กลาที่จะสอน (The Courage to Teach) หนังสือพิมพมติชน ฉบับประจําวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ในที่สุด หนังสือ กลาที่จะสอน ที่ พารคเกอร พาลมเมอร เขียน ก็ไดรับการตีพิมพในภาษาไทย (โดยสํานักพิมพสวนเงินมี มา) และออกวางตลาดแลว หลังจากที่หลายคนรอคอยมาหลายป หนังสือเลมนี้ พาลมเมอรเขียนมาจากประสบการณของ ความเปนครูที่ยาวนานถึง ๓๐ ป และใชเวลาเขียนถึง ๑๐ ป เรียกไดวาเปนการเจียระไนประสบการณมาเปนเรื่องเลาและ แนวคิดที่มีพลังอยางยิ่ง เมื่อผมไดเปดอานเมื่อหลายปกอนถึงกับวางไมลงเลยทีเดียว เพราะเขียนไดอยางเปดเผยและลงลึกถึงแกนแทความเปนมนุษย ของตัวเอง และความเปนครู รวมทั้งนําเสนอมุมองที่ลึกซึ้งในเรื่องการสอนที่สรางความมนุษย ซึ่งผมคิดวาเปนหนังสือเลม สําคัญในการนําเสนอทางออกใหกับการปฏิรูปการศึกษาของสังคมโลกอยางเปนรูปธรรม (ทําไดจริง) และรักษาจิตวิญญาณ เดิมแทของการศึกษาไวไดอยางสงางาม หัวใจสําคัญของหนังสือเลมนี้คือ การฟนฟูและหลอเลี้ยงจิตวิญญาณความเปนมนุษยของครู ที่อาจตกหลน เหือดหายไปใน ระบบการศึกษาที่มุงเนนเพียงแตเปาหมายเชิงรูปธรรม ผลลัพธที่วัดผลไดเทานั้น และการเติบโตทางวิชาชีพ พาลมเมอรพูดถึงหัวใจความเปนมนุษยที่รูจักและเขาใจสิ่งที่ตัวเองเปน รวมทั้งความใฝฝนและ เปาหมายของตัวเอง (identity) และมีความซื่อตรงตอตัวเอง (integrity) โดยกลาใชชีวิตตามความเชื่อ ความฝนและแรงบันดาลใจภายใน อยางไม กดขมเพื่อสยบยอมกับระบบการศึกษาที่กําลังเปนไปอยางลุมหลงเมามันกับวัตถุภายนอกโดยละเลยคุณคาของจิตใจ นอกจากนั้น พาลมเมอรก็ยังพูดถึงตัววิชาความรูและกระบวนการเรียนรูที่จําตองไดรับการปรับปรุงฟนฟู โดยเอา “ชีวิต” หรือ “สิ่งที่เรียน” เปนตัวตั้ง มากกวา “ขอมูล” เกี่ยวกับ “สิ่งที่เรียน” ที่เราเรียกวา “ความรู” เปนตัวตั้ง ยิ่งอิทธิพลของแนวคิด แบบวิทยาศาสตรที่ถือเอาเหตุผลและสิ่งที่วัดผล จับตองไดทางรูปธรรมเปนตัวตั้งในระบบการศึกษา ก็ยิ่งทําใหผูเรียนมอง “สิ่งที่เรียน” วาเปนเพียง “วัตถุ” หรือ “วิชา” มากกวาการเขาถึงแกนสารของสิ่งที่ศึกษา จนถึงกับตองตัดเอา “ความรูสึก” สวนตัวออกไปจากกระบวนการเรียนรูแทบทุกแขนงเลยทีเดียว เมื่อไมรูสึกก็ไรความสัมพันธ เมื่อไรความสัมพันธ ชีวิตก็ แบงแยกและแหงแลง ในหัวขอขางตน มีรายละเอียดที่ลึกซึ้งมาก แตผูเขียนคิดวาเปนเรื่องสําคัญที่เราตองทําความเขาใจ หากเราตองการฟนฟูหรือ ปฏิรูปการศึกษาใหกลับมามีพลัง มีสวนรวม มีชีวิตชีวา และสงเสริมใหนักเรียนทุกคนคนพบศักยภาพภายในตัวเอง และรู ตําแหนงหนาที่ รวมถึงคุณคาที่ตัวเองมีตอสังคมอยางถวนหนา อยางไมเลือกเฟนเฉพาะ “เด็กเกง” แบบ “แพคัดออก” แลว สราง (แลวทิ้ง) เด็กที่รูสึกดอยคาที่กลายเปนเหยื่อจํานวนมากของระบบการศึกษา เรื่องที่สาม ที่ผมคิดวาสําคัญไมแพสองหัวขอแรก คือการสรางชุมชนและองคกรที่สงเสริม หลอเลี้ยง การเรียนรูของครูและ นักเรียน ที่มีการบริหารจัดการที่เปนมิตร สรางสรรคและเปนธรรม มากกวาการบริหารจัดการแบบอํานาจนิยมที่ยึดเอาวาระ ของตัวเองเปนหลักและไมพยายามรับรูความตองการของครู
อุปสรรคในเรื่องวัฒนธรรมและการบริหารจัดการขององคกรแบบเกานี้ พบไดหลากหลาย ไมจําเพาะองคกรทางการศึกษา เทานั้น องคกรประชาชน ภาครัฐและภาคธุรกิจอื่นๆ ก็มีลักษณะโครงสรางอํานาจคลายๆ กัน และกอใหเกิดผลกระทบ คลายๆ กัน นั่นคือสรางชองวางในความสัมพันธและปดกั้นการสื่อสาร แบงพรรคแบงพวก ปกปองอาณาเขตตัวเองภายใต อิทธิพลของความกลัว จนสงผลถึงแรงบันดาลใจในการสอนหรือการทํางานของสมาชิกในองคกร สิ่งที่ผมชอบมากเกี่ยวกับหนังสือเลมนี้คือ นอกจากผูเขียนจะเขียนจากประสบการณตรงของตัวเอง ของครู และนักการศึกษา ที่เขาไดพูดคุยสัมภาษณมาเปนจํานวนมากในอเมริกาแลว เขายังเสนอทางออกอยางเปนรูปธรรม ซึ่งเขาเองก็ไดดําเนินการ ตามแนวทางที่ตัวเองและเพื่อนๆ ตั้งใจไวแลวอยางไดผลยิ่ง จนมีงานวิจัยแสดงถึงผลลัพธดังกลาวออกมา และมีเครือขาย ของศูนยเพื่อการฟนฟูกําลังใจและความกลา ที่มีชื่อวา Center for Courage and Renew ที่ไมเพียงจัดโปรแกรมฟนฟูกําลังใจ ใหกับครูเทานั้น แตยังแพรหลายไปถึงผูคนในวิชาชีวิตอื่นๆ ดวย โดยมีการจัดอยางตอเนื่องเปนเวลา ๒ ปตอหนึ่งรุน (รุนละ ๓๐ คน) จนทําใหเกิดชุมชนกัลยาณมิตรที่สงเสริมการใชชีวิตที่ “ไมแบงแยก” แตสอดคลองกับธรรมชาติภายในของตัวเอง อยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ ตามพื้นที่ตางๆ ทั่วสหรัฐอเมริกา จากขอสังเกตของพาลมเมอร แยกแยะลําดับของการแปรเปลี่ยนระบบการศึกษาไว ๔ ระยะ ไดแก ระยะที่ ๑ บุคลากรทางการศึกษาตระหนักรูถึงพลังและคุณคาภายในตัวเอง และเลือกที่จะใชชีวิต อยางสอดคลองกับคุณคา และแรงบันดาลใจนั้น ระยะที่ ๒ สรางชุมชนและเครือขายการเรียนรูรวมกันในกลุมของผูที่เลือกจะใชชีวิตอยางสอดคลองกับธรรมชาติภายใน ของตัวเอง สนับสนุนและฝกฝนทักษะในการสื่อสารเพื่อนําไปสูการเปลี่ยนแปลงรวมกัน ระยะที่ ๓ เปดตัวและสื่อสารตอสาธารณะในวงกวางออกไป เพื่อเชื้อเชิญใหเกิดการมีสวนรวมที่แพรหลายมากขึ้น โดยไม กลาวโทษหรือทําลายใคร ระยะที่ ๔ สรางระบบทางเลือกที่เกื้อกูลและตอบแทนหนาที่และวิชาชีพใหมที่สงเสริมการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา หนังสือเลมนี้ไดเสนอสิ่งที่อาจถูกละเลยในการปฏิรูปการศึกษา นั่นคือ หัวใจของครู ทามกลาง บรรยากาศของความวุนวาย ความเหนื่อยหนายและสิ้นหวังของการปฏิรูปการศึกษา การเปลี่ยนแปลงที่ดีๆ อาจจะเกิดจากจุดเล็กๆ ในพื้นที่ของการดูแล จิตใจของครู ที่อาจไมใช “การอบรม” ไมวาจะเปนการอบรมเรื่องเทคนิคการสอน การวัดผลประเมินผล หรือการใชสื่อใน รูปแบบตางๆ หรืออบรม “คุณธรรม” ที่มีมากมายกายเกลื่อนอยูแลว แตเปนดูแลใสใจ สงเสริมการสํารวจและเรียนรูโลก ภายในชีวิตครู เพื่อรวมกันสรางสรรคการสอนที่หลอเลี้ยงจิตวิญญาณมนุษยไดอยางแทจริง
วันศุกรที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 at ที่ 07:00 by jitwiwat