูเชื่อมตามจุดตาง ๆ ณ ที่เชื่อมแตละแหงจะมีเครื่องปรับกระแสไฟซึ่งเปน แบบความตานทานที่เปลี่ยนคาได (Variable Resistance) เพื่อปรับกระแสใหไดตามตองการ คุณลักษณะของกระแสไฟที่ไดรับแตละแหง (Station) จะคลายกับกระแสที่ไดจากเครื่องเชื่อมแบบ ธรรมดา ดังไดกลาวมาแลว แตเครื่องเชื่อมแบบนี้จะใหคาของโวลเทจคงที่ (Constant Voltage Output) ดังจะไดอธิบายในหัวขอตอไป ขนาดของเครื่องเชื่อม จํานวนสถานียอย ตลอดจนขนาดของ เครื่องควบคุมกระแสในแตละแหงจะตองสมดุลยกันหรือเขากันไดอยางมีประสิทธิภาพ เครื่องเชื่อมชนิดแรงเคลื่อนคงที่ (Constant Voltage (CV) Welding Machines) เครื่องเชื่อมชนิดนี้ เปนเครื่องที่ใหแรงเคลื่อนไฟฟาหรือโวลเทจคงที่ตลอดเวลาไมวากระแส ในการเชื่อมจะเปลี่ยนไปในชวงใดก็ตาม คุณลักษณะของเคิรบจากเครื่องชนิดนี้จะศึกษาไดจากเคิรบ โวลท – แอมแปร (Volt – Ampere) ในรูปที่ 9 เครื่องเชื่อมแบบนี้เหมาะสําหรับใชกับการเชื่อมโดยวิธี อัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติไดดี (Automatic or Semiautomatic Arc Welding) โดยการใชลวดเชือ่ ม ชนิดปอนตอเนื่อง (Continuous Fed Electrode Wire) ยิ่งไปกวานัน้ เครื่องชนิดนี้สรางขึ้นเพื่อผลิต กระแสไฟตรงเทานั้น ในการเชื่อมโดยใชลวดเชื่อมชนิดปอนตอเนื่อง อัตราการละลายของลวดแตละชนิดและขนาด จะเปน สัดสวนสัมพันธกับกระแสไฟที่ใช หรืออาจพูดไดวา ขณะกระแสไฟในการเชื่อมเพิ่มขึ้น ประมาณการละลาย ของลวดเชื่อมก็จะเพิ่มขึ้นเปนสัดสวนซึ่งกันและกัน ดัง แสดงในเคิรบในรูปที่ 10 ดังนั้นจะเห็นวาถาลวดเชื่อม ถูกปอนดวยอัตราเร็วอันหนึง่ มันก็จะดึงเอากระแส จํานวนหนึ่งออกจากเครื่องโดยอัตโนมัติ เพื่อละลายตัว มันเอง เครื่องเชื่อมชนิดโวลเทจคงที่นี้ จะจายปริมาณ รูปที่ 9 ของกระแสออกมา ตามแตความตองการของโหลด (Load) ที่ใสเขาไป ดวยเหตุนี้เครื่องควบคุมการเชื่อมดวยวิธีอัตโนมัตแิ บบงาย ๆ จึงถูกนํามาใช ลวดถูก ปอนเขาไปในการอารคโดยเครื่องปอนที่ใชมอเตอรไฟฟา ที่มีความเร็วคงที่และเครือ่ งปอนนี้สามารถ
11
ปรับความเร็วในการปอนลวดใหเพิ่มขึน้ หรือลดลงได ถาลวดถูกปอนดวยความเร็วสูง กระแสจะเพิ่มสูง ตามและถาลวดถูกปอนดวยความเร็วต่ํากระแสไฟก็จะลดลงตามโดยอัตโนมัติ ดังนัน้ กระแสไฟที่ใชใน การเชื่อมสามารถปรับใหมากนอยไดโดยการปรับที่ความเร็วของมอเตอรปอนลวดเชือ่ ม โวลเทจของ เครื่องสามารถควบคุมไดดว ยตัว Ouput Control ที่อยูบนเครื่อง ดังนั้นเครือ่ งเชื่อมชนิดแรงเคลื่อนคงที่นี้ จะมีที่ควบคุมอยูสองอันคือตัวควบคุมโวลเทจและตัวควบคุมกระแส ซึ่งควบคุมที่ความเร็วของการ ปอนลวดเชื่อม คุณลักษณะของเคิรบของเครื่องเชื่อมชนิดโวลเทจคงที่นี้จะต่ําลงเล็กนอยตรงสวน ปลาย แตสามารถที่จะทําใหเคิรบเอียงขึ้นไดหลายวิธีดวยกัน เชน โดยการแทป (Tap) หรือการควบคุม เพื่อใหไดเคิรบ เอียงขึ้นในขนาด ตาง ๆ กัน การเลือกลักษณะการเอียง (Slope) ของเคิรบ เปนขอสําคัญ อันหนึ่งตอวิธกี ารเชื่อมและตองานที่ จะถูกเชื่อม เครื่องเชื่อมชนิดโวลเทจ คงที่ (Constant Voltage) มีทั้งแบบ Generator และแบบ Transformer/ Rectifier แบบ Generator เปนได ทั้งแบบขับดวยมอเตอร หรือดวย เครื่องยนต รูปที่ 10 เครื่องเชื่อมแบบผสม (Combination CV – CC Welding Machines) เครื่องเชื่อมแบบนี้เปนแบบทีแ่ ปรคุณลักษณะของ Volt – Amp Curve ไดมากที่สุด ให กระแสไฟตรงที่มีคุณลักษณะของเคิรบ Volt – Amp เอียงต่ําลง (Drooping) หรือแบนราบ (Flat) โดย วิธีการแทปขัว้ หรือการปรับดวยสวิทช เครื่องแบบนี้เปนแบบผสมที่นิยมใชกันมากที่สุด เพราะทําให สามารถนําไปเชื่อมดวยวิธีการเชื่อมชนิดตาง ๆ ได เครื่องเชื่อมแบบผสมเปนไดทั้งแบบ Generator หรือ Transformer เกณฑการพิจารณาเลือกเครื่องเชื่อม (Specifying A welding Machine) การเลือกเครื่องเชื่อมใหยึดหลักดังตอไปนี้ 1. วิธีการเชื่อมทีจ่ ะใช 2. ปริมาณของกระแสที่ตองการใช 3. กําลังไฟฟาที่จะใช และ 4. ความสะดวกตาง ๆ และการประหยัด
12
ดังไดกลาวมาแลววาวิธีการเชื่อมแบบตาง ๆ จะเปนตัวกําหนดแบบของเครือ่ งเชื่อมที่ใชขนาด ของเครื่องเชื่อมยอมขึ้นอยูก บั กระแสเชื่อมกับเปอรเซ็นต Duty Cycle ที่ตองการ จากการวิเคราะหงาน ที่จะเชื่อมแนวตอ ขนาดของแนวเชื่อมและจากการศึกษาจาก Procedure Tables ทําใหสามารถเลือก ขนาดของเครื่องเชื่อมได และในที่สุดสภาพของงาน ตัวบุคคลตลอดจนการพิจารณาทางเศรษฐกิจ จะ ทําใหการเลือกเครื่องเชื่อมงายเขา ขณะเดียวกันผูขายที่อยูในทองถิ่นนัน้ ๆ ควรจะเปนผูที่ใหคําปรึกษา ในการเลือกนีด้ วย การที่จะสั่งซื้อเครื่องเชื่อมไดอยางถูกตอง ควรกระทําดังตอไปนี้ 1. บอกแบบของเครื่องหรือแคตล็อคนัมเบอร (Catalog Number) 2. บอกโมเดล (Model) ของเครื่อง 3. บอกโวลเทจทางออกที่โหลด (Load) ตาง ๆ 4. บอกชนิดของกระแสไฟเชื่อมทางออก 5. บอกเปอรเซ็นต Duty Cycle 6. บอกโวลเทจทางเขา 7. บอกขนาดความถี่ไฟฟา (Frequency of Power Supply) 8. บอกจํานวนเฟส (Phase) ที่ใช Duty Cycle ของเครื่องเชื่อม Duty Cycle หมายถึงอัตราสวนของเวลาที่ทําการอารคกับเวลาทั้งหมด สําหรับเครื่องเชื่อม เราถือ ระยะเวลา 10 นาที เปนเวลาทั้งหมด ดังนัน้ เครื่องเชื่อมที่มี Duty Cycle 60% หมายถึงเครื่องเชื่อมนั้น สามารถเชื่อมตอเนื่องกันเปนระยะเวลา 6 นาที แลวพักอีก 4 นาที เครื่องที่ใชในโรงงานอุตสาหกรรม ที่เปนชนิดกระแสคงที่ (Constant Current – Droop) สวนมากจะมี Duty Cycle 60% สวนแบบโวลเทจ คงที่ (Constant Voltage – Flat) ที่ใชกับการเชื่อมโดยอัตโนมัติจะมี Duty Cycle 100%
13
ชารท (Chart) ที่เห็นนีแ้ สดงความสัมพันธระหวางเปอรเซ็นต Duty Cycle กับ Load ที่ใช % Duty Cycle =
Rated Current 2 Load Current 2
= Rated Duty Cycle
แทนที่จะใชสตู รนี้ เราอาจใชชารทขางบนนี้ก็ได โดยการลากเสนใหขนานกับเสนเอียง ผานจุดซึ่งมี คาเทากับ Rated Current Rated และ Duty Cycle ของเครื่องใด ๆ ที่ตองการทราบ ตัวอยางเชน : อยากทราบวาเครื่องเชื่อมขนาด 400 แอมแปร 60% Duty Cycle จะสามารถนํามาใชเชื่อมดวยวิธี อัตโนมัติในชวงเวลา 10 นาที ตอเนื่องกันโดยใชกระแส 300 แอมแปร ไดหรือไม จากชารทขางบน ที่เสน A จะเห็นวาใชได และจากชารทแสดงใหเห็นวาสามารถใชไดเกินกวา 300 แอมแปร เล็กนอย โดยยังมีเปอรเซ็นต Duty Cycle 100% ที่เสน C จะเห็นวาเครื่องขนาด 200 แอมแปร 60% Duty Cycle สามารถใชเชื่อมดวยกระแส 250 แอมแปร โดยใหเปอรเซ็นต Duty Cycle ไมเกิน 40 % (หรือเชื่อม 4 นาที ใน 10 นาที) ชารทขางบนนี้สามารถนําไปใชกับเครื่องอืน่ ๆ ไดดว ย
14
บทที่ 2 การเชื่อมและตัดโลหะดวยแกส (GAS WELDING AND CUTTING) 2.1 การเชื่อมดวยแกสออกซีอเซททีลิน คือ การเชื่อมโลหะดวยการหลอมละลาย ซึ่งไดรับความรอนจากเปลวแกสหรือเปลวของออกซิเจน และอเซททีลี น ลวดเชื่ อม (Filler Metal) อาจถู ก นํามาใชก็ ไ ด ดูรูปที่ 1 อุ ณ หภูมิสู ง จากเปลว ออกซิอเซททีลีนนี้เกิดขึ้น โดยการเผาไหมของแกสอเซททีลีนและแกสอออซิเจนรวมกับออกซิเจน จากบรรยากาศดวย อุณหภูมิที่ไดจะสูงถึง 6,300°F ซึ่งสามารถละลายโลหะชิ้นงานและลวดเชื่อมให หลอมละลายเชื่อมติดกันได แกสออกซิเจนและแกสอเซนทีลิน ตางก็บรรจุอยูใ นภาชนะหรือทอที่แยก จากกันแกสทัง้ สองจะถูกปลอยไปตาม สายยางไปยังทอรชเชื่อม (Welding Torch) ซึ่งเปนที่ที่แกสทั้งสองรวมกัน แลว จึงไหลผานออกไปที่หัวเชื่อม (Welding Tip) เพื่อทําใหเกิดการเผา ไหมตอไป รูปที่ 1 เปลวไฟที่ไดจากแกสออกซีอเซททีลีน แบงออกไดเปนสามชนิดตามสวนผสมของแกสออกซิเจน และอเซททีลีน ไดแก เปลว Neutral, Carburizing และ Oxidizing เปลว Neutral เปนเปลวที่เหมาะ สําหรับใชกับการเชื่อม เปลวในลักษณะใส เปนเปลวที่สวนผสมของแกสทั้งสองมีการเผาไหมอยาง หมดจดที่สุด เปลว Carburizing เปนเปลวที่มีสวนเกินของอเซททีลีนจากการเผาไหม เปลวกลาง จะลอมรอบไวดวยเปลวชั้นนอกอีกทีหนึง่ เปลวชนิดนีจ้ ะใหคารบอนแกแนวเชื่อม สวนเปลว Oxidizing เปนเปลวที่มีสว นเกินของแกสออกซิเจน เปลวในสั้นมีลกั ษณะใส จะใหออกไซดแกแนวเชื่อม เหมาะ สําหรับการเชื่อมโลหะเฉพาะบางชนิด การตัดดวยเปลวออกซีอเซททีลีนจะมีหวั ฉีดออกซิเจนเพิม่ ขึ้น เพื่อชวยทําใหโลหะที่จะถูกตัดเกิดการเผาไหม “BURN”
15
การใชงาน (Application) คุณลักษณะทัว่ ไป (1) เคลื่อนยายไดงาย (2) ใชงาย (3) บอหลอมละลายมองเห็นไดงาย (4) เชื่อมไดทุกทาเชื่อม (5) เครื่องมือและอุปกรณราคาถูก (6) สามารถนําไปใชกับการเชื่อม การตัด การเชื่อมประสานและการบัดกรี เหมาะอยางยิ่ง สําหรับเชื่อมโลหะบางชนิดตาง ๆ (ความหนาถึง 1/4 นิว้ ) เชน เหล็ก ทองเหลือง บรอนซ ทองแดง และทองแดงผสม นอกจากนีก้ ารเชื่อมดวยออกซีอเซททีลีนยังสามารถใชกับการเชื่อมพอกดวย บรอนซเพื่อวัตถุประสงคตาง ๆ เหมาะสําหรับใชกับงานอุตสาหกรรมซึ่งสวนมากเปนงานทีเ่ กีย่ วกับ การระวังรักษา การซอมแซมทั่วไป
รูปที่ 2 เครื่องมือและอุปกรณที่ใช (Equipment) เครื่องมือและอุปกรณสําหรับใชกับการเชือ่ มชนิดออกซีอเซททีลีน ประกอบดวย (1) ทอรชเชื่อมและหัวเชื่อมพรอมดวยอุปกรณประกอบสําหรับใชกับการตัด (2) สายยาง (3) หัวปรับความดันแกส (Prssure Regulators) (4) ทอแกส (Cylinders) (5) บางทีประกอบดวยรถเข็น (ดูรูปที่ 2)
16
ทอรชเชื่อมมาตรฐาน (Standard Torch) สามารถใชกับการเชื่อม การตัดและการเชื่อมประสาน ทอรชเชื่อมเปนที่ ๆ แกสทั้งสองไหล มาผสมกันโดยมีลิ้นปดเปดใหแกสแตละชนิดไหลมารวมกันในปริมาณที่พอเหมาะ อุปกรณการตัด ประกอบดวยคันกดลิ้นออกซิเจนใหไหลพุงออกไปสูปลายหัวตัด (Cutting Tip) ทอรชหนึ่ง ๆ ประกอบดวยหัวเชื่อมหรือหัวตัดหลายขนาด (Welding & Cutting Tips) เพื่อใหพอดีกับการใชงานตาง ๆ ในการเชื่อม การตัด การเชื่อมประสาน และ การบัดกรี ตามปกติชุดเชื่อมแกสชุดหนึ่ง ๆ จะ ประกอบดวยหัวเชื่อมหรือหัวตัดตั้งแตสามขนาดขึ้นไป หัวเชื่อมที่มีขนาดเล็กเกินไป อาจตองการ เวลานานมากในการที่จะเผาโลหะชิ้นงานใหเกิดการหลอมละลายได และหัวเชื่อมที่โตเกินไปอาจเปน เหตุใหชิ้นงานรอนเกินไปจนละลายทะลุได ดังนั้นผูผลิตจึงไดกําหนดขนาดของหัวเชื่อมและหัวตัด เอาไวตามชนิดและขนาดความหนาของโลหะที่ถูกเชื่อม ขนาดของทอรชเชื่อม หัวเชือ่ มและขนาดลวดเชื่อมยอมขึ้นอยูกับ (1) ชนิดของโลหะที่ถูกเชื่อม หรือเชื่อมประสาน (ความรอนจําเพาะและสื่อการนําความรอน) (2) ความหนาของชิ้นงาน และ (3) ขนาดของแนวเชื่อมที่จะเชือ่ มใหดูชารท “Oxyacetylene Welding of Steels” เปนความรูพื้นฐาน และ ดูชารท “Properties of Common Metals” สําหรับการเชื่อมโลหะที่เปนสื่อการนําความรอนสูง เชน ทองแดง อะลูมิเนียม (ตามปกติขนาดของหัวเชื่อมจะเพิม่ ขึ้นหนึ่งหรือสองเบอร) สายยาง (Gas Hoses) อาจเปนชนิดสายคูติดกันหรือสายแยกจากกันก็ได สายสีเขียว (หรือสีน้ําเงิน) เปนสายที่ใช สําหรับแกสออกซิเจน สวนสายสีแดง (หรือสีสม) เปนสายสําหรับใชกับแกสอเซททีลีน หัวตอสาย ของแกสทั้งสองจะถูกกําหนดใหมีความแตกตางกันโดยจะใชสลับกันไมได คือหัวตอสายของแกส ออกซิเจนจะมีเกลียวเปนเกลียวขวา และของอเซททีลีนจะมีเกลียวเปนเกลียวซาย หัวปรับความดันแกส (Gas Regulators) เปนตัวบังคับหรือควบคุมใหความดนของแกสที่สงออกไปใชงานคงที่ตลอดเวลา ทั้งนี้เพื่อให ปริมาณของแกสและเปลวไฟคงที่ขณะใชงาน หัวปรับความดันแกสโดยทั่วไปเปนแบบผสมคือ มีเกจ (Gauge) 2 อัน ในหัวปรับความดันชุดหนึ่ง ๆ อันหนึง่ บอกคาความดันของแกสภายในทอ สวนอีกอันหนึ่ง บอกคาความดันของแกสที่สงออกไปตามสายยาง แกสที่ใช (Gases) แกสที่ใชโดยทั่วไป คือ แกสออกซิเจนกับแกสอเซททีลีน ยังมีแกสอื่น ๆ อีกที่ใชกับวิธกี ารเฉพาะ เชน แกสไฮโดรเจน แกสจากธรรมชาติ แกสหุงตมตาง ๆ เชน แกสมีเทน แกสโปรเพน แตเปลวไฟที่ ใหอุณหภูมิถึง 6,300°F คือ เปลวที่ไดจากการเผาไหมของแกสออกซิเจนกับแกสอเซททีลีน แกส อเซททีลีนเปนแกสที่ไมมีสี แตมีกลิ่นแรง
17
ทอแกส (Gas Gylinders) ภายในทอแกสอเซททีลีน จะบรรจุไวดวยเศษวัสดุที่ดดู ซึมอาซีโตน (Acetone) เอาไว เนื่องจาก แกสอเซททีลนี จะอยูใ นสภาพที่ปลอดภัยไมไดถาความกดดันระหวางตัวมันเองสูงเกิดกวา 15 PSI ดังนั้น การแทรกซึมของแกสอเซททีลีนเขาไปในอาซีโตน (Acetone) จะทําใหแกสอเซททีลีนสามารถบรรจุ อยูในทอภายใตความดันถึง 250 PSI ได เนือ่ งจากแกสอเซททีลีนถูกดูดซึมไวดว ยอาซีโตนนี่เอง เกจวัด ความดันจึงไมสามารถบอกปริมาณที่แนนอนของแกสอเซททีลีนภายในทอได แตจะบอกปริมาณ โดยประมาณของแกสภายในทอเทานั้น วิธีการหาปริมาณของแกสอเซททีลีนภายในทออยางแนนอน สามารถหาไดโดยการนําทอไปชั่งดู ทั้งในขณะที่ทอบรรจุเต็มและขณะที่ทอเปลา แลวคํานวณหาน้ําหนัก ของแกสภายในทอซึ่งจะพบวา น้ําหนักของแกสภายในทอ 1 ปอนด จะมีแกสอเซททีลีนอยูเทากับ 14.5 Cu. Ft. สวนทอออกซิเจนมีขนาดความจุตั้งแต 60 ถึง 300 Cu. Ft. และมีความดันของแกสภายในทอได ถึง 2,400 PSI ตามปกติแลวที่ทอแกสจะมีตัวเลขบอกขนาดจํากัดของความดันภายในทอเอาไว เกจวัด แกสออกซิเจนจะบอกปริมาณของแกสทีแ่ นนอนได รถเข็น (The Cylinder Cart) นอกจากจะทําใหการเคลื่อนยายทอแกสทั้งสองไดโดยสะดวกแลว ยังชวยปองกันมิใหทอแกส ลมได โดยเฉพาะอยางยิ่งทอแกสอเซททีลีนที่มีอาซีโตน (Acetone) บรรจุอยูภายในจะตองตั้งตรงอยู ตลอดเวลา ความปลอดภัยและขอควรระมัดระวัง (Safety Precautions) ในกรณีที่ของสามสิ่งมาเกี่ยวพันธกนั คือ สิ่งที่มีการอัดตัวสูง แกสออกซิเจนและเปลวไฟ เมื่อ สามอยางมารวมกันเขา การระมัดระวังเกีย่ วกับความปลอดภัยจะตองมีการพิจารณาปฏิบัติกันเปนพิเศษ
18
สถานภาพการเชื่อมดวยแกสออกซีอเซททีลีน (OXYACEETYLENE (GAS) WELDING CONDITIONS)
(1) - จําแนกโดยสมาคมการเชื่อมของอเมริกัน (American Welding Society Filler Metal Classification) (2) – เปลวReducing และ Carburizing มีความหมายเหมือนกันคือมีสวนผสมของอเซททีลีนมาก เปลว Oxidizing คือ เปลวที่มีสวนเกินของออกซิเจน (3) – ดูการเชื่อมเหล็กดวยแกสออกซีอเซททีลีน (4) – สําหรับโลหะสเตนเลสสใช Stabilized Filler Rod โดยตรวจดูสวนผสมของโลหะชิ้นงานกอน แลวจึงเลือก ลวดเชื่อมใหถูกตอง
19
สถานภาพการเชื่อมประสานดวยแกสออกซีอเซททีลีน (OXYACETYLENE (GAS TORCH) BRAZING (1) CONDITIONS)
(1) Braze หมายถึงการทําใหโลหะยึดติดกันโดยใชตัวประสาน (Filler Metal) เปนตัวละลายดวยอุณหภูมิไมต่ํากวา 800 °F แตจะตองไมสูงถึงกับทําใหโลหะชิ้นงานเกิดการหลอมละลาย ตัวประสานจะละลายยึดผิวงานทั้งสองดวย ลักษณะที่เรียกวา “Capillary Attraction” (2) ตัวประสานชนิดตาง ๆ ถูกนํามาใชในกรณีตาง ๆ ดูไดจากตารางขางบนนี้ (3) ดู AWS Brazing Manual AWS RA 5.8 Specification for Brazing Filler Metal.
20
การเชื่อมเหล็กดวยออกซีอเซททีลีน (OXYACETYLENE WELDING OF STEEL)
การเชื่อมเหล็กทั่วไป (Steels) ใชเปลว Neutral และฟลักซไมจําเปนสําหรับการเชื่อมโลหะชนิดนี้ (1) เนื่องจากไมมีมาตรฐานที่แนนอนเกี่ยวกับขนาดของหัวเชื่อมหรือหัวตัด (Tip Size) ดังนั้นตารางนี้จึงให ขนาดทิป (Tip) ตามขนาดดอกสวาน (Drill Size) ชนิดใชนัมเบอร (2) ใหใชชองวางนี้กรอกขนาดหัว Tip ที่ทางบริษัทผูผลิตแตละบริษัทเปนผูกําหนด (3) สําหรับทอรชที่เปนแบบ Medium Pressure หรือ Equal Pressure หรือ Positive Type (4) ดู “Oxyacetylene Gas Welding Conditions”
21
การตัดเหล็กดวยแกสออกซีอเซททีลีน (OXYACETYLENE FLAME CUTTING OF STEEL (1))
(1) สําหรับเหล็กเหนียว (Mild Steel) ที่สะอาด – ไมตอง Preheat (2) ความดันแกสและความเร็วในการตัดในตารางขางบนนี้ เปนคาโดยประมาณ (3) เนื่องจากไมมีมาตรฐานที่แนนอนเกี่ยวกับขนาดของหัวเชื่อมหรือหัวตัด (Tip Size) ดังนั้น ตารางนี้ จึงใหขนาดทิป (Tips) ตามดอกสวาน (Drill Size) ชนิดใชนัมเบอร (4) ใหใชชองวางนี้กรอกขนาดหัว Tip ที่ทางบริษัทผูผลิตแตละบริษัทเปนผูกําหนด หมายเหตุ ในการใชหัวตัด (Cutting Tip) ชนิดความเร็วสูงตัดดวยเครื่องตัด (Cutting Mtachine) ความเร็วในการตัด สามารถเพิ่มขึ้นไดอีกประมาณ 5 ถึง 25%
22
2.2 การตัดดวยแกส การตัดดวยเปลวแกสซึ่งเกิดจากปฏิกริ ิยาทางเคมีและฟสิกส ทําใหวสั ดุเกิดการเผาไหมและ หลอมเหลว การเริ่มเผา เผาจนถึงอุณหภูมจิ ุดลุกไหม ใชเปลวเผาของแกสเชื้อเพลิงกับแกสออกซิเจน วัสดุชิ้นงานจะทําปฏิกิริยากับออกซิเจนบริสุทธิ์ประมาณ 99.5 เปอรเซ็นต เกิดการเผาไหมกลายเปน เหล็กออกไซด (FeO) ในสภาพหลอมเหลว ใชออกซิเจนอีกสวนหนึง่ ที่เหลืออยูเปาน้ําโลหะออกจาก รอยตัด น้ําโลหะเหลวบางสวนจะกลายเปนเฟอรัสออกไซด (Fe2O3) และเกิดออกซิเดชั่นตอไป คุณสมบัตขิ องเปลวแกสตัดทีด่ ี ตองมีคุณลักษณะดังตอไปนี้ 1. จุดเกิดประกายลุกไหมของวัสดุต่ํากวาจุดหลอมตัวของมัน 2. จุดหลอมตัวของตะกรันเหลวจากการตัดต่าํ กวาจุดหลอมตัวของวัสดุ คุณสมบัติดังกลาว ควรจะเกิดขึน้ กับเหล็กไมผสมและเหล็กผสมต่ํา การตัดดวยเปลวแกส การตัดดวยเปลวแกสทีน่ ิยมกันมากในปจจุบันคือ การตัดดวยชุดหัวตัดใช เปลวแกส ชุดหัวตัดดวยเปลวแกสประกอบดวยชุดหัวเผา ภายในประกอบดวยนมหนูเผาและนมหนูตัด ซึ่งมีลักษณะเปนทอทรงกระบอกเพื่อใหออ กซิเจนที่ใชพงุ เปนลําแสงอยูตรงกลาง เปลวรูปวงแหวน หรือเปลาเผาเปนลําแสงเล็ก ๆ เปนรูตะแกรงโดยรอบ เปลวเผาเปนเปลวลุกไหมทเี่ กิดจากแกสเชื้อเพลิง กับออกซิเจน ใชเปลวเผาเผาชิ้นงานใหรอ นแดงคงที่สม่ําเสมอจนรอนถึงจุดหลอมเหลว จากนัน้ ใช ออกซิเจนพนเปาเปนลําแสงสม่ําเสมอตลอดความยาวของรอยตัด ทําใหเกิดความรอนที่วัสดุรอบขาง รอยตัดและบริเวณใกลเคียง ความรอนที่เกิดขึ้นเปนการใหความรอนเผานํา (preheat) ทําใหการตัดดวย ออกซิเจนขั้นตอนตอไปงายขึ้น เปลวเผาตองนํากอนใชเปลวตัดเสมอ ความรอนที่ใชเผาประมาณครึ่งหนึ่ง ของปริมาณความรอนที่ใชทั้งหมด เปลวเผาตองเผานําใหเพียงพอจนถึงจุดเริ่มตัด และเมื่อทําการตัด ไดแลวก็ยังปดเปลวเผาไมไดใชควบคูกนั ไป เพราะความรอนจากการตัดไมเพียงพอที่จะใหปริมาณ ความรอนที่จะใชตัดตลอดความยาวชิ้นงานได การตัดดวยเปลวแกสสามารถตัดไดหนาถึง 3,000 มิลลิเมตร ความเร็วตัดขึ้นอยูกบั ความหนา ของชิ้นงาน ซึ่งเราสามารถเปรียบเทียบเวลาที่ควรใชในการตัดอยางเหมาะสมไดจากกราฟที่แสดงใน รูปที่ 3 เชน ความหนาของชิ้นงานหนา 5 มิลลิเมตร จะใชความเร็วตัดประมาณ 700 มิลลิเมตร/นาที สวนชิ้นงานหนา 2,000 มิลลิเมตร ใชความเร็วตัดไมเกิน 25 มิลลิเมตร/นาที รอยตัดมีความกวาง 3 – 25 มิลลิเมตร การตัดชิ้นงานหนา ๆ ขอบรอยตัดจะมีขอบโคงที่รอยตัดดานบน รองตัดเปนแนวขนาน เปนรองลึกตลอดความหนา
23
รูปที่ 3 ความเร็วตัดดวยหัวตัดแกสเมื่อตัดอัตโนมัติ (A) และตัดดวยมือ (B) แนวดิ่งแสดงคาความเร็วตัดคาแนนอน แสดงความหนาชิ้นงาน อุปกรณตัดดวยแกส (cutting attachment) การทําหนาที่ตัดรวมกันระหวางเปลวตัดของออกซิเจน และเปลวเผาของชุดหัวตัดแตละชนิดแตกตางกันตามชนิดและบริษัทผูผ ลิต ชุดหัวตัดแกสบางชนิด เปนแบบหัวฉีด (injector type) ตัดหัวออกแบบคลาย ๆ หัวเชื่อมแกส จึงมีการหยิบใชงานผิดหรือสับ กันบอย ๆ ลักษณะสรางของชุดหัวตัดดวยแกส (Flame cutting burners) ชุดหัวตัดแกสจําแนกไดเปน 2 ชนิด คือ ชุดหัวตัดแกสดวยมือและชุดหัวตัดแกสดวยเครื่องจักร ชุดหัวตัดดวยมือจําแนกไดเปนชุดหัวตัดเฉพาะ และชุดหัวตัดที่ใชงานรวมกับชุดหัวเชื่อมแกส ชุดหัวตัดแกสดวยเครื่องจักรใชระบบควบคุมอัตโนมัติ สามารถตัดตรง ตัดโคง ตัดเลี้ยวตามแบบ ตัดทอ สายทอสงจายออกซิเจนเพื่อนํามาใชตัดสามารถ สงจาย 2 ทอ หรือ 3 ทอ ระบบสงจาย 2 ทอ ใชกับชุดหัวตัดแกสตัดงานบาง ๆ สวนระบบจาย 3 ทอ ใช ตัดงานหนา รูปที่ 4 แสดงชุดหัวตัดแกสดวยมือทั้งชนิดปลายนมหนูตดั สั้น และปลายนมหนูตัดยาว
รูปที่ 4 ชุดหัวตัดแกสดวยมือ
24
ระบบสงจาย 2 ทอ ทอหนึ่งสําหรับแกสผสมเพื่อใชกับเปลวเผา อีกทอหนึ่งสําหรับออกซิเจน เพื่อใชกับเปลวตัดซึ่งอยูรวมกันภายในชุดมือตัดเดียวกัน ชุดหัวตัดแกสสําหรับตัดงานหนา ๆ ใชระบบ จาย 3 ทอ เนือ่ งจากมีขอดีคอื เมื่อใชแกสออกซิเจนจํานวนมากเพื่อตัดและเผางาน การแยกทอจากกัน เปนการแยกแรงดันใชงานทําใหมีแรงดันเพียงพอที่จะตัดชิน้ งานหนา ๆ ได การปรับเปลวเผาจะแยกวาลว สําหรับแกสเชื้อเพลิงและออกซิเจนที่มือจับของชุดหัวตัดแกสหรือที่มือจับของชุดตัดขับดวยเครื่อง สวนวาลวปดเปดออกซิเจนเพื่อใชตดั จะมีอกี ตัวหนึ่ง ใชคันกระเดื่องมีสปริงบังคับชวยปดเปดอยางรวดเร็ว ในขณะทําการตัด การผสมของแกสเชื้อเพลิงกับแกสออกซิเจนเพื่อจุดลุกไหมใหเกิดเปลวเผา จะผสมใหหวั เผา (ผสมภายใน) หรือเกิดภายนอกหัวเผา (ผสมภายนอก) ก็ได การผสมภายนอกจะใชกับชุดหัวตัดแกส สําหรับตัดงานหนาเพื่อปองกันการเกิดไฟกลับ การผสมภายใน แกสผสมในหองผสมของชุดหัวตัด อาศัยหลักการของอินเจ็คเตอร ตัวอินเจ็คเตอรจะอยูใ นตําแหนงตรงกลางของชุดหัวตัดแกสหรือสวน ปลายดานหลังของทอผสมหรืออยูตอจากปลายนมหนูตัดเพื่อใชตัด รูปที่ 5 แสดงชุดหัวตัดแกสดวยมือ ลักษณะตาง ๆ
รูปที่ 5 ชุดหัวตัดแกสดวยมือลักษณะตาง ๆ แสดงคุณลักษณะเปนภาษาอังกฤษ
25
รูปที่ 5 (ตอ) ชุดหัวตัดแกสดวยมือลักษณะตาง ๆ แสดงคุณลักษณะเปนภาษาอังกฤษ นมหนูตัดชนิดตาง ๆ (Flame cutting nozzles) การทํางานรวมกันของเปลวเผาและลําแสงตัดของ ออกซิเจน ใชนมหนูตดั ชนิด 1 ชิ้น หรือ 2 ชิ้น มีโครงสรางลักษณะหัวตัดและประโยชนใชงานแสดง เปรียบเทียบดัง รูปที่ 6 ซึ่งเปรียบเทียบลักษณะนมหนูตดั ดวยเปลวแกสลักษณะตาง ๆ
26
รูปที่ 6 ลักษณะปลายนมหนูของชุดหัวตัดแกสลักษณะตาง ๆ ชุดหัวตัดแกส ที่นมหนูตดั ดวยเปลวแกสของหัวเผาและหัวตัดแกสแยกกัน ตัวนมหนูสําหรับ ออกซิเจนเพื่อใชเปนตัวพนตัดจะอยูเรียงลําดับตอจากหัวนมหนูเผา ตัดชิ้นงานตามทิศทางที่ทําการตัด หัวนมหนูเผา (heating nozzles) จะอยูในตําแหนงสูงกวาหัวนมหนูตดั เล็กนอย ทั้งนี้เพื่อใหมีระยะของ เปลวเผายาวเพียงพอ ชนิดหัวตัดแบบนี้บางทีก็เรียกชุดหัวตัดแกสแบบ 2 หัว หรือ 2 ตอน ใชตดั ตรง และตัดโคงรัศมีโต ๆ ตัดแผนงานบางกวา 5 มิลลิเมตร และสามารถตัดในทิศทางเดียวเรียงลําดับหัวเผา และหัวตัดทานั้น ดูรูปที่ 5 ชุดหัวตัดแกสที่นมหนูตดั อยูต รงกลาง ตัวหัวเผาและหัวตัดจะสวมอยูด วยกัน รูสําหรับให ลําเปลวของออกซิเจนที่ใชตดั จะอยูตรงกลาง สวนรูสําหรับแกสผสมออกซิเจนกับแกสเชื้อเพลิงเพื่อใช เผาไหมใหเกิดเปลวเผาอยูโดยรอบ มีอยูดวยกันหลายลักษณะ เชน เปนวงแหวน เปนรูตะแกรงรูปวงแหวน เปนรองผาหรือเปนรูนมหนูวงแหวนโดยรอบ ทั้งรูแกสตัดและรูแกสเผาจะไดตําแหนงศูนยกลางตอกัน ชองวางรูปวงแหวนที่ปลายนมหนูตดั แบบวงแหวนจะเกิดเปลวเผาโดยรอบเปลวตัด เปน เปลวเผาเล็ก ๆ สั้น ๆ ทําใหเกิดไฟกลับได สังเกตจากมีเสียงระเบิดบอย ๆ ถาเปนแบบมีรูหรือรองผาจะ ทําใหไดเปลวเผายาว ไมทําใหเกิดเปลวสั้นบางสวน เมื่อใชงานไปนาน ๆ ทําใหปลายนมหนูสกปรก เพราะน้ําเม็ดโลหะกระเด็นเกาะปลายปดรูนมหนู ปลายนมหนูของหัวตัดแบบวงแหวนผูผลิตมักผลิต
27
แยกเปน 2 ชิ้น ตามความจําเปนการใชงาน ตองรักษาวงแหวนใหกลมคงที่และสมดุลตอกันอยาง สม่ําเสมอ การปรับแตงชุดอินเจ็คเตอรตดั ตองกระทําดวยความรอบคอบระมัดระวัง ปลายนมหนูชนิด มีรูเปลาเผาและรูเปลวตัดทําเปนชิ้นเดียว นมหนูแบบมีรองผาจะผลิตดวยเครื่องกัดทําเปนสองชิ้น หรือ แบบรูตะแกรง โครงสรางจะสึกหรอยาก ปลายนมหนูตัดชนิดมีรองผาจะทําใหเกิดเปลวเล็ก ๆ หลายเปลว เพื่อที่จะสามารถใหความรอนและใชแกสเทากันทุกเปลว เมื่อใชงานไปนาน ๆ จนกวาจะใชงานตอไป อีกไมได ก็สามารถเปลี่ยนปลายนมหนูใหมไดอีก รูปที่ 7 แสดงชุดปลายนมหนูตัดที่ใชกับแกสชนิด ตาง ๆ
รูปที่ 7 ชุดปลายนมหนูของชุดหัวตัดแกสชนิดตาง ๆ
28
วิธีการใชหัวตัดแกส การเตรียมงานกอนทําการตัดจะตองตอชุดหัวตัดแกสกับมือจับ และตอมือจับกับ สายยางทอแกสออกซิเจนและแกสเชื้อเพลิง หมุนเกลียวยึดใหแนน นําสายยางอีกดานหนึ่งตอกับเรกูเลเต อรปรับแรงดัน (pressure regulator) ซึ่งตออยูกับทอแกสเชื้อเพลิงและทอออกซิเจน ขันรอยตอทุกจุดให แนนดวยความรอบคอบไมใหเกิดการรั่วไหล ถาเกิดการรั่วไหลแกสเชื้อเพลิงที่รั่วไหลอาจผสมกับ อากาศทําใหเกิดการระเบิดได และถาออกซิเจนรั่วไหลทําใหปริมาณออกซิเจนในบริเวณนั้นมีปริมาณ มากเกินอัตราสวนปกติจะทําใหเปนอันตรายตอระบบหายใจ จุดระเบิดลุกไหมไดงาย ฉะนั้นเมื่อเลิก งานตองปดวาลวหัวทอออกซิเจนและแกสเชื้อเพลิงเปนอยางดีไมเปดวาลวทิ้งไว หลังจากเปดกอกหัวขวดใชงานแลว ใหปรับแตงแรงดันที่เรกูเลเตอร ปรับแรงดันใหไดแรงดัน ออกซิเจนพอเหมาะกับขนาดเบอรของชุดหัวตัดและความหนาชิ้นงาน เบอรของชุดหัวตัดบริษัทผูผลิต หัวอินเจ็คเตอรตัดมีปลายนมหนูแยกตามชนิดของแกสเชื้อเพลิงที่ใชเปนผูกําหนด มีตารางคูมือบอกคา แรงดันใชงาน ปริมาณความสิ้นเปลืองตาง ๆ เปดวาลวออกซิเจนและวาลวแกสเชื้อเพลิงที่มือจับหัวตัด เพื่อจุดแตงเปลวเผาไหมไดเปลวกลาง ทดลองเปดกระเดือ่ งออกซิเจนตัดจะสังเกตเห็นวามีปริมาณของ แกสเชื้อเพลิงมากอยูนิดหนึ่ง โดยการปรับแตงเปลวใหม อัตราสวนที่ใชใชออกซิเจนมากกวา ปกติประมาณ 1:1.4 (ดังแสดงในตารางที่ 2) และควรทดลองเปลวใหถกู ตองกอนตัดเสมอ คุณลักษณะทัว่ ไป อัตราสวนผสมโดยปริมาตร (m) ออกซิเจน : แกสเชื้อเพลิง (โดยปริมาตร) อัตราสวนของแกสเชื้อเพลิงในเปลวเผา (%) คาความรอนสูงสุด (kcal/Nm3) คาความรอนของแกสผสมต่ําสุด (kcal/ Nm3) ความเร็วในการจุดลุกไหม (cm/s) คาความรอนจําเพา (kcal/cm2s) อุณหภูมิของเปลว (°C)
อะเซทิลีน 1.3
โพรเพน 3.6
มีเทน 1.75
43.5 13600 5915 830 9.83 3150
21.7 22350 4850 210 2.03 2780
36.4 8550 3110 320 1.98 2775
ตารางที่ 2 คุณสมบัติของแกสเชื้อเพลิงที่ใชกับชุดหัวตัดแกส การเริ่มตัด เผาชิ้นงานตรงจุดที่จะตัดใหรอ นแดงจนกระทั่งเปลี่ยนเปนสีขาว เปดวาลวหรือ กระเดื่องเปดออกซิเจนเพื่อปรับแตงเปลวตัด ขณะเดียวกันเคลื่อนหัวตัดดวยความเร็วสม่ําเสมอไปตาม รอยขีดหมาย ระยะหางจากปลายถึงผิวหนาชิ้นงานที่จะตัดมีระยะคงที่ ปกติจะใชลอเลื่อน (ดังแสดงใน รูปที่ 8) สําหรับยึดชุดหัวตัดเคลื่อนไปตามรอยขีดหมายที่ตองการตัด รอยตัดจะตรงเรียบสม่ําเสมอถา เลือกใชชุดหัวตัดแกสชนิดขับดวยมอเตอร การใชความเร็วในการเคลื่อนที่หัวตัดควรใชความเร็วที่ เหมาะสมและสม่ําเสมอ เพื่อใหผิวของรอยตัดที่ถูกตอง ดังแสดงในรูปที่ 9 สวนขอบกพรอง สาเหตุ
29
และแนวทางแกไขในการตัดโลหะดวยแกสไดสรุปไวในตารางที่ 3, 4 และในรูปที่ 10 แสดงคุณภาพ ของผิวรอยตัดที่ถูกตองและเหมาะสมกับความหนาชิน้ งาน
รูปที่ 8 ชุดตัดแกสดวยมือชนิดดามจับตรงและดามจับงอ มีลอเลื่อนและแขนวงเวียน ตัดชิ้นงานวงกลมหรือตัดตรง
รูปที่ 9 ผิวรอยตัดของชิ้นงานตัดดวยแกสใชความเร็วตัดตางกัน เหล็ก St 37 หนา 12 มิลลิเมตร
30
รูปที่ 10 คุณภาพของผิวรอย ตัดตาม DIN 2310 การตัดหลอมเหลวและการตัดดวยเปลวออกซิอเซททีลีนเปนการทํางานขั้นสําเร็จที่จําเปนและ สําคัญขั้นตอนหนึ่ง การทํางานในขั้นเริ่มตนเปนการตัดดวยมือคลายคลึงกับการเชื่อมไฟฟาดวยมือ ปจจุบันไดมีการพัฒนาการตัดดวยชุดหัวตัดแกสควบคุมกลไกเพิ่มขึ้น เชน ขับดวยมอเตอร ดังแสดง ในรูปที่ 11 ทําใหสามารถเคลื่อนตัดตามทิศทางใหมรี ูปรางตามตองการ มีชุดตัดควบคุมอัตโนมัติ สามารถติดตั้งตัดตามความเหมาะสมของชิ้นงาน บางชนิดขับเคลื่อนดวยแรงขับของมอเตอร ทําให เคลื่อนที่ไปบนผิวหนาแผนงานและเราสามารถที่จะปรับแตงความเร็วของมอเตอรไดดว ยระบบไฟฟา และการปรับแรงดันออกซิเจน การตัดแนวตรงชุดหัวตัดจะเคลื่อนไปตามรางนําตัด ซึ่งวางทาบกับ ผิวชิ้นงานใหไดรอยตัดตรงตามที่ขีดหมาย
ตัดตรง
รูปที่ 11 เครื่องตัดแกสขับเคลื่อนดวยมอเตอร
31
ตัดกลมใน
ตัดกลมนอก
รูปที่ 11 (ตอ) เครื่องตัดแกสขับเคลื่อนดวยมอเตอร
เครื่องตัดชนิดติดตั้งกับที่มีอยูทั้งชนิดที่ควบคุมดวยมือและชนิดควบคุมอัตโนมัติ มีเทปแมเหล็ก หรือภาพไฟฟา (electric photo) ชวยควบคุมการตัด และปจจุบันไดกาวหนาไปจนสามารถใชคอมพิวเตอร ควบคุมการตดั ฉะนั้นผูตัดสามารถเลือกชุดหัวตัดใชเปลวและหัวตัดหลอมเหลวมาใชตัดได เครือ่ งตัด ชนิดทันสมัยสามารถตัดชิ้นงานผลิตจํานวนมากติดตั้งเปนชุดขนานกัน หรือตัดพรอมกันทีเดียว จํานวนมากชิน้ ใหมีขนาดเทากันได (รูปที่ 12) ชุดหัวตัดชนิด 3 หัวเผา/ชุด สามารถตัดชิ้นงานที่มี ลักษณะเปนแนวโคง (curve) หรือรูปรางตามความตองการได เปนการเตรียมงานกอนการเชื่อมที่ตกแตง นอยที่สุด ผูปฏิบัติงานตองวางแผนตัดชิ้นงานอยางตอเนือ่ ง สามารถตัดชิ้นงานตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อ ลดราคาตนทุนในการเตรียมงานตัดหลายครั้ง
รูปที่ 12 เครื่องตัดชนิดตั้งอยูก ับที่ใชแบบตัดเปนแนวโคงตามแบบและเครื่องตัดชนิดตั้งอยูกับที่ ใชแบบตัดหรือใชวงเวียนควบคุมการตัด
32
การตัดเหล็กเหนียวดวยชุดหัวตัดแกส ตองทราบอัตราสวนผสมของธาตุตาง ๆ ในเหล็กเหนียว ชนิดนั้น ๆ ซึ่งสามารถดูเปรียบเทียบไดจากในตารางที่ 3 ซึ่งคาเหลานี้จะไมสูงเกินไปกวานีแ้ ตจะเพิม่ ขึ้น เล็กนอยเมื่อเริม่ เผาชิ้นงานกอนตัด ขอควรระวังในการตัดดวยหัวตัดแกสก็คือ การเพิ่มคารบอนแกผิวหนา รอยตัด เพราะคารบอนที่ผิวรอยตัดเปนตัวทําใหเปอรเซ็นตคารบอนในเนื้อเหล็กเหนียวเพิ่มขึ้น และ เราก็ไมสามารถปองกันหรือแกไขได การสังเกตปริมาณคารบอนที่เพิ่มขึ้นในเนือ้ เหล็ก สังเกตจากผิวรอยตัดสามารถชุบแข็งไดหรือ มีผิวแข็งจากเดิม ปกติเหล็กเหนียวจะชุบผิวแข็งไมได ผิวที่แข็งตกแตงดวยเครื่องมือไดยากทําใหเกิด รอยรั่วไดงาย การทําใหความแข็งลดลงทําไดโดยการเผาชิ้นงานกอนและหลังการตัด รอยตัดทีเ่ ปน รอยบากเตรียมงานเชื่อมจะหลอมละลายเปนแนวเชื่อมภายหลัง จึงไมมีผลในการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ ของแนวเชื่อมที่สําคัญมากนัก ผิวตัดที่ตองรับภาระใชงานหนักและผิวชิน้ งานตองรับภาระที่เปลี่ยนแปลง ตองเจียระไนผิวที่ มีคารบอนที่เคลือบอยูหนาประมาณ 0.2 มิลลิเมตร ออกเสียกอน ชิ้นงานที่หนากวา 30 มิลลิเมตร จะมี ผิวแข็งหนาไมต่ํากวา 1.5 มิลลิเมตร ตองใชเครื่องจักรแตงผิวแข็งออกกอนนําไปใชงาน ตารางที่ 3 คุณสมบัติของเหล็กที่สามารถตัดดวยหัวตัดแกสไมตองเผากอนตัด ชนิดของธาตุประกอบ สวนผสมเปนเปอรเซ็นต แมงกานีส ซิลิคอน ทองแดง อะลูมิเนียม โบลิบดินัม โครเมี่ยม นิกเกิล ทังสเตน
13 Mn 2.9 Si 0.7 Cu 10 Al 0.8 Mo 1.5 Cr 34 Ni 10 W
สวนผสมของคารบอนสูงสุด เปนเปอรเซ็นต 1.3 0.2
0.2 0.5 0.8
33
บทที่ 3 การเชื่อมและตัดโลหะดวยไฟฟา (ELECTRICAL WELDING AND CUTTING) 3.1 การเชื่อมไฟฟา ดวยธูปเชื่อม (SHIELDED METAL ARC WELDING) (SMAW) เปนการเชื่อมดวยการอารคชนิดหนึ่ง ซึ่งไดรับความรอนจากการอารคของธูปเชื่อมกับชิ้นงาน ี โดยมสารพอกหุ มทําหนาทีเ่ ปนเกราะ (Shield) ปองกันบรรยากาศ และโลหะเชื่อมไดรับโดยตรงจาก ธูปเชื่อม (Covered Electrode)
รูปที่ 1 จากรูปแสดงใหเห็นธูปเชื่อม (Covered Electrode) และแกนของลวดเชือ่ ม (Core Wire) บริเวณ ของการอารค เกราะปองกันบรรยากาศ แนวเชื่อมและ Slag ที่แข็งตัวแลว การนําไปใช (Application) วิธีเชื่อมแบบนี้สามารถนําไปเชื่อมโลหะเหล็กทุกชนิด ซึ่งมีความหนาตั้งแตเบอร 18 (18 Gage) ขึ้นไป ถาโลหะหนาเกินกวา 1/4 นิ้ว จําเปนตองบากรองแนวตอและใชเทคนิคการเชื่อมหลายแนว การเชื่อมสามารถกระทําไดทุกทาเชื่อม (All Positions) การอารคสามารถมองเห็นไดโดยผูเชื่อม จึงทํา ใหสามารถควบคุมน้ําเหล็กได การเคาะ Slag จําเปนสําหรับการเชื่อมแบบนี้ เครื่องมือและอุปกรณ (Equipment) เครื่องมือมาตรฐานสําหรับใชในการเชื่อมชนิดนี้มีดังรูปที่ 2 คือ (1) เครื่องเชื่อม (Welding Machine or Power Source) (2) ธูปเชื่อม (The Govered Electrode) (3) หัวจับลวดเชือ่ ม (The Electrode Holder) และ (4) สายเคเบิ้ล (The Welding Cables)
34
รูปที่ 2 เครื่องเชื่อม (Welding Machine) เปนอุปกรณที่สําคัญที่ทําหนาที่เปนตัวผลิตกระแสไฟ เพื่อนําไปใช ในการเชื่อม เครื่องเชื่อมสําหรับใชกับการเชื่อมดวยธูปเชื่อมนี้มีทั้งเครื่องกระแสสลับ (AC) และเครือ่ งเชื่อม กระแสตรง (DC) ในกรณีกระแสตรงจะมีขั้ว (Polarity) ทั้งขั้วลบ (Straight Polarity or Electrode Negative) และขั้วบวก (Reverse Polarity or Electrode Positive) การเลือกเครื่องเชื่อมใหเหมาะกับงาน หรือการใชพอจะถือหลักไดดังตอไปนี้ แบบหมอแปลง (AC Transformer) เปนแบบทีเ่ ล็กที่สุด เบาทีส่ ุด และราคาถูกทีส่ ุดในจํานวนเครื่องเชื่อมทั้งหลาย นอกจากนั้นยังมีเสียงเงียบที่สุดอีกดวยสวนมากจะมี ตัวควบคุมกระแสอยูอันเดียว หรือบางแบบก็จะปรับกระแสโดยการใชแกนเสียบเขาไปในรูตาง ๆ แบบหมอแปลงเรคติไฟเออร (Transformer – Rectifier) เปนแบบที่สามารถเปลี่ยนกระแสไฟ AC เปน กระแสไฟ DC เพื่อใชกับการเชื่อมได เครื่องเชื่อมแบบนี้สวนมากจะมีที่ปรับกระแสอันเดียว ราคา จะสูงกวาแบบหมอแปลงธรรมดา เครื่องเชื่อม AC – DC หมอแปลงเรคติไฟเออรบางทีก็สรางขึ้นเปนพิเศษ คือใหสามารถใชกระแสไฟในการเชื่อมไดทั้ง AC และ DC โดยมีสวิทชเปลี่ยนกระอยูในเครื่อง และมี สวิทชเปลี่ยนขั้ว (Polarity Switch) เปนบวก (Positive) หรือลบ (Negative) ในกรณีกระแสตรง สวน เครื่องแบบหมุน DC Generator รูสึกจะเปนเครื่องที่มีความพิเศษนําหนาเครื่องดังทีไ่ ดกลาวมาแลวนี้ เพราะสามารถปรับไดทั้งโวลเทจและกระแสเครื่อง DC Generator อาจจะขับดวยมอเตอรไฟฟา หรือ ดวยเครื่องยนตเผาไหมภายใน ซึ่งอาจเปนเครื่องยนตแกสโซลีนหรือเครื่องยนตดีเซลลก็ได หัวจับลวดเชื่อม (The Electrode Holder) เปนตัวทีใ่ ชสําหรับจับลวดเชื่อมโดยผูเชื่อมจะถือเคลื่อนที่ ลวดเชื่อมไปตามแนวตอขณะเชื่อม หัวขับลวดเชื่อมมีหลายแบบดวยกัน มีทั้งแบบทีป่ ากจับเปนฉนวน และไมเปนฉนวน (Insulated and Non-insulated Type) และมีอีกแบบหนึง่ เปนแบบ Collet (Collet type) แบบปากจับชนิดเปนฉนวนใชกันมากที่สุด หัวจับลวดเชื่อมมีหลายขนาดขึ้นอยูก บั ความสามารถใน การยอมใหกระแสไหลผานไปได วงจรการเชื่อม (The Welding Circuit) ประกอบดวยสายเคเบิ้ลและขอตอ ซึ่งจะทําหนาที่ใหกระแส ไหลจากเครื่องไปยังอารค สายเชื่อมหรือสายทางดานลวดเชื่อมเปนวงจรขางหนึ่งซึ่งตอจากหัวจับ ลวดเชื่อมไปยังขั้วตอหนึ่งทีเ่ ครื่องเชื่อม สวนสายดิน หรือ Work Lead เปนวงจรอีกขางหนึ่งซึ่งตอจาก ปากคีบที่งานไปยังอีกขั้วตอหนึ่งที่เครื่องเชื่อม สายเคเบิ้ลทั้งหลายตามปกติจะทําจากลวดทองแดง อ เสนเล็ก ๆ รวมกันหลายรอยเสน แตบางทีก็ทําจากอะลูมิเนียม ลวดสายเคเบิ้ลนี้จะหุมไวดวยยางหรื
35
Neoprene ขนาดของสายเคเบิ้ลสามารถกําหนดไดตามขนาดสูงสุดของกระแสที่ใช ขนาดที่ใชทั่วไป มีตั้งแต AWG No.6 ถึง AWG No.4/0 คือใชกับกระแสไฟไดตงั้ แต 75 แอมแปรขึ้นไป สวนความยาว จะตองไมเกินกวาที่กําหนดให ธูปเชื่อม (Covered Electrodes) เปนทั้งตัวอารคและตัวใหโลหะเชื่อมแกแนวตอ มีขนาดตัง้ แต 1/16” ถึง 5/16” (ขนาดของแกนลวด) ขนาดยาวมี 9”, 14” และ 18” ขนาด 14” เปนขนาดที่ใชมากที่สุด สารที่ใชพอกหุมลวดเชื่อมจะทําหนาที่ดังตอไปนี้ : (1) ใหแกสซึ่งเกิดจากสวนผสมของสารพอกหุมเพื่อเปนเกราะปองกันการอารคจากบรรยากาศ (2) ขจัดออกไซดเพื่อทําใหโลหะเชื่อมบริสุทธิ์ (3) ใหสแลกปกคลุมแนวเชื่อมเพื่อปองกันการรวมตัวจากออกซิเจน (Oxidation) (4) มีธาตุที่ใหไอออน (IONS) ซึ่งชวยทําใหการอารคสม่ําเสมอ (5) มีสารผสมซึ่งชวยทําใหโลหะเชื่อมมีความแข็งแรงมากขึน้ (6) มีผงเหล็กเพื่อชวยในลวดเชือ่ มมีประสิทธิภาพเพิ่มขึน้ คุณลักษณะของลวดเชื่อมแบบตาง ๆ ไดถูกจัดเปนมาตรฐานโดยสมาคมการเชื่อมของอเมริกัน (American Welding Society) – (AWS) ระบบการจําแนกลวดเชื่อมของ AWS จะบอกใหทราบถึงแค วามแข็งแรงของโลหะเชื่อม ทาเชื่อม (Welding Position) องคประกอบตาง ๆ ในการใชลวดเชื่อม และ ในบางกรณีจะบอกถึงการวิเคราะหโลหะเชื่อมดวย การจําแนกประเภทลวดเชื่อมโดย AWS นิยม กําหนดเปนหมายเลข สวนระบบที่กําหนดเปนสี (Color Code) ไมนิยมใชในปจจุบัน การเลือกลวดเชื่อมสําหรับใชกับงานแตละงานยอมมีความจําเปนยิ่ง และควรจะยึดหลักดังตอไปนี;้ 1. ความแข็งแรงของชิ้นงาน 2. สวนผสมของโลหะชิ้นงาน 3. ทาเชื่อม (Welding Position) 4. ชนิดของกระแสไฟที่ใช 5. ลักษณะของแนวตอและการประชิด 6. ความหนาและรูปรางของชิ้นงาน 7. ขอกําหนดเกีย่ วกับชิ้นงาน (Specification) 8. ประสิทธิภาพในการผลิตและสภาพของงาน ความปลอดภัยในการเชื่อม (Welding Safety) ผูเชื่อมจําเปนจะตองสวมเสือ้ เพื่อปองกันผิวหนังจากแสงที่เกิดจากการอารค สวมหนากากเชื่อม (Helmet) เพื่อปองกันตาและหนา กระจกหนากากมีความเขมหลายขนาด ฉะนั้นการเลือกความเขม ของกระจกยอมขึ้นอยูกับขนาดของกระแสที่ใช การเชื่อมที่กระทําในที่ ๆ มีบริเวณจํากัดจะตองแนใจ วามีการถายเทอากาศดีพอ
36
สถานภาพการเชื่อมไฟฟาดวยธูปเชื่อม (SHIELDED METALARC (STICK) WELDING CONDITIONS)
หมายเหตุ 1. ประเภทของลวดเชื่อมดูตารางการเลือกลวดเชื่อมและสมาคมการเชื่อมของอเมริกัน (AWS) เกี่ยวกับนับเบอรทกี่ ําหนดลวดเชือ่ มชนิดตาง ๆ 2. ชนิดของกระแสไฟที่ใช AC หรือ DCRP หรือ DCSP ซึ่งแลวแตชนิดของลวดเชื่อม 3. วิธีการเชื่อมในบทนี้ ไมเหมาะสําหรับการเชื่อมโลหะชนิดนี้ 4. ดูการเลือกลวดเชื่อมไฟฟาชนิดเหล็กเหนียวและเหล็กผสมต่ําและดูการเลือกลวดเชื่อม สําหรับเหล็กโครงสราง 5. ดูการเลือกลวดเชื่อมสําหรับการเชื่อมเหล็กสเตนเลสส
37
ลวดเชื่อม (ELECTRODE AND FILLER METAL) ในที่นี้ไมสามารถที่จะบอกถึงสิ่งสําคัญในการเลือกลวดเชื่อมใหเหมาะสมกับงานไดทุกชนิด แต ในทางปฏิบัติ สิ่งจําเปนยิ่งในการเชื่อมก็คือโลหะเชื่อมจะตองเขากับโลหะชิ้นงานได จะตองมีความ แข็งแรงเทากัน หรือมากกวาโลหะชิ้นงาน มีความเหนียวพอ ๆ กันและมีสวนผสมภายในเนื้อโลหะ คลายคลึงกัน มีคุณสมบัติทางฟสิกสเหมือนกับโลหะชิ้นงานและมีสีที่เขากันได ลวดเชื่อมและโลหะเชื่อม ไดแบงออกเปนหลายชนิด โดยสมาคมการเชื่อมของอเมริกัน (ASW – American Welding Society) และไดกําหนดหมายเลขเปนประเภท ๆ ไว ตัวกําหนดของ AWS ชนิดของลวดเชื่อมหรือธูปเชื่อม A 5.1 ลวดเชื่อม (Electrodes) เหล็กเหนียวชนิดสารพอกหุม (1) A 5.2 ลวดเชื่อมแกส (2) A 5.3 ลวดเชื่อม (Electrodes) อะลูมิเนียมและอะลูเนียมผสม (1) A 5.4 ลวดเชื่อม (Electrodes) โครเมียมและโครเมียม-เหล็กนิเกิลชนิดสารพอกหุม (1) A 5.5 ลวดเชื่อม (Electrodes) เหล็กผสมต่ําชนิดสารพอกหุม (1) A 5.6 ลวดเชื่อม (Electrodes) ทองแดงและทองแดงผสม (1), (4), (5) A 5.7 ลวดเชื่อม (Rods) ทองแดงและทองแดงผสม (2), (3) A 5.8 ลวดเชื่อม (Filler Metal) สําหรับเชื่อมประสาน (2) A 5.9 ลวดเชื่อม (Rods and Bare Electrodes) โครเมียมและโครเมียมเหล็กนิเกิล (3), (4), (5) A 5.10 ลวดเชื่อม (Rods and Bare Electrodes) อะลูมิเนียมและอะลูมิเนียมผสม (2), (3), (4) A 5.11 ลวดเชื่อม (Electrodes) นิเกิลและนิเกิลผสมชนิดสารพอกหุม (1) A 5.12 ลวดเชื่อมทังสเตน (Tungsten Arc Welding Electrodes) (3) A 5.13 ลวดเชื่อม (Rods and Electrodes) สําหรับเชื่อมพอก (2), (3) A 5.14 ลวดเชื่อม (Bare Filler Metals) นิเกิลและนิเกิลผสม (2), (3), (4) & (5) A 5.15 ลวดเชื่อม (Rods and Electrodes) สําหรับเชื่อมเหล็กหลอ (1), (2) A 5.16 ลวดเชื่อม (Bare Rods and Electrodes) ไตเตเนียมและไตเตเนียมผสม (3), (4) A 5.17 ลวดเชื่อม (Bare Electrodes) เหล็กเหนียวและฟลั๊กสําหรับการเชื่อมดวยวิธีการซับเมิรจ (Submerged – Arc Welding) (5) A 5.18 ลวดเชื่อม (Electrodes) เหล็กเหนียวสําหรับการเชื่อมแบบ Gas Metal Arc Welding (4) A 5.19 ลวดเชื่อม (Bare Electrodes and Rods) แมกนีเซียมผสม (1), (3), (4) A 5.20 ลวดเชื่อม (Electrodes) เหล็กเหนียวสําหรับการเชื่อมแบบ Flux Cored - Arc Welding (6)
38
หมายเหตุ (1) (2) (3) (4) (5) (6) -
Covered Electrode (Stick) Oxyacetylene welding (GAS) Gas Tungsten – Arc (TIG) Gas Metal – Arc (MIG) Submerged – Arc (Sub – Arc) Flux cored are (Flux Cored)
ลวดเชื่อมทั้งหลายที่มีตัวกําหนดของ AWS นี้จะมีตวั เลขและตัวอักษรกํากับเพื่อแยกชนิดและ ความแตกตางระหวางกันออก ตัว E หมายถึงลวดเชื่อมไฟฟาหรือ Electrode ตัว R หมายถึงลวดเชือ่ ม หรือ Rod และตัวอักษร B หมายถึงลวดเชื่อมสําหรับใชในการเชือ่ มประสานหรือ Brazing Filler Metal การจําแนกลวดเชื่อมชนิดเหล็กเหนยี ว และเหล็กผสมต่ํา (Mild and Low Alloy Steel Electrodes) มีในบทที่วาดวยการเลือกลวดเชื่อมสําหรับลวดเชื่อมเหล็กสเตนเลสส AISI ไดกํากับตัวอักษรตอทาย ตัวเลขเพื่อแสดงใหรูถึงการใชของลวดนั้น ๆ สวนลวดเชื่อมโลหะที่ไมใชเหล็ก (Non-ferrous Electrodes and Rods) จะใหสัญลักษณทางเคมีของโลหะผสมและตอทายดวยตัวหนังสือและตัวเลข ลวดเชื่อมเหล็กเหนียวและเหล็กผสมต่ําแบงชนิดออกตามคุณสมบัติทางกลและการวิเคราะห เกี่ยวกับการใชงาน สวนอะลูมิเนียม ทองแดงและทองแดงผสม แมกนีเซียม นิเกิล และนิเกิลผสม เหล็กสเตนเลสส และอื่น ๆ ถือวา การเขากันได (Compatility) ระหวางโลหะชิ้นงานกับโลหะลวดเชือ่ ม เปนสิ่งสําคัญที่สุด การเลือกลวดสําหรับใชในการเชื่อมพอก (Surfacing) ขึ้นอยูกับความตองการของงาน
การเลือกลวดเชื่อมสําหรับเหล็กเหนียวและเหล็กผสมต่ํา (SELECTION OF ARC WELDING ELECTRODES FOR MILD AND LOW ALLOY STEELS)
สิ่งสําคัญ 8 ตัวอยางดังตอไปนี้ จําเปนจะตองนํามาพิจารณาในการเลือกลวดเชื่อมเหล็กเหนียว และเหล็กผสมต่ํา เพื่อใหเหมาะกับงานเชือ่ มแตละงานมากที่สุด โลหะเชื่อมหรือลวดเชื่อม (Weld Metal) จะตองมีคุณสมบัติทางกลเหมือนกันหรือดีกวาของโลหะชิ้นงานและจะตองมีสวนผสมและ คุณสมบัติทางฟสิกสใกลเคียงกัน 1. ความแข็งแรงของโลหะชิ้นงาน (BASE METAL STRENGTH PROPERTIES) คุณสมบัติ ทางกลของโลหะชิ้นงานจําเปนตองรูกอน (ดูวิธีการจําแนกคุณสมบัติขางลาง) ถาเปนเหล็กเหนียว (Mild Steel) ใหเลือกใชลวดเชื่อม E60XXX จึงจะทําใหคุณสมบัติทางกลไปกันได ถา เปนเหล็กผสมต่ํา (Low Alloy Steel) ใหเลือกลวดเชื่อมชนิดที่ใกลเคียงกับชนิดของโลหะชิ้นงานมากที่สุด โดยสังเกต ตัวอักษรตอทาย (Suffix) ตัวเลขของลวดเชื่อม
39
2. สวนผสมของโลหะชิ้นงาน (BASE METAL COMPOSITION) ในการเชื่อมจําเปนจะตองรู สารประกอบของโลหะชิ้นงาน ดูจากหมายเหตุขางลาง ลวดเชื่อม E60XX เหมาะสําหรับใชกับเหล็กเหนียว (Mild Steel) ทั่วไป ถาเปนเหล็กผสมต่ํา (Low Alloy Steel) จะมีตอทาย (Suffix) เพือ่ บอกประเภทของ ลวดเชื่อมนั้น และใหเลือกลวดเชื่อมที่ใกลเคียงกับสวนผสมของโลหะชิ้นงานมากทีส่ ุด แตถาเปนเหล็ก ชนิดพิเศษ เชน เหล็กที่มกี าํ มะถันสูงหรือมีคารบอนสูง ใหเลือกลวดเชื่อมชนิดไฮโดรเจนต่ํา (Low Hydrogen) 3. ทาเชื่อม (WELDING POSITION) ลวดเชือ่ มแตละชนิดมักจะถูกกําหนดใหเชื่อมไดเฉพาะ ทาใดทาหนึ่งเทานั้น ตัวเลขตัวที่ 3 หรือ 4 ของลวดเชือ่ มจะเปนตัวบอกใหทราบวาลวดเชื่อมนั้น ใช เชื่อมในทาใดไดบาง 4. กระแสไฟเชื่อม (WELDING CURRENT) ลวดเชื่อมบางชนิดจะเชือ่ มไดดีที่สุดเมือ่ เชื่อม ดวยกระแสตรง (DC) บางชนิดเชื่อมไดดีที่สุดดวยกระแสไฟสลับ (AC) และบางชนิดใชไดดีทั้ง กระแสตรงและกระแสสลับ (DC and AC) เลขตัวสุดทายจะเปนตัวบอกชนิดของกระแสที่ใช ทั้งนี้ เพื่อใหสามารถเลือกลวดเชือ่ มไดเหมาะสมกับกระแสที่ไดจากเครื่องเชื่อมนั้น ๆ 5. การออกแบบแนวตอกับการตอประชิด (JOINT DESIGN AND FITUP) ลวดเชือ่ มที่ใช ถูกออกแบบใหสามารถกินลึกลงไปในเนือ้ โลหะไดคือ ลึกมาก ปานกลาง และตื้น ตัวเลขตัวสุดทายจะ บอกใหทราบคุณสมบัติดังกลาวนี้ ลวดเชือ่ มชนิดกินลึกมากเหมาะสําหรับใชกับงานที่มมีการบากรอง และไมเวนระยะหางในการตอประชิดสวนลวดเชื่อมชนิดกินตื้นเหมาะสําหรับเชื่อมโลหะบางและงาน ที่มีการตอประชิดหาง 6. ความหนาและรูปรางของโลหะชิ้นงาน (THICKNESS AND SHAPES OF BASE METAL) งานเชื่อมยอมประกอบไปดวยความหนาและน้ําหนัก ดังนั้นจึงควรเลือกลวดเชื่อมชนิดที่มีความเหนียวสูง เพื่อหลีกเลี่ยงการแตกราว (Cracking) ควรเลือกลวดเชื่อมจําพวกไฮโดรเจนต่ํา EXX15, 16, 18 หรือ 28 7. สภาพการใชงานและความตองการ (SERVICE CONDITION OR SPECIFFFICATION) งานเชื่อมบางทีอาจไดรับการกระทบกระเทือนจากสภาพการที่เลวราย เชน การกระทบกับความเย็น ความรอนสูง แรงกระแทกเปนตน ดังนั้นจึงจําเปนตองเลือกลวดเชื่อมทีม่ ีคุณสมบัติเหมือนกันกับโลหะ ชิ้นงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งสวนผสมความเหนียว และความตานทานตอแรงอัดกระแทก ลวดที่เหมาะ อยางยิ่งสําหรับสภาพการเชนนี้ไดแกลวดเชื่อมจําพวกไฮโดรเจนต่ํา (Low Hydrogen) 8. สภาพของงานและประสิทธิภาพในการเชือ่ ม (JOB CONDITION AND PRODUCTION EFFICIENCY) ลวดเชื่อมบางชนิดไดสรางขึ้นเพื่อใหมีประสิทธิภาพในการเชื่อมไดดว ยอัตราเร็วสูง แตอาจใชไดเฉพาะทาเชื่อมใดเชื่อมหนึ่งเทานั้น ลวดเชือ่ มแบบนี้มักเปนชนิด High Iron Powder เชน EXX 24, 27 หรือ 28 ลวดเชื่อมเหล็กเหนียวและเหล็กผสมต่ํา (Mild and Low Alloy Steel Electrodes) อาจจําแนก ออกไดเปน 4 หมวดดวยกัน คือ :
40
F – 1 หมวดเชื่อมไดดวยความเร็วสูง (E 6020, E 7024, E 6027) F – 2 หมวดละลายกินลึกต่ํา (E 6012, E 6013, E 7014) F – 3 หมวดละลายกินลึกสูง (E 6010, E 6011) F – 4 หมวดไฮโดรเจนต่ํา (E 6015, E 7016, E 7018) ลวดเชื่อมในหมวดเดียวกันจะใชเชื่อมดวยวิธีเชนเดียวกันเสมอ หมายเหตุ โลหะชิ้นงานที่นํามาเชื่อมจําเปนตองรูค ุณสมบัติหรือสวนผสมภายในเสียกอนเพื่อให สามารถเลือกลวดเชื่อมไดอยางถูกตอง อาจจะตรวจโดยการเช็คจากตารางสวนผสมของโลหะ หรือ อาจทดสอบดูจากรูปราง ความเปนแมเหล็ก สกัด ขัด เผา หรือขัดดูประกาย และดูไดจากชารทการจําแนก ความแตกตางของโลหะชนิดธรรมดาทั่วไป
การจําแนกลวดเชื่อมตามระบบ AWS (AWS CLASSIFICATION SYSTEM FOR MILD AND LOW ALLOY STEEL ELECTRODES)
ลวดเชื่อมที่มีขายในทองตลาดมีมากมายหลายชนิดดวยกัน แตละชนิดแตกตางกันออกไปตาม ชนิดของโลหะ และสวนประกอบของสารพอกหุม สมาคมการเชื่อมของอเมริกันจึงไดตั้งระบบการ จําแนกลวดเชื่อมชนิดตาง ๆ ขึ้น โดยกําหนดนัมเบอรกํากับเพื่อบอกใหทราบชนิด ประเภท หรือคุณสมบัติ ของลวดเชื่อมชนิดนั้น ๆ สมาคมการเชื่อมของอเมริกัน (American Welding Society) (AWS) ไดกําหนดนับเบอรในการ จําแนกลวดเชือ่ มชนิดเหล็กเหนียวและเหล็กผสมต่ํา กําหนดใหมีตวั เลข 4 หรือ 5 โดยมีอักษร E นําหนา ตัวอยางเชน E8018 หรือ E100XX เปนตน อักษร E แสดงใหทราบวาเปนลวดเชื่อมไฟฟาหรือ ELECTRODE สวนเลขสองหรือสามตัวแรก หมายถึงคาแรงดึงต่ําสุดของแนวเชื่อมที่ไดรับจากการเชื่อมดวยลวดเชื่อมชนิดนั้น ๆ เชน E-60XX หมายถึงโลหะเชื่อมนั้นสามารถใหแรงดึงต่าํ สุด (Minimum Tensile Strength) ไดเทากับ 60 x 1,000 = 60,000 ปอนดตอตารางนิ้ว หรือ E – 100XX หมายถึงโลหะเชือ่ มทานแรงดึงไดไมนอยกวา 100 x 1,000 = 100,000 ปอนดตอตารางนิว้ สําหรับตัวเลขตัวถัดไปหรือตัวที่สองนับจากทางขวาหรือทายสุดบอก ใหทราบถึงความสามารถในการเชื่อมทาตาง ๆ (Welding Positions) และเลขตัวสุดทายจะบอกใหทราบ ถึงการนําไปใช และคุณสมบัติเฉพาะตัวของลวดเชื่อมนัน้ ๆ เชน บอกใหทราบวาลวดเชื่อมชนิดนี้ใช กับกระแสไฟชนิดใด มีลักษณะการอารคเปนอยางไร สามารถกินลึกลงไปในเนื้อโลหะลึกตื้นแคใด ตลอดจนบอกใหทรบถึงสวนประกอบของสารพอกหุมและเปอรเซ็นตของผงเหล็กที่ใสเขาไป ตารางตอไปนีจ้ ะแสดงใหเห็นคาและความสามารถตาง ๆ พรอมทั้งคุณสมบัติทั่วไปของลวดเชื่อม ชนิดตาง ๆ
41
ตารางแรกบอกถึงคาแรงดึงต่ําสุดเปนปอนดตอตารางนิว้ รวมทั้งคาความสามารถและคุณสมบัติ อยางอื่น ตารางอันที่สองบอกใหรูถึงทาเชือ่ มตาง ๆ (Welding Positions) ที่ลวดเชื่อมนั้น ๆ สามารถจะ กระทําได สวนตารางอันที่สามอธิบายความหมายของตัวเลขตัวสุดทายของนับเบอร การจําแนกชนิด ของลวดเชื่อมซึ่งประกอบไปดวย ชนิดของกระแสไฟที่ใชลักษณะของการอารค การละลายกินลึก ตลอดจนชนิดของสารพอกหุม และเปอรเซ็นตของผงเหล็ก โปรดสังเกตตัวเลขจํานวนสองหรือสามตัวแรก
หมายเหตุ E1100XX และ E120XXX เปนชนิดพอกหุมดวยสารจําพวกไฮโดรเจนต่ํา (Low Hydrogen) โปรดสังเกตตัวเลขตัวที่ 2 จากขวาหรือจากซายสุด
42
โปรดสังเกตตัวเลขตัวสุดทาย
หมายเหตุ เปอรเซ็นตของผงเหล็ก (Iron Powder) คิดจากน้ําหนักของสารพอกหุม
43
44
ตารางการใชลวดเชื่อมเหล็กเหนียวและเหล็กผสมต่ํา (COVERED (STICK) ELECTRODES AND RECOMMENDED WELDING CONDITIONS) Mild and Low Alloy Steel Types
45
46
การเลือกลวดเชื่อมสําหรับเหล็กสเตนเลสส (ELECIRODE SELECTION FOR WELDING STAINLESS STEEL) เพื่อการเลือกลวดเชือ่ มสําหรับเชื่อมเหล็กสเตนเลสสเปนไปอยางถูกตอง จําเปนตองรูถึง คุณสมบัติของมันเสียกอน คําที่ถูกกวาในการเรียกโลหะชนิดนี้คือ เหล็กไมเปนสนิม (Corrosion Resisting Steel) เหล็กสเตนเลสสแบงชนิดตาง ๆ ออกเปนระบบหมายเลข (AISI) โดยถือสวนผสม เปนสําคัญ ดังเชน 308,312 เปนตน ระบบนี้เปนระบบเลข 3 ตัว ซึ่งจะมีความหมายในการแยกเหล็กตาม ลักษณะโครงสรางรวมอยูดว ย บางทีเหล็กสเตนเลสสจะบอกใหทราบถึงโลหะผสมหลัก เชน 18/8 25/20 CrNi เปนตน เหล็ก (Iron) เปนธาตุหลักของเหล็กสเตนเลสส เพื่อทําใหเปนเหล็กไมเปนสนิม จําเปน ตองผสมโครเมียมเขาไปถึง 11.5% หรือมากกวาเหล็กสเตนเลสสแบบทั่วไป คือโลหะผสมเหล็ก (Iron) และโครเมียม (Chromium) สวนโลหะผสมอื่น ๆ ผสมเขาไปเพื่อใหไดคุณสมบัติที่ตองการ ถา โครเมียมมีสวนผสมเกินกวา 11.5% จะทําใหเยื่อออกไซดบาง ๆ เกิดขึ้นที่ผิวของโลหะ เยื่อบาง ๆ นี้จะ ทําหนาที่เปนตัวกั้นมิใหเกิดออกไซด (Oxidation) สนิม (Rust) หรือการกัดกรอน (Corrosion) ขึ้นได หรือพูด อีกนัยหนึ่งวา มันจะทําใหเหล็กเปนเหล็กสเตสเลสสนั่นเอง เหล็กสเตนเลสสซึ่งประกอบไป ดวย สวนผสมของเหล็กกับโครเมียมมีอยูดวยกัน 15 ชนิด ซึ่งจัดอยูใ นหมวด 400 หรือ “Straight Chrome” ในหมวด 400 นี้ ปริมาณของโครเมียม จะเริ่มจาก 11.5% ถึง 29% และมีอํานาจความเปน แมเหล็กสูง ในการผสมนิเกิลในสัดสวนที่เหมาะสม ทําใหเหล็กสเตนเลสสอีกหมวดหนึง่ เพิ่มขึ้นซึ่ง เรียกวา Chrome-Nickel Type จัดอยูในหมวด 300 ซึง่ ไมมีอํานาจความเปนแมเหล็กอยูเลย การเพิ่ม สวนผสมของนิเกิลเขาไปทําใหเพิ่มความตานทานตอการกัดกรอนไดมากยิ่งขึ้น เพิ่มความเหนียว เพิ่มความ ตานทานตอการไหลของกระแสไฟฟา มีความตานทานตอแรงกด แรงกระแทกไดดขี ึ้น ในหมวด 300 นี้ จะมีสวนผสมของคารบอนในเหล็กต่ํามาก การที่มเี ปอรเซ็นตของคารบอนในเหล็กต่ํามากเปนพิเศษ นี้ก็เพื่อตองการลดการเกิดคารไบด (Carbide) อันเปนตัวทําใหเกิดสนิม อีกวิธีหนึ่งที่ชวยในการลด เปอรเซ็นตการเกิดคารไบดขึ้นในเหล็กคือ การเพิ่มสวนผสมของ Molybdenum และ Columbium เขา ไปอีกประมาณ 2 - 4 เปอรเซ็นต สวนผสมของนิเกิลในหมวด 300 จะเริ่มจาก 9% ถึง 22% เหล็กสเตนเลสสแบงเปนประเภทใหญ ๆ ได 3 ประเภทดวยกัน โดยจัดประเภทตามชนิด ของโครงสรางของมันคือ Austenitic Martensitic และ Ferritic คุณสมบัติทางฟสิกสของทั้งสาม ประเภทนี้ยอมแตกตางกัน รวมทั้งตองการลวดเชื่อมและวิธกี ารเชื่อมที่แตกตางกัน เหล็กสเตนเลสสประเภท Austenitic ประกอบดวยโลหะผสมทั้งสองอยางคือ ทั้งโครเมียมและนิเกิล มีความแข็งแรงสูง แตความ เหนียวต่ํา และไมมีอํานาจของความเปนแมเหล็กอยูเลย เหล็กสเตนเลสสในหมวด 300 ทั้งหมดจัดอยู ในประเภทของ Austenitic เหล็กสเตนเลสสประเภทนี้ไมตอง Preheat และอุณหภูมิของ Interpass
47
ไมควรเกิน 600๐F เหล็กสเตนเลสสประเภท Martensitic ประกอบดวยโครเมียม 11.5% ถึง 17% และ คารบอน .12% ถึง .15% เปนอยางสูง เหล็กสเตนเลสสประเภทนีแ้ ข็งและเปราะ ดังนั้นในการเชื่อมจึง จําเปนตองมีทงั้ Preheating และ Postheating สวนเหล็กสเตนเลสสประเภท Ferritic ประกอบดวย โครเมียม 17 ถึง 27% และมีสวนผสมของคารบอนต่ําซึ่งทําใหเปน Ferritic มีคุณสมบัติออนและ เหนียว แตเมื่อเชื่อมแลวมีคณ ุ สมบัติเปราะในชารทตอไปนี้จะแสดงใหเห็นถึงประเภทตาง ๆ ของเหล็ก สเตนเลสส ลวดเชื่อมสําหรับใชเชื่อมเหล็กสเตนเลสสไดถูกกําหนดเปนระบบตัวเลข 3 ตัว โดย AISI มี อักษร E นําหนาและตอทายดวยเลข 15 หรือ 16 ซึ่งจะเปนตัวบอกใหทราบถึงการใช (Usability Classification) หรือบางทีก็ตอทายดวยตัวอักษรเชนตัว L ซึ่งหมายถึง Low Carbon เลขตอทาย 15 หรือ 16 หมายถึง ตัวเลขทีจ่ ะบอกใหทราบถึงชนิดของสารพอกหุม (Type of Coating) ลวดเชือ่ ม เหล็กสเตนเลสสทั้งหมด จะมีสารพอกหุม เปนชนิด Low Hydrogen อยางไรก็ตามแบบหมายเลข 16 สารพอกหุมเปนสารจําพวกไตเตเนียมใชกบั กระแสไฟ AC หรือ DC สวนหมายเลข 15 สารพอกหุม เปนพวกปูนขาว ซึ่งจะใชกบั กระแสไฟ DC เทานั้น ตามปกติแลวสารพอกหุมที่ใชกับไฟ DC จะให คุณสมบัติทางฟสิกสดีกวา แตสารพอกหุม ตามหมายเลข 16 จะทําใหเชื่อมไดงายกวาหมายเลข 15 อาจเหมาะที่สุดสําหรับใชกบั ทาเชื่อมตาง ๆ ซึ่งขณะเดียวกันหมายเลข 16 อาจจะเหมาะสําหรับใชกับ ทาราบเทานั้น
48
การเลือกลวดเชื่อมสําหรับเชื่อมเหล็กสเตนเลสส (FLECTRODE SELFCTION FOR WELDING STAINLESS STEELS)
49
การเชื่อมโลหะที่ไมใชเหล็กดวยธูปเชื่อม (NON-FERROUS WELDING WITH COVERED (STICK) ELECTRODES) วิธีปฏิบัติกอนเชื่อม การ Preheating การเชื่อม การทําความสะอาด
- ทําความสะอาดงานตรงที่ ๆ จะทําการเชื่อม เชน สี น้ํามัน จารบี และ อื่น ๆ รวมทั้งความชื้นกอนลงมือเชื่อม - อุณหภูมิการ Preheating และอุณหภูมิของ Interpass ดูจากตารางขางลาง - ใชเทคนิคการเชื่อมแบบเสนเชือก (String bead) - ตองทําความสะอาดแนวเชื่อมโดยตลอดแตละแนว
ดู AWS Spec. A 5.3 “Aluminum and Aluminum Alloy Covered Arc Welding Electrode” และ AWS Spec A 5.6 “Copper and Copper Alloy Arc Welding Electrode”
50
การเชื่อมเหล็กหลอดวยธูปเชื่อม (CAST IRON WELDING WITH COVERED (STICK) ELECTRODE) การปฏิบัติกอนเชื่อม - ทําความสะอาดงานตรงที่ที่จะทําการเชื่อม เชน สี น้ํามัน จารบี และอื่น ๆ กอนเริ่มเชื่อม การ Preheating - Preheating โลหะบางดวยอุณหภูมิ 100° F และโลหะหนาดวยอุณหภูมิ 200° F การเชื่อม - ใชเทคนิคการเชื่อมดวยแนวเชื่อมเสนเชือก ใชเทคนิค Back Step ทําความ สะอาดแนวเชือ่ มทุกแนวและเคาะแนวเชื่อมแตละแนว การ Post Welding - Postheating จะชวยทําใหการตบแตงไดงายเขา
ดู AWS Spec. A 5.15 “Welding Rods and Covered Electrodes For Welding Cast Iron”
51
การเลือกลวดเชื่อมพอกผิว (ELECTRODE SELECTION FOR RESURFACING AND BUILD-UP)
52
53
3.2 การเชื่อมโลหะดวยแกสเฉื่อยแบบ MIG (GAS METAL ARC WELDING ) (GMAW) เปนกระบวนการเชื่อมโดยการอารคแบบหนึ่ง ซึ่งไดรับความรอนจากการอารคระหวางลวดเชื่อม แบบตอเนื่อง (Continuous Filler Metal or Consumable Electrode) กับชิ้นงานและมีแกสจากแหลง ภายนอกถูกจัดใหจายออกมาเปนเกราะปกคลุมแนวเชื่อมขณะอารค เพื่อปองกันการรวมตัวจาก บรรยากาศ กระบวนการเชื่อมแบบนี้แบงออกไดเปน 4 วิธีการ (Variations) ตามชนิดของแกสที่ใชเปน เกราะปองกันขณะอารคหรือชนิดของการสงปอนโลหะ (Metal Transfer) ไปยังแนวเชื่อมไดแก: MIG เปนการเชื่อมโดยใชแกสเฉื่อยบริสุทธิ์เปนเกราะปองกันในการเชื่อมโลหะจําพวกที่ไมใชเหล็ก MICRO WIRE เปนการเชื่อมแบบปอนลวดเชื่อมในลักษณะลัดวงจร (Metal Transfer) หรือ Short Circuiting Transfer โดยสามารถเชื่อมไดทุกทาเชือ่ ม CO2 เปนการเชื่อมโดยใชแกสคารบอนไดออกไซดเปนตัวซีลดขณะอารค และใชลวดเชื่อม ขนาดโตกวา SPRAY เปนการเชื่อมโดยใชสวนผสมของแกสอารกอน (Argon) กับแกสออกซิเจนเปนตัวซิลด ขณะอารค วิธีการเชื่อมดวยแกสเฉื่อยแบบ MIG ดังแสดงในรูปที่ 13 แสดงใหเห็นลักษณะของลวดเชื่อม (Electrode Wire) บริเวณทีแ่ กสคลุมไปถึง ลักษณะของการอารคและแนวเชื่อมอาจใชวิธีอัตโนมัตหิ รือ กึ่งอัตโนมัติแตวิธีเชื่อมดวยวิธีกึ่งอัตโนมัติเปนวิธีที่ใชกนั มากที่สุด การนําไปใช (Application) จุดเดนของการเชื่อมแบบ GMAW นี้คือ (1) จะใหคุณภาพตอแนวเชื่อมสูงในการเชื่อมโลหะและโลหะผสมเกือบทุกชนิดทีใ่ ชอยูใ น โรงงานอุตสาหกรรม (2) ตองทําความสะอาดภายหลังการเชื่อมแลวนอยมาก (3) การอารคและแองหลอมละลายที่แนวเชื่อม ทําใหสามารถมองเห็นไดชัดเจน (4) การเชื่อมอาจทําไดในทุกทาเชื่อมซึ่งแลวแตขนาดของลวดเชื่อมที่ใชและวิธีการ (Variation) (5) สามารถเชื่อมไดดว ยความเร็วสูงทําใหเกิดการประหยัด (6) ไมมีขี้ฟลั๊ก หรือ Slag จึงไมมปี ญหาฟลั๊กรวมตัวกับแนวเชือ่ ม (Slag Inclusion)
รูปที่ 3
54
วิธีการตาง ๆ ในกระบวนการเชื่อมแบบนี้ จะใหขอดีพิเศษเฉพาะตัว ตัวอยางเชน Micro – wire จะเชื่อมเหล็กบางไดแทบทุกชนิด ซึ่งดีกวาการเชื่อมในบทกอน ๆ ที่กลาวมาแลว รวมทั้งการ เชื่อมลวดเชื่อมชนิด Low Hydrogen CO2 เปนวิธีเชื่อมที่เชื่อมไดเร็วและเสียคาใชจายเกีย่ วกับคาแกส ต่ํา Spray ซึ่งเปนวิธีการเชือ่ มโดยใชสวนผสมของอารกอนกับออกซิเจน เชื่อมไดดว ยความเร็วสูงและ ตองทําความสะอาดภายหลังการเชื่อมนอยมาก และวิธีเชือ่ มแบบ MIG จริง ๆ จะเชือ่ มโลหะจําพวกที่ ไมใชเหล็กไดเชนเดียวกับการเชื่อมดวย GTAW (TIG) แตสามารถเชื่อมไดดว ยความเร็วสูงกวา เครื่องมือที่ใช (Equipment) เครื่องมือที่สาํ คัญสําหรับใชในการเชื่อมแบบ GMAW ไดแสดงใหเห็นดังในรูปที่ 4 ซึ่งประกอบดวย (1) เครื่องเชื่อม (Welding Machine) หรือตนกําลัง (2) ระบบการปองกันลวดและตัวควบคุม (Wire feeder System and Control) (3) หัวเชื่อมและชุดสายประกอบการเชื่อม (Welding Gun and Cable Assembly ใชเรียกเมื่อใช กับการเชื่อมดวยวิธีกึ่งอัตโนมัติ) หรือทอรชเชื่อม (Welding Torch ใชเรียกเมื่อใชกับการ เชื่อมดวยวิธีอตั โนมัติ) (4) แหลงจายแกสเพื่อใชชิลดและอุปกรณควบคุมแกส (Shielding Gas Supply and Controls) (5) ลวดเชื่อม (Electrode Wire)
รูปที่ 4
55
เครื่องเชื่อม (Welding Machine) เครื่องเชื่อมที่ใชสําหรับเชื่อมกับลวดเชื่อมชนิดหมดเปลือง (Consumable Electrode) นี้ เปนเครื่อง ชนิดแรงเคลื่อนไฟฟาคงที่ (Constant Voltage) หรือ CV Type ซึ่งเปนเครื่องที่ใหคุณลักษณะทางไฟฟา โดยมีเคิรบของโวลทและแอมแปรอยูในลักษณะราบ (Flat) โวลเทจทางออก (Out Put Voltage)จะตอง คงที่ตลอดเวลาไมวากระแสจะเปลี่ยนแปลงไปขนาดใดก็ตาม การปรับโวลเทจปรับไดโดยปรับที่ รีโอสแตท (Rbeostat) ซึ่งสรางติดมากับเครือ่ งเชื่อมเครื่องนี้ อาจเปนไดทั้งชนิดหมอแปลง-เร็คติไฟเออร หรือชนิด Motor Generator เครื่องเชื่อมชนิดแรงเคลื่อนไฟฟาคงที่นี้ไมมีตัวควบคุมหรือปรับกระแสไฟ จึงไมสามารถจะนําไปใชกับการเชื่อมดวยธูปเชื่อมธรรมดาได กระแส (Out Put Current) ของเครื่อง อาจถูกควบคุมดวยโหลด (Load) ที่ปอนเขาไปและความเร็วของการปอนลวดเชือ่ ม ตามปกติกระแส ไฟตรงขั้วบวก (DCRP) จะถูกใชกับการเชือ่ มแบบ GMAW เครื่องเชื่อมที่ใชจะมีขนาดตั้งแต 150 แอมแปร จนถงึ 1,000 แอมแปร เครื่องปอนลวดเชื่อม (Wire Feeder) ระบบการปอนลวดเชื่อมตองมีขนาดที่สัมพันธกัน เพราะการเชื่อมดวยระบบแรงเคลื่อนไฟฟา คงที่ (CV) นี้ อัตราการหลอมละลายของลวดเชื่อมกับกระแสไฟฟาที่ใชจะตองสัมพันธกัน ในอัตราเร็ว ของการปอนลวดอันหนึ่งเครือ่ งจะสงกระแสขนาดพอดีอันหนึ่งเพื่อรักษาการอารคใหคงที่อยูต ลอดเวลา อัตราเร็วในการปอนลวดเชื่อมจะเปนตัวกําหนดขนาดของกระแสไฟใหไปยังการอารค หรือจะพูด อีกนัยหนึ่งคือ ตัวควบคุมความเร็วการปอนลวดเชื่อมจะเปนตัวปรับกระแสไฟในการเชื่อม ระบบการ เชื่อมดวยแรงเคลื่อนไฟฟาคงที่ (CV) จึงเปนระบบที่ควบคุมตัวเองไดดี จะเปนผลดีมากขึ้นเมื่อใชกับ ลวดขนาดเล็ก ดังมีการเปลีย่ นแปลงประดิษฐเครื่องปอนลวดขนาดเล็กอยูในปนเชื่อม ซึ่งเปนที่นยิ ม กันมากในการเชื่อมลวดอะลูมิเนียมขนาดเล็ก หัวเชื่อม (Welding Gun) ชุดสายประกอบหัวเชื่อมใชเปนทางเดินของลวดเชื่อม กระแสไฟเชื่อมและแกส สําหรับชิลด ไปยังการอารคที่แนวเชื่อม รูนําลวดเชือ่ มจะอยูตรงกลางในปลอกหัวเชื่อม ซึ่งจะมีแกสสําหรับซีล การอารคไหลผานโดยรอบ หัวเชื่อมจะถูกถือใหใกลกับงานพอที่จะสามารถควบคุมการอารคไดดี เพื่อ แกสที่ใชซีลจะปกคลุมไดอยางทั่วถึง หัวเชื่อมที่ใชกับกระแสไฟสูงจะตองเปนชนิดที่หลอเย็นดวยน้ํา (Water Cooled) หัวเชื่อมที่ใชกับ Micro Wire ไมนยิ มใชชนิดหลอเย็นน้ํา หัวเชื่อม (Gun) พอจะแบง ไดเปน 2 แบบ คือ แบบปน (Pistol Grip Type) และแบบหัวโคงหรือแบบคอหาน (Curve Head or Goose Neck Type) แบบคอหานเปนแบบที่นิยมใชกันมากสําหรับการเชื่อมดวยวิธี Micro Wire ในทุก ทาเชื่อม สวนแบบปน (Pistol Grip Type) นิยมใชกับลวดเชื่อมที่โตกวากับการเชื่อมทาราบ ในการ เชื่อมดวยวิธีอตั โนมัติ ทอรชเชื่อมจะตอโดยตรงเขากับเครื่องปอนลวดเชื่อม ทอรชเชื่อมอัตโนมัตินี้ อาจเปนไดทั้งแบบหลอเย็นดวยอากาศหรือน้ําแลวแตสถานภาพของการเชื่อม สําหรับการเชื่อมดวย CO2 ดวยวิธีอตั โนมัติจะติดระบบจายแกสเขาที่ขางของทอรชเชื่อม
56
แกสสําหรับซีล (Shielding Gas) แกสที่ใชซีลจะเปนตัวปองกันบรรยากาศรอบ ๆ เชน ออกซิเจนและไนโตเจนไมใหเขาไปรวมตัว กับการอารคหรือแนวเชื่อม เพื่อที่จะไดแนวเชื่อมที่มีคุณภาพสูง แกสที่ใชสําหรับซีลในการเชื่อมแบบ GMAW นี้คือ แกสอารกอน ฮีเลียม หรือแกสผสมสําหรับการเชื่อมโลหะจําพวกทีไ่ มใชเหล็ก แกสคารบอนไดออกไซด (CO2) สําหรับการเชื่อมเหล็ก แกสคารบอนไดออกไซดกับแกสอารกอน หรือแกสฮีเลียมหรือแกสอารกอนบวกแกสออกซิเจนเล็กนอยสําหรับการเชื่อมเหล็กสเตนเลสส ชนิด ของแกสที่ใชและอัตราการไหลไดใหไวในตารางการปฏิบัติการเชื่อมโลหะชนิดตาง ๆ ดวยวิธีการ เชื่อมชนิดตาง ๆ เกรดของการเชื่อมจะขึ้นอยูกับแกสสําหรับซีลเพื่อกําหนดคุณสมบัติระดับความบริสุทธิ์ และความชืน้ ที่ผสม อัตราการไหลของแกสขึ้นอยูกับชนิดของแกสทีใ่ ชกับโลหะทีถ่ ูกเชื่อม ทาเชื่อม และความเร็วในการเชื่อมดูจากตารางปฏิบัติการและขอแนะนํา ลวดเชื่อม (Electrode Wire) สวนผสมของลวดเชื่อมจําเปนจะตองสัมพันธกับโลหะทีจ่ ะเชื่อม วิธีการเชื่อมตาง ๆ ในการเชื่อม แบบ GMAW และชนิดของแกสที่ใชสําหรับซีล จะไดจากตารางวิธีการปฏิบัติและชารทการเลือกขนาด ของลวดเชื่อมที่ใชขึ้นอยูก ับวิธีเชื่อมและทาเชื่อมเปนสําคัญ ลวดเชื่อมทั้งหมดจะมีลักษณะแข็งเปลือย เวนแตลวดเชื่อมชนิดเหล็กคารบอนจะเคลือบผิวดวยทองแดง เพื่อปองกันสนิม ลวดเชื่อมสําหรับการเชื่อม แบบ GMAW นี้จะเตรียมไวในลอที่สวมเขากับเครื่องไดพอดี และบรรจุไวในกลองทีป่ องกันการเสือ่ ม จากการเก็บรักษาอยางดี
57
สถานภาพการเชื่อมโลหะแบบ MIG (GAS METAL – ARC (MIG) WELDING CONDITIONS)
หมายเหตุ ชนิดของกระแสที่ใชในการเชื่อมในตารางขางบนนี้เปนกระแสไฟตรงขั้วบวก (DCRP) เลข (1) ใหดูชารทวิธีการสําหรับโลหะชนิดนี้ เลข (2) วิธีการเชื่อมชนิดนี้ไมนิยมใชสําหรับเชื่อมโลหะชนิดนี้ เลข (3) การเชื่อมโลหะจําพวกที่ไมใชเหล็กตองใชแกสเฉื่อย ไดแกแกสอารกอน ฮีเลียม ซึ่งอาจใช โดด ๆ หรือผสมกันเขา สวนผสมโดยทั่วไปคือ 50% : 50% และ 75% : 25% เลข (4) วิธีการเชื่อมชนิด Micro – Wire หรือ Short Circuiting Transfer ใชไดกับทาเชื่อมทุกทาเชื่อม ดวยลวดเชื่อมขนาดเล็กกระแสไฟต่ํา C25 หมายถึงแกสผสมระหวาง CO2 25% กับอารกอน 75% เลข (5) Spray Are Transfer จะเชื่อมไดผลดีเมื่อใชแกสผสมของอารกอนรวมกับออกซิเจนตั้งแต 1 –2 หรือ 5% ทั่ว ๆ ไปใชกับการเชื่อมเหล็กในทาราบและทาแนวนอนดวยแนวตอแบบฟลเลท เลข (6) การเชื่อมดวยวิธี CO2 เปนการเชื่อมโดยการใชแกส CO2 เปนแกสสําหรับซีล ใชเชื่อมเหล็กคารบอนและเหล็ก ผสมและสําหรับเหล็กสเตนเลสส การสงปอนปนแบบหยดกลม ๆ (Globular Metal Transfer)
58
วิธีการตาง ๆ ของการเชื่อมแบบ MIG (GAS METAL – ARC WELDING-VARIATION OF THE PROCESS)
59
การเลือกระบบการปอนลวดเชื่อม (WIRE FEEDER SELECTION GUIDE) การปอนลวดเชื่อมจะถูกนํามาใชกับระบบการเชื่อมทั้งแบบอัตโนมัติและกึ่งอัตโนมัติ ความตองการ ที่ตองมีเครื่องปอนลวดนี้คือ เพื่อตองการจะปอนลวดเชื่อมไปยังการอารคใหติดตอกันโดยรักษาให การอารคคงที่อยูในขนาดของกระแสไฟและโวลเทจอันหนึ่ง วงจรที่ใชควบคุมความเร็วของเครื่องปอนลวด อาจใชควบคุมหนาที่อื่น ๆ ไดอีกเชน การเริ่มตนอารคการไหลของแกสและน้ํา รวมทั้งการเคลื่อนที่ หัวเชื่อมไปตามแนวตอของงาน เครื่องปอนลวดเชื่อมแบงออกไดเปน 2 แบบ คือ 1. แบบที่ไวตอแรงเคลื่อนไฟฟา (Voltage Sensing Type) 2. แบบความเร็วคงที่ (Constant Speed Type) แบบที่ไวตอแรงเคลื่อนไฟฟา (Voltage Sensing Type) เปนแบบที่ควบคุมความเร็วของลวดเชื่อมใหชาหรือเร็วเพื่อรักษาอารคโวลเทจใหมีคาเทากับคา โวลเทจที่ตั้งไวในตอนแรก เครื่องปอนลวดแบบนี้จะใชกับเครื่องเชื่อมชนิดกระแสไฟคงที่ (Constant Current (CC)) ระบบควบคุมนี้จะทําหนาที่ปอนลวดเชือ่ มแทนคน ความเร็วของลวดเชื่อมอาจจะมี ความเร็วลดลงหรือเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพื่อตองการรักษาอารคโวลเทจใหคงที่อยูในขนาดที่กําหนดไว สวน การปรับกระแสไฟเชื่อมจะปรับที่เครื่องเชื่อม ซึ่งอาจจะเปนเครื่องเชื่อมชนิดกระแสไฟ AC หรือ DC ก็ได ตามปกติเครื่องปอนลวดแบบนี้จะใชปอนลวดที่มขี นาดโต เพราะในตอนแรกไดววิ ัฒนาการใช กับการเชื่อมแบบ Submerged ระบบปอนลวดเชื่อมอาจจะรวมระบบการเริ่มตนอารคแบบอัตโนมัติ เขาไปดวยระบบเครื่องปอนลวดแบบที่ไวตอแรงเคลื่อนไฟฟานี้จะควบคุมตัวมันเอง (Self – Regulating) เมื่อใชกับเครือ่ งเชื่อมชนิดกระแสไฟคงทีห่ รือ CC แบบความเร็วคงที่ (Constant Speed Type) เปนแบบที่มีอตั ราการละลายของลวดเชื่อมคงที่ดวยขนาดของกระแสทีส่ ัมพันธกันเปน แบบที่ใช กับเครื่องเชื่อมชนิดโวลเทจคงที่ (Constant Voltage (CV)) ความเร็วของลวดเชื่อมกําหนดไดโดยการ ตั้งที่ตัวปรับความเร็ว ขนาดของกระแสไฟจะปรับปริมาณใหพอดีกับอัตราการละลายที่สงปอนไปยัง แนวเชื่อมไดโดยอัตโนมัติ ดังนั้นทีจ่ ริงแลวตัวควบคุมความเร็วของลวดเชื่อมก็คือตัวควบคุมกระแสไฟ นั่นเอง การควบคุมโวลเทจที่การอารค ควบคุมไดโดยการเปลี่ยนโวลเทจทางออกของเครื่อง ดู รายละเอียดไดในบทที่วาดวย การเลือกเครื่องเชื่อมการเพิ่มหรือลดกระแสไฟเพื่อใหพอดีกับความเร็ว ของการปอนลวดจะเปนไปโดยอัตโนมัติ นิยมใชมากกับลวดเชื่อมขนาดเล็ก สรางขึ้นในตอนแรกเพื่อ ใชกับการเชื่อมแบบ GMAW ในอันที่จะขจัดรอยตอซึ่งจะเกิดขึ้นจากการเชื่อมธรรมดาดวยธูปเชื่อม สามารถปรับไดหลายความเร็ว ซึ่งแลวแตสภาพของการเชื่อมของแตละวิธีการ ระบบเครื่องปอนลวด แบบความเร็วคงที่นี้ อาจนํามาใชกับเครื่องเชื่อมชนิด CC ได แตจะทําใหเกิดความยุงยากในการที่จะ
60
ปรับเครื่องควบคุมตาง ๆ ใหไดอยางถูกตอง ยิ่งกวานั้นในสภาพการเชือ่ มดวยวิธีการตาง ๆ จะเปนเหตุ ใหระบบการบังคับตาง ๆ ตกอยูในสภาพที่ไมสามารถควบคุมได เครื่องปอนลวดจะตองมีขนาดสัมพันธกับขนาดของเครื่องเขื่อม และจะตองปอนลวดดวย ความเร็วที่พอดีกับวิธีการเชือ่ มนั้น ๆ กราฟที่ใหไวตอไปนี้แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธของกระแส (โดยประมาณ) กับอัตราการละลายของลวดเชื่อมในขนาดและชนิดตาง ๆ กัน ดูตารางปฏิบัติการ สําหรับอัตราเร็วในการปอนลวด เครื่องปอนลวดจําเปนตองมีมอเตอรขับปอนที่มีขนาดโตพอที่จะเอาชนะแรงเสียดทานและอุปกรณ ตาง ๆ เชน ความยาวของหลอดสาย (Conduit) ชนิดของรูและพื้นผิวภายใน (Liner and Internal Surface) ชนิดของหัวเชือ่ ม (Gun) ซึ่งอาจเปนชนิดตรงหรือชนิดโคงงอ รวมทั้งขนาดและผิวของลวดเชื่อมเอง ลอขับ ควรมีรองเพื่อปองกันลวดเชือ่ มออกนอกทางหรือบีบลวดเชื่อมแบน
61
ความสัมพันธระหวางความเร็วในการปอนลวดและกระแสไฟในการเชื่อม
62
63
64
65
การเชื่อมทองแดงและทองแดงผสมดวยการเชื่อมแบบ MIG (GAS METAL ARC (MIG) WELDING OF COPPER AND COPPER ALLOYS) ทองแดงและทองแดงผสมเกือบทุกชนิดสามารถเชื่อมไดดวยวิธีการเชื่อมแบบ MIG โดยการซีล ดวยแกสอารกอน (Argon) หรือแกสฮีเลียม (Helium) หรือสวนผสมของแกสทั้งสอง สวนผสมที่ใช โดยทั่วไปคือแกสอารกอน 25% - 30% กับแกสฮีเลียม 70 – 75% (สวนผสมนี้จะใหทั้งคุณสมบัติใน การอารคและการสงปอนความรอนที่ดี) ทองแดงเปนโลหะที่เปนตัวนําความรอนไดดี ฉะนั้นจึง จําเปนตอง Preheat ถามีความหนาถึง 1/4” ทั้งนี้เพื่อใหการไหลซึมของโลหะเชื่อมเปนไปดวยดี และ ถาทองแดงมีความหนาเกินกวานี้จะใชอณ ุ หภูมใิ นการ Preheat และ Interpass Temperature ตั้งแต 400 ๐ ถึง 900 ๐ F การ Preheat และการใชกระแสไฟในการเชื่อมต่ํา จะชวยลดการระเหยของสังกะสีลงได สวนการ Preheating โลหะซิลิคอนบรอนซ จะตองรักษาใหอยูในอุณหภูมิที่ต่ํากวา 200°F การเชื่อมทองแดง เทคนิคการเชื่อมดวยแนวเชื่อมเสนเชือกหรือแนวเชื่อมสายจะทําใหไดแนวเชื่อม ที่มีคุณภาพสูง การเคาะแนวเชือ่ มดวยคอน (Peening) จะชวยทําใหโครงสรางของโลหะเชื่อมมีคุณภาพดีขนึ้
รูปแสดงวิธีการเชื่อมทองแดง Deoxidized ดวย MIG การทําความสะอาดจําเปนจะตองกระทํากอนเชื่อมและในแตละแนวเชือ่ ม การเชื่อมทาราบเปน ทาที่ใหคุณภาพของแนวเชื่อมสูงที่สุด สวนการเชื่อมทาตั้ง ทาเหนือศีรษะและทาแนวนอน จะใหแนวเชือม ่ ที่นาพอใจเฉพาะกับการเชื่อมโลหะผสมบางชนิด และการเชื่อมตองใชลวดเชื่อมขนาดเล็ก ใชกระแสไฟ ในการเชื่อมและโวลเทจต่ํา
66
วิธีการเชื่อมทองแดง (Deoxidized)
การเชื่อมเหล็กคารบอนและเหล็กผสมต่ําดวยการเชื่อมแบบ MIG (GAS METAL ARC (MIG) WELDIN OF CARBON STEEL & LOW ALLOY STEELS) การสงปอน (Metal Transfer) ลวดเชื่อมทั้งสามแบบในวิธีการเชื่อมแบบ MIG สามารถนํามาใช กับการเชื่อมโลหะเหล็กผสมคารบอนได Micro Wire – ใช Short Circuiting Transfer คือลวดเชื่อมจะปอนไปยังแนวเชื่อมในลักษณะของ การ Short Circuit ซ้ํา ๆ กัน CO2 Welding – ใช Globular Metal Transfer คือการสงผานโลหะเชื่อมไปยังแนวเชื่อมใน ลักษณะที่เปนหยดหรือเม็ดโต ๆ Spray Are –ใช Spray Metal Transfer เปนลักษณะที่โลหะเชื่อมเม็ดเล็ก ๆ ถูกเรงใหสงผานการ อารคไปยังแนวเชื่อม การเลือกวิธีการ (Variations) ในการเชื่อม GMAW ไดแสดงใหเห็นในชารทที่วาดวย “Gas Metal Are Welding Variation of Process” ชารทตอไปนี้แสดงใหเห็นสถานภาพของวิธีการ (Variation) ของ Metal Transfer ทั้งสามแบบ
67
MICRO – WIRE All Position – Short Circuiting Transfer
หมายเหตุ ดาตาขางบนนี้สําหรับใชกับการเชื่อมทาราบ ในกรณีเชื่อมทาตั้งและทาเหนือศีรษะ ใหลดกระแสไฟลง 10 ถึง 15% 1. สําหรับแนวเชื่อมแบบรองและแบบฟลเลท ความหนาของโลหะจะบอกใหทราบขนาดของแนวเชื่อม ถาเชื่อมโลหะหนา 1/2” ใหจัดระยะหางของแนวตอ (Root Opening) 2. แกสที่ใช CO2 หรือ C25 (75% Argon และ 25% CO2)
68
การเชื่อมเหล็กคารบอนและเหล็กผสมต่ําดวยการเชื่อมแบบ MIG (GAS METAL-ARC (MIG) WELDING OF CARBON AND LOW ALLOY STEEL)
Spray Arc Transfer Argon Oxygen Gas Shielding
ดาตานี้ใชสําหรับการเชื่อมในทาราบเทานั้น (1) สําหรับแนวเชื่อมแบบรองและแบบฟลเลท ความหนาของโลหะจะบอกใหทราบขนาดของ แนวเชื่อม ใหบากงานรองตัววีเดี่ยวสําหรับโลหะหนาตั้งแต 1/4” และรองตัววีคูสําหรับ โลหะหนาตั้งแต 1/2” (2) ดู “Electrode Wire for Gas Metal Arc Welding Mild and Low Alloy Steels” (3) ใชแกสอารกอนผสมออกซิเจน 1 ถึง 5%
69
การเชื่อมเหล็กคารบอนและเหล็กผสมต่ําดวยการเชื่อมแบบ MIG (GAS METAL-ARC (MIG) WELDING OF CARBON AND LOW ALLOY STEEL CO2 Welding - Globular Transfer
(1) แนวเชื่อมรองเหลี่ยม (Sp. Groove Welds) จําเปนตองมีแผนปะกับ (Backing) ซึ่งอาจทํา ดวยทองแดงหรือเหล็ก (2) ดู “Electrode Wire Gas Metal Arc Welding Mild and Low Alloy Steel” (3) ใชแกสคารบอนไดออกไซด (CO2)
70
71
72
3.3 การเชื่อมชนิด FLUX – CORED ARC WELDING (FCAW) Flux – Cored Arc Welding (FCAW) คือกรรมวิธีการเชือ่ มโลหะ ใหละลายติดกัน ดวยการอารคอีก แบบหนึ่งซึ่งไดรับความรอนจากการ อารคระหวางลวดเชื่อมชนิดตอเนื่อง (Continuous Filler Metal) กับชิ้นงาน การปองกันการอารคจะไดรบั จากฟ ลักซซึ่งบรรจุอยูในรูใจกลางของลวด เชื่อม บางทีเกราะปองกันการอารค ไดรับจากแหลงภายนอก ซึ่งอาจเปน รูปที่ 5 แกสหรือแกสผสม ดังรูปที่ 5 แสดง ใหเห็นการทํางานซึ่งประกอบไปดวยลวดเชื่อมไสฟลักซ (Flux – Core Electrode Wire) การแผขยาย ของแกสซีลซึ่งมีทั้งปลายลวดเชื่อมและรอบ ๆ นอกการอารคโลหะเชื่อม (Weld Metal) และการปก คลุมของ สแลกบนแนวเชื่อม วิธีการเชื่อมสามารถกระทําไดทั้งแบบอัตโนมัติ และกึ่งอัตโนมัติ (Automatic and Semiautomatic) วิธีเชื่อมดวยแบบกึ่งอัตโนมัติเปนวิธีใชมากที่สุด วิธีการเชื่อมแบง ออกเปน 2 วิธกี าร คือ วิธีการดั้งเดิมเปนวิธีที่ใชแกสซีลจากแหลงภายนอกซึ่งเรียกกวา “FabCO” และ อีกวิธีหนึ่งซึ่งเปนวิธีที่นยิ มใชกันในปจจุบนั เรียกวา “Fabshield” หรือ Gasless โดยใสฟลักซเขาไปในรู ใจกลางลวดเชือ่ ม เพื่อใหทาํ หนาที่ผลิตแกสซีลขึ้นเองขณะเชื่อม ทั้งสองวิธีการตางก็ตองมีแกสซีล เหมือนกัน และเพื่อ จุดประสงคในการปองกันการรวมตัวจากแกสออกซิเจนและไนโตรเจนในอากาศ เชนเดียวกัน การนําไปใช (Application) วิธีการเชื่อมทัง้ สองวิธีนี้ตางก็ใหลักษณะในการเชื่อมตางกัน การเชือ่ มดวย FabCO หรือ External Gas Shielding จะใหแนวเชื่อมที:่ (1) เรียบสม่ําเสมอ ใหแนวเชื่อมที่ดี (2) มีการกินลึกสูง (3) สามารถ X-ray ไดและ (4) ใหโลหะเชื่อมที่มีคุณภาพสูง สวนแบบ Fabshield และ Gasless จะใหแนวเชื่อมดังตอไปนี้ (1) ตัดปญหาการจายแกสจากแหลงภายนอกลง, ไมตองมีทอแกส, ไมตองมีเครื่องควบคุมและ ไมตองหัวฉีด (Nozzle) (2) มีการละลายลึกปานกลาง
73
ทั้งสองวิธีการเชื่อมดังกลาวมาแลวนี้ ตางก็มีสวนที่เหมือนกันคือ (1) ผูเชื่อมสามารถมองเห็นการอารคได (2) อาจนําไปใชเชื่อมไดในทุกทาเชื่อม ซึ่งขึ้นอยูกับขนาดของลวดเชื่อมที่ใชและ (3) สามารถเชื่อมแนวตอ (Welding Joint) ไดทุกแบบ
รูปที่ 6 การเชื่อมทั้งสองวิธีจํากัดใหใชเฉพาะกับการเชื่อมเหล็ก (Steels) และใชพอกแข็ง วิธกี าร ของ FabCO หรือ External Shielding Gas สามารถใชกับการเชื่อมเหล็กผสมต่ํา (Low Alloy Steels) และสเตนเลสสไดดี จึงมีชื่ออีกชื่อหนึ่งวา “Fab Loys” โลหะที่นํามาเชือ่ มดวยวิธีการเชื่อมแบบ FluxCored Arc Welding นี้จะเริม่ จากความหนาตั้งแต 1/16” ขึ้นไป เครื่องมือและอุปกรณที่ใช (Equipment) เครื่องมือที่สําคัญที่ใชสําหรับการเชื่อมแบบ Flus-Cored Arc Welding ไดแสดงใหเห็นดังในรูป ที่ 6 ซึ่งประกอบดวย (1) เครื่องเชื่อม (Welding Machine) (2) เครื่องปอนลวดและเครื่องควบคุมตาง ๆ (3) Welding Gun และทอรวมสายเคเบิ้ลสําหรับการเชื่อมแบบกึ่งอัตโนมัติ หรือทอรชเชื่อม (Welding Torch) สําหรับการเชื่อมแบบอัตโนมัติ และ (4) ลวดเชื่อมไสฟลักซ (Flux - Cored Electrode Wire) ในวิธกี ารเชื่อมหรือ Variation ที่ใชแกส ซีลจากแหลงภายนอกจะมีอปุ กรณประกอบเพิ่มขึ้นคือ Flowmeter Regulator ลิ้นปดเปด แกส (Gas Valve) และหัวฉีด (Nozzle) ที่ Welding Gun พรอมดวยสายยางตอจากทอแกส (Gas Cylinder) ไปยัง Welding Gun
74
เครื่องเชื่อม (The Welding Machine) เครื่องที่ใชกับการเชื่อมแบบ Flux-Cored Welding ตามปกติเปนแบบแรงเคลื่อนไฟฟาหรือโวลเทจ คงที่ (Constant Voltage-CV) โดยมีปุมควบคุมโวลเทจทางออกใหไดคาตามตองการในสถานการเชื่อม ตาง ๆ เครื่องเชื่อมอาจเปนไดทั้งเครื่องชนิด AC/DC หรือ DC Generator (ในเครื่องเชื่อมชนิดโวลเทจ คงที่นี้ (CV) จะไมมีปุมสําหรับใชปรับขนาดตาง ๆ ของกระแสในเครื่อง) ปริมาณหรือขนาดของ กระแสขึ้นอยูก ับขนาดของโหลด (Load) ที่ใช โดยขึน้ อยูกับอัตราเร็วในการปอนลวดเชื่อม กระแสไฟ ที่ใชปกติใช DCRP เวนแตลวดเชื่อมบางชนิดใช DCSP สวนกระแส AC ใชกันอยางกวางขวาง โดยใช เครื่องเชื่อมที่มีขนาดตั้งแต 200 – 1,000 แอมแปร ความสําคัญของเครื่องเชื่อมแบบ AC อยางหนึ่งคือมี Duty Cycle ตั้งแต 80 ถึง 100% เครื่องเชื่อมชนิดนี้จําเปนตองมี Contactor และเกจวัดประกอบเขาไป ในเครื่องดวย รวมทั้งมีไฟ AC 100 โวลท สําหรับใชกับเครื่องปอนลวดดวย เครื่องปอนลวด (Wire Feeder) เครื่องปอนลวดเปนกลไกสําหรับสงปอนลวดไสฟลักซ อยางอัตโนมัติจากลูกลอ (Reel) ผานทอ รวมสายเคเบิ้ลไปยัง Welding Gun และสูการอารค ระบบปอนลวดจําเปนจะตองทํางานสัมพันธเขา กับตนกําลังได สําหรับ FCAW ตนกําลังเปนชนิดโวลเทจคงที่ (CV) ดังนั้นเครื่องปอนลวดจึงควรเปน ชนิดความเร็วคงที่ แตปรับได ความเร็วในการปอนลวดจะเปนตัวกําหนดขนาดของกระแสไฟทีใ่ ชใน การอารค ระบบการปอนลวดแบบโวลเทจคงที่นี้เปนระบบที่ควบคุมตัวมันเอง สําหรับเครื่องปอนลวด แบบ Voltage Sensing เมื่อนํามาใชกับการเชื่อมอัตโนมัติจะใชกับตนกําลังหรือเครื่องเชื่อมชนิด กระแสไฟคงที่ (CC) หัวเชื่อม (Welding Gun) Welding Gun ใชกับการเชื่อมแบบอัตโนมัติ ทําหนาที่เปนตัวรับลวดเชือ่ มไสฟลักซที่สงมาจาก เครื่องปอนลวด และเปนสะพานรับกระแสไฟจากเครื่องเชื่อม เพื่อสงไปยังการอารค ในกรณีการเชื่อม โดยใชแกสซีลจากแหลงภายนอก Welding Gun จะทําหนาที่สงแกสซีลไปยังบริเวณที่เกิดการอารคดวย แกสซีลที่ใชโดยทัว่ ๆ ไป คือ CO2 Welding Gun สําหรับใชเชื่อมงานธรรมดาทั่วไปจะไมใชชนิดหลอ เย็นดวยน้ํา แตกับการเชื่อมโลหะหนามาก ๆ ที่ตองการกระแสไฟ Welding Gun จึงควรเปนชนิดหลอเย็น ดวยน้ํา อยางไรก็ตามการเชื่อมที่ใชกระแสไฟสูงถึง 600 แอมแปร ควรจะใช Welding Gun ชนิดที่หลอเย็น ดวยน้ํา แต Welding Gun ที่ใชกับวิธกี ารเชื่อม (Variation) แบบ Gasless จะไมใชระบบการหลอเย็น ดวยน้ําเลย ในการใชงานเฉพาะบางอยางอาจจําเปนตองสรางอุปกรณพิเศษขึ้นเพือ่ ติดเขากับ Welding Gun เพื่อชวยทําใหประสิทธิภาพการเชื่อมไดเร็วยิ่งขึ้น แกสซีล (Shielding Gas) แกสซีลจะทําหนาที่ไลอากาศรอบ ๆ บริเวณการอารคออกไป เพื่อปองกันไมใหแกสออกซิเจน และแกสไนโตรเจนเขาไปรวมตัวกับโลหะเชื่อม แกสซีลที่ใชโดยทัว่ ไปกับ FCAW นี้คือแกส CO2 สําหรับเชื่อมเหล็ก แตถาใชกับการเชื่อมเหล็กสเตนเลสส หรือเหล็กผสมบางชนิดจะใชแกสผสมของ
75
อารกอน - CO2 หรือ อารกอน – ออกซิเจนเปนแกสซีล การใชแกสชนิดไหนนั้นยอมขึ้นอยูกับชนิด ของโลหะชิ้นงาน และชนิดของลวดเชื่อมไสฟลักซที่ใชรวมทั้งอัตราการไหลของแกสก็ขึ้นอยูกับชนิด ของแกสที่ใชดวย ลวดเชื่อม (The Electrode Wire) ลวดเชื่อมทีใ่ ชจําเปนตองเปนชนิดที่มีสว นผสมและแรงดึงใกลเคียงกับโลหะชิ้นงานและการเลือก จําเปนจะตองพิจารณาถึงวาลวดเชื่อมชนิดนั้น ๆ ใชกับวิธีการเชื่อมแบบ FabCO หรือกับแบบ Fabshield ลวดเชื่อมมีหลายขนาดดวยกัน เพื่อสะดวกในการเชื่อมทาตาง ๆ มีลักษณะเปนมวนกลมเก็บไวในกลอง อยางมิดชิดเพือ่ ปองกันความชื้นในอากาศ สมาคมการเชื่อมของอเมริกันไดจําแนกลวดเชื่อมชนิดนี้ขึ้น ดังตอไปนี้ E70T – 1 ตัวอักษรนําหนา “E” หมายถึงคําวา “Electrode” เลข “70” หมายถึงแรงดึงต่ําสุดเปนปอนดตอตารางนิว้ คูณดวย 100 ตัว “T” แสดงใหทราบวาลวดที่ใชเปนลวดเชื่อมไสฟลักซ หรือ A Tubular or Fabricated Fllux-Cored Electrode สวนเลข 1 ตัวสุดทายบอกใหทราบถึงคุณสมบัติทางเคมีของโลหะเชื่อมแกสซีลและ ความสามารถในการใชงานได
76
การเชื่อมเหล็กดวย FLUX-CORED ARC WELDING (FLUX-CORED ARC WELDING OF STEEL) ใชลวดเชื่อมขนาด 3/32” เชื่อมในทาราบและทาแนวนอน
หมายเหตุ ดาตาขางบนนี้สามารถใชกับวิธีการเชื่อมแบบ Gasless ได (1) สําหรับแนวเชื่อมแบบรองและแบบฟลเลท ความหนาของชิ้นงานจะเปนตัวกําหนดขนาดของแนวเขื่อม แบบฟลเลท ใชแนวตอรองตัววี (V) สําหรับโลหะหนาตั้งแต 1/4 ” และใชแนวตอรองตัววีคูสําหรับ โลหะหนาตั้งแต 1/2 ” ขึ้นไป (2) การเชื่อมใชแกส CO2 (3) Stickout หมายถึงระยะหางระหวางทิปกับแผนงาน
สถานภาพการเชื่อมดวย FLUX-CORED ARC WELDING DCRP (FLUX-CORED ARC WELDING CONDITIONS DCRP)
1. ใหใชการเชื่อมแบบรอง Groove แบบฟลเลทหรือการเดินแนวเชื่อมธรรมดา (Bead) ตามตําแหนง ทาเชื่อมที่กําหนดให 2. ชวงของกระแสสามารถขยายได โดยเฉพาะอยางยิ่งกับการเชื่อมแบบอัตโนมัติ 3. ชวงของโวลเทจสามารถขยายได โวลเทจจะสูงขึ้นถา “Srickout” มีระยะหางมากขึ้น แกสซีลควรมีอัตราการไหลประมาณ 30 – 45 Cu. ft/hr. ซึ่งแลวแตขนาดของลวดเชื่อมที่ใช
77
78
3.4 การเชื่อมโลหะดวยแกสเฉื่อยแบบ TIG (GAS TUNGSTEN ARC WELDING (GTAW) การเชื่อมแบบ GTAW เปนการเชื่อมโดยการหลอมละลายของโลหะดวยความรอนที่เกิดจากการอารคระหวางแทงทังสเตน (Tungsten Electrode) และแผนงาน โดยมีแกสเฉื่อย หรือแกสเฉื่อยผสมเปนเกราะ (Shield) ปองกัน การอารค แนวเชื่อมอาจกระทําไดโดยการใชลวดเชื่อมหรือไมใชก็ได (วิธีการเชื่อมแบบนี้บางทีเรียกวา การเชื่อมแบบ TIG ดูจากรูปที่ 7 แสดงใหเห็นการอารคแทงทังสเตน (Tungsten Electrode หรือ Nonconsumable Electrode) และแสดงใหเห็นบริเวณทีแ่ กสเฉื่อยปกคลุมไปถึงรวมทั้งลวดเชื่อมที่กําลัง ถูกปอนเขาไปในแองหลอมละลายบนแนวเชื่อม
รูปที่ 7 การนําไปใช (Application) ความดีเดนของการเชื่อมดวยแกสเฉื่อยแบบ TIG คือ (1) ใหแนวเชื่อมที่มีคุณภาพสูงกับการเชื่อมโลหะแทบทุกชนิดที่ใชในโรงงานอุตสาหกรรม (2) ในทางปฏิบัตแิ ลว การทําความสะอาดหลังเชื่อมแลวไมจาํ เปน (3) การอารคและบอหลอมละลายสามารถมองเห็นไดชัด (4) ลวดเชื่อม (Welding Rod) ไมเปนตัวอารคจึงตัดปญหาที่เกิดจากกระเด็นของเม็ดโลหะ (Spatter) (5) การเชื่อมสามารถกระทําไดในทุกทาเชื่อม (6) ไมเกิดสแลก (Slag) จึงทําใหแนวเชื่อมสะอาด GTAW เหมาะสําหรับเชื่อมโลหะตาง ๆ ดังตอไปนี้คือ อะลูมิเนียม เหล็กสเตนเลสส ซิลิคอนบรอนซ เงิน ทองแดง และทองแดงผสม นิเกิลและนิเกิลผสม เหล็กหลอ และเหล็กทั่วไป สามารถเชื่อมโลหะที่มีความหนาตาง ๆ GTAW ยังนิยมใชเชื่อมแนวแรกหรือ Root Pass ในการเชื่อมทอเหล็ก เครื่องมือที่ใช (Equipment) เครื่องมือสําคัญที่ตองใชกับการเชื่อม GTAW (ดังแสดงในรูป) คือ
79
(1) (2) (3) (4)
เครื่องเชื่อม (Welding Machine) ทอรชเชื่อมกับลวดทังสเตน (Welding Torch and Tungsten Electrode) ลวดเชื่อม (Filler Metal) แกสซีลและเครื่องควบคุม ยังมีอุปกรณประกอบอื่นอีกหลายอยางเชนระบบผลิตความถี่สูง ระบบการหมุนเวียนของน้ําหลอเย็น ตลอดจนสวิทชแบบ Rbeostat ชนิดใชเทาเหยียบเพื่อ เพิ่มหรือลดกระแสใหไปยังการอารคไดตามความตองการ
รูปที่ 8 เครื่องเชื่อม (Welding Machine) เครื่องเชื่อมสําหรับใชกับการเชื่อมแบบ GTAW เปนเครือ่ งที่ไดรับการออกแบบอยางพิเศษ ซึ่ง อาจเปนไดทั้งชนิด DC Generator หรือชนิด AC/DC Rectifier การเชื่อมแบบ GTAW สามารถเชื่อมได ทั้งกระแสไฟ AC และกระแสไฟ DC และเชื่อมไดทั้งขัว้ บวก (Reverse Polarity) และขั้วลบ (Straight Polarity) เครื่องเชื่อมแบบ GTAW มักจะมีระบบผลิตความถี่สูง (High Frequency Unit) รวมอยูดวย ในกรณีเชื่อมดวยกระแส DC กระแสความถี่สูงจะถูกนํามาใชในการเริ่มตนอารค แตในการเชื่อมดวย กระไฟ AC กระแสความถี่สูงจะถูกใชตอเนื่องกัน (Continuouslv) การที่จะเลือกกระแสไฟชนิดใด AC หรือ DC ยอมขึ้นอยูกับชนิดของโลหะที่นํามาเชื่อม กระแสไฟ AC จะเชื่อมไดดีกับการเชื่อมอะลูมิเนียม และแมกนีเซียม สวนกระแสไฟ DC เชื่อมไดดีกับการเชื่อมเหล็กสเตนเลสส เหล็กหลอ เหล็กเหนียว ทองแดง เงิน นิเกิลและนิเกิลผสม เครื่องเชื่อม GTAW ทั่ว ๆ ไปมักมีชวงกระแสใชงานตั้งแต 3 – 350 แอมแปร 10 – 35 โวลทเปอรเซ็นต Duty Cycle เทากับ 60 การเชื่อมแบบ GTAW นี้อาจใชกับเครื่องเชื่อมแบบธรรมดาทั่วไปชนิด AC หรือ DC ก็ได แต จะตองมีระบบผลิตความถี่สูงเขาชวย อยางไรก็ตามผลการเชื่อมที่ดีที่สุดจะไดจากการเชื่อมดวยเครื่อง
80
ชนิดที่ออกแบบพิเศษสําหรับใชกับ GTAW โดยเฉพาะเครื่องเชื่อมที่ออกแบบสําหรับใชกับการเชื่อม แบบ GTAW ยอมสามารถนํามาใชกับการเชื่อมธรรมดาดวยธูปเชื่อมไดดวย ทอรชเชื่อม (Torch) ทอรชเชื่อมของ GTAW ทําหนาที่เปนตัวจับลวดทังสเตน เปนที่ ๆ ปลอยแกสออกไปซีลการอารค โดยตรง และเปนตัวรับกระแสไฟเพื่อใชกบั การอารค ทอรชเชื่อมมีทั้งชนิดหลอเย็นดวยน้ํา (Water Cooled Torch) และหลอเย็นดวยอากาศ (Air Cooled Torch) การหลอเย็นทั้งสองวิธนี ี้ขึ้นอยูกับขนาด ของกระแสไฟที่ใช แตชนิดหลอเย็นดวยน้ําเปนชนิดทีใ่ ชกนั กวางขวางทีส่ ุด Electrodes Electrodes ในบทนี้มิไดหมายถึงลวดเชือ่ มดังไดกลาวไวในบทอื่น ๆ แตหมายถึงแทงทังสเตน (Tungsten Electrode) หรือแทงทังสเตนผสม ซึ่งทําหนาที่ในการอารคเพียงอยางเดียว (ไมใหโลหะ เชื่อมกับแนวเชื่อม) มีจุดหลอมละลายสูงถึง 6,170°F จึงเรียกกันอีกอยางหนึ่งวา Nonconsumable Electrode ขณะใชงาน Electrode จะอยูเหนือชิ้นงานปลาย Electrode บางทีไปจุมเขากับโลหะที่กําลัง หลอมละลายแลวเปนเหตุใหการอารคไมเรียบ จึงควรตองทําความสะอาดทุกครั้งไป Electrode นี้มที ั้ง ชนิดทังสเตนบริสุทธิ์ (Pure Tungsten) และชนิด Thoriated Tungsten 1% และ 2% ชนิด Pure Tungsten เปนชนิดที่ถูกที่สุด เหมาะสําหรับเชื่อมอะลูมิเนียม สวนชนิด Thoriated Tungsten เหมาะกับ การเชื่อมเหล็กตาง ๆ และใชไดนาน หรือบางทีก็ใช Zirconated Tungsten เพราะรวมตัวกับโลหะที่ กําลังหลอมละลายไดยาก ใหแนวเชื่อมทีส่ ามารถ X – ray ไดดีกวา เหมาะสําหรับใชกับอะลูมิเนียม ความแตกตางระหวางชนิดของ Electrode สามารถทราบไดโดยดูสีจากปลายลวดนัน้ Electrode มีทั้ง ชนิดผิวเรียบและผิวขัด มีความยาวตั้งแต 3” ถึง 24” ลวดเชื่อม (Filler Metal) การเชื่อมแบบ GTAW นี้ อาจใชลวดเชื่อมหรือไมใชกไ็ ด ตามปกติมกั จะใชการเชื่อมโลหะบาง ไมนิยมใชลวดเชื่อม สวนผสมของลวดเชื่อมควรมีสวนผสมใกลเคียงกับโลหะชิ้นงาน ชารททีวา ดวย ลวดเชื่อม (Filler Metal) จะบอกใหทราบชนิดของลวดเชื่อม ขนาดของลวดเชื่อมทีใ่ ชขึ้นอยูก ับความหนา ของงานและขนาดของกระแสไฟที่ใช การปอนลวดเชือ่ มตามปกติกระทําดวยมือแตบางครั้งใชปอน ดวยระบบอัตโนมัติ แกสซีล (Shieding Gas) แกสเฉื่อยซึ่งอาจเปนแกสอารกอนหรือแกสฮีเลียม หรือแกสผสมของทั้งสองถูกนํามาใชเปน แกสซีลการอารคจากบรรยากาศ ตามปกติจะใชแกสอารกอนมากกวา เพราะจัดหาไดงายกวา มีน้ําหนัก มากกวา และยังทําหนาที่ซีล (Sheild) การอารคไดดกี วาดวย อัตราการไหลต่ํา การเชื่อมทาราบและทาตั้ง จะใชอัตราการไหลของแกสประมาณ 15 ถึง 30 CFH สวนการเชื่อมทาเหนือศีรษะอัตราการไหลของ แกสจะสูงกวาเล็กนอย
81
ความปลอดภัยในการเชื่อม (Welding Safety) ผูเชื่อมจําเปนจะตองสวมเสือ้ ที่หนาพอเพือ่ ปองกันอันตรายที่เกิดจากแสงของการอารค ตองสวม หนากากเชื่อม (Helmet) เพื่อปองกันตาและใบหนา ความเขมของกระจกหนากากจะตองพอดีกับแสงจา ที่เกิดจากการอารค การถายเทอากาศในที่ ๆ ทําการเชื่อมจะตองดีพอเสมอ
82
ชวงของกระแสไฟสําหรับใชกับแทงทังสเตนขนาดตาง ๆ (RECOMMENDED CURRENT RANGES FOR TUNGSTEN ELECTRODES) (for welding any base metal)
(1)
(2)
(3)
AC – HF – กระแสไฟสลับพรอมดวยระบบความถี่สูง DC – SP – กระแสไฟตรง ขั้วลบ (ลวดทังสเตนเปนลบ งานเปนบวก) DC – RP – กระแสไฟตรง ขั้วบวก (ลวดทังสเตนเปนบวก งานเปนลบ) แทงสเตน (Tungsten Electrode) แบงออกเปนชนิดตาง ๆ ดังตอไปนี้ EWP – ทังสเตนบริสุทธิ์ โคดสี (Color Code) คือปลายสีเขียว (Green Tip) EWTh 1 – 1% Thoriated Tungsten โคดสีคือปลายสีเหลือง EWTh 2 – 2% Thoriated Tungsten โคดสีคือปลายสีแดง EWZr – Zirconated Tungstn โคดสีคือปลายสีน้ําตาล ลักษณะผิวของแทงทังสเตนมี 2 แบบดวยกัน คือ แบบมาตรฐานและแบบมีรอยขัด (Standard and Ground) แบบมีรอยขัด (Ground) นิยมใชกับทอรชที่หลอเย็นดวยน้ํา ทั้งนี้เพื่อทําใหแทงทังสเตนไดรับ การหลอเย็นดียิ่งขึ้น แทงทังสเตนที่ใชทั้งสองแบบนี้มีขนาดตั้งแต .020 ” ถึง .250 ” และมีความยาวตั้งแต 3 – 24 ” Electrode ของการเชื่อมแบบ TIG ทําจากโลหะทังสเตนหรือทังสเตนผสม เพราะเปนโลหะที่มี จุดหลอมละลายสูงถึง 6,170°F ในทางปฏิบัติถือวาไมมีการหมดไปในการอารค (Nonconsumable) ใน การเชื่อมแทงทังสเตน หรือ Electrode จะตองไมสัมผัสกับโลหะชิ้นงานที่กําลังหลอมละลาย การที่โลหะ ชิ้นงานกระเด็นหรือเคลือบที่ปลายของ Electrode จะเปนเหตุใหการอารคไมสม่ําเสมอ และแนวเชื่อม สกปรกได
83
84
ลวดเชื่อมอะลูมิเนียม (ALUMINUM FILLER METAL)
85
86
การเลือกลวดเชื่อมทองแดงและทองแดงผสม (COPPER AND COPPER ALLOY FILLER METAL SELECTION GUIDE)
87
88
89
90
ลวดเชื่อมเหล็กสเตนเลสส (STAINLESD STEEL FILLER METAL GUIDE for TIG and MIG Welding)
(1) (2) (3) (4)
- สวนผสมที่เหลือคือเหล็ก (Iron) - ดู “Electrode Selection for Welding Stainless Steel” เพื่อใหรูวาสวนผสมของลวดเชื่อม ชนิดตาง ๆ ในระบบ AISI - Hi Sil หมายความวา “Higher than normal Silicon” (Approx. Carbon) - Clad หมายความวา โลหะที่ถูกเคลือบหรือทับซอนดวยเหล็กสเตนเลสส ใหดู “Electrode Selection For Welding Stainless Steels” ในบทที่วาดวยการเชื่อมไฟฟาดวยธูปเชื่อม (Stick)
91
92
93
3.5 การเชื่อมชนิด ELECTROSLAG WELDING (EW) Electroslag welding (EW) คือ กรรมวิธีการเชื่อมโลหะที่ไดความรอนจากฟลักซ ซึ่งหลอมละลาย อันเนื่องมาจาก กระแสไฟฟาไหลผาน และเปนผลทําใหลวด เชื่อม (Filler Metal) และ ผิวของชิ้นงานหลอม ละลายเขาดวยกัน โลหะ ที่กําลังหลอมละลายถูก ซีลไวดวยสแลกจํานวน มาก (Heavy Slag) ซึ่งจะ ปกคลุมเคลื่อนที่ไปตาม แนวเชื่อม สแลกนีม้ ี คุณสมบัติเปนตัวนํา ไฟฟา และจะหลอม ละลายเพราะความ รูปที่ 9 ตานทานของมันเองที่มี ตอการไหลของ กระแสไฟฟาจากแทงลวดเชือ่ ม (Electrode) ไปยังชิน้ งาน แนวตอของการเชื่อมนีจ้ ะเปนแนวตอรอง สี่เหลี่ยม ระยะหางระหวางชิ้นงานจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับความหนาของชิ้นงาน ดังนั้นในชองของ แนวตอจะประกอบดวยชิน้ งาน แผนปะกับขางหรือ Molding Shoes ฟลักซที่หลอมละลาย โลหะเชือ่ ม ที่แข็งตัวแลว โลหะหลอมละลายของชิ้นงานของ Electrode และของ Guide Tube จะรวมกันภายใตฟ ลักซที่กําลังหลอมละลายและกลายเปนโลหะเชื่อมไป (Weld Metal) ขณะที่โลหะเชื่อมคอย ๆ เย็นตัว และแข็งตัวอยางชา ๆ จะทําใหเกิดการเชื่อมตอกันขึ้น Consumable Guide Electroslag Welding เปนวิธีการอันหนึ่งของการเชื่อมแบบ Electroslag Welding โดยลวดเชื่อมทีใ่ ชประกอบดวย Electrode และแกนนํา (Guiding Member) ในระบบ Consumable Guide System ของโฮบารท ไดนํา เครื่อง Porta-Slag Welder มาใช คือเปนแบบที่ Electrode ชี้ตรงไปยังกนของแนวเชือ่ ม ตัว Guide จะ เปนตัวนํากระแสไฟฟาและให Electrode ปอนผานตามปกติจะเปนรูเล็กผนังทอหนา ตัว Guide จะ หลอมละลายที่ฟลักซสวนบนและเมื่อแข็งตัวจะกลายเปนสวนหนึ่งของโลหะเชื่อม การเชื่อมดวย กรรมวิธี Electroslag นี้ไมมกี ารอารคเกิดขึน้ เวนแตในตอนเริ่มตนเทานั้น เพราะตองการอารคเพื่อทํา ใหฟลักซเกิดการหลอมละลาย ดูรูปที่ 9
94
การเชื่อมตามปกติเปนการเชื่อมทาตั้ง โดยมีปะกับขางทีห่ ลอเย็นดวยน้าํ (Water Cooled Retaining Shoes) ขนาบไวทั้งสองขางของแนวตอ เพื่อปองกันมิใหโลหะทีก่ าํ ลังหลอมละลายและฟลักซไหล ออกจากแนวเชือ่ ม ลักษณะของหนาแนวเชือ่ มขึ้นอยูกับการหลอมละลายหรือรูปรางของแผนปะกับทั้งสอง ในระบบ Consumable Guide ของโฮบารทปกติออกแบบแผนปะกับหรือ Retaining Shoes ใหตดิ อยู กับที่ (เลื่อนไมได) การเชื่อมตอชน ตอมุมและตอตัวทีส่ ามารถเชื่อมไดในระยะสูงถึง 10 ฟุต โดยที่ หัวเชื่อมไมตองเคลื่อนที่ขึ้นหรือลง แตติดตั้งไวกับที่ตรงสวนบนสุดของแนวเชื่อมเทานั้น ในกรณีที่ งานมีความหนามาก ตัว Guideอาจจะตองทําใหสายไปมา (Oscillate) ได บางทีกน็ ิยมใช Electrode และ Guide มากกวา 1 ชุด ระบบ Consumable Guide ของโฮบารทเปนระบบการเชื่อมอัตโนมัติระบบหนึ่ง โดยการเริ่มตนแนวเชื่อมครัง้ หนึ่งจะเชื่อมแนวเชื่อมไดสาํ เร็จแนวเชื่อมหนึ่ง แนวเชื่อมที่แข็งตัวแลว จะถูกปกคลุมไวดว ยสแลกบาง ๆ ซึ่งงายแกการเคาะออกในระหวางเชื่อมจําเปนจะตองเพิ่มฟลักซเขาไป ในแนวเชื่อมเพื่อชดเชยฟลักซที่สูญเสียไปกับ การแข็งตัวของโลหะเชื่อม
รูปที่ 10 การนําไปใช (Application) จุดเดนของระบบ Consumable Guide ของโฮบารทที่ใชกับ Electroslag Welding คือ (1) ใหความเร็วในการเชื่อมไดสูงมาก (2) มีความสามารถในการเชื่อมโลหะหนามาก ๆ โดยใชแนวเชื่อมเดียว (3) ตองการการเตรียมแนวตอนอยที่สุด (4) เกิดการหนีแนวนอยมากหรือไมเกิดเลย (5) สิ้นเปลืองฟลักซนอย นอกจากนี้แลว ยังไมเกิดการแตกกระเด็นของเม็ดโลหะขณะเชื่อม ลวดเชือ่ มจะถูกใชงานไดทั้งหมด 100% ระหวางเชื่อมไมมีการควบคุมใด ๆ นอกจากการตั้งและปรับเครื่อง (Set-up Equipment) ในตอนแรกเทานั้น โลหะที่นํามาเชื่อมดวยวิธีการเชื่อมชนิด Consumable Guide Electroslag Welding นี้ไดแก เหล็กคารบอนต่ํา เหล็กผสมต่ําแรงดึงสูง เหล็กคารบอนปานกลางเหล็กผสม เหล็กที่ผานการชุบแข็ง และเหล็กเครื่องมือ เหล็กสเตนเลสสและโลหะผสมนิเกิลโครเมียมสูง โลหะบางชนิดที่เชื่อมแลว
95
อาจจะตองผานกรรมวิธีเพื่อเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ (Heat Treatment) เพื่อใหเหมาะกับการนําไป ใช วิธีการเชื่อมชนิดนี้สามารถใชเชื่อมแนวตอที่มีความยาวตั้งแต 4 นิ้ว จนถึง 10 ฟุต หัวเชื่อมชนิด ลวดเชื่อมเดียว (Single Electrode) จะเชื่อมโลหะหนาตั้งแต 1/2” ถึง 2” ถาโลหะหนาตั้งแต 2” ถึง 5” หัวเชื่อมจะประกอบดวยลวดเชื่อมและแกนนํา (Electrode and Guide Tube) พรอมกับสายไปมาใน แนวเชื่อมและในกรณีที่โลหะหนาตัง้ แต 5” จนถึง 12” หัวเชื่อมจะเปนชนิดลวดเชื่อมและแกนนําคู (Double Electrodes and Guide) และทําใหสายไปมาในแนวเชื่อม การสายลวดเชื่อมและแกนนําไปมา (Oscillation) นี้ เพื่อตองการใหความรอนสงผานไปตามจุดตาง ๆ ในแนวเชื่อมทั่วถึง และเพื่อทําให การละลายลึกลงไปในแผนงานอยางสม่ําเสมอ นอกจากนี้การสายหัวเชื่อมไปมาเชนนีจ้ ะทําใหลดจํานวน ลวดเชื่อมและแกนนําลงไดอกี ดวย เครืองมื ่ อและอุปกรณที่ใช (Equipment) เครื่องมือที่สําคัญสําหรับใชในการเชื่อมชนิด Electroslag นี้คือ (1) หัวเชื่อมแบบ Porta-Slag Automatic Welding Head ซึ่งประกอบดวยฐานตั้ง (Mounting) ปุมปรับตาง ๆ และกลไกสําหรับการสายหัวเชื่อมไปมา (Oscillating Mechanism) (2) เครื่องควบคุมการปอนลวดและการสายหัวเชื่อม (3) เครื่องเชื่อม (ใช 1 เครื่องตอลวดเชื่อม 1 อัน) และ (4) ปะกับขางแนวเชื่อมหลอเย็นดวยน้ํา (Water Cooled Metal Retaining Shoes) ดูรูปที่ 10 หัวเชื่อมแบบ Porta-Slag Welding Head เปนแบบกระทัดรัด เคลื่อนยายงายใชงานสะดวก เพียงแตติดตั้งลงบนชิ้นงานที่จะทําการเชือ่ มก็ใชได จึงทําใหประหยัดคาใชจายในเรื่อง เครื่องมือประกอบหรืออุปกรณจับยึดอื่น ๆ ตามปกติเครื่องเชื่อมที่ใชมีขนาด 750 แอมแปร แบบหมอแปลง/เร็คติไฟเออรชนิดแรงเคลื่อนไฟฟา คงที่ (CV) และจะตองมี Duty Cycle 100% รวมทั้งอุปกรณอิเล็กโทรนิคที่ใชในการควบคุมปรับแตง เชน Contactors Remote และ Adjustment เปนตน ขั้วทีใ่ ชงานทั่วไปคือขั้วบวก (Reverse Polariy) คือ ลวดเชื่อมหรือ Electrode เปนบวก เครื่องเชื่อมนี้ยังสามารถนําไปใชกับการเชื่อมแบบตอเนื่องใน กรรมวิธีการเชื่อมแบบอื่น ๆ ไดอีก วัสดุที่ใช (Material) ฟลักซที่ใชมีลักษณะเปนเม็ด ๆ หรือที่เรียกวา (Granular Flux) โดยมีสารบางอยางผสมอยู เพื่อใหทําหนาที่ในการซีลไดอยางมีประสิทธิภาพ ฟลักซที่ใชสําหรับ Electroslag Welding นี้เมื่อหลอม ละลายแลว จะตองมีความเหลว (Viscosity) และความเปนตัวนําไฟฟา (Conductivity) ที่พอเหมาะ ชนิดของลวดเชื่อมจะตองมีตัวผสมที่ใกลเคียงหรือเขากันไดกับโลหะชิ้นงาน ระบบการเชื่อมชนิดนี้ ตามปกติใชแกนนําโต 5/8” ในกรณีทแี่ นวเชื่อมยาวมาก จะมีวัสดุที่เปนฉนวนพันรอบแกนนํา (Guide) เปนระยะ ๆ เพื่อปองกันไฟฟาเดินลัดวงจรหรือชอรทกับแผนงาน สวนลวดเชื่อมหรือ Electrode ที่ใช โดยทั่วไป มีขนาด 3/32” ซึ่งมีลักษณะเปนขดลวดพันรอบลูกลอ (Reel) ที่เหมาะสม
96
สถานภาพการเชื่อมดวย ELECTROSLAG WELDING (WELDING CONDITIONS FOR ELECTROSLAG (CONSUMABLE GUIDE) PORTA-SLAG WELDING)
แนวตอมีแกนอยูในแนวตั้ง (Axis Vertical) ความยาวสูงสุดของแนวตอ 10 ฟุต (เวนแตลวดเชื่อมสายแบบ Single Electrode จะมีแนวตอ 5 ฟุต) (1) ที่กนแนวเชื่อม (Root Opening) จะตองปดไวดวยปะกับทองแดงที่หลอเย็นดวยน้ํา รองสวนบนควรโต กวารองที่กนแนวเชื่อมเล็กนอย รองเชื่อมสวนบนที่กวางกวาจะชวยทําใหการละลายลึกเขาไปในเนื้อโลหะได มากกวา ทําใหเกิดเนื้อที่ของการหลอมละลายโลหะเชื่อมเขาดวยกัน (Dilution) มากขึ้น (2) ลวดเชื่อม (Electrode Wire) ที่ใชขนาด 3/32 นิ้ว Hobart HB 25 P แกนนําเปนโลหะ AISI 1020 ใชขนาด 5/8” OD x 1/8” ID (ใชขนาด 1/2” OD สําหรับเชื่อมโลหะหนา 1/2”) ใชวัสดุที่เปนฉนวนกั้นเปนระยะ ๆ ละ 12 นิ้ว เพื่อกันการสัมผัสกับผนังแผนงาน ฟลักซที่ใชในตอนเริ่มอารค (Starting Flux) ใช Hobart type PF 203 คลุมใหหนา 1/8” ที่กนแนวเชื่อมฟลักซขณะใชงาน (Running Flux) ใช Hobart Type PS 201 เติมใหพอและใหคงอยูในความหนาประมาณ 1 1/2” ถึง 2” โดยเติมทีละนอย เมื่อใชหัวเชื่อมแบบ Double Electrode ใหจัดหางกัน 3 1/4” (ระยะจากศูนยกลางถึงศูนยกลาง) (3) แรงเคลื่อนไฟฟาที่ใชขึ้นอยูกับปะกับทองแดงหลอเย็นดวยน้ําที่ใช แตถาปะกับทองแดงที่ไมมีน้ําหลอเย็น ใหลดโวลเทจลง 2 โวลท
97
98
3.6 การเชื่อม PLASMA ARC WELDING (PAW) Plasma Are Welding (PAW) เปนกรรมวิธีการเชื่อมโดยการอารคแบบหนึ่ง ซึ่งชิ้นงานหลอมละลาย เชื่อมติดกันดวยความรอนที่ ไดจากการอารคระหวางแทง ทังสเตนกับหัวเชื่อมทองแดง ที่หลอเย็นดวยน้ํา หรือกับ แผนงาน (Water Cooled Copper Nozzle or Base Metal) ในชองอันจํากัดที่มีแกสไหล ผาน ทําใหแกสที่ไหลผานการ อารคที่มีความรอนสูงแตกตัว เปน IONS ผสมรวมกันเขากับ Electron จากการอารคพุงออกไปจากหัวเชื่อม (Nozzle) ไปสูแผนงานดวยอัตราเรงสูง (High Velocity) การอารคและการแตกตัวเปน Ions นี้จะถูกซีลไวดว ยแกสเฉื่อยหรือแกสผสมอีกชั้นหนึ่ง ลวดเชื่อมอาจ ใชหรือไมใชกบั กรรมวิธีการเชื่อมนี้ก็ได Plasma Arc Torch มี 2 แบบคือ Transferred Arc และ NonTransferred Arc จากรูปแสดงใหเห็นลักษณะของ Transferred Arc ซึ่งกําลังหลอมละลายชิ้นงานเปน บอลึกซึ่งเราเรียกบอลึกนีว้ า “Keyhole” การนําไปใช (Application) ดวยหลักการโดยทัว่ ไปแลว Plasma Arc Welding จะทํางานคลาย ๆ กับ Gas Tungsten Arc Welding แต Plasma Arc Welding มีขอดีที่เหนือกวาคือ (1) ระยะหางของการอารคใน Plasma Arc Welding เปนผลตอการเปลี่ยนแปลงของความรอน และรูปรางของแนวเชื่อมนอยมาก สามารถเชื่อมโลหะตั้งแตบางจนถึง 3/32” การละลาย ทะลุหรือการกินลึกที่เลวจะไมเกิดกับการเชือ่ มชนิดนี้ ระยะหางของการอารคที่ใชทั่วไป คือ 1/8” ถึง 1/4” การเชื่อมโลหะที่บางมากจนถึง 3/32” มักจะไมใช Keyhole Technique (2) การเชื่อมโลหะหนาเกินกวา 3/32” จําเปนจะตองใชอัตราเรงสูง (High Velocity) ความรอน สูง เพื่อใหเกิดการละลายลึกจนมีลักษณะเปน Keyhole นิยมเชื่อมแนวเดียว (Single Pass) กับการเชื่อมทาราบ ทาแนวนอน และทาตัง้ ใชความเร็วในการเชื่อมสูงเมื่อเชื่อมดวย Keyhole Technique (3) ชนิดของโลหะที่นํามาเชื่อม เนื่องจากการเชื่อมชนิดนี้ใหอณ ุ หภูมิในการอารคและกําลัง ความรอนที่มคี วามเขมขนสูง จึงเหมาะสําหรับใชเชื่อมโลหะที่มีจุดหลอมละลายสูง หรือ Refractory Materials โดยใชระยะอารคปานกลาง กระแสไฟต่ํา โลหะที่สามารถนํามาเชื่อม กับ Plasma Arc Welding นีค้ ือ เหล็กผสมต่ํา เหล็กสเตนเลสส อะลูมินัม ไตเตเนียม และ
99
โลหะอื่น ๆ ที่เชื่อมกับการเชื่อมแบบ GTAW แทงทังสเตนจะไมเกิดการเกาะจับโลหะ ละลายอื่น ๆ ในการเชื่อมดวย Plasma นี้ (4) การเชื่อมดวย Plasma Arc Welding จะไมทําใหชิ้นงานหนีแนวผิดรูปไปจากเดิมมากไปกวา การเชื่อมดวย GTAW โดยเฉพาะการเชื่อมแนวแรกทีก่ นแนวเชื่อม (Root Pass) (5) รูปรางของแนวเชื่อม แนวเชือ่ มมีลักษณะแคบ ละลายลึก และสม่ําเสมอ เครื่องมือและอุปกรณที่ใช (Equipment) เครื่องมือที่สําคัญสําหรับใชในการเชื่อมดวยกรรมวิธี Plasma Arc Welding Process คือ (1) เครื่องเชื่อม DC ชนิดกระแสไฟคงที่ (CC) (2) Plasma Arc Console (3) ทอรชเชื่อม (Welding Torch) และ (4) ทอแกสหรือ (Gas Supplies) และอุปกรณประกอบอื่น ๆ อีกเชน Main Power, Contactor, Foot Rheostat สําหรับควบคุมกระแสไฟ รวมทั้งระบบหลอเย็นดวยน้ํา ระบบการ Setups สําหรับการเชื่อมแบบอัตโนมัติจะประกอบดวยเครื่องปรับคาตาง ๆ เชน Upslope, Downslope, ความเร็วในการเชื่อมและอัตราการไหลของแกสเปนตน
รูปที่ 12
เครื่องเชื่อม (Welding Machine) อาจเปนเครื่องชนิด Motor Generator หรือ Rectifier ก็ได แตจะตองเปนชนิดกระแสไฟคงที่ สําหรับ Contactor และ Foot Switch จะใชในขณะทําการอารคกรณีตองการกระแสไฟเชื่อมต่ําอาจใช Resistors (ตัวตานทาน) ตอกันอยางอันดับเพื่อเปนตัวบังคับ
100
หนวยควบคุมการทํางาน (Control Console) หนวยควบคุมนี้ประกอบดวยเครื่องทําความถี่สูงสําหรับการเริ่มเชื่อม (High-Frequency Arc Starter) A Non–Transferred Pilot-Arc Current Supply, เครื่องปองกันทอรชเชื่อม แอมมิเตอร เกจวัด อัตราการไหลของแกส (Gas Flow-Meter) ความถี่สูงจะถูกนําไปใชในการทําให Pilot Arc ซึ่งอยูใ นวงจร ของ DCSP เริ่มทํางาน และใชกับการเริ่มตนอารคของ Main Arc ในวงจร DCRP อีกดวย Pilot Arc จะ ใชกับไฟ DCSP เทานั้น เครื่องปองกันทอรชเชื่อมประกอบไปดวย สวิทชที่ตอมาจาก Contactor เพื่อ ควบคุมน้ําหลอเย็นและความดันของ Plasma Gas ทอรช (Torch) ทอรชเชื่อมประกอบดวย 2% Thoriated Tungsten Electrode และนมหนูทองแดงที่มีชองจํากัด อยูภายใน (Constricting Copper Orifices) โปรดดู WPL-7001-P เกีย่ วกับการเลือกนมหนู (Orifices) และ Electrode สําหรับการเชื่อมโลหะชนิดตาง ๆ ทอรชที่ใชกับการเชื่อมดวยมือหรือดวยวิธีอัตโนมัติ มีดวยกันหลายขนาด ลวดเชื่อม (Filler Metal) การเชื่อมดวย Plasma Arc Welding อาจจะใชลวดเชื่อมหรือไมใชก็ได แตในทางปฏิบัติ โดยทัวไปแล ่ วจะใชลวดเชื่อม เวนแตการเชื่อมโลหะบางมาก ๆ เทานั้น ซึ่งจะไมนิยมใชเชื่อมดวยลวดเชื่อม ในชารทจะบอกใหทราบถึงชนิดตาง ๆ ของลวดเชื่อมที่ใช ความโตของลวดเชื่อมจะมีสวนสัมพันธกบั ความหนาของงาน และขนาดของกระแสไฟฟา ตามปกติการเชื่อมดวย Plasma Arc Welding นี้ นิยม ใชมือปอนลวดเชื่อมมากกวาการใชระบบปอนโดยวิธีอัตโนมัติ แกสซีล (Shielding) แกสซีลเปนแกสจําพวกแกสเฉื่อย (Inert Gas) ซึ่งไดแกแกสอารกอนหรือแกสฮีเลียมหรืออาจใช แกสผสมของแกสทั้งสองนี้เปนเกราะปองกันการอารคจากบรรยากาศ ตามปกตินยิ มใชแกสอารกอน มากกวาฮีเลียม เพราะอารกอนเตรียมงายและมีนา้ํ หนักมากกวา ใหการซีลไดดีกวาดวยอัตราการไหลต่ํา อาจใชอัตราการไหลของแกสประมาณ 15 ถึง 30 cfh ก็พอสําหรับการเชื่อมในทาราบและทาตั้ง แต การเชื่อมทาเหนือศีรษะจะตองการอัตราการไหลของแกสสูงขึ้นอีกเล็กนอย ความปลอดภัยในการเชื่อม (Welding Safety) ผูเชื่อมจะตองสวมเสื้อ และหนากากเชื่อมเพื่อปองกันอันตรายจากแสงที่เกิดจากการอารค นอกจากนี้การถายเทอากาศก็นับวามีความจําเปนยิ่งสําหรับการเชื่อมแบบนี้
101
102
3.7 การเชื่อม STUD WELDING Stud Welding เปนการเชื่อมดวยการอารคชนิดหนึ่ง ที่การเชื่อมเกิดจากความรอนของการอารค ระหวาง Stud หรือโลหะที่คลาย ๆ Stud กับชิ้นงานการอารคจะเกิดจนกระทั่งผิวหนาของตัว Stud และ ผิวงานมีอุณหภูมิถึงจุดที่จะเชื่อมติดกันได ตัว Stud จะถูกดันเขาชนกับผิวงาน และทั้งสองจะเชื่อมติดกัน เกราะปองกันการอารคของการเชื่อมชนิดนี้คือ Ceramic Ferrule ซึ่งจะครอบอยูรอบ ๆ ตัว Stud ตรงจุด ที่เกิดการอารค บางทีอาจใชแกสซีลหรือฟลักซกับการเชื่อม จากรูปที่ 13 แสดงวิธีการทํางานของ การเชื่อมแบบ Stud Welding
รูปที่ 13 ขั้นแรก (รูป A) Stud Gun จับ Stud ใหปลายสัมผัสกับผิวงาน แลวเหนีย่ วไกซึ่งจะเปนเหตุใหเกิด กระแสไหลในวงจร (Stud จะทําหนาทีเ่ ชนเดียวกับ Electrode) และทําใหโซลินอย (Solenoid) ใน Stud Gun ทํางานและเปนผลให Stud ถูกดึงขึ้นหางจากผิวงาน ดังรูป B ซึ่งเปนขั้นที่สอง ความรอนที่เกิด จากการอารคมีมากพอที่จะทําใหปลาย Stud และผิวงานหลอมละลาย ระยะเวลาของการอารคจะถูก ควบคุมดวยเครื่องควบคุมเวลา (Timer) ภายในเครื่องบังคับ ทันทีที่กระแสถูกตัด Solenoid จะไม ทํางานอีกตอไป จึงทําให Stud Gun ดัน Stud ลงมาสูผิวงานที่กําลังหลอมละลายดังแสดงในรูป C ซึ่ง เปนขั้นที่สาม และรูป D โลหะหลอมละลายของ Stud และแผนงานแข็งตัว Ceramic Ferrule ถูกทําลาย คงเหลือแต Stud Weld ที่สําเร็จอันเปนอันดับการทํางานขั้นที่สี่ การนําไปใช (Application) การเชื่อมแบบ Stud Welding สามารถกระทําไดทั้งแบบกึ่งอัตโนมัติหรืออัตโนมัติ แตแบบ กึ่งอัตโนมัติอาจนิยมใชกันมากกวา และงานที่จะตองใชกรรมวิธีการเชื่อมชนิดนี้มากที่สุดคือการตอ เรือ งานสรางสะพาน สรางตึก สรางหมอน้ํา ใชกบั การสรางตูเย็น ในรถไฟและอื่น ๆ โดยสามารถใช เชื่อมทุกทาเชือ่ ม เครื่องมือและอุปกรณ (Equipment) เครื่องมือและอุปกรณประกอบที่สําคัญสําหรับกระบวนการเชื่อมชนิด Stud Welding นี้คือ : (ดู รูปที่ 13)
103
(1) เครื่องเชื่อม (Power Source) (2) เครื่องบังคับควบคุม (Control Unit) (3) Stud Gun (4) ตัว Stud และ (5) Ceramic Ferrules นอกจากนีย้ ังมีสายเคเบิ้ลตาง ๆ ลวดเชื่อม (Welding Machine) เปนเครื่อง DC ซึ่งอาจจะเปน Rectifier หรือ DC Generator ชนิดกระแสไฟที่ใช คือ DCSP หรือ กระแสตรงขั้วลบ ขนาดของกระแสที่ใชสามารถกําหนดไดจากขนาดของตัว Stud ที่ใช เชน Stud ขนาดเสนผาศูนยกลางตั้งแต 5/16” ลงมา ขนาดของกระแสไฟที่ใชจะอยูในชวงระหวาง 200 ถึง 500 แอมแปร ถา Stud ขนาดเกินกวา 5/16” ขนาดของกระแสที่ใชอยูใ นชวงระหวาง 500 ถึง 2,300 แอมแปร ถาจําเปนตองใชกระแสสูงกวานีอ้ าจตองใชเครือ่ งเชื่อมสองเครื่อง หรือมากกวา 2 เครื่อง ตอ ขนานกันเขา เครื่องเชื่อมสําหรับใชกับ Stud Welding ควรเผือ่ กระแสไฟสวนเกินไวสูง (High Overload Capacity) และควรมีโวลเทจขณะวงจรเปดถึง 95 – 100 โวลท เครื่องควบคุมบังคับ (CONTROL UNIT) ประกอบดวย Welding Current Contactor เครื่องควบคุมเวลา (Timing Cycle Device) และขอตอ ตาง ๆ เมื่อเร็ว ๆ นี้ไดมีการปรับปรุงระบบควบคุมความเร็วในการที่ Stud ถูกผลักไปยังโลหะชิ้นงานที่ กําลังหลอมละลาย ซึ่งการปรับปรุงครั้งนี้ทําใหสามารถขจัด Spatter และใหแนวเชือ่ มที่เรียบรอยและ มีคุณภาพสูง Stud Gun Stud Gun ทําหนาที่จับตัว Stud และมี Solenoid เปนตัวทําหนาที่ในการดึง Stud ใหหางจาก ผลงานเพื่อทําใหเกิดการอารค ขณะเดียวกันสปริงที่อยูใน Stud Gun จะมีแรงพอที่จะทําให Stud วิ่งไป ยังบอหลอมละลายที่ชิ้นงาน ระยะอารคหรือระบบการดึงของ Solenoid สามารถปรับได Stud Gun จะตองตั้งฉากกับงานเสมอขณะใชงาน การใชทั่วไปมักจะถือ Stud Gun ดวยเมือ เวนแตการเชื่อมดวย วิธีการอัตโนมัติ Stud เหล็ก (Steel studs) มีขนาดตั้งแต 1/8” ถึง 1” มีรูปรางลักษณะแตกตางกันตามลักษณะการใชงานอาจเปนเกลียว หรือแทงเรียบ ๆ Stud ขนาดเล็กสวนมากตรงสวนปลายจะฝงไวดวยฟลักซ ซึ่งฟลักซนี้จะชวยปองกัน การอารคจากบรรยากาศ และชวยใหโลหะเชื่อมสะอาด บริษัทผลิต Stud ไดผลิต Stud ชนิดตาง ๆ มากมายตั้งแตชนิดธรรมดาจนกระทั่งชนดิ พิเศษ
104
STUD WELDING Ferrule Ferrule คือ อุปกรณสําหรับใชปองกันการอารค ปองกันผูเชื่อมจากการกระเด็นของเมด็ โลหะ และชวยขจัดการใชหนาการเชื่อม Ferrule เปนตัวชวยทําใหความรอนทีไ่ ดจากการอารคอยูในขอบเขต อันจํากัด และเปนเหตุใหบริเวณของการอารคมีความเขมขนของความรอนสูง Ferrule ทําจากวัตถุ จําพวก Ceramic และจะถูกทําลายทิ้งไปหลังจากใชไดเพียงหนเดียว
วิธีการเชื่อมดวย STUD WELDING (STUD WELDING PROCEDURE)
105
3.8 การเชื่อม SUBMERGED ARC WELDING (SAW) Submerged Arc Welding เปนกระบวนการเชื่อมดวยการอารคชนิดหนึ่ง ซึ่งโลหะเชื่อมติดกัน โดยอาศัยความรอนจากการอารคระหวางลวดเชื่อมเปลือย (Bare Metal Electrodes) และชิ้นงาน การอารค จะถูกซีลไวดวยการปกคลุมของฟลักซหรือที่เรียกวา “Granular Fusible Material” แรงกดไมใชกับ การเชื่อมชนิดนี้ ลวดเชื่อมจะทําหนาที่ตวั อารคและตัวเชื่อม ดังรูปที่ 14 แสดงใหเห็นชิ้นงานกําลังถูกเชือ่ ม ดวยลวดเชื่อมชนิด Consumable Electrode Wire แสดงใหเห็นแนวเชื่อม สแลกที่ปกคลุมบนแนวเชื่อม และ Granular Flux ซึ่งอยูบนสุด การเชื่อมชนิดนี้นยิ มใชกบั การเชื่อมแบบอัตโนมัติมากที่สุด
รูปที่ 14 การนําไปใช (Application) ลักษณะที่สําคัญของการเชื่อมชนิด Submerged Arc Welding คือ (1) ใหความเร็วในการเชื่อมสูง (2) อัตราการเติมโลหะลงในแนวเชื่อมสูง (3) มีการละลายลึกสูง (4) รูปรางของแนวเชื่อมสม่ําเสมอ (5) สามารถนําไปทดลอง โดยการ X – ray ไดดี (6) สแลกบนแนวเชื่อมเคาะหลุดไดงาย และ (7) สามารถเชื่อมโลหะที่มีความหนาตาง ๆ กัน การเชื่อมจะกระทําในทาราบและทานอน ผูเชื่อมไมสามารถมองเห็นการอารคได เหมาะสําหรับ เชื่อมเหล็กคารบอนต่ําและคารบอนปานกลาง เหล็กผสมต่ําแรงดึงสูง เหล็กชุบแข็ง และเหล็กสเตนเลสส ชนิดตาง ๆ นิยมใชกับการเชื่อมพอกใหไดขนาดหรือพอกแข็งโลหะที่หนาตั้งแตเบอร 16 จนถึงหนา 1/2” สามารถนํามาเชื่อมไดโดยไมตองบากหนางาน
106
เครื่องมือและอุปกรณที่ใช (Equipment) เครื่องมือที่สําคัญในการเชื่อมชนิด Submerged Are Welding ดูไดจากรูปที่ 15 ซึ่งประกอบดวย (1) เครื่องเชื่อม (2) เครื่องควบคุมบังคับและเครือ่ งปอนลวด (3) ทอรชเชื่อม (สําหรับการเชื่อมอัตโนมัติ) หรือ Welding Gun (สําหรับการเชื่อมกึ่งอัตโนมัติ) (4) ภาชนะบรรจุฟลักซ (Flux Hopper) พรอมดวยกลไกบังคับการไหลปอนฟลักซลงสูแนวเชื่อม (5) กลไกสําหรับการเดินแนวเชือ่ มโดยอัตโนมัติ
รูปที่ 15 เครื่องเชื่อม (Welding Machine) เครื่องเชื่อมสําหรับใชกับกรรมวิธีการเชื่อมชนิดนี้จะตองออกแบบเปนพิเศษ การเชื่อมใชไดทั้ง กระแส AC หรือ DC เครื่องเชื่อมจะตองมี Duty Cycle 100% เพราะ Submerged Arc Welding จะเชื่อม ติดตอกันเปนระยะเวลาเกินกวา 10 นาที ในกรณีที่ใชกระแสไฟ DC อาจใชไดทั้งแบบ DCCV และ DCCC DCCV เหมาะสําหรับใชกับการเชื่อมที่ใชลวดเชื่อม (Electrode Wire) ขนาดเล็ก สวน DCCC เหมาะสําหรับเชื่อมดวยลวดเชื่อมที่มีขนาดโต เครื่องเชื่อมสําหรับใชกบั Submerged Arc Welding จะมี ขนาดตั้งแต 200 ถึง 1,200 แอมแปร ในการเชื่อมแบบอัตโนมัตินิยมใชเชื่อมดวยกระแสไฟ AC แตใน การเชื่อมดวย Multiple Electrode อาจใชทงั้ กระแสไฟ AC และ DC ในขณะเดียวกัน เครื่องปอนลวดเชื่อ (Wire Feeder) ประกอบดวยเครื่องควบคุมและกลไกสําหรับปอนลวดเชื่อม (Consumable Electrode Wire) ไปยัง การอารค ถาเครื่องเชื่อมเปนชนิด DCCC หรือ Drooping Type เครื่องปอนลวด (Wire Feeder) ที่ใช จะตองเปนชนิด Voltage sensing เครื่องปอนลวดแบบนี้รกั ษาอารคโวลเทจใหอยูในคาคาหนึ่งตลอดเวลา โดยอาศัยความเร็วของการปอนลวดเปนเครื่องควบคุม และทํานองเดียวกันถาเครื่องเชื่อมเปนชนิด
107
CCCV เครื่องปอนลวดที่ใชก็ตองเปนชนิดความเร็วคงที่ (Constant Speed) กระแสจากเครื่องเชื่อม จะจายไปยังการอารคมากนอยขึ้นอยูก ับความเร็วของการปอนลวด สวนคาของโวลเทจสามารถปรับ ใหสูงต่ําไดโดยปรับที่ปุมปรับที่เครื่อง อยางไรก็ตามระบบการควบคุมบังคับของทั้งสองกรณี ยัง ประกอบดวยเครื่องชวยในการเริ่มอารค เครื่องควบคุมความเร็วของการเชื่อม อุปกรณเกาะยึดในกรณี ที่ตองใชกับวิธีการเชื่อมแบบอัตโนมัติ หัวเชื่อม (Welding Gun) ในระบบการเชื่อมกึ่งอัตโนมัติ หัวเชื่อมทีใ่ ชชนิด Welding Gun ซึ่งทําหนาที่เปนตัวนําลวดเชื่อม และฟลักซไปยังอารคที่แนวเชื่อม ตามปกติ Flux Hopper จะติดอยูก ับหัวเชื่อมหรือ Welding Gun และ จะเคลื่อนที่จายฟลักซไปพรอม ๆ กับการอารค สวนระบบการเชื่อมดวยวิธีอัตโนมัติ หัวเชื่อมจะเปน “ทอรช” (Torch) ซึ่งจะติดอยูกับมอเตอรของเครื่องปอนลวด โดยมี Flux Hopper ติดอยูกับทอรชอีก ทีหนึ่ง อยางไรก็ตาม ในการเชื่อมดวยวิธกี ารทั้งสองนี้ จําเปนจะตองใหปริมาณของฟลักซไหลปอน ไปยังแนวเชื่อมมากพอที่จะปองกันการอารคจากบรรยากาศได ฟลักซที่ใชสําหรับ Submerged Arc Welding การเชื่อมชนิดนี้การอารคจะเกิดขึ้นภายใตวตั ถุที่เปนเม็ดเล็ก ๆ ชนิดหนึ่ง ซึ่งสมมารถละลายได วัตถุชนิดนีเ้ รียกวา “ฟลักซ” (Flux) ฟลักซนี้จะทําหนาที่เชนเดียวกับสารพอกหุมในลวดเชื่อมทีใ่ ชกับ การเชื่อม SMAW คือปองกันออกซิเจนและไนโตรเจนไมใหรวมตัวกับแนวเชื่อมรวมทั้งทําใหโลหะเชื่อม บริสุทธิ์ขึ้น นอกจากนีย้ ังมีสารหรือโลหะผสมบางอยางรวมอยูใ นฟลักซอีกดวย ฟลักซที่เปนเม็ดเล็ก ๆ นี้จะหลอมละลายเมื่อไดรับความรอนจากการอารคและเมื่อเย็นลงจะแข็งตัวปกคลุมแนวเชื่อม สวน ฟลักซที่อยูสวนบนที่ไมหลอมละลายสามารถนํามาใชงานไดอีก ฟลักซที่ใชกับ Submerged Arc Welding มีหลายชนิด หลายเกรด ฉะนั้นจําจึงเปนจะตองเลือกใหเหมาะกับชนิดของโลหะที่นํามาใชและเขากับ สวนผสมทางเคมีของลวดเชือ่ ม ดูชารทฟลักซและลวดเชือ่ มซึ่งบอกคุณสมบัติทางกลของโลหะเชื่อม ลวดเชื่อม (Electrode Wire) ลวดเชื่อมที่ใชกับ Submerged Arc Welding เปนลวดเชื่อมเปลือยยาวตอเนื่อง ผิวนอกเคลือบ ไวดว ยทองแดงเพื่อปองกันการเกิดสนิม ลวดเชื่อมมีสวนผสมของสาร Deoxidizers ซึ่งเปนสารที่ จะชวยขจัดสิ่งสกปรกออกจากโลหะเชื่อมและทําใหแนวเชื่อมมีคุณภาพสูง นอกจากนี้ยังมีโลหะผสม ชนิดตาง ๆ รวมอยูใ นลวดเชื่อมเพื่อทําใหแนวเชื่อมมีความแข็งแรงมากยิ่งขึ้น สวนผสมของลวดเชื่อม จะตองเขากับสวนผสมของโลหะชิ้นงานได และขณะเดียวกันฟลักซที่ใชจะตองเปนชนิดที่เหมาะกับ ลวดเชื่อมชนิดนั้น ๆ ดวย (ดูจากชารทที่วาดวยฟลักซและลวดเชื่อม) ลวดเชื่อมมีขนาดตาง ๆ เปนมวน พันรอบลูกลอ ขนาดที่ใชมี 1/16”, 5/64”, 3/32”, 1/8”, 5/32”, 3/16”, 7/32 และ 1/4”
108
การเชื่อมเหล็กเหนียวดวย SUBMERGED ARC WELDING (SUBMERGED ARC WELDING OF MILD STEEL)
(1) ดาตานี้ใชสําหรับการเชื่อมทาราบและทาแนวนอน แผนปะกับหลังจะใชกับการเชื่อมแนวตอแบบรองซึ่ง อาจทําดวยทองแดงหรือเหล็ก (หรือ Flux) (2) ดูชารทที่วาดวย “Flux Wire Combination”
109
110
3.9 การตัดและเซาะรองดวย AIR CARBON ARC PROCESS
กระบวนการตัดและเซาะรองนี้เปนกรรมวิธีทําใหโลหะหลอมละลายดวยความรอนสูงที่ ไดจากการอารคของแทงคารบอนแลวเปาโลหะที่กําลังหลอมละลายนี้ดว ยลมที่มแี รงดันอันหนึ่ง หัวฉีด ที่ทําใหอากาศมีความเร็วสูงนี้เคลื่อนที่ขนานไปกับแทง Electrode และฉีดโลหะที่กําลังหลอมละลาย ตามหลังการอารคของแทงคารบอน ความเร็วของการตัดจะแตกตางกันออกไปตามสภาพของวิธกี าร วิธีการตัดและการเซาะรองกระทําไดในทุก ๆ ทา (Position) ดวยวิธีการแบบอัตโนมัติหรือดวยมือ (Automatic or Manually Controlled) การใชงาน (Application) กรรมวิธีของ Air Carbon – Arc Process เปนกรรมวิธที ี่ใชกับการตัดโลหะ การเซาะเอาโลหะ สวนที่มจี ุดบกพรองออก หรือเซาะแนวเชื่อมเกาหรือแนวเชื่อมไมดีออก ใชเซาะรองในการเตรียมงานเชื่อม บริเวณที่เกิดการตัดหรือเซาะรองแคบและโลหะที่กําลังหลอมละลายถูกเปาออกอยางรวดเร็ว จึงทําให โลหะที่อยูโดยรอบไมสูญเสียคุณสมบัติใด ๆ รวมทั้งไมทําใหเกิดการหนีแนวหรือการแตกราว เครื่องมือและอุปกรณ (Equipment) ทอรชประกอบดวยหัวจับ Electrode ชนิดหมุนได เพื่อสะดวกในการปรับมุมของ Electrode และมีหัวฉีดลมเพื่อเปาไปยังบอหลอมละลาย ลมที่ใชไดมาจากเครื่องปมลมที่ใชกันโดยทั่ว ๆ ไป ภายในโรงงาน โดยจะใชความดันระหวาง 80 ถึง 100 PSI สวนตนกําลังไฟฟาไดรับจากเครื่องเชื่อม ชนิด DCCC หรือเครื่องกระแสไฟตรงแบบกระแสไฟคงที่จาก Rectifiers หรือ DC Generator โดยใช ขั้วบวกเปนขัว้ ของ Electrode เครื่องเชื่อมกระแสไฟ AC ก็สามารถใชไดโดยใช Carbon Electrode ชนิดที่ทําขึ้นเพื่อใชกระแสไฟ AC เครื่องเชื่อมชนิดแรงเคลื่อนไฟฟาคงที่หรือ Constant Voltage อาจ นํามาใชกับ Carbon Arc Process นี้ได แตตองระวังใหอยูในชวงกระแสที่กําหนดใหของเครื่องเชื่อม
111
นั้น ๆ ขนาดกระแสที่ใชขนึ้ อยูกับขนาดความโตของแทง Electrode ซึ่งจะมีชวงตัง้ แต 200 แอมแปร สําหรับ Electrode ขนาด 3/16” จนถึง 1,300 แอมแปร สําหรับ Electrode ขนาด 5/8” Electrode Electrode ทําจากคารบอนบริสุทธิ์เคลือบดวยทองแดงมีขนาดตั้งแต 3/16”, 1/4”, 5/16”, 3/8”, 1/2” จนถึง 5/8” วิธีการ (Procedure) หลังจากปลอยใหลมไหลแลว ใหเริ่มอารคและดัน Electrode เบา ๆ ไปบนชิ้นงานอยางรวดเร็ว ความเร็วและมุมของ Electrode จะเปนผูก ําหนดความลึกของรองสวนความโตของ Electrode เปนผู กําหนดความกวางของราง ดูชารทในหนาถัดไป
112
113
บทที่ 4 การเชื่อมตัวเรือเหล็ก (STEEL HULL WELDING) 4.1 วัสดุ ในบทนี้จะกลาวถึงขบวนการผลิตเหล็กกลา, ความเหนียว (No tch toughness), ขอกําหนด สําหรับเหล็กและขอกําหนดสําหรับการเลือกใชอุปกรณในการเชื่อม การผลิตเหล็กกลา ขบวนการผลิต แผนเหล็กตัวเรือโดยปกติจะทําการหลอมไดในเตา 3 แบบ ดวยกันคือ เตาโอเพ็นฮารท (Open hearth) เตาออกซิเจน และเตาไฟฟา เตาโอเพ็นฮารทใชในการหลอมเหล็กกลามาเปนเวลา หลายปแลว สวนเตาออกซิเจนใชออกซิเจนบริสุทธิ์เปนตัวเรงปฏิกิริยาทําใหลดระยะเวลาในการ หลอมโลหะ จึงกําลังเปนทีน่ ิยมใชกันในปจจุบัน สวนเตาไฟฟานัน้ ใชในการผลิตเหล็กโครงสรางตัว เรือนอยมาก สวนใหญเราจะใชเตาไฟฟาในการหลอมเหล็กผสมมาก (High Alloy) และเหล็กหลอ การกําจัดออกไซด ในการผลิตเหล็กกลา ผูผลิตจะตองปองกันปฏิกิริยาทางโลหะวิทยาขบวนการหนึง่ นัน่ คือ ปฏิกิริยาการจับตัวของคารบอนและออกซิเจน แลวเกิดเปนฟองกาซขึน้ ภายในเนื้อของเหล็ก ดังนั้น กรรมวิธีในการหลอมและการกําจัดออกไซดที่ใชในการผลิตเหล็กกลาจึงเปนตัวชี้ชนิดของเหล็กกลาที่ ผลิตขึ้นมาซึ่งไดแก เหล็กกลากําจัดกาซ (Killed Steel) เปนเหล็กที่ไดรับการกําจัดกาซออกไปหมดแลว เหล็กชนิดนี้จะใชเปนสวนโครงสรางที่สําคัญของตัวเรือ จากการที่โครงสรางภายในของเหล็กเปนเนื้อ เดียวกันนี้เอง ทําใหเหล็กชนิดนี้เหมาะทีจ่ ะใชทําเปนแผนเหล็กหนา ๆ การกําจัดกาซ ทําไดโดยเติม ซิลิคอนหรืออะลูมินัมลงไป ถาเติมซิลิคอนจะตองเติมลงไปมากกวา 0.1 % เมื่อเหล็กกลากําจัดกาซ เย็นตัวลงแลว จะเกิดหลุมขึ้นเนื่องมาจากการหดตัวขึน้ ที่บริเวณดานบน สวนนี้จะตองตัดทิ้งไป เหล็กกลากําจัดกาซนอย (Rimmed Steel) มีการกําจัดกาซนอยมาก และนํามาทําเปน เหล็กแผนหนาไดไมเกิน 12.5 มม. (1/2 นิ้ว) และเหล็กชนิดนีจ้ ะใชในสวนโครงสรางตัวเรือที่ไมคอย สําคัญนัก เหล็กกลากึ่งกําจัดกาซ (Semi killed Steel) มีสวนผสมของสารกําจัดกาซนอยกวา เหล็กกลากําจัดกาซ จึงมีการกําจัดกาซเพียงบางสวน ทําใหมีคุณสมบัตดิ ีกวาเหล็กกลากําจัดกาซนอย เพราะเกิดกาซภายในเนื้อเหล็กนอยกวา เหล็กชนิดนี้จะนิยมใชเปนเหล็กที่ตองทําการเชื่อมประสาน และราคาถูกกวาเหล็กกลากําจัดกาซ เพราะมีขั้นตอนการผลิตนอยกวาและสูญเสียเนือ่ งจากการยุบตัว
114 หลังจากเหล็กเย็นตัวลงแลวนอยกวา ดังนัน้ จะเห็นวาเหล็กชนิดนี้นยิ มใชเปนเหล็กในการทําเรือ ทั้งใน รูปแบบของเหล็กแผนและเหล็กโครงสราง การปรับสภาพดวยความรอน โดยปกติเหล็กกลาทําเรอจะทําออกมาโดยการรีด อยางไรก็ตามในบริเวณจุดวิกฤต ของโครงสรางตัวเรือก็จําเปนจะตองใชเหล็กที่มีความแข็งแรงสูง ดังนั้นเหล็กกลาเหลานี้จะตองผาน การอบปกติ (Normalizing) และมีการควบคุมสวนผสมทางเคมีที่ดีพอ การอบชุบก็สามารถทําให เหล็กมีความเหนียวเพิ่มขึน้ แตการอบชุบปกติจะใชกับเหล็กผสมต่ํา (Low alloy) และเหล็กกลาผสม เทานั้น เหล็กแผนและรูปทรง เหล็กแผนที่ผลิตออกมามีกรรมวิธีในการรีดได 3 แบบ และเรียกเหล็กแผนเหลานี้ ตามกรรมวิธีการรีดไดดังนี้คอื 1. Sheared plate 2. Universal mill plate 3. Continuous strip Sheared plate จะถูกรีดทั้งสองทิศทาง เราอาจจะเรียกวา Cross rolling ก็ไดขบวนการ ผลิตประกอบดวยการทําใหเย็น การทําใหแบน การวางลายเสน การ Stamping การตัด และการ ตรวจสอบ เหล็กแผนชนิดนีจ้ ะมีความเหนียวดีมากทั้งตามแนวยาวและแนวขวาง Universal mill plate จะถูกรีดในทิศทางเดียวจึงทําใหมีความเหนียวต่ําในทางขวาง เครื่องรีดแผนเหล็กชนิดนี้จะมีที่รีดอยู 2 คู คูหนึ่งวางทางตั้งและอีกคูหนึ่งวางตามแนวนอน คูที่อยูต าม แนวตั้งจะเปนตัวรีดขอบของเหล็กแผน ทําใหไมตองเพิม่ ขบวนการตัดแผนเหล็กเขามาอีก Continuous strip เปนเหล็กแผนที่มีลักษณะยาวและกวาง โดยปกติเหล็กแผนนีจ้ ะ ผานการรีดทั้งสองทิศทางมากอนแลวกอนที่จะเขาขบวนการผลิตนี้ ดังนั้นคุณสมบัตใิ นทิศทางดวน ๆ จะอยูระหวางคุณสมบัติของ Sheared plate และ Universal mill plate เหล็กโครงสรางตาง ๆ ที่ถูกรีดออกมาใหเปนทรงตาง ๆ ก็จะมีกรรมวิธีในการรีด คลาย ๆ กับการรีด Universal mill plate นั้นเอง เหล็กหลอและเหล็กตีขึ้นรูป การใชเหล็กหลอและเหล็กตีขึ้นรูปชิ้นใหญ ๆ ในงานตอเรือลดลงมากแลว ทั้งนี้ เนื่องจากการนําเอาเทคโนโลยีใหม ๆ ในการเชื่อมประสานเขามาใช สวนผสมทางเคมี การปรับสภาพ ดวยความรอน และขบวนการผลิตจะเปนตัวชี้คณ ุ สมบัติของชิ้นงานหลอและตีขนึ้ รูป เมื่อมีการทํา เทคนิคการเชือ่ มเขามาแทนที่การใชเหล็กหลอและเหล็กตีขึ้นรูปทั้งในชวงการซอมแซม ดังนั้นปริมาณ คารบอนในเหล็กจะตองมีการควบคุมเปนอยางดี ทั้งนี้เพื่อปองกันขอยุงยากในการเชื่อม
115 โซสมอตัวใหญ ๆ ทําไดทั้งจากการหลอและตีขึ้นรูป นอกจากนีเ้ รายังใชกรรมวิธีการ ตีขึ้นรูปในการทําเบาชวงทาย (Tail shaft) กานหางเสือ (Rudder stock) และสวนประกอบของสมอ เหล็กกลาความแข็งแรงสูง (High Strength Steels) เราจะตองพิถพี ิถันในการเลือกเหล็กกลาความแข็งแรงสูง เพื่อที่จะไดแนใจวาเราได เหล็กที่มีคุณสมบัติทางกลที่ดี และมีคุณสมบัติเชิงเชื่อมประสานดีดว ย ในทางการคาเหล็กกลาความ แข็งแรงสูง แบงออกเปน 2 ชนิด คือ เหล็กกลาคารบอนความแข็งแรงสูง (High Strength carbon steels) มีจุดคราก (Yield point) ประมาณ 345 Mpa (50,000 psi) และเหล็กกลาอบชุบผสมต่ํา (Low alloy quenched and tempered steels) มีจุดครากประมาณ 690 Mpa (100,000 psi) เรานําเหล็กกลาความแข็งแรงสูงมาใชในการตอเรือ ก็เพื่อจะลดน้ําหนักตัวเรือและ หลีกเลี่ยง การใชแผนเหล็กหนา ๆ โดยเฉพาะสวนที่มีความเคนสูง เหล็กนิกเกิลผสมต่ํา (Low alloy nickel steels) ใชงานไดดีที่อณ ุ หภูมิการใชงานต่ํา (ต่ํากวา – 57 ๐C หรือ –70 ๐ F) และมักจะใชบอย ๆ ในบริเวณที่มคี วามเคนวิกฤตเพราะมีความเหนียวดีมาก ความเหนียวของเหล็ก ความเหนียว (Notch toughness or Impact strength) หมายถึง ความสามารถของวัสดุ ในการที่จะรับภาระและดูดซึมเอาพลังงานมาเปลี่ยนเปนการเปลี่ยนรูปแบบพลาสติก คุณสมบัตินี้ทํา ใหวัสดุมีความตานทานการแตกหักของวัสดุในลักษณะเปราะอันเนื่องมาจากการเกิดรอยแตก ถาวัสดุ ดูดซึมพลังงานไดนอยกอนการแตกหัก รอกแตกจะเปนแนวตามเกรนเราเรียกวา เหล็กนั้นเปราะ ความ เหนียวของเหล็กขึ้นอยูกับอุณหภูมิ ดังนัน้ อุณหภูมิเปลีย่ นแปลง (คือ อุณหภูมิทคี่ ุณสมบัติของเหล็ก เปลี่ยนจากเหนียวมาเปนเปราะ) จึงกลายเปนตัวมาตรฐานในการพิจารณาความเหนียวของเหล็ก แต จริง ๆ แลวอุณหภูมิเปลีย่ นแปลงเกิดขึ้นในชวงแคบมาก อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง (Transiton Temperature) การทดสอบความเหนียวของเหล็กโดยมากเราจะใชการทดสอบแบบ Charpy V – notch impact test การทดสอบแบบ Drop Weight สามารถใชแทนกันได และบางคนอางวาวิธีทดสอบแบบ นี้ใหคาอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงที่ตรงกับความเปนจริงมากกวา กราฟของอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงของเหล็ก เหนียวปานกลางแสดงไวในรูปที่ 1
116
รูปที่ 1 อุณหภูมิเสนโคงแสดงอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงของชารพปรองวีทวั่ ไปสําหรับเหล็กกลา ABS เกรด อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง คือ อุณหภูมิทเี่ สนกราฟผานจุดพลังงานที่ถกู ดูดซึมที่กําหนดไว สิ่งสําคัญที่ควรจะทราบก็คือ รูปทรงหรือโครงสรางของเหล็กมีผลตออุณหภูมิเปลี่ยนแปลงขึ้น ทดสอบที่มีมุมของตัว V นอย จะมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงสูง และชิ้นทดสอบใหญที่มีความหนา มากกวาจะมีอณ ุ หภูมิเปลี่ยนแปลงสูงกวาชิน้ ทดสอบชนิดเดียวกัน แตมีขนาดเล็กกวา นอกจากผลของ รูปทรงแลวอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงยังขึ้นอยูก ับชนิดของเหล็กที่ใช ระดับความเคนทัว่ ๆ ไป และความถี่ ของภาระที่กระทําตอชิ้นงาน อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึน้ ตามระดับความเคน และความถี่ของภาระ รูปที่ 2 แสดงกราฟ Charpy V-Notch ของเหล็กธรรมดา 3 เกรด มีเหล็กชนิดหนึ่งที่ทํา การอบชุบเพื่อใหมีความแข็งแรงสูง จะสังเกตไดวาเมื่อเปรียบเทียบคาอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงแลว เราจะ ใชคาพลังงานที่ถูกดูดซึม ในการทดสอบเหล็กความแข็งแรงสูงมากกวาการทดสอบเหล็กธรรมดา HY 80 - เหล็กกลาผสมต่าํ , ชุบและอบคืนตัว (Tempered) CS - เหล็กกลากําจัดกาซ, เกรนละเอียด, อบปกติ (Normalized) D - เหล็กกลากําจัดกาซ, เกรนละเอียด B - เหล็กกลากึ่งกําจัดกาซ รูปที่ 2 อุณหภูมิทดสอบ ๐ ซ ( ๐ ฟ)
117 ผลของความหนาของเหล็กแผน ตามหลักทางโลหะวิทยา เหล็กแผนหนาจะมีความไวตอการแตกหักมากกวาเหล็ก แผนบาง จากเหล็กที่มีกรรมวิธีในการผลิตเหมือนกัน ทัง้ นี้ขึ้นอยูกับอุณหภูมิชวงสุดทายของการผลิต นั่นเอง เมื่อเพิม่ ความหนาจาก 12.5 – 38 มม. (1/2 – 1 ½ นิ้ว) พบวาคาอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 10 – 20 ๐ C (20 – 40 ๐ F) เมื่อความหนาของเหล็กแผนเพิ่มขึ้น ความสามารถในการเปลี่ยนรูปตามความหนาจะ ลดลง ดังนั้นถาพิจารณาตามทรงทางเรขาคณิตของแผนเหล็ก การเพิ่มความหนาจะเปนการเพิ่ม ขีดจํากัดในการทํางาน และเพิ่มโอกาสที่จะเกิดการแตกหักเนื่องจากความเปราะไดมากขึ้น ที่บริเวณจุดวิกฤต เราอาจลดผลรายที่เกิดจากการเพิ่มหรือลดขนาดของแผนเหล็กได โดยเลือกใชเหล็กที่มีความเหนียวกวาและหนากวา อยางไรก็ตามเราตองคํานึงถึงรายละเอียด โครงสรางตัวเรือดวยวาจําเปนจะตองใชเหล็กแผนหนา โดยไมคํานึงถึงตําแหนงของเหล็กแผนนัน้ คุณสมบัติตามแนวรีดของเหล็กรีด เมื่อเหล็กแผนถูกรีดออกมา เกรนของเหล็กแผนจะยาวไปตามทิศทางที่ถูกรีด ผลนี้ เองทําใหความเหนียวในทางยาวของชิ้นทดสอบจะมีคาสูงกวาความเหนียวในทางขวาง ดังนัน้ เราจึง ควรวางแผนเหล็กใหอยูในทิศทางเดียวกันตามแนวของความเคนที่มคี าสูงสุด ความเหนียวของเหล็กจะมีคาต่ํามากในทิศทางของความหนา (ทิศตั้งฉากกับผิวหนา แผนเหล็ก) ดังนั้นกําลังดึงและความเหนียวของเหล็กจะนอยลงในทิศทางนี้ดวย ดังนั้นจึงควรออกแบบ ใหแผนเหล็กรับแรงดึงนอย ๆ ในทิศทางความหนาของเหล็ก ผลการแปรรูป ผลของการรีดเย็นอาจทําความเสียหายใหวสั ดุไดหลายทางดวยกัน อยางแรกคือทําให เกิดรอยแตกทีผ่ ิวหนาซึ่งอาจจะเปนผลมาจากการตีหรือการแปรรูปอยางรุนแรง อยางที่สองการแปร รูปที่มีความรุนแรงพอสมควรจะลดความแข็งแรงและความเหนียวได ในเหล็กบางชนิดอาจไดรับ ผลเสียเพิ่มขึ้นอีกโดยการเกิดความเครียดสะสม ซึ่งความเครียดนี้จะเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิ การลดความแข็งแรงเนื่องจากการแปรรูปเย็นนีจ้ ะมีผลเห็นไดชัด เมื่อเหล็กแผนนั้น ถูกยืดออกไปมากกวา 3 % ดังนั้นการแปรรูปเย็นของ Bilge Plate และ Gunwale กลมจึงมักจะไมเปน ปญหา อยางไรก็ตามการรีดเหล็กจากแผนหนาเปนแผนบางจะมีผลตอความแข็งแรงของเหล็กแผนนั้น ความเครียดสะสมของเหล็กทําเรือจะไมมผี ลมากนัก แตควรระมัดระวังเมื่อใชเหล็ก ไมกําจัดกาซ และเหล็กที่ทําจากเตา Bessemer เมื่อแปรรูปเย็นเพราะเหล็กเหลานีเ้ มือ่ เกิดความเครียด สะสมจะทําใหเกิดการลดความเหนียวลงอยางเห็นไดชดั การตัดขอบของแผนเหล็กออก โดยเฉพาะเหล็กแผนหนาจะเปนการชวยลดการเริ่ม รอยแตกของเหล็กแผนที่ขอบลงได
118 ความแข็งแรงของโลหะที่ถูกเชือ่ มและบริเวณที่ไดรับผลจากความรอน สาเหตุสําคัญที่ทําใหมีการทําเหล็กตางเกรดกันตามตารางที่ 1 และ 2 ก็คือเกิดความ ตองการคาความแข็งแรงของเหล็กหลาย ๆ คานั่นเอง ซึ่งคาความแข็งแรงของเหล็กนี้ขึ้นอยูก ับชนิด ของโครงสราง ความหนาของเหล็กแผน และอุณหภูมใิ ชงานของเหล็กแผนนัน้ ถาเราใชอุปกรณการเชื่อมที่ไดรับการคัดเลือกแลว จะทําใหผลการเชื่อมมีความ เหนียวดีทั้งตามแนวเชื่อมและบริเวณที่ไดรบั ผลจากความรอน อยางไรก็ตามถากรรมวิธีการเชื่อมใช ความรอนสูงมากก็จะทําใหลดความแข็งแรงของเหล็กได ขอนี้เองเปนเหตุผลสําคัญที่ไมแนะนําใหทํา การเชื่อมแผนเหล็กแบบตอชน (Butt Welding) ในบริเวณที่มีความเคนสูง เชน แผนเชียร ซึ่งตองการ วัสดุชนิดพิเศษ และดวยเหตุผลนี้เองโครงสรางที่ทําการเชื่อมดวยกรรมวิธี Electroslag Electrogas และ Multiple wire submerged arc welding จึงมีความแข็งแรงต่ํา เมื่อเทียบกับการเชื่อมทับหลายหน การ เชื่อมทับหลายหนอาจใชแทนการเชื่อมเพียงครั้งเดียวเมือ่ ตองการความแข็งแรงที่ดีกวา วิธีนี้มีความ สําคัญเมื่อเชื่อมเหล็กความแข็งแรงสูงและเหล็กที่ใชในบริเวณที่มีอณ ุ หภูมิต่ํา วิธีการที่จะทําใหแนวเชื่อมมีความแข็งแรงสูง (มีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงต่ํา) ซึ่งไดแก การทําแนวเชือ่ มใหมีความแข็งแรงสูงเทากับตัวแผนเหล็กเอง เปนวิธีการที่ทําไดยาก และสิ้นเปลือง มาก โดยเฉพาะเมื่ออุณหภูมทิ ี่จะใชงานต่ํากวา – 29 ๐ C ( - 20 ๐ F) และสําหรับโลหะความแข็งแรงสูง ปจจุบันกรรมวิธีการเชื่อมอัตโนมัติยังไมสามารถทําใหรอยเชื่อมมีความแข็งแรงตามความตองการได ความลา ยังไมมีเหตุการณที่ทําใหเห็นวา ความลาเปนองคประกอบสําคัญในการทําโครงสราง ของเรือที่สําคัญคือ ความลาของเหล็กความแข็งแรงสูงไมดีไปกวาเหล็กธรรมดากลาวคือ ความลา วิกฤตยังไมเพิม่ ขึ้นอยางเห็นไดชัดเมื่อเพิ่มจุดครากของเหล็ก ปรากฎการณนจี้ ึงเปนเหตุผลหนึ่งในการ ออกแบบบางกรณีที่ใชโลหะความแข็งแรงสูงจึงปรากฎผลความปลอดภัยในระดับอนุรักษ เมื่อ สัมพันธกับจุดคราก จึงเปนเหตุผลที่ดีที่ควรจะเนนไปที่จดุ วิกฤตของรายละเอียดของโครงสราง เมื่อใช เหล็กความแข็งแรงสูง ขอกําหนดของเหล็ก เหล็กธรรมดาและเหล็กความแข็งแรงสูง ABS และ ASTM กําหนดขีดความสามารถของเหล็กตัวเรือคลาย ๆ กัน ตารางที่ 1 และ 2 แสดงคุณสมบัติทสี่ ําคัญของเหล็กธรรมดา และเหล็กความแข็งแรงสูงไว ขอกําหนดของ ASTM A-131 ครอบคลุมโลหะชนิดนี้ดว ย ถาไมมีขอกําหนดอยางอื่น เหล็กตัวเรือควรมีคุณสมบัติตามเกรด A หรือ AH ซึ่งเปน เกรดของเหล็กที่นิยมใชในทางการคา สําหรับการเชื่อมที่ตองการความแข็งแรงสูงโดยเฉพาะที่ ตองการคุณสมบัติพิเศษ เชน เหล็กที่ใชในบริเวณความเคนสูงหรือใชที่อุณหภูมิต่ําคือ ASTM A 537 CLASS 1, A 537 CLASS 2, A 514, A 516 และ A 517 และ NAVY HY 80
119 ขีดจํากัดความหนาของแผนเหล็ก แตละเกรดของเหล็ก จะมีขีดจํากัดของความหนา ขึน้ อยูกับตําแหนงของเหล็กใน โครงสรางดังแสดงในตารางที่ 3 โดยเฉพาะความหนาของเหล็กที่ตองการคุณสมบัติพิเศษ US. NAVY สหรัฐนาวีมีขอ กําหนดสําหรับ Mild steel แรดดึงสูงและเหล็กผสมต่ําความแข็งแรง สูงไวมากมาย ขอกําหนด MIL-S-22 698 ซึ่งครอบคลุมเหล็กคารบอนทําโครงสรางเรืออยูในขอตกลง กับ ABS เกีย่ วกับขอกําหนดของเหล็กตัวเรือธรรมดา สําหรับเหล็กที่หนากวาขอกําหนดของทั้งสอง สถาบันตองการใหทําการอบปกติ (Normalizing) เพื่อเพิ่มความเหนียวของเหล็ก ขอกําหนดของสหรัฐ นาวีสําหรับเหล็กแรงดึงสูงคือ MIL-S-16113 เกรด HT ซึ่งเปนเหล็กคารบอนแมงกานิส มีจุดคราก ต่ําสุดอยูในชวงประมาณ 290-345 MPa (42,000 – 50,000 psi) ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความหนาของเหล็กดวย เหล็กอบชุบทีค่ วามแข็งแรงหลายระดับจาก 345 – 690 Mpa (50,000 – 100,000 psi) จะอยูใ นขอกําหนดของ Naval Material Procurement Specification ผลจากการคนควาสามารถทํา เหล็กทนแรงดึงไดถึง 860 – 1035 Mpa (130,000 – 150,000 psi) เหล็ก U.S.Navy Mil-S-24113 (Ships) เปนเหล็กคารบอน แมงกานิส ปรับสภาพ ความรอนดวยการอบชุบ (QT 50) มีจุดคราก 345 ถึง 485 MPa 50,000 – 70,000 psi) และไดกําหนด ความแข็งแรงเขาไวดว ย ขอกําหนดนี้ไดบรรจุเกรดของเหล็กที่ทําการอบปกติ (Normalizing) ไวดวย ซึ่งคลายกับ ASTM A 537 เหล็กผสมต่ําที่ทําการอบชุบ H 780 และ HY 100 อยูในขอกําหนด MIL-S-16216 การหลอและขึน้ รูป ขอกําหนดของการหลอหาไดจาก ASTM A 27 (เกรด 60-30) และการขึ้นรูปหาได จาก ASTM A 235 ความตองการสําหรับการใชงานที่อุณหภูมติ ่ํา ทั้ง ABS และ U.S.Coast Guard มีกฎที่จะควบคุมยานพาหนะที่ใชในการขนสงกาซ เหลวอุณหภูมติ ่ํา เชน LPG และ LNG ซึ่งมีชวงอุณหภูมใิ ชงานของเหล็กชั้นทองเรืออยู 4 ชวงดวยกัน 1. ที่อุณหภูมิใชงานสูงกวา 0 ๐ C (32 ๐ F) ใชเหล็กตามมาตรฐาน ABS เกรด B หรือ D ที่ผานการรีดแลว 2. ที่อุณหภูมิใชงานระหวาง 0 ๐ C (32 ๐ F) และ – 18 ๐C (0 ๐ F) ใชเหล็กตามมาตรฐาน ABS เกรด E หรือ CS 3. ที่อุณหภูมิใชงานระหวาง – 18 ๐C (0 ๐ F) และ – 57 ๐C ( - 70 ๐ F) คาอุณหภูมิ เปลี่ยนแปลงจะตองต่ํากวาอุณหภูมิใชงาน 5.5 ๐ C (10 ๐ F) นอกจากนี้แนวเชื่อมและบริเวณที่ไดรับอิทธิพล จากความรอนจะตองมีคาความเหนียวมากกวาหรือเทากับที่ออกแบบไว 4. ที่อุณหภูมิใชงานระหวาง – 57 ๐ C ( - 70 ๐ F) และ 196 ๐ C (-320 ๐ F) จะตองใช
120 เหล็กไรสนิมออสเตนไนท เหล็กนิกเกิลผสม หรือเหล็กอะลูมินัมผสม สวนผสมของนิกเกิลอยูในชวง 2 ¼ - 9 % ขึ้นอยูกับอุณหภูมใิ ชงาน เหล็กตามมาตรฐาน ASTM เกรด A 203 มีนิกเกิล 2 ¼ % สามารถใช ในบริเวณใชงานที่อุณหภูมิต่ําถึง – 62 ๐C (80๐ F) เหล็กเกรด A 203 มีนิกเกิล 3 ½ % ใชไดที่อุณหภูมิต่ําถึง – 90 ๐C ( - 130 ๐ F) ดังนั้นถามีสวนผสมของนิคเกิลถึง 9 % ตามเหล็กเกรด A 353 และ A 553 อาจจะ ใชไดที่อณ ุ หภูมิต่ําถึง – 196 ๐ C ( - 320 ๐ F) อยางไรก็ตามคาความเหนียวของเหล็กแผน แนวเชื่อม และ บริเวณทีไ่ ดรับอิทธิพลของความรอนจะตองมีคาตามที่คํานวณไว ที่อุณหภูมิใชงานต่ํากวา – 18๐ C (0๐ F) การเชื่อมแตละครั้งจะตองทําการทดสอบ แนวเชื่อมและบริเวณทีไ่ ดรับอิทธิพลจากความรอนทุกครั้ง การทดสอบโดยวิธี Drop Weight อาจใช แทนวิธีทดสอบแบบ Charpy จะตองทําการทดสอบหาความเหนียวของรอยเชื่อมตะเข็บทั้งตามขวาง และยาว เหล็กชั้นในตัวเรือและเหล็กตัวเรือบางชนิดที่อยูติดกับทองเรือ และเหล็กชั้นในตัว เรือจะตองมีเกรดดีกวาเหล็กตัวเรือธรรมดากลาวคือ มีความเหนียวดีกวา ทั้งนี้เพราะเหล็กเหลานีต้ อง ใชในบริเวณทีอ่ ุณหภูมติ ่ํากวาเหล็กตัวเรือธรรมดานั่นเอง ตารางขางลางนี้แสดงสินคาและอุณหภูมิที่ ใชเก็บสินคานัน้ อุณหภูมิใชงานโดยประมาณ ๐ ๐ C F Vinyl chloride - 14 +7 Ammonia - 33 - 28 Liquefied petroleum gas (LPG) - 46 - 50 Liquefied natural gas (LNG) - 162 - 260 ขอกําหนดสําหรับการเลือกใชอุปกรณในการเชื่อม มีลวดเชื่อม เหล็กเติม และฟลั๊กซ มากมายหลายชนิดในการเชื่อม บางชนิดก็ ออกแบบมาเพือ่ ใชเชื่อมประสานใหมีความแข็งแรงสูง ความเหนียวดี และปองกันการผุกรอนไดดีตาม ความตองการของตลาด เหล็กเติม (Filler Metal) ทั้งหมดที่ใชในการสรางเรือจะตองไดรับการตรวจสอบและ ยอมรับจากผูซื้อเสียกอน สําหรับ ABS ตองการใหมีพยานในการทดสอบลวดเชื่อม เหล็กเติม และ ฟลั๊กซ ใหไดตามที่กําหนด U.S.Coast Guard ใชวิธีการเดียวกับ ABS สวนสหรัฐนาวีใชกรรมวิธีใน การตรวจสอบของตัวเอง AWS และ ABS และสหรัฐนาวี ไดใหคาํ อธิบายและขอกําหนดของลวดเชื่อมในการ ตอเรือไวมากมาย ดังแสดงไวในตารางที่ 4 รายละเอียดเกี่ยวกับขบวนการเชื่อม และลวดเชื่อมหาได จาก AWS Welding Handbook
121 ลวดเชื่อมหรือฟลั๊กซบางชนิดที่ใชในการเชื่อมผานครั้งเดียว และมีความเร็วสูงมักจะ มีความเหนียวต่ํา และไมควรใชในการเชือ่ มบริเวณที่มคี วามเคนสูง เวนเสียแตวา บริเวณที่เชื่อมนั้น ผานการทดสอบแลววามีคณ ุ สมบัติตามตองการ การเลือกใชวสั ดุ ผูออกแบบจะตองเลือกวัสดุที่เหมาะสมไมแตกหักภายใตสภาวะการใชงานปกติ ตัวอยางเชน เราควรเลือกใชเหล็กที่มีความเหนียวมากสําหรับโครงสรางที่ไมคอยตอเนื่อง ที่จะตอง นําไปใชในบริเวณที่มีความเตนสูง หรืออุณหภูมิใชงานต่ํากวาปกติ ถึงแมวาการเลือกใชสวนใหญจะขึ้นอยูก ับความตองการของผูซื้อ แตเราควรจะทราบ วามีเหล็กหลายชนิดหลาบเกรดขายอยูในทองตลาดสําหรับงานโครงสราง เหล็กบางเกรดสามารถ นํามาปรับใหดีขึ้นโดยกรรมวิธีผลิตโลหะเชน ควบคุมอุณหภูมิในขณะรีด การเติมสารเพื่อใหเกรน ละเอียด หรือการอบปรกติ (Normalizing) ดังนั้นการใชวัสดุที่มีความเหนียวชนิดพิเศษจึงเปนทีน่ ิยม ใชแทนการย้ําหมุด เหล็กกลาความแข็งแรงสูงกําลังเปนที่นิยมใชในการตอเรือสินคา เชน สวนตัวเรือ ดาดฟา , เสาและ King poats เหล็กเหลานีม้ ีหลายชนิด และคุณสมบัติแตกตางกันไปขึ้นอยูกับกรรมวิธี การผลิต เชน การรีด การอบคืนตัว การอบอุน กอนเลือกใชจะตองทําการตรวจสอบความเหนียว ความลา และคุณสมบัตเิ ชิงแลนประสาน รวมไปถึงแรงดึงดวย และกอนจะใชจะตองไดรับการตรวจสอบและ ยอมรับจากหนวยที่รับผิดชอบเสียกอน บางครั้งการเลือกใชวัสดุ ก็อาจเลือกตามเครื่องมือเชื่อมชนิดพิเศษหรือผูเชื่อมที่มีฝมือ เปนตน การตัดสินใจในการเชื่อมใชเหล็กความแข็งแรงธรรมดาแทนเหล็กกลา ความแข็งแรงสูงหรือ เหล็กกลาอลูมิเนียมก็อาจจะมีอิทธิพลมาจากความสามารถของเครื่องมือเครื่องใชวสั ดุ และแรงงานที่ จะใชในการซอมในพื้นทีไ่ กล ๆ ดังนั้นในขั้นตอนในการซอมควรจะมีแบบแสดงและใหคําแนะนําไว วาสวนไหนของเรือใชเหล็กความแข็งแรงสูง หรือเหล็กอบชุบเอาไวรวมถึงขบวนการเชื่อมที่ใชในการ ทําโครงสรางและขอแนะนําในการซอมลงไปดวย
122
(รูปภาพ ตารางที่ 1-4)
123
124
125
4.2 ขบวนการเชื่อม (Welding Process) การเชื่อมอารคใชควันฟลั๊กชคลุมดวยมือ (Manual Shielded Metal Are Welding) โดยใช ลวดเชื่อมที่มสี ารพอกหุมเปนขบวนการเชือ่ มหลักที่ใชในการตอเรือ แตอยางไรก็ดียังมีขบวนการ เชื่อมทั้งอัตโนมัติและกึ่งอัตโนมัติอีกหลายขบวนการที่ใชในการเชื่อมบางสวนของเรือโดยเฉพาะอยาง ไดผล ขบวนการเชื่อมเหลานัน้ ไดแก การเชือ่ มอารคใตผงฟลั๊กซ (Submerged Arc) , การเชื่อมอารคใช กาซคลุม (Gas Metal Arc) การเชื่อมอารคชนิดลวดแกนฟลั๊กซ (Flux Core Arc) ,การเชื่อมอิเล็กโทร สแลก (Electro slag) และการเชื่อมอิเล็กโทรแกส (Electrogas) เปนตน ขบวนการเชื่อมอยางอิเล็กโทร สแลก และอิเล็กโตรแกสนัน้ ทําใหสามารถเชื่อมชิ้นสวนที่หนาไดโดยการเชื่อมเพียงแนวเดียว เทคนิค การเชื่อมแบบอารคใตผงฟลั๊กซแบบพิเศษนั้นทําใหสามารถเชื่อมตอชนไดในดานเดียว (One Side Butc Weld) สําหรับเชื่อมงานที่มีความยาวมาก ๆ ได ในอนาคตขบวนการเชื่อมใหม ๆ อยาง เชน การ เชื่อมลําอิเล็กตรอน (Electro Beam Welding) และการเชื่อมลําแสงเลเซอร (Laser Beam Welding) อาจจะนํามาใชกับงานตอเรือได ในบทนี้จะกลาวถึงคุณลักษณะสําคัญของขบวนการเชื่อมที่ใชอยูใน งานตอเรือในปจจุบัน
126 การเลือกขบวนการเชื่อมและโลหะเติม (Filler Metal) นั้น ขึ้นอยูก ับปจจัยหลายอยางทั้งนี้ รวมทั้งวัตถุทตี่ องการเพิ่ม, ขีดจํากัดของตําแหนงเชือ่ ม, ลําดับการทํางานเชื่อมและการเคลือ่ นยาย เครื่องเชื่อม ขบวนการเชื่อมและโลหะเติมควรจะเลือกเพื่อใหเนื้อโลหะเติมเขากันไดกับโลหะชิน้ งาน และมีคุณสมบัติทางกลเทากับโลหะชิ้นงานดวย โคต (Code) สวนใหญตองการใหมกี ารรับรองคุณภาพ (Qualification) ของขบวนการเชื่อม ที่ใชกับรอยตอทุกแบบ ขบวนการเชื่อมที่ไดรับการยอมรับโดยอูกอนนํามาใชเปนสิ่งที่หนวยงาน ควบคุมมาตรฐาน (Regulatory Agencies) ตองการ ขบวนการเชื่อมอารคใชควันฟลั๊กซคลุม (Shield Metal Arc Welding) ปจจัยสําคัญทีจ่ ะทําใหไดรอยเชื่อมที่แนนหนา คือ การออกแบบรอยตอที่ดี, การเขาถึงแนว เชื่อม, ความถูกตองของการเตรียมขอบรอยตอ, อุปกรณการเชื่อมที่เหมาะสม, วิธกี ารเชื่อมที่ถูกตอง และชางเชื่อมที่มีฝมือ เพื่อที่จะประกันฝมอื ชางเชื่อม ควรจะใหมีการศึกษาอบรมอยางละเอียดเกี่ยวกับ คุณลักษณะของธูปเชื่อมชนิดตาง ๆ และเทคนิคการเชื่อมที่เหมาะสมสําหรับลวดเชือ่ มแตละชนิด ลวดเชื่อมไฟฟาที่ใชกับมากในงานเชื่อมตัวเรือ แสดงในตารางที่ 5 ตารางที่ 5 ลวดเชื่อมไฟฟามีสารพอกหุม (ธูปเชื่อม) การจัดประเภทโดย AWS ชนิดของสารพอกหุม กระแสไฟเชื่อมและขั้ว E 6010 เซลลูโลส, โซเดียม DC กลับขั้ว E 6011 เซลลูโลส, โปตัสเซียม AC หรือ DC กลับขั้ว E 7016 ไฮโดรเจนต่ํา, โปแตสเซียม AC หรือ DC กลับขั้ว E 7018 ไฮโดรเจนต่ํา, ผงเหล็ก AC หรือ DC กลับขั้ว E 8015 ไฮโดรเจนต่ํา DC กลับขั้ว E 8016/18 ไฮโดรเจนต่ํา AC หรือ DC กลับขั้ว E 9015 ไฮโดรเจนต่ํา DC กลับขั้ว E 9016/18 ไฮโดรเจนต่ํา AC หรือ DC กลับขั้ว E 10018 ไฮโดรเจนต่ํา AC หรือ DC กลับขั้ว E 11018 ไฮโดรเจนต่ํา AC หรือ DC กลับขั้ว E 6020 เหล็กออกไซด AC หรือ DC E 7024 ผงเหล็ก, ติตาเนีย AC หรือ DC E 6027 ผลเหล็ก, เหล็กออกไซด AC หรือ DC ลวดเชื่อมไฟฟาหลายเกรด มีความยืดตัว (Ductility) ต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับลวดเชื่อมอื่น ๆ ที่มีระดับความแข็งแรงเทากัน พวกลวดเชื่อมที่มีความยืดตัวต่ําเหลานี้ (E 6012, E 6013, E 7014 จะไม ยอมใหใชเชื่อมในสวนประกอบหลักที่รับแรง เชน ดาดฟากําลัง (Strength Deck), เปลือกเรือ, เปลือก เรือภายใน (Tank Top) ฯลฯ เปนตน
127 การเก็บรักษาลวดเชื่อม เพื่อหลีกเลี่ยงการเสื่อม, เสียหายหรือการถูกความชื้นที่ไมจําเปน จะตองเก็บลวด เชื่อมในที่ที่สะอาดและแหง ลวดเชื่อมชนิดตาง ๆ ตองการการเก็บควบคุมความชื้นแตกตางกัน เชน ลวดเชื่อมชนิด E 6010 และ E 6011 ตองการใหมีความชืน้ ในสารพอกหุมบาง เพื่อใหใชงานไดดี ปกติ แลวไมควรอบจนแหงหลังจากที่ผลิตออกมาแลว นอกจากจะไดรับความชื้นสูงเปนเวลานานหรือเปยก และอุณหภูมแิ บแหงก็ไมควรเกิน 66 ๐ ซ (150 ๐ ฟ) อยางไรก็ดีสําหรับลวดเชื่อมชนิดไฮโดรเจนต่ํา ควรจะแหงสนิทและควรจะเก็บไวใน ภาชนะบรรจุปดผนึกจนกวาจะนํามาใชงาน เมื่อเปดเอามาใชงานแลวควรเก็บไวในเตาอบรักษา อุณหภูมิ 120 ถึง 230 ๐ ซ (250 ถึง 450๐ ฟ) เมื่อจะนํามาใชเชื่อมเหล็กทนแรงดึงสูง (High Strength Steel) หรือเหล็กทนแรงดึงธรรมดาที่มีการยึดตัวสูง (High Restrained) ควรจะทําใหลวดเชื่อมพวกนี้ แหง โดยการอบในอุณหภูมิ 260 ถึง 425 ๐ ซ (500 ถึง 800๐ ฟ) แลวแตชนิดของลวดเปนเวลา 1 ชั่วโมง ถาไมนํามาใชงานทันทีควรเก็บไวในเตารักษาระดับอุณหภูมิกอน แมในระดับอุณหภูมิหอง สารพอกหุม ของลวดเชื่อมไฮโดรเจนต่าํ ก็จะดูดความชื้น จากอากาศ ดังนั้น เวลาที่ทิ้งลวดไวภายนอกจึงจํากัดใหอยูใน 4 ถึง 9 ชั่วโมง ขึ้นอยูกับอุณหภูมิ, ความชื้น, ชนิดของลวดเชื่อม และการนําไปใชงาน สําหรับการนําไปใชงานเชื่อมที่สําคัญหรือเชื่อม เหล็กที่มีความทนแรงดึงสูง เวลามากที่สุดที่ยอมใหทิ้งในอากาศไดก็จะนอยลงกวา 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอยางยิ่งในที่ที่มีอากาศชื้น ควรใชเตาอบแบบทัว่ ไป ซึ่งสามารถรักษาอุณหภูมิไดที่ 120 ๐ ซ (250 ๐ ฟ) ในการเก็บลวดขณะที่มีความชื้นในอากาศสูง เทปรองหลัง (Tape Backing) มีวัสดุที่ใชรองหลังอยูหลายประเภท เชน ใยแกว (Fiber Glass) ซึ่งใชในการเชื่อมตอ ชนในงานสนาม โดยเชื่อมเพียงดานเดียวไมตองพลิกกลับมาเซาะรองอีก วัสดุรองหลังบางชนิดก็ใช ติดกับงานโดยใชกาว บางชนิดก็ใชเพียงแตสอดเขาไปใตรอยตอที่จะเชื่อม ในบางกรณีของการเชื่อม แบบอัตโนมัตหิ รือกึ่งอัตโนมัติ อาจใชการเชื่อมมือในการเชื่อมแนวราก (Root pass) หรือแนวแรกกับ แผนรองหลังกอนที่จะทําการเชื่อมตอชนโดยอัตโนมัตหิ รือกึ่งอัตโนมัติจนเสร็จ ตอไปควรใชความ ระมัดระวังที่จะไมใหมีการเชื่อมทะลุเทปรองหลัง บางทีอาจใชแผนรองหลังทองแดงชั่วคราวรองเทป อีกชั้นหนึ่ง เพือ่ ปองกันการเชื่อมทะลุ การเชื่อมอารคใตผงฟลั๊กซ (Submerged Arc Walding) การเชื่อมอารคใตผงฟลั๊กซ ใชมากในการเชื่อมตอชนของสวนประกอบที่เปนแผน แบบเรียบ (ดาดฟา, ฝากั้น และสวนเปลือกเรือที่เปนแผนราบบริเวณทองและดานขางเรือ) และใชใน การเชื่อมตอฉาก (Fillet Weld) ในตําแหนงทาราบและทาขนานนอน ขบวนการเชื่อมนี้ใชในการ เชื่อมตอของแผนดาดฟาในเรือทั้งในแนวนอน (Butt) และแนวฉาก (Seam) โดยที่มุมเอียงเวลาเดิน ลวดเชื่อมลงไมเกิน 1 องศา ในการเชื่อมแนวเดียวของแผนเหล็กรองตัววี หนา 19 มม. (3/4 นิ้ว) หรือ
128 มากกวา และไมเกินกวา 3 องศา ในการเชือ่ มหลายแนว (Multipass) ในการเชื่อมตอรอง หรือตอฉาก อยางไรก็ตามในการเชื่อมหลายครั้งใหทําในทิศทางเดินขึน้ แตละอูเรือควรจะจัดตั้งมาตรฐานขบวนการเชื่อม (Standard Welding Procedure) และรายละเอียดของรอยตอสําหรับแผนที่มคี วามหนาตาง ๆ ของตนเอง แฟคเตอรที่ตองทําการควบคุม ก็คือชนิดและขนาดของลวดเชื่อม, ปริมาณความชื้น, กระแสไฟฟา, ศักดาไฟฟา, ความเร็วของการ เชื่อม และเกรดกับความละเอียดของฟลั๊กซ ผูทําการเชื่อมจะตองรูวา การเปลี่ยนแปลงไปจากขอมูล ควบคุมมาตรฐานอะไรและเทาไรจึงจะเปนการชดเชยตอความเปลี่ยนแปลงระยะชองเปดที่ราก (Boot Opening) และสภาวะผิดปกติอื่น ๆ ได ความสะอาดของรอยตอ การเตรียมขอบและการจับยึดจะตอง ใหความสนใจมากกวาการเชือ่ มมือ การเชื่อมยึด (Tack Weld) ไมเพียงแตจะตองมีขนาดใหญพอที่จะไมใหเกิดรอยราว แลวจะตองมีความยาวสั้นและเวนชวงชิดพอที่จะยึดแผนเขาดวยกันอยางแนนหนา และถาเกิดรอยแตก ขึ้นในรอยเชื่อมยึดจะตองเจียรออกใหหมด แผนตอชั่วคราว (Run-off Tab) จะติดไวที่ปลายทั้งสองขางของรอยตอที่จะทําการ เชื่อม แผนตอนี้จะตองทําการเชื่อมอยางแนนหนาติดกับแผนแมงาน เพื่อปองกันการบานตัวออก เนื่องจากความรอน จากการเชื่อมควรจะเซาะรองในแผนตอดวยใหมรี ูปรางเดียวกับรองของรอยตอ แนวเชื่อมแตละแนวควรจะเริ่มที่ขอบนอกของแผนตอใหมากที่สุดเพือ่ ใหสภาวะการเชื่อมคงที่ เมื่อทํา การเชื่อมไปถึงรอยตอที่ตองการแลว บางครั้งเมื่อจําเปนตองหยุดเครื่อง กอนที่จะเชือ่ มถึงสุดปลายอีก ดานหนึง่ จะตองนําเครื่องเชื่อมไปเริ่มทําการเชื่อมใหมทแี่ ผนตอของปลายอีกดานหนึ่ง และเชื่อมกลับ ตามแนวเชื่อมที่ตองการจนมาถึงจุดที่หยุดเชื่อม ไมเชนนั้นแลวควรจะทําการเชื่อมตอเนื่องโดยตลอด โดยไมมีการหยุดจากปลายขางหนึ่งจนไปสุดที่แผนตอทีป่ ลายอีกขางหนึ่ง ลําดับการเชื่อมแบบถอยหลัง (Back step Type of Sequence) ใชในการเชื่อมตอแผน งานเขาดวยกัน ชวยลดทั้งการบิดตัวและโอกาสที่จะเกิดการแตกรอน (Hot Cracking) ที่ปลายอาง ซึ่ง หยุดเชื่อมโดยใชวิธีเชื่อมแบบถอยหลัง (Back step) ใชขบวนการเชื่อมอารคใตผงฟลั๊กซ ในการ เชื่อมตอชนแนวนอน (Seam) เปนแนวแรกยาว 2 ถึง 2 ½ เมตร เสร็จแลวจึงเชื่อมสําเร็จ โดยเริ่มจาก ปลายตรงขามจนมาถึงจุดที่เริ่มตนเชื่อมครั้งแรก อุปกรณที่ใชโดยทั่วไปจะติดตั้งอยูกับแครเลื่อน ซึ่งเคลื่อนที่อยูบนรางที่จัดวางขนาน ไปกับแนวตอเชื่อม แมวาระบบการใชหวั เชื่อมเดี่ยวจะเปนแบบที่ใชกันมากที่สุด แตระบบการเชื่อมใช หัวเชื่อมหลายหัว (Multiple Arc System) ที่ใชหัวเชื่อม 2 หรือ 3 หัว ก็ใชบอย ๆ เพื่อเพิ่มอัตราการ ละลายเติมโลหะ (Deposition rate) นอกจากระบบหัวเชื่อมหลายหัวแลว วิธีพเิ ศษ เชน เทคนิคลวด รอน (Hot Wire) และการใชผงเหล็กเติม (ซึ่งตองมีการรับรองคุณภาพวิธีการเชื่อม (Procedure Qualification) ใหม) ก็ถูกใชเพื่อเพิ่มอัตราการละลายเติมใหมากขึ้นไปอีก
129 เมื่อเชื่อมเหล็กโดยเฉพาะเหล็กทนแรงดึงสูงที่ใชในงานที่มีอุณหภูมิต่ํา, เปนความจําเปน ที่จะตองใชการเชื่อมมากแนวกวาปกติ เพื่อใหไดความเหนียวรอยบาก (Notch Toughness) มากขึ้น การเชื่อมดานเดียวแบบอารคใตผงฟลั๊กซโดยอัตโนมัติ ไดรับการพัฒนาเพื่อใหได รอยเชื่อมที่เชือ่ ถือไดโดยไมตองมีการเชื่อมซอมในดานตรงขามอีก หนึ่งในวิธีการรองหลัง (Backing) ดังที่แสดงในรูปที่ 4 วิธีนี้ตองใชฟลั๊กซคุณภาพพิเศษ เพื่อใหทนความรอนเขาชิ้นงานสูงได และยัง จะตองเปนตัวบรรจุโลหะเชือ่ มหลอมละลายเพื่อวาจะไดรูปรางดานลางของรอยเชื่อมอยูในเกณฑที่ ยอมรับได แผนรองหลังทองแดง (Copper Backing) ใชรองรับฟลั๊กซดวยแรงกดสม่ําเสมอ โดยปกติ ใชความดันจากอากาศ และไมตองการเตรียมรองแผนเหล็กที่จะทําการเชื่อมจะถูกยึดอยูด วยกันดวย วิธีทางกลหรือใชแมเหล็ก รอยเชื่อมตอฉาก (Fillet Weld) นั้น สามารถทําไดโดยอัตโนมัติ โดยชิน้ สวนที่จะทํา การเชื่อมถูกยึดติดดวยกัน แบบเดียวกับทีท่ ําในโรงงานทําแผนผนัง (Panel shop)
รูปที่ 4 รายละเอียดของรอยตอโดยทั่วไปที่ใชในการเชือ่ มอารคใตผงฟลั๊กซ
การเชื่อมแบบนี้ใชในการติดตั้งเหล็กเอ็นเสริม (Stiffener) หรือคานขนาดใหญ (Girder) เขากับแผนผนัง (Plate Panels) หรือใชในการประกอบคานรูปตัวที (T- Girder) ดังแสดงในรูปที่ 5
130
รูปที่ 5 การเชื่อมตอฉากเหล็กเสริมเขากับแผงเหล็กโดยใชการเชื่อมอารคใตผงฟลั๊กซโดย อัตโนมัติการเชื่อมจะทําพรอม ๆ กันทั้งสองขางของเหล็กเสริม
131 รนลวดและฟลั๊กซควรถูกเก็บในที่แหงเพือ่ รักษาผิวที่สะอาดและเปนมันแววของลวดเอาไว สําหรับ ฟลั๊กซควรเก็บในภาชนะที่ปด ผนึกเพื่อปองกันการดูดความชื้น ฟลั๊กซชนิดไฮโดรเจนต่ําอาจจะตองทํา การอบแหงกอนนํามาใชงาน ถามีปริมาณความชื้นอยูสูงเกินไป การเชื่อมอารคแกสคลุมโลหะ (Cas Metal Are Welding) ในขบวนการเชื่อมอารคใชแกสคลุมโลหะลวดเชื่อมตันจะถูกปอนไปยังบริเวณอารค และอารคถูกคลุมกันดวยแกส การเชื่อมอาจเปนแบบอัตโนมัติก็ได ในวิธีกึ่งอัตโนมัติก็ได ลวดเชื่อม และแกสจะถูกปอนไปยัง “ปนเชื่อม” แบบมือถือผานทอออนมีแกสหลายชนิดที่ใชคลุมกันรวมทั้ง อารกอน , CO2 หรือแกส ผสมของอารกอนกับ CO2 , ออกซิเจน หรือแมกระทั่งกับไนโตรเจน ขบวนการเชื่ออารคแบบนี้ใชในการเชื่อมอลูมิเนียม,ไตตาเนียม และโลหะที่ไมใช เหล็กอื่น ๆไดดีเทากับเชื่อมเหล็กกลา มีประโยชนในการใชเชื่อมเหล็กกลา มีประโยชนในการใชเชื่อม เหล็กกลาผสมต่ํา (Low Alloy steel) ที่มีจุดครากที่ 550 MPa (80000 PSI) หรือมากกวา ทั้งนี้เพราะ บริเวณอารคของขบวนการเชื่อมนี่มีไฮโดรเจนต่ํา และทําความเหนียวรอยบากของรอยเชื่อมที่เสร็จ แลวมีคาสูง อยางไรก็ตามขบวนการเชื่อมนี้ไมใชกนั แพรหลายในการ เชื่อมประกอบเหล็กทองเรือ เนื่องจากอุปกรณของมันคอนขางเทอะทะ และตองตอทอแกสยาวมาก นอกจากนั้นขบวนการนี้ยัง ไดรับผลจากการที่ลมพัดมาก จําเปนตองสรางที่กันลมสําหรับการเชื่อมกลางแจง แมกระนัน้ ก็ยังใช การเชื่อมอารคใชแกสคลุมมากในการเชื่อมประกอบสวนยอย ในการสรางทองเรือความสะอาดผิวมี ความสําคัญมากตอขบวนการ เชื่อมนี้มากกวาขบวนการอื่น ๆ การเชื่อมอารคในแกสคลุมมีหลายชนิด ไดแก การเชื่อมแบบพัลสเปรย (Spray Transfer) แบบอารคลัดวงจร (Short Circuit Arc) และแบบพัลสอารค (Pulse arc) การเชื่อมแบบพัลสเปรยมีลักษณะพิเศษคือ มีอัตราการละลายเติมสูง และความเขม กระแสไฟฟา (Current Density) สูง ดังนั้นจึงแนะใหนําไปใชกับโลหะแผนหนาในทาราบ การเชื่อมแบบอารคลัดวงจรมีความรอนเขาชิ้นงานนอยลง ทําใหสามารถใชเชื่อม โลหะแผนบางและเชื่อมในทาอื่น ๆ นอกจากทาราบได ดังนัน้ จึงมีประสิทธิผลในการใชเชื่อม กึ่งอัตโนมัติมากขึ้น การเชื่อมแบบพัลสอารคมีลักษณะของกระแสไฟฟาเปลื่อนแปลงคาอยูร ะหวาง 2 ระดับ ระดับบนเปนกระแสสูงสุด และระดับลางเปนกระแสไฟฟายืนพื้น (Background Current) พัลส อารคอาจนําไปใชในการเชือ่ มไดทุกทา มีประโยชนมากสําหรับการเชื่อมตอแผนหนา การเชื่อมอารคลวดแกนฟลั๊กซ (Flux Cored Arc Welding) การเชื่อมอารคลวดแกนฟลั๊กซคลายกับการเชื่อมอารคใชแกสคลุม นอกจากลวด เชื่อมของขบวนการนี้บรรจุฟลั๊กซไวในแกนกลาง และอาจใชแกสคลุมรวมดวยหรือไมก็ได อยางไรก็ ตามฟลั๊กซไมไดเปนตัวเปลีย่ นปฏิกิริยาของการอารคและปฏิกิริยาทางโลหะวิทยาในบอเชื่อม (Weld Puddle) เปนพิเศษ ทําใหผลคลายกับกริยาและปฏิกิริยาของลวดเชื่อมสารพอกหุมทัว่ ๆ ไป แตการ
132 เปลี่ยนตําแหนงฟลั๊กซนี้ ทําใหเลี่ยงการเสื่อมของฟลั๊กซที่ผิวและผลจากภาวะอากาศไดมากกวาการ เชื่อมอารคใชแกสคลุม ดังนั้นจึงใชในการเชื่อมกลางแจงในอูได อาจใชเชื่อมทาตัง้ และทาเหนือหัวได โดยใชลวดเชือ่ มบางชนิด ฟลักซที่ใชมีหลายชนิดและเลือกใหเหมาะกับความตองการทางโลหะวิทยา และการ เชื่อมอาจใชแกสคลุมชวยดวยหรือไมใช โดยทั่วไปแกสคลุมมีสวนชวยใหมีความเหนียวรอยบากใน รอยเชื่อมสูงขึ้น และลดรอยบกพรอง อาจเพิ่มผงโลหะเพือ่ ใหเนื้อโลหะเชื่อมเพิ่มความแข็งแรง, ความ เหนียว หรือความแข็ง-ลวดเชือมแกนฟลั๊กซอาจมีโลหะผสมเพิ่มเพื่อใหมีความแข็งแรงและความ เหนียวเพิ่มในการเชื่อมเหล็กกลาทนแรงดึงสูงแตปจจุบันยังไมมีมาตรฐานกําหนดลวดชนิดนี้ ดังนัน้ จึง จําเปนตองทําการทดสอบคุณภาพเปนพิเศษเพื่อใหไดการยอมรับจากองคการจัดชั้น (เรือ) กอน ลวดแกนฟลั๊กซเหล็กกลาคารบอนต่ําแสดงใน AWS A 5.20 ซึ่งเปนขอกําหนด สําหรับลวดเชือ่ มเหล็กดีเหนียว การจัดแบงชั้นลวดเชื่อมแสดงไวในตารางที่ 6 ลวดชนิด E 70T – 1 เปนชนิดใชงานทั่วไป ในการเชื่อมแนวเดี่ยวหรือหลายแนว และมีความไวตอการเสื่อมที่ผิวมากกวา ชนิด E 70T – 2
133
รูปที่ 6 การเชื่อมอิเล็กโตรสแลคและอิเล็กโตรแกสในแนวตั้ง ลวดชนิด E 70T – 2 มีการเพิ่มตัวลดออกซิเจน (Deoxidizer) อยูในแกนลวดดวย เพื่อลดความไวตอสนิมบนแผนแมงาน และใชสําหรับเชือ่ มแนวเดียวโดยเฉพาะ ตามกฎแลวไมควรใช ลวด E 70T – 2 ในการเชื่อมทับมากกวา 2 แนว
134 ลวดชนิด E 70T – 5 จะใหรอยเชื่อมที่มคี วามเหนียวรอยบากดี สําหรับลวดเชื่อม เหล็กกลาคารบอนต่ํา อยางไรก็ดีลวดเชื่อมชนิดนี้ใชยากกวาชนิด E 70T – 1 และ E 70T – 2 จึงไมคอย ไดใชนอกจากตองการจะไดความเหนียวรอยบากสูงสุดเทานั้น การเชื่อมอิเล็กโทรสแลค และอิเล็กโทรแกส (Electroslag and Electrogas Welding) การเชื่อมอิเล็กโทรสแลค และอิเล็กโทรแกส เปนการเชื่อมอัตโนมัติสําหรับการเชื่อม หลอมละลายในแนวตั้ง ในการเชื่อมอิเล็กโทรแกส, ลวดแกนฟลัก๊ ซ หรือลวดตัน จะถูกปอนมายังจุด อารค และคลุมกันดวยแกส CO2 หรือแกสอื่น ๆ ขึ้นอยูกับชนิดของโลหะแมงาน ขบวนการเชือ่ มนี้ เหมาะสําหรับการเชื่อมตอแผนที่มีความหนามากกวา 40 มม. (1½ นิว้ ) แตก็สามารถนําไปใชเชื่อมแผน หนาเพียง 20 มม. (3/4 นิว้ ) ได ถึงแมการเชื่อมอิเล็คโทรสแลค และอิเล็คโทรสแกสในงานประกอบสวนตัวเรือยังอยู ในขอบเขตจํากัด แตก็มีการนําไปใชเชื่อมเปลือกเรือในแนวตั้งบาง การเชื่อมตอชนในแนวตั้งของแผน เชียร (Sheerstrake) จะใชอิเล็คโทรสแลค หรืออิเล็คโทรสแกส ในกรณีที่ตองการความเหนียวสูงใน รอยเชื่อม และบริเวณทีไ่ ดรับผลจากความรอน รวมทั้งคุณสมบัติทางฟสิกสที่ดีอื่น ๆ ดวย ในการเชื่อมอิเล็คโทรสแลค กระแสไฟฟาไหลผานสแลคหลอมเหลวเพื่อไปหลอม ละลายลวดเชือ่ มและโลหะแมงานคลายกับการหลอที่เปนไปอยางตอเนื่อง (ดูรูปที่ 6) แผนรอง ทองแดงที่หลอเย็นดวยน้ํา (Copper Sliding Shoes) ใชติดตั้งกับดานขางทั้งสองของรอยเชื่อม เพื่อ รองรับโลหะเหลวเอาไว และเคลื่อนที่โดยตอเนื่องขึ้นดานบนในขณะเดียวกับที่โลหะหลอมเหลวเริ่ม แข็งตัวจากดานลาง ในขบวนการเชื่อมอิเล็กโทรสแกส ขั้นตอนในการเชื่อมคลายกับขบวนการเชือ่ ม อิเล็คโทรสแลคเพียงแตอารคถูกคลุมดวยแกสแทนทีฟ่ ลั๊กซ (ดูรูปที่ 6) วิธีใชหลอดนําลวดแบบหมดเปลือก (Consunable Guide Tube Method) ถาเปนการเชื่อมแนวตัง้ ระยะสั้น ๆ อาจใชการเชื่อมอิเล็คโทรสแลคแบบแผนใช รองหรือเชื่อมปะกับอยูก ับที่ (ดูรูปที่ 7 ) กับแนวเชื่อม เชื่อมนี้ปกติทําดวยแผนทองแดงหนาและมีน้ํา หลอเย็น อาจใชหลอดนําลวดแบบหมดเปลืองใสลงในรองแนวเชื่อมกอนเริ่มเชื่อม วิธีใชในการ เชื่อมตอชนแนวตั้งที่คอนขางสั้นซึ่งมีลักษณะแบบเดียวกับกงทางยาว (Longtudinal Framing) ขณะที่ใชหลอดนําลวดแบบหมดเปลือง ในการเชื่อมตอชนทาตั้งที่มีความยาวมาก ๆ ตองทําการตอหลอดนําลวดหลายๆ อันเขาดวยกัน ในกรณีนแี้ ผนรองทองแดงจะเคลื่อนที่ตามขึ้นไป ดวยเปนระยะ ๆ ดังที่แสดงในรูปที่ 7 หรืออาจใชแผนรองเดียวชนิดอยูก ับที่ขนาดยาวแทนก็ได การเชื่อมสตัทด (Stud Welding) ปลายของสตัทดเหล็กที่จะเชื่อมนั้น จะบรรจุดวยฟลั๊กซที่เปนของแข็งหรือผลึก ฟลั๊กซนี้ทําหนาที่เปนตัวทําใหอารคเสถียร (Arc Stabilizer) และเปนตัวกําจัดออกซิเจน (Decxidizing Agent)
135 ปนเชื่อมสตัทดนั้นมีอยู 2 ชนิด คือแบบอารคและแบบปลอยประจุจากคาปาซิเตอร (Capacitor Discharge ) ปนเชื่อมปลอยประจุจากคาปาซิเตอรนั้นเหมาะกับการเชือ่ มสลักยึดที่มขี นาด เล็ก ในปนระบบอารคจะมีครอบทําดวยกระเบื้อง (Porcelain ) ครอบอยูรอบปลายของสตัทด เพื่อกัก โลหะหลอมเหลวใหอยูใ นที่และปองกันรอยเชื่อมจากบรรยากาศ การเชื่อมสตัทดตองการผูที่ไดรับ การฝกอยางดี มีความคุนเคยกับการตั้งเครือ่ งใหเหมาะสมกับสตัทดขนาดตางๆ ตําแหนงของการเชื่อม และสภาวะเชือ่ มที่แปรผันอื่น ๆ ขบวนการเชื่อมจะตองทดลองทํากับงานจริงเพื่อใหทราบถึงศักย ไฟฟา, กระแสและการตั้งเวลาในการเชื่อมที่เหมาะสมกอน เมื่อใชที่จับยึดงานจับใหสตัทดอยูในตําแหนงที่ถูกตอง และตั้งฉากอยางแทจริงกับผิว ที่จะทําการเชือ่ ติดจะทําใหไดผลงานดี พืน้ ที่บริเวณรอบสตัทดจะตองสะอาด แวววาวและแหงกอน เชื่อม สําหรับสตัทดที่มีขนาดใหญ การตั้งภาวะการเชื่อมที่ถูกตองเปนสิ่งจําเปนมาก และหนวยจาย กําลังไฟฟาเชือ่ มจะตองมีขนาดใหญพอทีจ่ ะจายกําลังไฟใหพอ
เมื่อเริ่มเชื่อมงานใหมแตละครั้งและบางชวงระหวางทําการเชื่อมจํานวนมาก ควรจะ เชื่อมสตัทดทดสอบบนแผนเหล็กที่ไมใช และทดสอบดวยการตีดวยคอน จนกระทั่งสตัทดนั้นราบกับ แผนเหล็กโดยไมหลุด การทดสอบนี้จะแสดงใหเห็นวา เราไดรักษาสภาวะการเชื่อมที่ถูกตองไวเสมอ
136 หรือไม การทดสอบวิธีอื่น เชน การทดสอบงอบางสวน (Partial Bend) หรือทดสอบบิด (Torque Test ) โดยใชอุปกรณเฉพาะบางครั้งก็กําหนดใหทํา ตารางที่ 6 ลวดเชื่อมแกนฟลั๊กซเหล็กกลาคารบอน ความแข็งแรงดึงต่ําสุด ความทนแรงกระแทกแบบชารปรองบากวี การจัดประเภท (Charpy V-Notch) แกสคลุม MPa Psi โดย AWS จูนล ที่ ๐ ซ , ฟุตบอนด-ที่ ๐ ซ.
E 60T – 7 E 60T – 8 E 70T – 1 E 70T – 2 E 70T – 3 E 70T – 4 E 70T – 5 E 70T - 6
ไมใช ไมใช CO2 CO2 ไมใช ไมใช หรือไมใช ไมใช
460 428 495 495 495 495 495 495
67000 62000 72000 72000 72000 72000 72000 72000
27 ที่ -18 27 ที่ -18 27 ที่ -29 27 ที่ -18
20 ที่ 1 20 ที่ 1 20 ที่ -20 20 ที่ 1
การเชื่อมเทอมิต (Thermit Welding) แมวาจะคอยมีการใชในปจจุบัน แตกย็ ังสามารถใชเชื่อมสวนที่มีขนาดใหญหนา เชน โครงทายเรือ, แทนหางเสือ (Stern Post) ที่ทํามาจากการตีขึ้นรูปหรือการหลอ ปฏิกิริยาทางเคมีในขบวนการเชื่อมนี้ จะใหทั้งความรอนในการเชื่อมและใหโลหะ เติมสวนผสมของอะลูมิเนียมกับเหล็กออกไซดจะถูกจุดระเบิดโดยไมใหสัมผัสกับอากาศ ขณะทีก่ รวย บรรจุสวนผสมนี้อยูเหนือบริเวณทีจ่ ะเชื่อมโลหะที่ไดรบั ความรอนหลอมละลาย จะไหลลงมาสูแบบที่ ทําไวรอบแนวที่จะเชื่อมนัน้ ขั้นตอนสวนที่สําคัญคือ ตองทําการใหความรอนกอน (Preheat) แก ชิ้นสวนที่จะทําการเชื่อมอยางทั่วถึง การเชื่อมเหล็กกลาทนแรงดึงสูง (High Strength) และเหล็กกลาที่ใชในอุณหภูมิต่ํา (Low Temperature Steal) ถาเปรียบเทียบกับการเชื่อมเหล็กที่มคี วามทนแรงดึงปกติแลวจะตอง ระมัดระวังเปนพิเศษในเรื่องลวดเชื่อมไฟฟา อุณหภูมิอุนงานกอนและอุณหภูมิขณะกําลังเชื่อม (Preheat and Interpass Temperature) ในการเชื่อมเหล็กกลาความแข็งแรงสูง ลวดเชื่อมไฟฟาชนิด ไฮโดรเจนต่ําซึ่งมีความแข็งแรงเทากับแผนงาน ตองใชเชื่อมในสวนที่สําคัญและจะมีการอุนงานกอน เชื่อมเสมอ การควบคุมอุณหภูมิและความรอนเขาชิ้นงานอาจจําเปนขึ้นกับชนิดของเหล็กกลานั้น เมื่อทําการเชื่อมเหล็กกลาความแข็งแรงธรรมดากับเหล็กกลาความแข็งแรงสูง ควรจะ ใชลวดเชื่อมไฮโดรเจนต่ํา แตไมจําเปนทีล่ วดเชื่อมจะตองมีความแข็งแรงเทากับวัสดุที่มีความแข็งแรง สูงกวานั้น ในสภาวะที่มกี ารยึดตัว (Restrain) สูงควรจะใชลวดเชื่อมที่ใหโลหะเติมทีม่ ีความแข็งแรงต่ํา
137 อยางไรก็ตาม การจํากัดความชื้นในลวดเชื่อมใหเหมาะกับการที่จะเชื่อมเหล็กทนแรงดึงสูงควรจะ กระทํา เหล็กกลาใชกบั อุณหภูมิต่ํา เหล็กกลาธรรมดาหรือเหล็กกลาความแข็งแรงสูงที่ใชกับงานอุณหภูมิตา่ํ กวา –18 ๐ ซ (1 ๐ ฟ) จะตองมีคาความเหนียวรอยมาก (No toh Toughness) ตามที่ระบุไวที่ 5.5 ๐ ซ (10 ๐ฟ) ต่ํากวา อุณหภูมิใชงานที่ต่ําสุด โลหะเชื่อม (Weld Motzl) และบริเวณทีไ่ ดรับผลจากความรอน(HAZ) จะตอง มีความเหนียวรอยบากเทา ๆ กับโลหะแมงาน เพื่อใหเปนไปตามความตองการนี้ จําเปนตองใช ขบวนการเชื่อมที่ควบคุมอัตราความรอนเขางาน ดวยเหตุอันนีจ้ ึงอาจตองทําการเชือ่ มแนวขึน้ โดย ขบวนเชื่อมอารคควันฟลั๊กซคลุม หรืออารคใตผงฟลั๊กซมากกวาการเชือ่ มเหล็กกลาธรรมดา กับทั้งอาจ ตองควบคุมอุณหภูมิระหวางการเชื่อม (Interpass Temperature) ดวย เหล็กกลาผสมต่ําชุบและอบคืนตัว (Quenched and Tempered Low Alloy Steel) การเชื่อมเหล็กกลาชุบและอบคืนตัวที่มีจดุ ครากอยูที่ 550 ถึง 690 MPa (80000 ถึง 100000PSI) จะตองใชขบวนการเชื่อมพิเศษ ตองใชลวดเชื่อไฮโดรเจนต่ําที่มีความแข็งแรงเทียบเทา กับโลหะแมงาน บริเวณที่ไดรับผลจากความรอน สวนใหญแลวจะเปนบริเวณจุดออนที่มีความเหนียว รอยบากต่ํา ในการจํากัดความรอนเขาชิ้นงาน การใชอุณหภูมอิ ุนงานกอนใหต่ําที่สุดและควบคุม อุณหภูมิระหวางการเชื่อมใหอยูสูงสุดเปนสิ่งจําเปน อาจจะใชขบวนการเชื่อมอารคใตผงฟลั๊กซหรือ ขบวนการเชื่อมอัตโนมัติอื่น ๆ แตจะตองควบคุมความรอนเขาชิน้ งานอยางระมัดระวัง และเปน ขบวนการที่ผานการทดสอบรับรองคุณภาพเปนพิเศษแลวเทานัน้ กับสําคัญมากที่จะตองปฏิบัตติ าม ขอกําหนดการเชื่อม และคําแนะนําของผูผลิตแผนเหล็ก แมกระนัน้ อาจจะไมไดคาคุณสมบัติในการ ทนแรงกระแทกตามที่ตองการถาใชขบวนการเชื่อมอัตโนมัติบางชนิด แนะนําใหใชแนวเชื่อมอบคืนตัว (Tempering Pass) ในบริเวณวิกฤต และรอย เชื่อมตอฉากขนาดใหญควรจะโคงออกเล็กนอยเชื่อมอบคืนตัวนีจ้ ะชวยลดความโนมเอียงที่จะเกิดแตก ขึ้นที่ปลายขา (Toe) ของรอยเชื่อมที่เสร็จแลว (ดูรูปที่ 8)
รูปที่ 8 แนวเชื่อมเพื่อทําการอบคืนตัว (Tempering) (2 หรือ 5) บนรอยตอ แบบรองและแบบตอฉาก
138 เมื่อเตรียมรอยเชื่อมโดยใชอารคเซาะรอง อาจทําใหเกิดฟลมหนาและแข็งที่ผิวของ รอยตอ ถาเซาะรองโดยไมถกู ตอง ฟลมแข็งนี้ควรจะถูกเอาออกโดยการเจียรใหถึงสวนโลหะมันวาว การเชื่อมเหล็กเคลือบ (Clad Steel) โครงสรางถังที่ใชบรรจุ เคมีภัณฑบางชนิดจําเปนตองสรางดวยเหล็กเคลือบเพื่อใหมี คุณสมบัติในการตานทานการกัดกรอนตามที่ตองการ โลหะที่ใชเคลือบ ไดแก เหล็กกลาไรสนิม และ นิกเกิล ที่มีความบางมาก ปกติแลวหนาเพียง 1.6 ถึง 3.2 มม. (1/6 ถึง 1/8) เมื่อเชื่อมเหล็กเคลือบจะตอง ใชความระมัดระวังมากไมใหเกิดความเสียหายแกผวิ ที่เคลื่อนไหว โดยการที่โลหะที่ใชเคลือบรวมตัว กับเหล็ก จากเหล็กกลาคารบอนที่รองอยูขางหลัง ลวดเชื่อมไฟฟาเหล็กกลาคารบอนแบบธรรมดา หามใชเชื่อมกับเหล็กเคลือบหรือกับ โลหะเชื่อมที่ใชเคลือบ โดยทั่วไปแลวจะเชื่อมเหล็กกลารองหลังดวยลวดเชื่อมเหล็กกลาธรรมดา เสียกอน ตอจากนั้นดานทีเ่ คลือบจะถูกเชื่อมดวยลวดเชื่อมไฟฟาที่เหมาะสมสําหรับเคลือบตอไป รายละเอียดโดยทั่วไปแสดงในรูปที่ 9 ธรรมดาแลวขบวนการเชื่อมอารคแกสคลุมโลหะและอารคใต ผลฟลั๊กซใชในการเชื่อมดานเหล็กเคลือบอยางไดผล ทางเลือกที่ไมคอยเปนที่นิยมคือ การเชื่อม ทั้งหมดดวยโลหะเติมที่เหมาะสมสําหรับการเคลือบนั้นเลย การกินขอบ (Undercutting) จะตอง หลีกเลี่ยงใหมากเพราะอาจทําลายประสิทธิผลของโลหะเคลือบเสียได บอยครั้งที่มีความจําเปน ตองนําตัวอยางผิดของโลหะเชือ่ มมาวิเคราะหใหแนใจวาไม มีการรวมตัวกับเหล็กมากกวาสวนผสมสูงสุดที่กําหนด ถามีการรวมกับเหล็กมากเกินไปผิวเชื่อมนั้น จะตองถูกเจียรออกและเชื่อมโลหะเคลือบแนวใหมลงไปเปนโลหะเติมแทน และอาจตองการเชื่อม หลาย ๆ แนว เพื่อตองการลดการรวมตัวใหจางลง จะตองระมัดระวังใหมากในการขนยาย ตัด เชื่อมและทําความสะอาดวัตถุในงาน เชื่อมประกอบแผนเหล็กกลาเคลือบ กลาวในทีน่ ี้ไดวาขบวนการประกอบจะตองไดรับการวางแผน ลวงหนาทั้งหมดเปนพิเศษ
139
1. การเชื่อมแผนเหล็กรองหลังนั้นจะไมเจาะลึกไปถึงแผนเคลือบ โดยเฉพาะถาใชขบวนการเชื่อมอารคใตผงฟลั๊กซ 2. เซาะรากรอยเชื่อมครั้งแรกออก 3. เชื่อมตอใหเสร็จทางดานแผนเหล็กเคลือบ รูปที่ 9 รูปรายละเอียดโดยทั่วไปสําหรับการเชื่อมแผนเหล็กเคลือบ (Clad Plating) 4.3 การออกแบบ จุดประสงคของบทนี้ก็เพื่อแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของการออกแบบ รายละเอียด มากกวาทีก่ ลาวถึงลึกไปถึงรายละเอียดของสวนใดสวนหนึ่งเปนการเฉพาะ จะกลาวถึงขอพิจารณา เบื้องตนในเรื่องความตานทานการแตกหักอยางเปราะ (Brittle Failure) เพราะเปนสิ่งที่สมเหตุสมผลที่ จะกลาววางานที่มีความตานทานการแตกหักอยางเปราะดีกจ็ ะมีความตานทานตอความลา (Fatique) ไดดีดว ย เนื่องจากไมมวี ิธีงาย ๆ ที่จะพิจารณากลไกของความเคนที่เกิดขึ้นที่รอยบาก (Notches) และความเคนชุมนุมที่จุดนัน้ ผูออกแบบจะตองยึดเอาประสพการณและผลการคนควาใน การพิจารณารายละเอียดของโครงสรางที่จะใชงานไดดี แมวาการออกแบบรายละเอียดโครงสราง จะเปนความรับผิดชอบเบื้องตนของ ผูออกแบบชางผูทําการประกอบ จะตองใหความรวมมือดวยในการใหรายละเอียดวิธีการเชื่อมและ ขบวนการประกอบที่เหมาะสม ชิ้นสวนรับแรงหลัก (Main Strength Members) ชิ้นสวนรับแรงหลัก เชน ดาดฟา, เปลือกเรือ และอะเสตามยาว (Longitudinal Girder) จะเปนตัวตานทานโมเมนตดัดที่เกิดขึ้นกับเรือทั้งหมด โมเมนตดัดนี้เกิดจากแรงกระทําของ คลื่น, การจัดวางสินคา, น้ํามันและอับเฉาและจะมีคาสูงสุดที่ใกลจดุ กลางเรือ พื้นที่ที่มคี วามเคนสูงสุด ของตัวเรือก็คอื ดาดฟาบน (Upper Deck) และเปลือกทองเรือลาง (Bottom Shell) ซึ่งอยูภายในระยะ ความยาวครึ่งหนึ่งจากกลางลําเรือ (ดูรูปที่ 10) ในบริเวณนี้จะตองพยายามสรางอยาใหเกิดปญหาใน การออกแบบรายละเอียด และความบกพรองที่อาจเกิดขึน้ จากฝมือชางได
140 ชิ้นสวนรับแรงรอง (Secondary Strength Members) ชิ้นสวนรับแรงรองอาจเปนสวนที่ตอกับชิน้ สวนรับแรงหลัก ในบริเวณวิกฤตที่มี ความเคนสูง ตัวอยางเชน กระดูกงูปก (Bilge Keel), แผนบูลเวิรค (Bulwarks), เกง (Deckhouse) ของ ชองระวางสินคา (Hatch Coanings) และฐานที่ใชในการยึดเชือกลวดและอุปกรณทอดสมอตาง ๆ เมื่อ ชิ้นสวนรับแรงรองที่มีขนาดยาวเชน กระดูกงูปก หรือแผนบูลเวิรค ถูกเชื่อมติดกับชิ้นสวนทองเรือ หลักแลว ชิ้นสวนเหลานีก้ ็จะรับแรงที่มีความรุนแรงใกลเคียงกับชิ้นสวนทองเรือหลักทีเดียว ดังนัน้ รายละเอียดของชิ้นสวนเหลานี้ตองไดรับการประกอบและตรวจสอบอยางระมัดระวังเชนเดียวกับ ชิ้นสวนทองเรือหลัก
รูปที่ 10 บริเวณที่มีความเคนสูงของโครงสรางคานทองเรือ ถาเปนไปไดจะเปนการฉลาดที่จะไมเชื่อมติดสวนประกอบอันใดอันหนึ่งเขากับแผน เชียรเตก (Shearstrake) ถาไมสามารถเลี่ยงได การติดตั้งก็ควรจะระมัดระวังใหราบเรียบติดไปกับแผน เชียรเตก แมแตดาดฟาภายใน (Internal Deck) ฝากั้น (Bulkhead) และกงเวบ (Web Frame) ซึ่ง อาจเรียกวาเปนโครงสรางรับแรงรองได ชิ้นสวนเหลานี้จะเกิด “รอยแตกขนาดเล็ก” (Nuisance Crack) ซึ่งอาจทําความเสียหายใหเขาของเรือได (สินคารั่วไหล) ดังนั้นแมจะเปนโครงสรางรับแรงรอง ทั้ง รายละเอียดดานโครงสรางและการเชื่อมจะตองใชความรูทางชางที่เหมาะสม รายละเอียดของการออกแบบ (Design Detail) ในบทกอนชีใ้ หเห็นแลววาอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง (Transition Temperature) ถูก อิทธิพลจากปจจัยหลายอยางทั้งทรงเรขาคณิต, ชนิดของเหล็กกลา, ระดับของความเคน และอัตราการ ใหภาระหรือโหลด สิ่งที่จะมีผลโดยการออกแบบรายละเอียดจะนํามากลาวในบทตอไปนี้ รอยบาก (Notches) นอกเหนือจากลักษณะของวัตถุและอุณหภูมิแลว ปจจัยที่สําคัญทีส่ ุดอีกอยางตอ ลักษณะการแตกหักอยางเปราะ (Brittle Behavior) ก็คือผลการจากรอยบาก อิทธิพลของรอยบากแสดง ใหเห็นอยางชัดเจนในรูปที่ 11 ซึ่งเปรียบเทียบความทนแรงดึงและอุณหภูมิเปลีย่ นแปลงระหวางแผนที่ ไมมีรอยบากกับที่มีรอยบากขนาดกลางและรอยบากแหลม รูปที่ 11 แสดงใหเห็นการสูญเสียความยืด ตัว (Ductility) ชิ้นงานแตละชิ้นเมื่ออุณหภูมิต่ําลง สังเกตวาเสนโคงของอุณหภูมเิ ปลี่ยนแปลงในรูป ที่ 11 มีรูปรางคลายกับเสนโคงอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงในรูปที่ 2
141 ความไมตอเนือ่ งในโครงสราง (Structural Discontinuities) คําวา “ความไมตอเนื่องในโครงสราง” ที่ใชในทีน่ ี้หมายถึง การเปลี่ยนแปลงกับรูปราง ทั่ว ๆ ไป ของโครงสรางอยางฉับพลัน มากกวาจะหมายถึงรอยบากแหลมหรือรอยแตก (Sharp Notch or Crack) ความไมตอเนื่องเทานั้น (บางทีเรียกวาที่ชุมนุมความเคน) จะเพิ่มระดับของความเคนของ บริเวณใกลเคียงใหสูงกวาระดับความเคนเฉลี่ย ความเขมของความเคน (Stress Intensity) ที่ขอบของ ชองเปดกลมเปนตนมีคา 3 เทาของความเคนเฉลี่ย ดังนัน้ เห็นไดชัดวาเปนอันตรายมากที่จะมีรอยบาก แหลมหรือรอยบกพรองในบริเวณที่มีระดับของความเคนสูงกวาปกตินี้ จึงจําเปนตองออกแบบเพื่อ ควบคุมรายละเอียดของการออกแบบจําพวกรอยเชื่อมตกชน แผนเสริมขนาดเล็ก (Small Insert Plate) และรูระบายน้าํ (Drain Hole) ที่บริเวณความไมตอเนื่องในโครงสรางขนาดใหญนี้ รวมทั้งควบคุมฝมือ ชางที่ทํางานในบริเวณนี้ดว ย ตัวอยาง 2 แหงที่ปญหารอยบากมีสวนเพิม่ บริเวณที่มีความเคนชุมนุม ไดแก ปลาย สี่เหลี่ยมของแผนกระบังเรือ (Fashion Plate) ซึ่งเชื่อมติดกับดานบนของแผนเชียรสเทรค
142
ขอสังเกต เสนโคงนี้ไดจากขอมูลในรายงานของคณะกรรมการโครงสรางเรือ SSC-51 ของเหล็กกลา ชนิดกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 รูปที่ 11 แรง – การยืดตัวและเสนโคงอุณหภูมิเปลีย่ นแปลงสําหรับชิ้นงานที่ตดั ขอบดวยแกส
143
รูปที่ 12 ปลายของแผนกระบังเรือขางของแผนบูลเวิรทเชื่อมตอกับดานบนของแผนเชียรสเตรค (Sheerstrake) ในรูปที่ 12 และแบบเดิมของมุมชองระวางสินคา (hatch Corner) ในเรือชั้นลิเบอรตี้ใน สงครามโลกครั้งที่ 2 ดังที่แสดงในรูปที่ 13 เพื่อหลีกเลีย่ งการเชื่อมรอยตอที่ยาก ดังเชนที่แสดงในรูป ที่ 12 แผนบลูเวิรค (Bulwarks) สวนใหญจะไมเชื่อมตอโดยตรงกับแผนเชียรสเตรค แตถูกรองรับเปน อิสระจากหูชางของดาดฟา
144
รูปที่ 13 แบบดั้งเดิมของมุมชองระวางสินคาของเรือชั้นลิเบอรตี้
นอกจากรูปที่ 13 จะแสดงใหเห็นถึงมุมสี่เหลี่ยมแลวยังแสดงแผนปะกอบคูหนา (Doubler) ซึ่งจะเปนตัวเพิ่มการยืดตัว (Constraint) ขึ้นอีกมากโดยไมไดเพิ่มความแข็งแรงแกรอยตอโดยแทจริง และโดยการออกแบบมุมแบบนี้ ทําใหเปนไปไมไดในทางปฏิบตั ิที่จะทําการจัดยึดและการเชื่อมที่ แนนหนาได ที่รอยตอของมุมการออกแบบนี้ทําใหเกิดปญหาโดยธรรมชาติหลายอยาง รูปที่ 14 แสดง ใหเห็นการออกแบบที่ปรับปรุงใหมที่ใชกบั เรือชั้นวิคตอรี่ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งสรางตามหลังชั้น ลิเบอรตี้ ในการวางตําแหนงชองเปด เชน ชองเปดระวางสินคา (Hatches) , ชองทางขึ้นลง (Access) , ชองระบายอากาศ และชองออกของทอทางตาง ๆ ตองหลีกเลี่ยงอยาใหชองหรือรูเปดเหลานี้อยูใกลกัน เปนแนวผานดาดฟา หรือเปลือกเรือ การแตกที่ดาดฟากําลังบน (Upper strength deck) ของเรือโดยสาร เมเจติก (Magestic) และลิเวียแทน (Leviathan) พบวาเกิดขึ้นบริเวณทีม่ ีชองเปดใหญ ๆ จํานวนมาก เรียงเปนแถวเปนแนวขามดาดฟาและก็สําคัญเหมือนกันที่จะหลีกเลี่ยงชวงเจาะชองเปด ใหอยูใ กลชิด กันเกินไปเพื่อวาความเคนชุมนุมที่ชองเปดอั้นหนึจ่ ะไดไมไปเสริมเขากับอีกอันหนึ่ง เนื่องจากระดับ ความเคนที่เพิม่ มากขึ้นที่ชองเปดนี้เองทําใหไดพยายามทําชองเปดใหเปนรูปกลม และถาจําเปนก็มีการ เสริมความแข็งแรงเพิ่มเขาไปอีก ชองเปดมุมกลมและการเสริมความแข็งแรง (Reinforcement) ไมวาจะใชการเสริมความแข็งแรงอยางไรที่ชองเปด จะตองมีรัศมีมุมโคงที่เพียงพอสําหรับ ชองเปดขนาดใหญ แนะนําใหใชรัศมีที่มุมประมาณ 1/24 เทา ของความกวางของชองเปด โดยมีรัศมี ต่ําสุดไมนอยกวา 300 มม. (12 นิว้ ) ในกรณีของเรือบรรทุกคอนเทนเนอร (Container Ship) รัศมีของ มุมจะตองนอยที่สุดเทาที่จะทําได เพื่อลดการเสียพื้นที่วางคอนเทนเนอรที่ดานปลายใหนอยที่สุด บางครั้งก็ใชเหล็กกลาที่มีเกรดสูงขึ้นที่บริเวณมุมของชองเปด
145
ตัวอยางของการปรับปรุงแบบ ไดแก 1. ทํารัศมีความโคงมากขึ้นที่มุม 2. การเชื่อมตอชนแผนดาดฟาเลื่อนออกหางจากมุม 3. แผนปะเสริมมีขนาดกวางใหญขึ้น 4. แผนดาดฟาขยายเขาไปภายในขอบชองเปด, ขจัดความลําบากของการเชื่อมบริเวณมุม 5. ขยายและทําลักษณะเอียงลาดกับดานหนาและหลังของขอบชองเปด รูปที่ 14 การออกแบบมุมชองเปดของเรือชั้น “วิคตอรี่”
รูปที่ 15 มุมชองเปดโดยทัว่ ไปบนรางคอนเทนเนอรของเรือคอนเทนเนอร
146
“a” เทากับประมาณอยางนอย 300 มม. (12 นิ้ว) บนชองเปดขนาดใหญ รูปที่ 16 มุมชองเปดรูปวงรีทั่ว ๆ ไป เนือ่ งจากมีแบบการไหลของความเคนในชองตัดรีดีกวาชองตัดลม จึงมีการใชบอย ๆ สําหรับชองเปดระวางสินคาและชองระบายน้ําขนาดใหญ ฯลฯ (ดูรูปที่ 16) สําหรับชองเปดเล็ก ๆ รอบถังเก็บของเหลว (Trunk) ชองบันไดและอื่น ๆ มีใชรัศมีความ โคง 150 มม. (6 นิว้ ) การตัดใหกลมอยางแมจริงบนโครงสรางเกงเรือ (Superstructure or Deck House) สําหรับชองหนาตางประตูก็เปนสิ่งจําเปนโดยเฉพาะที่บริเวณปลายของโครงสรางดานบนที่ ยาวมาก การหลีกเลี่ยงไมใหเกิดรอยตัวที่ไมสม่ําเสมอก็เปนสิ่งสําคัญเทาเทียมกัน การเสริมความแข็งแรงที่มุมของชองเปดขนาดใหญที่ใชกัประจําคือ การใชแผนเสริม ขนาดใหญ วิธีดีที่สุดในการเพิ่มแผนเสริมเขาไปก็คือการรวมมันใหเขาเปนสวนเดียวกับแผนเหล็ก ดาดฟาหรือเปลือกเรือเสีย ไมแนะนําใหใชแผนเสริมขนาดเล็ก รูปที่ 13 และ 14 ไดแสดงใหเห็นถึง แบบของมุมชองเปดระวางสินคาที่ดีและไมดี แผนประกบคู (Double Plate) จะไมใชนอกจากจะ ตองการแผนเสริมที่หนามาก ๆ เทานั้น เมื่อชองเปดมีขนาดกวางขึ้นไปถึง 3 เมตร (10 ฟุต) จะตองเสริมดวยแผนโคมมิ่ง (Coaming Plate) หรือแผนเสริม (Insert Plate) หรือทั้งสองอยาง แตไมจําเปนตองเสริมความแข็งแรง ใหเกิน 40 ถึง 50 เปอรเซ็นตของชองเปด ในบางกรณีการเสริมความแข็งแรงมากเกินไปก็อาจเปน อันตรายได การยึดตัวสูง (High Constrain) การเชื่อมแผนเสริมที่มีขนาดเล็กและหนาเขาไปนั้น เปนตนเหตุของความยุงยากหลาย ประการ เนื่องจากการยึดตัวตานกับการหกตัวของรอยเชื่อมตัวอันตรายที่สุดคือ การเกิดการแตกราว ระหวางการเชือ่ ม ดังนั้นจึงไมควรใชแผนเสริมขนาดเล็กในการเสริมชองเปด ในหัวขอที่ 4 เรื่องลําดับ การเชื่อม มีการอธิบายถึงความระมัดระวังเปนพิเศษซึ่งจําเปนถาการติดแผนเสริมเปนเรื่องที่หลีกเลี่ยง ไมได
147 รูปแบบของการยึดตัวและความไมตอเนื่องที่ตางออกไป ไดแก สวนที่ไดรับการยึดตัว แนนไดถูกปลอยอยางกะทันหันบริเวณตรงกลาง ซึ่งมีความหยุนตัวมากตามธรรมชาติอยูแลว แผน ผนังที่ไดรับการยึดตัวไมใหมกี ารบิดงอไดโดยธรรมชาติที่จุด (จุดแข็ง) ซึ่งขาดเครื่องรองรับที่แข็งแรง ไดขาดหายไป โดยทันทาจะทําใหเกิดจุดทีม่ ีความเคนชุมนุมสูง (ดูรูปที่ 17)
รูปที่ 17 ปลายกระดูกงูบิลจ ความยืดหยุน ตัวของแผนผนัง (Plate Panel) ที่จุดแข็งนี้ จะทําใหเกิดจุดที่มีความเคนที่ ผิวเกินจุดครากบอย ๆ เมื่อความเคนนีม้ าเกิดพรอมกับตัวกลางที่กดั กรอน (เชน น้ําทะเล เปนตน) วัฏจักรการงอตัวไปมานี้ จะทําใหเกิดลอนหรือสนิมที่ผิวได การเกิดลอนนี้จะทําใหเรงการกัดกรอน เฉพาะที่ เพราะเนื้อเหล็กใหมจะถูกเปดอยูเ สมอ อีกที่หนึ่งที่ไดมีรายงานวาเกิดการแตกแบบนี้คือ บริเวณตัดระหวางระนาบ (ตัวอยางเชน ฝากั้นทางยาวตัดกับดาดฟาหรือฝากั้นทางขวาง) เมื่อความเคนเบื้องตนสงถายจากระนาบหนึ่งไปยังอีก ระนาบหนึ่ง ดังที่แสดงในรูปที่ 18 เพื่อแกกรณีแบบนี้ ควรจะติดหูขางตออยางยาวกับแตละระนาบเพื่อ เปนบริเวณทรานสซิชั่น เพื่อใหการไหลของความเคนเปนไปอยางเรียบขึ้น
รูปที่ 18 ความเคนชุมนุมบริเวณระนาบที่ตดั กันทําใหนอยลงไดดวยหูชาง
148 รายละเอียดสําหรับงานเชื่อมดวยมือ (Detail For Manual Welding) สวนใหญการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดตําแหนงและรายละเอียดของรอยตอ จะทํากันในขั้น ของการออกแบบ มิฉะนั้นแลวการเปลี่ยนแปลงภายหลังจะทําใหเปลืองคาใชจายมาก เพื่อใหไดรอย เชื่อมที่มีคุณภาพดีจะตองทําดังนี้ 1. จัดการเตรียมรอยตอที่มีความงายพอควรทัง้ การเซาะหลังและเซาะรองที่จําเปน 2. จัดขบวนการเชื่อมที่มีความงายพอควร เพื่อวาชางเชื่อมจะอยูใ นตําแหนงทีจ่ ะเชือ่ ม ไดอยางเหมาะสมสามารถเคลื่อนที่ลวดเชื่อมสะดวกและทําความสะอาดระหวางแนวเชื่อมได การเชื่อมตอดวยมือจากเพียงดานเดียว การเชื่อมที่ทําจากดานเดียวอาจพบไดในการสรางหางเสือ กระดูกงูปก (Bilge Keal) การ เชื่อมตอชนบริเวณตอจากการผนึกดวยหมุดและโครงของทายเรือ การเลือกระยะชองเปดที่ราก (Root Opening) และมุมบาก (Included Angle) จะขึ้นอยูกับขบวนการเชื่อมที่ใชเปนเบื้องตน และความหนา ของแผนที่จะเชื่อม ชองเปดที่รากจะตองใหญพอเพื่อใหการเจาะลึกไดสมบูรณที่รากรอยเชื่อม ถารอง รอยตอไมถูกรองโดยโครงสรางหลักแลวก็จะตองจัดแผนรองหลังให ชองเปดทีร่ ากนั้นปกติไมควร นอยกวา 5 มม. (3/16 นิว้ ) ดังที่แสดงในรูปที่ 19 ในที่ที่ใชเทปรองหลังอาจใชระยะชองเปดที่ราก นอยลงไดเพื่อลดการหดตัวของรอยเชื่อม และผลที่มีตอการบิดงอใหนอยทีส่ ุดและเพื่อประหยัด รายละเอียดเกีย่ วกับรอยตอนั้นจะตองใชโลหะเชื่อม (Weld Metal) นอยที่สุดพอทีจ่ ะทําใหเกิดความ แนนหนาเพียงพอกับรอยตอเทานั้น
149
รูปที่ 19 รายละเอียดรอยเชื่อมตอชนโดยทัว่ ไปสําหรับการเชื่อมมือจากดานเดียว เมื่อมุมบาก (Included Angle) นอยกวา 60 องศา อยางเชนในแผนหนาชองเปดที่รากก็ควร จะกวางขึ้น เพื่อใหลวดเชื่อมสามารถวางตําแหนงไดอยางถูกตอง มุมรอยตออาจลดเหลือประมาณ 20 องศา เมื่อชองเปดที่รากมากขึ้น ตัวอยางเชน ในแผนเหล็กหนา 50 มม. (2 นิ้ว) สามารถใชมุมรอยตอ ขนาด 20 องศา ได ถาชองเปดที่รากเปน 12.5 มม. (1/2 นิ้ว) เมื่อรอยเชื่อมตอชนขามแผนแบน เชน แผนเกย หรือแผนขอบระวาง (Coaming Plate) สวนของการเชื่อมบริเวณที่เกยนั้นจะตองทําจากเพียง ดานเดียว มีอยู 2 วิธี ในการเตรียมรองในบริเวณที่เกยกัน วิธีหนึ่งคือ การเตรียมรองทั้งหมดแบบ รอง – วีเดีย่ ว และเจียรเนื้อออกภายหลังในปริมาณพอควรจากขอบของแผนในพื้นที่ ๆ เกยกัน เพื่อให ไดรอยตอหลอมละลายอยางสมบูรณไปยังแผนที่อยูขางลาง (Underlying Plate) วิธีนี้ใชไดดกี ับแผน บาง (ดูในรูปที่ 20, วิธีที่ 1) วิธีที่สองสําหรับแผนหนาโดยการเตรียมรอยตอรอง-วีคู ใหพื้นที่สว นใหญ และรองวีเดี่ยวในพื้นที่ทเี่ กยกันอยู (ดูรูปที่ 20 วิธีที่ 2) การเปลี่ยนจากรองวีคูเปนรองวีเดีย่ วควรจะ เปนไปอยางคอยเปนคอยไป
150
รูปที่ 20 สองวิธีในการเตรียมขอบสําหรับรอยเชื่อมตอชนใกลแผนตอเกย
151 บริเวณทีเ่ ปลี่ยนจากการเชื่อมเปนการย้ําหมุดในแนวนอน (Seam) แมวาการใชหมุดย้ําในเรือสรางใหมจะหาไมไดแลว การตอยึดดวยหมุดย้ําใชมากในงาน ซอมหรืองานเปลี่ยนแปลงทีท่ ํากับเรือรุนเกา ในกรณีนั้นการเปลี่ยนจากแนวเชื่อมไปเปนย้ําหมุดใน แนวนอนนัน้ จะตองวางแผนอยางระมัดระวัง เพื่อจะไดไมเกิดรอยบากแหลมคมเหลือทิ้งไวที่ปลาย ของรอยเชื่อม วิธีหนึ่งในการที่จะกําจัดรอยบากในการตอชนคือการเจาะรูในโลหะเชื่อมที่จุดหางเปน ระยะสั้น ๆ หลังปลายของรอยเชื่อม (ดูรูปที่ 6) สําหรับใกลรอยตอเกยแนวนอกก็เปนธรรมดาที่มีความ ตองการกําจัดการย้ําหมุดใหลดลงเรื่อยๆ ดังแสดงในรูปที่ 22
รูปที่ 21 รอยตอผานระหวางรอยตอย้ําหมุดกับรอยตอเชือ่ มในการตอชนแนวนอน
รูปที่ 22 รอยตอผานระหวางรอยตอย้ําหมุดกับรอยเชื่อมในการตอเกยแนวนอน
152 การเชื่อมตอชนรูปพรรณ (Shape) รายละเอียดรอยเชื่อมตอชนของฉากปกตุม (Buld Angle) รูปพรรณรีดขึ้นรูปขนาดใหญ และรูปพรรณอื่น ๆ ที่สรางขึ้น (built Up Shape) เปนสิ่งสําคัญมากโดยเฉพาะการใหรายละเอียดกับ ความแข็งแรงหลัก ความหนาที่บริเวณตุม หรือที่สน (Heel) ของเหล็กฉากหรือเหล็กราง (Channel) อาจจะมากถึง 4 เทามากกวาความหนาของขาหรือเวบ จากประสบการณทราบวาไมมีการเตรียม รอยตอใหดีแลว จะมีชองวางเหลืออยูในสวนหนาของรูปพรรณเหลานี้ การเชื่อมอุดรูและอุดรอง (Plug and Slot Weld) ไมควรใชการเชื่อมอุดรูและรอง ถาไมจําเปนจริง ๆ และถาจะใชแลวก็ควรใชการเชื่อมอุด รองยาวดีกวาเชื่อมอุดรูกลม ความกวางของรองนั้นตองมีขนาดอยางนอง 1½ เทาของความหนาของ แผนและยาวประมาณ 3 เทา ของความกวาง บางครั้งรองนั้นถูกเติมใหเต็มดวยโลหะเพื่อใหผิวเสมอ กับผิวงาม วิธีหนึ่งที่ไดรบั การยอมรับโดยทั่วไปคือ การเชื่อมตอฉาก (Fillet Weld) ภายในรองนั้น รองแบบนี้จะตองใหใหญพอที่จะเชื่อมตอฉากรอบขอบภายในได โดยทั่วไปสวนเหลืออยูของรองจะ ถูกเติมดวยสารประกอบอื่นเพื่อใหไดผิวราบและเรียบ รอยเชื่อมผนึกน้ําและน้ํามัน รอยเชื่อมตอฉากผนึกน้ําและน้ํามัน ในรอยตอรูปตัวทีหรือรอยตอเกย ถือวาเปนรอยตอ เชื่อม แมจะมีพื้นที่ตอดวยหมุดย้ําที่อุดดวยผืนผาใบ การผนึกที่ไดผลทีช่ ิ้นสวนตัดกันคือ รอยตอเชื่อม ที่เจาะลึกอยางสมบูรณ (ดูรปู ที่ 23 ) อีกวิธีหนึ่งที่ไดรับการยอมรับคือ การทํารอยตัดขนาดเล็ก ขนาด ประมาณ 40 มม. (1½ นิ้ว ) ดังที่แสดงในรูปที่ 23 สําหรับการย้ําหมุดหรือเชื่อมตอฉาก ตอเกย ปกติใชรอยเชื่อมแบบรองวีเดียวซึมลึกโดย สมบูรณเพื่อผนึก (ดูรูปที่ 24) แบบที่ 2 นี้มกั ใชในการยึดดวยหมดย้ําในที่ของผาใบที่ใชผนึกกันรัว่
ผนึก, ใชรอยเชื่อมแบบเจาะลึกตลอด ผนึก,ใชชองเปดขนาดเล็ก รูปที่ 23 การเชื่อมผนึกน้ําหรือน้ํามันที่แนวตัดระหวางสวนประกอบ 2 ชิ้น
153
รูปที่ 24 รอยเชื่อมหยุดที่บริเวณย้ําตอเกยแนวขนานนอน การตัดเวาบริเวณนี้ไมแนะนําใหทํา ถาการเชื่อมตอชนของแผนบนนี้เสร็จกอนที่จะติดตั้งแผนเสริม หรืออะเส
การตัดเวาปกติมีในที่ซึ่งมีการเชื่อมตอชนของแผนเสริมหลังจาก (A) และ (B) ไดประกอบเขา ดวยกันเวนในกรณีซึ่งหลอดนําลวดของการเชื่อมอิเลคโตรสแลค รูปที่ 25 การตัดเวา (Scallops) แสกลลอบและชองตัดขนาดเล็ก (Scallop and Small Cut) แนวโนมที่จะใชสแกลลอบกันอยางกวางขวางนั้นลดลง เนื่องจากการตัดชองสแกลลอบ ไมดีนั้นจะทําใหเกิดอันตรายขึ้นได สแกลลอบจะถูกใชเสมอในที่มรี อยเชื่อมตอขนของเหล็กเสริม (Stiffener) หรืออะเส (Girder) หลังจกาที่ไดประกอบชิ้นสวนเขาทีแ่ ลวดังในกรณีของเหล็กเสริมทาง ยาวหรือกระดูกงูบิลค (ดูรูปที่ 25) สแกลลอบนี้จะถูกใชเปนชองระบายน้ําหรืออากาศ อยางไรก็ดีไม แนะนําใหใชกบั ชิ้นสวนเสริมกําลัง, อะเสหรือกระดูกงูบิลคในกรณีที่รอยตอชนของเปลือกเรือหรือ ดาดฟาเสร็จสมบูรณแลว แตแนะนําใหเจียรรอยเชื่อมพอกเสริมออก และจะตองไมตัดสแกลลอบ บริเวณใกลปลายของหูชาง
154 เนื่องจากอูเรือโดยมากใชเครื่องตัดอัตโนมัติไมชนิดใดชนิดหนึ่ง (ดังเชน ระบบบังคับดวย เทปตัวเลข Numerical Tape Control) ชองตัดขนาดเล็กและสแกลลอบปกติจะคอนขางเรียบ จําเปน มากที่จะตองตัดชองใหเรียบและสม่ําเสมอ ปกติรูที่ตัดจะตองมีรัศมีไมต่ํากวา 40 มม. (1½ นิ้ว) 4.4 การสรางตัวเรือ การประกอบ โครงสรางของตัวเรือ ประกอบไปดวยแผนเหล็กที่ตดั แลวนําไปประกอบใหเปนรูปทรง ตาง ๆ การประกอบแผนเหล็กเขาดวยกันสวนใหญทําไดโดยการเชื่อมแบบอัตโนมัติ และการเชื่อมบน พื้นผิวราบการประกอบเริ่มจากสวนประกอบยอย ๆ กอน แลวจึงนํามาประกอบเขาดวยกันกลายเปน สวนประกอบใหญๆ กอนทีจ่ ะนําไปติดตั้งบนเรือ สวนประกอบใหญๆ นี้อาจมีน้ําหนักตั้งแต 500 ตัน ขึ้นไป ถาการเชื่อมสวนประกอบยอยไมถูกตองทําใหผิดแนวแลว การแกไขอาจจะสิน้ เปลืองมาก ฝมือ คุณภาพของงานเชื่อมขึ้นอยูก บั องคประกอบหลายอยาง และไมจํากัดอยูแตฝมือของชาง เทานั้น เปนตนวากอนการเชื่อมเชน การวางแนว การตัดขอบของแผนเหล็ก และความพอดี ขั้นตอน เหลานี้จะตองไดเตรียมการไวเปนอยางดี เพื่ออํานวยความสะดวกแกชางเชื่อม ชางเชื่อมจะตองไดรับการคัดเลือก นอกจากนีก้ ารที่จะใหชางเชื่อมมีความสะดวกสบาย พอสมควรและมีฝมือที่แนนอนนั้น ชางเชือ่ มจะตองสวมเกราะหรือหมวกกันอันตราย ชุดที่หนักและ รุงรังจะตองมีการระบายอากาศอยางเพียงพอ (โดยเฉพาะในบริเวณที่มีขอบเขตจํากัด) และจะตองมี การอํานวยความสะดวกที่ดี ผลงานและฝมือของชางขึ้นอยูกับองคประกอบเหลานี้ จากความพิจารณาความสะดวกสบายของชางเชื่อม และผลงานเชื่อมที่ดีเปนหลัก เราควร จะมีที่กําบังอยางเพียงพอใหชางเชื่อมในระหวางทําการเชื่อม โดยเฉพาะการเชื่อมดวยมือดวยวิธีเชื่อม อารคใชควันฟลั๊กซคลุม (Shielded Metal Arc Welding) และทุกกรรมวิธีที่ใชกาซคลุม (Gas Shielded) ในบริเวณที่มีลมแรงจะทําใหชิ้นงานเกิดรอยพรุนขึ้นไดเพราะเกิดความไมแนนอนของการ คลุมอารค (Arc Shielding) การเชื่อมในขณะฝนตกก็ใหผลรายเชนเดียวกัน ถาเชื่อมเหล็กธรรมดาไม ตองการกําบังมากนัก แตถาเชื่อมเหล็กที่มีความแข็งแรงสูงซึ่งตองใชลวดเชื่อมไฮโดรเจนต่ําและการ อุนแผนเหล็กกอนจะตองมีกําบังอยางเพียงพอ โดยเฉพาะการเชื่อมแผนเหล็กผสมต่ํา การเตรียมวัสดุ เพื่อที่จะใหการประกอบสวนตาง ๆ ที่เตรียมไวประกบเขากันไดพอดี มีกรรมวิธีอยูห ลาย วิธีดวยกันไดถกู นํามาใชในการวางแนวในการตอเรือใหญ เชน วิธี Optical detailing และ Numerical type detailing วิธี Optical detailing วิธี Optical detailing ประกอบดวยการเขียนแบบยอของโครงสรางลงประมาณ 1/10เทา ของแบบจริง ถายรูปแบบลงแผนแกวในลักษณะเนคกาทีฟ แลวฉายแสงผานเนคกาทีฟของแผนแกว
155 ลงบนแผนเหล็กใหเทากับขนาดจริง จากนั้นถายลายเสนที่ปรากฏบนแผนเหล็กดวยเหล็กขีด หรือทํา เครื่องหมายดวยเครื่องเขียน ดังนั้นการตัดแผนเหล็กจึงทําไดโดยตรงตามลายเสนทีไ่ ดจากแบบโดยไม ตองลอกจากแบบที่เทาขนาดจริงเลย วิธี Numerical Tape detailing กรรมวิธีนี้ ประกอบดวยการถายขอมูลจากโครงสรางของจริงที่คํานวณไดหรือจากขนาด 1/10 เทาของแบบลงบนเทปที่ใชในการนําทางเครื่องตัดที่ใชออกซิเจนหรือเครื่องตัดแบบพลาสมา ขอบของแผนเหล็ก ขอบของแผนเหล็กที่ตัดโดยใชเครื่องตัดทีใ่ ชออกซิเจนแบบอัตโนมัติจะเรียบจึงไมตอ งทํา การปรับแตงแตอยางใด แตถาทําการตัดดวยมือ รอยตัดอาจจะไมเรียบจะตองทําใหเรียบโดยการขัด ออกหรือตัดออก เมื่อขอบเปนเหลี่ยมและเหล็กนั้น เปนเหล็กแผนบางควรจะทําการตัดกอนการเชื่อม อยางไรก็ดีขอบที่ตองรับความเคนสูง เชน สวนบนของแผนเชียร ควรจะตัดโดยเครื่องตัดที่ใช ออกซิเจนแบบอัตโนมัติ การประกอบสวนประกอบยอย การเชื่อมแผนเหล็กเขาดวยกันตามปกติจะวางแผนเหล็กลงบนแทนเพือ่ ที่จะทําใหเชือ่ มได สะดวกในแนวราบ จากนั้นเชื่อมดานหนาของแผนเหล็กเขาดวยกัน พลิกแผนเหล็กกลับดานแลวเชื่อม ดานหลัง เมื่อแผนเหล็กที่มคี วามหนาแตกตางกันไปถูกนํามาใชดานหลังจะตองเรียบ ถาดานหลังเรียบ แลวจะทําใหวางและเชื่อมเหล็ก เอ็น และกงเรือไดสะดวก ในอูตอเรือใหม ๆ การเชื่อมรอยตอบนพื้น ราบทั้งหมดและการเชื่อมเหล็กเอ็นจะเชื่อมโดยเครื่องเชือ่ มอัตโนมัติ ในบางกรรมวิธีจะทําการเชื่อมตะเข็บดานหนากอนแลวติดตั้งเหล็กเอ็นและกงเรือ จากนั้น เชื่อมสวนประกอบทั้งสองติดกับดานหนากอน พลิกดานหนาลงแลวจึงเชื่อมดานหลังจนเสร็จ กรรมวิธีนี้ควบคุมการบิดงอไดไมดนี ัก เพราะขอบของแผนเหล็กไมสามารถยึดติดกับแทนไดในขณะ ทําการเชื่อมดานหลัง การเชื่อมแผนเหล็ก สามารถเชื่อมไดเพียงดานเดียวอยางอัตโนมัติดวยเครื่องมือและ กรรมวิธีพิเศษดังอธิบายในบทที่ผานมา จากการเชื่อมเพียงดานเดียวนี้จงึ ไมจําเปนตองพลิกโครงสราง นั้นกลับดานในระหวางการประกอบ แตบางครั้งเราจําเปนตองพลิกกลับดานอยูด ีเพื่อตรวจดูความ เรียบรอยและซอมแซมสวนที่บกพรอง ถาทําการเชื่อมดวยมือทางทีด่ จี ะตองเชื่อมแบบถอยหลัง (Backstep) ในการเชื่อมติดตอกัน หลายครั้ง นิยมใชการเชื่อมแบบถอยหลัง หรือการเชื่อมเปนลําดับ เชน แบบ Wandering Block ทั้งนี้ เพื่อควบคุมการผิดรูปเนื่องจากการเชื่อม เพื่อที่จะใหไดขนาดและรูปทรงของโครงสรางที่พอดี สวนประกอบยอยจะตองผานการ ปรับระยะจากหนึ่งในสองของกรรมวิธีดังตอไปนี้ วิธที ี่หนึ่งแผนเหล็กจะตองตัดตามขนาดที่ตองการ
156 กอนการเชื่อม อีกวิธีหนึ่งระยะของแผนเหล็กจะเผื่อเอาไวประมาณ 50 มม. (1-2 นิ้ว) หลังจากเชือ่ ม แลว จึงตัดสวนที่เกินออกไปใหพอดีกับทีต่ องการ การใชกรรมวิธีทั้งสองนี้ขึ้นอยูกบั สถานที่และการ ออกแบบของโครงสรางนั้น การสรางและการติดตั้ง ในระหวางที่สว นประกอบยอยนี้ถูกยกดวยเครน โดยเฉพาะในชวงที่กําลังแขวนอยู สวนประกอบยอยจะตองมีรปู ทรงที่แนนอนไมบิดเบีย้ วไปจากตนแบบ ดังนั้นกอนที่จะปลอย สวนประกอบยอยเหลานี้ออกจากเครน เราจะตองตรึงสวนประกอบนี้ไมใหบดิ เบีย้ วไปโดยใชเหล็ก ดามหรือใชเชือกตรึงไวหรืออีกวิธีหนึ่ง คือ การเชื่อมยึดไวตามรอยตอ การเชื่อมยึดและใชเครื่องค้ําจุน เอาไวเพื่อที่จะกันไมใหสวนประกอบเหลานี้บิดเบี้ยวไปได เนื่องจากสวนประกอบเหลานี้สวนใหญมี น้ําหนักเกิน 30 ตันขึ้นไปทัง้ นั้น และบางสวนอาจจะถึง 500 ตันก็ได ซึ่งถาหนักขนาดนี้ก็ควรทีจ่ ะ ดําเนินการดวยความระมัดระวัง หลังจากที่สวนประกอบติดตั้งและตรึงไวดีแลว รอยตอตาง ๆ จะตองตรงตามแนวและ จะตองเชื่อมยึดเอาไวกอน สําหรับการเชื่อมแผนเหล็กแบบตอชนจะตองเวนชองระหวางรอยตอไว อยางพอเหมาะ เชน ระยะรอยตอของแผนเหล็กทีใ่ ชทําดาดฟาและตัวเรือประมาณ 3.2 มม. (1/8 นิ้ว) 1.6 มม. (1/16 นิ้ว) ปกติเราจะรักษาแนวเชื่อมเหลานีไ้ วโดยการเอาแผนเหล็กเล็กมาเชื่อมดามเอาไว กอนดังรูปที่ 26 การเชื่อมตามในรูปที่ 26 A และ B อนุญาตใหแผนเหล็กเคลื่อนตัวไดมากกวาการ เชื่อมดามตามรูป C ปกติแลวถาเชื่อมแผนเหล็กหนา ๆ การเชื่อมดามเหลานี้ไมสามารถชวยปองกัน การบิดเบี้ยวอันเปนผลมาจากการหดตัวของรอยตอไดเลย
รูปที่ 26 แผนสตรองแบคสที่ใชกันทัว่ ไป
157 การเชื่อมดามจะตองเอาออกไดงายและมีรอยแหวงบนแผนเหล็กนอยที่สุด ถารอยแหวง ของการเชื่อมดามลึกจะตองอุดโดยการเชือ่ ม ถาเปนรอยตื้น ๆ ก็อาจลบไดโดยการขัดออกแตจะตอง ไมทําใหความหนาของแผนเหล็กที่ถูกขัดออกนั้นนอยกวาที่กําหนดไว รอยแหวางที่เกิดจากการเอา เหล็กดามออก โดยการใชคอนตีอาจมีปญหามาก โดยเฉพาะเหล็กที่มีความแข็งแรงสูง รอยแหวงลึก ๆ อาจเกิดไดเมื่อเหล็กดามที่เชือ่ มไวดึงเอาเนือ้ ของแผนเหล็กตัวเรือไปดวย เราควรจะเอาเหล็กดามออก โดยการตัดหรือการใชอารคอากาศและขัดออก การตัดหรือขัดเหล็กดามออกจากแผนเหล็กอาจตัดได ลึกประมาณ 3 มม. (1/8 นิว้ ) โดยไมตองแกไขใด ๆ เลย การเชื่อมประสานมุมที่มีแนวเชื่อมไมยาวมากก็อาจรักษาแนว และตรึงไวโดยการเชือ่ มยึด เอาไวกอน แตถาตองการปองกันการบิดเบี้ยวของมุมที่รอยเชื่อมก็อาจใชเหล็กแผนเล็ก ๆ เชือ่ มค้ํา เอาไวตามรูปที่ 26 D การเชื่อมยึดจะตองเชื่อมอยางระมัดระวังและมีคุณภาพดี เราจะตองเชื่อมแนวเชื่อมนั้น ตามหลังการเชื่อมยึดใหเร็วที่สุดเทาที่จะทําได ถึงแมวาโครงสรางนั้นจะมีเครื่องค้ําจุนเอาไวแลวก็ตาม ทั้งนี้เพื่อปองกันการพังทะลายของโครงสรางเนื่องมาจากรอยเชื่อมยึดขาด ไมควรเชื่อมยึดมากเกิน ความจําเปน และรอยเชื่อมยึดที่ขาดจะตองขัดออก ในการเชื่อมสวนประกอบใหญที่ใชเครื่องเชื่อมอัตโนมัติ เชน การเชื่อมใตฟลั๊กซหรือการ เชื่อมแบบอิเล็กโตรสแลก แนวเชื่อมจะตองไมมีสิ่งกีดขวางทั้งนี้เพื่อใหเครื่องเดินไดอยางสม่ําเสมอ ตลอดแนว ในการเชื่อมตะเข็บในทางตั้งโดยใชการเชื่อมแบบอิเล็คโตรสแลกหรือแบบอิเล็กโตรกาซ จะตองเซาะรองใตแผนเหล็กเพื่อที่จะใหแผนปะกับดานในและสายไฟ เคลื่อนผานไดสะดวกรูปที่ 27 รองที่เซาะไวนี้ปกติจะเล็กมาก จึงไมจําเปนตองอุดหลังจากทําการเชื่อมแลว เวนแตในกรณีที่ตองการ รักษาความแข็งแรงของโครงสรางเอาไว การเชื่อมตะเข็บทั้งตามแนวยาวและแนวขวางโดยเครื่อง เชื่อมอัตโนมัติก็ตองการกรรมวิธีคลายกับที่กลาวขางตน
รูปที่ 27 ชองตัดใชสําหรับเปนชองผานของแผนปะกับและสายไฟฟาดานในเรือ
158 ในการเชื่อมตะเข็บทั้งตามยาวและขวางเมือ่ ใสฝากั้นหรือกงไวเรียบรอยแลว เราจะตอง เจาะรองบนฝากั้นหรือกงที่ผา นตามแนวตะเข็บนั้นเพื่อใหเครื่องมือเชื่อมเคลื่อนผานได รองที่เจาะนี้ มักจะใหญและมีขนาดไมเทากัน ซึ่งจะตองอุดโดยการใชแผนเหล็กสอดหรือเชื่อมปะเอาไว ถาระยะรากของรอยตอของการเชื่อมแบบตอชนต่ํากวาทีก่ ําหนด เราอาจจะขยายออกให เทากันที่ตองการโดยการใชเครื่องมือตัดที่ใชออกซิเจน การตัดโดยใชอารคหรือเครื่องมือตัด แตมุม ของรอยตอ (Groove) จะตองรักษาเอาไว ถาระยะรากของรอยตอเกินกวาที่กําหนด อาจแกไขโดยการเสริมระยะตามรูปที่ 28 A การ เสริมระยะนีจ้ ะตองทําแยกออกไปตางหากจากขบวนการเชื่อมตามปกติ การเสริมระยะทําไดโดยใชธูป เชื่อมเพิ่มระยะไปจนไดระยะที่กําหนด จากนัน้ จึงทําการเชือ่ มแผนเหล็กทั้งสองเขาดวยกันตาม กรรมวิธีการเชือ่ มเสริมระยะเมื่อเชื่อมเสร็จแลวจะตองแตงมุมของรอยตอ (Groove) ใหไดมุมทีก่ ําหนด ไว ตองสะอาดไมมีสแล็ก (Slag) รอยเชื่อมตองเรียบและตอเนื่องกันทีส่ ําคัญคือ การเสริมระยะไมควร เกินครึ่งหนึ่งของความหนาของแผนเหล็ก ตามปกติจะไมคอยทําการเสริมระยะยาว ๆ และลึกมาก ๆ เพราะไมสามารถทําใหความแข็งแรง และความเหนียวของสวนที่เสริมระยะเทากับแผนเหล็กเดิมได นอกจากนี้เราอาจจะใชแผนเหล็กรองสวนที่ระยะรากของรอยตอยาวเกินกวาทีก่ ําหนด ทั้งอยางถาวร และชั่วคราวตามรูปที่ 28 A ถาระยะของรอยตอกวางมากเกินกวาทีจ่ ะเสริมระยะได โดยการเชือ่ มก็อาจจะตองเสริม ระยะไดโดยการใชแผนเหล็ก ความกวางต่ําสุดของแผนเหล็กที่ใชเสริมขึ้นอยูกับลักษณะการใชงาน และตําแหนงของเรือ เชน พื้นเรือดานใน ฝากั้นและกงเรือ ความกวางต่ําสุดประมาณ 300 – 450 มม. (12 – 18 นิ้ว) ในแผนเหล็กที่รับความเคนที่สําคัญเชนแผนเหล็กตัวเรือและแผนเหล็กดาดฟาชัน้ บน ความกวางต่ําสุดที่จะใสแผนเหล็กเสริมระยะประมาณ 1 มม. (3 ฟุต) หรือเทากับระยะหางระหวางกง ในบางกรณีเราควรจะระมัดระวังในการลําดับการเชื่อมแผนเหล็ก เพือ่ ปองกันการบิดงอและแตกใน ระหวางการเชือ่ ม เมื่อใชแผนเหล็กเสริมระยะจะตองทําปลายของแผนเหล็กใหมนรีรศั มีประมาณ 150 มม. (6 นิ้ว) และลําดับการเชื่อมจะตองเปนไปตามที่จะอธิบายในบทตอไป การเลือกใชแผนเหล็กเสริม ระยะทีเ่ หมาะสมและที่สําคัญในสวนที่ไดรับความเคนสูง ๆ เชน แผนเชียร ทิศทางการรีดของแผน เหล็กเสริมระยะจะตองเปนไปในทิศทางเดียวกันกับแผนเหล็กที่ถูกตอ ในแนวเชื่อมประสานมุม ถาระยะรากของรอยตอเกิน 2 มม. (1/16 นิว้ ) เราจําเปนจะตอง เพิ่มความลึกของแนวประสานดังแสดงไวในรูปที่ 28 อยางไรก็ตามถาการเสริมระยะของรอยเชือ่ ม กวางเกินกวาที่จะเชื่อมได เราก็อาจจะใชวธิ ีเชื่อมตอวิธีใดวิธีหนึ่งไดดังแสดงไวในรูปที่ 28 ลําดับการเชื่อม สิ่งที่จะตองพิจารณาเพื่อประกอบการลําดับการเชื่อมก็คอื มีการบิดงอนอยที่สุด และความ ยากงายในการเชื่อม ลําดับการเชื่อมสําคัญมากโดยเฉพาะในการเชื่อมเหล็กแผนหนา ๆ หรือเหล็กหลอ
159 ทั้งนี้เพื่อปองกันการแตกในระหวางการเชื่อม ในการใสเหล็กแผนเล็ก ๆ เพื่อการเสริมระยะ ความเคน จะเกิดขึ้นที่เหล็กแผนเล็ก ๆนั้นๆ ซึ่งจะเปนตนกําเนิดของรอยแตก ถาขบวนการเชื่อมไมไดมาตรฐาน ลําดับการเชื่อมควรจะเปนไปอยางงาย ๆ และทําได เพราะจะทําใหชางเชื่อมมีความ สะดวกในการทํางาน ถาลําดับการเชื่อมยุงยากมากก็อาจจะทําใหชางเชือ่ มละเลยไปได ทํานองเดียวกับ ลําดับกี่เชื่อมก็ควรจะสามารถทําใหชางฝมือทํางานไดหลาย ๆคนพรอมกันในงานชิ้นเดียวกัน รูปที่ 29 แสดงกฎ 2 ขอสําหรับการเชื่อมที่จดุ ติดกันของรอยตะเข็บตามยาวและตามขวาง 1. วางแผนเหล็กใหติดกันเพื่อที่จุดติดกันเพือ่ ที่จะใหเหล็กเคลื่อนตัวตามกันไปได 2. อยาเชื่อมผานแนวตะเข็บทีย่ งั ไมไดเชื่อม เมื่อกฎนี้นําไปใชกับเหล็กแผน ลําดับการเชื่อมจะเปนไปตามรูปที่ 30 ถาเพิ่มสเกลของ แบบขึ้น ลําดับการเชื่อมจะเปนไปตามรูปที่ 31 จะสังเกตเห็นวาแนวเชื่อมหลาย ๆ แนวสามารถจะ เชื่อมไดในเวลาเดียวกัน รูปที่ 31 แสดงลําดับการเชื่อมทีด่ ี รูปที่32 แสดงลําดับการเชื่อมเมื่อแนวเชื่อม ตามขวางอยูในเสนเดียวกัน
160
รูปที่ 28 การแกไขการเวนชองตอ
161
รูปที่ 29 ลําดับการเชื่อมที่แนวตัดระหวางตอชนในแนวขนานนอนกับแนวตั้ง
รูปที่ 30 ลําดับการเชื่อมสําหรับแผนตอชนในแนวตั้งและแนวนอนที่อยูถัดไป
162
รูปที่ 31 ลําดับการเชื่อมโดยทั่วไปสําหรับแผนตอชนในแนวตั้งและแนวขนานนอน เมื่อใชการหยุดเชื่อมแนวตั้งเปนพัก ๆ
รูปที่ 32 ลําดับการเชื่อมทั่วไปสําหรับแผนตอชนแนวตั้งและแนวขนานนอน เมื่อแนวตอชนแนวตัง้ อยูในเสนตรงเดียว
163 รูปที่ 33 เปนลําดับการเชื่อมในกรณีที่โครงสรางตามรูปที่ 30 เกิดมีความซับซอนขึ้น เนื่องจากโครงสรางภายใน ดังนั้นจึงควรจะเชื่อมแผนเหล็กเขาไปกอนตามแสดงในรูปที่ 30 แลวจึง เชื่อมสวนภายในเขากับแผนเหล็ก กรรมวิธีสุดทายนีใ้ ชในการทําสวนประกอบยอย เมื่อแผนเหล็ก หลายแผนจะตองเชื่อมเขาดวยกันเครื่องเชื่อมอัตโนมัติกอนที่จะติดตั้งกงเรือ
1. เชื่อมกง (Frace) และอะเส (Girder) กับแผนจนถึงระยะหางภายใน 300 มม. (12 นิ้ว) กับ สวนตอชนแนวตั้งและแนวขนานนอนทีย่ ังไมไดเชื่อม 2. เชื่อมตอชนแนวตั้งใหแลวเสร็จ 3. เชื่อมอะเสในสวนทีย่ ังไมไดเชื่อมในแนวตั้ง 4. เชื่อมตอชนแนวขนานนอนจนถึงจุดทีห่ างจากรอยตอชนแนวตั้งถัดไป 300 มม.(12 นิ้ว) 5. เชื่อมกงในสวนที่ยังไมไดเชื่อมในบริเวณตอชนแนวนอนลาง 6. เชื่อมตอชนแนวนอนบนจนถึงจุดหาง 300 มม. (12 นิ้ว) จากรอยตอชนแนวตั้ง ถัดไป 300 มม. (12 นิ้ว) 7. เชื่อมกงในสวนที่ยังไมไดเชื่อมในบริเวณตอชนแนวนอนบน รูปที่ 33 ลําดับในการเชื่อมโดยทั่วไปสําหรับแผนตอชนแนวตั้งและแนวนอนที่อยูขางเคียง ซึ่งมีกงภายในยึดติดอยูด วย
164 ถาตะเข็บตามขวางอยูใ นแนวเดียวกันดังแสดงในรูปที่ 34 ก็อาจจะเชื่อมแผนเหล็กเขากับ กงเรือไดโดยเหลือระยะจากขอบของแผนเหล็กไวประมาณ 300 มม. (12 นิ้ว) เมื่อเชื่อมแผงแผนเหล็ก ที่อยูติดกันแลวก็สามารถเชื่อมแผงแผนเหล็กกับกงเรือได หลังจากเชือ่ มแผงแผนเหล็กตามขวางแลวก็ ทําการเชื่อมสวนที่ยังไมไดเชื่อมของแนวเชื่อมตามขวางกับกงเรือที่ผานแนวเชื่อมตามขวางกับกงเรือที่ ผานแนวเชื่อมตามขวางไดดงั แสดงในรูปที่ 33 อะเสและกงเรือไมควรเชื่อมติดกับแผนเหล็กตัวเรือ เกินไปจากแนวเชื่อมตามยาวและขวาง จะตองปรึกษาหนวยควบคุมมาตรฐานการเชื่อมกอนที่จะทํา การเชื่อมนอกเหนือไปจากคําอธิบายนี้
1. แผง 1 และแผง 2 จะถูกเชื่อมบริเวณภายในจนเสร็จในระยะ 300 มม. (12 นิ้ว) หางจาก ขอบของแตละแผง 2. ทําการเชื่อมแผงเขาดวยกัน ตามลําดับการเชื่อมแบบเดียวกับที่แสดงใน รูปที่ 32 และ 33 รูปที่ 34 ลําดับการเชื่อมโดยทั่วไปสําหรับการประกอบแผนกลองยอย เมื่อจําเปนจะตองเชื่อมแผนเหล็กสวนทีจ่ ะตองดึงหรือรั้งเอาไว เชน ในงานซอม ลําดับ การเชื่อมควรจะคลาย ๆ กับลําดับในรูปที่ 35 จะตองเลาะแนวเชื่อมตามยาวซึ่งปกติจะตั้งฉากกับแนวที่ จะตองดึงหรือรั้งเอาไวนนั้ ออกไปประมาณ 300 มม. (12 นิ้ว) เพื่อที่จะลดแรงดึงในขณะที่กําลังทําการ เชื่อมแนวเชื่อมตามขวาง ทํานองเดียวกับกงเรือทีต่ ดิ กับโครงสรางเกาจะตองเลาะออกประมาณ 300 มม. (12 นิว้ ) เชนกันเพื่อความสะดวกในการเชื่อมตามแนวเชื่อมขวาง
165
สังเกตวาจะเวนชวง 300 มม. (12 นิ้ว) ในแนวตอชนแนวขนานนอนที่แตละมุมของแผนแทรก 1. เชื่อมกงใหอยูในระยะ 300 มม. (12 นิ้ว) จากสวนที่ยังไมไดเชื่อมของการตอชนแนวตัง้ และ แนวนอน 2. เชื่อมตอชนแนวตั้ง (2) ใหเสร็จสมบูรณ 3. เชื่อมตอชนแนวตั้ง (3) ใหเสร็จ 4. เชื่อมกงสวนทีย่ ังไมไดเชื่อมในแนวตอชนแนวตัง้ 5. เชื่อมตอชนแนวขนานนอน (5) รวมทั้งที่เวนระยะเผื่อไวดว ย 6. เชื่อมตอแนวขนานนอน (6) รวมทั้งที่เวนระยะเผื่อไวดว ย 7. เชื่อมกงสวนทีย่ ังไมไดเชื่อมในแนวตอชนแนวขนานนอน รูปที่ 35 การลําดับเชื่อมสําหรับการซอมแผนเปลือกเรือดานขาง การเชื่อมปะ รูปที่ 36 A แสดงวิธีการตางๆ ในการเชื่อมปะชองเปดเล็ก ๆ โดยปกตินิยมใชลําดับการ เชื่อมแบบ Backatep เมื่อชองเปดมีขนาดใหญก็อาจจะปะโดยใชแผนเหลกรูปสี่เหลี่ยมตัดขอบที่มุมใหมน ถาใช แผนเหล็กสี่เหลี่ยมเปนแผนปะขอบของแผนปะ ควรจะวางทับกับแนวเชื่อมตามยาวและขวางสนิทดัง แสดงในรูปที่ 36 B แนวเชื่อมบางแนวจะตองปะตอออกไปประมาณ 300 มม.(12 นิ้ว) เพื่อที่ลดผลเสีย ที่เกิดจากการเริ่มแนวเชื่อมหรือหยุดแนวเชือ่ มที่จุดตัด ถาการเชื่อมวิธีนี้ทําไมได ก็ใชแผนปะรูป
166 สี่เหลี่ยมที่มนขอบออกที่มีขนาดรัศมีประมาณ 150 มม. (16 นิ้ว) ประทับลงไปหรือใสลงไปพอดีกับ ชองเปด อยางไรก็ตามเรานิยมใชแผนประทับลงไปมากกวาการใสแผนเหล็กใหพอดีชองเปดใน บริเวณดาดฟาชั้นในและฝากัน้ หอง
รูปที่ 36 แผนปดสําหรับชองเปดขนาดเล็กและใหญ การบิดที่เกิดจากการเชื่อม ถึงแมวาการศึกษาทางทฤษฎีอยางมากมายเกีย่ วกับการบิดที่เกิดจากการเชื่อม แตงานที่ พอจะเชื่อถือไดก็คือ งานทีไ่ ดจากการทดลองและจากประสบการณเทานั้น โดยพื้นฐานแลวมีอยู 2 หัวขอเทานัน้ ที่ถูกนํามาพิจารณาในการปองกันการบิดเนือ่ งมาจากการเชื่อมดังแสดงในรูปที่ 37 คือ 1. โลหะเชื่อมทีใ่ หความเคนเนื่องจากการหดตัว มีขนาดใกลกับกับจุดคราก ตามแนวเชื่อม จะเปนแรงดึงที่กระทําตอแผนเหล็กที่ใชเชื่อมทั้งสองไปตามแนวเชื่อม ซึ่งแรงดึงนี้จะตองเทากับ แรงอัดที่กระทําตอแผนเหล็กหรือโครงสรางที่ติดกับแผนเหล็กที่ถูกเชื่อมทั้งสองแผนนี้ จะสังเกตไดวา นอกจากจะมีแรงดึงกระทําตอแผนเหล็กตามแนวเชื่อมแลว ยังมีแรงดึงตัง้ ฉากกับแนวเชื่อมอีกดวย 2. ถาแรงดึงไมกระทําที่เสนแกนสะเทิน (Neutral Axis) ของโครงสราง โครงสรางจะงอ เมื่อการงอเกิดขึ้นใน 2 ทิศ การบิดก็จะเกิดขึ้น
167 ขอพิจารณาทีส่ ําคัญทั้ง 2 ขอสามารถนําไปใชในการอธิบายเกี่ยวกับการบิดงอที่เกิดขึ้นตาม แนวเชื่อม และการบินงอที่เกิดขึ้นทั้งโครงสรางได โดยธรรมชาติแลวถาโครงสรางนั้นมีแรงเฉื่อยใน การปองกันการงอมากก็จะทําใหเกิดการบิดงอไดนอย และถามีแรงดึงหรือรั้งโครงสรางนั้นมาก ๆ ก็ จะทําใหเกิดการบิดนอยลงดวย
รูปที่ 37 ความเคนตกคางในรอยเชื่อม การบิดงอที่แนวเชื่อม รูปที่ 38 แสดงการบิดงอแบบตาง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ตามแนวเชือ่ ม ในแนวเชือ่ ที่มีขนาดเทากัน จํานวนการเชือ่ มทับมากเทาใด โอกาสที่จะเกิดยึดตามมุมก็มีมากขึ้นเทานั้น ดังนัน้ การเชื่อมอัตโนมัติ จึงทําใหเกิดการบิดตามมุมไดนอยกวาการเชื่อมดวยมือ การบิดงอที่แนวเชื่อมจะเกิดขึน้ ไดนอยถา เชื่อมประสานมุมและมุมของรอยตอ (Grove) มีคานอย
168
รูปที่ 38 การบิดงอของรอยเชื่อมตอโดยทัว่ ไป การบิดงอตามมุมที่เกิดจากการเชื่อมเหล็กเอ็นใหกับแผนเหล็ก มักจะมีผลคลายกับ Washboard effect คือ มีลักษณะเปนลูกคลื่น ดังแสดงในรูปที่ 39 การบิดงอตามมุมอีกแบบหนึ่งก็คือ การเชื่อมแผนเหล็กหรือโครงสราง 2 แผนเขาดวยกัน โดยเริ่มจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ถาการเชือ่ ม เปนไปอยางชา ๆ และใชความเร็วนอย ๆ แนวที่ถูกเชือ่ มแลวจะทําใหแนวที่ยังไมถูกเชื่อมบิดโคงเขา หากันดังรูปที่ 40 A เราอาจจะใชการเชื่อมยึดเปนชาง ๆ เพื่อปองกันการบิดงอดังกลาว อยางไรก็ตามถาทําการเชื่อมเร็วขึ้นและใชความรอนมากขึ้น เชน การเชื่อมใตผงฟลั๊กซ หรืออิเล็กโตรแสลค ความรอนที่เกิดขึน้ ตามแนวเชื่อมมีผลทําใหแผนเหล็กคงตัวหรืออาจจะมาบาน ออก ดังแสดงในรูปที่ 40 B ถาใชการเชื่อมใตผงฟลั๊กซแนวเชื่อมมักไมเปลี่ยน แตถาใชการเชือ่ ม แบบอิเล็กโตรแสลคไมควรใชวิธีการเชื่อมยึด แตควรจะใชแผนเหล็กเล็ก ๆ เชื่อมดามเอาไวเพื่อรักษา แนวเชื่อม
รูปที่ 39 การโคงงอแบบมุมเนื่องจากการเชื่อมเหล็กเอ็นกับแผนเหล็ก (Washboard effect)
169
รูปที่ 40 การบิดงอแบบมุมที่อาจจะเกิดขึ้นไดในการเชื่อมตอชน การบิดโคงออกหรือโคงเขาของแนวทีย่ ังไมไดเชื่อม ขึ้นอยูกับองคประกอบหลายอยาง เชน ขนาดของแผนเหล็ก ขบวนการเชื่อม ความเร็วของการเชื่อม อัตราการเย็นตัว และความรอนที่ให ในขณะเชื่อม ในบางกรณีก็อาจจะแกปญหาการบิดโคงเขาของแนวเชื่อมโดยการเวนชองแนวเชื่อม ทางดานปลายใหกวางกวาดานเริ่มตน อยางไรก็ตามประสบการณก็เปนสิ่งสําคัญที่ใชในการพิจารณา เพื่อปองกันการบิดงอตามแนวเชื่อมดวย การบิดของโครงสราง การเชื่อมตะเข็บตามแนวนอนและแนวขวางของแผงแผนเหล็ก และการเชื่อมเหล็กเอ็นจะ ไปกดแผนเหล็กนั้นและทําใหเหล็กเอ็นโคงงอได การบิดเบี้ยวนี้มีผลมาจากแรงดึงเนื่องจากการหดตัว ของรอยเชื่อม และแรงดัดทีเ่ กิดจากการเชือ่ มเหล็กเอ็นเขากับแผนเหล็กดวย และบางครั้งแรงทั้งสองก็ ทําใหเกิดการบิดเปนเกลียวดวย ถาแรงอัดสูงมาก ก็อาจจะเกิดการดุงซึ่งมักจะเปนการดุงตามธรรมชาติมีลักษณะเปนคลื่น ตามแผนเหล็กดังแสดงในรูปที่ 41 การดุงแบบนี้มักพบในแผนเหล็กบาง ๆ
รูปที่ 41 การโคงโดยธรรมชาติ
170 ผลของแรงตาง ๆ ดังที่กลาวมาแลว อาจนํามาอธิบายปรากฏการณบดิ เบี้ยวของโครงสราง ใหญ ๆ หรือแมแตเรื่องทั้งลําได ถาทําการเชื่อมที่ดานบนของโครงสรางตื้น ๆ แตยาว โครงสรางจะ บิดเบี้ยวที่บริเวณดานบนของทางหัวและทายเรือ ในการเชื่อมแบบนี้จะทําใหสว นหัวเรือและทายเรือ ของตัวเรือแยกออกจากกระดูกงูเปนระยะหางหลายนิ้วทีเดียว แตถาโครงสรางนั้นลึกและแข็งแรง จะมีการบิดเบี้ยวทีด่ านบนของสวนหัวและทายนอย มาก ดังนั้นถาเราติดตั้งดานบนของโครงสรางนั้นแลวเชื่อมยึดเอาไวกอน จากนัน้ จึงทําการเชือ่ ม ดานลางของโครงสราง ก็จะชวยลดอาการบิดเบี้ยวได ตามปกติแลวการเชื่อมควรจะเริ่มตนที่บริเวณจุดกึง่ กลางของโครงสรางนั้นเสียกอน แลว จึงเชื่อมตอไปขางบนแลวลงดานลาง อยางไรก็ตามการเชือ่ มสวนประกอบใหญ ๆ เสียกอน แลวนํามา ประกอบเปนตัวเรือ จะมีปญ หาในการบิดเบี้ยวนอยกวาการตอเรือ โดยการเชื่อมสวนประกอบเล็ก ๆ เขาดวยกัน หรือการตอเรือโดยการเชื่อมแผนเหล็กทีละแผนเขาดวยกัน ในการเชื่อมตะเข็บดวยมือ การเชื่อมแบบถอยหลัง (Backstep) หรือการเชื่อมแบบ Wandering Block จะชวยลดการบิดเบีย้ วได ผลของการควบคุมการบิดเบี้ยวจะไดผลมากในการเชื่อม ครั้งแรกมากกวาการเชื่อมทับครั้งตอไป การควบคุมการบิดเบี้ยว กรรมวิธีหนึ่งในการรักษารูปทรงเอาไว ก็คือ การเผื่อระยะเอาไวใหพอเหมาะ การเพิ่ม ระยะทั้งความกวางและความยาวจะชวยแกระยะที่เกิดจากการหดตัวทําใหรูปทรงและระยะถูกตอง วิธี นี้จะใหผลดี ถาการตัดทําไดพอดีและการเชื่อมยึดทําไดเสมอกัน การเผือ่ ระยะหดที่ไดมาจาก ประสบการณของการเชื่อมโครงสรางบางอยางใหไวในตารางที่ 7 อยางไรก็ตามตัวเลขเหลานี้อาจ เปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม การใชแผนเหล็กตรึงและการใชเหล็กตามชั่วคราวก็ชว ยลดอาการผิดรูปได บางครั้งการ ลองติดตั้งดูกอนหรือการลองตัดกอนก็มีประโยชน เมื่อโครงเชื่อมเสร็จแลวโครงสรางนั้นจะแปรรูป กลับไปหารูปทรงที่ถูกตองตามตองการ ในการใชเหล็กแผนความแข็งแรงสูง เราอาจใชลวดเชือ่ มที่มีจุดครากต่ําที่สุดที่ใชไดกับที่ ออกแบบไว ในบางกรณีการทุบก็อาจลดอาการผิดรูปหรือเสียระยะได ปกติเราจะไมทุบชั้นแรกและชั้น สุดทาย ที่ไมทุบชั้นแรกเพราะไมมีความแข็งแรงพอที่จะตานการทุบได และไมทุบชั้นสุดทายเพราะ ชั้นลางไมมีบริเวณทีจ่ ะทําการเชื่อมเพื่อที่จะใหความรอนและแกไขสวนที่ถูกทุบได การทุบจะตอง ระมัดระวังไมใหไปปดชองเปดดานลางที่เปดเอาไวสําหรับเปนทางเดินของแผนรอง หรือไปถูกแนว เชื่อมที่ยังเย็นตัวไมสมบูรณ และรอยตําหนิอื่น ๆ รอยตําหนิเหลานี้จะตองเอาออกกอนการทุบ และ การทุบจะตองทําทันทีหลังจากทําการเชื่อมผานไปแลว
171 ยังมีอีกหลายวิธีที่จะทําการแกอาการผิดรูปได แตวิธีดังกลาวมักจะนํามาใชนอยกวาการแก ระยะ วิธีที่นิยมใชในการแกระยะก็คือ การใหความรอนจากหัวเชื่อมแลวทําใหเย็นตัวลงโดยเร็ว ซึ่งจะ ทําใหเหล็กหด การทําใหหดตัวอาจจะเปนการทําใหหดตัวเฉพาะจุดหรือทําใหหดตัวตลอดแนวเชื่อมก็ ได อยางไรก็ตามกรรมวิธีนี้กย็ ังมีขีดจํากัด ดังจะไดอธิบายในยอหนาตอไป ในการทําแผงแผนเหล็กให ตรงอาจใชวิธกี ารทําใหหดตัวตามแนวเชื่อมหลังกงหรือเหล็กเอ็น หรืออาจใชผสมกับการทําใหหดตัว เปนจุด การทําใหหดทั้งแนวหรือเปนจุดของสวนโคงของเหล็กเสริม บางทีนํามาใชในการดัดกงหัวเรือ ถาเหล็กโคงนั้นโคงออก สวนนูนของรอยเชื่อมบนสวนโคงของรอยดุงหรือแผนเหล็กงอจะมีผลตอ การทําใหโคงหรือหดตัวนอยกวาการทําใหรอนจากหัวเชื่อม ในกรณีที่ตองการความไวก็อาจใชวธิ ีตัด สวนที่ยาวเกินขนาดออกไป การทําใหหดโดยการใชความรอนแลวใชน้ําฉีดทําความเย็นจะไมนํามาใชกับโครงสรางที่ รับแรงที่สําคัญ เชน ดาดฟา, เหล็กเปลือกทายเรือ เปลือกเรือดานขาง และสวนที่รับแรงสําคัญ (โดยไม คํานึงถึงเกรดของเหล็ก) อาจทําใหตรงโดยการใหความรอน (บางทีใชประกอบการดึง) หรือโดยการ ปลอยสวนที่ดงึ หรือรั้งเอาไวออก แลวดัดใหตรงที่อุณหภูมิธรรมดา สําหรับเหล็กรับแรงดึงสูงการใช ความรอนดัดใหตรงควรจะทําใหนอยที่สุด สําหรับเหล็กผสมต่ําหามใชความรอนแกระยะ การแกระยะอาจทําไดโดยการเลาะจุดเชือ่ ม ที่อยูติดกับแนวที่ตองการแกระยะอยูออก แลวแกโดยการใชแผนรองเทานั้น จากนั้นจึงทําการเชื่อม สวนที่เลาะออกใหม เนื่องจากเราตองการหลีกเลีย่ งความไมพอดีของรอยตอโครงสรางตาง ๆ ดังนั้นจึงควร พิจารณาโครงสรางที่สําคัญเอาไว รูปที่ 42 แสดงระยะความไมพอดีที่ยอมใหไดของ NAVSHIPS 0900 – 000 – 1001 ซึ่งครอบคลุมถึงการตบแตง การเชือ่ ม และการตรวจตัวเรือ การเชื่อมประสานมุมแบบปะแทนการเชื่อมประสานมุมอยางตอเนื่อง จะลดการบิดงอได แตไมแนะนําใหทําการเชื่อมปะสําหรับเหล็กที่ตองการความแข็งแรงสูง หรือตองการความสวยงาม หรือในที่ที่อาจเสียหายจากการผุกรอนที่เกิดขึ้นตามบริเวณที่ไมถูกเชื่อม การเชื่อมประสานมุมแบบปะ ควรจะมีการเชือ่ มอยางตอเนือ่ งที่จุดสิ้นสุดของรอยเชื่อม และทีจ่ ุดตัดของโครงสรางนั้นกับโครงสราง ที่สําคัญ ความยาวต่ําสุดของรอยเชื่อมปะนีป้ กติกําหนดไวหนวยรักษามาตรฐาน การคลายแรงเคน (Stress Relief) การปรับสภาพทางความรอนหลังการเชื่อม (Post Welded Heat Treatment) หลังการซอมครั้งใหญเสร็จสิ้นลงแลว กรรมวิธีทางความรอนหลังการเชื่อมอาจจะตอง นํามาใชหลังการเชื่อมหนัก ๆ โดยเฉพาะสวนที่เกีย่ วกับการหลอ สวนของโครงสรางที่รับแรงเคนสูง ๆ เชน หางเสือ เสาหางเสือ และการเชื่อมกงทายเรือ ถาวัสดุเปนเหล็กคารบอนธรรมดา อุณหภูมิทใี่ ช อบประมาณ 620 + 28 ๐C (1,150 + 50 ๐ F) ทิ้งไว 1 ชม. ตอความหนา 1 นิ้ว ของสวนที่หนาที่สุดของ
172 ชิ้นงานนั้น การเชื่อมที่ใชการอุนงานกอน และใชลวดเชือ่ มไฮโดรเจนต่ํา ไมตองใชการปรับสภาพของ ความรอนหลังการเชื่อม เหล็กผสมต่ําหลายชนิด โดยเฉพาะเหล็กที่ผา นกรรมวิธีอบชุบมาแลว อาจจะสูญเสียความ แข็งแรงและความเหนียว แตเมื่อเชื่อมแลวจะมีคณ ุ สมบัติดีกวาเดิม ในทุกกรณีอุณหภูมิที่ใชอบจะตอง ต่ํากวาอุณหภูมิอบคืนตัว (Tempering) มีลวดเชื่อมบางชนิดจะเปราะเมื่อทําการปรับสภาพดวยความ รอน ดังนั้นจึงไมควรใชการปรับสภาพดวยความรอนกับลวดเชื่อมชนิดนี้ การลดแรงเคนทางกลของรอยเชื่อม เมื่อไมสามารถใชกรรมวิธีทางความรอนลดแรงเคนได เราอาจใชการลดแรงเคนใน ภาชนะที่ใหความดันสูงและถังทรงกระบอก วิธีนี้ทําไดโดยใสงานเชื่อมในถังทรงกระบอก แลวใสถัง ลงในภาชนะใหความดันสูงภายใตกําลังดันน้ํา (Hydrostatic Pressure) ประมาณ 1 – ½ เทาของความ ดันที่ไดออกแบบไว จนดึงแนวเชื่อมอยางพลาสติก ดังนั้นแรงเคนตกคางในแนวเชือ่ มจะลดลงเมือ่ เอา ความดันออก ความดันจะตองไมเคนถังไปมากกวา 90 % ของจุดคราก และคางเอาไวอยางนอย ประมาณ 2 ชม. การใชและขอกําหนดของการปลดปลอยแรงเคนทางกลมีใน U.S.Coast Guard Maring Engineering Regulations, Subchapter F. แตกรรมวิธีลดแรงเคนแบบนี้จะไมนิยมใชกับวัสดุที่ มีจุดครากมากกวา 80 % ของแรงดึงประลัย (Ultimate Tensile Strength) การทุบ การทุบไมแนะนําใหใชกับการเชื่อมผานครั้งเดียว และที่รากของการเชื่อมทับหลายครั้ง เมื่อใชกับการแกปญหาการบิดหรือลดแรงดันตกคาง จะตองทุบทันทีหลังจากการเชื่อมแตละครัง้ ผาน ไป และงานเชือ่ มจะตองสะอาด การอุนแผนเหล็กกอนการเชือ่ ม ประโยชนของการอุนแผนเหล็กกอนการเชือ่ มก็คือ ชวยลดอัตราการเย็นตัวของแนวเชื่อม ในระหวางการเชื่อม การลดอัตราการเย็นตัวชวยในการลดความเขมขนของความเคนเนื่องจากการหด ตัว, ความแข็งของรอยเชื่อม และบริเวณที่ไดรับอิทธิพลจากความรอน นอกจากนี้ยังอาจจะชวยปองกัน การเกิดรอยแตกและเพิ่มความเหนียวของรอยตอในแนวเชื่อม ในชวงอากาศเย็น โดยเฉพาะในการ เชื่อมเหล็กแผนหนาจะตองทําการอุนแผนเหล็กเสียกอน การอุนควรจะทํากับชิ้นงานเชื่อมหนา ๆ หรือใหญ และชิน้ งานหลอ ในบางกรณีเราอาจใช อุณหภูมิแผนเหล็กสูงถึง 200๐ C (400๐ F) แตโดยทัว่ ๆ ไปแลวในทางใชการเราใชอุณหภูมิอุนต่ํา ๆ ประมาณ 65 – 90 ๐ C (150 – 200 ๐ F) และใชขบวนการเชื่อมที่มีไฮโดรเจนต่ํา ๆ สําหรับเหล็กความ แข็งแรงสูง การใชอุณหภูมิอนุ สูงและขบวนการเชื่อมที่ใชไฮโดรเจนต่าํ ประกอบกันไปดวย ในขบวนการเชื่อมที่ใหความรอนสูงก็ควรจะมีการอุนเสียกอน เพื่อลดอัตราการเย็นตัว หลังการเชื่อม การเชื่อมอยางตอเนื่องควบคูไปกับการควบคุมอุณหภูมิเปนสิ่งที่เราตองการที่สุดใน ขบวนการเชื่อม เมื่องานเชื่อมใหญ ๆ หรือโครงสรางที่ถูกยึดรั้งมาก ๆ เชน การเชื่อมชิ้นงานหลอหรือ
173 แผนเหล็กสอดเล็ก ๆ บางครั้งเมื่อแผนสอดถูกเชื่อมในเหล็กแผนโต ๆ การอุนที่อุณหภูมิพอเหมาะก็ จําเปนเพราะการหดของแผนเหล็กจากพื้นทีท่ ี่ถูกอุนติดกับแนวเชื่อม เมื่อบริเวณนี้หดตัวจะไปเพิ่มการ หดของแนวเชือ่ ม และมีแนวโนมในการเกิดรอยแตกเนื่องมาจากการหดมากขึ้น การอุนอาจจะจําเปนกอนการเชื่อมยึดเมื่อโครงสรางที่ถูกเชื่อมนั้นถูกดึงรั้งเอาไวมาก เมื่อ เหล็กความแข็งแรงสูง (โดยเฉพาะเหล็กที่ผา นการอบชุบ) ถูกเชื่อม การอุนกอนการเชือ่ มตามที่กําหนด จําเปนตองทํากอนการเชื่อมทุกกรณี เชน การเชื่อมยึด เปนตน การสรางเรือทองแบนที่ใชในแมน้ําลําคลอง เรือทองแบนถูกสรางมาเพื่อบรรทุกสินคาใหไดมากที่สดุ ตามขีดจํากัดของขนาด ความ แข็งแรงของโครงสรางและประสิทธิภาพของแรงฉุด รูปทรงของเรือทองแบนปกติจะมีลักษณะเปน กลองคือทั้งหัวและทายเรือเปนรูปสี่เหลี่ยมหรือดานหนึง่ เปนสี่เหลี่ยมอีกดานหนึ่งเปนรูปทรงอื่น ขนาดของเรือทองแบนประมาณ 30 ม. X 182 หรือ 365 ม. (110 ฟุต X 600 หรือ 1,200 ฟุต) ซึ่งจะทําใหความกวางของเรือมี 2 ขนาด คือ 10.7 ม. (35 ฟุต) และ 15.2 ถึง 16.4 (50 ฟุต ถึง 54 ฟุต) เรือจะกินน้ําลึกสูงสุดในขณะใชงานประมาณ 2.9 ม. (9.5 ฟุต) แผนเหล็กจะซือ้ จากโรงงานในลักษณะเปนแผน หรืออาจจะเก็บมวนเอาไวหลังจากคลาย แผนเหล็กออกจากมวนแลวจะนํามาตัดขอบและตัดตามขนาดที่ตองการ ความหนาของแผนเหล็กที่มว นไวอยูระหวางหมายเลข 10 (3.5 มม.) และ 16 มม. (5/8 นิ้ว) เมื่อเชื่อมตอชนโดยใชการเชื่อมใตผงฟลั๊กซพรอมแผนรองแลว ความหนาที่สุดของแผนเหล็ก ประมาณ 12.5 มม. (1/2 นิ้ว) ในการเชื่อมผานครั้งเดียวและดานเดียว เหล็กเอ็นจะเชื่อมติดกับแผน เหล็กโดยการใชการเชื่อมมือหรือกึ่งอัตโนมัติ สวนประกอบยอยพรอมกับรายละเอียดตามมาตรฐานจะตองนํามาใชเพื่อ 1. ใหใชแรงงานไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด 2. ใหมีขอไดเปรียบในตารางตําแหนงสําหรับการเชื่อม 3. ลดเวลาการสราง ขอจํากัดของขนาดของสวนประกอบก็คอื ขีดความสามารถของเครนนั่นเอง เหล็กแผนที่มว นไดตามมาตรฐานของ ABS คือเกรด A เทานั้น เหล็กทางดานนอกของ มวนเหล็กจะมีความทนแรงดึงสูงกวาดานในเล็กนอย ทัง้ นี้เพราะขบวนการมวนหลังจากการรีด ผล ความแตกตางกันของความทนแรงดึงเกิดจากความแตกตางในการเย็นตัวในขณะมวนแผนเหล็กนั่นเอง
174 ตารางที่ 7 การเผื่อระยะสําหรับการหดตัวของแผนเหล็กที่ความหนาแตกตางกัน สําหรับรอยเชื่อมแบบตอชน ความหนาของแผนเหล็ก ระยะเผื่อการหดตัวของรอยเชื่อม ตามขวาง 1.6 – 2.4 มม. สําหรับความหนาทุก ๆ ขนาด (1/16 – 3/32 นิ้ว) ตามยาว เกิน 12.5 มม. (1/2 นิว้ ) ขึ้นไป 0.8 มม. (1/32 นิ้ว) ตอความยาว 3 ม. (10 ฟุต) 9.5 – 12.5 มม. 0.8 – 1.6 มม. ตอความยาว 3 ม. (3/8 – 1/2 นิ้ว) (1/32 – 1/16 นิ้ว ตอความยาว 10 ฟุต) 6.5 – 9.5 มม. 1.6 – 2.4 มม. ตอความยาว 3 ม. (1/4 – 3/8 นิ้ว) (1/16 – 3/32 นิ้ว ตอความยาว 3 ม.) ต่ํากวา 6.5 มม. 1.6 – 3.2 มม. ตอความยาว 3 ม. (1/4 นิว้ ) (1/16 – 1/8 นิ้ว ตอความยาว 10 ฟุต) สําหรับรอยเชื่อมแบบตอฉาก ความหนาของแผนเหล็ก ระยะเผื่อการหดตัวของการดุง *1 เกิน 12.5 มม. (3/8 – ½ นิ้ว) ไมตองเผื่อระยะสําหรับการหดตัว 6.5 – 9.5 มม. (1/4 – 3/8 นิ้ว) 0.4 มม. (1/64 นิ้ว) ตอเหล็กเอ็น 1 แผน ต่ํากวา 6.5 มม. (1/4 นิว้ ) 0.8 มม. (1/32 นิ้ว) ตอเหล็กเอ็น 1 แผน 1.6 มม. (1/16 นิ้ว) ตอเหล็กเอ็น 1 แผน *1 การเผื่อระยะการหดตัวจากการดุงใชได สําหรับการเชื่อมแผนเหล็กแผนกับเหล็กเอ็นอยาง ตอเนื่องเทานัน้ ถาใชการเชือ่ มปะระยะเผือ่ จะเปนครึ่งหนึ่งของระยะทีก่ ําหนดไวในตาราง
175 ระยะหางระหวางกง ม. (นิ้ว)
(A)
( B)
ความหมายของแผนเหล็ก มม.(นิ้ว) A ใชสําหรับเปลือกเรือ ดาดฟากําลังชั้นบนสุด กราบออน ฝากั้นน้าํ ที่อยูดานนอกของเกง โครงสรางที่ตองรับแรงดึงสูงบริเวณกลางลําเรือรวมทั้งทองเรือดานใน และดาดฟาชั้นตอจากดาดฟา กําลังชั้นบนสุด ถาดาดฟานัน้ มีความยาวตอเนื่อง และอยูเ หนือหองเครื่องจักร สําหรับเรือที่เนนสวนรับกําลังไวที่กงตามขวาง ใหลดระยะความคลาดเคลื่อนไป 3.2 มม. (1/8 นิ้ว) สําหรับโครงสรางทุกสวนทีก่ ลาวไวขางบนยกเวน กราบออน และฝากัน้ น้ําที่อยูด านนอกของเกง B ใชสําหรับโครงสรางดังตอไปนี้ (ยกเวนที่กําหนดไวใน A) ฝากั้นน้ําที่ใชกนั้ เปนเขตที่พัก อาศัยและชองทางเดินที่ตอเนื่อง ดาดฟาทีส่ ัมผัสกับบรรยากาศ ดาดฟาภายในตัวเรือ และภายในเกงที่ ใชเปนสวนทีพ่ ักอาศัย ฝากัน้ น้ําตามขวางที่สําคัญ และแผนทองเรือภายในตามยาว สําหรับดาดฟาและ ฝากั้นน้ําอื่น ๆ ที่ไมไดระบุไว ใหเพิ่มระยะความคลาดเคลื่อนไปอีก 3.2 มม. (1/8 นิว้ ) รูปที่ 42 ระยะความคลาดเคลื่อนที่ยอมใหไดในการเชื่อมแผนเหล็กโครงสราง ที่ใชในสหรัฐนาวี
176
บทที่ 5 การออกแบบรอยตอในการเชื่อม (WELDED JOINT DESIGN) การออกแบบรอยตอเพื่อนํามาใชในการเชื่อมดวยกรรมวิธกี ารเชื่อมดวยหุมฟลั้กช นัน่ อยูกับ ชนิดของชิ้นงานนั้น ๆ คํานึงถึงการดานโลหะวิทยา และโคดหรือขอกําหนดของงานั้น ๆ การ ออกแบบรอยตอคํานึงถึงความจําเปนและหลักทางเศรษฐศาสตรในการสรางหรือออกแบบดวย การ ออกแบบที่ดแี ละงายตอการทําหรือสรางก็จะชวยลดคาใชจาย และโดยทัว่ ไปกับเพิ่มคุณภาพของ รอยตอนั้น ๆ ดวย การออกแบบรอยตอประกอบดวย กรรมวิธีของการเชื่อมที่จะนํามาใชกับรอยตอจึงมีรอยตอ แบบมาตรฐานอยู 5 แบบดวยกัน แตก็สามารถนํามาประสมประสานเขาดวยกันได รอยตอจึงเทากับ เปนชุมทางที่จะทําชิ้นงานตอเขาหากัน หรือตอรวมเขาดวยกัน จากรูปที่ 5 – 1 แสดงใหเห็นรอยตอ 5 แบบงาย ๆ รอยตอแบบตาง ๆ ดังกลาวสามารถทําตอเขาดวยกันดวยวิธกี ารเชื่อมในรูปแบบตาง ๆ จาก รูป 5 – 2 แสดงใหเห็นถึงแบบงาย ๆ ของการเชื่อม ที่จะนํามาใช ชนิดของการที่จะเชื่อมรอยตอก็คือ การทําใหรอยตอนั้นประสมประสานเขาดวยกัน รูปที่ 5 – 3 แสดงใหเห็นถึงสวนตางๆ ที่ใชเรียกชื่อ สวนตาง ๆ ของรอยตอนั้น ๆ และกับการเชือ่ มดังนี้ (Fillet Weld) ความแข็งแรง (Strength) หลักใหญทจี่ ะตองคํานึงถึงการออกแบบของรอยตอก็คือ เรื่องของความแข็งแรงรอยตอนั้นจะ มีความซึมลึกมาก – นอย แคไหน ก็ขึ้นอยูกับวาตองการความแข็งแรงตอรอยตอนัน้ มากนอยเพียงใด ถาตองการความแข็งแรงสูงสุด ก็จะตองเชื่อมงานใหเต็มหนาตัดของงานั้น ๆ และถาตองการความ แข็งแรงปานปลางก็เชื่อมชิ้นงานเพียงสวนหนึ่งของหนาตัดนั้น รอยตอที่ใชในการเชื่อมที่ใชกับงานที่ เคลื่อนที่ หรือรับแรงกระแทกก็ตองออกแบบใหรอยตอนั้นมีการซึมลึกเต็มเนื้อทีห่ นาตัดของงาน เมื่อ ตองการความแข็งแรงมาก ๆ สิ่งเหลานี้ลวนเปนหลักที่สําคัญที่ตองคํานึงถึง เมื่อรอยตอที่นํามาใช เชื่อมใชกับงานที่อุณหภูมิต่ํา ไ ก็อาจใชรอยตอที่รับกําลังปานกลาง ทั้งนี้ก็ขึ้นอยูก ับความเหมาะสมกับ แรงที่มากระทําดวย ชนิดของแบบรอยตอเหลานี้งายตอการเคลือบ และใชลวดเชือ่ มในการเชื่อมนอย กวา รอยตอทีต่ องการ การซึมลึกมากๆ ทาเชื่อม (Position) กรรมวิธีการเชือ่ มดวยลวดเชือ่ มหุมฟลั้กชสามารถนําไปใชไดทุกทาเชื่อม ทาเชื่อมที่สามารถ จะเชื่อมได ยอมเชื่อมได แตก็อาจจะมีอปุ สรรคที่เทาออกแบบของรอยตอ ตัวอยางเชนนี้จะไดแสดง ใหเห็นในตอนทายของบท รูปแบบของทาเชื่อมที่สามารถเชื่อมดวยลวดเชื่อมหุมฟลั้กชไดแสดงไดใน
177
รูปที่ 5 – 4 ซึ่งเชื่อมในทาขนานนอน (Horizontal) , ทาตั้ง (Vertical) และทา Overhead ยอมขึน้ อยู กับทักษะของผูเชื่อมและชนิดของลวดเชื่อมที่นํามาใช ลวดเชื่อมชนิดนี้มีอัตราการเติมสูงก็ควรใช เชื่อมกับทาราบและทาขนานนอนเพราะวาการเชื่อมดวยลวดเชื่อมเชนนี้จะทําใหบอหลอมละลายใหญ ทาของการเชื่อมไดจัดแบงโดยการจัดตามกลุมของตัวเลขและตัวอักษร ซึ่งทาเชื่อมทั้งหมด 4 ทา ไดจดั เปนกลุมตัวเลขและตัวอักษรดังนี้ กลุมที่ 1 ทาราบ กลุมที่ 2 ทาขนานนอน กลุมที่ 3 ทาตั้ง และกลุมที่ 4 ทาเหนือศีรษะ อักษร F ใชกับการเชื่อมตัวที่ (Fillet Weld) และอักษรตัว G ใชแทน รองของรอยตอ อักษรและกลุมตัวเลข ของ 5 G และ 6 G เปนทาเชื่อมที่ใชในการทดสอบ การเชื่อม ทอ รูปประกอบที่ 5 – 4 แสดงใหเห็นถึงอักษรและตัวเลข ที่ใชทั้งงานโลหะแผนและงานทอ ความหนา (Thicknees) ความหนาของโลหะที่จะนํามาใชกับกรรมวิธีการเชื่อมดวยลวดเชื่อมหุม ฟลั้กช ยอมขึ้นอยูกับ ทักษะของผูเชือ่ ม ทาเชื่อมที่ใชกับรอยตอนั้น แบบของรอยตอความเหมาะสม และชนิดของลวดเชื่อม ความเร็วในการเชื่อม ระยะอารค กระแสและคุณลักษะของเครื่องเชื่อมที่ใชเหล็กที่มคี วามหนาไมมาก นัก การเชื่อมยอมขึ้นอยูก ับทักษะของผูเชือ่ ม ชางเชื่อมที่มีทักษะสูง ๆ สามารถเชื่อมโลหะที่บางเพียง 1/16 ” (1.16 m.m) ไดอยางดี เหล็กที่หนา ¼ ” (6.4 m.m) สามารถเชื่อมไดโดยไมตองการ การซึม ลึกที่ดีพอ การตองการ การซึมลึกปานกลางก็สามารถเชื่อมโลหะที่หนา ½” (12.7) โดยไมจาํ เปนตอง บากงานเชนกัน แตถาโลหะที่หนามากกวาดังกลาว การเตรียมเรื่องรอยตอก็สําคัญมากเชนกัน เพราะ จําเปนตองเชื่อมหลายแนวเชือ่ ม การบากงานเพียงซีกเดียว (Bevel) เปนงานรูปตัว U V J หรือการ บากรองแบบในรูปผสม การบากรองตัว J เพียงดานเดียวใชกับงานรูปตัวที่ (Fillet Weld) ซึ่งเมื่อ เชื่อมงานแลวก็จะทําใหไดการซึมลึกที่สูงมาก เชนกันกับโลหะที่หนา ๆ โลหะที่หนา ยอมตองเชื่อม มากแนวเชื่อม ทั้งนี้เพื่อเติมใหเติมกับรองที่บากทั้งนี้ขึ้นกับการออกแบบรอยตอนั้น ๆ ดวยการ ออกแบบรอยตอแบบบากดานเดียว (Singel Bevel) และการบากรองตัววี (U groove) เปนรอยตอนี้ มักออกแบบใชกันเสมอ ๆ
178
รอยตอที่เปนพื้นฐาน 5 ชนิด ซึ่งนํามาใชผสมผสานกันได
รูปที่ 5 – 1 ชนิดของรอยตอ (Types of Joints)
รูปที่ 5 – 2 ชนิดของการเชือ่ ม (Types)
รูปที่ 5 – 3 สวนตาง ๆ ของแนวเชื่อม (Weld Nomenclature)
179
การเชื่อมตัวที (FILLET WELDS)
รูปที่ 5 – 4 ทาเชื่อม การบากรองตัว U (U groove) ถาเปนแบบธรรมดา ๆ ที่ใชกันมากเพราะงายตอการเตรียม งาน แบบของรอยตอนี้ก็กระทําไดโดยใชหวั ตัดแกสอะเชทตีลีนเปนตัวตัด บางครั้งหนาตัดของตัว J หรือ U อาจจะกระทําไดโดยใชเครื่องมือกล แตเมื่อเปรียบเทียบกับการใชหัวตัวแกสอะเชทตีลีนแลว กระทําไดเร็วกวา ฉะนัน้ หัวตัดดวยแกสจึงลดเวลาในการเตรียมรอยตอเปนอยางดี
180
การบากรองตัววี (Vee Groove) จะใชลวดเชื่อมนอยกวาการบากรองตัว แตการเวนชองวาง (Root Gap) ก็ควรตองมีทั้งนี้เพื่อใหการซึมลึกไดดีในแนวแรก (Root Pass) และแนวเชื่อมแนวแรก ก็ควรใชลวดเชื่อมที่มีเสนผาศูนยกลางใหญ เมื่อใชกับรองตัว V ซึ่งแตกตางกับการบากรองตัว เรา อาจใชเฉพาะแนวแรก (Root Pass) เทานั้น ทั้งนี้กเ็ พราะที่ดานลางของรองรูปตัว ยู เปนรอยโคง นั่นเอง การบากงานซีกเดียว (Single Bevel) และบากรองตัว J มักใชเสมอกับการเชื่อมมุมและ เชื่อมตัวที การบากงานแบบ Single V, U และบากแบบซีกเดียว (Single Bevel) เปนการบากงานที่ นําไปใชเสมอและมากที่สุดกับการเชื่อมตอชน (Butt Joint) ที่หนาตั้งแต 3/16 ” (4.8 m.m.) หรือ ¼ ” (6.5 m.m.) ถึง ¾” (19.1 m.m.) เมื่อโลหะที่จะใชเชื่อมหนาตัง้ แต ¾ ” (19.1 m.m.) หรือมากกวานั้น การบากงานแบบรอง ตัววี ดวยยู ตัวเจ และการบากแบบ 2 ดาน (Double Bevel) จําเปนตองคํานึงถึงมาก ทั้งนี้เพราะ ตองเชื่อมทั้งสองดาน การบากรองของรอยตอชนิดนี้ทําใหเกิดการบิดตัวนอย (Distortion) และจะใช ลวดเชื่อมเพิ่มมากกวาการบากดานเดียวดังกลาวมาแลว การบากรองเปนมุม 45 ๐ - 60 ๐ ใชกับโลหะที่ ไมหนามากนักที่จําเปนตองบากงาน แตมุมนี้จะดูใหญเมื่อใชกับโลหะที่มีความหนามาก ๆ มุมที่ไม มากยอมใชกับโลหะที่หนามาก ๆ เพราะวาจะใชเวลาในการเชื่อมนอยกวาการบากรองเปน 45 ๐ - 60 ๐ การออกแบบรอยตอเปลี่ยนแปลงไดมากมาย แบบหนึง่ อาจใชกับการเชื่อมกับทอที่มีความ หนา หรือโลหะแผนที่มีความหนาเกินกวา ¾ ” (19.1 m.m.) ความหนาก็เปลีย่ นไปตามแบบของการ บากรองตัววี ดานเดียว ฉะนั้นมุมลวดซึ่งคอนขางมากขึ้นไปทางดานบนของการบากจึงตองลดลง จึง เปนการออกแบบบาก 2 ซีก (Couble Bevel) ประโยชนของการออกแบบรอยตอ แบบนี้ก็เพื่อใหลด คาฝชจายใหนอ ยลงกวาการบากรูปตัววี เพราะจะใชลวดเชื่อมนอยกวาในการเติมรอยเชื่อมนี้ แตสิ่งที่ สําคัญของการบากแบบนีก้ ็ขนึ้ อยูกับความยุงยากในการบากเชนกัน
รูปที่ 5 – 5 การเปลี่ยนแปลงแบบการบากรองตัววี (V groove Joint) ออกแบบ เพื่อใชกับความหนาที่ไมจํากัดของโลหะหลัก
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
บทที่ 6 ความปลอดภัยในการเชื่อม (WELDING SAFTY) ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับการเชื่อม นับเปนความสําคัญ จําเปนอยางยิ่งที่ผูทําการ เชื่อม จะตองพยายามศึกษา และหาทางปองกัน โดยเฉพาะทุกโรงงานที่มีการเชื่อมควรจะตองมีการ ปองกันในเรื่องอันตรายที่จะเกิดขึ้นในการเชื่อม ทั้งนี้เพื่อเปนแนวทางชวยผูทํางานเกี่ยวกับการเชื่อม และชางเชื่อมก็เชนกันจะตองศึกษาและหาทางปองกันอันตรายที่จะเกิดจากการเชื่อมดวย ผูที่ทํางาน โดยไมคํานึงถึงความปลอดภัยมักพบกับอุบตั ิเหตุและอันตรายเสมอ ซึ่งในบางครั้งอันตรายไมถึงกับ ชีวิต แตกย็ ังทําลายทรัพยสมบัติไดอีกดวย ซึ่งเปนการสูญเสียทั้งเงินและเวลา วิธีการทีจ่ ะชวยปองกัน สิ่งเหลานี้เปนเรื่องที่ไมยากเย็นจนเกินไปนัก ทั้งนี้โดยศึกษาจาก “American National Standard Z 49.1 Safety in Welding and Cutting” ซึ่งจัดทําโดย America Welding Society (AWS) 6.1 อันตรายอันเกิดจากการทํางานเชื่อม มีมากมายหลายอยาง โดยเฉพาะกับกรรมวิธีการเชื่อมดวย ลวดเชื่อมหุมฟลั้กช บางครั้งอันตรายอาจจะไมเกิดขึ้นมากมาย หรือถึงแกชีวิตแตก็อาจทําให ประสิทธิภาพของงานเชื่อมลดนอยถอยลงไป อันตรายเหลานี้ไดแก 1. อันตรายที่เกิดจากไฟฟาดูด 2. อันตรายจากแสงที่เกิดจากประกายอารค 3. เพลิงและการเกิดการระเบิด 4. อันตรายที่เกิดจากการทําความสะอาดงานเชื่อมและอื่น ๆ 6.1.1 อันตรายที่เกิดจากไฟฟาดูด โดยปกติแลวมีขอควรระวังและหาทางปองกันอันตรายอนเกิดจากไฟฟาดูดมากมาย สิ่งแรกที่ ควรคํานึงถึงก็คือ อุปกรณตา ง ๆ ที่จะใชในการเชื่อมนั้นอยูในสภาพทีด่ ี เรียบรอย พรอมใชงาน และ อุปกรณตาง ๆ ที่ใชในการเชื่อมควรถูกตอง และเปนไปตามมาตรบาน โดยเฉพาะสายดินควรอยูใ น ตําแหนงลงดินอยางถูกตองหรือไม ขัว้ ตอสายตําแหนงตาง ๆ แนนดีเพียงไร ทั้งนี้เพราะขั้วตอสายที่ ไมแนนก็เปนสาเหตุใหเกิดอันตรายไดเชนกัน สายตาง ๆ ที่ใชกับเครื่องเชื่อมไฟฟา ควรถูกตองตาม เบอรสาย หรือตามระยะความยาวทีน่ ําไปใช การใชสายไฟฟาทีไ่ มถูกตอง เปนอันตรายตออุปกรณที่ ใชและตอตัวผูท ํางานดวย และสาเหตุอันเกิดจากไฟฟานี้จะเปนเหตุทาํ ใหเครื่องมือ อุปกรณชํารุด เสียหาย และเปนอันตรายตอผูใชดวย บริเวณที่ทํางานเชื่อม ควรเปนที่แหง ไมชนื้ แฉะ ซึ่งจะทําใหเกิดไฟฟาลัดวงจรหรือดูด ผูทํางานได เมื่อตองทํางานที่เขื่อนกั้นน้ําหรือบริเวณทีช่ ื้นแฉะ ผูทํางานเชื่อมควรสวมรองเทายางและ ยืนทํางานอยูบนแผนฉนวน จะทําใหปลอดภัยยิ่งขึ้น
195
6.1.2 อันตรายที่เกิดจากการอารค กรรมวิธีการเชื่อมดวยลวดเชื่อมหุมฟลั้กช จะทําใหเกิดแสงอัลตราไวโอเลต และแสง อินฟาเรด เปนจํานวนมากมาย ผิวหนังถึงแมจะโดนแสงดังกลาว เปนชวงเวลาสั้น ๆ ก็ตาม แตก็จะถูก แสงดังกลาวทําใหผิวหนังไหม ซึ่งเสมือนถูแกสงจากดวงอาทิตยเชนกัน แตแสงที่ถูกจากการเชื่อม เพียงชวงสั้น ๆ แตก็มีผลใหเกิดการเจ็บปวดไดเปนอยางมาก ทั้งนี้ผูทํางานเชื่อมควรสวมเสื้อหนัง ปองกันกอนการเชื่อม และเสื้อหนังที่ใชควรใชอยางดี และไมไหมไฟไดงาย หนังทีน่ ํามาใชมักทําเปน เสื้อแจกเก็ต หมวกและปลอกแขนหรือสิ่งอื่นใดที่คลายกัน ซึ่งใชปองกัน แขน, ไหล, หนาอก และทอง ซึ่งเกิดจากการอารค หรือจากเศษโลหะทีก่ ระเด็น หนังยังใชมาทําเปนถุงมือที่ใชในการปองกันดวย สิ่งที่ตองคํานึงถึงอีกสิ่งหนึ่งก็คือดวงตา ทั้งนี้เพราะการปองกันสวนอื่นอยางดีแตไมปองกัน ดวงตาจะใชเพียงหนากากอยางเดียวยอมไมเปนการเพียงพอ ควรจะตองสวมแวนตาปองกันอีกชั้น หนึ่ง แสงอารคจากการเชื่อมจะทําใหเกิดการเจ็บปวดเปนเวลา 24 – 48 ชม. ขึ้นไป โดยปกติอาจไม เกิดขึ้นเสมอไป แตก็อาจเปนไปได ถาการปองกันนั้นไมดีพอ ซึ่งวิธีการปองกันดานผิวหนังและหนา ตลอดจนตา ก็ไดมีการคิดคนหาทางปองกัน ๆ อยูเสมอ โดยเฉพาะดวงตา แสงอินฟาเรด จะทําให “เรตินา” ของตาเกิดอาการเมื่อยลาเพิ่มมากขึ้น และผลที่เกิดขึ้นนี้มใิ ชจะเกิดขึ้นในทันทีทันใด แต อาจจะเกิดขึ้นในภายหลัง ซึง่ ตางกับแสงอุลตราฟาเรด อาจกลาวไดวาแสงอินฟาเรดนัน้ ทําอันตรายได มากกวา และนานกวาดวย แตสิ่งซึ่งสรางมาเปนตัวปองกันหนาและตาของผูทํางานเชื่อมก็คือ หนากาก ซึ่งอาจเปนแบบมือถือ หรือแบบสวมหัว ซึ่งจะมีเลนซที่มคี วามเขมสูงเปนตัวชวยปองกัน ฉะนั้น เลนซ ที่ใชผูเชื่อมจึงควรพิจารณาเลือกใช ความเขมของกระจกใหเหมาะสมกับชนิดของการเชื่อมหรือเครื่อง เชื่อมนั้น ๆ ทั้งนี้เพราะถาความเขมนอยก็อนั ตรายตอผูเชื่อม แตถาความเขมมากไป ผูเชื่อมก็ไม สามารถมองเห็นหรือควบคุมแนวเชื่อมไดดีเทาที่ควร จากตาราง 6 – 1 แสดงใหเห็นถึงเลนซที่มีความ เขมตาง ๆ ที่ใชกับการเชื่อมดวยลวดเชื่อมหุมฟลักซ หมายเลขที่มากแสดงถึงความเขมที่สูง หรือทึบ แสงมากนั่นเอง และควรมีกระจกสีขาวเปนตัวใสปดไวที่ทั้งดานหนาและหลังเลนซกรองแสดงนัน้ ๆ เพื่อปองกันสะเก็ดโลหะที่จะกระเด็นไปติด ขนาดของลวดเชื่อม เสนผาศูนยกลาง (นิ้ว), มิล
1/16 (1.6) , 3/32 (2.4) , 1/8 (3.2) , 5/32 (4.0) 3/16 (4.8) , 7/32 (5.6) , ¼ (6.4) 5/16 (7.9), 3/8 (9.5)
ความเขมของเลนซที่ใช
10 12 14
ตาราง 6 – 1 แนะนําการใชความเขมของเลนซใหสัมพันธกับขนาดของลวดเชื่อมตาม มาตรฐาน AWS Z 49.1
196
การระบายอากาศ ขณะทําการเชื่อมมักจะทําใหเกิดควันขึ้น ทั้งนี้เกิดจากสารพอกหุมที่ลวดเชื่อมนัน้ ๆ จาก สาเหตุนี้ ที่ดานขางของกลองบรรจุลวดเชือ่ มจึงควรมีขอความพิมพติดไววา “การเชื่อมอาจทําใหเกิด ควันและแกสซึ่งอาจเปนอันตรายตอสุขภาพ พึงหลีกเลีย่ งการหายใจหรือสูดดมควันและแกส” ควร ใชระบบระบายอากาศที่ดี ซึง่ จะศึกษาไดจาก American National Standard Z 49.1 ซึ่งอธิบายถึง ความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด ซึ่งจัดทําโดย AWS โดยเฉพาะการเชื่อมงานในเนื้อที่เฉพาะ ควร ตองใหอากาศจากภายนอกหมุนเวียนเขามาอยางสม่ําเสมอ และควรมีผูอยูขางนอกหนึ่งคนคอยให ความชวยเหลือเมื่อจําเปน การเชื่อมโลหะจําพวกตะกัว่ ทองแดง แคดเมี่ยม และสังกะสี ควรมี เครื่องมือพิเศษเปนตัวดูดแกสเสียเหลานี้ 6.1.3 การลุกไหมและการเกิดการระเบิด การลุกไหมและการเกิดการระเบิด นับเปนอันตรายอันอาจเกิดขึ้นไดในขณะเชื่อม ถาไมหา วิธีปองกันที่ดพี อ การเชื่อมดวยลวดเชื่อมหุมฟลั้กซยอมทําใหเกิดประกาย และสะเก็ดไฟกระเด็น ซึ่ง เปนจุดใหเกิดไฟไหมและการระเบิดได ถาไมหาทางปองกันไวกอน สาเหตุที่ทําใหเกิดไฟไหมและ ระเบิด จะเนื่องจากการเกิดการลัดวงจรของไฟฟา หรือเกิดจากความรอนที่รอนจัดเกินไปที่สายเคเบิล หรือบางกรณีอาจเกิดจากสารจําพวกของเหลว ฉะนัน้ จึงควรมีอุปกรณที่ใชในการดับเพลิง อันเกิดจาก ไฟฟาเตรียมไวใหพรอม ซึ่งอาจไดแก CO2 หรือ Dry chemical type ที่บริเวณรอบ ๆ โรงงาน และ ใหงายตอการหยิบใช และควรมีการตรวจตราอยูเสมอ ใหอยูในสภาพพรอมใชงาน อีกสิ่งหนึ่งที่ผเู ชื่อมควรคํานึงถึงใหมากก็คอื การเชื่อมถังที่เคยบรรจุเชือ้ เพลิงไว ซึ่งอาจเปน สาเหตุทําใหเกิดไฟและการระเบิดได ฉะนัน้ ผูทํางานเชื่อมดานนี้ จึงควรคํานึงถึงและแนใจวาจะไมเกิด อันตรายขึ้นได 6.1.4 อันตรายที่เกิดขึ้นภายหลังการทําความสะอาดงานเชื่อมและอื่น ๆ อันตรายที่จะเกิดขึ้นภายหลังการเชื่อม ก็คือ การทําความสะอาดแนวเชื่อม ฉะนั้นผูเชื่อมจึง ควรปองกันผิวหนัง และตา จากการเคาะสแลกหนากาก ถุงมือ เสือ้ หนัง จะชวยปองกันผิวหนังจาก การใชฆอนเคาะสแลก หรือการใชหินเจียรนัย และควรสวมแวนตาเปนการปองกันรองจากการใช หนากากโดยสม่ําเสมอ ทั้งนี้เพราะเศษของโลหะอาจกระเด็นเขาไปภายในหนากากสวมไดเสมอ เศษของลวดเชือ่ มที่เหลือจากการเชื่อม นับเปนอันตรายอยางยิ่งที่ผูเชื่อมมักไมคํานึงถึง ทั้งนี้ เพราะหลังจากหมดลวดเชื่อมในเสนหนึ่ง ๆ ผูเชื่อมมักจะทิ้งลวดเชื่อมไวที่พื้น เมื่อผูเ ชิ่มเดินก็อาจไป เหยียบ ทําใหลื่นหกลมได ฉะนั้นทางที่ดคี วรหากลองแขวนไวที่โตะเชื่อม เมื่อผูเชื่อมเปลี่ยนลวดเชื่อม ก็ทิ้งเศษลวดเชื่อมไวที่กลอง ซึ่งทําใหเกิดความปลอดภัย และเปนระเบียบเรียบรอยอีกดวย
197
6.2 ความปลอดภัยทั่วไป (GENERAL WELDING SAFETY) หลังจากธุรกิจการเชื่อมไดเริม่ มาเปนเวลาประมาณครึ่งศตวรรษ ทําใหสามารถพิสูจนไดวา การเชื่อมไมเปนอันตรายตอรางกาย อยางไรก็ตามในงานชางทุกสาขา ถาผูปฏิบัติขาดความระมัดระวัง ก็ยอมเกิดอันตรายไดทั้งสิ้น การเชื่อมยอมจะไมทําใหเกิดอันตรายใด ๆ ถาผูเชือ่ มไดมีการปองกันและระมัดระวังอยู ตลอดเวลา จนสรางเปนนิสัยแหงความปลอดภัยขึ้น ขณะเดียวกันผูควบคุมควรจะไดเขมงวดเปน พิเศษในเรื่องของการปฏิบัติตามกฎแหงความปลอดภัยดังตอไปนี้ 1. ชุดปฏิบัติงาน จะตองแหง ติดไฟยาก กางเกงตองไมพับที่ปลายขา รองเทาตองมีที่กําบัง เม็ดโลหะ มีถงุ มือหนัง แจคเก็ตหนัง และกระจกหนากากที่มีความเขมพอเหมาะ 2. บริเวณที่ทําการเชื่อมตองสะอาด 3. ตองแนใจวาไมมีวัสดุติดไฟงายอยูใกลกับที่ ๆ ทําการเชื่อม 4. อยาเชื่อมในบริเวณใกลกับวัตถุที่สามารถเกิดระเบิด หรือใกลคารบอนเทตตราคลอไรด 5. ตองแนใจวาบริเวณที่ทําการเชื่อมมีการถายเทอากาศอยางเพียงพอ 6. ถาทําการเชื่อม ตะกัว่ แคดเมีย่ ม โครเมี่ยม แมงกานีส ทองเหลือง บรอนซ สังกะสี หรือ โลหะอาบสังกะสี จะตองมีเครื่องดูดควัน (Exhaust Fan) ดูดควันขณะเชื่อม 7. อยาเชื่อมใกลสารจําพวก คารบอนเทตตราคลอไรด (Carbon Tetrachloride) 8. เครื่องเชื่อมและอุปกรณจะตองรักษาใหอยูในสภาพดีเสมอ 9. ถาจําเปนตองตอสายเคเบิ้ลเขาดวยกัน ขอตอจะตองแนน และพันดวยเทปอยางปลอดภัย 10. เมื่อเลิกใชหวั จับลวดเชื่อม (Electrode Holder) ใหแขวนไวที่เครื่องหรือที่ ๆ จัดไว โดยเฉพาะ ระวังอยาใหหวั จับลวดเชื่อมไปโดนทอแกสใด ๆ 11. เครื่องเชื่อมจะตองมีสายดินเสมอ ตามปกติตอเขากับทอน้ําประปา 12. ที่ควบคุมการเชือ่ มชนิดเทาเหยียบ (Pedal Control) จําเปนตองมีที่กําบัง เพื่อปองกันการ เหยียบโดยบังเอิญ 13. ในกรณีทจี่ ําเปนตองเชื่อมบนพื้นที่เปยกชืน้ ตองสวมรองเทายาง (Rubber Boots) หรือ ยืนบนแผนไมที่แหง 14. ขณะเชื่อมจงยืนบนวัสดุที่แข็ง เชนคอนกรีตหรือพื้น 15. ถาเผอิญตองเชื่อมบนที่สูงโดยไมมีราวกั้น จงใชเข็มขัดนิรภัย (Safety Belt) เสมอ 16. ตองสวมหนากากที่มีความเขมของกระจกทีพ่ อเหมาะ 17. หองเชื่อมควรมีทานกั้นเพื่อปองกันการมองดวยตาเปลาจากคนอื่น 18. อยาเชื่อมหรือตัดงานที่วางติดอยูบนพื้นคอนกรีต 19. การใชทอรชชนิดหลอเย็นดวยน้ํา จงตรวจหารอยรั่วเสียกอน
198
6.3 ขอควรระวังในการเคลื่อนยายทอแกส (Safe Handling of Gas Cylinder) 1. เมื่อมีการเคลื่อนยายทอแกสใด ๆ จะตองใหความระมัดระวังเปนพิเศษ ทอแกสจะตองมี ฝาครอบ (Cap) หามกลิ้งไปในแนวนอน 2. หามใชแกสในทอเปาฝุนผงแทนหัวฉีดลมจากทอลมธรรมดา 3. กอนประกอบหัวปรับความดัน (Regulator) เขากับทอแกส ใหเปดลมในทอเปาฝุนที่ หัวตอแลวปดอยางรวดเร็ว ซี่งวิธีการเชนนี้เราเรียกวา “Cracking” 4. เปดลิ้นลมที่ทอแกสอยางชา ๆ หลังจากตอหัวปรับความดันเขากับทอเรียบรอยแลว 5. ตองแนใจวาขอตอทุกแหงแนนและไมรั่ว โดยการตรวจดวยน้ําสบู 6. เมื่อเลิกใชหัวปรับความดันควรหมุนสกรูปรับความดันออกจนลิ้นปดสนิท 7. จะตองไมทําใหสายยางไดรับการขีดขวน หรือเปนรอยตัดจากเครือ่ งมืออื่น 8. หลังการเชื่อมจะตองปดลิ้นที่ทอ ปลอยแกสจากหัวปรับ (Regulator) และทอยาง (Hose) ออกใหหมด 9. ประแจปดทอแกสจะตองคาอยูที่ทอแกสตลอดเวลา 10. ทอแกสจะตองอยูในตําแหนงตั้งตรงเสมอ 11. ทอแกสใดที่ใชจนหมดแลว ควรมีเครือ่ งหมายบอกใหทราบวา หมดแลว หรือ ทอเปลา 12. อยาเปดลิ้นที่ทอแกสกอนทีไ่ ดแนใจวาลิ้นหัวปรับความดัน (Regulator Valve) ปดสนิท เสียกอน 13. หามปด – เปดลิน้ ทอแกสดวยคอน 14. อยาขันสกรูที่หวั ปรับความดันแนนเกินไป 15. หามใชทอแกสแทนลูกกลิ้ง แมวาทอนั้นจะเปนทอเปลาแลวก็ตาม 16. หามเก็บทอแกสไวในหองที่มอี ุณหภูมิสูงเกินวา 80 ดีกรีฟาเรนไฮท 6.4 กฎแหงความปลอดภัยในการเชื่อมแกส (Safety Regulations For Oxyacetylene Welding) 1. ตรวจขอตอทุกจุดกอนที่จะทําการจุดไฟ 2. ถาเกิดไฟกลับ (Flashes Back) ใหรีบปดลิน้ ทอทั้งสองทันที ใหปด ลิ้นทอออกซิเจน กอน และลิ้นทออเซททีลีนทีหลัง 3. อยาเก็บหัวทิป (Welding Tip) ปนกับเครื่องมืออื่น ๆ ซึ่งจะทําใหบา (Seat) ที่หัวทิปเสีย 4. จงใชหวั เชือ่ มหรือหัวตัด (Welding or Cutting Tip) ใหถูกขนาด 5. ลิ้นทอออกซิเจนตองเปดใหหมดเกลียว สวนลิ้นทออเซททีลีน เปดไมเกิน 1 รอบ 6. หัวทิปเชื่อมควรใสหันปลายไปทางขางทอรช (Torch) ทางดานหัวตอสายยางอเซททีลีน 7. หามใชน้ํามันหรือจารบีกับขอตอของออกซิเจนหรืออเซททีลีน อยางเด็ดขาด 8. การเชื่อมควรใหกระทําหางจากทอแกส อยางนอย 5 ฟุต
199
9. หามใชคอนกับหัวปรับความดัน 10. หามใชไมขีดไฟจุดหัวทิป ใหใชไลเตอร (Lighter) 11. กอนจุดไฟ ตรวจใหดีอกี ทีวา ณ บริเวณใกล ๆ นั้น ไมมีสารที่ติดไฟงายอยู 12. จงระวังเรื่องความดันของแกสอเซททีลีน หามใชความดันของอเซททีลีนเกิน 15 ปอนด ตอตารางนิ้ว (แกสอเซททีลีนจะระเบิดอยางรุนแรงถาความดันเกินกวา 15 ปอนดตอตารางนิ้ว) 13. อยาถือหัวเชื่อมหรือหัวตัดใกลกับงานมากเกินไปขณะเชื่อม 14. หามใชหวั ทิปที่กําลังรอนจัด 15. หามใชทอรช (Torch) ที่รั่ว 16. หามปลอยใหไฟติดอยูขณะที่ทานไปที่อื่น แมชั่วขณะหนึ่ง 17. อยาปลอยใหลิ้นที่ทอรชเปดทิ้งไว 18. หามปรับแตงสวนภายใน ทดลองหรือดัดแปลงกับทอแกส หัวปรับความดันและ เครื่องมือเชื่อมแกสอื่น ๆ 19. หามเชื่อมภาชนะที่ปดผนึกไวโดยรอบ ซึ่งไมมีทางระบาย และจะตองไมเชื่อมภาชนะที่มี สารที่ติดไฟไดอยูภายในจนกวาจะไดขจัดสารเหลานั้นออกจนหมด หรือทําไมใหเกิดการลุกไหมได (Purged) และการเชื่อมจะตองกระทําอยางระมัดระวัง
200
บทที่ 7 ขอบกพรองในรอยเชื่อม (WELDING DEFRCTS AND DISCONTIUNITIES) กรรมวิธีการเชือ่ มดวยลวดเชือ่ มหุมฟลั้กชกเ็ หมือนกับกรรมวิธีการเชื่อมแบบอื่น ๆ ที่ยอ มตอง มีปญหาในการเชื่อม แตปญหาและขอบกพรองเหลานี้ก็เรื่องที่สามารถแกไขได ปญหาและ ขอบกพรองอาจจะมาจากโลหะที่ใชในการเชื่อม ปญหาหรือขอบกพรองบางอยางอาจแกไขภายหลัง ได แตบางปญหาหรือกรณีจําเปนตองแกไขฉับพลัน การใชวิธีการเชื่อมที่ไมดีถูกตอง ก็ยอมเปน สาเหตุหนึ่งใหเกิดขอบกพรองในการเชื่อมได ขอบกพรองที่มักเกิดขึน้ กับการใชลวดเชื่อมหุมฟลั้กช ก็ คือ การเกิดสแล็คฝงในแนวเชื่อม (Slag Inclusion) Wagon Tracks, Porosity, Warmhole Porosity, Undercutting, Lack of Fusion, Overlapping, Burn Through, Arc Strick, Crater and Excessive Weld Spatter สิ่งตาง ๆ ดังที่กลาวมานี้ ลวนแตเปนสาเหตุทําใหรอยเชื่อมขาดความแข็งแรงเกิดการ แตกราว และขาดคุณภาพทีด่ ีตองานเชื่อมทั้งสิ้น อีกปญหาหนึ่งที่ทําใหลดคุณภาพของการเชื่อมลงไป ไดก็คือ Are, Blow, Fingernailing และลวดเชื่อมหุมฟลั้กชนั้น ๆ มีความชื้นสูงเกินไป 7.1 สาเหตุที่เกิดขอบกพรองในทางการเชือ่ ม (Defects Caused By Welding Technique) Slag Inclusions
รูปที่ 7 – 1 Slag Inclusions Slag Inclusion เกิดขึ้นเมื่อขณะที่เราเชื่อมงาน สวนหนึ่งของ Slag ไปติดอยูทดี่ านในของ โลหะที่เรากําลังเชื่อม ซึ่งทําใหงานเชื่อมไมแข็งแรง ซึ่งมีสาเหตุมาจาก 1. ความเร็วในการเคลื่อนลวดเชื่อมไมสม่ําเสมอ 2. การสายลวดเชือ่ มกวางเกินไป 3. เคาะสแล็คออกจากแนวเชื่อมไมหมด 4. ใชลวดเชื่อมขนาดใหญเกินไป 5. ควบคุมการเชือ่ มไมดีพอ
201
ขอบกพรองเหลานี้สามารถปองกันไดโดย 1. เคลื่อนลวดเชือ่ มใหสม่ําเสมอและถูกแบบ 2. สายลวดเชื่อมใหอยูใ นขอบเขตกําหนด 3. พยายามเคาะสแล็คออกใหหมดกอนเริ่มเชือ่ มทุกครั้ง 4. ใชลวดเชื่อมขนาดเล็กลงมา 5. ควบคุมการเชื่อมใหตึง ใชระยะอารคใหถูกตอง เพิ่มความเร็วในการเคลื่อนลวดเชื่อม หรือเปลี่ยนแปลงมุมของลวดเชื่อม Wagon Tracks
ดานบนสุดตามแนวเชื่อม
รูปที่ 7 – 2 wagon Tracks Wagon Tracks คือสาเหตุหนึ่งของ Slag Inclusion แตเกิดเปนแนวตามยาวขนานไปกับ แนวเชื่อม สาเหตุที่เกิดก็คือ ขณะเชื่อมปลอยให Slag วิ่งนําหนาบอหลอมละลายและหรือปลอยให Slag ฝงตัวอยูข าง ๆ แนวเชื่อมแลวเคาะออกไมหมด ซึ่งทําใหเกิดขอบกพรองชนิดนี้ที่ Toe ของ แนวเชื่อม Porosity
รูปที่ 7 – 3 Porosity
202
Porosity คือ การเกิดโพรงอากาศขึ้นในแนวเชื่อมไปตามความยาวของแนวเชื่อม หรืออาจ กระจัดกระจายเปนกลุม ๆ Porosity ก็เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหงานขาดความแข็งแรงเชนเดียวกัน Slag Inclusion สาเหตุที่เกิดอาจมาจาก 1. ใชกระแสมากเกินไป 2. มีสิ่งสกปรกมากเชน ฝุนละออง จารบี น้ํามัน บนผิวหนาของงานทีจ่ ะเชื่อม 3. มีความชื้นในลวดเชื่อมมาก 4. โลหะหลักไมมีความบริสุทธิ์ เชนมี กํามะถันและ Phosphorous ผสมอยู 5. ระยะอารคที่ใชชิดเกินไป ยกเวน กรณีใชลวดเชื่อม Low – Hydrogen หรือ Stainless Steel 6. ความเร็วในการเคลื่อนลวดเชื่อมเร็วเกินไป ซึ่งเปนสาเหตุใหบอหลอมละลายเย็น ตัวลงเร็วกอนที่แกสจะระเหยออกหมด ขอบกพรองเหลานี้สามารถปองกันไดโดย 1. ใชกระแสใหตา่ํ ลงมา 2. ทําความสะอาดงานกอนทําการเชื่อม 3. อบลวดเชื่อมใหไดตามอุณหภูมิกําหนด 4. เปลี่ยนโลหะหลักใหมใหมสี วนผสมอยางกับที่กลาวมาแลว 5. ใชระยะอารคที่สูงนั้นเล็กนอย 6. ลดความเร็วในการเคลื่อนลวดเชื่อม เพื่อใหแกสไดระเหยออกทัน 7. ใหความรอนกอนการเชื่อม ใชลวดเชื่อมตางชนิดกัน หรือกระทําทั้งสองแบบ Wormhole Porosity (Piping Porosity)
รูปที่ 7 – 4 Wormhole Porosity Wormhole porosity เปนชื่อที่เรียกการเกิดขอบกพรองอันนี้ซึ่งคอนขางยาว สาเหตุเกิดจาก โพรงอากาศในขณะรอยเชื่อมนั้นเย็นตัว หรือมาจากกํามะถันที่ผสมอยูในโลหะนั้น ความชื้นที่รอยตอ ก็เปนสาเหตุหนึ่งดวย ซึ่งก็ปอ งกันการเกิดไดโดย การเคลื่อนลวดเชื่อมใหชาลง ทั้งนี้เพื่อใหแกสชีลได ระเหยออกกอนที่โลหะนัน้ จะเย็นตัว
203
Undercutting
รูปที่ 7 – 5 Undercutting Undercutting ก็คือการเกิดการกินลึกทีข่ อบดานบนของชิ้นงานเชื่อม ซึ่งทําใหรอยเชื่อมเกิด รอยเวา ๆ แหวง ๆ ซึ่งเปนสาเหตุทําใหงานไมแข็งแรง และทําใหเกิดการแตกราว สาเหตุที่เกิดมาจาก 1. ใชกระแสเชื่อมสูงไป 2. ระยะอารคสูงไป 3. สายลวดเชื่อมกวางเกินไป 4. เคลื่อนลวดเชือ่ มเร็วเกินไป การเชื่อมทาตั้ง (Vertical) ทาขนานนอน (Horizontal) มักเกิดสาเหตุนี้ไดงายอันเนือ่ งมาจาก ใชลวดเชื่อมขนาดใหญเกินไป และใชมุมของลวดเชื่อมไมถูกตอง ขอบกพรองเหลานี้สามารถปองกันไดโดย 1. เลือกใชกระแสที่ถูกตองกับชนิดและขนาด ตลอดจนทาเชื่อมนั้น ๆ 2. ใชระยะอารคใหชิดกับงานเทาที่จะทําได 3. หยุดลวดเชื่อมที่เอนทั้งสองดานของแนวเชือ่ ม เมื่อใชเทคนิคในการสายลวดเชื่อม 4. ใชความเร็วในการเคลื่อนลวดเชื่อมใหเหมาะสม ทั้งนี้เพือ่ ใหลวดเชื่อมเติมเต็มขอบของ ชิ้นงาน Lack of Fusion
รูปที่ 7 – 6 Lack of Fusion
204
Lack of Fusion ก็คือ เมื่อเชื่อมงานแลวไมทําใหโลหะหลักหลอมละลายซึ่งเกิดขึ้นระหวาง โลหะหลักและโลหะตัวเติม หรือระหวางการเติมรอยเชือ่ มหนึ่ง ๆ ในขณะที่ตองเชื่อมหลายแนวเชือ่ ม สาเหตุที่ทําใหเกิดก็คือ 1. เคลื่อนลวดเชือ่ มเร็วเกินไป 2. ขนาดลวดเชื่อมใหญเกินไป 3. กระแสที่ใชต่ําไป 4. การเตรียมรอยตอไมดีพอ 5. น้ําโลหะละลายล้ําหนาการอารคมากไป ขอบกพรองเหลานี้สามารถปองกันไดโดย 1. ลดความเร็วในการเคลื่อนลวดเชื่อม 2. ใชลวดเชื่อมใหขนาดเล็กลงมา 3. เพิ่มกระแสใหสูงขึ้น 4. เตรียมรอยตอใหดแี ละถูกตอง 5. ใชมุมลวดเชื่อมใหถูกตอง Overlapping
รูปที่ 7 – 7 Overlapping Overlapping ก็คือ สวนเกินของแนวเชื่อมที่ยื่นล้ําออกมาจาก Toe หรือขอบของแนวเชื่อม ซึ่งเปนสาเหตุทําใหเกิดการหลอมละลายที่ไมดี และสวนเกินเหลานี้ก็จะเปนสาเหตุทําใหเกิดการ แตกราวไดเชนกัน สาเหตุเหลานี้อาจเกิดไดจาก 1. ความเร็วในการเคลื่อนลวดเชื่อมชาไป ซึ่งทําใหทอหลอมละลาย ล้ําหนาลวดเชื่อมมากไป 2. ลวดเชื่อมทํามุมไมถูกตอง เปนสาเหตุใหแรงที่เกิดอารคผลักนําโลหะใหออกไปนอกจุด ที่หลอมละลาย 3. การเชื่อมงานที่สายกราวน ไมแนน และใชกบั ลวดเชื่อมประเภท E 6020, E 6027, E 7024 และ E 7028 ซึ่งทอหลอม หลอมไดรวดเร็ว
205
ขอบกพรองเหลานี้สามารถปองกันไดโดย 1. เคลื่อนลวดเชือ่ มใหเร็วขึน้ 2. ทํามุมของลวดเชื่อมใหถูกตอง ซึ่งจะไมทําน้ําโลหะออกไปเย็นตัวที่ขอบของโลหะหลัก 3. ตบแตงโลหะสวนที่เกินออกเสีย Burn Through
รูปที่ 7 – 8 Burn Through Burn Through ก็คือ เมื่อการเชื่อมแลวทําใหรอยเชื่อมไหมเปนทางทีผ่ ิวดานบนของสุดของ แนวเชื่อม สาเหตุเหลานี้อาจเกิดจาก 1. ใชกระแสมากเกินไป 2. เคลื่อนลวดเชือ่ มชาไป 3. เปด Root Gap กวางเกินไป ขอบกพรองเหลานี้สามารถปองกันไดโดย 1. ลดกระแสลงมา 2. เคลื่อนลวดเชือ่ มใหเร็วขึน้ 3. ลด Root Gap ใหแคบลง Arc Strikes มีขอหามมากมายที่ไมใหเริม่ ตนอารคบนผิวหนาของชิน้ งาน ทั้งนี้เพราะจะทําใหเกิดริ้วรอย หรือจุดบนหนางานนอกบริเวณรอยตอ ซึ่งอาจทําใหเกิดผลเสียเพราะเปนจุดที่อาจทําใหเกิดแตกราว บนผิวหนาของงานหลังจากที่ตองเคาะสะเก็ดเหลานัน้ ออก จึงไมควรทําใหเกิดอยางยิ่งในการเชื่อม
206
Craters
รูปที่ 7 – 9 Weld Crater Crater ก็คือบริเวณที่ลาดต่าํ ตอนสุดทายของแนวเชื่อม ซึ่งจุดนี้เปนจุดที่หยุดเชื่อม จึงทําให เกิดสาเหตุจากการเย็นตัวของโลหะหลังจากหยุดเชื่อม ซึ่งทําใหเกิดรอยแตกราวไดและอาจลามไปถึง แนวเชื่อม หรือโลหะหลัก บริเวณที่เสร็จสิ้นการเชื่อมเราอาจใชฆอนเคาะหรือเจียระไน หรือไมก็ พยายามเติมบริเวณสุดทายของรอยเชื่อมใหเต็ม โดยการเติมลวดเชื่อมยอนกลับหลังกอนที่ทําการเชื่อม จะเสร็จสิ้นลง การเกิดสะเก็ดโลหะมาก (Excessive Weld Spatter) การเกิดสะเก็ดโลหะที่มากเกินไป ซึ่งทําใหไดแนวเชื่อมที่ไมดี สูญเสียลวดเชื่อมและทําให เคาะสแลกออกไดยาก เปนสาเหตุทําใหการหลอมละลายไดดี โดยเฉพาะการที่ตองเชื่อมหลาย ๆ แนว เชื่อม ถาสะเก็ดนั้นหยาบ ก็สาเหตุมาจากระยะอารคสูงเกินไป แตถาสะเก็ดนั้นละเอียด สาเหตุมาจาก ใชกระแสสูงเกินไป ซึ่งก็แกไขสาเหตุเหลานี้โดยลดระยะใหสั้นลง และลดคาของกระแสใหต่ําลง รอยแตกราว (Cracking) Cracking อาจมีสาเหตุไดหลายอยางเชนใชวิธีการเชือ่ มที่ไมถูกตอง ผูเชื่อมใชเทคนิคไมถูก หรือสาเหตุมาจากโลหะทีน่ ํามาใชในการเชือ่ ม ซึ่งอาจแยกสาเหตุที่ทาํ ใหเกิดแตกราวไดหลายอยาง เชน Hot Cracking , Cold Cracking , Cold Cracking จะเกิดขึน้ เปนแนวยาวไปตามแนวเชือ่ ม หรือเกิดขึ้นตามทางขวางแนวเชื่อมก็ได การเกิดการแตกราวขวางแนวเชื่อมมักเปนไปในทางตั้งฉาก กับแกนของแนวเชื่อม ขณะทีก่ ารแตกราวตามแนวยาวของรอยเชื่อมก็จะขนานไปตามแกนของแนว เชื่อมเชนกัน สาเหตุการเกิดของทั้งสองแหงนี้สืบเนื่องมาจาก ความรอนทําใหเกิดการหดตัว และเกิด ความเครียดทีผ่ ิวหนาของแนวเชื่อม หรือจากสาเหตุของรอยตอที่ใหญ ๆ และเกิดการเย็นตัวเร็วกวา ที่ควร Hot Cracking จะเกิดการเชือ่ มที่ใชอุณหภูมิสูง ๆ และจะเกิดขึ้นหลังจากที่โลหะเชื่อมเริ่มเย็น ตัวลง สาเหตุที่เกิดการแตกราวแบบนี้อนั เนื่องจากมีกํามะถันและ Phosphorous หรือตะกัว่ ผสมอยูใน
207
โลหะหลักมากนั่นเอง บางสาเหตุอาจมาจากการหยุดเชื่อมที่ปลายสุดทาย (Crater) ไมถูกวิธี เมือ่ เชื่อม แนว แนวแรก (Root Pass) เมื่อเปรียบเทียบเนื้อที่หนาตัดของแนวเชื่อมตอเนื้อที่ของโลหะหลัก Hot Cracking มักจะเกิดขึ้นที่งานที่ตอ งการซึมลึกมาก ๆ และจะทําใหเกิดตอมากับแนว เชื่อมตอ ๆ ไป ถาไมมีซอม เราก็จะปองกันทําใหเกิดสาเหตุนี้นอยลงไดโดย 1. ใหความรอนกอนเชื่อม 2. ใชลวดเชื่อม Low – Hydrogen 3. ทําใหแนวเชื่อมใหญขึ้น 4. พยายามเปลี่ยนแปลงลักษณะของแนวเชื่อม (Brad Contour) 5. ใชโลหะหลักที่มีสวนผสมของกํามะถัน , Phosphorous และตะกั่วต่ํา การเกิดการแตกราวในขณะโลหะรอน (Hot Crack) มีสาเหตุเนื่องจากในขณะหยุดหรือเสร็จ สิ้นการอารคที่ไมถูกวิธี การเกิดการแตกราววิธีนดี้ ูจากรูปที่ 7 – 10 การปองกันการแตกราวในขณะโลหะรอนนี้ปองกันไดหลายวิธีการ และวิธีหนึ่งที่ใชไดผลดีก็ คือ เมื่อเสร็จสิ้นการเชื่อมแนวหนึ่ง ๆ แลว ใหเดินลวดเชือ่ มยอนหลังเพือ่ เติมที่ปลายแนวเชื่อมทุกครั้ง กอนที่จะหยุดเชื่อมแนวนั้น ๆ
รูปที่ 7 – 10 Crater Cracks การเกิดการแตกราวในขณะที่โลหะเย็นตัว (Cold Cracking) มักเกิดขึน้ ขณะทีเ่ ชื่อมงานเสร็จ แลว และโลหะที่หลอมละลายแข็งตัวแลว และอาจเกิดภายหลังเชื่อมเปนเวลา ๆ หลายวันได สาเหตุ เนื่องมาจากไฮโดรเจนที่รวมตัวอยูใ นขณะทําการเชื่อมรอยตอที่ใหญ และหรือปลอยใหโลหะเย็นตัว เร็วเกินไป การใหความรอนกอนการเชื่อม หรือใชลวดเชื่อมประเภทไฮโดรเจนต่ํา จะชวยแกปญหา เหลานี้ได การเกิดการแตกราวที่เรียกวา Certer Line Crack มักเกิดภายหลังโลหะเย็นตัวแลว และเกิด ขึ้นกับการเชื่อมตัวที่แนวเชื่อมจะคอนขางเวา (Concave) ลักษณะการเกิดจะเกิดเปนเสนตรงยาวที่ หลังแนวเชื่อม ซึ่งดูจากรูปที่ 7 – 11
208
รูปที่ 7 – 11 Centerline Crack ปญหานี้จะเกิดจาก 1. แนวเชื่อมคอนขางเล็ก การเชือ่ มถังโลหะหลักที่หนา ๆ 2. การเตรียมงานเชื่อมไมดี 3. รอยตอคอนขางใหญ วิธีการหลักที่จะปองกันการเกิด Centerline Crack ก็คือ 1. พยายามเชื่อมใหแนวเชื่อมโตขึ้น 2. เวนรอยตอใหเล็กลง 3. อยาบากงานใหเปนมุมกวางมากนัก 4. คํานึงถึงตัวปลาย Crater เมื่อเสร็จสิ้นแนวเชื่อมหนึ่ง ๆ การเกิดการแตกราวที่โลหะหลัก หรือขางใตแนวเชื่อม ก็เปนสาเหตุหนึ่งที่เกิดขึน้ ในขณะ ที่โลหะเย็นตัวแลว และเกิดจากความรอนที่เกิดขึ้นในบริเวณการเชื่อม (HAZ) สาเหตุเชนนี้ เกิดขึ้น เนื่องจากการควบคุมการอารคเปนไปโดยไมสม่ําเสมอ ซึ่งดูจากรูปที่ 7 – 12 การเกิดการแตกราวที่โลหะหลักมักเกิดทีบ่ ริเวณการเกิดการหลอมละลาย (HAZ) สาเหตุจะ เนื่องมาจาก มีรอยตอที่คอนขางใหญ , ไฮโดรเจน และโครงสรางของโลหะเปราะ และโครงสรางของ โลหะเปราะ มีสาเหตุเนื่องจากการเย็นตัวของโลหะเปนไปอยางรวดเร็วหรือใชความรอนในการเชือ่ ม สูงเกินไป ซึง่ สาเหตุทั้งสองประการนี้ก็ปอ งกันไดโดย ใหความรอนกอนการเชื่อม หรือใชลวด เชื่อมโลโดรเจนต่ํา
รูปที่ 7 – 12 Underbead Cracks
209
รอยแตกแยกชัน้ (Lamellar Tearing) ดังที่แสดงในรูปที่ 7 – 13 หมายถึง รอยแตกซึ่งเกิด ภายใตแผนใตรอยเชื่อมและบริเวณทีไ่ ดรับผลจากความรอน รอยแตกแยกชัน้ เกีย่ วของกับความเครียด (ซึ่งเกิดจาการหดตัวของรอยเชื่อม) ซึ่งจะผลักดันใหแผนแยกตัวออกจากกันในทิศทางตามความหนา อันเปนทิศทางที่ออนแอที่สุดของแผน รอยแตกแบบนีจ้ ะขนานไปกับผิวของแผนและมีลักษณะแตก เปนขั้นบันได ปกติรอยแตกชนิดนี้จะเกิดขึน้ ระหวางการเชื่อมแผนหนาที่มีการจับยึดตัวสูง
รูปที่ 7 – 13 รอยแตกแยกชัน้ 7.2 การซอมขอบกพรองในรอยเชื่อม หนาตัดของรอยแตกในแผนปริมาณมาก อาจตองทําการเซาะออกและเติมเนื้อใหม การเอา เนื้อหนาตัดปริมาณมากหรือทั้งหมดของแผนออกเนื่องจากรอยแตกหรือรอยบกพรองขนาดเล็กอาจไม เปนการสมควรนัก ถาใชขบวนการเชื่อมที่เหมาะสมในการซอมแลว ไมจําเปนตองทําการเปลี่ยนเนื้อ ใหมเกินระยะประมาณ 1 เมตร (3 ฟุต) จากรอยบกพรองถาเนื้อที่เหลือของแผนนั้นมีความแนนหนาดี อยูแลว ถาคนพบรอยแตกในแผน โดยเฉพาะขณะที่เรือยังลอยน้ําอยู จะตองทําการเจาะรูอยาง ระมัดระวังในทันทีที่ปลายของรอยแตกเพือ่ ระงับการขยายตัวของรอยแตก ถาไมมีวิธีการตรวจสอบ เชน การใชผงแมเหล็กหรือการฉายรังสีเอ็กซเพื่อหาปลายของรอยแตกแลว รูนจี้ ะถูกเจาะเลยหลังรอย แตกที่มองเห็นดวยตาที่ผิวไปเล็กนอย เนือ่ งจากสวนของรอยแตกทีก่ ึ่งกลางความหนาจะขยายตัวออก เล็กนอยจากสวนปลายของรอยแตกทีเ่ ห็นไดจากผิว หลังจากนั้นบริเวณที่บกพรองควรจะไดรับการ ซอมทํา การทําทุบ (Paening) ไมควรใชในการแกขอบกพรองในรอยเชื่อม เพราะมันไมสามารถ กําจัดอันตรายจากขอบกพรอง ซึ่งเปนตัวที่ทําใหเกิดการเริ่มแตก (Crack Starter) ได รอยแตกใดใดที่ พบในรอยเชื่อมจะตองถูกเอาออกโดยสิ้นเชิงกอนทําการซอม รอยแหวง (Sear) ลึกจะตองทําการเชื่อมซอมและเจียรใหเรียบ รอยแหวงตืน้ สามารถทําให เรียบไดโดยการเจียร ถาไมทาํ ใหความหนาลดลงเกินกวาขีดจํากัดทีย่ อมรับได รอยแหวงที่เกิดจากการ เอาที่จับยึดออกโดยการตีหักดวยฆอนอาจเปนปญหาไดโดยเฉพาะในกรณีของเหล็กทนแรงดึงสูง รอย
210
แหวงลึกเกิดจากโลหะเชื่อมของที่จับยึดดึงเอาเนื้อจากผิดของแผนออกมาดวย เปนการดีกวามาก ถาจะ สกัดหรือใชการตัดดวยอารค (Are Air) และเจียรใหเรียบ บางครั้งที่จับยึดจะถูกตัดออกระยะประมาณ 3 มม. (1/8 นิ้ว) จากผิวของแผนโดยทิ้งไวเชนนั้น 7.3 ปญหาอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในการเชื่อม Arc Blow กระแสไฟฟาที่ใชในการเชือ่ มจะไหลไปยังลวดเชื่อม, ชิ้นงาน และทีส่ ายดิน (Ground Cable) และจะทําใหเกิดสนามแมเหล็กโดยรอบ ๆ ตัวของสายเชือ่ ม และเมื่อสนามแมเหล็กนั้นไมอยูใ นภาวะ สมดุลย คือเกิดการเบีย่ งเบน ไปในลักษณะนอกทิศทาง ปญหาที่เกิดเชนนี้เรารียกวา Arc Blow ลักษณะการเกิดเชนนี้ อาจอยูในทิศทางของแนวการเชื่อมหรือเกิดตรงขามกัน และบางกรณีอาจเกิดใน แนวดานขาง Arc Blow จะเปนสาเหตุทาํ ใหเกิดมี Spatter มากและทําใหการหลอมละลายของงาน ไมดี เครื่องเชื่อมกระแสตรง มักเกิด Arc Blow ไดสูง และมักจะเกิดขึ้นในขณะเชื่อมขอบหรือมุม ชิ้นงาน หรือบริเวณทีใ่ กล ๆ กับรอยตอ Arc Blow มักเกิดเมื่อเชือ่ มงานที่เกียวกับโครงสรางที่ใช กระแสสูงและการเตรียมงานไมดีพอ สาเหตุที่ Arc Blow เกิดขึ้นกับเครื่องเชื่อมกระแสตรงก็คือ ใน การเชื่อมดวยกระแสตรง กระแสไฟจะวิ่งในทางเดียวกันการเกิดสนามแมเหล็กจึงอยูในทิศทาง เดียวกันตลอดเชนกัน แตขณะเดียวกัน Arc Blow จะไมเกิดขึ้นกับเครื่องเชื่อมกระแสสลับ ทั้งนี้ สนามแมเหล็กเกิดขึ้น และหมดไปตามจังหวะของกระแสสลับนั่นเอง การเกิด Arc Blow ที่มีทิศทางหักเหของกระแสไปขางหนา มักเกิดจากการเชื่อมที่ไกลจาก สายกราวด และสวนการเกิด Arc Blow ที่มีทิศทางหักเหของกระแสไปขางหลัง ก็สาเหตุจากสายดิน เชื่อมใกลมุม หรือบริเวณรอยตอซึ่งมีสาเหตุมากมาย แตก็จะสามารถแกไขปญหาไดโดย 1. ใชกระแสสลับในการเชื่อม 2. อยาตอสายดินใหใกลบริเวณที่จะเชื่อมงาน 3. ลดกระแสที่ใชการเชื่อมลง และพยายามใหสายเชื่อมสั้นที่สุดเทาที่จะทําได การควบคุมความชื้นในลวดเชื่อม ลวดเชื่อมหุมฟลั้กช มักจะมีความชื้นอยูม าก และความชื้นที่มีอยูในสารพอกหุมนีก้ ็จะเปน สาเหตุหนึ่งกับลวดเชื่อมได ชนิดหรือเปอรเซ็นตของความชื้นที่ใชกับลวดเชื่อมเหล็กกลาหุมฟลั้กช ดู จากตารางที่ 7 – 14
211
ตารางที่ 7 - 14 เปอรเซ็นตความชื้นที่ควรมีในลวดเชือ่ มเหล็กกลา ชนิดของลวดเชื่อม E - 6010 E - 6011 E - 6012 E - 6013 E - 6027 E - 7014 E - 7016 E - 7018 E - 7024 E - 7028
ความชื้น 3 - 6% 3 - 5% . 8 - 1.2 % . 8 - 1.2 % .4 - .6% .4 - .6% .3 - .5% .3 - .5% .4 - .6% .4 - .6%
ลวดเชื่อม E - 6010 และ E - 6011 มักเปนลวดเชื่อมที่มีความชื้นสูงในสารพอกหุมและก็ สามารถใชไดเปนอยางดีถึงแมความชื้นจะสูงกวาเกณฑกาํ หนด แตความชื้นที่คอนขางสูงในสารพอก หุมจะทําใหการเริ่มตนการอารคกระทําไดยาก แตกรณีที่สารพอกหุมมีความชื้นต่ําก็จะทําใหเกิดการ กระเด็นสูง ขณะเชื่อมและอาจเกิดรูพรุนขึ้นได แตกรณีที่สารพอกหุม มีความชื้นสูง ก็จะทําใหการ เริ่มตนอารคไมดี และทําใหเกิดการแตกราวใตแนวเชื่อมได ลวดเชื่อมไฮโดรเจนต่ํา หรือที่เรียกกันวา โลไฮโดรเจน นั้นก็เพราะวาลวดเชื่อมมีความชื้นต่ํา ฉะนั้นลวดเชื่อมชนิดนี้จึงตองเก็บไวในทีแ่ หงจริง ๆ เพราะถามีความชืน้ สูงก็จะทําใหคุณสมบัติในการ เชื่อมเสียไป การเก็บรักษาไวนาน ๆ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองควบคุมเรื่องความชื้น ยกเวน ลวดเชื่อมที่มี สารพอกหุมจําพวก Cellulose ไมจําเปนตองควบคุมความชื้นเทาใด
212
บทที่ 8 การควบคุมคุณภาพงานเชื่อม (WELD QUALITY CONTROL) 8.1 มาตรฐานการปฏิบตั ิในการเชื่อม (WELDING WORKMANSHIP STANDARDS) ชางเชื่อมทุกคนเปนผูที่จะตองรับผิดชอบตองานเชื่อมของตน ฉะนัน้ จึงจําเปนจะตองปฏิบัติ ตามวิธีมาตรฐานที่ใชในการเชื่อมขางลางนี้ อันเปนวิธีจะทําใหแนวเชื่อมมีคุณภาพสูง ขอปฏิบัติ ขางลางนี้อาจเปนขอปฏิบัติตามมาตรฐานของบริษัทใด ๆ ก็ได โดยมี Code หรือขอกําหนดเฉพาะ กํากับไวอีกทีหนึ่ง ขอปฏิบัติมาตรฐานมีดงั ตอไปนี้ : 1. ผิวงานสวนทีจ่ ะเชื่อมจะตองปราศจากสนิม สี จารบี น้ํามัน น้ํา และอื่น ๆ 2. ในการบากงานสําหรับแนวตอแบบรอง จําเปนตองเวนระยะหางระหวางชิ้นงานทีแ่ นว เชื่อมสวนลาง (Root Opening) ใหพอเหมาะกับความหนาของงาน 3. ถาการตอแบบตัวที่ที่มีระยะหางของแนวเชื่อมตอมากกวา 1/16 ขนาดของแนวเชื่อม แบบฟลเลท จะตองเทากับขนาดที่กําหนดใหบวกระยะหางของแนวตอดวย 4. ในกรณีที่ตองการการ Preheat หรือ Interpass Temperature จะตองกระทําใหได อุณหภูมิตามทีก่ ําหนด 5. ลวดเชื่อมทีใ่ ชจะตองมีสวนผสมที่เขากับโลหะชิ้นงานได หรือใชลวดเชือ่ มตามที่กําหนด 6. จะตองทําตามวิธีการเชื่อมที่ถูกตอง ซึ่งหมายถึงการใชชนิดของลวดเชื่อมขนาด ตลอดจน อุณหภูมิในการ Preheat หรือ Interpass Temperature ที่ถูกตอง 7. แนวเชื่อมยึดใด ๆ ที่เกิดแตกราวหรือมีจุดบกพรองจะตองเอาออกใหหมดกอนที่จะเชื่อม แนวเชื่อมจริงทับลงไป 8. แนวเชื่อมที่มีการแตกรางหรือมีรูปรางผิดปกติ จะตองไดรับการซอมแซมเสียกอนที่จะ เชื่อมแนวตอไป 9. แนวเชื่อมสวนเกินหรือแนวเชื่อมที่มสี ารอื่นรวมตัวอยู (Porosity) จําเปนจะตองขจัดออก และทําการเชือ่ มใหม 10. หลุม (Crater) ที่ปลายแนวเชื่อมจะตองถูกเติมใหเต็ม กอนที่จะเชื่อมแนวตอไป 11. จะตองทําความสะอาดแนวเชื่อมเปนอยางดีโดยตลอด กอนที่จะเชื่อมทับดวยแนวเชือ่ ม แนวตอไป โดยเฉพาะอยางยิ่งกับแนวเชื่อมชนิด Multiple – Pass Weld 12. ขอกําหนดขนาดและความยาวของแนวเชื่อมบนพิมพเขียวหรือแบบ เปนขอกําหนดที่มคี า ต่ําสุด ตามปกติขนาดของแนวเชื่อมจะมีพกิ ัด (Tolerances) เทากับ + 1/6 – 0
213
13. ความนูนของแนวเชื่อมไมควรเกิน 1/16 สําหรับการเชื่อมดวยมือ 14. การแหวง (Under - cut) ไมเปนที่ยอมรับสําหรับแนวเชื่อมทีต่ องรับแรงหรือโหลด (Lode) สูง 15. แนวเชื่อมรองเปด (Root Opening) จะตองมีการละลายตลอดแนวหนาตัด ไมวาการ เชื่อมนั้นจะใชแผนปะกับหลังหรือไมก็ตาม 16. แนวเชื่อมที่ตรวจพบวามีสแลกหรือความไมเรียบรอยอยูภ ายใน จะตองเซาะออกจนหมด และทําการเชือ่ มใหม แตถาสแลกหรือจุดบกพรองนี้นอยอาจเปนทีย่ อมรับได 17. การแตกราวใตแนวเชื่อม ซึ่งตรวจพบดวยการทดสอบแบบ NDT จะตองเซาะออก (Gouged out) แลวทําการเชือ่ มใหม 18. งานทุกงานควรวางใหอยูในตําแหนงทาราบ (Flat) ถาเปนไปได 19. งานหรือแนวเชือ่ มเฉพาะอยางที่มีจํานวนมาก อาจนํามาตรวจสอบดวยตาหรือดวย NDT โดยวิธีสุม (Random) เพื่อพิจารณาคุณภาพของแนวเชื่อม 20. ชางเชื่อมอาจจะตองสอบใหม ถาผูตรวจ (Inspector) หรือผูใหคําแนะนํา (Super visor) สงสัยในผลงานเชื่อมของเขา 8.2 การทดสอบชางเชื่อม (WELDOR QUALIFICATIONS) กอนที่ชางเชื่อมจะเริ่มลงมือทํางานใด ๆ ก็ตามที่ควบคุมไวดว ย Code หรือขอกําหนดในการ เชื่อม เขาจะตองเปนผูไดรับการรับรองวาเปนผูที่สามารถปฏิบัติตามความตองการของขอกําหนด นั้น ๆ ได มี Code ตาง ๆ มากมายที่ใชกันในปจจุบนั แตในการสอบคัดเลือกชางเชื่อมจะกระทํา เฉพาะ Code ใด Code หนึ่งเทานั้นในแตละครั้ง งานตาง ๆ ที่ตองปฏิบัติตามขอกําหนดของ Code พอจะยกตัวอยางไดดังนี้ คือ ภาชนะหรือทอที่ตองรับแรงดันสูง (Pressure Vessels and Pressure Piping) สะพาน (Highway and railway bridges) สิ่งกอสรางสาธารณะ (Public Building) ถังหรือ ภาชนะที่ใชบรรจุวัสดุติดไฟและเกิดระเบิดได (Tank and Container) ทอที่ตอเชื่อมโยงระหวาง ประเทศ (Cross Country Pipe, Line) เครื่องบิน วัสดุที่ใชทําอาวุธ เรื่องงานตาง ๆ ดังกลาวมาแลวนี้ ยอมตองการวิธีการเชื่อมที่แนนอนมาตรฐาน การรับรองคุณสมบัติของชางเชื่อมของแตละ Code ยอมแตกตางกัน ชางเชื่อมที่ไดรับการ รับรองจาก Code อันหนึ่งไมไดหมายความวาไดรับการรับรองใน Code อื่น ๆ ดวยในเกือบทุกกรณี ที่ชางเชื่อมซึ่งไดรับการรับรองจากบริษัทหนึ่ง ยอมจะไมเปนทีย่ อมรับจากบริษัทอีกบริษัทหนึ่ง (นอกจากกรณีที่ชางเชื่อมผูนั้นไดรับการรับรองโดยตรงจากสมาคมของบริษัทเหลานัน้ ) ในทํานอง เดียวกัน ถาชางเชื่อมใชวิธีการเชื่อมที่แตกตางออกไปหรือใชลําดับการทํางานสลับกันมากจนเกินไป ก็ จําเปนจะตองมีการทดสอบกันใหม แตในกรณีที่ชางเชื่อมไดทําการเชือ่ มใน Code หนึ่งตอเนื่องกันมา เปนเวลานาน การทดสอบใหมยอมไมมีความจําเปนสําหรับชางเชื่อมผูนั้น เวนแตชา งเชื่อมผูอยูภายใต Military Aircraft Code จะตองมีการทดสอบในทุก ๆ 6 เดือน
214
การทดสอบอาจจะจัดใหมีขนึ้ โดยโรงงานหรือผูทําสัญญาทํางานนั้น ๆ ในการเชื่อมภาชนะ หรือทอรับแรงดันสูง ไมเพียงแตชางเชื่อมเทานั้นที่จะตองไดรับการทดสอบ แตวิธีการ (Procedure) ในการเชื่อมจะตองไดรับการรับรองเปนอันดับแรก สวน Code อื่น วิธีการดังกลาวอาจไมจําเปน ใน การทดสอบชางเชื่อม ชางเชื่อมจะตองทําการเชื่อมจากงานที่กําหนดให เชน กระบวนการเชื่อม โลหะ ชิ้นงาน ความหนา ชนิดของลวดเชื่อมตลอดจนทาเชื่อมและชนิดของแนวตอ ชิ้นทดสอบ (Specimens) จะตองเตรียมตามขนาดมาตรฐานและควบคุมดวยกรรมการที่ไดรับการคัดเลือกมาแลว ตามกฎของทางราชการจะตองมีผูตรวจของรัฐคนหนึ่งเปนผูรูเห็นในการทดสอบชิ้นงานนั้น วิธี ทดสอบธรรมดาที่ใชมากที่สดุ คือ “ทดสอบโดยการดัดงอ” (Guided Bend Test) อยางไรก็ตามใน บางกรณีอาจใชตรวจสอบดวยวิธี X – ray, ทดสอบโดยการหักดูเนื้อโลหะภายในหรือวิธีอื่น ๆ ถา การทดสอบปรากฏผลเปนที่พอใจและตรงตามมาตรฐาน ชางเชื่อมผูนนั้ ก็จะเปนผูไดรับการรับรองให ปฏิบัติงานเชื่อมภายใต Code นั้น ๆ โดยทั่ว ๆ ไป Code หนึ่ง ๆ จะกําหนดขนาดความหนาตาง ๆ ให รวมทั้งทาเชื่อมและสวนผสมของโลหะดวย การทดสอบเพือ่ รับรองคุณสมบัติของชางเชื่อม เปนวิชาหรือความรูทางเทคนิคอยางหนึ่งซึ่ง ไมสามารถนํามาอธิบายอยางละเอียดในหนังสือเลมนี้ได ฉะนั้นในการที่จะทดสอบแตละครั้งควร ศึกษา Code ที่จะทําการทดสอบลวงหนาใหเขาใจ CODE ที่สําคัญอันควรรู คือ Code ที่ใชกับการเชื่อมในการสรางตึก (Building Construction) AWS D 1.0 ขอกําหนด สําหรับการเชื่อมสะพาน (Welded Bridge) ที่ใชบนทางหลวงและทางรถไฟ AWS D 2.0 Code ของ ASME Boiler and Pressure Vessel มาตรฐานสําหรับการเชื่อมทอและสวนประกอบที่ เกี่ยวของ API # 1104 Code เหลานี้ มีจาํ หนายที่บริษทั โฮบารท
8.3 เทคนิคการควบคุณภาพของแนวเชื่อม
215
216
8.3.1 การตรวจสอบแนวเชื่อมดวยตาเปลา (VISUAL INSPECTION) วิธีการกับการใช การตรวจสอบแนวเชื่อมดวยตาเปนเทคนิคการตรวจสอยที่ใชกันมากทีส่ ุด และมีคุณคามาก ที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่งใชกับงานผลิตธรรมดา เปนวิธที ี่ใชเวลานอยและราคาถูกที่สุด ยิ่งไปกวานั้น เทคนิคการตรวจสอบนี้ยังชางในการตรวจสอบวิธีการเชื่อมไดอีกดวย ผูตรวจสอยจึงสามารถกําหนด วิธีการของการเชื่อมกับการผลิตไดในระหวางปฏิบัติงาน บางทีการตรวจสอบดวยตาอาจเกิดขอผิดพลาดขึ้นได เชนวิธีการผิดหรือวัสดุที่ใชผิด ดังนั้น การเชื่อมหรือซอมแซมใด ๆ ควรทดลองทําจากชิ้นทดลองเสียกอน เพื่อใหแนใจในเรื่องของชนิด โลหะที่ใช การเตรียมแนวตอ วิธีการเชื่อมตลอดจนเทคนิคการเชื่อม และอื่น ๆ วิธกี ารทดลองเชนนี้จะ ชวยปองกันความผิดพลาดไมใหเกิดขึ้นกับงานจริง โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับการเชื่อมโลหะที่เชือ่ ม ยากหรือที่มีราคาแพง ดวยการทดสอบวิธีนี้ผูตรวจสอบอาจตรวจสอบขอบกพรองตาง ๆ ดังตอไปนี้ การเตรียมงาน ขนาดตาง ๆ ดังตอไปนี้ การเตรียมงาน ขนาดตาง ๆ ความคงรูป (Alignment) รอยตอประชิด (Fit – up) ความสะอาด วิธีการเชื่อม การบิดงอ การตบแตง (Finish) ความละเอียดในการ Lay – out ผูตรวจสอบยังจะตองหาจุดบกพรองอื่น ๆ อีก เชน รอยเคาะ (Scabs) ตะเข็บ สนิม หรือ Scale สแลก การรวมตัวกับสารอืน่ ความหยาบ การกระเด็นของเม็ดโลหะ (Spatter) หลุมปลายแนวเชือ่ ม (Crater) Porosity การแหวง การเกย รอยแตกราวตลอดจนการกินลึก (Penetration) สิ่งเหลานี้ สามารถตรวจสอบไดอยางรวดเร็วและบันทึกผลการตรวจสอบไดทันที สําหรับการตรวจสอบดวยวิธีอื่น ผูตรวจสอบจําเปนจะตองเริ่มตนดวยการแปลความหมาย ของเครื่องมือซึ่งแสดงออกมาในรูปตางๆ เสียกอน อยางไรก็ตามการตรวจสอบดวยตา (Visual Inspection) มีเทคนิคที่สําคัญและจําเปนยิ่ง คือ การใชสายตาในการตรวจอยางระมัดระวัง มีความรูในเรือ่ งของการเชื่อมและเนื้อหาหรือ ขอมูลที่ไดสําหรับการพิจารณาตัดสิน แมวา Visual Inspection จะเปนวิธี ที่งายในการใช ไมตองใชเครื่องมือที่ยุงยาก และราคาต่ําก็ตาม แตการตรวจสอบแบบนี้ก็ ไมสามารถที่จะบอกความบกพรองของแนว เชื่อมไดทุกอยาง โดยเฉพาะอยางยิ่งความ บกพรองที่เกิดภายในแนวเชือ่ ม วิธีการ ตรวจสอบดวย Visual Inspection นี้ไมอาจ รูปที่ 8 - 1 บอกไดเลย
217
เครื่องมือที่ใช (Equipment) ประกอบดวยแวนขยาย ไฟฉาย Borescope กระจกหมอฟน บรรทัด T – square เกจวัดแนว เชื่อม และแนวเชื่อมมาตรฐานตาง ๆ ลวนเปนเครื่องมือที่มีประโยชนสําหรับการตรวจสอบแบบนี้ 8.3.2 การตรวจสอบแนวเชื่อมดวยผงแมเหล็ก (MAGNETIC PARTICEL INSPECTION) Magnetic Particle Inspection เปนวิธีการตรวจสอบแนวเชือ่ มที่ไมทําใหโลหะชิ้นงานบุบสลาย ใชสําหรับตรวจหารอย แตกราว Porosity การรวมตัวกับสารอืน่ การละลายไมดี และจุดบกพรองอื่น ๆ บนโลหะที่มี คุณสมบัติเปนแมเหล็กได วิธีการทดสอบชนิดนี้สามารถทดสอบทั้งบนพื้นผิวและใตพื้นผิวตื้น ๆ กับ โลหะทุกความหนาที่มีคุณสมบัติเปนแมเหล็กได วิธีการประกอบดวยการทําใหเกิดสนามแมเหล็กขึ้นบนชิน้ งานที่ตองการตรวจสอบ แลวโรย ผงเหล็กลงบนผิวงานนั้น ผงเหล็กจะเรียงตัวตามเสนแรงที่เกิดขึ้นบนชิ้นงานและจะบอกใหทราบวา ณ บริเวณใดบางที่เกิดความบกพรอง หรือ Discontinuity ขึ้น ความเปนแมเหล็กเปนคุณสมบัติของโลหะเหล็กซึ่งจะดูดดึงโลหะเหล็กดวยกัน แมเหล็กจะ ดึงดูดเอาผงเหล็กเขาไวที่ปลายหรือขั้วทั้งสองของมัน และระหวางขั้วทัง้ สองจะมีเสนแรงแมเหล็กไหล ถึงกันและกันอยูตลอดเวลา และมันจะดึงดูดโลหะที่มีคณ ุ สมบัติของความเปนแมเหล็กได เฉพาะตรง บริเวณที่เสนแรงแมเหล็กสงไปถึง ถานําแมเหล็กมาดัดใหขั้วทั้งสองชิดติดกันเปนวงกลม แมเหล็กนั้นจะไมมีแรงดึงดูดตอสาร แมเหล็กอืน่ ๆ นี่คือหลักการของการตรวจสอบแนวเชื่อมดวย Magnetlc Particle Inspection ฉะนั้น ถาชิ้นงานที่จะทําการทดสอบไมมีการแตกราว หรือจุดบกพรองใด ๆ เกิดขึ้น ผงเหล็กที่โรยลงบน ชิ้นงานนั้นก็จะไมถูกดูดดวยอํานาจแมเหล็ก เพราะแมเหล็กที่เกิดขึน้ บนชิ้นงานอยูในลักษณะครบ วงจรเชนเดียวกับการดัดใหขั้วแมเหล็กทั้งสองชิดติดกันเปนวงกลมดังไดกลาวมาแลว แตถาชิ้นงานมี รอยราวเกิดขึน้ ตรงรอยราวนั่นเอง จะเกิดมีขั้วแมเหล็กเหนือ – ใตขึ้น และจะดึงดูดผงเหล็กเอาไวตาม ลักษณะและความยาวของรอยราวนัน้
รูปที่ 8 – 2
218
รูปที่ 8 – 3 วิธีที่จะทําใหเกิดสนามแมเหล็กขึ้นบนชิน้ งาน สามารถกระทําได 2 วิธี คือ 1. โดยการผานกระแสไฟเขาไปในชิ้นงานทีต่ อ งการตรวจสอบโดยใช : Test Prods เปน เครื่องมือ 2. โดยการใชแมเหล็กไฟฟาหรือแมเหล็กถาวรที่มีแรงดึงดูดสูงวางลงบนชิ้นงาน เพื่อใหเสน แรงแมเหล็กไหลผานเขาไปในโลหะที่ตองการตรวจสอบ ถางานที่จะทําการทดสอบใหญโตเกินกวาที่กระแสจะผานไปได ก็สามารถตรวจสอบไดโดย ใชสนามแมเหล็กที่เปนวงกลม (Circularly Magnetized) จากแทงโลหะที่เรียกวา “Prods” ในการทดสอบจุดบกพรอง (Discontinuitits) ที่อยูภายใตแนวเชื่อม นิยมใชผงเหล็กชนิดเปยก (Wet Particles) ดวยกระแสไฟตรง สวนผงเหล็กชนิดแหง (Dry Particles) เหมาะสําหรับใชกับการตรวจสอบทั้งภายนอกและ ภายในแนวเชือ่ มโดยใช Pulsating D.C. เพราะกระแสชนิดนี้จะชวยทําใหผงเหล็กมีการเคลื่อนตัวได ดีและบอกจุดบกพรองไดแนนอนดี สําหรับกระแสไฟ AC เหมาะสําหรับใชในการตรวจสอบรอยราวบนพื้นผิวของงาน โลหะชิ้นงานที่ผานการเหนีย่ วนําดวยแมเหล็กหรือกระแสไฟแลว มักจะยังคงสภาพความเปน แมเหล็กเหล็กอยู และจะดึงดูดผงเหล็กเอาไว ฉะนั้นเมื่อนําไปใชงานอาจทําใหเกิดการสึกหรอสูงหรือ เสียหายได โดยเฉพาะอยางยิ่งงานที่มีการเคลื่อนที่หรือหมุนดวยเหตุนี้จึงจําเปนจะตองทําใหชิ้นงาน นั้นหมดสภาพความเปนแมเหล็กโดยสิ้นเชิงกอนนําไปใชงาน ซึ่งวิธีการนี้เรียกวา “Demagnetization” การนําไปใช (Application) Magnetic Particle Inspection สามารถนําไปใชกับแนวเชื่อมหนา ๆ ไดทุกชนิด ถาเปน Multi – Pass Welds บางทีจะทําการทดสอบแตละแนวโดยทันทีหลังเชื่อมแลวจึงเชือ่ มแนวตอไป แนวเชื่อมเหล็กบางทีใชกับอุตสาหกรรมสรางเครื่องบินจะทดสอบดวย Magnetic Particle Inspection และถาโลหะบางมากความบกพรองภายในสามารถตรวจพบไดดว ยการตรวจสอบวิธีนี้ อยางไรก็ตามควรศึกษาเกี่ยวกับขอกําหนดที่เกี่ยวกับมาตรฐานการทดสอบแบบนี้อยางละเอียดอีกที
219
เครื่องมือและอุปกรณ (Equipment) เครื่องมือที่จําเปนอยางยิ่งสําหรับ Magnetic Particle Inspection คือตนกําลังหรือ Power Source ซึ่งประกอบดวยชุดแมเหล็กเคลื่อนที่ ซึ่งสามารถเสียบปลั๊กไฟ 115 หรือ 220 โวลท ผงเหล็ก แหง (Dry Iron Power) และบางทีชุดแมเหล็กเคลื่อนทีอ่ าจประกอบดวยเครื่องฉีดผงเหล็ก เครื่องตรวจสอบแบบที่อยูกบั ที่ นิยมใชมากกับการตรวจสอบชิ้นสวนของโรงงานขนาดเล็ก เครื่องประกอบดวยถัง (Tank) ซึ่งมีปมอยูภายในสําหรับใชปมผงเหล็กชนิดเปยกสงไปยังชิ้นงานทีจ่ ะ ตรวจเช็ค ตามปกติเครื่องที่ติดตั้งอยูกับทีน่ จี้ ะประกอบดวย Hood และ แสงมือ (Black Light) เพื่อ สะดวกในการใชกับผงเหล็กชนิดเรืองแสง 8.3.3 การตรวจสอบแนวเชื่อมดวยน้ํายาแทรกซึม (LIQUID FENETRANT INSPECTION) liquid Penetrant Inspection เปนวิธีทดสอบโดยชิ้นงานไมถูกทําลายวิธหี นึ่ง ซึ่งมีความไวสูงมาก ใชสําหรับตรวจสอบ จุดบกพรองเชน รอยแตกราว หลุม รูพรุน ที่อยูบนผิวนอกของแนวเชื่อมหรือชิ้นงาน วิธีการทดสอบ แบบนี้ใชกับโลหะหรือวัสดุไดหลายชนิด เชน โลหะจําพวกเหล็ก (Ferrous) โลหะที่ไมใชเหล็ก (Non – Ferrous) กระจก (Glass) ตลอดจนสารจําพวก Plastic และ สารสังเคราะหตาง ๆ น้ํายาที่ใช กับการตรวจสอบมีหลายชนิดดวยกัน แตนํามาใชดว ยหลักการเหมือนกัน ดูรูปที่ 8 – 4 วิธีตรวจสอบ ขั้นแรกใหทําความ สะอาดผิวงานดวยน้ํายาทําความสะอาด (Cleaner) ใหทั่วโดยตลอด ทั้งนี้เพื่อขจัด สารจําพวกฝุนผง ไขมันตาง ๆ สิ่งสําคัญมาก อันหนึ่งในการตรวจสอบดวยน้ํายาแทรกซึม นี้ คือ การเตรียมงานกอนการใชน้ํายา ดังกลาวนี้ จุดบกพรองตาง ๆ จะตอง ปราศจากฝุนสนิม จารบี หรือสีโดยสิ้นเชิง ทั้งนี้เพื่อน้ํายาแทรกซึม (Penetrant) สามารถ แทรกซึมเขาไปไดเมื่อใสน้ํายาแทรกซึมลง ไปบนชิ้นงานที่ตองการจะทดสอบ แลว รูปที่ 8 – 4 ปลอยไวชวั่ ระยะเวลาอันหนึง่ น้ํายานีจ้ ะ แทรกซึมเขาไปตาม Discontinuities ตาง ๆ โดยอาศัย Capillary Action ฉะนั้นไมวา งานจะวางในตําแหนงใดก็สามารถตรวจสอบได สวนเกิน ของน้ํายาแทรกซึมจําเปนจะตองเช็ดออกหรือใชน้ํายาทําความสะอาด (Cleaner) เช็ดอีกครั้งหนึ่ง
220
รูปที่ 8 – 5 หลังจากที่ผิวงานแหงดีแลว ขั้นตอไปพนทับดวยสารซึ่งประกอยดวยของเหลวกับแปง หรือ ที่เรียกวา Developer ซึ่งจะทําหนาทีเ่ ปนตัวดูดซึมเอา Penetrant ออกมาปรากฎหใเห็นบนผิวงาน และจะบอกใหทราบจุดบกพรองตาง ๆ ที่เกิดขึ้น Penetrant ที่ใชมี 2 ชนิด คือ ชนิดสีแดงและชนิด เรืองแสง ซึ่งจะปรากฏใหเห็นเดนชัดบนพืน้ สีขาวของ Developer ขนาดที่ไดของ Discontiunities บน Developer จะมีขนาดโตกวาความเปนจริง ฉะนัน้ จุดบกพรองแมจะมีขนาดเล็กมากก็สามารถ บอกใหทราบจากการทดสอบชนิดนี้ เครื่องมือที่ใช (Equipment) เปนชุดทดสอบเคลื่อนที่ไดมีทั้งชนิดเรืองแสง (Fluorescent) หรือชนิดสี (Dye Penetrant) ชุดตรวจสอบบางชนิดบรรจุกระปองฉีดไดในตัว ซึ่งทําใหใชงายรวดเร็ว ในกรณีใชน้ํายาแทรกซึม ชนิด Fluorescent จําเปนจะตองมีเครื่องมือประกอบเพิ่มขึ้น คือ Ultraviolet หรือ Black Light ดวย การใช Fluorescent และ Black Light นี้ ทําใหสามารถมองเห็นจุดบกพรองตาง ๆ ไดอยาง เดนชัด นอกจากนั้น Fluorescent ยังมีความไวกวา (Dye Penetrant) อีกดวย ชุดตรวจสอบที่ติดตั้งอยูกับที่ประกอบดวยถังซึ่งแบงสวนตาง ๆ ตามหนาที่และวิธกี าร ดังนี้ สวนที่บรรจุของเหลวแทรกซึม (Penetrant) สวนที่เปนน้ํายาลางทําความสะอาดและสวนสําหรับพน Developer ในบริเวณการตรวจสอบประกอบดวย Black Light หรือแสงมืด การตรวจสอบงานผลิต จํานวนมาก ๆ จะใชสายพานเลื่อนชิ้นงานไปตามจุดหรือสวนตาง ๆ ตามลําดับขั้นของการตรวจสอบ จนกระทั่งลําดับสุดทายผูตรวจสอบจะทําการแปลและรายงานผลของการตรวจสอบตอไป
221
การตรวจสอบและการแปลความหมาย เมื่อการตรวจสอบกระทําโดยใชน้ํายาแทรกซึมชนิดเรืองแสง (Fluorescen Penetrant) กับ แสงมืด (Black Light) จะแสดงใหเห็นแสงสีมวงเขมในบริเวณเนือ้ โลหะที่มีสภาพปกติและแสงสี เหลืองเขียวเดนในจุดที่เกิดความบกพรอง สวนน้ํายาแทรกซึมชนิด Dye Penetrant จุดบกพรอง ทั้งหลายจะแสดงออกมาเปนสีแดงบนพื้นของ Developer สีขาว ถาเปนรอยแตกราวเสนสีแดงจะ ปรากฏเดนชัดเปนทางยาวตามขนาดรอยแตกนั้น ๆ รูพรุนตาง ๆ จะปรากฏเปนวงกลมตามขนาดของ รูพรุนนั้น ๆ วิธีฝกหัดอานจุดบกพรอง (Defects) ที่ปรากฏใหเห็นจากการตรวจสอบของ Liquid Penetrant สามารถทําไดโดยสะสมชิ้นงานที่มีจุดบกพรอง (Defects) ที่แตกตางกันเอาไวเพื่อใช เปรียบเทียบกับชิ้นงานที่กําลังทดสอบ และนอกจากนี้ใหศึกษาจากมาตรฐานทีว่ าดวยการยอมรับ จุดบกพรองที่เกิดขึ้น การนําไปใช (Application) Liquid penetrant Inspection เหมาะสําหรับใชในการตรวจหาจุดบกพรองบนพื้นผิวของ ชิ้นงานที่ทําดวย อลูมินัม แมกนีเซียม และเหล็กสเตนเลสส ซึ่งการทดสอบดวย Magnetic Particel Inspection ไมสามารถตรวจสอบได ใหประโยชนมากที่สุดในการตรวจสอบหารอยรั่ว ภาชนะทีร่ ับ แรงดันหรือทอน้ํามันปโตเลียมมักจะใชวิธกี ารตรวจสอยชนิดนี้เพื่อหารอยราว และ Porosity บางทีน้ํายาแทรกซึมชนิดเรืองแสงอาจเปนชนิดที่เหมาะที่สุดในการตรวจสอบรอยรั่วกับ โลหะเชื่อมที่มคี ุณสมบัติเปนแมเหล็กหรือไมเปนแมเหล็ก น้ํายานี้จะใชบนขางหนึ่งของงาน และอีก ขางของงานสองดวยแสงมืด (Black หรือ Ultra Violet Light) 8.3.4 การตรวจสอบแนวเชื่อมดวยเครื่อง ULTRASONIC (Ultrasonic Inspection)
รูปที่ 8 – 6
Ultrasonic Testing เปนเครื่องมือทดสอบ ชนิด Non – destructive Test ใชความถีส่ ูงของคลื่น เสียงสงไปยังงานที่ตองการตรวจสอบ พลังความถี่สูงนี้ จะผานโลหะชิน้ งานไปได โดยมีการสูญเสียนอยมาก เวนแตวาไปกระทบเขากับจุดบกพรอง หรือรอย แตกราว (Detect of Flaw) ในเนื้อโลหะ ซึ่งจะทําให เกิดการสะทอนและเสียพลังงานไป Ultrasonic Testing เหมาะสําหรับใช ตรวจสอบความบกพรองที่เกิดขึ้นทั้งบนพื้นผิวและ
222
ภายใตพื้นผิวของงาน เครื่องทดสอบ Ultrasonic ประกอบดวยหัวสัมผัส ซึ่งเรียกวา TRANSDUCER (Transducer เปนเครื่องมือที่ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนพลังงานกล และเปลี่ยนพลังงานกล เปนพลังงานไฟฟาสลับกัน) ทํางานไดโดยการกระตุน ดวยแรงเคลือ่ นไฟฟาที่มีความถี่สูง (High Frequency Voltage) อันเปนเหตุใหแร (Crystal) ที่อยูภ ายในเกิดการสั่น (Vibration) ขึ้น แรหรือ Crystal นี้จะเปนตนกําเนิดของคลื่นความถี่สูง (Ultrasonic Mechanical Vibrations) และจะถูก สงไปยังชิ้นงานโดยผานฟลม บาง ๆ ของน้ํามันหรือสารบางอยางที่ทาเคลือบผิวงานไวอกี ทีหนึ่ง เมื่อ คลื่นความถี่สูงนี้ไปกระทบเขากับจุดบกพรองในแนวเชือ่ มหรือชิ้นงานเขา ทําใหเกิดการสะทอนกลับ (Reflected) และเกิดพลังงานยอนกลับมายัง Transducer Transducer ตอนนี้จะทําหนาที่เปน เครื่องรับเอาพลังงานสะทอนกลับจากการที่ไปกระทบเขากับจุดบกพรองหรือรอยแตก และจะสงผล การรับไปยังจอภาพที่เรียกวา OSCILLOSCOPE SCREEN ที่จอภาพนีจ้ ะปรากฏใหเห็นสัญญาณ (Signal) ของการที่คลื่นเสียงไปกระทบกับผิวงานในตอนแรก สัญญาณของจุดบกพรอง (Discontinuities of defects) และสัญญาณที่คลื่นเสียงไปกระทบผิวงานสวนลางสุดพรอม ๆ กัน จากรูปที่ 8 – 7 แสดงรูปหลักการของ Ultrasonic Testing ความเขมของสัญญาณจะปรากฏ ออกมาใหเห็นในลักษณะแนวตั้ง (Vertical deflection) และชวงระยะที่จะเกิดสัญญาอื่น ๆ ปรากฏ ออกมาเปนเสนตามนอน (Horizontal deflection) ฉะนั้นขนาดของรอยบกพรองสามารถพิจารณาได จากการวัดความสูงของสัญญาณ และตําแหนงที่เกิดความบกพรองนัน้ ๆ สามารถพิจารณาไดโดยการ วัดระยะของเสนตามนอน จากรูปที่ 8 – 7 B จะเห็นวาการสะทอนของสัญญาณอันหนา และอันหลัง จะปรากฏที่ขอบสุดของจอภาพ สวนสัญญาสะทอน (Echo) ของจุดบกพรองจะอยูใ นระหวาง สัญญาณทั้งสอง
A การเดินของคลื่น Ultrasonic
B เสนปรากฏบนจอภาพของการตรวจสอบจากรูป A
รูปที่ 8 – 7
223
เพื่อพิจารณาหาขนาดและความลึกของจุดบกพรองที่เกิดขึน้ จึงจําเปนตองใชการคํานวณและ ใชหลักฐานอางอิงและมาตรฐานประกอบ ชุดของ Test Blanks ซึ่งมีรูที่ทราบขนาดและความลึก ตาง ๆ จะถูกนํามาใชเพื่อเปรียบเทียบหาขนาด และความลึกจากสัญญาณที่ได เครื่องตรวจสอบ Ultrasonic Inspection มีทั้งแบบที่ใช Transducer อันเดียวและ 2 อัน การใช Transducer อันเดียวจะทําหนาที่ทงั้ เปนเครื่องสงและเครื่องรับในตัวแตถาใช Transducer 2 อัน อันหนึ่งจะทําหนาที่เปนเครื่องสง และอีกอันหนึ่งเปนเครื่องรับ ในการตรวจสอบงานที่มีรูปรางซับซอน นิยมใชวิธี Immersion Testing คือทั้งชิ้นงานและ Transducer ตางก็จุมอยูในน้ํา และใหน้ําเปนตัวกลางทําหนาที่สงผานคลื่นความถี่สูง ระหวาง Transducer และชิ้นงานโดยที่ทั้งสองไมแตะกัน จากรูปที่ 8 – 8 แสดงการตรวจสอบแนวเชื่อมดวย Ultrasonic Testing โดยให Transducer ทํามุมกับชิ้นงาน 45 องศา และสงพลังคลื่นความถี่สูงไปยังแนวเชื่อม ดังรูป 8 – 8 A และรูป 8 – 8 B แสดงใหเห็นสัญญาณที่ปรากฏบนจอภาพ (Oscilloscope Screen) แนวเชื่อมตอชนของเหล็กหนาและบาง นิยมตรวจสอบโดยใช Transducer หรือ Search Unit ทํามุมกับแผนงาน แตแนวเชื่อมฟลเลทตรวจสอบโดยใชคลื่นสงผานโดยตรงบนแนวเชื่อม หรือ สงคลื่นทํามุมกับแนวเชื่อมโดยให Transducer สงคลื่นผานจากดานลางของกนแนวเชื่อมขึ้นไป เครื่องมือที่ใช (Equipment) เครื่องมือที่ใชกับ Ultrasonic Testing ประกอบดวย Transducer เครื่องผลิตความถี่สูง (Pulse Rate Generator) เครื่องขยาย (Amplifier) เครื่องบอกเวลา และ Oscilloscope เครื่อง ประกอบเหลานี้เปนเครื่องอีเลคโทรนิค จึงสามารถทําใหมีขนาดเล็กเคลื่อนที่ไดสะดวก การนําไปใช (Application) Ultrasonic Teasting สามารถนําไปใชไดกับโลหะหรือวัสดุทุกชนิด นิยมใชกับงานเชื่อมที่ ซับซอน ปจจุบันการตรวจสอบดวย Ultrasonic กําลังเปนที่นิยมและใชกวางขวางขึ้น การยอมรับ จุดบกพรองที่เกิดขึ้นซึ่งตรวจพบจากวิธีการทดสอบนี้ใหศึกษาจากขอกําหนดมาตรฐานที่ตั้งไว
224
รูปที่ 8 – 8
225
8.3.5 การตรวจสอบแนวเชื่อมดวยเครื่อง X – ray (RADIOGRAPHIC INSPECTION) Radiography เปนการตรวจสอบที่ไมทําใหชิ้นงานบุบสลายหรือถูกทําลายไปโดยใชรังสี เอกซ (X – ray) หรือโดยการแผรังสี Gamma เพื่อตรวจสอบภายในเนื้อโลหะหรือวัตถุการ ตรวจสอบดวย Radiographic นี้เปนวิธีตรวจสอบที่ราคาแพง ใชเวลาในการตรวจมาก แตเปนวิธี ใหผลแนนอนในการตรวจสอยจุดบกพรองตางๆ เชน รูพรุน (Polosity) การรวมตัวกับสารอื่น (Inclusions) รอยแตกราว (Cracks) และอื่น ๆ นอกจากนี้ยังแปลความหมายไดงาย และยังเปนบันทึก ที่สามารถเก็บไวไดอยางถาวร X – rays เปนรังสีที่ไดจากตนกําลังของเครื่อง อีเลคโทรนิค สวน Gamma rays ไดจากการแผรังสีของ ธาตุ Radioactivity รังสีนี้จะมีพลังงานในการแผผาน โลหะหรือวัสดุตาง ๆ ได ปริมาณของพลังงานนี้จะถูก ดูดกลืนเอาไวมากนอยยอมแลวแตขนาดความหนาและ ความหนาแนนของวัสดุที่ใชกับการตรวจสอบ จะพบวา วัสดุที่มีความหนา 1” จะดูดกลืนพลังงานไดนอยกวาวัสดุ ที่มีความหนา 2 ½” หรือโลหะทังสเตนจะดูดกลืน พลังงานไดมากกวาโลหะเบาเชน อลูมิเนียม วัสดุที่ไม ยอมดูดซึมพลังงาน จะเปนเหตุใหฟลมมีเงาดําหลังจาก รูปที่ 8 – 9 ลางแลว บริเวณที่ฟลมกระทบกับพลังงานเพียงแตนอ ย จะยังคงมีเงาขาวใหเห็น เพราะฉะนั้นบริเวณทีว่ ัสดุมีรอยบกพรองขึน้ ภายใน ซึ่งอาจจะเปนรอย แตกราวหรือรูพรุน จะปรากฏใหเห็นเงาสีดําขึ้นในฟลม การรวมตัวของสารที่มคี วามหนาแนนต่ํา เชนสแลกก็จะปรากฏบนฟลมเปนเงาดําเชนเดียวกัน ในทํานองเดียวกันการรวมตัวของวัสดุที่มีความ หนาแนนสูงจะปรากฏบนฟลมเปนเงาขาว รอยบกพรองทั้งหลายสามารถคนหาไดโดยใชเครื่องดูด เปรียบเทียบ (Viewing) ซึ่งเปนฟลมที่มีความเขมตาง ๆ ตนพลังงานของ X – ray หรือ Gamma ray และ Penetrameter จะอยูเหนือชิ้นงานที่นํามา ตรวจสอบ สวนฟลมจะติดไวในดานตรงขามกับตนพลังงานและ Penetrameter เครื่องมือที่ใช (Equipment) เนื่องจาก X – ray ไดมาจากตนกําลังของเครื่องอีเลคโทรนิค ซึ่งประกอบดวยเครื่องกําเนิด แรงเคลื่อนไฟฟาแรงสูง หลอด X – ray พรอมดวยเครื่องควบคุมตาง ๆ หลอด X – ray (X – ray Tube) ทําหนาที่เรงอีเลคตรอน (Electrons) ใหมีอัตราเรงสูง (High Velocity) ฟลม ก็จะทําใหรอย บกพรองของงานที่ปรากฏบนฟลมชัดเจนดวย แมวาความหนาของชิน้ งานจะเปลี่ยนแปลงไป (2 % หรือมากกวา)
226
ฟลม X – ray ประกอบดวยแผนพลาสติคใส (Transparent) เคลือบไวดว ย Photographic Emulsion เมือ่ รังสีของ X – ray ไปกระทบเขาจะทําใหเกิดเปนภาพขึ้น เมื่อผานการลางแลวรูปที่จะได จะเปนรูปถาวรบันทึกเปนหลักฐานได อุปกรณสําหรับใชในการลางฟลม ประกอบดวยถังน้ํายาตาง ๆ เชน น้ํายา Developer Fixer และน้ํายาลาง (Rinse Solutions) วิธีการลางฟลมนี้จะมีความยุงยากพอ ๆ กับวิธีการในตอนฉายแสง บางทีถาการฉายแสงไมดีพออาจทําใหฟลม เสียได การนําไปใช (Application) วิธีการตรวจสอบดวย Radiography นี้ อาจเปนวิธที ี่นิยมใชกันมากที่สุดในกระบวนการ ตรวจสอบแบบ Non – destructive ดวยกันที่ใชตรวจหาจุดบกพรองที่เกิดขึ้นภายในเนื้อโลหะ นิยม ใชตรวจสอบกับแนวเชื่อมทุกแบบทุกชนิดและกับทุกชนิดของวัสดุดว ยเชน เหล็ก, อลูมิเนียม, แมกนีเซียม เปนตน นิยมใชกับอุตสาหกรรมการตอทอเพื่อใหมีความแนนอนในดานคุณภาพ ซึง่ ทํา ใหประหยัดทัง้ เวลาและคาใชจาย การแปลความหมาย (Interpretations) การตรวจฟลมควรกระทําบนอุปกรณที่จัดใหมีแสงสวางอยางเพียงพอ ความบกพรองที่ เกิดขึ้นบนฟลมสวนมากจะปรากฏเปนเงามืดดํา ตัดกับพื้นเงาขาว (Light Back – ground) ซึ่งเปนเงา ของแนวเชื่อมหรือเนื้อโลหะสวนที่ดี การแปลความหมายของฟลม ผิด จะเปนเหตุใหเสียทั้งเวลาและเงิน ในการที่จะตองซอมแซม สวนที่คิดวาเปนจุดบกพรอง หรือสวนที่เกิดการเสียหายขึ้นจากการที่คดิ วาเปนโลหะสวนดี ดังนั้นผูที่ จะทําหนาที่ตรวจฟลม และแปลความหมายของรูปที่ปรากฏในฟลมจะตองเปนผูที่ไดรับเลือกและมี ความชํานาญเปนอยางดี ฟลม X – ray ตัวอยางหรือฟลมที่ใชสําหรับคนควาจะชวยทําใหการแปล ความหมายถูกตองแมนยําขึน้ (เกณฑกาํ หนดการยอมรับจุดบกพรองที่เกิดจากการตรวจสอบโดยวิธี Radiographic มีกําหนดเปนมาตรฐานเอาไว)
227
บทที่ 9 ความรูสมั พันธกับการเชื่อม (RELATED WELDING INFORMATION) 9.1 คุณสมบัตขิ องโลหะธรรมดาทั่วไปที่มีผลตอการเชื่อม น้ําหนัก (Weight) แสดงถึงความหนาแนนและมีคาเปนปอนดตอลูกบาศกฟุต จุดหลอมละลาย (Melting Point) เปนสิ่งสําคัญตอการเชื่อมมาก หมายถึง อุณหภูมิซึ่งทําใหโลหะหลอมละลายกลายเปน ของเหลว มีความสําคัญยิ่งโดยเฉพาะในการเชื่อมโลหะที่ไมเหมือนกันเขาดวยกัน ความเปนตัวนําความรอน (Thermal Conductivity) คือความสามารถในการสงกระจายความรอนไปตามมวลของวัตถุนนั้ มีความสําคัญตอการ เชื่อม เพราะโลหะชนิดหนึง่ อาจมีคุณสมบัติในการนําความรอนจากแนวเชื่อมไปไดเร็วกวาโลหะอีก ชนิดหนึง่ นอกจากนีก้ าร Preheat ยังใชขนาดทอรช หรือ Electrode ที่ตางกันจากชารททําใหทราบ ความสัมพันธของความเปนตัวนําความรอนสูงที่สุดรองจากเงิน โลหะอื่น ๆ จะถูกกําหนดคาความเปน ตัวนําความรอนโดยอาศัยทองแดงเปนหลัก หมายเหตุ อลูมินัมจะมีคา ความเปนตัวนําความรอนเปน ครึ่งหนึ่งของทองแดง เหล็ก (Steel) มีเพียงหนึ่งในสิบของทองแดงเทานั้น ความรอนจําเพาะ (Specific Heat) คือปริมาณความรอนที่ตองการเพื่อเพิ่มอุณหภูมิของโลหะ และจะบอกใหทราบถึงปริมาณ ความรอนที่ตอ งการในการที่จะทําใหโลหะนัน้ มีความรอนจนถึงจุดหลอดละลาย โลหะบางชนิดมีจุด หลอดละลายต่าํ แตตองการความรอนจําเพาะสูงในขณะเชือ่ ม เชน อลูมินัม ในทํานองเดียวกัน เหล็กมี จุดหลอมละลายสูง แตตองการความรอนจําเพาะต่ํา ความรอนจําเพาะมีหนวยเปนแคลอรีตอองศา เซนติเกรด สัมประสิทธิ์การขยายตัว (Co – efficient of expansion) หมายถึงความยาวที่เพิ่มขึ้นทีว่ ัดไดจากการขยายตัวตามเสน เมื่อโลหะไดรับความรอน สัมประสิทธิ์ การขยายตัวมีคาเปลี่ยนแปลงไดกวางมาก อลูมิเนียมเปนโลหะทีม่ ีการขยายตัวสูงมาก ขยายตัวเกือบเปนสองเทาของการขยายตัวของเหล็ก ดังนั้นในการเชื่อมจึงจําเปนตองคํานึงถึงเครื่องมือ สําหรับใชในการควบคุมการบิดงอหรือการหนีจากแนวเดิม
228
แรงดึง (Tensile Strength) คือแรงดึงสูงสุด (Maximum Load) ที่กระทํากับชิ้นทดสอบ (Specimen) โดยดึงใหชิ้น ทดสอบนั้นขาดออกจากกัน ซึ่งแสดงใหเห็นวาชิ้นงานนัน้ มีความแข็งแรงหรือ Strength เทากับแรงที่ ไปกระทํา Elongation คือความยาวทีเ่ พิ่มขึ้นของชิน้ ทดสอบกอนที่จะขาดออกจากกันดวยการดึง โดยมีคาเปน เปอรเซ็นตของความยาวเดิม (ปกติใช 2 ”) Elongation เปนวิธีการวัดความเหนียวหรือความสามารถ ในการยืดออกไดวิธีหนึ่ง ความแข็งระบบริเนลล (Brinell Hardness Number - BHN) เปนวิธีการทดสอบหาความแข็งของโลหะ ซึ่งมีอยูหลายวิธีดวยกัน Brinell Test ประกอบ ดวยการกดลูกบอลลโลหะเล็ก ๆ ที่มีขนาดมาตรฐาน ลงไปบนแผนทดสอบดวยแรงกดมาตรฐาน อันหนึ่ง ความแข็งสามารถวัดไดจากขนาดของรอยกดทีเ่ กิดขึ้นบนแผนทดสอบ ยังมีการทดสอบ ความแข็งวิธีอนื่ ๆ อีก เชน File Test , Rockwell Test , Vickers Test และอื่น ๆ ซึ่งตางก็มี ความเกีย่ วพันธและเปรียบเทียบกันได
229
230
9.2 การจําแนกชนิดของโลหะดวยประกายไฟ (IDENTIFICATION OF COMMON METALS SPARK TESTING) เพื่อที่จะใหสามารถมองเห็นประกายไฟไดอยางชัดเจน ควรใชลอหินขัดที่มีความเร็วที่พื้นผิว อยางนอยที่สุด 5,000 ฟุตตอนาที ความเร็วพืน้ ผิวตอนาที = เสนรอบวงเปนนิ้ว x RPM การตรวจสอบดวยประกายไฟ (Spark Test) ควรกระทําในที่ ๆ มีแสงสวางไมมากนัก เพราะ สีและรูปรางของประกายเปนสิ่งจําเปนที่จะตองเห็นอยางชัดเจน เชน ประกายยาวมีประกายแตก กระจายตามเสน หรือมีประกายสั้น ๆ บนเสนประกายยาว ปลายเสนมีลักษณะเหมือนซอมหรือหัว ลูกศร หรือบางทีการแตกกระจายของประกายไฟมีมากและพุงไปทุก ๆ ทิศทาง การทดสอบโลหะดวย วิธีนี้ เปนวิธีที่ใหผลไดแนนอนมาก ถาผูทดสอบมีความชํานาญและประสบการณอยางเพียงพอ เหล็กหลอ (Cast Iron) ประกายสีแดงมัวจนถึงสีเหลืองฟางขาว ประกายสั้น มีประกายเล็ก ๆ กระเด็นออกนอก เสนมาก เหล็กออน (Wrought Iron) ประกายเปนเสนยาวสีขาวออกเหลือง ไมมีการแตกกระจายตามเสน นิเกิล (Nickel) ประกายสีสมสั้น ไมมีการแตกกระจายตามเสน บางทีประกายวิ่งตามลอหินขัด เหล็กผสมต่ํา (Low Alloy Steel) ธาตุแตละชนิดที่ผสมอยูตางก็มีอิทธิพลตอรูปรางของประกายไฟ ฉะนั้นจําเปนตองพิจารณา อยางระมัดระวังยิ่ง ตัวอยางเชน เหล็กชนิด 4130 เสนประกายไฟมีลักษณะเหมือนสอมและปลาย แหลม มีการแตกกระจายตามเสนเล็กนอย เหล็กผสมแตละชนิดจะมีคณ ุ สมบัติเฉพาะตัว เหล็กคารบอนสูง (High Carbon Steel) ประกายเปนเสนสีเหลืองมากมาย ประกายนอกเสนเดนชัดเปนรูปดอกจัน เหล็กคารบอนต่ํา หรือเหนียวธรรมดา (Low Carbon Steel or Mild Steel) เสนประกายสีเหลืองยาว บางครั้งมีลักษณะเหมือนสอม ปลายสุดคลายลูกศร เหล็กแมงกานีส (Manganese Steel) ประกายสีขาวจา ประกายแตกกระจายตามเสนมีรูปรางเหมือนพัดลมหรือดอกจัน เหล็กสเตนเลสส (Stainless Steel) เนื่องจากเหล็กสเตนเลสสมีดวยกันหลายชนิด ฉะนั้นการพิจารณาจําเปนตองระมัดระวังตาม ชนิดของประกายไฟ Chrome Nickel Steel จะใหประกายสั้นหรือบางทีเปนจุดปราศจากการแตก กระจายออกนอกเสน ความโตของประกายไฟในจุดตาง ๆ จะเปนเครื่องแสดงถึงความแตกตางของ เหล็กสเตนเลสสชนิดตาง ๆ ไตเตเนียม (Titanium) ประกายไฟขาวเห็นไดชดั ตรงปลายสุดมีลักษณะแหลมเหมือนหัวลูกศร
231
9.3 ขนาดของสายเคเบิ้ล (WELDING CABLE SIZE) ขนาดและความยาวของสายที่ใชกับการเชือ่ ม ซึ่งไดแกสายเชื่อมและสายดิน (Welding Cable and Ground or Work Cable) ยอมมีอิทธิพลตอราคาของการเชื่อม เพราะอาจสูญเสียพลังงาน ไฟฟาจากการที่สายเคเบิ้ลเกิดความรอนสูงเกินไป อันเนือ่ งมาจากสาเหตุที่สายเคเบิ้ลผิดขนาด ฉะนั้น ถาความยาวของสายเคเบิ้ลเพิ่มขึ้น ขนาดความโตของสายก็ควรจะโตตามไปดวย พลังที่สูญเสียไป (Power Lost) อันเนื่องมาจากความยาวหรือขนาดของสายเคเบิ้ลสามารถ คํานวณหาไดโดยนําคาโวลเทจที่วัดไดที่ขวั้ ทั้งสองของเครื่องเชื่อม ลบดวยโวลเทจที่วัดไดที่การอารค แลวนํามาคูณกับกระแสไฟเชื่อมที่วัดไดเปนแอมแปร ดังแสดงในสูตรขางลางนี้ สูตร = (โวลทที่ขั้วของเครื่องเชื่อม – โวลทที่การอารค) x กระแสไฟเชื่อม = พลังที่สูญเสียไป ตัวอยาง (35.32) x 250 = 750 วัตต = พลังที่สูญเสียไป ตารางขางลาง เปนขนาดความโตและความยาวของสายเคเบิ้ลขนาดตาง ๆ ที่ไดผานการ รับรองในการที่จะรับกระแสในการเชื่อมตามคาในตารางที่กําหนดนี้ โดยมีการสูญเสียพลังงาน (Power Lost) นอยที่สุด ความยาวเปนฟุตที่กําหนดใหนั้น เปนความยาวรวมของสายเคเบิ้ลทั้งสาย เชื่อม (Welding Cable) และสายดิน (Ground or Ground Cable) ตัวอยางเชน 60 ฟุต หมายถึง เปนสายเชื่อม 30 ฟุต และสายดินอีก 30 ฟุต ตารางเสนอแนะการใชสายเคเบิ้ลขนาดตาง ๆ (SUGGESTED COPPER WELDING CABLE SIZE GUIDE)
232
ตารางตอไปนี้ แสดงคาของโวลเทจที่ลดลง (Voltage Drop) ตอความยาวของสายเคเบิ้ล 100 ฟุต ตามปกติโวลเทจจะลดลงมากนอยขึ้นอยูก ับขนาดความโตของสายเคเบิ้ล ความยาวและขนาด ของกระแสไฟที่ใช การที่สายเคเบิ้ลรอนเกินไปจะเปนเหตุใหเกิดชํารุดไดในเวลาอันสั้น ดังนั้นตัวเลขที่ใหไวนี้ จําเปนตองคุมไปถึง ขอตอตาง ๆ ของสายเคเบิ้ลตองแนนรวมทั้งขอตอที่หัวจับลวดเชื่อมและขอตอ สายดินตองอยูใ นสภาพดีเสมอ โวลเทจลดของกระแสไฟ D.C. ตอสายเคเบิ้ล 100 ฟุต (D.C. VOLTAGE DROP PER 100 FEET OF LEADS)
233
ตารางเสนอแนะขนาดตางๆ ของสายไฟทางเขา (SUGGESTED COPPER POWER CABLE SIZE GUIDE)
สําหรับเครื่องที่ใชกระแสไฟเกินกวาที่ใหไวในตาราง ใหใชสายคูที่มขี นาดรวมกันแลว เทากับกระแสที่ใช เชน เครื่องเชื่อมชนิดมอเตอรขับที่ตองการกระแสทางเขา 200 แอมป อาจใชสาย A.W.G. เบอร 1/0 หรือเบอร 2/0 สองเสนรวมกัน เพื่อตองการทราบขนาดสายไฟทีถ่ ูกตอง ใหดูที่ Name Plate ที่ติดอยูกับเครื่องนั้น ๆ หรือดู จากแผนดาตา ดาตาหรือตัวเลขที่กําหนดถือหลักเกณฑจาก NEC Minimum Standard ที่ใชกับ เครื่องมือเชื่อมทั่วไป (ตัวเลขที่ใหในตารางขางบนนี้ใชกับสายเคเบิ้ลชนิด 3 Conductor ขนาดของกระแสลงอีก 20 % ตอ 1 Conductor)
ถาเปนสายเคเบิ้ลชนิด 4 Conductor ใหลด
234
9.4 ความเขมของกระจกหนากาก (LENS SHADE SELECTOR) For Goggles or Helmet
บรรณานุกรม วิฑูรย สวัสดิรักษา. เทคนิคการเชื่อมดวยลวดเชื่อมหุมฟลั๊กซ. กรุงเทพ ฯ : หางหุน สวนจํากัด เลิศวิลัยพาณิชย, 2528 วิทยา ทองขาว. งานเชื่อมไฟฟา. กรุงเทพ ฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด, 2538 วิทยา ละออจันทร, นาวาเอก, จักรชัย ชืน่ วาริน, นาวาเอก. การเชื่อมตัวเรือเหล็ก. กรุงเทพ ฯ : กรมยุทธศึกษาทหารเรือ. เษก ทองอุน. คูมือการเชื่อมโลหะของโฮบารท. กรุงเทพ ฯ : หางหุนสวนจํากัด เลิศวิลัยพาณิชย, 2526