Mm 2 speakers thai

Page 1

แนะนําวิทยากร อองเดร ลิว (André Leu), ออสเตรเลีย ประธานสมาพันธ์เกษตรอินทรี ย์นานาชาติ (IFOAM) ซึง เป็ นเครื อข่ายระดับโลกของ องค์กรทีทํางานด้ านเกษตรอินทรีย์ IFOAM มีสมาชิกประมาณ 800 องค์กร ใน 120 ประเทศ มีเป้าหมายเพือให้ ทวั โลกยอมรับระบบทีเป็ นมิตรกับนิเวศ สังคม และอยูร่ อดทาง เศรษฐกิจบนหลักการของการเกษตรแบบอินทรี ย์ ลิวมีประสบการณ์ในการทําเกษตร อินทรี ย์ทกุ ด้ านมากว่า 40 ปี รวมทังการปลู  ก การควบคุมศัตรูพชื การจัดการวัชพืช การตลาด กระบวนการหลังการเก็บเกียว การขนส่ง องค์กรผู้ปลูก การพัฒนาพืชใหม่ และการศึกษาทังในออสเตรเลี  ยและประเทศอืน หลายประเทศ เขามีความรู้ กว้ างขวางเกียวกับการทําเกษตรและระบบสิง แวดล้ อมทัว ทังเอเชี  ย ยุโรป อเมริ กา และแอฟริ กา จากการได้ ลงพื นทีและทํางานใน ประเทศเหล่านี ตลอดระยะเวลา 40 ปี อองเดร ลิวมีงานเขียนมากมาย และทีตีพิมพ์ในฉบับภาษาไทยคือ มายาคติ ว่าด้วยสาร กํ าจัดศัตรู พืชทีอ า้ งว่าปลอดภัย (2015, The Myths of Safe Pesticides) โดย สนพ. สวนเงินมีมา ปั จจุบนั ลิวและภรรยาเป็ น เจ้ าของสวนผลไม้ เขตร้ อนทีปลูกด้ วยระบบนิเวศเกษตรอินทรี ย์ในเมืองเดนทรี รัฐควีนส์แลนด์ ออสเตรเลีย ทีสง่ ผลไม้ ควบคุม คุณภาพขายในตลาดทังในประเทศและต่  างประเทศ โช วัน ฮยอง (Cho Wan Hyung), เกาหลีใต้ ผู้บริ หารของสหพันธ์สหกรณ์ฮนั สาลิม (Hansalim Cooperative Federation) จบการ ศึกษาระดับปริ ญญาเอกด้ านเศรษฐศาตร์ การตลาดอาหาร ผ่านการร่วมงานกับหลาย องค์กรในบทบาทต่างๆ อาทิ เป็ นผู้ตรวจบัญชีให้ กบั สมาคมเกษตรอินทรี ย์เกาหลี (Korean Society of Organic Agriculture) ผู้อํานวยการสมาคมเพือการศึกษาเรื อง จี ยุง มูน (Ji Yong Moon), เกาหลีใต้ เจ้ าหน้ าทีด้านการวางแผนธุรกิจให้ กบั ทีมงานของสหกรณ์ฮนั สาลิม เธอเข้ ามาร่วมงานกับ สหกรณ์ตงแต่ ั  ปี ค.ศ 2011 และมีบทบทในการวางแผนร่วมกับทีมงานผ่านการเคลือ นไหว ต่างๆ ปั จจุบนั เธอรับผิดชอบในส่วนของการดูแลด้ านธุรกิจวิเคราะห์ตลาดและสร้ างความ ร่วมมือกับนานาชาติ ออง กุง ไว (Ong Kung Wai), มาเลเซีย ทีปรึกษาและประธานกลุม่ ภาคีเกษตรอินทรี ย์ Organic Alliance ประเทศมาเลเซีย จบการศึกษาด้ านชีพลวัต เกษตรกรรมและการพัฒนาชนบทจากมหาวิทยาลัยเอ็มเมอร์ สัน ประเทศอังกฤษ เชียวชาญในการให้ คาํ ปรึกษาด้ านเกษตรอินทรี ย์ เคยร่วมงานกับ องค์กรพัฒนาชุมชนในทวีปเอเชีย ยุโรป และสหรัฐอเมริ กา กุง ไวเคยดํารงตําแหน่งใน คณะกรรมการบริ หารและรองประธานศูนย์รับรองระบบประกันคุณภาพมาตรฐานเกษตร อินทรี ย์นานาชาติ (International Organic Accrediation Service: IOAS) ระหว่างปี ค.ศ. 1995 – 2005 และก่อนจะมารับบทบาทสําคัญระดับโลกร่วมกับ IFOAM ในตําแหน่งกรรมการบริ หาร ระหว่างปี ค.ศ 2005 – 2011 ออง กุง ไวได้ ร่วมงานกับเครื อข่ายเฝ้ าระวังการใช้ สารเคมีจํากัดแมลงในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก (Pesticide Action Network, Asia and the Pacific: PAN AP) เป็ นเวลาห้ าปี ปั จจุบนั เขารับหน้ าทีเ ป็ นทีปรึกษาให้ กบั Grolink Humus 1


ฟาม เฟื อง โท (Pham Phuong Thao), เวียดนาม เจ้ าของและผู้บริ หารบริ ษัทออร์ กานิก้า (Organica) ประเทศเวียดนาม สําเร็จการศึกษา ด้ านเทคโนโลยีสงิ แวดล้ อมจากมหาวิทยาลัยเมืองฮานอย โทได้ แรงบันดาลใจเรื องการ ปลูกผักอินทรี ย์ขณะตังครรภ์  ลกู คนแรกได้ สามเดือน เธอก่อตัง Organica Green Shop เมือต้ นปี 2013 เน้ นด้ านการพัฒนาและการจัดระบบกระจายสินค้ าอินทรี ย์ เพือให้ คน เวียดนามได้ เข้ าถึงอาหารทีปลอดภัย ไม่ปนเปื อ นสารเคมี และไม่ตดั ต่อพันธุกรรม สือ เหยียน (Yi Yan), จีน ผู้บริ หารของ Shared Harvest Ecological Agriculture Service Ltd. จากเมืองปั กกิง ประเทศจีน จบการการศึกษาปริ ญญาเอกจาก the Renmin University ด้ าน เศรษฐศาสตร์ การเกษตรและการพัฒนาชนบท เธอได้ ชือว่าเป็ นผู้ริเริ มฟาร์ มซีเอสเอใน ประเทศจีน ในขณะทีกําลังศึกษาปริ ญญาเอกด้ วยการทําการเพาะปลูกและขนส่งผัก อินทรี ย์ให้ กบั ผู้บริ โภคในเมือง และยังได้ เช่าพื นทีใ นเขตเมืองให้ คนเมืองทีอยากทดลอง ปลูกผัก ได้ มาร่วมลงมือทําฟาร์ มด้ วยกัน จากวันนันถึ  งวันนี  สิง ทีเธอทําส่งผลให้ เกิดฟาร์ มซีเอสเอกว่า 500 แห่งทัว ประเทศจีน ในปี 2012 เธอได้ ขยายกิจการของ Shared Harvest มาทีเ มือง Tongzhou และ Shunyi เธอยังได้ รับเลือกจาก the Beijinger ให้ เป็ นหนึง ใน 20 บุคคลทีนา่ สนใจทีสดุ ในเมืองปั กกิง สือ เหยียนยังเป็ นนักพูดทีสามารถสร้ างแรงบันดาลใจให้ กบั ผู้คนทีคิด อยากจะกลับมาสร้ างความสัมพันธ์กบั ผืนดินอีกครัง ปั จจุบนั เธอดํารงตําแหน่งในฐานะรองประธานของเครื อข่ายซีเอสเอ นานาชาติ (URGENCI) ไซนัล อริฟิน ฟาอุด (Zainal Arifin Fuad), อินโดนีเซีย ผู้อํานวยการฝ่ ายการประสานงานต่างประเทศของสหพันธ์เกษตรกรรายย่อยแห่ง อินโดนีเซีย (SPI) และยังดํารงตําแหน่งบริ หารในลาเวียคัมปาซินา่ เครื อข่ายองค์กร เกษตรกรขนาดเล็ก ไซนัลมีภมู หิ ลังมาจากครอบครัวเกษตรกร จึงเข้ าใจในปั ญหาของ เกษตรกรขนาดเล็กเป็ นอย่างดี ในแต่ละปี เขาต้ องเดินทางเผยแพร่ข้อมูลชุมชนเกษตร อินทรี ย์ และร่วมเวทีรณรงค์ระหว่างประเทศหลายต่อหลายครัง รวมทังเป็  นผู้เชือม ประสานงานกับ FAO และ IFAD อันเป็ นองค์การระหว่างประเทศของยูเอ็น ทีผลักดัน นโยบายด้ านอาหารและการเกษตร  างเป็ นทางการเมือปี ค.ศ 1993 เป็ นการ ลาเวียคัมเปซินา (La Via Campesina) ขบวนการเคลือ นไหวของชาวนาโลก ก่อตังอย่ รวมตัวกันของขบวนการเคลือ นไหวของชาวนาชาวไร่รายย่อยจากทัว โลก สมาชิกมีทงชาวนา ั ชาวประมงพื นบ้ าน พราน คนเก็บ หาของป่ า คนเลี ยงสัตว์ คนเผ่าเร่ร่อน คนเผ่าพื นเมือง แรงงานภาคเกษตรไร้ ทีดิน และอืนๆ ทีการทํามาหากินขึ นอยูก่ บั ธรรมชาติ มีความสัมพันธ์โดยตรงและสอดคล้ องกับธรรมชาติ พวกเขามาจากกลุม่ ขององค์กรชาวนาทังในยุ  โรป อเมริ กาใต้ อเมริ กากลาง ภูมิภาคแคริ บเบียน แคนาดา และสหรัฐอเมริ กา ตลอดจนองค์กรชาวนาจากแอฟริกาและเอเชีย นับเป็ นองค์กรของชาวนาชาวไร่ ทีมีสมาชิกกว่า 200 ล้ านคนทัว โลก มี 150 องค์กรใน 70 ประเทศ ทังโลกฝ่  ายเหนือและฝ่ ายใต้

2


อับดุร ร็อบ (Abdur Rob), บังคลาเทศ ผู้เชียวชาญด้ านการวิเคราะห์ระบบตลาด ภาคเอกเชน และการพัฒนาห่วงโซ่คณ ุ ค่า ตลอดสามสิบปี ทีผา่ นมา เขาได้ เก็บเกียวประสบการณ์หลากหลายในแวดวงของ เกษตรกรรม การลดความเสีย งต่อภัยพิบตั ิและการเปลีย นแปลงสภาพภูมิอากาศ อีกทัง ยังเชียวชาญในเรื องการใช้ กระบวนการการพัฒนาระบบการตลาดอย่างมีสว่ นร่วม (Participatory Market System Development - PMSD) ทีสามารถนําไปประยุกต์ใช้ กบั การผลิตผักและพืชไร่ ปั จจุบนั ร็ อบทํางานเพือยกระดับระบบการผลิตแบบเกษตรนิเวศ ผ่านกลไกทางการตลาด มีบทบาทในการหนุนเสริ มให้ กบั หน่วยงานพัฒนาเอกชนทังระดั  บชาติและนานาชาติ และเป็ นผู้ให้ ทนุ ด้ านการวิเคราะห์หว่ งโซ่คณ ุ ค่าในภาคการเกษตร การออกแบบโครงการ และการเสริ มสร้ างศักยภาพเรื องกลไกการทํางานของ ตลาดเพือคนยากจน (Making Market Work for Poor - M4P) นอกจากนี  เขายังเป็ นทีปรึกษาด้ านเทคนิคให้ กบั การทบทวน ยุทธศาสตร์ และจัดอบรมให้ กบั Char (Making Market Work for Char - M4C) ปั จจุบนั เขาทํางานกับองค์กร Practical Action ในบังคลาเทศมาตังแต่  ปี 1998 เขม มรรคฤดี (Keam Makarady), กัมพูชา ผู้อํานวยการโครงการสุขภาพและสิง แวดล้ อม สมาชิกผู้ร่วมก่อตังเซดั  ก ศูนย์พฒ ั นาการ เกษตรแห่งกัมพูชาเมือ 17 ปี ทีแล้ ว โดยเน้ นทีการเสริ มศักยภาพเกษตรกรรายย่อยทังด้  าน การผลิตและการพึง ตนเอง นอกจากนันเขายั  งมีประสบการณ์ทํางานด้ านการส่งเสริ มเกษตร อินทรี ย์มามากกว่า 10 ปี โดยเน้ นระบบการดูแลคุณภาพภายในกลุม่ (Internal Control System-ICS) เพือให้ ผลผลิตของเกษตรกรมีคณ ุ ภาพและเป็ นทียอมรับมากขึ น อันจะนําไปสู่ การเชือมช่องทางและสร้ างรายได้ เสริ มทีจําเป็ น นอกจากเขม มรรคฤดีแล้ ว ยังมีผ้ กู ่อตังคน  สําคัญคือ ยัง เสียง โกมาผู้ได้ รับรางวัลรามอนแม็กไซไซในปี 2012 อีกด้ วย ั นาการเกษตรแห่งกัมพูชา เริมต้ นขึ นในปี เซดัก (Cambodian Centre for Development in Agriculture - CEDAC) ศูนย์พฒ 1997 ด้ วยสมาชิกก่อตังเพี  ยง 7 คน เพือช่วยเหลือชาวนาในพื นทีห า่ งไกล ทุกวันนี  เซดักเป็ นศูนย์การอบรมด้ านการเกษตร และมี ความหลากหลายด้ านกิจกรรมการส่งเสริ มศักยภาพเกษตรกรใหญ่ทีสดุ องค์กรหนึง ของกัมพูชา อัจฉรา สมฤดีวคั ร (Achala Samaradiwakara), ศรี ลงั กา ผู้อํานวยการกู๊ดมาร์ เก็ต, ศรี ลงั กา สําเร็จการศึกษาปริ ญญาตรี ด้านการบริ หารจาก มหาวิทยาลัยโคลัมโบ ได้ รับประกาศนียบัตรด้ านการบริ หารทรัพยากรบุคคลและ อนุปริ ญญาด้ านการพัฒนาชนบท และยังสําเร็ จปริ ญญาโทด้ านการบริ หารธุรกิจจาก มหาวิทยาลัยคาร์ ดิฟฟ์ ประเทศอังกฤษ เธอมุง่ มัน สนับสนุนให้ ชาวบ้ านและชุมชน สามารถพัฒนาผลผลิตและผลิตภัณฑ์ของตนสูก่ ารเป็ นผู้ประกอบการ ไม่วา่ จะใน ลักษณะวิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการสีเขียว หรื อกิจการเพือสังคมก็ตาม กู๊ดมาร์ เก็ต (Good Market) หรื อ ‘ตลาดดี’ ในกรุงโคลัมโบ ประเทศศรี ลงั กา เริ มขึ นในปี 2012 จากการร่วมมือของหลายฝ่ าย ทังภาครั  ฐทีเ อื ออํานวยสถานทีจดั ตลาดในอัตราพิเศษ องค์กรพัฒนาเอกชน เช่น องค์กรเศวะลังกา หลังจากเปิ ดดําเนินการมาได้ 2 ปี ปั จจุบนั นี  กู๊ดมาร์ เก็ตมีผ้ รู ่วมออกร้ านถึง 110 ร้ าน และมีผ้ มู าเดินจับจ่ายประมาณสัปดาห์ละ 3,000 คน จนต้ องเพิมเป็ น 2 วันต่อสัปดาห์ 3


นงนุช ฟอปเบส อาญาเมือง (Nongnut Foppes-Ayamuang), ลาว/ไทย มีพื นเพเป็ นชาวบุรีรัมย์ สําเร็จการศึกษาปริ ญญาตรี ด้านปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัย ขอนแก่น และปริ ญญาโทด้ านเทคโนโลยีสงิ แวดล้ อมจากมหาวิทยาลัยวาเก้ นนิงเก้ น ประเทศเนเธอร์ แลนด์ เธอเริ มอาชีพการงานด้ วยการเป็ นผู้ประสานงานโครงการด้ าน สิง แวดล้ อมทังในประเทศไทยและประเทศลาว  จนเมือเธอได้ สมรสกับสามีชาว เนเธอร์ แลนด์ กอปรกับความยากลําบากในการใช้ ชีวิตในฝั งลาว จึงเป็ นแรงผลักดันให้ เธอ เกิดแนวคิดทําผลิตภัณฑ์ทีเกียวกับนม เพือให้ เป็ นแหล่งอาหารเพือสุขภาพสําหรับทุกคน ในครอบครัว และนัน กลายเป็ นจุดเริ มต้ นในการพัฒนาร้ านซาวบ้ านทีจําหน่าย สินค้ าสุขภาพธรรมชาติและอาหารเพือสุขภาพ ได้ แก่ โยเกิร์ต แยมผลไม้ และผลผลิตอินทรี ย์ในนาม “ผลิตภัณฑ์ชาวบ้ านเพือ ชีวิตทีด ี” (Xao Baan Healthy Living Products) นักธุรกิจส่วนใหญ่ให้ ความสําคัญกับการลงทุนเพือ ธุรกิจ แต่ธุรกิจร้ านซาวบ้ าน ของนงนุชซึง ตังอยู  ใ่ นกรุงเวียงจันทร์ มีเป้าหมายเพือคืนกําไรให้ กบั สังคมและเพิม คุณภาพชีวติ ให้ ชาวบ้ านในชุมชน นอกจากนัน นงนุชยังได้ พฒ ั นาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพิมขึ นอีก ได้ แก่ นํ าสลัด ซอสมะเขือ นํ าผลไม้ สด แยม ครี มซอส และครี มทาหน้ าขนมปั ง ต่างๆ โดยเน้ นวัตถุทีหาได้ ในท้ องถินเป็ นสําคัญ ยกเว้ นนมสดทีนํามาผลิตโยเกิร์ตทีเ ธอจําเป็ นต้ องนําเข้ าจากประเทศไทย ปั จจุบนั เธอมีคนร่วมงานถึง 20 คน และในจํานวนนี มีผ้ พู ิการ ๗ คน กิจการซาวบ้ านกรุ๊ปได้ กลายเป็ นทีศกึ ษาดูงานของกลุม่ คน และองค์กรต่างๆ ทังจากในและนอกประเทศลาว  เฉิน ลี (Chen Li), จีน สําเร็ จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยซีอนั เจียวทง )Xi’an Jiao Tong) ในปี ด้ วย 1999 ปี 10 ใช้ เวลามากกว่า ด้ านวิศวอุตสาหกรรมและจักรกลอัตโนมัติ ใบ 2 ปริ ญญาตรี เช่น ทํางานกับบริ ษัทชือดังของจีนหลายแห่งTCL และ Aigo มีประสบการณ์การทํางาน ในหลายประเทศรวมทังประเทศไทยที  เขาเคยเป็ นเซลล์ขายโทรทัศน์ จนเมือ ที ปี ทีแล้ ว 2 เขาตัดสินใจลาออกจากงานและคิดเกียวกับชีวิตของตนเองอย่างจริ งจัง เมือเขาได้ พบกับ ดร .สือ เหยียน ซึง เป็ นกําลังสําคัญของขบวนการเคลือ นไหวด้ าน ซีเอสเอในจีน เฉิน ลี ก็ ตัดสินใจเข้ าร่วมกับเธอพร้ อมด้ วยประสบการณ์ทางการตลาดทีเ ขามีอยูอ่ ย่างมากมาย จนในทีสดุ เฉิน หลี และ ดร.สือ เหยียนก็กลายเป็ นคูห่ ู และร่วมกันสร้ าง Shared Harvest หรื อ กลุม่ แบ่งปั นผลผลิตขึ นมา ปั จจุบนั เขาได้ ร่วมดําเนินกิจการไข่ไก่อินทรี ย์กบั เพือน ไมเคิล บี. คอมมอนส์ [อเมริ กา/ไทย] ผู้ประสานงาน โครงการพัฒนาห่วงโซ่ข้าวอินทรี ย์อย่างเป็ นธรรม (Organic Fair Trade Rice Chain Project) ของมูลนิธิสายใยแผ่นดิน (Earth Net Foundation) โครงการนี มีวตั ถุประสงค์ เพือเสริ มสร้ างความเข้ มแข็งให้ กบั องค์กรของเกษตรกร องค์กรพัฒนาเอกชนและนักพัฒนา สังคมในภูมิภาคเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก ทีดําเนินงานด้ านการผลิตข้ าวอินทรี ย์ ระบบ รับรอง การจัดการคุณภาพห่วงโซ่อปุ ทาน การตลาดทีเ ป็ นธรรม และการสร้ างภูมคิ ้ มุ กันต่อการ เปลีย นแปลงสภาพภูมิอากาศนอกจากนัน เขายังรับหน้ าทีประสานงานแผนงานในระดับท้ องถินอีก 2 แผนงาน คือ แผนงาน MESA ทีสง่ เกษตรกรรุ่นใหม่และเจ้ าหน้ าทีของมูลนิธิไปเรี ยนรู้ทฟี าร์ มอินทรี ย์ทีสหรัฐอเมริ กาเป็ นเวลาหนึง ฤดูกาลเก็บเกียว และ แผนงาน FK South to South Exchange โดยให้ ความสําคัญกับเรื องของการตังรั บและปรับตัวต่อการเปลีย นแปลงสภาพ ภูมิอากาศของเกษตรกรรายย่อย ด้ วยการใช้ กระบวนการทําฟาร์ มแบบยัง ยืนและนําเทคโนโลยีทีเหมาะสมมาใช้ ไมเคิลเป็ นชาว 4


อเมริ กนั เดินทางมาประเทศไทยครัง แรกในฐานะนักเรียนแลกเปลีย นเมือ 28 ปี ทีแล้ ว และ 12 ปี ให้ หลังเขาก็กลับมาตังถิ  นฐานที ประเทศไทย ปั จจุบนั เขาและภรรยาทําเกษตรแบบ เกษตรแบบวนเกษตร (เกษตรผสมผสาน) ทีฉะเชิงเทรา ฮันส์ แวน วิลเลียนส์ วาร์ ด (Hans van Willenswaard), เนเธอร์ แลนด์/ไทย สํานักอิสระเพือศึกษาและวิจยั เรืองความเป็ นอยูท่ ีดี (School School for Wellbeing Studies and Research Research) ผู้ร่วมก่อตังบริ  ษัทสวนเงินมีมาผู้ประกอบการสังคมในปี พ.ศ 2544 สําเร็ จการศึกษาด้ าน ผู้ปฏิบตั ิงาน วัฒนธรรม (cultural worker) ประเทศเนเธอร์ แลนด์ และพัฒนาชนบท จาก วิทยาลัยเอ็มเมอร์ สนั ประเทศอักฤษ มีประสบการณ์ด้านการทํางานเยาวชนและการ พัฒนาสังคม เกษตรอินทรี ย์ และกําลังเขียนหนังสือเกียวกับสังคมทีมคี วามเป็ นอยูท่ ีดี (Wellbeing Wellbeing Society Society) เป็ นผู้ริเริ มโครงการเกษตรอินทรี ย์สเู่ อเชีย (Towards Organic Asia Asia-TOA) เป็ นต้ น พ่ อคําเดือง ภาษี, บุรีรัมย์ ไทย ปราชญ์ชาวบ้ านบุรีรัมย์ ผู้ทําเกษตรธรรมชาติในพื นที 50 ไร่ บนฐานคิด “ปลูกทุกอย่างทีกิน กินทุกอย่างทีปลูก” ตังแต่  การปลูกไผ่ ขุดบ่อเลี ยงปลา ปลูกพืชนานาชนิด ซึง ชีวิตก็อยูไ่ ด้ อย่าง มีความสุข นอกจากนี ยังเป็ นผู้ขบั เคลือ นยุทธศาสตร์ บรุ ี รัมย์เมืองน่าอยูต่ ามแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง ร่วมหนุนเสริ มเกษตรกรผู้ปลูกพืชเกษตร เกษตรอิอินทร์ ลดการใช้ สารเคมี ลดต้ นทุนการผลิต เพือสุขภาพทีดีแก่เกษตรกร ลี อายุ จือปา ปา, เชียงราย ไทย ผู้ก่อตังกาแฟอาข่  า ออาม่า แห่งหมูบ่ ้ านจันใต้ ต. ท่าก๊ อ อ. แม่สรวย จ. จ เชียงราย เมือปี พ.ศ. 2553 วัตถุประสงค์ของการก่อตังแบรนด์  อาข่า อาม่าก็เพือ กระตุ้นให้ ชาวชุมชนแม่จนั ใต้ ตระหนักถึงคุณค่าของผืนดินทีต นอยูอ่ าศัย เห็นประโยชน์ของการทําเกษตรแบบผสมผสานตาม แนวทางเกษตรอินทรี ย์ คํานึงถึงความสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติในพื นทีเป็ นหลัก และ เป็ นการสนั สนับสนุนให้ ชมุ ชนมีแหล่งรายได้ ทมี นั คง สามารถสร้ างการพัฒนาและพึง พาตนเอง ให้ ได้ มากทีสดุ กาแฟอาข่า อาม่าได้ รับการคัดเลือกจากสมาคมกาแฟ กจากสมาคมกาแฟแห่งยุโรปเพือใช้ บนเวทีกาแฟโลก 3 ปี ซ้ อน นอกจากนี ยัง ได้ รับรางวัลผู้พฒ ั นากาแฟดีเด่นประจําปี 2555 จากสมาคมกาแฟและชาไทย รุ่ งเรือง สิทธิชัย, เชียงราย ไทย นักโภชนาการหัวหน้ ากลุม่ งานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ผู้เป็ น เรี ยวแร วแรงหลั หลักในการพัฒนาระบบบริ การอาหารของโรงพยาบาลให้ มีความปลอดภัยแก่ ผู้รับบริ การ โดยมองความปลอดภัยตลอดห่วงโซ่อาหาร เธอพยายามพั เธอพยายาม ฒนาทุกแหล่ง อาหารให้ ปลอดภัย ไม่วา่ จะเป็ นผัก เนื อสัตว์ อาหารแปรรูป ปรับบทบาทจากการตังรั บมา เป็ นการทํางานเชิงรุก สร้ างเครื อข่ายทังกั  บส่วนราชการและผู้ผลิตในชนบทให้ ในชนบท เข้ ามา 5


ตรวจสอบด้ วยตนเอง ลดต้ นทุนจากคนกลางด้ วยการซื อตรงจากผู้ผลิต สร้ างอาชีพให้ เกษตรกรทุกกลุม่ เธอสามารถผลักดันให้ เกิดตลาดนัดอาหารปลอดภัยในพื นทีโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ และมีการขยายผลการบริ โภคอาหารปลอดภัยไปยัง ส่วนต่างๆ ทังครั  วโรงพยาบาล ร้ านค้ าสวัสดิการชุมชน โรงเรี ยนร้ านอาหาร และปั จจุบนั ยังขยายงานอย่างต่อเนืองเพือพัฒนา ยกระดับมาตรฐานการผลิตให้ กบั กลุม่ เกษตรกร พฤฒิ เกิดชูช นื , นครราชสีมา ไทย จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ ด้านสัตวบาล สนใจเรื องโคนมมาตังแต่  เป็ น สมัยเรี ยน จบออกมาเลยไปทํางานกับบริ ษัท ไทย-เดนมาร์ ก หลังจากสัง สมประสบการณ์ ด้ านการเลี ยงโคนมมากว่า 10 ปี จึงชวนเพือนๆ ออกมาร่วมลงทุนทําธุรกิจส่งเสริ มเรื อง โคนมด้ วยการปลูกหญ้ าขายให้ แก่กลุม่ เกษตรกร แต่พบว่าการทําธุรกิจขาเดียวค่อนข้ าง เสีย งต่อความอยูร่ อด จึงเริมทําร้ านขายนมและเริ มต้ นผลิตนมยีห้อ “แดรี โฮม” แดรี โฮม เป็ นนมทีไม่มีการปรุงแต่ง ไม่ใส่สารปนเปื อ นใดๆ เป็ นนมแท้ ๆ ทีใ ช้ วิธีแปรรูปแบบง่ายๆ สไตล์โฮมเมด ต่อมาเขาได้ พฒ ั นาเครื องจักรในการผลิตทีทนั สมัยขึ น และส่งผลิตภัณฑ์ไปขายยังพื นทีตา่ งๆ ทัว ประเทศ ทุก กระบวนการของแดรี โฮมให้ ความสําคัญกับคุณภาพทังเรื   องวัตถุดิบและสิง แวดล้ อม นอกจากนี ยังมีแนวคิดในการทําธุรกิจทีให้ ความเป็ นธรรมกับทุกภาคส่วน (ผู้ผลิต ผู้ร่วมงาน ผู้บริ โภค) ปั จจุบนั แดรี โฮมมีผลิตภัณฑ์ทีเกียวกับนมหลากหลายชนิด และ เป้าหมายทีเขาอยากเห็นคือ เกษตรกรโคนมในประเทศไทยหันมาเลี ยงโคนมแบบออร์ แกนิคและอยูไ่ ด้ จริ ง ธีระ วงษ์ เจริญ, จันทบุรี ไทย ประธานสภาเกษตรกรจังหวัดจันทบุรี ผู้มองเห็นสภาพปั ญหาของเกษตรกรชาวสวนผลไม้ ภาคตะวันออกทีมีปริ มาณผลผลิตล้ นตลาด ทําให้ ราคาตกตํา ลงทุกปี จึงได้ ดาํ เนินการ แก้ ไขปั ญหาโดยการขับเคลือ นจันทบุรีโมเดล สร้ างพื นทีต้นแบบการจัดการผัก ผลไม้ ปลอดภัยใน 9 พื นทีต้นแบบ 5 ตําบลสุขภาวะ 3 โรงเรี ยนต้ นแบบ และ 1 โรงพักต้ นแบบ และยังมีบทบาทในสภาเกษตรกรแห่งชาติ ในการผลักดันนโยบายการส่งเสริ มและพัฒนา ความเข้ มแข็งแก่เกษตรกร และองค์กรเกษตรกรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี  เขายังสนใจในเรื องตลาดสีเขียวทีเชือมโยงผู้ผลิต ผู้บริ โภค การจัดการระบบ การตลาด การสือ สารประชาสัมพันธ์ รวมถึงการตืนตัวของประชาชนทัว ไป รวมทังการ  ทํางานวิจยั แบบมีสว่ นร่วมในเรื องเกษตรอินทรี ย์ กิงกร นรินทรกุล ณ อยุธยา, กรุงเทพฯ ไทย รองผู้อํานวยการมูลนิธิชีววิถี เมือ ปี 2008 เธอได้ มีโอกาสไปร่วมงาน Slow food festival and Terra Madre ทีเมืองตูริน อิตาลี ประกอบกับแรงบันดาลใจของการเติบโตของ ขบวนการอาหารท้ องถิน และ Farmer market ในอเมริ กาและยุโรป จึงได้ กลับมาก่อตัง โครงการรณรงค์ ‘กินเปลีย นโลก’ เมือเดือนกุมภาพันธ์ 2009 เพือสือ สารกับผู้บริ โภคใน เมืองใหญ่ ถึงปั ญหาของระบบอาหารในปั จจุบนั และชวนผู้บริ โภคตังคํ  าถามกับทีมาของ อาหาร และรื อ ฟื น ความรู้เรื องอาหารการกินให้ เป็ นผู้บริ โภคทีเท่าทัน เลือกเป็ น และเลือก สนับสนุนระบบการผลิตทีปลอดภัย เป็ นมิตรกับสิง แวดล้ อม และเป็ นธรรมต่อเกษตรกร รายย่อย กิจกรรมหลักๆ คือ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ผ่านสือ ของโครงการ 6


สือ สารมวลชนต่างๆ และอีเว้ นท์หลากหลาย ตลอดจนส่งเสริ มการตลาดท้ องถินของ เครื อข่ายเกษตรกรในพื นทีตา่ งๆ และสืบค้ นเมนู ภูมิปัญญาด้ านอาหารมาเผยแพร่ มูลนิธิชวี วิถี ร่วมกับเครื อข่ายเกษตรกรรมทางเลือก (ประเทศไทย) ทํางานส่งเสริ มเกษตรกรรมยัง ยืน และความมัน คงทาง อาหารในพื นทีต า่ ง ๆ ทัว ทุกภาคเป็ นเวลามากกว่า 20 ปี ต่อมาก็มแี นวทางส่งเสริ มตลาดทางเลือกของเกษตรกรเพือสร้ าง ช่องทางการตลาดผลผลิตไร้ สารเคมีจากระบบเกษตรกรรมยัง ยืน อรุ ษ นวราช, นครปฐม ไทย กรรมการผู้จดั การ สามพราน ริ เวอร์ ไซด์ ทายาทรุ่นที 3 ของสามพรานริเวอร์ ไซด์ จบ การศึกษาทางด้ านวิศวกรรมเคมีจากประเทศอังกฤษ ทํางานอยูใ่ นกรุงเทพมหานครสิบ กว่าปี ก่อนทีจะกลับมาสานต่อกิจการโรสการ์ เด้ นหรื อสามพรานริเวอร์ ไซด์ในปั จจุบนั เป็ น ผู้ทีทําให้ เกิดการทํางานพัฒนาห่วงโซ่อปุ ทานสินค้ าเกษตรอินทรี ย์ภายใต้ ชือ "สามพราน โมเดล" ซึง เป็ นการทํางานร่วมกันของสามภาคส่วน ได้ แก่ (1) ต้ นนํ า คือเกษตรกรผู้ผลิต (2) กลางนํ า คือช่องทางในการขายได้ แก่ เว็บไซต์ และอี-คอมเมิร์ซ และ (3) ปลายนํ า เป็ นตลาดขายสินค้ า มีการเปิ ดพื นทีเล็กๆ ให้ ผ้ ซู ื อและผู้ผลิตได้ พบปะกันโดยตรงที ‘ตลาด สุขใจ’ ในปี 2553 อีกทังยั  งมีการทําโครงการนําตลาดสุขใจสัญจรไปหน่วยงานอืนๆ อาทิ โรงเรี ยน โรงพยาบาล บริ ษัทเอกชน ฯลฯ สุชาญ ศีลอํานวย, กรุ งเทพฯ ไทย กรรมการกลางและเลขานุการมูลนิธิเอ็มโอเอไทย องค์กรนิติบคุ คลไม่แสวงหาผลกําไรทีมี จุดมุง่ หมายในการสร้ างโลกอุดมคติ ให้ เป็ นโลกทีเปี ยมด้ วยความจริ ง ความดี และความ งาม มีความกลมกลืนกันระหว่างธรรมชาติกบั ศิลปะ โลกทีประกันความปลอดภัยและ ความยืนยาว ของชีวิต ด้ วยการส่งเสริ มสนับสนุน ร่วมมือ และพัฒนากิจกรรมด้ าน สุขภาพองค์รวม ศิลปะ วัฒนธรรม เกษตรธรรมชาติอาหารธรรมชาติ กับองค์กรของรัฐและเอกชนอืน ๆ ตลอดจนประชาชนทัว ไป เพือช่วยกันแก้ ไขปั ญหา โดยเฉพาะปั ญหาครอบครัวและปั ญหาสังคม ควบคูไ่ ปกับการพัฒนาวิถีความเป็ นอยูข่ องผู้คนให้ เกิด ครอบครัวทีดงี าม อันจะเป็ นการเสริ มสร้ างพื นฐานของการพัฒนาสังคมไทยต่อไป ภาณุ พิทกั ษ์ เผ่ า, สงขลา ไทย อดีตข้ าราชการครู เลขานุการผู้วา่ ราชการในสมัยพลตรี จําลอง ศรี เมือง ต่อมาผันตัวเอง มาทําการเกษตรแบบเต็มตัวในพื นทีอําเภอรัตนภูมิ จังหวัดสงขลา ด้ วยความมุง่ มัน ทีจะ แก้ ปัญหาให้ แก่เกษตรกร เขาจึงได้ ทําการทดลองและลงมือทําเกษตรอินทรี ย์ด้วยตนเอง ในปี พ.ศ. 2538 ภาณุได้ ร่วมกับสมาชิกเกษตรกรในกลุม่ เครื อข่ายชาวอโศกช่วยกันทํา ยุทธศาสตร์ ‘การตลาดคุณธรรม’ ชูแนวคิดการจัดการตลาดทีเป็ นธรรมและยัง ยืน ลดการ เอาเปรียบระหว่างผู้ผลิตและผู้บริ โภค ต่อมาปี พ.ศ. 2540 จึงได้ เปิ ดร้ านอาหารครัวเพือน สุขภาพ ทีทําหน้ าทีมากกว่าร้ านอาหาร นัน คือเป็ นศูนย์กลางรับซื อผลผลิต แปรรูปและ กระจายสินค้ าจากสมาชิกในเครือข่าย ไปพร้ อมๆ กับการเริมเผยแพร่ความรู้ สร้ าง เครื อข่ายเกษตรกร และเชือมโยงช่องทางตลาดทางเลือกอืนๆ ให้ แก่สมาชิกในเครื อข่าย 7


เช่น การส่งผักปลอดสารพิษให้ แก่โรงพยาบาลหาดใหญ่ การจัดตลาดนัดสีเขียวในมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่ เชือมโยงผู้ผลิตให้ ร้านอาหาร โรงพยาบาลเอกชน เป็ นต้ น ขวัญไชย สันติภราภพ, นครปฐม ไทย เจ้ าของสลันดา ออร์ แกนิค ฟาร์ ม ทีเกิดจากความมุง่ มัน ตังใจ  ทีอยากให้ คนไทยได้ รับประทานผักทีดีตอ่ สุขภาพ ไร้ สารพิษสารเคมี เขาเริ มทําเกษตรอินทรี ย์บนพื นที 24 ไร่ ที ตําบลหนองงูเหลือม อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ตังแต่  ปี พ.ศ. 2553 จากการเรี ยนรู้และ พัฒนาอย่างต่อเนือง ปั จจุบนั สลันดา ออร์ แกนิค ฟาร์ มได้ รับการรับรองมาตรฐานจาก สํานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.) และขายส่งผักอินทรีย์ให้ แก่ห้างสรรพสินค้ าและร้ านสุขภาพจํานวนมาก อาทิ เดอะ มอลล์ วิลล่ามาร์ เก็ต ร้ านคัดสรร ร้ านโดยเฉพาะ ทีศ ิริราช ครัวใส่ใจ และเปิ ดร้ านขายสินค้ าสุขภาพของตัวเอง ในชือ ‘สลันดา ฟาร์ ม’ ทีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เพือเป็ นช่องทางให้ ผ้ บู ริ โภคได้ เลือกซื อสินค้ า ทังผั  กสดๆ และสินค้ า สุขภาพอืนๆ อีกมากมาย ดวงแด สายุปถัมภ์ , กรุงเทพฯ ไทย บริ ษัทสวนเงินมีมา จํากัด ผู้ประกอบการสังคม ด้ วยความมุง่ มัน ทีจะสร้ างต้ นแบบตลาด ทางเลือกทีมีการเชือมโยงจากผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และผู้บริ โภคให้ ครบกระบวนการใน ห่วงโซ่อปุ สงค์และอุปทาน อย่างมีคณ ุ ภาพและประสิทธิภาพ พัฒนาต้ นแบบศูนย์รับ กระจายและจัดส่งผลผลิตอินทรี ย์และสินค้ าสีเขียวสูผ่ ้ บู ริ โภคเชิงสถาบันและทัว ไป ซึง มีความก้ าวหน้ าตามลําดับ เช่น การนําผักอินทรี ย์เข้ าสูโ่ รงเรี ยนต้ นแบบเพือจัดทําอาหารกลางวันของเด็กนักเรี ยนโรงเรี ยน ประถมนนทรี และโรงเรี ยนผ่องสุวรรณวิทยาเป็ นประจําทุกสัปดาห์อย่างต่อเนือง การดําเนินการร่วมกับตลาดถนอมมิตร เพือ เปิ ดบริ การออร์ แกนิค สเตชัน มีการจําหน่ายผัก ผลไม้ และสินค้ าอินทรี ย์สาํ หรับผู้บริ โภคทัว ไปทุกวันในตลาด จักรชัย โฉมทองดี, กรุงเทพฯ ไทย ผู้ประสานงานด้ านนโยบายและการรณรงค์จากองค์การ OXFAM ซึง มีบทบาทสําคัญใน ด้ านการแก้ ปัญหาความเหลือ มลํ าของคนในสังคมและการทํางานเชือมกับผู้บริ โภคใน เมือง จักรชัยมีประสบการณ์ในการทํางานโครงการศึกษาและปฏิบตั ิการงานพัฒนา (FOCUS) ในตําแหน่งนักวิจยั เพือพัฒนานโยบาย เป็ นคณะทํางานและแกนนําสําคัญ ของกลุม่ ศึกษาข้ อตกลงเขตการค้ าเสรี ภาคประชาชน (FTA Watch) ซึง เป็ นการทํางาน เชือมประสานกับภาคีภาคส่วนต่างๆ เพือติดตามและรณรงค์การจัดทําข้ อตกลงสัญญา ระหว่างประเทศ นอกจากนี ยังได้ ทํางานร่วมกับคณะทํางานโลกเย็นทีเป็ นธรรม (Thai Climate Justice Working Group - TCJ) เพือสร้ างการมีสว่ นร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ ปัญหาโลกร้ อนอย่างเป็ นธรรม

8


อรยา สูตะบุตร, กรุงเทพ ไทย ผู้ประสานงานกลุม่ บิก ทรี ทีมีแฟนเพจมากกว่า 75,000 คน ใน www.facebook.com/BlGTreesProject จบการศึกษาปริ ญญาโท สาขาวรรณคดี อังกฤษ มหาวิทยาลัยวิคตอเรี ย ประเทศแคนาดา (พ.ศ 2538) ปริ ญญาตรี สาขาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยคลาร์ ค ประเทศสหรัฐอเมริ กา (พ.ศ 2533) ทํางานในเรื องการรักษาและเพิม “พื นทีสเี ขียว” ในเมืองหลวงมานานกว่า 5 ปี และดําเนินกิจกรรม ข้ าว “เพือนชาวนา” (Farmers' Friend Rice) จําหน่ายข้ าวขาว หรื อข้ าวกล้ องหอมมะลิออร์ แกนิคคัดพิเศษใน ระบบซีเอสเอ เธอเป็ นอาจารย์พเิ ศษวิชาพลเมืองและความรับผิดชอบต่อสังคมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , กรรมการสถาบันธรรม ศักดิเพือประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และทํางานอิสระเป็ นนักแปล วัลลภา แวนวิลเลียนส์ วาร์ ด (Wallapa van Willenswaard), กรุงเทพฯ ไทย กรรมการผู้จดั การบริ ษัทสวนเงินมีมาผู้ประกอบการสังคม สําเร็ จการศึกษาอักษรศาสตร์ บณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยทํางานด้ านธุรกิจการ จัดงานแสดงสินค้ า หันเหชีวติ มาร่วมกับองค์กรด้ านสังคม เสมสิกขาลัย ซึง เป็ น หน่วยงานการศึกษาทางเลือกใต้ ร่มมูลนิธิเสฐี ยรโกเศศ-นาคะประทีป ในปี พ.ศ 2544 จึง ได้ ร่วมก่อตังบริ  ษัทสวนเงินมีมาผู้ประกอบการสังคม และปี 2549 ได้ ร่วมมือกับเพือนๆ ผู้ประกอบการสีเขียวริ เริมเครื อข่ายตลาดสีเขียวในกรุงเทพฯ  นในปี พ.ศ 2544 ด้ วยแนวคิดเรื องสัมมาอาชีพ ธุรกิจทางเลือก ดําเนินงานทัง บริษัทสวนเงินมีมาผู้ประกอบการสังคม ตังขึ ด้านกิ จกรรมธุรกิ จและสังคมไปในเวลาเดียวกัน คือ สํานักพิมพ์คณ ุ ภาพ ร้ านหนังสือและร้ านกรีน ศูนย์กระจายผลผลิตอินทรี ย์ และสินค้ าชุมชน ด้านกิ จกรรมการขับเคลือ นสังคม อาทิ ความสุขมวลรวมประชาชาติ การพัฒนาต้ นแบบตลาดทางเลือก พลัง ผู้บริ โภคสีเขียว ตลาดทีมจี ิตสํานึก และจิตวิญญาณใหม่ เป็ นต้ น www.suan-spirit.com

9


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.