สารหัวใจ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1

Page 1

มูลนิธิหัวใจแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ปท่ี 9 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2557

Review กินเค็มมาก..... อันตรายกับหัวใจ และหลอดเลือด

3

ไขปญหา โรคหัวใจ

ภาวะหัวใจสั่นพริ้ว Atrial Fibrillation

ภารกิจ รำลึก

5

6

9


มูลนิธหิ วั ใจแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ รายพระนาม และรายนามคณะกรรมการบริหาร

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงดำรงตำแหนงประธานคณะกรรมการ

1. ทานผูห ญิงสุมาลี จาติกวนิช 2. ศาสตราจารยนายแพทยปริญญา สากิยลักษณ 3. นายวัลลภ เจียรวนนท 4. ศาสตราจารยนายแพทยศภุ ชัย ไชยธีระพันธ 5. นางธัญญา สุรสั วดี 6. แพทยหญิงคุณสวรรยา เดชอุดม 7. นายสนัน่ อังอุบลกุล 8. นางเจียมจิตต จิราธิวฒ ั น 9. พลเอกนายแพทยประวิชช ตันประเสริฐ 10. นางนพมาศ ไวยรัชพานิช 11. นางสุพฒ ั นา อาทรไผท 12. นางรัชดา บุลยเลิศ

วัตถุประสงค

กรรมการทีป่ รึกษา รองประธานกรรมการคนที่ 1 รองประธานกรรมการคนที่ 2 เลขาธิการ เหรัญญิก ประธานฝายวิชาการ ประธานฝายจัดหาทุน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

13. พลเอกนายแพทยประสาท เหลาถาวร 14. ภญ.วีรวรรณ เรืองนิวตั ศิ ยั 15. นายแพทยประดิษฐชยั ชัยเสรี 16. พลอากาศตรีนายแพทยบรรหาร กออนันตกูล 17. นายมณฑป ผลาสินธุ 18. ดร.ประภา เหตระกูล ศรีนวลนัด 19. นายชัยสิทธิ์ วิรยิ ะเมตตากุล 20. ดร.ธาริษา วัฒนเกส 21. นายแพทยเกรียงไกร เฮงรัศมี 22. พลตรีนายแพทยชมุ พล เปย มสมบูรณ (ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย)

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

1. นำเสนอและเผยแพรขอมูลวิชาการทางการแพทยเกี่ยวกับโรคหัวใจและหลอดเลือด กิจกรรมผลงานของมูลนิธิหัวใจฯ สำหรับประชาชนที่สนใจ 2. สงเสริมและสนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน เพื่อลดปจจัยเสี่ยงและอัตราการตายของโรคหัวใจและหลอดเลือด 3. เพื่อเปนแหลงคนควา ศึกษาและใหบริการขอมูลทางการแพทยแกประชาชนที่สนใจ และนักวิชาการ 4. ศูนยประสานสรางเครือขาย สถาบันการศึกษา และองคกรตางๆ กำหนดการออกปละ 3 ฉบับ จำนวนพิมพ 5,000 เลม


มูลนิธิหัวใจแหงประทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

กินเค็มมาก..... อันตรายกับหัวใจ และหลอดเลือด ผศ.วันทนีย เกรียงสินยศ

สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

“ลด “เค็ม” ครึ่งหนึ่ง คนไทยหางไกลโรค” เปนสโลแกนของเครือขายลดบริโภคเค็ม ใชในการรณรงคใน

ชวง 2 ปทผี่ า นมา เพือ่ ใหคนไทยบริโภคอาหารทีม่ คี วามเค็มลดลง เพือ่ ลดความเสีย่ งของการเปนโรคความดันโลหิต สูง ซึ่งเปนปจจัยที่สงผลใหเปนโรคที่เกี่ยวกับหัวใจและหลอดเลือด โดยเฉพาะหลอดเลือดสมองแตกหรือที่เรียกวา สโตรค (stroke) นอกจากนี้ยังลดความเสี่ยงของไตวายดวย

อาหารที่ มี ร สชาติ เ ค็ ม คื อ อาหารที่ มี เกลือเปนสวนประกอบ ซึ่งอาจอยูในรูป ของเกลือแกงที่ใชในการปรุงรสหรือถนอม อาหาร นํ้าปลา ซีอิ๊ว ซุปกอน ผงปรุงรส ตางๆ ในทางวิทยาศาสตรเกลือหมายถึง สวนผสมทางเคมีที่เกิดจากโซเดียมรอยละ 40 และคลอไรดรอ ยละ 60 โซเดียมเปนสาร ที่ทําใหรสชาติเค็ม และเปนสวนประกอบ สําคัญในของเหลวตางๆ ในรางกาย ถากิน เค็มมาก รางกายจะมีปริมาณโซเดียมสูง เหมือนนํา้ ทะเลทีเ่ ค็มจัด รางกายจําเปนตอง ดืม่ นํา้ มาก เพือ่ ทําใหความเค็มในเลือดกลับ มาอยูระดับที่สมดุล ปริมาณนํ้าในหลอด เลือดที่เพิ่มขึ้น สงผลใหเกิดภาวะความดัน โลหิตสูง เมื่อเกิดความดันโลหิตสูงนานๆ ทําใหเพิ่มโอกาสที่หลอดเลือดสมองแตกได และยังทําใหหัวใจทํางานหนักขึ้น (เตนเร็ว ขึ้น) ปริมาณของเหลวในรางกายมากเกิน ไปทําใหเกิดอาการบวม เสนเลือดคั่ง และ หัวใจวายได นอกจากนี้ยังมีการศึกษาพบ วาเกลือโซเดียมทีม่ ากเกินไปยังมีผลตอ โรค มะเร็งกระเพาะอาหาร และทําใหมีการขับ ออกของแคลเซียมมากเกินไปดวย ดังนั้น ทุกคนจึงไมควรบริโภคโซเดียมมาก สําหรับ บุคคลทีเ่ ปนโรคไต เบาหวาน ความดันโลหิต

สูงและหัวใจ มีความจําเปนอยางยิง่ ในการ “ลด” ปริมาณการบริโภคโซเดียม เพือ่ ชวย ควบคุมโรค และหลีกเลี่ยงภาวะแทรกซอน ทุกวันนี้คนเรากินอาหารที่เค็มหรือมี โซเดี ย มมากเกิ น ไป จากการสํ า รวจการ บริโภคอาหารพบวาปจจุบันคนไทยไดรับ โซเดียมมากกวาที่รางกายตองการถึง 3 เทา รางกายตองการโซเดียมประมาณวัน ละ 525-1600 มิลลิกรัม ซึ่งถาคิดกลับมา เปนเกลือแกงที่ใชในการประกอบอาหาร ประมาณ 1.3-4.0 กรัม (ไมเกิน 1 ชอนชา) หรือเทากับนํ้าปลาประมาณ 2-4 ชอนชา จะเห็นไดวาทั้งวัน (อาหาร 3 มื้อ) สามารถ ใชนํ้าปลาในการประกอบอาหารไมเกิน 4 ชอนชา ซึ่งในที่นี้หมายรวมถึงเครื่องปรุง รสชนิดอื่นที่ใชในการประกอบอาหารดวย ที่รวมกันตองไมเกิน 4 ชอนชาตอวัน เชน ซีอิ๊ว 1 ชอนชา ซอสปรุงรส 1 ชอนชา และ นํ้าปลา 2 ชอนชา เปนตน ที่กลาวเชนนี้ เพราะบางทานเขาใจผิดคิดวาไมควรเติม เกลือหรือนํ้าปลา แตสามารถใชเครื่องปรุง รสอืน่ ไดซงึ่ ไมถกู ตอง เครือ่ งปรุงรสทีอ่ อกรส เค็มทุกชนิด ลวนมีโซดียมเปนสวนประกอบ ทั้งสิ้น อาจมากนอย แตกตางกันบาง ในความเป น จริ ง แล ว อาหารที่ ไ ม มี

รสชาติ เ ค็ ม ก็ มี โ ซเดี ย ม อยูดวยเชนกัน ทั้งนี้เพราะโซเดียม อาจจะอยูใ นองคประกอบอืน่ ทีไ่ มใชโซเดียม คลอไรด ห รื อ เกลื อ เช น โซเดี ย มที่ อ ยู  ใ น ผงชูรส หรือที่เรียกวาโซเดียมกลูตาเมต โซเดียมมีอยูในผงฟู เบกกิ้งโซดา (โซเดียม ไบคารบอเนต) ที่ชวยทําใหอาหารขึ้นฟู หรือใชในการทําผลิตภัณฑเบเกอรี่ตางๆ ดังนั้นเราจึงควรหลีกเลี่ยงไมใชผงชูรสใน การประกอบอาหารมาก รวมทั้งหลีกเลี่ยง อาหารที่ ผ  า นการแปรรู ป ต า งๆ เพราะ อาหารเหลานี้มักมีโซเดียมในรูปแบบตางๆ ปนอยูมาก รวมทั้งผลิตภัณฑเบเกอรี่ตางๆ ดวย อาหารเกือบทุกชนิดมีโซเดียมเปน องคประกอบดวยทั้งสิ้น แตจะมีปริมาณ มากนอยแตกตางกันขึ้นอยูกับชนิดอาหาร และการปรุงแตง อาหารประเภทธัญพืช ผัก ผลไม มักมีโซเดียมนอยกวาอาหารประเภท เนื้อสัตว สารหัวใจ ปที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม

3


มูลนิธิหัวใจแหงประทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

ตาราง แบงกลุม อาหารตามปริมาณโดยเฉลี่ย ของโซเดียมที่มีอยูในอาหารนั้นตอหนึ่งหนวยบริโภค โซเดียม โดยเฉลี่ย 50 มิลลิกรัม ตอหนึ่งหนวยบริโภค ขาวสวย 2 ทัพพี เนื้อหมู / ไก (ไมปรุงรส) 2 ชอนโตะ ผักสด ผลไมสด ผลไมอบกรอบ 30 กรัม

โดยเฉลี่ย 120 มิลลิกรัม โดยเฉลี่ย 250 มิลลิกรัม โดยเฉลี่ย 500 ตอหนึ่งหนวยบริโภค ตอหนึง่ หนวยบริโภค มิลลิกรัมตอหนึ่งหนวย บริโภค ขนมปงปอนด 1 แผน ไขตม 1 ฟอง

ไขเค็ม 1 ฟอง นํ้าพริกเผา 1 ชอนโตะ

เตาหูยี้ 1 ชอนโตะ ปลาทูนึ่ง 1 ตัว (50 กรัม)

นมสด 1 แกว กุง (ไมปรุงรส) 2 ชอนโตะ ปลาแผนอบ1 ซอง (30 กรัม) เนื้อปลา (ไมปรุงรส) 2 ชอนโตะ ไสกรอก / หมูยอ 30 กรัม ยําถั่วพู 1 จาน (110 กรัม) เนย / มารการีน 1 ชอนโตะ ขนมปงไสตา ง ๆ 1 ชิน้ (80 กรัม) หอยแครงลวก 100 กรัม ถั่วอบกรอบ 30 กรัม ขาวเกรียบกุง 30 กรัม เนยแข็ง (ชีส) 30 กรัม นํ้าผัก / นํ้ามะเขือเทศ 1 กระปอง (180 ซีซี)

โดยเฉลี่ย 750 มิลลิกรัม โดยเฉลี่ย 1000 มิลลิกรัม โดยเฉลี่ย 1500 มิลลิกรัม โดยเฉลี่ย 2000 ตอหนึ่งหนวยบริโภค ตอหนึง่ หนวยบริโภค ตอหนึง่ หนวยบริโภค มิลลิกรัมตอหนึ่งหนวย บริโภค เบกกิ้งโซดา 1 ชอนชา

นํ้าปลา / ซีอิ้ว 1 ชอนโตะ

บะหมี่สําเร็จรูปพรอมเครื่องปรุง เกลือ 1 ชอนชา 1 ซอง ตั้งฉาย 1 ชอนโตะ ขาวหมกไก 1 จาน ขาวผัดกะเพรา 1 จาน ปลารา 30 กรัม ปลาเสน 1 ซอง (30 กรัม) ขาวหมูแดง 1 จาน ขาวคลุกกะป 1 จาน ปลา – กุงจอม 100 กรัม ปลาทูนา / ซารดีน 1 กระปอง หนอไมดอง 100 กรัม กวยเตี๋ยวเนื้อสับ 1 จาน เสนเล็กเนื้อเปอยนํ้า 1 ชาม ขนมจีนซาวนํ้า 1 จาน ผักกาดดอง 100 กรัม ขนมจีนนํ้ายา 1 จาน ขาวเหนียว สมตํา ไกยาง 1 ชุด ยําวุนเสน 1 จาน (110 กรัม) โจกกึ่งสําเร็จรูปพรอมเครื่องปรุง ยําหมูยอ 1 จาน (120 กรัม) 1 ถวย ลาบปลาดุก 1 จาน 150 กรัม) ขาวยํา 1 จาน หอยลายทอดบรรจุกระปอง 100 กรัม จากตารางจะเห็นไดวาทุกวันนี้เราไดรับโซเดียมจากอาหารมากเกินกวาที่ตองการ จนอาจเปนอันตรายตอสุขภาพของเรา ดังนั้น มาชวยกันลดการกินโชเดียม โดยลดการกินเค็มจากการใชเครื่องปรุงรสที่มีรสเค็มลงครึ่งหนี่งทั้งปริมาณและชนิด เพื่อใหไดรับ

โซเดียมลดลง และที่สําคัญ “ชิมกอนปรุง” ทุกครั้ง และควรงดการปรุงเพิ่ม เพื่อลดโอกาสการไดรับโซเดียมมากเกินไป จนเปน ผลเสียตอสุขภาพ

4

สารหัวใจ ปที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม


มูลนิธิหัวใจแหงประทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

ไขปญหาโรคหัวใจ

Q: A: Q: A:

Q: A:

คุณหมอสัง่ ใหทานยาละลายลิม่ เลือด Warfarin ตองมีขอ ปฎิบตั อิ ยางไร บางครับ ? ยา Warfarin เปนยาตานการแข็งตัวของเลือดใชในการรักษาโรคเสนเลือดสมองตีบ ลิ่มเลือดอุดตันที่ขาหรือปอด และปองกันเสนเลือดสมองตีบที่เกิดจากการเตนหัวใจ ผิดจังหวะชนิด Atrial Fibrillation เปนยาที่มีประโยชนแตจะอันตรายถาระดับยาใน เลือดเกินกวาปกติซึ่งระดับยาจะมีการเปลี่ยนแปลงไดถาผูปวยทานยาอื่นหรืออาหาร บางชนิด โดยมีขอแนะนําคือ หลีกเลี่ยงการทานอาหารเสริม สมุนไพร และถาจะทาน ยาอืน่ เชน ยาฆาเชือ้ ยาลดการอักเสบแนะนําใหปรึกษาแพทยกอ น รวมทัง้ อาหารบาง ชนิดอาจมีผลกับระดับยาได ไดแก อาหารที่มวี ติ ามินเคสูง เชน ตับ ผักใบเขียว ชาเขียว เปนตน และถามีเลือดออกผิดปกติควรรีบปรึกษาแพทย

ตรวจพบเปนเสนเลือดหัวใจตีบจะทําบอลลูนหรือ Bypass ดี ? ปจจุบันแนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบมี 3 วิธีหลักๆ คือ การรับประทานยา การ ขยายหลอดเลือดดวยบอลลูน การทําผาตัด Bypass คงบอกไมไดวาวิธีใดดีที่สุดขอแยกขอดีขอเสียของแตละวิธีดังนี้ • การรักษาดวยยามีขอดีคือไมเจ็บตัวแตขอเสียคือใชไดในกรณีที่หลอดเลือดหัวใจตีบไมมากหรือมีขอจํากัดที่ ไมสามารถทําบอลลูนหรือ Bypass ได เชน ไตเสื่อม อายุมาก โดยทั่วไปถามีหลอดเลือดหัวใจตีบมากวิธีนี้ จะไดผลการรักษาแยที่สุด • การรักษาดวยการขยายหลอดเลือดดวยบอลลูน มีขอดีคือไมตองผาตัด ใชเวลาพักฟนไมนาน แตขอเสียคือ มักตองทําหลายครั้งถึงจะแกปญหาไดหมด นอกจากนี้ยังอาจขยายไมไดในบางจุด เชน บริเวณขั้วหัวใจหรือ กรณีหลอดเลือดตีบสนิท และอาจตีบซํ้าไดบอยในผูปวยเบาหวาน โรคไต เปนตน • การผาตัด Bypass ขอดีคือแกไขหลอดเลือดที่ตีบตันไดทุกจุด ไดผลดีในผูปวยเบาหวาน โรคไต แตแนนอน ขอเสียคือเปนการผาตัดใหญตองการการพักฟนนาน โดยสรุปคงบอกไมไดวา วิธใี ดดีกวากันขึน้ กับความรุนแรงของหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคประจําตัว โดยพิจารณารวม กันระหวางผูปวย ญาติและแพทยผูรักษา

ทานยาละลายลิ่มเลือดถาจะผาตัดหรือถอนฟนจะตองทําอยางไร ? กอนอื่นตองบอกกอนวายาละลายลิ่มเลือดในปจจุบันมี 2 กลุมหลักๆ คือ ยา Warfarin กับยาตานเกล็ดเลือดไดแก Aspirin Clopidogrel ซึง่ มีอายุของยาในรางกายตางกันคือถายา Warfarin จะตองหยุดยา 5 วันจึงหมดฤทธิ์ สวนยาตานเกร็ดเลือด จะตองหยุดยา 7 วันจึงหมดฤทธิ์ แตขอสําคัญคือตองปรึกษาแพทยเจาของไขกอนเนื่องจากผูปวยบางคนมีความเสี่ยงที่จะ หยุดยา เชน ใสขดลวดเพื่อขยายหลอดเลือดมาไมนาน ผูปวยที่เปลี่ยนลิ้นหัวใจเทียม ซึ่งตองมีแนวทางพิเศษในชวงหยุดยา สารหัวใจ ปที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม

5


มูลนิธิหัวใจแหงประทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

ภารกิจรําลึก กิจกรรมมูลนิธิหัวใจแหงประเทศไทยฯ

1. วันที่ 19 พ.ค. 57 ประชุมใหญสามัญประจํา ป 2557โดยสมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินทรงเปนประธานในการประชุม ณ อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ป ซอยศูนยวจิ ยั ถนนเพชรบุรตี ดั ใหม 2. วันที่ 8-11 พ.ค. 57 รวมออกบูธนิทรรศการและจัด กิจกรรมภายในบูธ งาน Money Expo 2014 ณ อาคารชาเลน เจอร 2 – 3 อิมแพ็ค เมืองทอง ธานี 3. วันที่ 16-24 ส.ค. 57 รวมออกบูธนิทรรศการและจัด กิจกรรมภายในบูธ งาน Bangkok International Grand Motor Sale 2014 ณ หอง Welcome Hall ศู น ย นิ ท รรศการและการ ประชุมไบเทค บางนา 6

สารหัวใจ ปที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม

กิจกรรมโครงการ “กระโดด เชื อ ก ทางเลื อ กเยาวชน พนโรคหัวใจ” 1. วันที่ 28- 30 พ.ค. 57 อบรมทักษะกีฬากระโดดเชือก ระดับพื้นฐาน (ภาคใต) ครั้งที่ 1 ณ หาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จ.สงขลา เพื่ อ อบรมทั ก ษะ เทคนิค และแทคติคการเลนกระโดดเชือกในระดับพื้นฐาน และ สรางเครือขายความรวมมือในสวนภูมิภาค มีผูเขารวม 13 ทีม จํานวน 69 คน 2. วันที่ 2 - 8 มิ.ย. 57 อบรมที ม สาธิ ต กี ฬ ากระโดด เชื อ กประจํ า มู ล นิ ธิ หั ว ใจฯ ณ สถาบั น การพลศึ ก ษา วิทยาเขตชลบุรี เพื่อสรางทีม สาธิตในการประชาสัมพันธ และการนําเสนอการเลนกระโดดเชือก ไดรับเกียรติจากโคช กระโดดเชือกจากฮองกง มีผูอบรม 10 คน 3. วันที่ 18 - 20 มิ.ย. 57 อบรมทักษะกีฬากระโดดเชือก ระดับพื้นฐาน (กรุงเทพมหานคร) ครั้งที่ ๖ ณ ศูนยกีฬาประชา นิเวศน กรุงเทพฯ เพื่ออบรมทักษะ เทคนิค และแทคติคการเลน กระโดดเชือกตามมาตรฐานสากล และเผยแพรนําวิธีการเลน กระโดดเชือกไปใชไดอยางถูกตอง มีโรงเรียนที่เขารวมจํานวน 20 แหง ผูเขาอบรม100 คน


มูลนิธิหัวใจแหงประทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

กิจกรรมโครงการ “อาหารไทย หัวใจดี ” 1. วันที่ 8 – 11 พ.ค. 57 งาน Money Expo 2014 ณ อาคารชาเลนเจอร 2 – 3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี – โดยบริการ ใหคาํ แนะนําในการเลือกรับประทาน อาหาร ที่ไมกอใหเกิดโรคหัวใจและหลอด เลือด ประกอบธงโภชนาการ โดย นักโภชนาการจาก ม.มหิดล 2. วั น ที่ 19 พ.ค. 57 งานประชุ ม ใหญ ส ามั ญ ประจํ า ป 2557 ของมูลนิธิฯ – ถวาย กระเชาผลิตภัณฑอาหารที่ไดรับการรับรองและอนุญาตใหใชตรา สัญลักษณฯ จากป 2556 3. วันที่ 21 -23 พ.ค. 57 งาน THAIFEX World of Food Asia 2014 ครั้งที่ 11 – โครงการ TFGH ประชาสัมพันธ ตราสัญลักษณ “อาหารรักษ หัวใจ” เพื่อหาสมาชิกใหม และรวมประชาสัมพันธกับ สมาชิกที่ออกแสดงสินคาในงาน 4. วันที่ 29 – 30 พ.ค. 57 ชมรมโภชนวิทยามหิดล จัดประชุม วิชาการโภชนวิทยา ครั้งที่ 13 เรื่อง “โภชนาการทางเลื อ กเพื่ อ การส ง เสริมสุขภาพและชะลอวัย” ณ โรงแรม มิราเคิล แกรนด

กิจกรรมโครงการ “โครงการฝกอบรมการ ชวยชีวิตขั้นพื้นฐาน” โครงการฝ ก อบรมการช ว ย ชีวิตขั้นพื้นฐาน มีจุดมุงหมายให ประชาชนไทยไดทราบและสามารถ ปฏิบัติการชวยชีวิตขั้นพื้นฐานให กับคนที่หัวใจหยุดเตนและหยุดหายใจกะทันหันไดทันทวงที และ ปลอดภัย ภายใน 4 นาที เปนการชวยโดยไมตอ งใชเครือ่ งมือแพทย เพียงแตใชมอื กดทีห่ นาอก และเปาลมหายใจเขาปากผูป ว ย ตลอด 6 ปท่ีผานมาตั้งแตเริ่มโครงการฯ ป 2550-2556 ซึ่งกิจกรรมที่ ผานมาตั้งแตเดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 12 หนวยงาน ดังนี้ 1. HIV-NAT ศูนยวิจัยโรคเอดส สภากาชาด 2. คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 3. สํานักควบคุมโรค ดานควบคุมโรคสุวรรณภูมิ 4. บริษัท ฟลิปส อิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด 5. กันยากายภาพบําบัด 6. บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) สาขาเพลินจิต 7. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 8. สาธารณสุขวัดธาตุทอง 9. โรงแรมคอนราด 10. โรงแรมอมารี บูเลอวารด 11. ทรู ฟตเนส ( 3 สาขา ) 12. สมาคมแพทยสตรีแหง ประเทศไทย

บันทึกภารกิจ กิจกรรมของมูลนิธิหัวใจฯ 1. วันที่ 28 ก.ย. 57 งานเดินเฉลิมพระเกียรติฯ เนื่องในวันหัวใจโลก 2557 ณ สวนหลวง ร.๙ เวลา 06.00 น. 2. วันที่ 7-9 ต.ค. 57 มูลนิธฯิ รวมกับธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) จัด “นิทรรศการใตรม พระบารมีเพือ่ หัวใจไทย วันหัวใจโลก” ตั้งแตเวลา 07.30 - 15.00 น. ณ อาคารสํานักงานใหญ ธนาคารกรุงเทพ (ถนนสีลม) 3. วันที่ 14 พ.ย. 57 มูลนิธิฯ รวมกับสมาคมแพทยโรคหัวใจแหงประเทศไทยฯ จัดโครงการหัวใจสัญจร ณ โรงพยาบาลกาฬสินธุ สารหัวใจ ปที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม

7


มูลนิธิหัวใจแหงประทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

กิจกรรมโครงการ “กระโดดเชือกทางเลือกเยาวชน พนโรคหัวใจ” 1. กิจกรรม “1st Thailand Rope Skipping Championship 2014” รวมกับสมาคมกระโดดเชือก (ประเทศไทย) จัดขึ้นวันที่ 2 ก.ย. 57 ณ อาคารกีฬาเวสน 2 ศูนยเยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุน) ดินแดง กรุงเทพฯ เปนกิจกรรมแขงขันกีฬา กระโดดเชือกตามหลักสากล และเปดตัวสมาคมกระโดดเชือก (ประเทศไทย) 2. กิจกรรม “การแขงขันกระโดดเชือกชิงถวยพระราชทาน” ครั้งที่ 8 จัดขึ้นในวันที่ 18 ธ.ค. 57 ณ อาคารกีฬาเวสน 2 ศูนย เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญีป่ นุ ) ดินแดง กรุงเทพฯ ชิงถวยพระราชทานและถวยประทานจากสมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินนี าถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาศรีรศั มิ์ ฯ และพระเจาหลานเธอ พระองคเจาสิรวิ ณ ั ณวรี ฯ รวมจํานวน 23 ถวย

ภารกิจ 2557 โครงการ “ผาตัดหัวใจเฉลิมพระเกียรติ ๓๐๐ ราย” ในป 2557 นี้ มูลนิธิฯ จัดกิจกรรม “โครงการผาตัดหัวใจ เฉลิมพระเกียรติ ๓๐๐ ราย” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อชวยใหผูปวย โรคหัวใจผูยากไรที่ตองรอคิวการผาตัดใหไดรับการผาตัดเร็วขึ้น โดยใหมีการผาตัดนอกเวลาราชการ ซึ่งมูลนิธิฯ จะออกคาใชจาย ใหแกทมี ผาตัดเปนเงิน 40,000 บาท และคาใชจา ยในการเดินทาง รวมทัง้ คาใชจา ยอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของใหแกผปู ว ยทีไ่ ดรบั การผาตัดเปน เงิน 10,000 บาท รวมเปนเงิน 50,000 บาทตอราย รวมเปนเงิน ทั้งสิ้น 15 ลานบาท โดยมีโรงพยาบาลที่รวมโครงการทั้งหมดกวา 20 โรงพยาบาลทั่วประเทศ ซึ่งมูลนิธิฯ ขอเชิญชวนทานผูสนใจรวมบริจาคเงินสนับสนุน กิ จ กรรมได โ ดยโอนเงิ น เข า บั ญ ชี “โครงการผ า ตั ด หั ว ใจ เฉลิมพระเกียรติ - มูลนิธหิ วั ใจแหงประเทศไทยฯ” ผานธนาคาร: • ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนเพชรบุรตี ดั ใหม ประเภทออม ทรัพย เลขที่ 043-272076-3 • ธนาคารกรุงไทย สาขาถนนเพชรบุรีตัดใหม ประเภทออม ทรัพย เลขที่ 041-0-10697-6 • ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนเพชรบุรีตัดใหม ประเภทออม ทรัพย เลขที่ 153-4-18982-2 • ธนาคารทหารไทย สาขาโรงพยาบาลกรุงเทพ อาคารศูนยทนั ต กรรม ประเภทออมทรัพย เลขที่ 196-2-12335-0 สอบถามรายละเอียดการบริจาคไดที่ มูลนิธหิ วั ใจแหงประเทศไทย โทร.02-7166843 หรือ 02-7166658 โทรสาร 02-7165813 8

สารหัวใจ ปที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม

โครงการ “ฝกอบรม การชวยชีวิต ขั้นพื้นฐาน” โครงการฝกอบรมการชวยชีวิตขั้นพื้นฐาน ในมูลนิธิหัวใจแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ เปดรับฝกอบรม BLS ( Basic Life Support ) ป 2557 ใหกับหนวยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน ตั้งแต 40 คนขึ้นไป เพื่อถวายเปนพระราชกุศล สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องคประธานมูลนิธิหัวใจฯ สอบถามรายละเอียดขั้นตอนการเขารวมโครงการฯ ไดที่ มูลนิธิ หัวใจแหงประเทศไทย 02-716-5661 หรือ 02-716-6658 ใน วันและเวลาราชการ “เพือ่ คนทีค่ ณ ุ รักจะอยูก บั คุณไดนาน” หาก ครอบครัวของคุณมีผสู งู อายุ มีคนเปนโรคหัวใจ หอบหืด ความดัน โลหิตสูง ฯลฯ มีโอกาสเสีย่ งกับการเกิดหัวใจหยุดเตนกะทันหัน สิง่ ที่คุณควรมีที่สุดคือความรูในการชวยชีวิตขั้นพื้นฐาน เพื่อประวิง เวลารอรถพยาบาล “หุนสมชาย” สําหรับสอนการชวยชีวิตขั้น พื้นฐาน ชวยคุณได ในชุด “หุนสมชาย” จะมีคูมือ มีวีดิทัศนที่ให ทานทําตามไดโดยงายที่บาน มีไวเพื่อสอนคนในครอบครัว เพื่อ ชวยใหเคาอยูกับคุณไดนานๆ “หุนสมชาย” มีมูลคา 1,200 บาท สามารถบริจาคไดที่ มูลนิธิหัวใจแหงประเทศไทยฯ 02-7165661 หรือ 02- 7166658 ในวันและเวลาราชการ


มูลนิธิหัวใจแหงประทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

ภาวะหัวใจสัน่ พริว้ Atrial Fibrillation นพ.ธรณิศ จันทรารัตน รพ.พระมงกุฎเกลา

ภาวะหัวใจสั่นพริ้ว Atrial Fibrillation (AF) เปนภาวะหัวใจเตนผิดปกติที่พบบอยที่สุดในประชากรทั่วไปโดยอาจพบความชุกของ ภาวะนี้ไดถึง 4-5% ของประชากรในชวงอายุตั้งแต 65 ปขึ้นไป แตเมื่ออายุตั้งแต 80 ป ก็อาจพบอัตราความชุกไดถึง 11% ภาวะนี้สวน ใหญเปน โรคของความเสือ่ ม และความชรา ตามอายุทมี่ ากขึน้ ภาวะนีจ้ ะเกิดการเตนผิดจังหวะของหัวใจหองบน โดยเฉพาะหองบนดาน ซาย ที่จากเดิมมีการบีบตัวเปนจังหวะสมํ่าเสมอและแข็งแรงดี แตพอเกิดภาวะนี้ ก็จะเกิดการเตนเร็วที่มากกวาปกติเปนรอยเทา และไม สมํ่าเสมอ จึงเปนที่มาของคําวา “หัวใจสั่นพริ้ว” สงผลใหการบีบตัวของหัวใจหองบนลดลงอยางมาก ถึงแมวาภาวะหัวใจเตนผิดจังหวะ นีจ้ ะไมทาํ ใหเกิดการเสียชีวติ แบบเฉียบพลัน แตจะทําใหผปู ว ยเพิม่ ความเสีย่ งตอการเกิดภาวะหลอดเลือดสมองตีบทีเ่ กิดจากลิม่ เลือดใน หัวใจ และภาวะหัวใจลมเหลว ซึ่งเปนการเพิ่มอัตราการเสียชีวิต และทุพพลภาพภาพจําลองการเตนของกระแสไฟฟาในหัวใจหองบนที่ เกิดการเตนผิดจังหวะและเกิดการสั่นพริ้ว เพราะมีวงจรของกระแสไฟฟาเปนวงจรขนาดเล็กๆ จํานวนมาก ทําใหหัวใจหองบนเตนดวย อัตราเร็วเทากับ 400-600 ครั้งตอนาที

ผูปวยจะมีอาการอยางไรบาง

ผูป ว ยบางสวนจะไมแสดงอาการทีผ่ ดิ ปกติใดๆ นอกจากไดรบั การตรวจพบโดยบังเอิญจากแพทย จากการเจ็บปวยจากโรคอืน่ ๆ หรือ จากการตรวจสุขภาพประจําป แตผูปวยสวนใหญมักจะมีอาการแสดง อันไดแก ใจสั่น หรือหัวใจเตนไมสมํ่าเสมอ มีอาการออนเพลีย งาย และเหนื่อยงายกวาปกติ และในบางกรณีอาจพบวามีการเตนของชีพจรที่ชากวาปกติ ทําใหเกิดอาการวูบ หนามืด หรือหมดสติได ผูป ว ยอีกสวนหนึง่ ก็อาจมาดวยอาการทีเ่ กิดจากภาวะแทรกซอนคือ อาการหลอดเลือดสมองอุดตันอันเปนผลจากลิม่ เลือดในหัวใจ ทําให มีอาการอัมพฤกษ หรืออัมพาต

ภาวะนี้จะวินิจฉัยไดอยางไร

แพทยจะตรวจพบวามีการเตนของหัวใจ และชีพจรไม สมํา่ เสมอ และตองมีการตรวจยืนยันดวยคลืน่ ไฟฟาหัวใจทุกราย แตความลําบากในการวินจิ ฉัยนัน้ มักจะพบในผูป ว ยทีไ่ มไดมกี าร เตนของหัวใจผิดปกติตลอดเวลา เชน วันละครั้ง หรือนอยกวา นัน้ ซึง่ ขณะทีม่ าพบแพทยกจ็ ะปกติ จึงตองอาศัยการตรวจคลืน่ ไฟฟาหัวใจเปนระยะเวลาที่นานขึ้น เชน ติดไว 24 หรือ 48 ชม. ที่เรียกวา โฮลเตอร ( Holter)

สารหัวใจ ปที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม

9


มูลนิธิหัวใจแหงประทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

ใครบางที่เปนกลุมเสี่ยงที่จะเกิดภาวะนี้

สวนใหญจะไมมีสาเหตุที่ชัดเจน ซึ่งมักจะเกิดในผูสูงอายุ แตมีบุคคล และผูปวยบางกลุมที่เพิ่มความเสี่ยงอันไดแก ผูปวยที่มีภาวะ ไทรอยดเปนพิษ ผูปวยโรคความดันโลหิตสูง ผูปวยโรคลิ้นหัวใจผิดปกติ หรือมีโรคหัวใจลมเหลวอยูเดิม และผูปวยที่มีภาวะอวนซึ่งมักจะ สัมพันธกับภาวะการหยุดหายใจขณะหลับ ( sleep apnea) ทําใหมีการกระตุนภาวะ AF มากขึ้น และผูที่มีการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่ มีแอลกอฮอล โดยเฉพาะอยางยิ่งถาดื่มในปริมาณมาก ก็เปนปจจัยกระตุนการเกิดภาวะนี้ที่ชัดเจน

จะรักษาภาวะหัวใจสั่นพริ้ว Atrial Fibrillationไดอยางไร แนวทางการรักษาพอจะสรุปไดดังนี้

1.รักษาโรคหรือภาวะที่เปนสาเหตุของการเกิดโรคนี้ เชน ภาวะไทรอยดเปนพิษ ผูปวยโรคความดันโลหิตสูง ผูปวยโรคลิ้นหัวใจผิด ปกติ หรือมีโรคหัวใจลมเหลว และภาวะอวน 2. ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต และพฤติกรรมการดําเนินชีวิตบางอยาง เขน 2.1 ) หยุดดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล 2.2 ) หยุดสูบบุหรี่ เพราะเปนตัวกระตุนการเกิด AF 2.3 ) ในผูปวยที่แพทยใหการรักษาดวยยาละลายลิ่มเลือดชนิดวอฟาริน (Warfarin )จําเปน ตองควบคุมการบริโภคผักใบเขียวใหมปี ริมาณ ใกลเคียงกันในแตละวัน เพราะปริมาณวิตามิน K ในผักใบเขียวจะสงผลกับระดับยาละลายลิ่มเลือด 2.4 ) ออกกําลังกายเพื่อควบคุมนํ้าหนัก และทําใหการ นอนหลับมีคุณภาพ และควบคุมการบริโภคเกลือเพื่อชวยลดความดันโลหิต 2.5 ) หลีกเลีย่ งภาวะเครียดทีเ่ กิดขึน้ จากการเจ็บปวยจากภาวะนี้ โดยทําความเขาใจกับภาวะ ที่เปน และปรึกษาแพทยในขอที่ยังสงสัย เพื่อไมใหเกิดความวิตกกังวล 3. ยาควบคุมจังหวะการเตนของหัวใจใหสมํ่าเสมอ 4. ยาควบคุมการเตนของชีพจรไมใหเร็วเกินไป 5. ยาละลายลิ่มเลือด เพื่อปองกันไมใหเกิดลิ่มเลือดในหัวใจที่จะหลุดไปที่เสนเลือดสมอง อัน อาจเกิดอาการอัมพฤกษ หรืออัมพาต 6. การรักษาดวยการใชคลื่นไฟฟาความถี่สูงโดยผานสายสวนหัวใจ เพื่อไปตัดวงจรไฟฟาที่ผิด ปกติในหัวใจหองบน ซึ่งจะเหมาะสมในผูปวยที่เปนมาไมนาน หรือเปนในระยะไมกี่ป สําหรับแนวทางการรักษาดวยการใชยาจากแพทยนนั้ สิง่ สําคัญทีส่ ดุ คือการรับประทานยาละลายลิม่ เลือดในผูท มี่ ขี อ บงชี้ ซึง่ แพทยจะ เปนผูพ จิ ารณาในผูป ว ยแตละรายตามปจจัยเสีย่ ง เพราะเปนยาทีจ่ ะชวยลดภาวะทุพพลภาพ และการเสียชีวติ จากอัมพฤกษหรืออัมพาต ซึ่งมักจะตองกินตอเนื่องเปนระยะเวลานาน หรือตลอดไป และถารับประทานยาวอฟาริน( Warfarin ) ก็จะตองมีการตรวจเลือดเพื่อดู ระดับยาอยางสมํ่าเสมอ เนื่องจากวาถาระดับยาสูงมากเกินไป ก็อาจทําใหเกิดเลือดออก และเสียชีวิตได แตถาระดับยานอยเกินไปก็จะ ไมมีประสิทธิภาพในการปองกันลิ่มเลือด และตองระมัดระวังการใชยาอื่นๆ รวมดวยเพราะอาจจะมีปฏิกิริยากับยาละลายลิ่มเลือด สวน การที่จะใชยาควบคุมจังหวะ หรืออัตราการเตนของชีพจรนั้นก็จะขึ้นอยูกับสภาพของผูปวยแตละรายไป

10

สารหัวใจ ปที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม


โรคหัวใจจากภาวะ ตอมไทรอยดเปนพิษ

+ รศ.คลินิก.นพ.วีระศักดิ์ ศรินนภากร + รพ.ราชวิถี

ตอมไทรอยดคืออะไร? ตอมไทรอยดเปนตอมไรทอที่ผลิตฮอรโมนไทรอยด ตำแหนงของตอมไทรอยดอยูใตกลองเสียงหนาตอหลอดลม

ทำไมตอมไทรอยดถึงมีผลตอการเกิดโรคหัวใจได? ตอมไทรอยดสามารถผลิตฮอรโมนไทรอยดซึ่งทำใหเพิ่มอัตราการเตนของหัวใจและมีการเพิ่มเมตาบอลิซึมในรางกายทำใหหัวใจตอง ทำงานหนักมากขึ้น

ปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคไทรอยดเปนพิษมีอะไรบาง? ผูปวยที่มีความเสี่ยงตอโรคตอมไทรอยดเปนพิษ ไดแก ผูที่มีประวัติโรคไทรอยด ในครอบครัว เพศหญิง การไดรับยาบางชนิด เชน amiodarone

อาการโรคหัวใจจากตอมไทรอยดจะมีอาการอยางไร? อาการของโรคตอมไทรอยดเปนพิษ ผูป ว ยจะมีอาการเนือ่ งจากผลของฮอรโมนไทรอยดทม่ี ากขึน้ โดยจะมีอาการใจสัน่ หัวใจเตนเร็วหรือเตน ผิดจังหวะ เหงือ่ ออก ขีร้ อ น มือสัน่ กินจุแตนำ้ หนักลดลงนอกจากนีล้ กั ษณะเดนทีท่ ำใหสงสัยโรคนีค้ อื อาจจะพบวามีคอโตจากตอมไทรอยด ทีม่ ขี นาดทีโ่ ตขึน้ (แตบางรายอาจจะไมมอี าการคอโตโดยเฉพาะในเพศชายและผูส งู อายุ) ผูป ว ยบางรายอาจจะมีอาการตาโปนรวมดวย (อาการทางตาจะพบประมาณรอยละ 30 ของผูป ว ยซึง่ อาจจะไมพบทุกราย)

ผูปวยที่มีคอโตจากตอมไทรอยดที่โตขึ้นจะเปนไทรอยดเปนพิษหรือไม? การที่ผูปวยมีตอมไทรอยดที่โตขึ้นอาจจะไมไดเปนตอมไทรอยดเปนพิษทุกราย ผูปวยที่มีตอมไทรอยดโตอาจจะมีการทำงานของตอม ไทรอยดทผ่ี ดิ ปกติ การทำงานของตอมไทรอยดทเ่ี พิม่ ขึน้ หรือลดลงได การตรวจเพือ่ ยืนยันควรไดรบั การตรวจเลือดเพือ่ หาวาการทำงาน ของตอมไทรอยดปกติหรือผิดปกติอยางไร

การรักษา ปจจุบันการรักษาโรคตอมไทรอยดเปนพิษมี 3 วิธี ไดแก การรับประทานยาตานไทรอยด การรักษาโดยรับประทานรังสีไอโอดีนและ การทำผาตัด ซึ่งขึ้นกับลักษณะผูปวยแตละราย แตในรายที่มีโรคหัวใจจากตอมไทรอยดรวมดวย ควรไดรับการรักษาดวยยาและตาม ดวยการรักษาโดยรับประทานรังสีไอโอดีน

การพยากรณโรค โรคตอมไทรอยดเปนพิษเปนโรคที่สามารถรักษาหายได การปลอยทิ้งไวเปนเวลานานจะเกิดภาวะแทรกซอนทางหัวใจและหัวใจเตนผิด จังหวะ การรักษาแตเริ่มแรกไดผลดีและกลับสูปกติได แตถาปลอยทิ้งไวนานเกินไปแมวาไดรับการรักษาภาวะไทรอยดเปนพิษหายแลว การเตนหัวใจที่ผิดจังหวะและโรคกลามเนื้อหัวใจอาจจะคงอยูได ดังนั้นการไดรับการวินิจฉัยและรับการรักษาแตเริ่มแรกจะมีผลการ รักษาที่ดีและไมควรละเลยกับภาวะดังกลาว


EDITOR TALK บทบรรณาธิการ

กองบรรณาธิการวารสาร “สารหัวใจ”

วัสดีครับทานผูอานทุกทานในชวงนี้ก็เขาสูฤดูฝนซึ่ง โรคที่มากับฤดูฝนก็คือโรคไขหวัด โดยสวนใหญก็มักจะทำให เกิดการเจ็บปวยแตมักไมรุนแรงจนถึงนอนโรงพยาบาลหรือ เสียชีวิต แตในทางตรงขามในผูปวยสูงอายุหรือผูปวยที่มี โรคประจำตัว เชน โรคหัวใจ โรคปอด การเปนไขหวัดอาจ ทำใหเกิดการเจ็บปวยที่รุนแรงจนถึงเสียชีวิตได ดวยเหตุนี้ กระทรวงสาธารณสุขจึงไดรณรงคใหฉีดวัคซีนไขหวัดใหญ โดยไมคิดมูลคาแกประชากรในกลุมเสี่ยง 4 กลุม ไดแก 1.กลุม ประชากรทีม่ โี รคเรือ้ รังสำคัญ 7 โรค ไดแก โรคปอด อุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย ผูปวยมะเร็งไดรับยาเคมีบำบัดและเบาหวาน 2.ผูสูงอายุ มากกวา 65 ปขึ้นไป 3.เด็กอายุ 3 เดือนถึง 2 ป 4.หญิง ตั้งครรภอายุครรภมากกวา 4 เดือนขึ้นไป โดยเริ่มบริการ พรอมกันทั่วประเทศตั้งแต 1พ.ค.-30ก.ย. 2557 ทานผูอาน ทานใดที่อยูในกลุมเสี่ยงดังกลาวหรือมีคนในครอบครัวเปน กลุมเสี่ยงก็ขอเชิญรับบริการไดนะครับ ชวง 2-3 เดือนที่ผานมาทานผูอานอาจไดเห็นโฆษณาทาง โทรทัศนเรือ่ งโรคไมตดิ ตอ (non-communicable diseases, NCD) ซึง่ เปนโครงการทีเ่ กิดจากความรวมมือระหวางกระทรวง

บรรณาธิการบริหาร

พล.อ.ต.นพ.บรรหาร กออนันตกูล

สาธารณสุของคการอนามัยโรค สำนักงานหลักประกันสุขภาพ แหงชาติ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ เนือ่ งจากโรค NCD เปนโรคทีเ่ ปนสาเหตุการตายและทุพพลภาพ สวนใหญของประชากรโลก และยังพบวาโรค NCD สามารถ ปองกันไดดวยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในวัยเด็ก หนุมสาว โดยใชการใหความรูรวมกับมาตรการทางสังคมและกฎหมาย โดยเนนถึง 4 กลุม โรค หลักไดแก กลุม โรคหัวใจและหลอดเลือด เชน โรคหัวใจ ขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ อัมพาต กลุมโรคมะเร็ง กลุมโรคเบาหวาน และกลุมโรคปอด เรื้อรัง ซึ่ง 4 กลุมโรคดังกลาวเปนสาเหตุการเสียชีวิตถึงรอยละ 38.7 และ 47.2 ของการเสียชีวิตทั้งหมดในประชากรไทยชาย และหญิงตามลำดับ โดยเนนที่ 4 พฤติกรรมเสี่ยงไดแก การ สูบบุหรี่ การดื่ม แอลกอฮอล การบริโภคอาหารที่เปนอันตราย ตอสุขภาพ และการมีกิจกรรมทางกายที่ไมเพียงพอ และ 4 ปจจัยเสี่ยงไดแก ความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง ไขมัน ในเลือดสูง น้ำหนักเกินและโรคอวน ซึ่งรายละเอียดมีมากมาย ถาทานผูอานสนใจสามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก website www.thaincdnet.com สุดทายนี้ขอใหทานผูอานมีสุขภาพ แข็งแรงครับ พบกันใหมในฉบับตอไปครับ สวัสดีครับ

พ.ต.อ.นพ.ศุภฤกษ พัฒนปรีชากุล

บรรณาธิการ

พ.ต.อ.นพ.ศุภฤกษ พัฒนปรีชากุล กรรมการ

พญ.รัชนี แซล้ี พ.ท.นพ.ธรณิศ จันทรารัตน

มูลนิธ�หัวใจแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

มูลนิธิหัวใจแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ เลขที่ 2 ชัน้ 5 อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ป ซ.ศูนยวจิ ยั ถ.เพชรบุรตี ดั ใหม แขวงบางกระป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 02-716-6658, 02-716-6843 แฟกซ 02--716-5813 www.thaiheartfound.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.