จดประกาย กรุ งเทพธุรกิจ
ปี ที่ 28 ฉบับที่ 9703 วันศุกร์ ที่ 17 เมษายน พ.ศ.2558 ktjud@nationgroup.com •
“เ
ด็ ก มาบอกว่ า อยากฆ่ า ตั ว ตาย ไม่ ช อบเรี ย นด้ า น กายภาพบ�ำบัด แต่พ่อแม่อยากให้เป็นหมอด้านนี้ เด็ก เข้ามาเรียน เพราะความต้องการของพ่อแม่ ทัง้ ๆ ทีช่ อบดนตรี เมื่อถูกบังคับให้เรียน ก็ไม่มีความสุข” ญาดานุช บุญญรัตน์ อาจารย์ จากส�ำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ผูร้ ว่ มกระบวนการเรียนรู้ หัวใจของการศึกษา โครงการพัฒนาสุขภาวะ ทางปัญญา และเครือข่ายจิตวิญญาณใหม่ บริษทั สวนเงินมีมา จ�ำกัด เล่า กรณีดงั กล่าว ดูเหมือนจะเป็นปัญหาในครอบครัว แต่กเ็ กีย่ วเนือ่ ง โยงใยกับระบบการศึกษาอย่างแยกไม่ออก ไม่ต่างจากกรณี จันทร์เพ็ญ บุญมาวิจิตร คุณแม่ลูกสองที่ไม่เห็น ด้วยกับระบบการศึกษา เธอเอาลูกออกจากโรงเรียนมาเรียนโฮมสคูล จากนัน้ น�ำลูกกลับเข้าไปเรียนในระบบโรงเรียนนานาชาติ เด็กๆ สามารถ เรียนรู้ได้อย่างมีความสุข เธอเล่าว่า เดิมให้ลกู เเรียนโรงเรียนแนวพุทธ แต่มกี รอบบางอย่าง ที่กักขังเด็กๆ นั่นก็คือกรอบของความดีงาม ที่บอกว่าคนจะต้องดี และ มีนิยามความดีเป็นข้อๆ อีก “คือ ละเอียดไปถึงวิธีของการถอดใส่รองเท้า การกินอาหารต้อง ข้าวกล้อง มันเริ่มจะเป็นการกักขังมากขึ้น และชีวิตเด็กๆ ก็หมด ไปกับการเดินทาง จึงคิดว่าไม่มีประโยชน์ คุณครูเคยเรียกเราไปพบ แล้วบอกว่า ลูกชายเราถามค�ำถามเยอะไปครูสอนหนังสือไม่ได้เลย อยากให้เด็กถามน้อยลง กระทั่งเพื่อนคนหนึ่งอยากท�ำโฮมสคูลให้ลูก เราก็เลยร่วมกันท�ำการศึกษาให้ลูกๆ สี่วันเรียนตามที่ก�ำหนด และวัน ศุกร์ออกไปเรียนรู้กับปราชญ์ชาวบ้าน เราคิดว่า ความรู้ เยอะมาก ถ้า ไม่ได้จำ� กัดไว้ในห้องเรียน เราคิดว่า เด็กๆ ควรมีอสิ รภาพในการเรียนรู”้
กล้าที่จะสอน
หากจะกล่าวถึงปัญหาการศึกษาบ้านเราทีว่ นเวียนกับการแก้ปญ ั หา เชิงโครงสร้าง ไม่ว่าวิธีการเรียน การสอน การพัฒนาครู ฯลฯ นั่นใช่ปัญหาที่แท้จริงหรือไม่ หากเชื่อว่า การศึกษามีมิติที่ลึกซึ้ง กว่านั้น แต่เหตุใดกันเล่าทีท่ �ำให้ระบบการศึกษาไม่อาจขยับเขยือ่ นไปสูก่ าร แก้ปัญหา มีแค่คนวิพากษ์วิจารณ์ และมองว่า ระบบการศึกษาบ้านเรา สอนให้ท่องจ�ำ ครูเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอนจึงพัฒนาต่อไม่ ได้ ฯลฯ ด้วยเหตุนี้เอง โครงการดังกล่าวจึงได้น�ำกระบวนการเรียนรู้ของ ปาร์กเกอร์ เจ.ปาล์มเมอร์ ครู นักเขียน และนักกิจกรรม ชาวอเมริกัน ที่เข้าใจการศึกษาอย่างลึกซึ้่งมาใช้ เพื่ออบรมกระบวนการให้ครู และ คนที่สนใจ โดยนักเขียนคนนี้เขียนหนังสือเรื่อง หัวใจอุดมศึกษา และ กล้าที่จะสอน (ส�ำนักพิมพ์สวนเงินมีนา) ปาล์มเมอร์เคยสอนหนังสือในมหาวิทยาลัย และมีความสนใจด้าน การศึกษาทุกระดับ ทั้งเรื่องชุมชน จิตวิญญาณ และการเปลี่ยนแปลง สังคม รวมถึงกระบวนการเรียนรู้ทจี่ ะเข้าใจตนเอง เพือ่ พัฒนศักยภาพ ตัวเองให้มคี วามสุขในการท�ำงานครัง้ นี้ ซึง่ แนวคิดการศึกษาของเขาได้ รับการเผยแพร่ในอเมริกา ณัฐฬส วังวิญญู ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันขวัญแผ่นดิน ผูน้ ำ� กระบวนการ หัวใจของการศึกษา ครั้งนี้ บอกว่า เขาเองก็ได้เรียนรู้แนวทางของ ปาล์มเมอร์ และเห็นว่า น่าสนใจที่จะน�ำแนวทางมาใช้กับการศึกษา เมืองไทย เขานิยามการศึกษาในมุมตัวเองว่า การศึกษาที่ผ่านมา ท�ำให้เรา เรียนรู้บางเรื่อง และไม่ได้ตอบโจทย์ในหลายๆ เรื่อง การเรียนรู้วิชา ต่างๆ ตอบโจทย์การเข้ามหาวิทยาลัย แต่ตอบโจทย์ตัวเราน้อยมาก “แล้วการศึกษาอะไรที่ท�ำให้เราเข้าใจตัวเองมากขึ้น สามารถ อยู่กับตัวเองได้อย่างมีความสุข และอยู่กับคนอื่นได้ดี” ณัฐฬส
ชีวิตเราต่างเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน
เรื่ อง : เพ็ญลักษณ์ ภักดีเจริ ญ ภาพ : เกียรติอนันท์ จันทยุง
กล้ าไหมที่จะก้ าวออกจากวงล้ อเดิมๆ ของระบบการศึกษา ลองใคร่ ครวญดูสิว่า อะไรคือปั ญหาในการศึกษา...
ก้าวข้ามความกลัว
บนเส้นทางการค้นหา
ตัง้ ค�ำถามและบอกว่า ปาล์มเมอร์คน้ พบว่า การศึกษาไม่ใช่เรือ่ งเทคนิค หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องภายนอกสิ่งที่เขา ท�ำก็คือ ตัวครูมีมุมมองเกี่ยวกับชีวิตและโลกอย่างไร “เวลาจัดกิจกรรม เขาชวนครูมาส�ำรวจเรื่องพวกนี้ เพื่อให้รู้ว่า เราคือใคร จะให้คุณค่ากับอะไร ครูต้องสร้างบรรยากาศการเรียนให้ เป็นกันเอง และปลอดภัยส�ำหรับคนเรียน นอกจากนี้การเรียนรู้ต้อง ท้าทายน่าสนใจ ส่วนกระบวนการอีกอย่างที่เขาน�ำมาใช้ คือ ขั้วขัดแย้ง ระหว่างความรู้ที่ชัดเจนกับสิ่งที่เรายังไม่รู้ เขาให้คุณค่ากับการค้นหา มากกว่า การเรียนจึงไม่ใช่แค่ได้ค�ำตอบแล้วได้คะแนน ปาล์มเมอร์ ให้ความส�ำคัญความไม่รู้ด้วย “ เมือ่ ให้ยกตัวอย่างการเรียนรูแ้ บบปาล์มเมอร์ ณัฐฬส เปรียบเปรย กับการเรียนประวัติศาสตร์ แม้จะมีค�ำอธิบาย แต่ก็มีบางอย่างที่ต้อง ค้นหา “บางทีเราก็ศกึ ษาศาสตร์อนื่ เพือ่ ทีจ่ ะเข้าใจประวัตศิ าสตร์ชว่ งเวลา นั้น เพื่อจะรู้ว่าเกิดอะไรขึ้น นี่คือการเรียนรู้ แสวงหาด้วยตัวเอง ไม่ใช่ รับข้อมูลที่คนสรุปมาแล้ว” อ่านต่อหน้า 2
ความหมาย เป็นตัวของตัวเองได้ยังไง ครูบางคนมักจะสอนตามหน้าที่ ไม่มี ความสัมพันธ์กับเด็กจริงๆ และนั่นเองท�ำให้คนรุ่นใหม่บางคนบ่นว่า ทั้งๆ ที่อยากท�ำอะไรดีๆ อยากเป็นจิตอาสา แต่ไม่รู้จะท�ำไปท�ำไม ท�ำแล้วจะเกิด “สังคมตอนนี้ขาดเรื่องจิตวิญญาณ จึงเป็นที่มาของปัญหาการเข้าใจ อะไรขึ้น เพราะพวกเขาไม่ได้ถูกสอนให้รู้จักการเชื่อมโยง จึงใช้ชีวิตตาม ตนเองและสังคม รวมถึงการอยู่ในสังคม ถ้ามีเครื่องมือที่ท�ำให้คนหันมา กระแสไปเรื่อยๆ รับรู้ศักยภาพด้านในและความต้องการของเขา น่าจะช่วยให้การสื่อสาร เนื่องจากปาล์มเมอร์ เน้นเรื่องการศึกษาผ่านบทสนทนา ซึ่งน�ำมาจาก ของคนในสังคมดีขึ้น มีความเกื้อกูลกันมากขึ้น โครงการพัฒนาสุขภาวะ ประสบการณ์ของเขา เขาเชื่อว่า ปัญหาที่เกิดขึ้น เกิดจากความกลัวภายใน ทางปัญญาที่เราท�ำ ก็คือ การให้ผู้คนหันมาใส่ใจซึ่งกันและกัน หันมา ของคน คนเราพอจะก้าวข้ามความกลัว ก็กลัวคนที่มีอ�ำนาจมากกว่า กลัว ท�ำสิ่งดีๆ ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น เมื่อใดก็ตามที่คนรู้จักตัวตนด้านใน แล้วก้าวผ่าน เนือ่ งจากการศึกษาไม่ได้เชือ่ มโยงผูค้ นให้รจู้ กั ตัวเอง โดยเฉพาะระบบ ไปได้ ปัญหาเรื่องระบบและโครงสร้างก็ไม่ได้มีผลกระทบมาก และคนที่ มหาวิทยาลัย สอนคนไปท�ำมาหากิน แต่ไม่ได้สอนให้ค้นหาความหมายที่ เข้มแข็งก็จะสามารถเปลีย่ นสังคมเล็กๆ ของเขา แต่จะส่งผลกระทบต่อระบบ ต้องการในชีวติ ซึง่ คนทีอ่ อกไปจากระบบการศึกษา นอกจากไม่รจู้ กั ตัวเอง โครงสร้างได้หรือไม่ ก็อยู่ที่ว่า แต่ละคนจะเชื่อมโยงยังไง ยังไม่รู้ว่า ตัวเองสัมพันธ์กับคนอื่นๆ ในสังคมอย่างไร ดังนั้นเวลาท�ำอะไร จากที่สัมผัสมา มีครูที่รักวิชาชีพ ท�ำทุกอย่างด้วยแรงขับด้านใน สักอย่างก็เพื่อตอบสนองตัวเอง ไม่เห็นความเชื่อมโยง ซึ่งแนวทาง เห็นความหมายของตัวเอง แต่ก็ท้อกับระบบ ถ้ารักที่จะเป็นครู ก็ต้อง ปาร์กเกอร์ เจ. ปาล์มเมอร์ จากหนังสือหัวใจการศึกษาเน้นเรือ่ งความสัมพันธ์ สามารถไปต่อให้ได้ ซึง่ คนกลุม่ นีต้ อ้ งสร้างเครือข่ายสือ่ สารกัน เราก็พยายาม และความเชือ่ มโยงของผูค้ นกับสถาบันการศึกษา โดยใช้บทสนทนามาเชือ่ มโยง เอากระบวนการเหล่านี้เข้าไปช่วย นี่เป็นกระบวนการทดลองครั้งแรก และ ปาล์มเมอร์มองเห็นจุดบอดเล็กๆ ของการศึกษา เพราะครูไม่รู้ว่า ในครั้งที่ 2 วันที่ 26-28 มิถุายน 2558 เราจะตามผลต่อว่า พวกเขาน�ำไปใช้ เขาคือใคร จะพัฒนาตัวเองและเชื่อมสัมพันธ์ให้วิชา และห้องเรียนมี กับงานและชีวิต แล้วมีพัฒนาการอย่างไร”
02
กรุงเทพธุรกิจ • จุดประกาย
โซไซตี้ jud.society@gmail.com
ปฏิทิน
• jud.calendar@gmail.com
นิทรรศการแสดงเดี่ยวภาพถ่าย The Fall of Phnom Penh : 40 years ago, Khmers Rouge took power by Roland Neveu ช่างภาพชาวฝรัง่ เศส โรลองด์ เนอวู ช่างภาพหนังสือพิมพ์ได้บนั ทึก ภาพเหตุการณ์ประวัติศาสตร์การล่มสลายของสาธารณรัฐกัมพูชา ในวาระร�ำลึก 40 ปีการบุกยึดกรุงพนมเปญของกองก�ำลังเขมรแดง เมื่อปีค.ศ. 1975 จัดแสดงที่ Soy Sauce Factory ถ.เจริญกรุง 24 กรุงเทพฯ วันที่ 24 เม.ย.-24 พ.ค.2558 เวลา 10.00 -19.00 น. สอบถามโทร. 0618356824
คอนเสิร์ต/การแสดง
The Word Alive live in Bangkok วันที่ 23 เมษายน 2558 ที่ ร็อคผับ ตึกฮอลลีวู้ดสตรีท ถ.พญาไท กรุงเทพฯ เวลาแสดง 20.00-21.30 น. Indy Pop Concerts น�ำเสนอ The Word Alive live in Bangkok คอนเสิรต์ ของวง The World Alive วงแนวเมทัลคอร์ จากเมือง ฟีนกิ ซ์ รัฐอริโซนา สหรัฐฯ ทีเ่ ริม่ ก่อตัง้ วงตัง้ แต่ปี 2008 บัตรราคา 1,000 บาท จ�ำนวนจ�ำกัดเพียง 300 ใบเท่านั้น ซื้อบัตรได้ที่ Indy Pop Concerts โทร. 08 5060 4120 ร้าน Gram ชั้น 4 สยามพารากอน โทร.0 2610 7995 และร้าน HOF เดอะมอลล์ บางกะปิ ชั้นสอง โทร. 0 2734 1810 แอนิเมชั่นอิตาลี Italian Animation New Wave วันที่ 30 เมษายน และ 1 พฤษภาคม 2558 เวลา 20.0021.00 น. ชมผลงานแอนิเมชั่นขนาดสั้น จากศิลปินและนักสร้าง แอนิเมชันหลายคนที่มีชื่อเสียงในอิตาลีช่วงทศวรรษที่ผ่านมา โดยมีจดุ ร่วมของงานทีค่ วามลึกลับน่าพิศวง จัดแสดง ที่ Bridge Art Space ถ.เจริญกรุง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ สอบถามโทร. 08 9666 2051 Mime Solo โดยแชมป์ วันที่ 22-24 พฤษภาคม 2558 เวลา 20.00 น. ณ โรงละคร พระจันทร์เสี้ยว สถาบันปรีดี พนมยงค์ ซ.ทองหล่อ แชมป์ชัชวัฒน์ แสนเวียง น�ำเสนอ “ละครใบ้ เรียบง่าย จริงใจ จากชีวติ ของชายคนหนึ่ง” พบกับละครใบ้ 5 เรื่องสั้น ร้อยเรียงเป็น หนึ่งการแสดง ว่าด้วย ยอดมนุษย์ หุ่นสาน ดอกไม้ ใบกัญชา และ สุขาอยู่หนใด บัตร 350 บาท นักเรียน นักศึกษา 250 บาท ส�ำรองที่นั่ง 08 2960 3456
นิทรรศการ/ศิลปะ
ประติมากรรม “โครงสร้างพื้นฐานใต้ผิวหนัง” วันที่ 24 เมษายน-22 พฤษภาคม 2558 สถานที่ Bridge Art Space ถ.เจริญกรุง เปิดบริการทุกวัน ชม “subcutaneous infrastructure โครงสร้างพื้นฐานใต้ผิวหนัง” นิทรรศการงาน ประติมากรรม โดย นที ทับทิมทอง และ วิสุทธิ์ ยิ้มประเสริฐ ถ่ายทอดเรื่องราวของเขาผ่านชิ้นงาน 3 มิติ ที่ถูกกลั่นกรอง ทางความคิด และการพิจารณาในเรื่องของ ธรรมชาติ สิ่งมีชีวิต และสรรพสิง่ รอบตัว โครงสร้าง สัดส่วน และเส้นประสานจากภายใน Tangled up in blue วันที่ 22 เมษายน-6 มิถุนายน 2558 ณ S gallery โซฟิเทล บางกอก ถ.สุขมุ วิทซอย 13-15 กรุงเทพฯ เปิดให้ชมเวลา 10.0022.00 น. ทุกวัน ชมนิทรรศการ Tangled up in blue โดย พงษ์สกุล ชาเหลา ศิลปินหนุ่มชาวไทยวัย 27 ปี ผู้ซึ่งสะสม ผ้ายีนส์มากว่า 10 ปี น�ำเสนอศิลปะการตัดแปะผ้ายีนส์ ต่อเข้ากัน เป็นทัศนียภาพแห่งความคิดทัศนียภาพแห่งความคิด ซึง่ ถูกกระตุน้ ด้วยภาพสังคม-วัฒนธรรม ของกรุงเทพฯ และสภาพแวดล้อมต่างๆ แนวคิดทีผ่ า่ นการจุดประกายนี้ ถูกสะท้อนออกมาผ่านโทนสีและ ความเข้มจางของผ้ายีนส์ พร้อมด้วยจักรเย็บผ้า เครื่องมือ สร้างผลงานแทนที่พู่กันเขียนภาพ
ประกวด/แข่งขัน
ศิริราช เดิน-วิ่ง ผสานชุมชน ครั้งที่ 9 วันที่ 26 เมษายน 2558 เชิญร่วมงาน “ศิริราช เดิน-วิ่ง ผสานชุมชน ครั้งที่ 9 : 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ปล่อยตัวนักวิง่ เวลา 05.30 น. (ปิดเส้นทาง จราจรบนคูข่ นานลอยฟ้า เวลา 04.00-08.00 น.ระยะ 10.55, 3.5 กม. ค่าสมัคร 300 บาท รับสมัครล่วงหน้าเท่านัน้ วันนี-้ 25 เมษายน 2558 เวลา 09.00-16.00 น. ณ งานสร้างเสริม ขภาพ ตึกชัยนาทนเรน ทรานุสรณ์ (ผู้ป่วยนอกเก่า) ชั้น 1. โทร 0 2419 9981 โครงการ “ปั้นดิน ปั้นฝัน ปั้นใจ รุ่น 1” วันที่ 19 เมษายน 2558 เวลา 09.00-15.30 น. ณ สวนพุทธธรรม ในหอจดหมายเหตุพุทธทาสอินทปัญโญ (สวนโมกข์กรุงเทพฯ) เปิดรับสมัครผูส้ นใจทัว่ ไปทีม่ อี ายุตงั้ แต่ 6 ขวบ ขึน้ ไป ไม่จำ� กัดเพศ ผูส้ นใจในการฝึกสติ ด้วยการปัน้ ดิน ปัน้ ฝัน ปัน้ ใจตน กิจกรรมนี้ จะช่วยให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการที่ล�้ำเลิศ ช่วยฝึกสมาธิในการท�ำงาน ใจเย็น และยังสร้างความอ่อนโยน ในจิตใต้สำ� นึก รับคุณค่าในตนเอง เกิดคุณธรรมน�ำจิตใจในการด�ำเนินวิถชี วี ติ ทีเ่ รียบง่ายดินดิบมีอณ ุ หภูมติ ำ�่ กว่าร่างกายของเรา เวลาที่ปั้นจะรู้สึกเย็นสบายมืออีกด้วย กรอกใบสมัคร http:// goo.gl/forms/3FlCZMFqej ไม่มคี า่ ใช้จา่ ยในการเข้าร่วมกิจกรรม เมื่อสมัครแล้ว รอรับอีเมลตอบกลับ ผู้ที่ได้รับเมลตอบกลับ และปฏิบัติตามขั้นตอนเท่านั้น จึงจะมีสิทธิเข้าร่วมกิจกรรม ในครั้งนี้ รับจ�ำนวน 35 คน ● ●
วันศุกร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ.2558
จ
เคล็ดลับบริหาร อาณาจักรครอบครัว
ากการวิจัยของบริษัทที่ปรึกษาธุรกิจ ครอบครัวในต่างประเทศ ระบุว่า 70 เปอร์เซ็นต์ ของธุรกิจครอบครัวทั่วโลก ไม่สามารถส่งต่อธุรกิจต่อจากรุ่นพ่อสู่รุ่นลูกได้ ในขณะที่กว่า 90 เปอร์เซ็นต์ ไม่สามารถส่งต่อ ความมัง่ คัง่ จากรุน่ ก่อนถึงรุน่ หลัง แต่ปรากฏการณ์นี้ เกิดขึ้นในทิศทางตรงกันข้ามกับ 4 ทายาทนักธุรกิจ ผูป้ ระสบความส�ำเร็จบนเส้นทางธุรกิจทีแ่ ตกต่างกัน ความท้าทาย ความกดดันที่พวกเขาต้องเผชิญและ ฟันฝ่า จนก้าวมาเป็นที่หนึ่งนั้น ไม่ใช่ได้มาง่ายๆ ในงาน Forbes Thailand Forum 2015 : The next tycoons 4 ทายาทนักธุรกิจผูท้ รงอิทธิพล ของเมื อ งไทยจาก 4 วงการซึ่ ง ได้ แ ก่ ยุ ท ธชั ย จรณะจิตต์ กลุ่มบริษัทอิตัลไทย, ธนรัชต์ พสวงศ์ กลุ่มบริษัท ฮั่ว เซ่ง เฮง, รัตนา สถิรมน กลุ่มบริษัท สามมิตรมอเตอร์ส และ รุง่ ฉัตร บุญรัตน์ กลุม่ บริษทั มาลีสามพราน ได้มาไขเคล็ดลับการบริหารธุรกิจ ในฐานะทายาท ในหัวข้อ “Enhancing a fortune” โดยได้รับเกียรติจาก ศุภกรณ์ เวชชาชีวะ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท โพสต์ อินเตอร์เนชั่นแนล มีเดีย จ�ำกัด และกฤษฎา สวามิภกั ดิ์ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร นิตยสาร ฟอร์บส ไทยแลนด์ ให้เกียรติเปิดงาน เริ่มต้นที่ ยุทธชัย จรณะจิตต์ หัวเรือใหญ่แห่ง กลุ่มบริษัทอิตัลไทย ผู้เข้ามารับหน้าที่คุมบังเหียน อาณาจักรหมืน่ ล้าน ภาระการคุมพนักงานกว่า 4,000 คน กูว้ กิ ฤติทา่ มกลางความไม่มนั่ คงในเวลานัน้ ในวัยเพียง 24 ผ่านไปกว่า 10 ปี ปัจจุบันอิตัลไทยเติบโตเป็น เครือธุรกิจที่มีกิจการหลากหลาย มีรายได้กว่าจาก 15,000 ล้านบาท และกล้าประกาศว่าอีก 3 ปี ข้างหน้า จะทะยานเป็น 30,000 ล้าน ยุทธชัย จรณะจิตต์ “การท�ำธุรกิจทัง้ เล็กใหญ่ ทุกอย่างขึน้ อยูก่ บั คน ยิ่ ง ตอนนี้ เ ศรษฐกิ จ ไทยมี ก ารแข่ ง ขั น สู ง มาก ท�ำให้ได้ หากย้อนกลับไปช่วงแรกตอนอายุ 24 ตลาดเออีซีก็ก�ำลังจะเปิด สิ่งที่ผมท�ำ คือ พยายาม ต้องเข้ามาดูแลบริษทั ก็กดดันมาก เครียด เราต้อง บริหารจัดการความคิด ต้องท�ำงานกับผูใ้ หญ่ ที่มีประสบการณ์มากกว่าเรา ท�ำอย่างไร ให้เขายอมรับเราได้ ผมว่าต้องใช้เวลา ความอดทน อดกลัน้ แล้วก็ความภูมใิ จทีม่ ี ต่อคุณพ่อ (อดิศร) ซึง่ ตอนนีท้ า่ นไม่อยูแ่ ล้ว เพราะท่านอยากเห็นองค์กรที่สร้างมา ประสบความส�ำเร็จ เราต้องมีวิธี ของเราโดยการใช้แพลตฟอร์ม ทีพ่ วกท่านสร้างไว้ ให้มปี ระโยชน์ อย่างยั่งยืน” “ผมว่างานทุกงาน ทุกคน ท�ำผิดมากกว่าถูก ซึ่งเป็นสิ่ง ทีค่ ณ ุ ตาของผมบอกตลอดว่าให้ เรียนรู้จากการท�ำงาน แล้วน�ำไป เป็นรางวัลขององค์กร อีกอย่าง ผมเชื่อว่าวิชั่นที่พ่อแม่ให้มา คือ สายเลือด แต่อาจเป็นเพราะตัวผม ด้วยทีค่ ดิ แบบตะวันตก เพราะถ้าเรา ต้องการก้าวกระโดด คุณต้องกล้า ทีจ่ ะเปลีย่ น สานต่อวิชนั่ และแหล่ง เงินลงทุน” ยุทธชัยเผยถึงมรดก ทางความคิดทีไ่ ด้รบั การถ่ายทอด มาตัง้ แต่สมัยคุณตา ซึง่ หล่อหลอม แนวทางการบริหารมาจนถึงรุ่นเขา รัตนา สถิรมน และรุ่งฉัตร บุญรัตน์
ธนรัชต์ พสวงศ์
ราวกับว่าความท้าทายเดียวกันนี้จะเกิดขึ้นกับ ผู้บริหารอายุน้อยอย่าง รุ่งฉัตร บุญรัตน์ กลุ่มบริษัท มาลีสามพราน เมือ่ เข้ามารับต�ำแหน่งตัง้ แต่อายุเลข 2 มาเรียนรูธ้ รุ กิจจากคุณพ่อ จนถึงปัจจุบนั อายุยงั ไม่ถงึ 30 ณ วันนีธ้ รุ กิจน�ำ้ ผลไม้มาลีมรี ายได้กว่า 5000 ล้าน และเธอตั้งใจว่าภายใน 5 ปี ต้องดันให้เป็น 10,000 ล้านบาท แต่สาวน้อยคนนี้เริ่มต้นความส�ำเร็จจาก การชนะใจพนักงานในบริษทั ด้วยความถ่อมตนและ มองพนักงานเปรียบเสมือนครูทางธุรกิจ “ต้องบอกว่าความเป็นผูห้ ญิงได้เปรียบ เนือ่ งจาก ว่า เราเข้าไปถึงก็ยกมือไหว้ทุกคน เพราะเราเป็นเด็ก คนเดียวในบริษทั การเข้าไปบริหารแบบไม่มปี ระสบการณ์ จึงใช้เหตุและผลพูดกันมาก เมื่อเราเป็นเจเนอเรชั่น ใหม่เข้ามา เราจะท�ำเหมือนเดิมก็ได้ แต่มันก็จะอยู่ ที่เดิม ถ้าเราอยากเติบโตไปมากกว่านี้ เราต้องปรับ บางทีสิ่งที่คนเก่าเคยท�ำมาดีอยู่แล้ว คนใหม่เข้ามา ก็จะบอกว่ามันดีจริง แต่วา่ ไม่สามารถขึน้ ไปได้ เพราะ ฉะนัน้ การให้ทศิ ทางลงไปจะมีคำ� ต่อต้านเยอะ วิธกี าร คือเข้าหาทีละกลุม่ เป็นนักฟังทีด่ ี อย่าคิดว่าเราดีกว่า ทุกอย่างที่เราคิดออกมาเป็นฟีตแบ็คจากทุกคน แค่ปรับจากความผิดพลาดแล้วสร้างเป็นทิศทางให้ ทุกคนซื้อไอเดีย เพราะเห็นที่มาที่ไป” รุ่งฉัตรกล่าว ถึงแนวทางบริหารที่ใช้จุดอ่อนเป็นจุดแข็ง เช่นเดียวกับ รัตนา สถิรมน ทายาทรุ่นที่ 3 กลุม่ บริษทั สามมิตรมอเตอร์ส ผูพ้ ลิกค�ำสบประมาท ว่า “ธุรกิจจะอยู่ได้ไม่เกิน 3 รุ่น และรุ่นนี้จะเป็น
ต่อจากหน้า 1
ทีแ่ ห้งแล้ง ทัง้ ๆ ที่ 6 เดือนไม่มนี ำ�้ ใช้ เพราะเธอเติบโต จากชุมชนนั้น ได้เห็นการเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และ วันหนึง่ เธอเห็นว่าชุมชนอยูไ่ ม่ได้แล้ว ก็อยากตอบแทน พยายามท�ำโครงการทีท่ ำ� ให้ชมุ ชนอยูไ่ ด้ ไม่หนีชมุ ชน ไปหาความสะดวกสบาย” ณัฐฬส เล่าถึง จุดยืนทีบ่ าง คนให้คุณค่า และเงินอาจไม่ใช่ค�ำตอบ
หัวใจการศึกษา
การเปิดพืน้ ทีเ่ รียนรูร้ ว่ มกันทีเ่ รียกว่าไดอะล็อค เป็นการเรียนรู้เพื่อที่จะเข้าใจชีวิตด้านใน ทั้งจาก ธรรมชาติ บทเรียนเล็กๆ จากไอคิโด เพื่อให้เห็น ความแตกต่างของความคิดและการเคลื่อนไหว ทีห่ ลอมรวมเป็นหนึง่ เดียวผ่านการกระท�ำ เมือ่ ละวาง ความคิด “ผมคิ ด ว่ า แนวทางนี้ ใ ช้ ไ ด้ กั บ ชี วิ ต จริ ง ๆ เมื่อก่อนผมเขียนหนังสือ เขียนเพลง แต่พอมาเรียน ไดอะล็อค ใช้การฟังอย่างตั้งใจ ก็สามารถเข้าใจ ตั ว ละครได้ เ ยอะขึ้ น เข้ า ใจไปถึ ง หั ว ใจของเขา มีเพื่อนมากขึ้น เมื่อก่อนเราฟังไม่เป็น เรารู้สึกมั่นใจ ตัวเองสูง เคยอยู่นิวยอร์คสิบกว่าปี ผู้คนมากมาย แต่เหงา พอมาเจอวิชาของปาล์มเมอร์ ท�ำให้รู้สึก ชีวิตนุ่มนวลขึ้น มีความสุข” สุ ร พงษ์ นิ ย มกู ล กระบวนกรสถาบันขวัญแผ่นดิน กล่าว และบอกว่า การศึกษาคือ การเรียนรู้และเข้าใจทุกสิ่งทุกอย่าง ในชีวิตของเรา “ผมไม่ชอบค�ำว่าผ่านมาแล้วผ่านไป อะไรที่ ไม่เข้าใจ ต้องท�ำให้เข้าใจ จะท�ำให้เราไม่ทกุ ข์ ตอนใช้ชวี ติ ในอเมริกา เหมือนมายาภาพ กระบวนการที่ผมได้ เรียนรู้ ท�ำให้เราเข้าใจหัวใจความเป็นมนุษย์ของ แต่ละคนมากขึน้ เข้าใจว่า ทุกคนไม่มใี ครเป็นคนเลว เข้าใจว่าท�ำไมมีการเหยียบผิว ค�ำว่าเข้าใจด้วยสมอง ไม่เหมือนเข้าใจด้วยความรู้สึกนะ” เขาตั้งค�ำถามอีกว่า บางทีคนเรามีทุกอย่าง
เรียนรู้จากธรรมชาติ
รุ่นสุดท้าย” กลายเป็นค�ำท้าทาย จนวันนี้สามมิตรคือผู้ผลิตรถยนต์ จนเป็น เบอร์ 1 ของอุตสาหกรรมยานยนตร์แห่งอาเซียนที่ ขึน้ ชือ่ เรือ่ งการผลิตรถบรรทุกเบือ้ งหลังความส�ำเร็จ ที่ท�ำให้ก้าวมาถึงจุดนี้ เธอเผยว่าคือพลังครอบครัว และมองพนักงานเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว “ดิฉันมองว่าการท�ำธุรกิจครอบครัวมันมีพลัง คือ อย่างน้อยเรามีพี่น้อง มีครอบครัว สิ่งหนึ่งที่ ส�ำคัญมากๆ คือเรื่องของการสื่อสาร และครอบครัว เรามีแฟมิลี่มีตติ้งกันอาทิตย์ละครั้ง อีกอย่างคือ ในครอบครัวมีหลายอายุ เราเลยถือโอกาสนี้เปิดใจ คุยกัน และการสื่อสารไม่ใช่แค่เฉพาะครอบครัว แต่ ต้องสื่อสารไปถึงระดับคนงาน พนักงาน ให้เขาเป็น ส่วนหนึ่งของครอบครัว จึงจะกลายเป็นพลังที่ ใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ” ไม่ เ พี ย งแต่ พ นั ก งานเท่ า นั้ น การเปิ ด ใจ รับแนวทางใหม่เพื่อยกระดับองค์กรไปสู่สากล ก็เป็นอีกหนึง่ หนทางที่ รัตนา ไม่ได้มองข้าม โดยยอมรับ ว่า การเปิดใจรับคนภายนอกเข้ามาช่วยบริหาร ก็เหมือน เป็นการเปิดเจอโอกาส และเรียนรู้ตลาดใหม่ๆ “จากเมือ่ ก่อนเราไม่รเู้ ลยว่า เราเป็นแบรนด์ไทย ที่ มี วิ ธี ผ ลิ ต หลั ง คารถปิ ค อั พ จากเหล็ ก แบบนี้ เจ้าเดียวในโลก สิง่ เหล่านีถ้ า้ เราไม่ออกไป เราจะไม่รเู้ ลย เมื่อเรารู้ก็จับตรงนี้เป็นโอกาส มองตลาดไปถึงยุโรป หรือตลาดในประเทศเจริญแล้วสนใจเรื่องรีไซเคิล ซึง่ เราก็นำ� มาเป็นจุดต่างในการสร้างแบรนด์ สิง่ เหล่านี้ เป็นเพราะเราเปิดการสื่อสาร เปิดมุมมองใหม่” ปิดท้ายที่ ธนรัชต์ พสวงศ์ อีกหนึง่ ผูบ้ ริหารรุน่ ใหม่ ที่เข้ามาบริหารกลุ่มบริษัท ฮั่ว เซ่ง เฮง ตอนอายุ 30 ต้นๆ และมาพร้อมโจทย์ทางธุรกิจที่ยากขึ้นไป อีกระดับ ในยุคทีว่ กิ ฤตเศรษฐกิจตกต�่ำ ส่งให้ราคาทอง เป็นสินทรัพย์ที่น่าลงทุน กิจการของครอบครัว ณ เวลานั้น จึงไม่ใช่กิจการที่ต้องมองเล็กๆ เสมอไป แต่เขากลับพลิกวิกฤตเป็นโอกาสเติบโตท่ามกลาง ความกดดันได้อย่างงดงาม “การซื้อขายทองปัจจุบันนี้กับเมื่อ 10 ปีที่แล้ว ต่างกันอย่างสิน้ เชิง ตอนนัน้ เกิดตลาด Gold Futures เป็นสิ่งที่ถกเถียงกันในบ้านมากว่าจะจ้างมืออาชีพ มาท�ำ หรือว่าจะเข้าไปเรียนรูแ้ ล้วท�ำ ผมก็ตอ้ งประสบ ปัญหาหลายๆ อย่าง จนถึงปัจจุบนั เราให้ความส�ำคัญ กับเรื่องการพัฒนาองค์กรและการพัฒนาระดับของ ผลิตภัณฑ์ อีกส่วนคือการซือ้ ขายทองค�ำแท่งบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นจุดเปลี่ยนธุรกิจของผมอย่างมาก เพราะ ช่วงที่ราคาทองปรับสูงขึ้น มีคนต่อคิวหน้าร้านยาว มากจนต้องขายบัตรคิว จากจุดนี้ก็เป็นที่มาของ ระบบสมาชิก ให้ลูกค้าสามารถซื้อขายได้ตามเวลา ทีต่ อ้ งการ ต่อมาเมือ่ โลกเปลีย่ นไปอีก ข้อมูลข่าวสาร เร็วขึ้นก็เป็นที่มาของการท�ำระบบออนไลน์ ท�ำให้มี ลูกค้าเพิ่มขึ้น สามารถซื้อขายและช�ำระเงินได้แบบ เรียลไทม์” เรียกว่าแต่ละท่านมีวธิ ฝี า่ วิกฤตมาสูค่ วามส�ำเร็จ ด้วยวิธีและแนวคิดที่แตกต่างกันไป เชื่อว่าด้วย วิสัยทัศน์จากนักธุรกิจชั้นน�ำผู้ประสบความส�ำเร็จ เหล่านี้ จะน�ำความรู้และข้อคิดมากมายมาให้ นักธุรกิจรุ่นใหม่ได้เรียนรู้และน�ำไปประยุกต์ได้ ไม่มากก็น้อย
เรียนเพื่อรู้ตัวตน
ส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ชีวิตด้านใน
แต่ท�ำไมทุกข์ เพราะระบบการศึกษาสอนให้เราคิด เมื่อใช้ความคิด ก็ไม่รู้ว่า หัวใจเรารู้สึกอย่างไร “เมื่อเราไม่ฟังใคร โลกของเราก็จ�ำกัด มนุษย์ ไม่ได้เกิดมาเพือ่ จะอยูค่ นเดียว เมือ่ ก่อนผมไปอเมริกา เพือ่ เงิน ผมคิดว่า ผมไม่โง่ทจี่ ะท�ำงานเงินเดือนน้อยๆ
ในเมืองไทย” เขาย้อนถึงปัญหา และในที่สุดเขาก็ สามารถคลีค่ ลายปัญหาชีวติ และการท�ำงาน ด้วยการ เรียนรูด้ ว้ ยหัวใจ และปัจจุบนั เขาหันมาเป็นกระบวนกร กว่า3 ปี และนั่นท�ำให้ได้เรียนรู้ความต้องการ ตัวเอง และรู้ว่า การศึกษาไม่ใช่แค่การเรียนรู้ที่จะ คิดให้เก่งกว่าคนอื่น แต่ต้องเรียนรู้ที่จะเข้าใจ ตัวเองและผู้อื่นด้วย หากการศึกษาท�ำให้เราคิด เห็น ตัดสินใจ คล้ายๆ กัน แล้วคนที่คิดต่างหลากหลาย จะยืนอยู่ ตรงไหน เรื่องนี้ ณัฐฬส บอกว่า ปาล์มเมอร์ บอกว่า การศึกษาน่าจะเปิดโอกาสเต็มที่ให้คนได้แสดงใน สิ่งที่ตัวเองคิดและรู้สึก การศึกษาต้องเปิดให้ผู้เรียนปฎิสัมพันธ์กับ โลกที่เป็นจริง ไม่ใช่แค่ในต�ำรา “ผมคิดว่าส่วนนี้น่าสนใจ ปาล์มเมอร์เคยจัด รีทรีตให้ครูกลุ่มหนึ่งอย่างต่อเนื่อง เขามองว่า หัวใจของการศึกษา ไม่ใช่แค่หัวใจของครู แต่ยัง มีชุมชน พื้นที่พูดคุย การแบ่งปัน ซึ่งเราจ�ำลองมา แชร์กันในสิ่งที่เราให้คุณค่า อย่างกรณี น้องคนหนึ่ง ที่เข้าอบรม เล่าว่า เธอเลือกที่จะท�ำงานในชุมชน
หากถามว่า ท�ำไมคิดว่า ปาล์มเมอร์ตอบโจทย์ การศึกษาได้อย่างลึกซึ้ง ณัฐฬส ครุน่ คิด ยิม้ น้อยๆ แล้วตอบว่า กระบวนการ ของเขามีความเรียบง่าย ซึ่งเขาได้มาจากการเรียนรู้ ในชุมชนเควกเกอร์ คริสต์ศาสนา ซึ่งมีวิธีการค้นหา ความชัดเจนให้ชีวิตตัวเอง ผ่านการภาวนา การใคร่ครวญ การพูดคุย ให้คุณค่ากับการอยู่กับตัวเอง ความเงียบ ธรรมชาติ และวงพูดคุยที่ฟังกันอย่าง ลึกซึ้ง และนี่คือ การสื่อสารกับพระเจ้า “ผมสนใจตัวโจทย์ เขาใช้เวลาเขียนหนังสือ “กล้าที่จะสอน” สิบปี เมื่อพิมพ์ออกมาสามแสนเล่ม อี ก สิ บ ปี ใ ห้ ห ลั ง เขาเขี ย นเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง หนั ง สื อ ดั ง นั้ น เขาใช้ เ วลายี่ สิ บ ปี ใ นเขี ย นหนั ง สื อ เล่ ม นี้ เขาคลุกคลีกับวงการศึกษา รับรู้ปัจจัยความทุกข์ที่ เกิดขึน้ ในวงการศึกษาอเมริกา ผมว่าโจทย์ของเขาชัดเจน กระบวนการศึกษาทัว่ ไปเน้นเป้าหมายทีผ่ ลการเรียน ดี เ ยี่ ย ม แต่ ป าล์ ม เมอร์ เข้ า ใจระบบการศึ ก ษา เอาเครื่องมือจิตวิญญาณมาใช้ ผมว่าเรื่องนี้โดดเด่น เขาไม่ได้เอามาใช้เพือ่ เผยแพร่ศาสนา เขาเชือ่ ว่า ตราบใด ที่ดูแลหัวใจครูได้ ก็โอเค” ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม การศึกษาในระบบ เมืองไทยก็ยังถูกตั้งค�ำถามไม่จบสิ้น ณัฐฬส บอกว่า ตอนนีม้ อี าจารย์บางคนพยายามเปลีย่ นระบบอ�ำนาจ นิยมในระบบการบริหารของกระทรวงศึกษาธิการ โดยพยายามเปลีย่ นระบบผูอ้ ำ� นวยการ หัวหน้าทีเ่ ป็น ผู้บริหารระดับสูง มาเป็นระบบผู้ช่วย “ไม่ง่ายในการเปลี่ยน แต่ก็มีความพยายาม ในการเปลีย่ น ผมเชือ่ ว่าครูทมี่ ใี จอยากสอนมีอกี เยอะ รวมถึงผู้บริหารการศึกษาที่อยากเห็นเด็กเติบโต แต่ ยั ง ไม่ เ ห็ น กระบวนการที่ เ หมาะสม ยั ง ไม่ มี เครื่องมือที่ดี เพราะไปโฟกัสเรื่องนอกตัว” หากถามว่ า มี ค วามหวั ง ไหม ตามประสา คนท�ำงานด้านกระบวนการเรียนรูเ้ พือ่ เข้าใจโลกภายใน ตัวเอง ณัฐฬส บอกว่า “ผมเชื่อว่ามนุษย์เรียนรู้ได้”
บรรณาธิการข่าว : อนันต์ ลือประดิษฐ์ ● หัวหน้าข่าว : เพ็ญลักษณ์ ภักดีเจริญ, ชุติมา ซุ้นเจริญ ● กองบรรณาธิการ : ชาธิป สุวรรณทอง, ทศพร กลิ่นหอม, นิภาพร ทับหุ่น, ชัยณรงค์ กิตินารถอินทราณี, ปานใจ ปิ่นจินดา, พิมพ์พัดชา กาค�ำ, ปริญญา ชาวสมุน, ศากุน บางกระ บรรณาธิการศิลปกรรม อับดุลเล๊าะ บุวา ● ผู้ช่วยบรรณาธิการศิลปกรรม จักรพงษ์ ศรีสุนทร, กีรติ มีสุข ● หัวหน้าศิลปกรรม ทวีศักดิ์ อุระนันท์ ● ศิลปกรรม ณัชชา วงษ์งาม, ศราวุธ เหลืองสุขเจริญ, ประไพพรรณ จันทรัตน์, จีรศักดิ์ สุมาลัย, อรรยา อภิชัยพงศ์ไพศาล ● กราฟฟิกดีไซน์ สุเจตน์ ชุมภูนท์