เวทีจิตวิญญาณใหม่ครั้งที่ 6 "ว่าด้วยความสร้างสรรค์ กระบวนการ'คิด'ไม่ติด'กรอบ' "

Page 1

ผูเขารวมแลกเปลี่ยน นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย อนุสรณ ติปยานนท สกลฤทธิ์ จันทรพุม ธนา อุทัยภัตรากูร ดร.วรรณา ประยุกตวงศ

ผ.อ.สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ (นักสรางสรรคผาน ‘นโยบาย’) นักเขียน นักแปล ไรสังกัด (นักสรางสรรคผาน ‘ตัวอักษร’) ผูรวมกอตั้ง Ma:D Club for Change (นักสรางสรรคผาน ‘พื้นที่’) สถาปนิกสถาบันอาศรมศิลป (นักสรางสรรคผาน ‘รูปทรง’) อาจารยประจำมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (นักสรางสรรคผาน ‘นโยบาย’)

งานเวทีสาธารณะ “วาดวยความสรางสรรค: กระบวนการคิดไมติดกรอบ” เริ่มตนขึ้นดวยความสดใหมของรูปแบบการนำเสนอที่ไมเหมือน กับเวทีเสวนาทุกครั้งที่ผานมา โดยการโปรยที่มาของเหลาวิทยากรลงในแฟนเพจ www.facebook.com/benewspirit ซึ่งดูเหมือน จอมยุทธแตละทานจะมี “กลุมแฟนคลับ” ของตัวเองแนนเหนียว นอกจากนี้องคประกอบอื่นๆ ไมวาจะเปนสถานที่ที่เขาถึงงาย หัวขอที่ คลุมเคลือแตดึงดูดคนรุนใหม และชื่อของสำนักพิมพที่พอจะคุนเคยของนักอาน ทำใหเวทีเสวนาครั้งนี้คึกคักไปดวยกลุมคนหนาใหมๆ เห็นไดจากยอดผูลงทะเบียนหนางานกวา 150 คน ซึ่งเกินจากที่คาดไวเกือบเทาตัว

เวทีเสวนาครั้งนี้ตองขอแสดงความชื่นชมผูรับหนาที่ตั้งประเด็น อาจารยวรรณา ที่มีความสรางสรรคสมชื่องาน เริ่มตั้งแตการชวนวิทยากร ทุกคนมานั่งลอมวงทำความรูจักกันเล็กนอยนอกรอบ ใหเห็นที่มาที่ไปของกันและกัน เมื่อไดเวลาขึ้นเวทีจริงบรรยากาศการพูดคุยจึงผอนคลาย เปนกันเอง เหมือนเพื่อนมานั่งคุยกัน วิทยากรบางทานเลยถือโอกาสเอนเอกเขนกกับโซฟา เรียกเสียงฮาเบาๆ จากผูชม และกอนเริ่มเขาสู การเสวนา อาจารยวรรณาไดขอใหทุกคนในหองประชุมสำรวจอิริยาบถของตัวเอง และอยูกับลมหายใจครูหนึ่ง เพื่อปรับจิตใจใหผอนคลาย พรอมที่จะซึมซับและใครครวญเนื้อหาของการแลกเปลี่ยนดวยเรื่องที่ทาทายตอความเขาใจอยางยิ่ง อาจพูดไดวา เปนประเด็นที่ยอยยาก ที่สุดของโครงการฯ ก็คงไมผิดนัก...


“ผมอานหนังสือเลมนี้ดวยความงวง” นายแพทยโกมาตรเปดประเด็นสนทนาพรอมเสียงหัวเราะครืนจากผูฟง คุณหมอเลาตอวา “ผมอาศัยการเชื่อมโยงประสบการณสวนตัวเพื่อทำความเขาใจหนังสือเลมนี้ ยกตัวอยางเชน เรื่องความสรางสรรคของจักรวาล บางทีถาเราสังเกตธรรมชาติ เราจะเห็นความงามและความสรางสรรคเหลานี้ซอนตัวอยู อยางกลีบดอกไมที่เราเห็น ถาเรานับดูดีๆ มันจะ มีเลขอนุกรม 3 5 8 13 21 ... ซึ่งเลขตัวหลังจะเทากับเลขตัวหนาสองตัวบวกกันเสมอ และเมื่อนำเลขตัวแรกมาหารตัวหลังจะไดคา phi ซึ่งเปนสัดสวนความงดงามที่เราพบไดในธรรมชาติและศิลปะ แตการเรียนการสอนในโรงเรียนไมใชแบบนั้น มันไปแยกเปนสวนๆ วานี่คือ ราก นี่เกสร นี่กลีบดอก และระบุหนาที่เฉพาะใหเสร็จสรรพ เมื่อภาษาหั่นดอกไมออกเปนชิ้นๆ เราจึงมองไมเห็นความเปนองครวมของมัน เพราะฉะนั้นภาษาจึงกลายเปน ‘กรอบ’ ในการทำความเขาใจโลก” เมื่อพูดถึงภาษาในฐานะที่เปน ‘กรอบ’ คุณธนา ไดแลกเปลี่ยนแงมุมที่นาสนใจเกี่ยวกับขอจำกัดทางภาษาในการถายทอดความจริงผาน ประโยคที่เปนหัวใจวา “สภาวะจริงแทบางอยางมันก็ใชภาษาอธิบายไมไดครับ” และถึงจะใชภาษามาอธิบายก็ตองใชอยางระมัดระวัง เพราะความ “แบน” ของภาษาอาจทำใหผูพูดไมสามารถถายทอดภาพไดครบถวน ขณะเดียวกันผูฟงเองก็อาจเขาใจผิดวาทั้งหมดมีเทานั้น และในการทำความเขาใจความจริงนั้น ตองอาศัยการสังเกตตัวเองมากๆ วาเรากำลังติดกับกรอบของภาษาอยูหรือเปลา และอีกกรอบ หนึ่งที่ธนาไดฝากไวในเวทีเสวนาคือ กรอบของวิชาชีพทั้งหลาย สุดทายแลวกลายเปนเสนแบงความสามารถของคนออกเปนสวนๆ แมในมีสาขาวิชาชีพที่คลายกัน เชน วิศวกร ชางฝมือ สถาปนิก ก็ติดอยูที่เสนแบงนี้ เมื่อพูดถึง “กรอบ” อาจารยวรรณาไดจังหวะโยนประเด็นตอไปยังคนทำงานสรางสรรคนอกกรอบของ “พื้นที่” คุณสกลฤทธิ์ ผูรวมกอตั้ง Ma:D Hub for Change ซึ่งเปน Share space ใหคนรุนใหมที่สนใจทำงานเพื่อสังคมไดมาพบปะ แลกเปลี่ยนไอเดียกันนอกกรอบ สถานที่ที่ทุกคนเรียกกันวา “ออฟฟศ” สกลฤทธิ์ ไดยกตัวอยางที่นาสนใจเกี่ยวกับการสรางสรรควาเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู “ถาเราเปดประสาทสัมผัสและใหเวลากับอะไรมากพอ เราจะรูเองโดยอัตโนมัติวาเราจะทำอะไรกับสิ่งนั้นๆ ไดบาง” สกลฤทธิ์พูด อยางใครครวญกอนที่แบงปนประสบการณ “การสัมผัสละครปดตา” ซึ่งทำใหเขาเปดประสาทสัมผัสสวนอื่นอยางเต็มที่ แมผูชมละคร จะมองไมเห็น แตภาพ กลิ่น เสียง สัมผัส กลับชัดเจนในมโนสำนึก และเนื้อเรื่องก็ไมไดขาดตกบกพรอง เสียงรถไฟเคลากลิ่นไกยาง กลิ่นเขมาดินปน เสียงพูดคุย ทำให “สุสานหิ่งหอย” ในรูปแบบเปดอนุทวารนี้เรียกน้ำตาจากผูชมไดตั้งแต 5 นาทีแรก สำหรับคุณอนุสรณ ซึ่งเปนแฟนพันธุแทของ เดวิด โบหม และอุนเครื่องรอจนไดที่แลว เมื่อไดรับเชิญใหแสดงมุมมองเกี่ยวกับหนังสือ เขาจึงพรั่งพรูปูภาพในประวัติศาสตร ผานเรื่องเลาเกี่ยวกับนักวิทยาศาสตรตั้งแตสมัยนิวตัน มาไอนไสตน ไฮเซนแบรก จนถึงเดวิด โบหม คนตนเรื่องที่ทำใหเกิดเวทีในครั้งนี้ ทำใหผูฟงไดรวมสำรวจความเหมือนและความตางของแนวคิดทางวิทยาศาสตรแตละคาย ดูเหมือน อนุสรณจะลงไปเลนกับเนื้อหาที่อยูในหนังสือไดลึกเปนพิเศษ ไมวาจะเปนการพูดถึงความพิลึกพิลั่นของทฤษฎีควอนตัม ที่บอกวาการวัด ทำใหความจริงเกี่ยวกับสิ่งที่ถูกวัดเปลี่ยนแปลง ซึ่งคำกลาวขางตนถือเปน “หมุดตอกอก” สำนักวิทยาศาสตรบริสุทธิ์ ที่รับไมไดกับการ “แปดเปอน” ระหวางเครื่องมือวัด และวัตถุที่ใชในการศึกษา อนุสรณวิจารณหนังสือยางตรงไปตรงมาวา “โบหมวิเคราะหเรื่องความคิดไดลึก คำอธิบายหลายๆ อยางสอดคลองกับแกนของพุทธ โบหมกลาววาความคิดคือตัวปญหา หลายๆ ครั้งเราคิดวาเราใชความคิด แตในความเปนจริง ความคิดตางหากกำลังใชเราอยูโดยที่เรา ไมรูตัว แตเมื่อถูกถามลึกลงไปวาเราจะรูไดยังไงวาเรากำลังคิด โบหมยังหาคำตอบไมไดและมันทำใหหนังสือเลมนี้ของเขายังมีจุดออน ตรงที่ไมสามารถนำเรื่อง “สติ” มาอธิบายการตระหนักรูถึงการกอตัวของความคิดได ซึ่งคำอธิบายทางพุทธศาสนาไปไดไกลกวานั้น” อีกประเด็นที่นาสนใจในวงแลกเปลี่ยนครั้งนี้ คือเรื่องของคำวา “ความจริง” หรือ “TRUTH” ที่มีรากมาจากคำวา “Together” “ดวยกัน รวมกัน” ซึ่งเกิดจากการบูรณาการของความจริง ความงาม และความดี ฉะนั้นสิ่งที่เปนจริงตองไมเพียงแคจริง แตตองมี ความสอดคลองกับความงามและความดี ทำใหความจริงกลายสิ่งที่เรียบงายแตสมบูรณลงตัว คุณหมอโกมาตรไดยกตัวอยางอาจารย อังคาร ที่วาดเพียรภาพตนไมซ้ำแลวซ้ำ ดวยเหตุเพราะภาพตนไมทิพยที่ถายทอดออกมานั้น เปนคนละตนกับตนไมทิพยที่อยูในใจ คุณหมอย้ำสิ่งที่โบหมไดกลาวไวในหนังสือวา “ความคิด” กับ “กระบวนการคิด” เปนคนละสวนกัน และการพัฒนากระบวนการคิดนั้น ตองผานการปฏิบัติ ตองลงมือทำ และใหโอกาสมันในการ “ปงแวบ” ฉะนั้นการจะลุกขึ้นมาบอกวา “เหย! ไปนอกกรอบกัน” มันจึงไมไดชวยใหคนคิดนอกกรอบ เราจะคิดนอกกรอบไดก็ตอเมื่อ เรากาวขามการคิดแบบ Reactive (อัตโนมัติ) ไปสูการคิดแบบ Reflexive (ใตรตรอง) โดยระวังไมไปตกรองวิธีคิดเดิม ซึ่งจะนำไปสู Intelligent (สติปญญา) ในที่สุด ตอประเด็นนี้อาจารยวรรณาได


กลาวเสริมอยางนาสนใจ วาการทำใหการคิดแบบใตรตรองกลายเปนนิสัยเปนสิ่งที่จำเปนมาก เหมือนสมการ E=MC 2 หมายความวา พลังงานงานนั้นมาจากความเรงเปนสำคัญ การจะกอใหเกิดพลังงานนั้นตองทำไปจนถึงจุด C 2 ใหได ตองเรง ตองทำใหถี่ การภิปรายแลกเปลี่ยนไดเดินทางมาถึงโคงสุดทาย อาจารยวรรณาเชื้อเชิญใหอนุสรณแลกเปลี่ยนถึงการทำงานในฐานะนักเขียนนักแปล กับความสรางสรรค (ทำใหนอกจากวันนี้ผูเขารวมกิจกรรมจะไดความหมายของความสรางสรรคแลว ยังไดเทคนิคการรักษา ‘สภาวะที่สรางสรรค’ จากนักเขียนทานนี้ดวย) อนุสรณกลาววา การทำงานเขียนตองเผชิญกับความคิด ความรูสึก ที่มีตองานชิ้นเกาหรือ งานที่เพิ่งจบลง ไมวาจะเปนความชอบความชัง ซึ่งมักกลายเปนขยะในใจเรา เทคนิคของอนุสรณคือ สลัดความคิดเกาออกไปใหเร็วที่สุด ยิ่งสลัดไดเร็วเทาไร การเริ่มตนงานชิ้นใหมอยางสดใหมยิ่งทำไดเร็วเทานั้น อีกประการคือ อยาคิดวาความสรางสรรคตองขบถ หรือ นอกกรอบแบบที่เรียกวาหลุดโลกจนทิ้งแกนหรือหัวใจของสิ่งที่เราทำ Basic หรือพื้นฐานของสิ่งนั้นๆ เราตองแมน เมื่อเราจับแกนของมัน ไดมั่นแลว ที่เหลือก็จะเปนพื้นที่ของความสรางสรรค ผมนั่งฟงเวทีเสวนาครั้งนี้ดวยใจระทึก ทุกครั้งที่ความสงสัยใครรูไดรับการคลี่คลาย ผมรูสึกราวกับวาไดคนพบบานประตูที่ซอนอยูหลัง กำแพง การอานหนังสือเพียงลำพังอาจทำใหเราติด ‘กำแพง’ ที่ไมอาจกาวขาม แตเมื่อมีเหลากัลยาณมิตร นักคิด นักอาน มารวมพูดรวมฟง ผมจึงพบวากำแพงที่เคยลอมรอบกลับมีบานประตูแหงความเปนไปไดซอนอยูนับอนันต...ขอขอบคุณทุกชีวิตที่มีสวน ชวยใหเวทีครั้งนี้ผานไปอยางงดงามและสรางสรรคยิ่ง ทีมงาน New Spirit


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.