คำนิยมสำหรับ กล้าทีจ่ ะสอน
“นี่เป็นหนังสือเกี่ยวกับการศึกษาที่ดีที่สุดที่ผมเคยอ่านมาในช่วงเวลาหลายปี ปาล์มเมอร์ได้ให้เหตุผลทีม่ พี ลังมากถึงความจำเป็นทีเ่ ราต้องเปลีย่ นจากทีเ่ คย มัน่ ใจมากเกินไปในเทคนิคการสอน ไปสูส่ ภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ ซึง่ ทัง้ ให้ เกียรติ และพัฒนาความสามารถทีล่ กึ ทีส่ ดุ ของมนุษย์ในตัวเด็กๆ และครูได้อย่าง แท้จริง ถึงเวลาแล้วทีเ่ ราจะคิดได้วา่ คนทีอ่ ยู่ในตัวครูนนั้ แหละสำคัญทีส่ ดุ ต่อการ ศึกษา และปาล์มเมอร์กท็ ำให้เราเห็นได้อย่างชัดเจน คมคาย” - นิตยสาร Teacher “หากการสอนเป็นเพียงงานประจำที่น่าเบื่อ และคุณก็พอใจอยู่เพียงแค่การ
‘ได้สอน’ หนังสือเล่มนีไ้ ม่เหมาะกับคุณ คุณจะถูกท้าทายให้ไปไกลกว่าระดับต่ำ สุดและทำในสิง่ ทีส่ ดุ ยอด แทนทีจ่ ะมองการสอนเป็นอะไรบางอย่างทีเ่ ราต้องทน ปาร์กเกอร์ ปาล์มเมอร์ยนื ยันว่ามันเป็นสิง่ ทีเ่ ราสามารถมีความสุขด้วยได้” - Academy of Management “ปาร์กเกอร์ ปาล์มเมอร์ เป็นครูของครู และเมื่อเขาเขียนด้วยความเป็นครูจึง ทำให้หนังสือเล่มนีเ้ ป็นแรงบันดาลใจทีส่ ำคัญยิง่ เกือบจะเป็นคัมภีรส์ ำหรับใคร ก็ตามที่สอน หรือกำลังคิดจะยึดการสอนเป็นอาชีพ หนังสือเล่มนี้สามารถ เปลีย่ นชีวติ คุณได้หากคุณคือครู - Religious Education “ผมแนะนำหนังสือเล่มนี.้ ..แค่เอาคำว่า ‘ทีป่ รึกษาด้านการบริหารจัดการ’ แทนที่ คำว่า ‘ครู’ ในทุกทีท่ หี่ นังสือเล่มนีเ้ อ่ยถึง แค่นที้ กุ อย่างก็ใช้การได้และมีประโยชน์ ... [นี่ ] คือหนังสือแห่งปรัชญา หนังสือว่าด้วยบุคลิกลักษณะ หนังสือว่าด้วย ประเภทของคนทีจ่ ะเป็นทีป่ รึกษาด้านการบริหารจัดการทีย่ อดเยีย่ ม ไม่มกี ารพูด
ซ้ำซาก แต่เป็นการสำรวจอย่างจริงจังลึกลงไปในหัวใจและจิตวิญญาณของการ สอนโดยผูเ้ ป็นนายของภาษาทีม่ คี วามลึกซึง้ จริงจัง กระนัน้ ก็เข้าใจง่ายและอ่าน เพลิน” - Journal of Management Consulting “ด้วยความเรียงสั้นกระชับสละสลวย ปาล์มเมอร์กระตุ้นให้คิดใคร่ครวญและ พยายามสนับสนุนการริเริม่ และความมัน่ ใจของผูอ้ า่ น กล้าทีจ่ ะสอน ปลุกให้ตนื่ เป็นสัมผัสทีอ่ อ่ นโยนและชีแ้ นะ ทีเ่ อือ้ มถึงครูในทุกระดับชัน้ และทุกวัย” - Childhood Education “หนังสือเล่มนี้ให้แนวคิดใหม่ๆ และความเข้าใจทีล่ กึ ซึง้ มากมายเกีย่ วกับการสอน ทีด่ ี ซึง่ ไม่ใช่แค่เรือ่ งเทคนิค เพราะมันออกมาจากอัตลักษณ์และความซือ่ สัตย์ ของครู หนังสือเล่มนี้สร้างความสมดุลให้กับความห่วงกังวลบนสายใยของ ความสัมพันธ์ มีการสำรวจมิติทางจิตวิญญาณด้วยวิธีการที่มีลักษณะเฉพาะ โดยการเชือ่ มกับการเรียนรูส้ าขาอืน่ ๆ” - International Journal on World Peace “ด้วย กล้าทีจ่ ะสอน ปาร์กเกอร์ ปาล์มเมอร์ทา้ ทายพวกเราทุกคนให้หวนนึกถึง แรงจูงใจแรกทีท่ ำให้เรามาเป็นครู และหาหนทางทีจ่ ะแนะนำพวกเราในกระบวนการทวงถามสำนึกในวิชาชีพที่จะสามารถทำให้เรายืนหยัดอยู่ในความมานะ
บากบัน่ ต่อไปได้” - Transformation “ทุกวันนีก้ ารสอนหนังสือในโรงเรียนต้องใช้ความกล้าหาญ แต่เป็นความกล้าหาญ แบบไหนกัน คำถามนีผ้ ดุ ขึน้ มานานๆ ครัง้ และเมือ่ เกิดคำถามก็มกั จะถูกตีกรอบ ในแง่การป้องกันความรุนแรง การรับมือกับผู้ปกครองที่กระตือรือร้นจนออก นอกหน้า และการปกป้องวิชาชีพจากการกลัน่ แกล้งของรัฐ ดังนัน้ การได้อา่ นว่า ความกล้าหาญทางการศึกษาเป็นเรือ่ งของหัวใจ จึงเป็นการเปลีย่ นแปลงทีน่ า่
ยินดี ดังทีป่ าร์กเกอร์ ปาล์มเมอร์กล่าวไว้ใน กล้าทีจ่ ะสอน ว่าการสอนเป็นเรือ่ ง ของความมุ่งมั่นและความสัมพันธ์ มันเป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่าง นักเรียนกับเนื้อหาวิชาที่เรียนและโลกที่เชื่อมทั้ง ๒ อย่างนั้นเข้าด้วยกัน เป็น เรือ่ งเกีย่ วกับการเรียนรูแ้ ละการมีชวี ติ อยู่ และเหนือสิง่ อืน่ ใดมันเกีย่ วกับรูปแบบ ของชุมชนทีจ่ ำเป็นในห้องเรียนเพือ่ ให้เกิดการศึกษาทีแ่ ท้จริงขึน้ ได้ และกุญแจ ของการศึกษาแบบนีก้ ค็ อื หัวใจของมนุษย์ - Catholic New Times จากผูน้ ำ ครู นักคิด และนักเขียน... “การร่วมเดินทางกับปาร์กเกอร์ ปาล์มเมอร์ ไปยังดินแดนทีย่ งั ไม่เคยมีการสำรวจ ของ ‘ตัวตน’ ในการสอน ไม่เพียงแต่เป็นการมองการสอนจากมุมมองใหม่ทเี่ ต็ม ไปด้วยความตืน่ เต้นเร้าใจ มันยังเป็นการอยูต่ อ่ หน้าครูผยู้ งิ่ ใหญ่ ทีพ่ าพวกเรา เข้าร่วมในการสอนทีเ่ ขาบรรยายได้อย่างจับใจ ด้วยการแบ่งปันเรือ่ งราวตัวเอง อย่างเปิดเผยและจริงใจ” - รัสเซล เอ็ดเกอร์ตนั , ผูอ้ ำนวยการฝ่ายการศึกษา Pew Charitable Trust, และอดีตประธานสมาคมอุดมศึกษาแห่งอเมริกา “กล่าวได้ชัดเจน เร้าอารมณ์ลึกล้ำ ซาบซึ้งเป็นที่สุด และสร้างแรงบันดาลใจ
ถึงเสียงเรียกร้อง ความเจ็บปวด และรื่นรมย์ของการสอน เป็นหนังสือที่ครู
ทุกคนในทุกระดับชัน้ ต้องอ่าน” - จอห์น คาบัท-ซินน์ ผูแ้ ต่ง Wherever You go, There You are และผูแ้ ต่งร่วม Everyday Blessing “หนังสือเล่มนีเ้ ป็นข่าวดี ไม่เพียงสำหรับครูในห้องเรียนและนักการศึกษาเท่านัน้ แต่สำหรับเราทุกคนทีม่ งุ่ หมายจะเยียวยาโลกของเรา” - โจอันนา มาซีย์ ผูแ้ ต่ง World as Lover, World as Self
ซ้ำซาก แต่เป็นการสำรวจอย่างจริงจังลึกลงไปในหัวใจและจิตวิญญาณของการ สอนโดยผูเ้ ป็นนายของภาษาทีม่ คี วามลึกซึง้ จริงจัง กระนัน้ ก็เข้าใจง่ายและอ่าน เพลิน” - Journal of Management Consulting “ด้วยความเรียงสั้นกระชับสละสลวย ปาล์มเมอร์กระตุ้นให้คิดใคร่ครวญและ พยายามสนับสนุนการริเริม่ และความมัน่ ใจของผูอ้ า่ น กล้าทีจ่ ะสอน ปลุกให้ตนื่ เป็นสัมผัสทีอ่ อ่ นโยนและชีแ้ นะ ทีเ่ อือ้ มถึงครูในทุกระดับชัน้ และทุกวัย” - Childhood Education “หนังสือเล่มนี้ให้แนวคิดใหม่ๆ และความเข้าใจทีล่ กึ ซึง้ มากมายเกีย่ วกับการสอน ทีด่ ี ซึง่ ไม่ใช่แค่เรือ่ งเทคนิค เพราะมันออกมาจากอัตลักษณ์และความซือ่ สัตย์ ของครู หนังสือเล่มนี้สร้างความสมดุลให้กับความห่วงกังวลบนสายใยของ ความสัมพันธ์ มีการสำรวจมิติทางจิตวิญญาณด้วยวิธีการที่มีลักษณะเฉพาะ โดยการเชือ่ มกับการเรียนรูส้ าขาอืน่ ๆ” - International Journal on World Peace “ด้วย กล้าทีจ่ ะสอน ปาร์กเกอร์ ปาล์มเมอร์ทา้ ทายพวกเราทุกคนให้หวนนึกถึง แรงจูงใจแรกทีท่ ำให้เรามาเป็นครู และหาหนทางทีจ่ ะแนะนำพวกเราในกระบวนการทวงถามสำนึกในวิชาชีพที่จะสามารถทำให้เรายืนหยัดอยู่ในความมานะ
บากบัน่ ต่อไปได้” - Transformation “ทุกวันนีก้ ารสอนหนังสือในโรงเรียนต้องใช้ความกล้าหาญ แต่เป็นความกล้าหาญ แบบไหนกัน คำถามนีผ้ ดุ ขึน้ มานานๆ ครัง้ และเมือ่ เกิดคำถามก็มกั จะถูกตีกรอบ ในแง่การป้องกันความรุนแรง การรับมือกับผู้ปกครองที่กระตือรือร้นจนออก นอกหน้า และการปกป้องวิชาชีพจากการกลัน่ แกล้งของรัฐ ดังนัน้ การได้อา่ นว่า ความกล้าหาญทางการศึกษาเป็นเรือ่ งของหัวใจ จึงเป็นการเปลีย่ นแปลงทีน่ า่
ยินดี ดังทีป่ าร์กเกอร์ ปาล์มเมอร์กล่าวไว้ใน กล้าทีจ่ ะสอน ว่าการสอนเป็นเรือ่ ง ของความมุ่งมั่นและความสัมพันธ์ มันเป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่าง นักเรียนกับเนื้อหาวิชาที่เรียนและโลกที่เชื่อมทั้ง ๒ อย่างนั้นเข้าด้วยกัน เป็น เรือ่ งเกีย่ วกับการเรียนรูแ้ ละการมีชวี ติ อยู่ และเหนือสิง่ อืน่ ใดมันเกีย่ วกับรูปแบบ ของชุมชนทีจ่ ำเป็นในห้องเรียนเพือ่ ให้เกิดการศึกษาทีแ่ ท้จริงขึน้ ได้ และกุญแจ ของการศึกษาแบบนีก้ ค็ อื หัวใจของมนุษย์ - Catholic New Times จากผูน้ ำ ครู นักคิด และนักเขียน... “การร่วมเดินทางกับปาร์กเกอร์ ปาล์มเมอร์ ไปยังดินแดนทีย่ งั ไม่เคยมีการสำรวจ ของ ‘ตัวตน’ ในการสอน ไม่เพียงแต่เป็นการมองการสอนจากมุมมองใหม่ทเี่ ต็ม ไปด้วยความตืน่ เต้นเร้าใจ มันยังเป็นการอยูต่ อ่ หน้าครูผยู้ งิ่ ใหญ่ ทีพ่ าพวกเรา เข้าร่วมในการสอนทีเ่ ขาบรรยายได้อย่างจับใจ ด้วยการแบ่งปันเรือ่ งราวตัวเอง อย่างเปิดเผยและจริงใจ” - รัสเซล เอ็ดเกอร์ตนั , ผูอ้ ำนวยการฝ่ายการศึกษา Pew Charitable Trust, และอดีตประธานสมาคมอุดมศึกษาแห่งอเมริกา “กล่าวได้ชัดเจน เร้าอารมณ์ลึกล้ำ ซาบซึ้งเป็นที่สุด และสร้างแรงบันดาลใจ
ถึงเสียงเรียกร้อง ความเจ็บปวด และรื่นรมย์ของการสอน เป็นหนังสือที่ครู
ทุกคนในทุกระดับชัน้ ต้องอ่าน” - จอห์น คาบัท-ซินน์ ผูแ้ ต่ง Wherever You go, There You are และผูแ้ ต่งร่วม Everyday Blessing “หนังสือเล่มนีเ้ ป็นข่าวดี ไม่เพียงสำหรับครูในห้องเรียนและนักการศึกษาเท่านัน้ แต่สำหรับเราทุกคนทีม่ งุ่ หมายจะเยียวยาโลกของเรา” - โจอันนา มาซีย์ ผูแ้ ต่ง World as Lover, World as Self
“ปาร์กเกอร์ ปาล์มเมอร์สอนผมเกี่ยวกับการเรียนรู้และการสอนมากกว่าใคร
กล้าทีจ่ ะสอน เป็นหนังสือสำหรับเราทุกคน ทัง้ ผูน้ ำ ข้าราชการ ทีป่ รึกษา รวมทัง้ ครู มันร้องขอเราอย่างเห็นอกเห็นใจและรบเร้าให้เรายอมรับว่าศักยภาพของเรา ในการทำงานให้ได้ดี เกิดจากการยอมรับว่าเราเป็นใคร” - มาร์กาเร็ต เจ. วีธลีย์ ผูแ้ ต่ง Leadership and the New Science และผูแ้ ต่งร่วม A Simpler Way “นี่เป็นหนังสือที่ให้ความปีติอิ่มเอมอย่างลึกซึ้ง เขียนขึ้นด้วยส่วนผสมที่หาได้ ยากยิง่ ระหว่างความงดงามและความเข้มงวด ความหลงใหลและเทีย่ งตรง เป็น ของขวัญสำหรับทุกคนทีร่ กั การสอนและการเรียนรู”้ - ไดอานา แชพแมน วอล์ช ประธานวิทยาลัยเวลล์เลสลีย์ “ดึงเอาหัวใจสำคัญของสิง่ ทีค่ รูทำอยูจ่ ริงๆ ออกมาและทำได้อย่างมีสสี นั มีพลัง และเต็มไปด้วยอารมณ์ความรูส้ กึ ” - โรเบิรต์ โคลส์, งานบริการสุขภาพ, มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
“ปาร์กเกอร์ ปาล์มเมอร์สอนผมเกี่ยวกับการเรียนรู้และการสอนมากกว่าใคร
กล้าทีจ่ ะสอน เป็นหนังสือสำหรับเราทุกคน ทัง้ ผูน้ ำ ข้าราชการ ทีป่ รึกษา รวมทัง้ ครู มันร้องขอเราอย่างเห็นอกเห็นใจและรบเร้าให้เรายอมรับว่าศักยภาพของเรา ในการทำงานให้ได้ดี เกิดจากการยอมรับว่าเราเป็นใคร” - มาร์กาเร็ต เจ. วีธลีย์ ผูแ้ ต่ง Leadership and the New Science และผูแ้ ต่งร่วม A Simpler Way “นี่เป็นหนังสือที่ให้ความปีติอิ่มเอมอย่างลึกซึ้ง เขียนขึ้นด้วยส่วนผสมที่หาได้ ยากยิง่ ระหว่างความงดงามและความเข้มงวด ความหลงใหลและเทีย่ งตรง เป็น ของขวัญสำหรับทุกคนทีร่ กั การสอนและการเรียนรู”้ - ไดอานา แชพแมน วอล์ช ประธานวิทยาลัยเวลล์เลสลีย์ “ดึงเอาหัวใจสำคัญของสิง่ ทีค่ รูทำอยูจ่ ริงๆ ออกมาและทำได้อย่างมีสสี นั มีพลัง และเต็มไปด้วยอารมณ์ความรูส้ กึ ” - โรเบิรต์ โคลส์, งานบริการสุขภาพ, มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
หมวดการศึ กษาทางเลือก
กล้าทีจ่ ะสอน การสำรวจโลกภายในของชีวติ ครู
The Courage to Teach: Exploring the Inner Landscape of a Teacher’s Life, 10th Anniversary Edition Copyright © 2007 by Parker J. Palmer Thai language translation copyright © 2013 by Suan Ngeun Mee Ma Co., Ltd. Published by arrangement with John Wiley & Sons International Rights, Inc., of 111 River Street, Hoboken, NJ07030, USA. (“Wiley”) through Tuttle-Mori Agency Co., Ltd. All rights reserved.
ลิขสิทธิฉ์ บับภาษาไทย © สำนักพิมพ์สวนเงินมีมา, ๒๕๕๖ ปาร์กเกอร์ เจ. ปาล์มเมอร์ เขียน เพ็ญนภา หงส์ทอง และ ณัฐฬส วังวิญญู แปล กรรณิ บรรณาธิการต้นฉบับ การ์ พรมเสาร์ ISBN พิมพ์ครัง้ ที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ ปาล์มเมอร์, ปาร์กเกอร์ เจ. . .-- กรุงเทพฯ : สวนเงินมีมา, 2556. 3ก64ล้าทีหน้จ่ ะสอน า. 1. การศึกษา. I. เพ็ญนภา หงษ์ทอง, II. ณัฐฬส วังวิญญู, ผูเ้ แปล. III. ชือ่ เรือ่ ง. 370 ISBN 978-616-7368-40-5 ออกแบบปก ภาพปก จัดรูปเล่ม พิ สจู น์อกั ษร ทีป่ รึกษาฝ่ายต่างประเทศ บรรณาธิการบริหาร กองบรรณาธิการ ฝ่ายสือ่ สารประชาสัมพันธ์ ฝ่ายขาย สำนักงาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล เว็บไซต์ เฟซบุก๊ โรงพิมพ์ จัดจำหน่าย ราคา
nomoke อรทัย กุศลรุง่ รัตน์ สุชาดา เสโส เอ็นดู ศรีใส ฮันส์ แวน วิลเลียนส์วาร์ด วัลลภา แวน วิลเลียนส์วาร์ด วรนุช ชูเรืองสุข พิชญ์นนั ท์ พุม่ สวัสดิ์ ชาญธิภา คงถาวร, สมภพ บุญชุม บริษทั สวนเงินมีมา จำกัด ๗๗, ๗๙ ถนนเฟือ่ งนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ ๐ ๒๖๒๒ ๒๔๙๕-๖, ๐ ๒๖๒๒ ๐๙๕๕, ๐ ๒๖๒๒ ๐๙๖๖ ๐ ๒๖๒๒ ๓๒๒๘ publishers@suan-spirit.com www.suan-spirit.com www.facebook.com/suan2001 หจก. ภาพพิมพ์ โทรศัพท์ ๐ ๒๔๓๓ ๐๐๒๖-๗ สายส่งศึกษิต บริษทั เคล็ดไทย จำกัด โทรศัพท์ ๐ ๒๒๒๕ ๙๕๓๖-๔๐ ๓๘๐ บาท
การสำรวจโลกภายในของชีวิตครู
ปาร์กเกอร์ เจ. ปาล์มเมอร์ เขียน เพ็ญนภา หงษ์ทอง และ ณัฐฬส วังวิญญู แปล กรรณิการ์ พรมเสาร์ บรรณาธิการ
โครงการหนังสือวิชาการจิตตปัญญาศึกษา ลำดับที่ ๒๐
หมวดการศึ กษาทางเลือก
กล้าทีจ่ ะสอน การสำรวจโลกภายในของชีวติ ครู
The Courage to Teach: Exploring the Inner Landscape of a Teacher’s Life, 10th Anniversary Edition Copyright © 2007 by Parker J. Palmer Thai language translation copyright © 2013 by Suan Ngeun Mee Ma Co., Ltd. Published by arrangement with John Wiley & Sons International Rights, Inc., of 111 River Street, Hoboken, NJ07030, USA. (“Wiley”) through Tuttle-Mori Agency Co., Ltd. All rights reserved.
ลิขสิทธิฉ์ บับภาษาไทย © สำนักพิมพ์สวนเงินมีมา, ๒๕๕๖ ปาร์กเกอร์ เจ. ปาล์มเมอร์ เขียน เพ็ญนภา หงส์ทอง และ ณัฐฬส วังวิญญู แปล กรรณิ บรรณาธิการต้นฉบับ การ์ พรมเสาร์ ISBN พิมพ์ครัง้ ที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ ปาล์มเมอร์, ปาร์กเกอร์ เจ. . .-- กรุงเทพฯ : สวนเงินมีมา, 2556. 3ก64ล้าทีหน้จ่ ะสอน า. 1. การศึกษา. I. เพ็ญนภา หงษ์ทอง, II. ณัฐฬส วังวิญญู, ผูเ้ แปล. III. ชือ่ เรือ่ ง. 370 ISBN 978-616-7368-40-5 ออกแบบปก ภาพปก จัดรูปเล่ม พิ สจู น์อกั ษร ทีป่ รึกษาฝ่ายต่างประเทศ บรรณาธิการบริหาร กองบรรณาธิการ ฝ่ายสือ่ สารประชาสัมพันธ์ ฝ่ายขาย สำนักงาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล เว็บไซต์ เฟซบุก๊ โรงพิมพ์ จัดจำหน่าย ราคา
nomoke อรทัย กุศลรุง่ รัตน์ สุชาดา เสโส เอ็นดู ศรีใส ฮันส์ แวน วิลเลียนส์วาร์ด วัลลภา แวน วิลเลียนส์วาร์ด วรนุช ชูเรืองสุข พิชญ์นนั ท์ พุม่ สวัสดิ์ ชาญธิภา คงถาวร, สมภพ บุญชุม บริษทั สวนเงินมีมา จำกัด ๗๗, ๗๙ ถนนเฟือ่ งนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ ๐ ๒๖๒๒ ๒๔๙๕-๖, ๐ ๒๖๒๒ ๐๙๕๕, ๐ ๒๖๒๒ ๐๙๖๖ ๐ ๒๖๒๒ ๓๒๒๘ publishers@suan-spirit.com www.suan-spirit.com www.facebook.com/suan2001 หจก. ภาพพิมพ์ โทรศัพท์ ๐ ๒๔๓๓ ๐๐๒๖-๗ สายส่งศึกษิต บริษทั เคล็ดไทย จำกัด โทรศัพท์ ๐ ๒๒๒๕ ๙๕๓๖-๔๐ ๓๘๐ บาท
การสำรวจโลกภายในของชีวิตครู
ปาร์กเกอร์ เจ. ปาล์มเมอร์ เขียน เพ็ญนภา หงษ์ทอง และ ณัฐฬส วังวิญญู แปล กรรณิการ์ พรมเสาร์ บรรณาธิการ
โครงการหนังสือวิชาการจิตตปัญญาศึกษา ลำดับที่ ๒๐
คณะกรรมการบริษทั สวนเงินมีมา ๑. นายสุลกั ษณ์ ศิวรักษ์ ประธานกิตติมศักดิ์ ๒. นายปรีดา เตียสุวรรณ์ ประธานกรรมการ ๓. นายประวิทย์ เยีย่ มแสนสุข ประธานกรรมการ ๔. นายสัจจา รัตนโฉมศรี กรรมการ ๕. นายอนันต์ วิรยิ ะพินจิ กรรมการ ๖. นายฮันส์ แวนวิลเลีย่ นส์วาร์ด กรรมการ ๗. นางวัลลภา แวนวิลเลีย่ นส์วาร์ด กรรมการผูจ้ ดั การ รายนามผูถ้ อื หุน้ ๑. นายธีรพล นิยม ๒. นายวินยั ชาติอนันต์ ๓. นายวิศษิ ฐ์ วังวิญญู ๔. นายสมเกียรติ์ อภิญญาชน ๕. นายสุทธิชยั เอีย่ มเจริญยิง่ ๖. นายเสถียร เศรษฐสิทธิ์ ๗. นายสมบูรณ์ จึงเปรมปรีดิ์ ๘. นางอภิสริ ี จรัลชวนะเพท ๙. นายมาซากิ ซาโต้ ๑๐. นายบารมี ชัยรัตน์ ๑๑. นายปรีดา เรืองวิชาธร ๑๒. นายศิโรช อังสุวฒ ั นะ ๑๓. นายเลิศ ตันติสกุ ฤต ๑๔. นางสาววรรณา ประยุกต์วงศ์ ๑๕. นางสาวปารีณา ประยุกต์วงศ์ ๑๖. บริษทั แพรนด้า โฮลดิง้ จำกัด ๑๗. นายกษิดศิ อือ้ เชีย่ วชาญกิจ ๑๘. นายวัลลภ พิชญ์พงศ์ศา ๑๙. นางดารณี เรียนศรีวไิ ล ๒๐. นางสุวรรณา หลัง่ น้ำสังข์ ๒๑. นายวีระเดช สมบูรณ์เวชชการ สำนักพิมพ์สวนเงินมีมา เป็นส่วนหนึง่ ของบริษทั สวนเงินมีมา จำกัด อันเป็นองค์กรธุรกิจอย่างใหม่ ประกอบด้วยองค์กรพัฒนาสังคม และนักธุรกิจทีต่ ระหนักถึงปัญหาสังคม ชุมชน สิง่ แวดล้อม และ ศักยภาพด้านในของมนุษย์ ตัง้ ขึน้ เพือ่ ดำเนินงานทัง้ ด้านธุรกิจและสังคมไปพร้อมกันด้วยค่านิยม อย่างใหม่ ที่มิได้หวังกำไรเป็นที่ตั้ง และผลกำไรที่มีขึ้นจะนำกลับไปส่งเสริมสนับสนุนองค์กร พัฒนาสังคมและชุมชนเป็นหลัก
จ า ก ส ำ นั ก พิ ม พ์
หนังสือเล่มนีแ้ ม้จะจัดอยู่ในหมวดการศึกษา แต่กเ็ ป็นไปในลักษณะของการ ศึกษาเพือ่ การเปลีย่ นแปลง เพือ่ ให้ผสู้ อน ผูเ้ รียน ครู นักเรียน นักศึกษา ได้ เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน อันจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงตัวเองอย่างแท้จริง โดยเฉพาะการเปลีย่ นแปลงเชิงคุณค่าและคุณภาพด้านใน ซึง่ จะนำไปสูก่ าร เปลี่ยนแปลงที่ดีต่อสังคมและโลกใบนี้ ด้วยหน้าที่สำคัญของการจัดการ ศึกษาคือการสร้างคนให้เป็นคนอย่างสมบูรณ์ นอกเหนือจากทักษะความรู้ เพื่อการเลี้ยงชีพ หนังสือนี้จึงเหมาะกับนักการศึกษา ครู อาจารย์ในทุก ระดับ ตัง้ แต่ประถม มัธยม จนถึงระดับอุดมศึกษา รวมถึงผูท้ ที่ ำงานด้าน การฝึกอบรมที่ให้ความสนใจเรือ่ งกระบวนการและการสร้างภาวะผูน้ ำ ทัง้ ยัง สอดคล้องและเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจเรื่องการบริหารองค์กรทั้งแบบ ธุรกิจและองค์กรในรูปแบบต่างๆ ในช่วงปี ๒๕๔๐ สังคมไทยตืน่ ตัวเรือ่ งการปฏิรปู การศึกษา เพราะเห็น ปัญหาของการศึกษาในด้านการเรียนการสอนที่เป็นอยู่ แต่กว่าทศวรรษ แล้วทีก่ ารเปลีย่ นแปลงในแวดวงการศึกษาเพือ่ นำมาซึง่ การเรียนรูอ้ ย่างมี ความสุข มีผเู้ รียนหรือเด็กเป็นศูนย์กลาง ก็ยงั ไม่มผี ทู้ เี่ ข้าใจหรือกล้าทีจ่ ะ
I
จากสำนักพิมพ์ 9
คณะกรรมการบริษทั สวนเงินมีมา ๑. นายสุลกั ษณ์ ศิวรักษ์ ประธานกิตติมศักดิ์ ๒. นายปรีดา เตียสุวรรณ์ ประธานกรรมการ ๓. นายประวิทย์ เยีย่ มแสนสุข ประธานกรรมการ ๔. นายสัจจา รัตนโฉมศรี กรรมการ ๕. นายอนันต์ วิรยิ ะพินจิ กรรมการ ๖. นายฮันส์ แวนวิลเลีย่ นส์วาร์ด กรรมการ ๗. นางวัลลภา แวนวิลเลีย่ นส์วาร์ด กรรมการผูจ้ ดั การ รายนามผูถ้ อื หุน้ ๑. นายธีรพล นิยม ๒. นายวินยั ชาติอนันต์ ๓. นายวิศษิ ฐ์ วังวิญญู ๔. นายสมเกียรติ์ อภิญญาชน ๕. นายสุทธิชยั เอีย่ มเจริญยิง่ ๖. นายเสถียร เศรษฐสิทธิ์ ๗. นายสมบูรณ์ จึงเปรมปรีดิ์ ๘. นางอภิสริ ี จรัลชวนะเพท ๙. นายมาซากิ ซาโต้ ๑๐. นายบารมี ชัยรัตน์ ๑๑. นายปรีดา เรืองวิชาธร ๑๒. นายศิโรช อังสุวฒ ั นะ ๑๓. นายเลิศ ตันติสกุ ฤต ๑๔. นางสาววรรณา ประยุกต์วงศ์ ๑๕. นางสาวปารีณา ประยุกต์วงศ์ ๑๖. บริษทั แพรนด้า โฮลดิง้ จำกัด ๑๗. นายกษิดศิ อือ้ เชีย่ วชาญกิจ ๑๘. นายวัลลภ พิชญ์พงศ์ศา ๑๙. นางดารณี เรียนศรีวไิ ล ๒๐. นางสุวรรณา หลัง่ น้ำสังข์ ๒๑. นายวีระเดช สมบูรณ์เวชชการ สำนักพิมพ์สวนเงินมีมา เป็นส่วนหนึง่ ของบริษทั สวนเงินมีมา จำกัด อันเป็นองค์กรธุรกิจอย่างใหม่ ประกอบด้วยองค์กรพัฒนาสังคม และนักธุรกิจทีต่ ระหนักถึงปัญหาสังคม ชุมชน สิง่ แวดล้อม และ ศักยภาพด้านในของมนุษย์ ตัง้ ขึน้ เพือ่ ดำเนินงานทัง้ ด้านธุรกิจและสังคมไปพร้อมกันด้วยค่านิยม อย่างใหม่ ที่มิได้หวังกำไรเป็นที่ตั้ง และผลกำไรที่มีขึ้นจะนำกลับไปส่งเสริมสนับสนุนองค์กร พัฒนาสังคมและชุมชนเป็นหลัก
จ า ก ส ำ นั ก พิ ม พ์
หนังสือเล่มนีแ้ ม้จะจัดอยู่ในหมวดการศึกษา แต่กเ็ ป็นไปในลักษณะของการ ศึกษาเพือ่ การเปลีย่ นแปลง เพือ่ ให้ผสู้ อน ผูเ้ รียน ครู นักเรียน นักศึกษา ได้ เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน อันจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงตัวเองอย่างแท้จริง โดยเฉพาะการเปลีย่ นแปลงเชิงคุณค่าและคุณภาพด้านใน ซึง่ จะนำไปสูก่ าร เปลี่ยนแปลงที่ดีต่อสังคมและโลกใบนี้ ด้วยหน้าที่สำคัญของการจัดการ ศึกษาคือการสร้างคนให้เป็นคนอย่างสมบูรณ์ นอกเหนือจากทักษะความรู้ เพื่อการเลี้ยงชีพ หนังสือนี้จึงเหมาะกับนักการศึกษา ครู อาจารย์ในทุก ระดับ ตัง้ แต่ประถม มัธยม จนถึงระดับอุดมศึกษา รวมถึงผูท้ ที่ ำงานด้าน การฝึกอบรมที่ให้ความสนใจเรือ่ งกระบวนการและการสร้างภาวะผูน้ ำ ทัง้ ยัง สอดคล้องและเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจเรื่องการบริหารองค์กรทั้งแบบ ธุรกิจและองค์กรในรูปแบบต่างๆ ในช่วงปี ๒๕๔๐ สังคมไทยตืน่ ตัวเรือ่ งการปฏิรปู การศึกษา เพราะเห็น ปัญหาของการศึกษาในด้านการเรียนการสอนที่เป็นอยู่ แต่กว่าทศวรรษ แล้วทีก่ ารเปลีย่ นแปลงในแวดวงการศึกษาเพือ่ นำมาซึง่ การเรียนรูอ้ ย่างมี ความสุข มีผเู้ รียนหรือเด็กเป็นศูนย์กลาง ก็ยงั ไม่มผี ทู้ เี่ ข้าใจหรือกล้าทีจ่ ะ
I
จากสำนักพิมพ์ 9
เปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งนี้ได้อย่างแท้จริง ในที่สุดการเรียนการสอนก็ยังคง เหมือนเดิม ยิง่ สังคมไทยกำลังผนวกรวมเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ยิง่ ทำให้
ผู้บริหารการศึกษาเร่งเน้นการสร้างประสิทธิภาพ ความเป็นเลิศและการ
แข่งขัน ภาระหนักยิง่ ตกอยูท่ คี่ รู และความเครียดยิง่ เพิม่ มากขึน้ ในตัวเด็ก นักเรียน ประเด็นเรือ่ งองค์รวมแห่งการศึกษาทีเ่ ชือ่ มประสานระหว่างหัว สมอง หัวใจ และมือ (head, heart and hand education) ที่สะท้อนสติ ปัญญา วุฒภิ าวะหรือความฉลาดทางอารมณ์ และการมีประสบการณ์ตรง ด้วยการลงไม้ลงมือปฏิบตั ิ ยังไม่ได้รบั การพัฒนาไปอย่างสมดุล คำถาม
ทีว่ า่ สถานศึกษาคือทีซ่ งึ่ สติปญั ญา อารมณ์ และจิตวิญญาณมาบรรจบกันใน ตัวตนของมนุษย์จะเกิดขึน้ ได้อย่างไรก็ยงั ไม่ได้รบั การขานรับ สิง่ ทีก่ ล่าวมา นีก้ ลับได้สร้างแรงบันดาลใจและการขับเคลือ่ นในแวดวงการศึกษาทางเลือก จนเป็นทีม่ าของโรงเรียนทางเลือกซึง่ มีอยูเ่ พียงไม่มากแห่ง เมือ่ เทียบกับ โรงเรียนทีย่ งั จัดการเรียนการสอนในรูปแบบเดิมๆ ทีม่ อี ยูท่ วั่ ไป ครูเองก็ยงั เครียดและมีภาระหนัก เด็กนักเรียนก็ไม่มคี วามสุขกับการเรียน ทำอย่างไร จึงจะเปลีย่ นแปลงสภาพการเรียนการสอนทีว่ า่ นีไ้ ด้ ผูเ้ ขียน ปาร์กเกอร์ ปาล์มเมอร์ เป็นผูม้ ปี ระสบการณ์ดา้ นการสอนและ การจัดการศึกษารวมกว่า ๓๐ ปี เขาวิเคราะห์ปญั หาของการศึกษาทีเ่ ป็นอยู่ และชี้ให้เห็นถึงความไม่กล้าเปลีย่ นแปลงหรือทดลองสิง่ ใหม่ๆ เพือ่ ปรับปรุง ให้การจัดการศึกษาดีขนึ้ มีความเป็นองค์รวมมากขึน้ เชือ่ มโยงโลกทัง้ ใน ห้องเรียน โลกภายนอกห้องเรียน และที่สำคัญคือเชื่อมโยงโลกภายในตัว นักเรียนเอง ทำให้ผเู้ รียนเกิดแรงบันดาลใจและเห็นถึงศักยภาพของตนเอง เขายังวิเคราะห์เจาะลึกลงไปถึงก้นบึง้ ของหัวใจของการศึกษา รวมทัง้ ครูใน ฐานะผูท้ นี่ า่ จะมีบทบาทต่อการเปลีย่ นแปลงทีว่ า่ นี้ ว่ามีสาเหตุมาจากความ กลัว ความกลัวคืออะไร ความกลัวอยู่ในทุกหนทุกแห่งทัง้ ในการเมือง การ 10
I
กล้าทีจ่ ะสอน
ศึกษา การบริหารและการจัดการองค์กร ล้วนถูกสร้างอยูบ่ นวัฒนธรรมแห่ง ความกลัว ผูท้ เี่ ป็นครูหรือผูบ้ ริหาร จะต้องกล้าทีจ่ ะสอน คือกล้าทีจ่ ะเชือ้ เชิญ ให้นกั เรียนค้นหาสำรวจด้วยการใช้ชวี ติ ทีเ่ ป็นของพวกเขา กล้าทีจ่ ะนำเพือ่ ให้องค์กรมีการบริหารอย่างมีสว่ นร่วม อันจะนำไปสูก่ ารสร้างภาวะผูน้ ำขึน้ ในองค์กร หากปราศจากซึง่ ความกล้า การเปลีย่ นแปลงก็จะเกิดขึน้ ได้ยาก หากการเปลีย่ นแปลงใดๆ จะเกิดขึน้ ได้ในแวดวงการศึกษา นอกจาก การจัดการกับวัฒนธรรมความกลัวหรือความไม่กล้าแล้ว ปาล์มเมอร์ยงั ชี้
ให้เห็นถึงสถานการณ์ทตี่ อ้ งจัดสมดุลระหว่างขัว้ ตรงข้าม หรือทีเ่ ขาเรียกว่า ความย้อนแย้ง (paradox) เพราะการเปลีย่ นแปลงใดๆ จะถูกท้าทายให้เกิด การจัดความสัมพันธ์ของความย้อนแย้งทีว่ า่ นี้ อาทิ ขอบเขตและการเปิด กว้าง เสียงของปัจเจกกับเสียงของกลุ่ม การมีไมตรีจิตกับการสร้างแรง กระตุน้ เร้าเพือ่ ให้เห็นผล ความย้อนแย้งระหว่างอิสรภาพและวินยั ระหว่าง สิง่ เล็กๆ กับเรือ่ งใหญ่ๆ เช่นวิชาการความรู้ ทัง้ หมดนีต้ อ้ งการความอดทน และให้เวลาทีจ่ ะรอคอยได้ มีใจเปิดกว้าง และเหนือสิง่ อืน่ ใดมีความเห็นอก เห็นใจ ภาวะทางด้านจิตใจและจิตวิญญาณนีจ้ ะเรียกร้องการบ่มเพาะจาก
ผูเ้ ป็นครูและผูน้ ำ เพือ่ พร้อมจะนำไปใช้เพือ่ สร้างการเปลีย่ นแปลงให้เกิดขึน้ ในตัวเด็ก หนังสือนี้จึงเหมาะจะเป็นคู่มือสำหรับการสอน การบริหาร การเป็น ผูน้ ำ รวมทัง้ การขับเคลือ่ นทางสังคมที่ให้มมุ มองทัง้ เรือ่ งกระบวนทัศน์ใหม่ ของความรู้ การสร้างจิตวิญญาณร่วมสมัย การเรียนรูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลง การกลับมาเชือ่ มโยง การเข้าใจความเป็นองค์รวมทีข่ าดหายไป ไม่แต่ใน แวดวงการศึกษาเท่านัน้ แต่ในทุกภาคส่วนของสังคมในองค์กรแบบต่างๆ ในชุมชนละแวกบ้าน หรือแม้แต่ในครอบครัวเองก็ตาม สำนักพิมพ์สวนเงินมีมาจึงร่วมกับ School for Wellbeing Studies
I
จากสำนักพิมพ์ 11
เปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งนี้ได้อย่างแท้จริง ในที่สุดการเรียนการสอนก็ยังคง เหมือนเดิม ยิง่ สังคมไทยกำลังผนวกรวมเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ยิง่ ทำให้
ผู้บริหารการศึกษาเร่งเน้นการสร้างประสิทธิภาพ ความเป็นเลิศและการ
แข่งขัน ภาระหนักยิง่ ตกอยูท่ คี่ รู และความเครียดยิง่ เพิม่ มากขึน้ ในตัวเด็ก นักเรียน ประเด็นเรือ่ งองค์รวมแห่งการศึกษาทีเ่ ชือ่ มประสานระหว่างหัว สมอง หัวใจ และมือ (head, heart and hand education) ที่สะท้อนสติ ปัญญา วุฒภิ าวะหรือความฉลาดทางอารมณ์ และการมีประสบการณ์ตรง ด้วยการลงไม้ลงมือปฏิบตั ิ ยังไม่ได้รบั การพัฒนาไปอย่างสมดุล คำถาม
ทีว่ า่ สถานศึกษาคือทีซ่ งึ่ สติปญั ญา อารมณ์ และจิตวิญญาณมาบรรจบกันใน ตัวตนของมนุษย์จะเกิดขึน้ ได้อย่างไรก็ยงั ไม่ได้รบั การขานรับ สิง่ ทีก่ ล่าวมา นีก้ ลับได้สร้างแรงบันดาลใจและการขับเคลือ่ นในแวดวงการศึกษาทางเลือก จนเป็นทีม่ าของโรงเรียนทางเลือกซึง่ มีอยูเ่ พียงไม่มากแห่ง เมือ่ เทียบกับ โรงเรียนทีย่ งั จัดการเรียนการสอนในรูปแบบเดิมๆ ทีม่ อี ยูท่ วั่ ไป ครูเองก็ยงั เครียดและมีภาระหนัก เด็กนักเรียนก็ไม่มคี วามสุขกับการเรียน ทำอย่างไร จึงจะเปลีย่ นแปลงสภาพการเรียนการสอนทีว่ า่ นีไ้ ด้ ผูเ้ ขียน ปาร์กเกอร์ ปาล์มเมอร์ เป็นผูม้ ปี ระสบการณ์ดา้ นการสอนและ การจัดการศึกษารวมกว่า ๓๐ ปี เขาวิเคราะห์ปญั หาของการศึกษาทีเ่ ป็นอยู่ และชี้ให้เห็นถึงความไม่กล้าเปลีย่ นแปลงหรือทดลองสิง่ ใหม่ๆ เพือ่ ปรับปรุง ให้การจัดการศึกษาดีขนึ้ มีความเป็นองค์รวมมากขึน้ เชือ่ มโยงโลกทัง้ ใน ห้องเรียน โลกภายนอกห้องเรียน และที่สำคัญคือเชื่อมโยงโลกภายในตัว นักเรียนเอง ทำให้ผเู้ รียนเกิดแรงบันดาลใจและเห็นถึงศักยภาพของตนเอง เขายังวิเคราะห์เจาะลึกลงไปถึงก้นบึง้ ของหัวใจของการศึกษา รวมทัง้ ครูใน ฐานะผูท้ นี่ า่ จะมีบทบาทต่อการเปลีย่ นแปลงทีว่ า่ นี้ ว่ามีสาเหตุมาจากความ กลัว ความกลัวคืออะไร ความกลัวอยู่ในทุกหนทุกแห่งทัง้ ในการเมือง การ 10
I
กล้าทีจ่ ะสอน
ศึกษา การบริหารและการจัดการองค์กร ล้วนถูกสร้างอยูบ่ นวัฒนธรรมแห่ง ความกลัว ผูท้ เี่ ป็นครูหรือผูบ้ ริหาร จะต้องกล้าทีจ่ ะสอน คือกล้าทีจ่ ะเชือ้ เชิญ ให้นกั เรียนค้นหาสำรวจด้วยการใช้ชวี ติ ทีเ่ ป็นของพวกเขา กล้าทีจ่ ะนำเพือ่ ให้องค์กรมีการบริหารอย่างมีสว่ นร่วม อันจะนำไปสูก่ ารสร้างภาวะผูน้ ำขึน้ ในองค์กร หากปราศจากซึง่ ความกล้า การเปลีย่ นแปลงก็จะเกิดขึน้ ได้ยาก หากการเปลีย่ นแปลงใดๆ จะเกิดขึน้ ได้ในแวดวงการศึกษา นอกจาก การจัดการกับวัฒนธรรมความกลัวหรือความไม่กล้าแล้ว ปาล์มเมอร์ยงั ชี้
ให้เห็นถึงสถานการณ์ทตี่ อ้ งจัดสมดุลระหว่างขัว้ ตรงข้าม หรือทีเ่ ขาเรียกว่า ความย้อนแย้ง (paradox) เพราะการเปลีย่ นแปลงใดๆ จะถูกท้าทายให้เกิด การจัดความสัมพันธ์ของความย้อนแย้งทีว่ า่ นี้ อาทิ ขอบเขตและการเปิด กว้าง เสียงของปัจเจกกับเสียงของกลุ่ม การมีไมตรีจิตกับการสร้างแรง กระตุน้ เร้าเพือ่ ให้เห็นผล ความย้อนแย้งระหว่างอิสรภาพและวินยั ระหว่าง สิง่ เล็กๆ กับเรือ่ งใหญ่ๆ เช่นวิชาการความรู้ ทัง้ หมดนีต้ อ้ งการความอดทน และให้เวลาทีจ่ ะรอคอยได้ มีใจเปิดกว้าง และเหนือสิง่ อืน่ ใดมีความเห็นอก เห็นใจ ภาวะทางด้านจิตใจและจิตวิญญาณนีจ้ ะเรียกร้องการบ่มเพาะจาก
ผูเ้ ป็นครูและผูน้ ำ เพือ่ พร้อมจะนำไปใช้เพือ่ สร้างการเปลีย่ นแปลงให้เกิดขึน้ ในตัวเด็ก หนังสือนี้จึงเหมาะจะเป็นคู่มือสำหรับการสอน การบริหาร การเป็น ผูน้ ำ รวมทัง้ การขับเคลือ่ นทางสังคมที่ให้มมุ มองทัง้ เรือ่ งกระบวนทัศน์ใหม่ ของความรู้ การสร้างจิตวิญญาณร่วมสมัย การเรียนรูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลง การกลับมาเชือ่ มโยง การเข้าใจความเป็นองค์รวมทีข่ าดหายไป ไม่แต่ใน แวดวงการศึกษาเท่านัน้ แต่ในทุกภาคส่วนของสังคมในองค์กรแบบต่างๆ ในชุมชนละแวกบ้าน หรือแม้แต่ในครอบครัวเองก็ตาม สำนักพิมพ์สวนเงินมีมาจึงร่วมกับ School for Wellbeing Studies
I
จากสำนักพิมพ์ 11
and Research โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) จัดทำโครงการการสร้างจิตวิญญาณใหม่เพื่อสังคม
อันจะนำไปสูก่ ารสร้างเครือข่ายจิตวิญญาณเพือ่ สังคม (Socially Engaged Spirituality Network) เป็นชุมชนของผูข้ วนขวายเรือ่ งศาสตร์ความรู้ใหม่ การสร้างจิตวิญญาณร่วมสมัยท่ามกลางกระแสแห่งโลกยุคข้อมูลข่าวสาร และไอซีที การเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงตนและร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับ สังคม โดยเฉพาะในหมูเ่ ยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประการสุดท้ายคือ ท่าทีต่อการยังชีพชอบท่ามกลางความท้าทายใหม่ๆ ที่เผชิญเราอยู่ โดย เฉพาะการเสือ่ มสลายของทรัพยากรธรรมชาติ ขณะนี้ กระแสการประกอบการแบบผูป้ ระกอบการสังคมกำลังเป็นทีส่ นใจของสังคมและคนรุน่ ใหม่ที่ เลือกเดินไปในเส้นทางนี้ และมองหาความหมายของชีวติ จากการงานที่ให้ ความหมายแก่ตนเอง สังคมและโลก เพื่อนำมาซึ่งความยั่งยืน ความสุข และความสมดุล สิง่ เหล่านีจ้ ะเกิดขึน้ และขยายออกไปได้จำต้องมีการศึกษา ที่สร้างมุมมองใหม่ สร้างจิตวิญญาณใหม่ การศึกษาที่บ่มเพาะความกล้า
ในตัวเด็กนักเรียนนักศึกษา การศึกษาเพือ่ การเปลีย่ นแปลงนัน่ เอง
I
12 กล้าทีจ่ ะสอน
ส า ร บั ญ จากสำนักพิมพ์ เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี คำขอบคุณ บทนำ สอนจากโลกภายใน บทที่ ๑ หัวใจของครู: อัตลักษณ์และความซือ่ ตรงในการสอน บทที่ ๒ วัฒนธรรมแห่งความกลัว: การศึกษาและชีวติ ทีต่ ดั ขาด บทที่ ๓ องค์รวมอันแฝงเร้น: ความย้อนแย้งในการเรียนการสอน บทที่ ๔ การแสวงหาความรู้ในชุมชน: ร่วมกับความงามของสิง่ ประเสริฐ บทที่ ๕ การสอนในชุมชน: การศึกษาทีม่ วี ชิ าเป็นตัวตัง้ บทที่ ๖ การเรียนรู้ในชุมชน: การสนทนาระหว่างเพือ่ นร่วมวิชาชีพ บทที่ ๗ พอกันทีชวี ติ แบ่งแยก: สอนด้วยหัวใจของความหวัง บทส่งท้าย ฉบับพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี นักวิชาชีพใหม่: การศึกษาเพือ่ การเปลีย่ นแปลง ประวัตผิ เู้ ขียน เชิงอรรถ
๙ ๑๔ ๒๙ ๓๕ ๔๗ ๘๗ ๑๒๗ ๑๖๗ ๒๐๗ ๒๔๗ ๒๘๑ ๓๑๕ ๓๕๐ ๓๕๒
and Research โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) จัดทำโครงการการสร้างจิตวิญญาณใหม่เพื่อสังคม
อันจะนำไปสูก่ ารสร้างเครือข่ายจิตวิญญาณเพือ่ สังคม (Socially Engaged Spirituality Network) เป็นชุมชนของผูข้ วนขวายเรือ่ งศาสตร์ความรู้ใหม่ การสร้างจิตวิญญาณร่วมสมัยท่ามกลางกระแสแห่งโลกยุคข้อมูลข่าวสาร และไอซีที การเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงตนและร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับ สังคม โดยเฉพาะในหมูเ่ ยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประการสุดท้ายคือ ท่าทีต่อการยังชีพชอบท่ามกลางความท้าทายใหม่ๆ ที่เผชิญเราอยู่ โดย เฉพาะการเสือ่ มสลายของทรัพยากรธรรมชาติ ขณะนี้ กระแสการประกอบการแบบผูป้ ระกอบการสังคมกำลังเป็นทีส่ นใจของสังคมและคนรุน่ ใหม่ที่ เลือกเดินไปในเส้นทางนี้ และมองหาความหมายของชีวติ จากการงานที่ให้ ความหมายแก่ตนเอง สังคมและโลก เพื่อนำมาซึ่งความยั่งยืน ความสุข และความสมดุล สิง่ เหล่านีจ้ ะเกิดขึน้ และขยายออกไปได้จำต้องมีการศึกษา ที่สร้างมุมมองใหม่ สร้างจิตวิญญาณใหม่ การศึกษาที่บ่มเพาะความกล้า
ในตัวเด็กนักเรียนนักศึกษา การศึกษาเพือ่ การเปลีย่ นแปลงนัน่ เอง
I
12 กล้าทีจ่ ะสอน
ส า ร บั ญ จากสำนักพิมพ์ เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี คำขอบคุณ บทนำ สอนจากโลกภายใน บทที่ ๑ หัวใจของครู: อัตลักษณ์และความซือ่ ตรงในการสอน บทที่ ๒ วัฒนธรรมแห่งความกลัว: การศึกษาและชีวติ ทีต่ ดั ขาด บทที่ ๓ องค์รวมอันแฝงเร้น: ความย้อนแย้งในการเรียนการสอน บทที่ ๔ การแสวงหาความรู้ในชุมชน: ร่วมกับความงามของสิง่ ประเสริฐ บทที่ ๕ การสอนในชุมชน: การศึกษาทีม่ วี ชิ าเป็นตัวตัง้ บทที่ ๖ การเรียนรู้ในชุมชน: การสนทนาระหว่างเพือ่ นร่วมวิชาชีพ บทที่ ๗ พอกันทีชวี ติ แบ่งแยก: สอนด้วยหัวใจของความหวัง บทส่งท้าย ฉบับพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี นักวิชาชีพใหม่: การศึกษาเพือ่ การเปลีย่ นแปลง ประวัตผิ เู้ ขียน เชิงอรรถ
๙ ๑๔ ๒๙ ๓๕ ๔๗ ๘๗ ๑๒๗ ๑๖๗ ๒๐๗ ๒๔๗ ๒๘๑ ๓๑๕ ๓๕๐ ๓๕๒
เ ก ริ่ น น ำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี
ในช่วงเวลาเป็นทศวรรษทีผ่ มใช้เขียน กล้าทีจ่ ะสอน: สำรวจโลกภายในของ ชีวติ ครู ผมใช้เวลาหลายชัว่ โมงใคร่ครวญอดีตและเพ่งพิจารณาถึงอนาคต เพื่อนๆ ที่นับถือศาสนาพุทธบอกกับผมว่านี่ไม่ใช่หนทางที่ดีที่จะใช้ ชีวิต ภูมิปัญญาดั้งเดิมของทุกวัฒนธรรมกระตุ้นให้เรามีชีวิตอยู่กับความ เป็นจริงของ ‘ปัจจุบนั อันเป็นนิรนั ดร์’ ไม่ใช่ในมายาภาพของสิง่ ทีค่ รัง้ หนึง่ เคยเป็นหรืออาจจะเป็น กระนัน้ ก็ไม่มนี กั เขียนคนใดเขียนได้หากไม่มขี อ้ มูล จากอดีตและอนาคต พวกเขารุ่มรวยไปด้วยความทรงจำและจินตนาการ
ก่อให้เกิดข้อสงสัยต่อความน่าเชื่อถือของใครก็ตามที่เขียนเกี่ยวกับชีวิต ภายใน ทีส่ ำคัญคือตัวผมเอง! แต่ความจริงคือผมเขียนหนังสือเล่มนี้ในขณะที่มองย้อนกลับไปใน โลกการศึกษา ๓๐ ปี พยายามทำความเข้าใจว่าทำไมการสอนถึงได้ระทึกขวัญ และน่ากลัวสำหรับผมเสมอ ผมได้สำรวจภูมทิ ศั น์ภายในของชีวติ ของครู
I
14 กล้าทีจ่ ะสอน
คนนี้ จากข้างในสูข่ า้ งนอก หวังสร้างความกระจ่างให้กบั พลวัตทางปัญญา อารมณ์ และจิตวิญญาณที่ทำให้งานของเราเป็นรูปเป็นร่างหรือผิดรูปผิด ร่าง ผมต้องการหาวิธที ำความเข้าใจตัวเองให้ลกึ ซึง้ เพือ่ เข้าใจการสอนของ ใครก็ตามที่ใส่ใจในการสอนมากเท่าๆ กับทีผ่ มใส่ใจ ขณะเขียน ผมมองไปข้างหน้าด้วย ท่ามกลางวัฒนธรรมทีล่ ดคุณค่า ชีวติ ภายใน ผมหวังทีจ่ ะทำมากกว่าการหาเหตุผลว่าครูทดี่ ตี อ้ งมีชวี ติ อย่าง ตรวจสอบตนเองและพยายามเข้าใจสิง่ ทีข่ บั เคลือ่ นการกระทำของพวกเขา ไม่วา่ อะไรจะเกิดขึน้ ผมอยากคาดการณ์ถงึ ผลกระทบของการทีส่ งั คมเรา ถูกครอบงำด้วยเปลือกของการศึกษามากขึ้นเรื่อยๆ รวมถึงการทดสอบ มาตรฐานที่ไม่มกี ารผ่อนปรนและไร้สาระ และหาวิธปี กป้องและสนับสนุน การเดินทางภายในทีเ่ ป็นหัวใจของการสอน การเรียนรู้ และการมีชวี ติ อยู่ อย่างแท้จริง ขณะที่อดีตเลือนรางไป เราได้มุมมองจากมัน ดังนั้นการเขียนบท
เกริ่นนำและบทส่งท้ายของการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปีของ กล้าที่จะสอน นี ้ ได้ชว่ ยให้ผมมองเห็นชัดเจนยิง่ ขึน้ ว่าหนังสือเล่มนีเ้ กิดขึน้ มาจากประสบการณ์ ในการสอนของผมอย่างไร มันยังให้โอกาสผมตรวจสอบความ
ถูกต้องของการคาดการณ์ของผมและความเหมาะสมของการบรรยาย ทิศทางของอนาคต ซึ่งในเวลาที่หนังสือเล่มนี้ตีพิมพ์เป็นครั้งแรกนั้นมี เหตุการณ์เหล่านัน้ ที่ ‘ยังไม่เกิดขึน้ อย่างเป็นทางการ’ ๑ ย้อนเยือนยุคก่อนประวัติศาสตร์ เนือ่ งจากผมเริม่ เขียน กล้าทีจ่ ะสอน หนึง่ ทศวรรษก่อนทีจ่ ะได้รบั การตีพมิ พ์ การฉลองครบรอบ ๑๐ ปีของหนังสือเล่มนี้จึงเหมือน ๒๐ ปีสำหรับผม
I
เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี 15
เ ก ริ่ น น ำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี
ในช่วงเวลาเป็นทศวรรษทีผ่ มใช้เขียน กล้าทีจ่ ะสอน: สำรวจโลกภายในของ ชีวติ ครู ผมใช้เวลาหลายชัว่ โมงใคร่ครวญอดีตและเพ่งพิจารณาถึงอนาคต เพื่อนๆ ที่นับถือศาสนาพุทธบอกกับผมว่านี่ไม่ใช่หนทางที่ดีที่จะใช้ ชีวิต ภูมิปัญญาดั้งเดิมของทุกวัฒนธรรมกระตุ้นให้เรามีชีวิตอยู่กับความ เป็นจริงของ ‘ปัจจุบนั อันเป็นนิรนั ดร์’ ไม่ใช่ในมายาภาพของสิง่ ทีค่ รัง้ หนึง่ เคยเป็นหรืออาจจะเป็น กระนัน้ ก็ไม่มนี กั เขียนคนใดเขียนได้หากไม่มขี อ้ มูล จากอดีตและอนาคต พวกเขารุ่มรวยไปด้วยความทรงจำและจินตนาการ
ก่อให้เกิดข้อสงสัยต่อความน่าเชื่อถือของใครก็ตามที่เขียนเกี่ยวกับชีวิต ภายใน ทีส่ ำคัญคือตัวผมเอง! แต่ความจริงคือผมเขียนหนังสือเล่มนี้ในขณะที่มองย้อนกลับไปใน โลกการศึกษา ๓๐ ปี พยายามทำความเข้าใจว่าทำไมการสอนถึงได้ระทึกขวัญ และน่ากลัวสำหรับผมเสมอ ผมได้สำรวจภูมทิ ศั น์ภายในของชีวติ ของครู
I
14 กล้าทีจ่ ะสอน
คนนี้ จากข้างในสูข่ า้ งนอก หวังสร้างความกระจ่างให้กบั พลวัตทางปัญญา อารมณ์ และจิตวิญญาณที่ทำให้งานของเราเป็นรูปเป็นร่างหรือผิดรูปผิด ร่าง ผมต้องการหาวิธที ำความเข้าใจตัวเองให้ลกึ ซึง้ เพือ่ เข้าใจการสอนของ ใครก็ตามที่ใส่ใจในการสอนมากเท่าๆ กับทีผ่ มใส่ใจ ขณะเขียน ผมมองไปข้างหน้าด้วย ท่ามกลางวัฒนธรรมทีล่ ดคุณค่า ชีวติ ภายใน ผมหวังทีจ่ ะทำมากกว่าการหาเหตุผลว่าครูทดี่ ตี อ้ งมีชวี ติ อย่าง ตรวจสอบตนเองและพยายามเข้าใจสิง่ ทีข่ บั เคลือ่ นการกระทำของพวกเขา ไม่วา่ อะไรจะเกิดขึน้ ผมอยากคาดการณ์ถงึ ผลกระทบของการทีส่ งั คมเรา ถูกครอบงำด้วยเปลือกของการศึกษามากขึ้นเรื่อยๆ รวมถึงการทดสอบ มาตรฐานที่ไม่มกี ารผ่อนปรนและไร้สาระ และหาวิธปี กป้องและสนับสนุน การเดินทางภายในทีเ่ ป็นหัวใจของการสอน การเรียนรู้ และการมีชวี ติ อยู่ อย่างแท้จริง ขณะที่อดีตเลือนรางไป เราได้มุมมองจากมัน ดังนั้นการเขียนบท
เกริ่นนำและบทส่งท้ายของการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปีของ กล้าที่จะสอน นี ้ ได้ชว่ ยให้ผมมองเห็นชัดเจนยิง่ ขึน้ ว่าหนังสือเล่มนีเ้ กิดขึน้ มาจากประสบการณ์ ในการสอนของผมอย่างไร มันยังให้โอกาสผมตรวจสอบความ
ถูกต้องของการคาดการณ์ของผมและความเหมาะสมของการบรรยาย ทิศทางของอนาคต ซึ่งในเวลาที่หนังสือเล่มนี้ตีพิมพ์เป็นครั้งแรกนั้นมี เหตุการณ์เหล่านัน้ ที่ ‘ยังไม่เกิดขึน้ อย่างเป็นทางการ’ ๑ ย้อนเยือนยุคก่อนประวัติศาสตร์ เนือ่ งจากผมเริม่ เขียน กล้าทีจ่ ะสอน หนึง่ ทศวรรษก่อนทีจ่ ะได้รบั การตีพมิ พ์ การฉลองครบรอบ ๑๐ ปีของหนังสือเล่มนี้จึงเหมือน ๒๐ ปีสำหรับผม
I
เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี 15
ในความเป็นจริง ตลอดทศวรรษก่อนประวัติศาสตร์ของหนังสือเล่มนี้ ซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นช่วงเวลาทีผ่ มมีแค่ชอื่ หนังสือ แนวคิดหลวมๆ ทีย่ งั ไม่ลงตัวกับ กองเศษกระดาษที่เต็มไปด้วยลายมือยุ่งเหยิง และข้อความหน้าแล้วหน้า เล่าที่ใช้การไม่ได้ ผมได้ไปบรรยายหลายครัง้ บอกเล่าถึงความคืบหน้าในการ เขียนหนังสือของผมจนผูฟ้ งั บางคนฝังใจว่ามัน ‘เสร็จไปเรียบร้อยแล้ว’ ผมเริม่ ได้รบั โทรศัพท์จากบรรณารักษ์หอ้ งสมุดต่างๆ “มีคนพยายาม ติดต่อยืม กล้าทีจ่ ะสอน แต่ทางห้องสมุดไม่สามารถหาซือ้ ได้ ทำอย่างไรถึง จะได้สกั เล่มหนึง่ ” คนทีโ่ ทรมาหาผมส่วนมากจะไม่ขำเมือ่ ผมบอกว่า ผมก็ อยากได้สกั หนึง่ เล่มเหมือนกัน แต่เราต้องรอจนกว่าผมจะลงมือเขียน ทีใ่ ช้เวลาถึงหนึง่ ทศวรรษในการเขียนหนังสือเล่มนี้ ส่วนหนึง่ เป็นเพราะ ความจริงทีว่ า่ ผมเขียนช้ามาก เมือ่ มีคนถามว่าผมทำงานอะไรเพือ่ เลีย้ งชีพ ผมก็บอกไปว่าผมเป็นนักเขียนแล้วเขียนเล่า ผมสงสัยว่าผมเคยพิมพ์งาน สักหน้าหนึง่ ไหมทีไ่ ม่ได้ถกู พลิกแก้แล้วแก้อกี ๘ ครัง้ หรือ ๑๐ หรือ ๑๒ ครัง้ เช่นเดียวกับนักเขียนจำนวนมาก ผมไม่ได้เริม่ ด้วยความคิดทีช่ ดั เจนก่อน แล้วจดลงกระดาษ การลงมือเขียนจริงๆ ช่วยให้ผมได้ค้นพบว่าผมรู้สึก
หรือรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับบางสิ่งบางอย่าง และเพราะแต่ละร่างที่เขียนแล้ว เขียนเล่านั้นผลักดันให้การค้นพบลึกลงไปทีละน้อย มันจึงรู้ได้ยากว่าจะ หยุดได้เมือ่ ไร แต่ความจริงทีท่ ำให้ผมใช้เวลาถึงทศวรรษในการเขียนหนังสือเล่มนี้ ไม่ได้เป็นเพียงเพราะผมเขียนช้าอย่างเดียว ผมยังต้องให้เครดิตกับโชค ชะตาทีเ่ มตตา ทำให้ผมมีเวลาสัง่ สมและซึมซับประสบการณ์สองอย่าง ที่ หากปราศจากมันหนังสือเล่มนีก้ จ็ ะอิงความจริงน้อยลง มีความน่าเชือ่ ถือ น้อยลง และมีประโยชน์นอ้ ยลง ประสบการณ์แรกคือความล้มเหลว และ ประสบการณ์ทสี่ องคือความสำเร็จ วันนีผ้ มถือว่าประสบการณ์ทงั้ สองเป็น 16
I
กล้าทีจ่ ะสอน
พรอันประเสริฐ แน่นอนว่าตอนทีเ่ กิดความล้มเหลวขึน้ นัน้ ผมไม่ได้รสู้ กึ ว่ามันเป็นพร ๔ ปีกอ่ นที่ กล้าทีจ่ ะสอน จะได้รบั การตีพมิ พ์ ตอนทีห่ นังสือนีย้ งั เป็นเพียงแค่ ความหวังหรือปัญหา แล้วแต่สภาพการณ์ช่วงนั้นๆ ผมใช้เวลา ๑ ปีเป็น ศาสตราจารย์พเิ ศษทีว่ ทิ ยาลัยเบเรีย ในเคนตักกี ช่วงปลายปีนนั้ ผมนึกถึง (ประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับหนังสือเล่มนี)้ ๒ ประเด็นคือ ทำไมชือ่ หนังสือถึงได้ เข้าเป้าขนาดนั้น (อย่างน้อยก็สำหรับผม) และทำไมผมต้องเขียนถึงการ สอนด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตนอย่างมากเท่าทีผ่ มจะสามารถทำได้ วิทยาลัยเบเรียให้การศึกษาแก่คนหนุม่ สาวแห่งแอปปาลาเชียมาตัง้ แต่ ปี ๑๘๕๕ หลักสูตรด้านศิลปศาสตร์เปิดสอนโดยไม่คดิ ค่าธรรมเนียมให้กบั นักศึกษาในเขตทีย่ ากจนทีส่ ดุ เขตหนึง่ ของสหรัฐอเมริกา นักศึกษาทัง้ หมด จะทำงานในวิทยาลัยเพือ่ ช่วยให้วทิ ยาลัยสามารถดำเนินงานไปได้และเพือ่ เป็นค่าใช้จ่ายด้านการเรียนของนักศึกษา ผมรู้สึกสนใจเบเรียตั้งแต่ตอน เรียนปริญญาตรีอยูท่ มี่ หาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ทีเ่ บิรก์ ลีย์ ในช่วงทศวรรษ ๑๙๖๐ เมือ่ ครัง้ การศึกษาระดับอุดมศึกษายังถูกวิพากษ์วจิ ารณ์อย่างรุนแรง และถูกต้องแล้วว่าละเลยเหยือ่ ของความยากจน การได้สอนในวิทยาลัยทีม่ ี พันธกิจเพื่อความเป็นธรรมในสังคม อยู่ในอันดับต้นๆ ของบัญชีรายชื่อ อาชีพทีผ่ มปรารถนา ‘จงระวังในสิง่ ทีค่ ณุ ปรารถนา’ เป็นประโยคติดปากทีค่ วรค่าแก่การใส่ใจ ปีทผี่ มสอนอยูท่ เี่ บเรียเป็นช่วงเวลาทีย่ ากลำบากทีส่ ดุ ช่วงหนึง่ ในชีวติ ของผม ในฐานะคนทางเหนือที่มีฐานะดี ที่เคยแค่อ่านเรื่องราวของแอปปาลาเชีย ผมไม่ได้เตรียมรับมือกับช่องว่างทางวัฒนธรรมที่ลึกมากระหว่างผมกับ
นักศึกษา และผมก็มกั ไม่สามารถสอนข้ามช่องว่างนัน้ ได้ ‘ความสามารถ
ในการเชื่อมต่อ’ ของผม ซึ่งเป็นแนวคิดหลักของ กล้าที่จะสอน ล้มเหลว
I
เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี 17
ในความเป็นจริง ตลอดทศวรรษก่อนประวัติศาสตร์ของหนังสือเล่มนี้ ซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นช่วงเวลาทีผ่ มมีแค่ชอื่ หนังสือ แนวคิดหลวมๆ ทีย่ งั ไม่ลงตัวกับ กองเศษกระดาษที่เต็มไปด้วยลายมือยุ่งเหยิง และข้อความหน้าแล้วหน้า เล่าที่ใช้การไม่ได้ ผมได้ไปบรรยายหลายครัง้ บอกเล่าถึงความคืบหน้าในการ เขียนหนังสือของผมจนผูฟ้ งั บางคนฝังใจว่ามัน ‘เสร็จไปเรียบร้อยแล้ว’ ผมเริม่ ได้รบั โทรศัพท์จากบรรณารักษ์หอ้ งสมุดต่างๆ “มีคนพยายาม ติดต่อยืม กล้าทีจ่ ะสอน แต่ทางห้องสมุดไม่สามารถหาซือ้ ได้ ทำอย่างไรถึง จะได้สกั เล่มหนึง่ ” คนทีโ่ ทรมาหาผมส่วนมากจะไม่ขำเมือ่ ผมบอกว่า ผมก็ อยากได้สกั หนึง่ เล่มเหมือนกัน แต่เราต้องรอจนกว่าผมจะลงมือเขียน ทีใ่ ช้เวลาถึงหนึง่ ทศวรรษในการเขียนหนังสือเล่มนี้ ส่วนหนึง่ เป็นเพราะ ความจริงทีว่ า่ ผมเขียนช้ามาก เมือ่ มีคนถามว่าผมทำงานอะไรเพือ่ เลีย้ งชีพ ผมก็บอกไปว่าผมเป็นนักเขียนแล้วเขียนเล่า ผมสงสัยว่าผมเคยพิมพ์งาน สักหน้าหนึง่ ไหมทีไ่ ม่ได้ถกู พลิกแก้แล้วแก้อกี ๘ ครัง้ หรือ ๑๐ หรือ ๑๒ ครัง้ เช่นเดียวกับนักเขียนจำนวนมาก ผมไม่ได้เริม่ ด้วยความคิดทีช่ ดั เจนก่อน แล้วจดลงกระดาษ การลงมือเขียนจริงๆ ช่วยให้ผมได้ค้นพบว่าผมรู้สึก
หรือรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับบางสิ่งบางอย่าง และเพราะแต่ละร่างที่เขียนแล้ว เขียนเล่านั้นผลักดันให้การค้นพบลึกลงไปทีละน้อย มันจึงรู้ได้ยากว่าจะ หยุดได้เมือ่ ไร แต่ความจริงทีท่ ำให้ผมใช้เวลาถึงทศวรรษในการเขียนหนังสือเล่มนี้ ไม่ได้เป็นเพียงเพราะผมเขียนช้าอย่างเดียว ผมยังต้องให้เครดิตกับโชค ชะตาทีเ่ มตตา ทำให้ผมมีเวลาสัง่ สมและซึมซับประสบการณ์สองอย่าง ที่ หากปราศจากมันหนังสือเล่มนีก้ จ็ ะอิงความจริงน้อยลง มีความน่าเชือ่ ถือ น้อยลง และมีประโยชน์นอ้ ยลง ประสบการณ์แรกคือความล้มเหลว และ ประสบการณ์ทสี่ องคือความสำเร็จ วันนีผ้ มถือว่าประสบการณ์ทงั้ สองเป็น 16
I
กล้าทีจ่ ะสอน
พรอันประเสริฐ แน่นอนว่าตอนทีเ่ กิดความล้มเหลวขึน้ นัน้ ผมไม่ได้รสู้ กึ ว่ามันเป็นพร ๔ ปีกอ่ นที่ กล้าทีจ่ ะสอน จะได้รบั การตีพมิ พ์ ตอนทีห่ นังสือนีย้ งั เป็นเพียงแค่ ความหวังหรือปัญหา แล้วแต่สภาพการณ์ช่วงนั้นๆ ผมใช้เวลา ๑ ปีเป็น ศาสตราจารย์พเิ ศษทีว่ ทิ ยาลัยเบเรีย ในเคนตักกี ช่วงปลายปีนนั้ ผมนึกถึง (ประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับหนังสือเล่มนี)้ ๒ ประเด็นคือ ทำไมชือ่ หนังสือถึงได้ เข้าเป้าขนาดนั้น (อย่างน้อยก็สำหรับผม) และทำไมผมต้องเขียนถึงการ สอนด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตนอย่างมากเท่าทีผ่ มจะสามารถทำได้ วิทยาลัยเบเรียให้การศึกษาแก่คนหนุม่ สาวแห่งแอปปาลาเชียมาตัง้ แต่ ปี ๑๘๕๕ หลักสูตรด้านศิลปศาสตร์เปิดสอนโดยไม่คดิ ค่าธรรมเนียมให้กบั นักศึกษาในเขตทีย่ ากจนทีส่ ดุ เขตหนึง่ ของสหรัฐอเมริกา นักศึกษาทัง้ หมด จะทำงานในวิทยาลัยเพือ่ ช่วยให้วทิ ยาลัยสามารถดำเนินงานไปได้และเพือ่ เป็นค่าใช้จ่ายด้านการเรียนของนักศึกษา ผมรู้สึกสนใจเบเรียตั้งแต่ตอน เรียนปริญญาตรีอยูท่ มี่ หาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ทีเ่ บิรก์ ลีย์ ในช่วงทศวรรษ ๑๙๖๐ เมือ่ ครัง้ การศึกษาระดับอุดมศึกษายังถูกวิพากษ์วจิ ารณ์อย่างรุนแรง และถูกต้องแล้วว่าละเลยเหยือ่ ของความยากจน การได้สอนในวิทยาลัยทีม่ ี พันธกิจเพื่อความเป็นธรรมในสังคม อยู่ในอันดับต้นๆ ของบัญชีรายชื่อ อาชีพทีผ่ มปรารถนา ‘จงระวังในสิง่ ทีค่ ณุ ปรารถนา’ เป็นประโยคติดปากทีค่ วรค่าแก่การใส่ใจ ปีทผี่ มสอนอยูท่ เี่ บเรียเป็นช่วงเวลาทีย่ ากลำบากทีส่ ดุ ช่วงหนึง่ ในชีวติ ของผม ในฐานะคนทางเหนือที่มีฐานะดี ที่เคยแค่อ่านเรื่องราวของแอปปาลาเชีย ผมไม่ได้เตรียมรับมือกับช่องว่างทางวัฒนธรรมที่ลึกมากระหว่างผมกับ
นักศึกษา และผมก็มกั ไม่สามารถสอนข้ามช่องว่างนัน้ ได้ ‘ความสามารถ
ในการเชื่อมต่อ’ ของผม ซึ่งเป็นแนวคิดหลักของ กล้าที่จะสอน ล้มเหลว
I
เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี 17
บ่อยครัง้ เพราะผมไม่ ‘รูเ้ ขา’ ทีแ่ ย่กว่านัน้ ผมยอมรับและแก้ไขความไม่รู้ ของตัวเองช้า ความพยายามทีจ่ ะเป็นมืออาชีพยากลำบากขึน้ เมือ่ ผมสูญเสียความ เป็นตัวเอง และอย่างที่ผมยืนยันไว้ในหนังสือเล่มนี้ ความเป็นตัวเองไม่ สามารถแยกจากความเป็นมืออาชีพได้ ‘เราสอนอย่างทีเ่ ราเป็น’ ในเวลาที่ มืดมิดพอๆ กับเวลาที่สว่างไสว ช่วงกลางๆ ของเวลาที่ผมอยู่ที่เบเรีย ใน
โมงยามทีเ่ หน็บหนาวของเช้าวันหนึง่ ในเดือนมกราคม ผมได้ทราบข่าวว่า พ่อที่รักของผมเสียชีวิตอย่างกะทันหัน ความที่ผมอยู่ห่างไกลจากการ ปลอบประโลมของครอบครัวและเพือ่ นสนิท ผมรูส้ กึ สูญสิน้ ทุกอย่าง ทุกๆ วันในเทอมที่ ๒ ที่เบเรีย ผมต้องปีนป่ายภูเขาแห่งความโศก
ส่วนตัวและความล้มเหลวทางวิชาชีพ เพือ่ ลากสังขารไปห้องเรียน ในขณะที่ ‘ความเป็นครูกล้าสอน’ ทั้งถดถอยและท่วมท้นตัวผมอยู่ แต่ส่วนใหญ่จะ เป็นการถดถอย ผมจะไม่ให้ปีนั้นเกิดซ้ำอีกไม่ว่าจะเพื่อชื่อเสียงหรือเงิน ทอง แต่มนั ได้ทงิ้ ไข่มกุ ทีม่ คี า่ มหาศาลไว้ให้ผม คือความเห็นอกเห็นใจทีล่ กึ ยิ่งขึ้นต่อครู ผู้ที่มีงานประจำวันคือการปีนเขาเหล่านั้นพร้อมกับการสอน และการเรียนรูไ้ ปด้วย ประสบการณ์อนื่ ทีส่ ำคัญยิง่ ของผมในช่วงสิบปีกอ่ นประวัตศิ าสตร์ของ กล้าที่จะสอน คือการประสบความสำเร็จอย่างสูง ไม่ใช่เพราะตัวผม แต่ เพราะคนทีผ่ มร่วมแบ่งปันความสำเร็จด้วย ตัง้ แต่ปี ๑๙๙๔-๑๙๙๖ สถาบัน เฟทเซอร์ได้รอ้ งขอและสนับสนุนทางการเงินและบุคลากร ให้ผมออกแบบ และดำเนินโครงการหนึง่ ขึน้ เรียกว่า ‘ครูกล้าสอน’ เป็นการทำงานกับครูใน ระดับอนุบาลถึงเกรด ๑๒ จำนวน ๒๒ คน จากทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐ มิชิแกน ผมกลายเป็นผู้นำทาง ‘มุ่งสู่ภายใน’ ช่วยเหลือพวกเขาให้สำรวจ
ภูมิทัศน์ภายในของชีวิตพวกเขาผ่านการจัดกิจกรรมประชุมนอกสถานที่
I
18 กล้าทีจ่ ะสอน
ทุกๆ ๓ เดือน จำนวนรวม ๘ ครัง้ ครัง้ ละ ๓ วัน ตามวงจรของฤดูกาล ในทางเทคนิคผมเป็นผู้นำโครงการนี้ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ครู
เหล่านั้นนำผม ผมเรียนรู้บทเรียนที่ไม่มีวันสิ้นสุดจากพวกเขา เกี่ยวกับ เงือ่ นไขทีบ่ นั่ ทอน กดขี่ และบางครัง้ ก็โหดร้ายซึง่ ครูในโรงเรียนรัฐบาลจำนวน มากต้องทำงานอยูด่ ว้ ย เกีย่ วกับความสมัครใจของคนดีๆ เหล่านี้ในการมอง เข้าไปในตัวพวกเขาเอง เพือ่ เกือ้ กูลตัวเองแทนการรอคอยความช่วยเหลือ จากผูอ้ นื่ เกีย่ วกับคำมัน่ สัญญาลึกๆ ในหัวใจทีพ่ าพวกเขากลับสูห่ อ้ งเรียน คำมัน่ สัญญาของพวกเขาทีม่ ตี อ่ คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องเด็กๆ ของเรา ระยะเวลา ๒ ปีทผี่ มเดินทางไปกับครูโรงเรียนรัฐบาล ทำให้ผมหมดข้อ กังขาว่าพวกเขาและญาติพนี่ อ้ งของพวกเขาคือวีรบุรษุ ทางวัฒนธรรมทีแ่ ท้ จริงในยุคสมัยของเรา ทุกๆ วันพวกเขาต้องดูแลเด็กๆ ที่ถูกพยาธิสภาพ
ทางสังคมทำร้าย โดยไม่มีใครสมัครใจทีจ่ ะให้การเยียวยา ทุกๆ วันพวกเขา ถูกนักการเมือง สังคม และสือ่ มวลชนบริภาษ กล่าวหาพวกเขาว่าไร้ความ สามารถและล้มเหลว และทุกๆ วันพวกเขากลับเข้าห้องเรียน เปิดหัวใจและ จิตใจด้วยความหวังจะช่วยให้เด็กๆ ทำแบบเดียวกัน ช่วงเวลายากลำบากทีเ่ กิดขึน้ กับผมในการสอน และช่วงเวลาดีๆ ทีผ่ ม ได้รบั จากบรรดาครูในช่วงทศวรรษก่อนที่ กล้าทีจ่ ะสอน จะตีพมิ พ์ ช่วยให้ ผมเขียนหนังสือจากความรูส้ กึ สะเทือนใจภายในตัวผมเอง คำว่า สะเทือนใจ แน่นอนว่าสามารถหมายถึงทั้งความรักอย่างแรงกล้าหรือความทุกข์ทน อย่างแรงกล้า หรือทัง้ สองอย่าง ทัง้ สองความหมายจับคูก่ นั อยู่ในภาษาเช่น เดียวกับในชีวติ จริง
I
เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี 19
บ่อยครัง้ เพราะผมไม่ ‘รูเ้ ขา’ ทีแ่ ย่กว่านัน้ ผมยอมรับและแก้ไขความไม่รู้ ของตัวเองช้า ความพยายามทีจ่ ะเป็นมืออาชีพยากลำบากขึน้ เมือ่ ผมสูญเสียความ เป็นตัวเอง และอย่างที่ผมยืนยันไว้ในหนังสือเล่มนี้ ความเป็นตัวเองไม่ สามารถแยกจากความเป็นมืออาชีพได้ ‘เราสอนอย่างทีเ่ ราเป็น’ ในเวลาที่ มืดมิดพอๆ กับเวลาที่สว่างไสว ช่วงกลางๆ ของเวลาที่ผมอยู่ที่เบเรีย ใน
โมงยามทีเ่ หน็บหนาวของเช้าวันหนึง่ ในเดือนมกราคม ผมได้ทราบข่าวว่า พ่อที่รักของผมเสียชีวิตอย่างกะทันหัน ความที่ผมอยู่ห่างไกลจากการ ปลอบประโลมของครอบครัวและเพือ่ นสนิท ผมรูส้ กึ สูญสิน้ ทุกอย่าง ทุกๆ วันในเทอมที่ ๒ ที่เบเรีย ผมต้องปีนป่ายภูเขาแห่งความโศก
ส่วนตัวและความล้มเหลวทางวิชาชีพ เพือ่ ลากสังขารไปห้องเรียน ในขณะที่ ‘ความเป็นครูกล้าสอน’ ทั้งถดถอยและท่วมท้นตัวผมอยู่ แต่ส่วนใหญ่จะ เป็นการถดถอย ผมจะไม่ให้ปีนั้นเกิดซ้ำอีกไม่ว่าจะเพื่อชื่อเสียงหรือเงิน ทอง แต่มนั ได้ทงิ้ ไข่มกุ ทีม่ คี า่ มหาศาลไว้ให้ผม คือความเห็นอกเห็นใจทีล่ กึ ยิ่งขึ้นต่อครู ผู้ที่มีงานประจำวันคือการปีนเขาเหล่านั้นพร้อมกับการสอน และการเรียนรูไ้ ปด้วย ประสบการณ์อนื่ ทีส่ ำคัญยิง่ ของผมในช่วงสิบปีกอ่ นประวัตศิ าสตร์ของ กล้าที่จะสอน คือการประสบความสำเร็จอย่างสูง ไม่ใช่เพราะตัวผม แต่ เพราะคนทีผ่ มร่วมแบ่งปันความสำเร็จด้วย ตัง้ แต่ปี ๑๙๙๔-๑๙๙๖ สถาบัน เฟทเซอร์ได้รอ้ งขอและสนับสนุนทางการเงินและบุคลากร ให้ผมออกแบบ และดำเนินโครงการหนึง่ ขึน้ เรียกว่า ‘ครูกล้าสอน’ เป็นการทำงานกับครูใน ระดับอนุบาลถึงเกรด ๑๒ จำนวน ๒๒ คน จากทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐ มิชิแกน ผมกลายเป็นผู้นำทาง ‘มุ่งสู่ภายใน’ ช่วยเหลือพวกเขาให้สำรวจ
ภูมิทัศน์ภายในของชีวิตพวกเขาผ่านการจัดกิจกรรมประชุมนอกสถานที่
I
18 กล้าทีจ่ ะสอน
ทุกๆ ๓ เดือน จำนวนรวม ๘ ครัง้ ครัง้ ละ ๓ วัน ตามวงจรของฤดูกาล ในทางเทคนิคผมเป็นผู้นำโครงการนี้ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ครู
เหล่านั้นนำผม ผมเรียนรู้บทเรียนที่ไม่มีวันสิ้นสุดจากพวกเขา เกี่ยวกับ เงือ่ นไขทีบ่ นั่ ทอน กดขี่ และบางครัง้ ก็โหดร้ายซึง่ ครูในโรงเรียนรัฐบาลจำนวน มากต้องทำงานอยูด่ ว้ ย เกีย่ วกับความสมัครใจของคนดีๆ เหล่านี้ในการมอง เข้าไปในตัวพวกเขาเอง เพือ่ เกือ้ กูลตัวเองแทนการรอคอยความช่วยเหลือ จากผูอ้ นื่ เกีย่ วกับคำมัน่ สัญญาลึกๆ ในหัวใจทีพ่ าพวกเขากลับสูห่ อ้ งเรียน คำมัน่ สัญญาของพวกเขาทีม่ ตี อ่ คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องเด็กๆ ของเรา ระยะเวลา ๒ ปีทผี่ มเดินทางไปกับครูโรงเรียนรัฐบาล ทำให้ผมหมดข้อ กังขาว่าพวกเขาและญาติพนี่ อ้ งของพวกเขาคือวีรบุรษุ ทางวัฒนธรรมทีแ่ ท้ จริงในยุคสมัยของเรา ทุกๆ วันพวกเขาต้องดูแลเด็กๆ ที่ถูกพยาธิสภาพ
ทางสังคมทำร้าย โดยไม่มีใครสมัครใจทีจ่ ะให้การเยียวยา ทุกๆ วันพวกเขา ถูกนักการเมือง สังคม และสือ่ มวลชนบริภาษ กล่าวหาพวกเขาว่าไร้ความ สามารถและล้มเหลว และทุกๆ วันพวกเขากลับเข้าห้องเรียน เปิดหัวใจและ จิตใจด้วยความหวังจะช่วยให้เด็กๆ ทำแบบเดียวกัน ช่วงเวลายากลำบากทีเ่ กิดขึน้ กับผมในการสอน และช่วงเวลาดีๆ ทีผ่ ม ได้รบั จากบรรดาครูในช่วงทศวรรษก่อนที่ กล้าทีจ่ ะสอน จะตีพมิ พ์ ช่วยให้ ผมเขียนหนังสือจากความรูส้ กึ สะเทือนใจภายในตัวผมเอง คำว่า สะเทือนใจ แน่นอนว่าสามารถหมายถึงทั้งความรักอย่างแรงกล้าหรือความทุกข์ทน อย่างแรงกล้า หรือทัง้ สองอย่าง ทัง้ สองความหมายจับคูก่ นั อยู่ในภาษาเช่น เดียวกับในชีวติ จริง
I
เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี 19
อนาคตอยู่ตรงนี้ วันนี้ หนึง่ ทศวรรษหลัง กล้าทีจ่ ะสอน ตีพมิ พ์ ตอนนีเ้ หตุการณ์ทมี่ คี ณ ุ ค่า ยาวนานสิบปีนนั้ ได้ ‘เกิดขึน้ อย่างเป็นทางการแล้ว’ ดูสวิ า่ ลูกแก้ววิเศษทีผ่ ม ใช้สอ่ งมองอนาคตของการศึกษา ความต้องการทีจ่ ำเป็นของครู และสิง่ ที่ ผมหวังว่าหนังสือเล่มนีจ้ ะอำนวยประโยชน์ให้นนั้ แม่นยำแค่ไหน สัญชาตญาณของผมที่บอกว่าการศึกษาจะถูกครอบงำด้วยเปลือก พืน้ ทีท่ จี่ ำเป็นต่อการประคับประคองชีวติ ภายในของครูและนักเรียนจะหด ตัวลง เป็นสิ่งที่ผมต้องกล่าวด้วยความเสียใจว่าทั้งหมดถูกต้องแม่นยำ
เกินไป แน่นอนว่าไม่มใี ครจำเป็นถึงกับต้องปรึกษาเทพพยากรณ์แห่งเดลฟี เพือ่ จะทำนายอะไรเช่นนัน้ แนวคิดทีม่ ากเกินพอดีวา่ ‘ต้องไม่มเี ด็กคนใดถูก ทิง้ ไว้ขา้ งหลัง’ (No Child Left Behind - NCLB) ซึง่ เป็นภาระงานชุดหนึง่ ของรัฐทีส่ งั่ การลงมาโดยไม่ได้สนับสนุนทางการเงิน ไม่ได้ตงั้ อยูบ่ นความ เป็นจริงด้วยซ้ำ มันมีบทบาทอย่างมากในการบ่อนทำลายขวัญกำลังใจของ ครูและปิดกั้นการสอนและการเรียนรู้ที่แท้จริง NCLB จึงเป็นผลลัพธ์ท ี่ หลีกเลี่ยงไม่ได้ของชุดความคิดที่ใส่ใจเฉพาะการชั่งและการวัดมากกว่า ความหมาย สำหรับคนทีบ่ อกว่าเราจำเป็นต้องมีการชัง่ และการวัดเพือ่ บังคับให้มี ความรับผิดชอบในการศึกษา คำตอบของผมก็คอื ใช่ แน่นอนเราต้องการ แต่เฉพาะภายใต้เงื่อนไข ๓ ประการ ซึ่งยังไม่เกิดขึ้นในปัจจุบันนี้ เรา ต้องการความมั่นใจว่า ๑. เราวัดสิ่งที่ควรค่าแก่การวัดในบริบทของการ ศึกษาทีแ่ ท้จริง ทีซ่ งึ่ การเรียนรูโ้ ดยการท่องจำมีคา่ เล็กน้อย ๒. เรารูว้ า่ จะวัด สิง่ ทีเ่ รากำหนดว่าจะวัดอย่างไร และ ๓. เราไม่ได้ให้ความสำคัญต่อสิง่ ทีว่ ดั ได้มากไปกว่าสิ่งที่สำคัญเท่าเทียมกันหรือสำคัญมากกว่าที่หลบหลีก
I
20 กล้าทีจ่ ะสอน
เครือ่ งมือวัดของเราได้ มิฉะนัน้ เราจะพบตัวเราตกอยู่ในสถานการณ์นา่ เศร้าอย่างทีผ่ มคิดว่า เราเป็น ซึง่ จอห์น ดิวอีย์ เหน็บแนมไว้เมือ่ ๗๐ ปีทแี่ ล้ว ดิวอียถ์ กู ถามว่าเขา คิดอย่างไรกับการทดสอบไอคิว คำตอบของเขาออกมาจากประสบการณ์
วัยเด็กทีอ่ ยู่ในไร่หลายปี สามารถนำมาใช้ได้กบั ‘การวัดการเรียนรู’้ หลายๆ แบบตามทีแ่ นวคิด ‘ต้องไม่มเี ด็กคนใดถูกทิง้ ไว้ขา้ งหลัง’ กำหนดไว้ ดิวอีย.์ ..เปรียบเทียบ [แบบทดสอบไอคิว] กับการเตรียมตัวของครอบครัว เขาในการเอาหมูไปขายที่ตลาด เพื่อที่จะดูว่าควรตั้งราคาหมูตัวนั้น เท่าไร ครอบครัวของเขาเอาหมูตัวนั้นไว้บนปลายด้านหนึ่งของไม้ กระดานหก แล้วเอาก้อนอิฐเรียงไว้ที่ปลายอีกด้านหนึ่งจนกระทั่งสอง ด้านสมดุลกัน “แล้วเราก็พยายามคำนวณว่าอิฐเหล่านั้นหนักเท่าไร” ดิวอียพ์ ดู ๒
วันนีเ้ ราบอกว่า แท้จริงแล้ว “เด็กคนนีม้ ที กั ษะทางภาษาหนักเท่ากับ อิฐ ๗๖ ก้อน ขณะทีอ่ กี คนหนึง่ มีทกั ษะหนักเท่าอิฐ ๘๓ ก้อน” แต่เราก็ยงั ไม่รู้ ว่าอิฐหนึง่ ก้อนหนักเท่าไร และชนิดของก้อนอิฐทีเ่ ราใช้ในบริบทหนึง่ ก็ตา่ ง จากอีกบริบทหนึง่ ! ผมอยากให้การคาดการณ์ของผมผิด ในปี ๑๙๙๗ ผม เคยถูก ทีพ่ ดู ถึงการหมกมุน่ อยูก่ บั เปลือกของการศึกษาตลอดเวลา ส่วนคำอธิบายในด้านดี ผมก็ยังพูดถูก ในประเด็นที่เกี่ยวกับวิถีของ การทำงานด้านในทีส่ ามารถช่วยครูเชือ่ มต่อกับนักเรียน (ช่วยเหลือและให้ กำลังใจในการเรียนรู)้ และเสริมพลังพวกเขาให้สามารถต้านทานอำนาจที่ คุกคามบ่อนทำลายการสอนได้ (ซึง่ NCLB เป็นเพียงตัวอย่างล่าสุดเท่านัน้ ) ในรอบทศวรรษนับจากหนังสือเล่มนี้ตีพิมพ์ออกมา ผมได้ข่าวจากครู จำนวนมากว่า แนวทางในการสอนของหนังสือเล่มนีช้ ว่ ยให้พวกเขาลงลึก ฟืน้ ฟู และจรรโลงอาชีพของตนเองไว้ได้ในช่วงเวลาทีย่ ากลำบาก และในช่วง
I
เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี 21
อนาคตอยู่ตรงนี้ วันนี้ หนึง่ ทศวรรษหลัง กล้าทีจ่ ะสอน ตีพมิ พ์ ตอนนีเ้ หตุการณ์ทมี่ คี ณ ุ ค่า ยาวนานสิบปีนนั้ ได้ ‘เกิดขึน้ อย่างเป็นทางการแล้ว’ ดูสวิ า่ ลูกแก้ววิเศษทีผ่ ม ใช้สอ่ งมองอนาคตของการศึกษา ความต้องการทีจ่ ำเป็นของครู และสิง่ ที่ ผมหวังว่าหนังสือเล่มนีจ้ ะอำนวยประโยชน์ให้นนั้ แม่นยำแค่ไหน สัญชาตญาณของผมที่บอกว่าการศึกษาจะถูกครอบงำด้วยเปลือก พืน้ ทีท่ จี่ ำเป็นต่อการประคับประคองชีวติ ภายในของครูและนักเรียนจะหด ตัวลง เป็นสิ่งที่ผมต้องกล่าวด้วยความเสียใจว่าทั้งหมดถูกต้องแม่นยำ
เกินไป แน่นอนว่าไม่มใี ครจำเป็นถึงกับต้องปรึกษาเทพพยากรณ์แห่งเดลฟี เพือ่ จะทำนายอะไรเช่นนัน้ แนวคิดทีม่ ากเกินพอดีวา่ ‘ต้องไม่มเี ด็กคนใดถูก ทิง้ ไว้ขา้ งหลัง’ (No Child Left Behind - NCLB) ซึง่ เป็นภาระงานชุดหนึง่ ของรัฐทีส่ งั่ การลงมาโดยไม่ได้สนับสนุนทางการเงิน ไม่ได้ตงั้ อยูบ่ นความ เป็นจริงด้วยซ้ำ มันมีบทบาทอย่างมากในการบ่อนทำลายขวัญกำลังใจของ ครูและปิดกั้นการสอนและการเรียนรู้ที่แท้จริง NCLB จึงเป็นผลลัพธ์ท ี่ หลีกเลี่ยงไม่ได้ของชุดความคิดที่ใส่ใจเฉพาะการชั่งและการวัดมากกว่า ความหมาย สำหรับคนทีบ่ อกว่าเราจำเป็นต้องมีการชัง่ และการวัดเพือ่ บังคับให้มี ความรับผิดชอบในการศึกษา คำตอบของผมก็คอื ใช่ แน่นอนเราต้องการ แต่เฉพาะภายใต้เงื่อนไข ๓ ประการ ซึ่งยังไม่เกิดขึ้นในปัจจุบันนี้ เรา ต้องการความมั่นใจว่า ๑. เราวัดสิ่งที่ควรค่าแก่การวัดในบริบทของการ ศึกษาทีแ่ ท้จริง ทีซ่ งึ่ การเรียนรูโ้ ดยการท่องจำมีคา่ เล็กน้อย ๒. เรารูว้ า่ จะวัด สิง่ ทีเ่ รากำหนดว่าจะวัดอย่างไร และ ๓. เราไม่ได้ให้ความสำคัญต่อสิง่ ทีว่ ดั ได้มากไปกว่าสิ่งที่สำคัญเท่าเทียมกันหรือสำคัญมากกว่าที่หลบหลีก
I
20 กล้าทีจ่ ะสอน
เครือ่ งมือวัดของเราได้ มิฉะนัน้ เราจะพบตัวเราตกอยู่ในสถานการณ์นา่ เศร้าอย่างทีผ่ มคิดว่า เราเป็น ซึง่ จอห์น ดิวอีย์ เหน็บแนมไว้เมือ่ ๗๐ ปีทแี่ ล้ว ดิวอียถ์ กู ถามว่าเขา คิดอย่างไรกับการทดสอบไอคิว คำตอบของเขาออกมาจากประสบการณ์
วัยเด็กทีอ่ ยู่ในไร่หลายปี สามารถนำมาใช้ได้กบั ‘การวัดการเรียนรู’้ หลายๆ แบบตามทีแ่ นวคิด ‘ต้องไม่มเี ด็กคนใดถูกทิง้ ไว้ขา้ งหลัง’ กำหนดไว้ ดิวอีย.์ ..เปรียบเทียบ [แบบทดสอบไอคิว] กับการเตรียมตัวของครอบครัว เขาในการเอาหมูไปขายที่ตลาด เพื่อที่จะดูว่าควรตั้งราคาหมูตัวนั้น เท่าไร ครอบครัวของเขาเอาหมูตัวนั้นไว้บนปลายด้านหนึ่งของไม้ กระดานหก แล้วเอาก้อนอิฐเรียงไว้ที่ปลายอีกด้านหนึ่งจนกระทั่งสอง ด้านสมดุลกัน “แล้วเราก็พยายามคำนวณว่าอิฐเหล่านั้นหนักเท่าไร” ดิวอียพ์ ดู ๒
วันนีเ้ ราบอกว่า แท้จริงแล้ว “เด็กคนนีม้ ที กั ษะทางภาษาหนักเท่ากับ อิฐ ๗๖ ก้อน ขณะทีอ่ กี คนหนึง่ มีทกั ษะหนักเท่าอิฐ ๘๓ ก้อน” แต่เราก็ยงั ไม่รู้ ว่าอิฐหนึง่ ก้อนหนักเท่าไร และชนิดของก้อนอิฐทีเ่ ราใช้ในบริบทหนึง่ ก็ตา่ ง จากอีกบริบทหนึง่ ! ผมอยากให้การคาดการณ์ของผมผิด ในปี ๑๙๙๗ ผม เคยถูก ทีพ่ ดู ถึงการหมกมุน่ อยูก่ บั เปลือกของการศึกษาตลอดเวลา ส่วนคำอธิบายในด้านดี ผมก็ยังพูดถูก ในประเด็นที่เกี่ยวกับวิถีของ การทำงานด้านในทีส่ ามารถช่วยครูเชือ่ มต่อกับนักเรียน (ช่วยเหลือและให้ กำลังใจในการเรียนรู)้ และเสริมพลังพวกเขาให้สามารถต้านทานอำนาจที่ คุกคามบ่อนทำลายการสอนได้ (ซึง่ NCLB เป็นเพียงตัวอย่างล่าสุดเท่านัน้ ) ในรอบทศวรรษนับจากหนังสือเล่มนี้ตีพิมพ์ออกมา ผมได้ข่าวจากครู จำนวนมากว่า แนวทางในการสอนของหนังสือเล่มนีช้ ว่ ยให้พวกเขาลงลึก ฟืน้ ฟู และจรรโลงอาชีพของตนเองไว้ได้ในช่วงเวลาทีย่ ากลำบาก และในช่วง
I
เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี 21
ต่อไปของบทเกริน่ นำนี้ ผมจะอ้างถึงงานวิจยั บางชิน้ ทีส่ นับสนุนหลักฐาน เล็กๆ น้อยๆ ของผม แต่ผมก็คดิ ผิดในเรือ่ งผูอ้ า่ นหนังสือเล่มนี้ แม้ผมจะทำงานอย่างเข้มข้น กับกลุม่ ของครูในระดับอนุบาลถึงเกรด ๑๒ หลายปีกอ่ นทีห่ นังสือนีจ้ ะตีพมิ พ์ ผมก็คดิ ว่าผูอ้ า่ นของผมเกือบทัง้ หมดน่าจะเป็นกลุม่ ครูทมี่ าจากระดับอุดมศึกษาและการศึกษาสำหรับผู้ใหญ่ นีเ่ ป็นขอบเขตของกลุม่ ทีผ่ มทำงานด้วย ในรอบ ๓ ทศวรรษ และมีชอื่ เสียงได้รบั การยอมรับในระดับหนึง่ และเป็น
กลุ่มที่หนังสือเล่มนี้หยิบยกมาเป็นตัวอย่างและฉายภาพให้เห็นมากที่สุด ดังนั้นมันจึงเป็นเหตุให้ผมประหลาดใจและยินดีที่ครูและฝ่ายบริหารของ โรงเรียนรัฐบาลจำนวนมากอ่าน กล้าที่จะสอน ซึ่งในปี ๑๙๙๗ โลกของ
พวกเขาเป็นสิง่ ทีค่ อ่ นข้างใหม่สำหรับผม ที่น่ายินดีพอๆ กันและออกจะน่าประหลาดใจด้วยซ้ำที่หนังสือเล่มนี้ ดึงดูดผูอ้ า่ นวงการอืน่ นอกเหนือจากการศึกษา ได้แก่ การแพทย์ กฎหมาย การเมือง องค์กรการกุศล ศาสนจักร และผู้นำองค์กร นับแต่หนังสือนี ้ ตีพมิ พ์ออกมา ผูค้ นต่างพากันถามผมว่า “ทำไมคุณไม่เขียนหนังสือเรือ่ ง กล้าที่จะนำ (The Courage to Lead) หรือ กล้าที่จะบริการ (Courage to Serve) หรือ กล้าทีจ่ ะเยียวยา (Courage to Heal) เพราะเนือ้ หาส่วนใหญ่ที่ คุณพูดถึงในนีส้ ามารถนำไปปรับใช้กบั งานด้านอืน่ นอกเหนือจากการสอน” ทุกๆ วิชาชีพทีด่ งึ ดูดผูค้ นด้วย ‘เหตุผลของหัวใจ’ เป็นวิชาชีพทีท่ งั้ คนและ งานทีพ่ วกเขาทำทนทุกข์จากการ ‘หมดใจ’ เช่นเดียวกับครู คนกลุม่ นีก้ ถ็ าม ว่า “ทำอย่างไรเราจึงจะมีใจอีกครัง้ เพือ่ ให้ใจเรากับคนอืน่ ได้” ซึง่ เป็นเหตุผล ทีพ่ วกเขาเลือกงานของเขาตัง้ แต่แรก แต่เรือ่ งประหลาดใจทีท่ ำให้ผมปลืม้ ทีส่ ดุ ของทศวรรษทีผ่ า่ นมาเกีย่ ว กับ กล้าทีจ่ ะสอน ก็คอื ส่วนทีเ่ ราสามารถ ‘ติดล้อ’ ให้กบั ความคิด ด้วยการ
I
22 กล้าทีจ่ ะสอน
ประดิษฐ์ยานพาหนะที่นำความคิดลงมาสู่พื้นดินและให้พาหนะในการ
เดินทางแก่ผคู้ นทีต่ อ้ งการสำรวจมัน คำว่า ‘เรา’ ของผมหมายถึงคนทีเ่ ข้าร่วมโครงการ ‘ครูกล้าสอน’ กับผม ในช่วง ๒ ปีแรก เพื่อก่อตั้งศูนย์สร้างครูให้เป็นครู (Center for Teacher Formation) ซึ่งได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น ศูนย์แห่งความกล้าหาญและฟื้นฟู
กำลังใจ (Center for Courage & Renewal)๓ เพราะความต้องการของคน ทีอ่ ยูน่ อกวงการการศึกษามีมากขึน้ ดังนัน้ ‘เรา’ จึงรวมถึง มาร์ซยี ์ แจ็คสัน และริค แจ็คสัน ผูอ้ ำนวยการร่วมซึง่ มีสว่ นในการก่อตัง้ และดำรงตำแหน่ง จนถึงปัจจุบนั , ทอม บีช, ร็อบ ลีหแ์ มน, มิกกี โอลิวนั ติ และเดวิด สลูยเ์ ตอร์ แห่งสถาบันเฟทเซอร์ และแซม อินทราเทอร์ อาจารย์ทวี่ ทิ ยาลัยสมิธ และ
เมแกน สไครบเนอร์ บรรณาธิการอิสระ ที่ทำงานหนักในการบรรณาธิกร หนังสือทีต่ อ่ เนือ่ งมาจาก กล้าทีจ่ ะสอน เป็นชุด ทำให้งานของเราโดดเด่น๔ ทุกวันนี้ศูนย์แห่งความกล้าหาญและฟื้นฟูกำลังใจ ซึ่งทำงานโดย อาศัย ‘ความร่วมมืออันกล้าหาญ’ ของวิทยากรกระบวนการ ทีผ่ า่ นการฝึก อบรมแล้ว ๑๕๐ คน ได้เสนอโครงการในประมาณ ๓๐ รัฐ และ ๕๐ เมือง เพือ่ ช่วยเหลือผูค้ นจากหลากหลายสาขาอาชีพให้ ‘เชือ่ มต่อความเป็นเขา เข้ากับงานทีพ่ วกเขาทำอีกครัง้ หนึง่ ’ สิง่ ทีพ่ วกเราเรียกว่า ‘วงจรแห่งความ เชือ่ ใจ’ ซึง่ มีจติ วิญญาณและการปฏิบตั ทิ ไี่ ม่แตกต่างแต่อย่างใดกับวงจรของ ครูทพี่ บปะกันทีส่ ถาบันเฟทเซอร์ ในช่วงปี ๑๙๙๔-๑๙๙๖ ศูนย์นที้ ำงานกับ แพทย์ ทนายความ นักบวช ผูบ้ ริหารมูลนิธิ นักการเมือง และผูน้ ำองค์กร
ไม่แสวงหาผลกำไร ในขณะที่ขยายงานหลักออกไปสู่ครูระดับอนุบาลถึง เกรด ๑๒ อย่างต่อเนือ่ ง๕ ดังที่ผมกล่าวไว้ในบทส่งท้าย หลายสิ่งหลายอย่างที่เกิดขึ้นในรอบ ทศวรรษทีผ่ า่ นมาเป็นการยืนยันและพัฒนาจุดเน้นของหนังสือเล่มนีเ้ รือ่ ง
I
เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี 23
ต่อไปของบทเกริน่ นำนี้ ผมจะอ้างถึงงานวิจยั บางชิน้ ทีส่ นับสนุนหลักฐาน เล็กๆ น้อยๆ ของผม แต่ผมก็คดิ ผิดในเรือ่ งผูอ้ า่ นหนังสือเล่มนี้ แม้ผมจะทำงานอย่างเข้มข้น กับกลุม่ ของครูในระดับอนุบาลถึงเกรด ๑๒ หลายปีกอ่ นทีห่ นังสือนีจ้ ะตีพมิ พ์ ผมก็คดิ ว่าผูอ้ า่ นของผมเกือบทัง้ หมดน่าจะเป็นกลุม่ ครูทมี่ าจากระดับอุดมศึกษาและการศึกษาสำหรับผู้ใหญ่ นีเ่ ป็นขอบเขตของกลุม่ ทีผ่ มทำงานด้วย ในรอบ ๓ ทศวรรษ และมีชอื่ เสียงได้รบั การยอมรับในระดับหนึง่ และเป็น
กลุ่มที่หนังสือเล่มนี้หยิบยกมาเป็นตัวอย่างและฉายภาพให้เห็นมากที่สุด ดังนั้นมันจึงเป็นเหตุให้ผมประหลาดใจและยินดีที่ครูและฝ่ายบริหารของ โรงเรียนรัฐบาลจำนวนมากอ่าน กล้าที่จะสอน ซึ่งในปี ๑๙๙๗ โลกของ
พวกเขาเป็นสิง่ ทีค่ อ่ นข้างใหม่สำหรับผม ที่น่ายินดีพอๆ กันและออกจะน่าประหลาดใจด้วยซ้ำที่หนังสือเล่มนี้ ดึงดูดผูอ้ า่ นวงการอืน่ นอกเหนือจากการศึกษา ได้แก่ การแพทย์ กฎหมาย การเมือง องค์กรการกุศล ศาสนจักร และผู้นำองค์กร นับแต่หนังสือนี ้ ตีพมิ พ์ออกมา ผูค้ นต่างพากันถามผมว่า “ทำไมคุณไม่เขียนหนังสือเรือ่ ง กล้าที่จะนำ (The Courage to Lead) หรือ กล้าที่จะบริการ (Courage to Serve) หรือ กล้าทีจ่ ะเยียวยา (Courage to Heal) เพราะเนือ้ หาส่วนใหญ่ที่ คุณพูดถึงในนีส้ ามารถนำไปปรับใช้กบั งานด้านอืน่ นอกเหนือจากการสอน” ทุกๆ วิชาชีพทีด่ งึ ดูดผูค้ นด้วย ‘เหตุผลของหัวใจ’ เป็นวิชาชีพทีท่ งั้ คนและ งานทีพ่ วกเขาทำทนทุกข์จากการ ‘หมดใจ’ เช่นเดียวกับครู คนกลุม่ นีก้ ถ็ าม ว่า “ทำอย่างไรเราจึงจะมีใจอีกครัง้ เพือ่ ให้ใจเรากับคนอืน่ ได้” ซึง่ เป็นเหตุผล ทีพ่ วกเขาเลือกงานของเขาตัง้ แต่แรก แต่เรือ่ งประหลาดใจทีท่ ำให้ผมปลืม้ ทีส่ ดุ ของทศวรรษทีผ่ า่ นมาเกีย่ ว กับ กล้าทีจ่ ะสอน ก็คอื ส่วนทีเ่ ราสามารถ ‘ติดล้อ’ ให้กบั ความคิด ด้วยการ
I
22 กล้าทีจ่ ะสอน
ประดิษฐ์ยานพาหนะที่นำความคิดลงมาสู่พื้นดินและให้พาหนะในการ
เดินทางแก่ผคู้ นทีต่ อ้ งการสำรวจมัน คำว่า ‘เรา’ ของผมหมายถึงคนทีเ่ ข้าร่วมโครงการ ‘ครูกล้าสอน’ กับผม ในช่วง ๒ ปีแรก เพื่อก่อตั้งศูนย์สร้างครูให้เป็นครู (Center for Teacher Formation) ซึ่งได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น ศูนย์แห่งความกล้าหาญและฟื้นฟู
กำลังใจ (Center for Courage & Renewal)๓ เพราะความต้องการของคน ทีอ่ ยูน่ อกวงการการศึกษามีมากขึน้ ดังนัน้ ‘เรา’ จึงรวมถึง มาร์ซยี ์ แจ็คสัน และริค แจ็คสัน ผูอ้ ำนวยการร่วมซึง่ มีสว่ นในการก่อตัง้ และดำรงตำแหน่ง จนถึงปัจจุบนั , ทอม บีช, ร็อบ ลีหแ์ มน, มิกกี โอลิวนั ติ และเดวิด สลูยเ์ ตอร์ แห่งสถาบันเฟทเซอร์ และแซม อินทราเทอร์ อาจารย์ทวี่ ทิ ยาลัยสมิธ และ
เมแกน สไครบเนอร์ บรรณาธิการอิสระ ที่ทำงานหนักในการบรรณาธิกร หนังสือทีต่ อ่ เนือ่ งมาจาก กล้าทีจ่ ะสอน เป็นชุด ทำให้งานของเราโดดเด่น๔ ทุกวันนี้ศูนย์แห่งความกล้าหาญและฟื้นฟูกำลังใจ ซึ่งทำงานโดย อาศัย ‘ความร่วมมืออันกล้าหาญ’ ของวิทยากรกระบวนการ ทีผ่ า่ นการฝึก อบรมแล้ว ๑๕๐ คน ได้เสนอโครงการในประมาณ ๓๐ รัฐ และ ๕๐ เมือง เพือ่ ช่วยเหลือผูค้ นจากหลากหลายสาขาอาชีพให้ ‘เชือ่ มต่อความเป็นเขา เข้ากับงานทีพ่ วกเขาทำอีกครัง้ หนึง่ ’ สิง่ ทีพ่ วกเราเรียกว่า ‘วงจรแห่งความ เชือ่ ใจ’ ซึง่ มีจติ วิญญาณและการปฏิบตั ทิ ไี่ ม่แตกต่างแต่อย่างใดกับวงจรของ ครูทพี่ บปะกันทีส่ ถาบันเฟทเซอร์ ในช่วงปี ๑๙๙๔-๑๙๙๖ ศูนย์นที้ ำงานกับ แพทย์ ทนายความ นักบวช ผูบ้ ริหารมูลนิธิ นักการเมือง และผูน้ ำองค์กร
ไม่แสวงหาผลกำไร ในขณะที่ขยายงานหลักออกไปสู่ครูระดับอนุบาลถึง เกรด ๑๒ อย่างต่อเนือ่ ง๕ ดังที่ผมกล่าวไว้ในบทส่งท้าย หลายสิ่งหลายอย่างที่เกิดขึ้นในรอบ ทศวรรษทีผ่ า่ นมาเป็นการยืนยันและพัฒนาจุดเน้นของหนังสือเล่มนีเ้ รือ่ ง
I
เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี 23
ชีวติ ภายในของครูและผูเ้ รียน หนึง่ ในพัฒนาการหลายๆ อย่างคือ งานศึกษา วิจยั ในปี ๒๐๐๒ ของแอนโทนี่ บริค และบาร์บารา ชไนเดอร์ ทีต่ พี มิ พ์ในชือ่ ความเชื่อใจในโรงเรียน: ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนา (Trust in Schools: A Core Resource for Improvement)๖ ได้รบั ทุนสนับสนุนจาก มูลนิธิรัสเซล เซจ นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยชิคาโกคู่นี้ “เริ่มงานตอน
ต้นทศวรรษ ๑๙๙๐ เพือ่ สำรวจพลวัตของการปฏิรปู ทีป่ รากฏในโรงเรียนที ่ ชิคาโก หลังจากที่กฎหมายปี ๑๙๘๘ ฉบับหนึ่งที่มุ่งกระจายอำนาจการ บริหารโรงเรียนอย่างจริงจังมีผลบังคับใช้”๗ ด้วยความเชือ่ ว่า ‘ความไว้วางใจในความสัมพันธ์’ (relational trust) เป็นปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อความสำเร็จของโรงเรียนทีส่ ำคัญยิง่ แต่ถกู ละเลย บริค และชไนเดอร์ได้ศกึ ษาถึงผลกระทบของตัวแปรต่อสัมฤทธิผลของนักเรียน ซึง่ วัดผลโดยแบบทดสอบมาตรฐานโดยเปรียบเทียบ “การดำเนินงานของ โรงเรียนที่มีความไว้วางใจให้กันระดับสูง กับโรงเรียนที่ความสัมพันธ์ใน โรงเรียนไม่เข้มแข็งนัก” ดังทีม่ กี ารรายงานไว้ใน Education Week: พวกเขาพบว่าโรงเรียนที่มีผลการเรียนการสอนที่อยู่ในควอไทล์สูงสุด ของผลคะแนนจากแบบทดสอบมาตรฐาน ส่วนใหญ่จะเป็นโรงเรียนทีม่ ี ระดับของความไว้วางใจกันสูงกว่าโรงเรียนทีค่ า่ การวัดผลอยู่ในควอไทล์ ต่ำสุด นอกจากนีย้ งั ทำการสำรวจโรงเรียน ๑๐๐ แห่งที่ได้คะแนนสอบ ของแบบทดสอบมาตรฐานสูงสุดและต่ำสุดในแต่ละปี ระหว่างปี ๑๙๙๑ ๑๙๙๖ และจับคูผ่ ลทีอ่ อกมากับข้อมูลจากการสำรวจครูในประเด็นความ สัมพันธ์อย่างไว้วางใจกัน พวกเขาพบว่าโรงเรียนทีร่ ายงานว่ามีความสัมพันธ์แบบไว้วางใจกัน อย่างสูงในปี ๑๙๙๔ มีพัฒนาการของคะแนนในวิชาการอ่านและ คณิตศาสตร์สงู กว่าโรงเรียนทีม่ รี ะดับความไว้วางใจต่ำถึง ๓ เท่า และใน ปี ๑๙๙๗ โรงเรียนที่มีระดับของความไว้วางใจกันสูงมีโอกาส ๑ ใน ๒
I
24 กล้าทีจ่ ะสอน
ที่จะอยู่ ในกลุ่ม ‘กำลังพัฒนา’ เมื่อเทียบกับโรงเรียนที่มีระดับความ
ไว้วางใจต่ำซึง่ มีโอกาสเพียง ๑ ใน ๗ โรงเรียนทีม่ รี ายงานว่าบุคลากรมี ความไว้วางใจกันในระดับต่ำ ทั้งในปี ๑๙๙๔ และ ๑๙๙๗ “แทบไม่มี โอกาสที่จะแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทั้งการอ่านและคณิตศาสตร์”
ผูเ้ ขียนกล่าว๘
บริคและชไนเดอร์ยังพบด้วยว่าความสัมพันธ์ที่ ไว้วางใจกัน ทั้ง ระหว่างครูกบั ฝ่ายบริหาร ครูกบั ครู และครูกบั ผูป้ กครอง มีพลังทีจ่ ะชดเชย ปัจจัยภายนอกที่ปกติจะคิดกันว่าเป็นปัจจัยเบื้องต้นที่กำหนดขีดความ สามารถของโรงเรียนในการให้บริการนักเรียน “การปรับปรุงผลิตภาพทาง วิชาการมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นน้อยมากในโรงเรียนที่มีระดับของความ ยากจนสูง มีการแบ่งแยกเชือ้ ชาติ และมีการย้ายเข้าออกของนักเรียนบ่อย แต่ [ผูว้ จิ ยั ] บอกว่าสหสัมพันธ์ระหว่าง [ความสัมพันธ์ทมี่ ]ี ความไว้วางใจกัน กับผลลัพธ์ทางการเรียนของนักเรียนยังคงอยู่ แม้จะมีการควบคุมตัวแปร เหล่านัน้ แล้วก็ตาม”๙ หากความสามารถในการสอนนักเรียนให้ดี ขึน้ อยูอ่ ย่างมากกับความ สัมพันธ์ที่ไว้วางใจกัน แล้วความสัมพันธ์ที่ไว้วางใจกันขึ้นอยู่กับอะไร แน่นอนว่ามันขึน้ อยูก่ บั ความสามารถของครูในการ ‘สำรวจภูมทิ ศั น์ภายใน’ ของชีวติ ตนเอง เรียนรูท้ จี่ ะฝ่าสภาพลุม่ ๆ ดอนๆ เพือ่ คงความไว้วางใจเอาไว้ ความสัมพันธ์ทมี่ คี วามไว้วางใจกันสร้างขึน้ บนอารมณ์ความรูส้ กึ ของ หัวใจมนุษย์ เช่น การเข้าใจความรูส้ กึ ผูอ้ นื่ ความมุง่ มัน่ ความเห็นอกเห็นใจ กัน ความอดทน และความสามารถในการให้อภัย หากการทำงานภายใน ซึง่ จำเป็นต่อการปลูกฝังอารมณ์ความรูส้ กึ เหล่านัน้ และคอยขัดขวางอะไร ก็ตามที่มาบั่นทอนมันถูกมองว่ามีความสำคัญต่อความสำเร็จทางการ ศึกษา และหากไม่มีการสนับสนุนของสถาบันต่อการทำงานด้านในนั้น
I
เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี 25
ชีวติ ภายในของครูและผูเ้ รียน หนึง่ ในพัฒนาการหลายๆ อย่างคือ งานศึกษา วิจยั ในปี ๒๐๐๒ ของแอนโทนี่ บริค และบาร์บารา ชไนเดอร์ ทีต่ พี มิ พ์ในชือ่ ความเชื่อใจในโรงเรียน: ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนา (Trust in Schools: A Core Resource for Improvement)๖ ได้รบั ทุนสนับสนุนจาก มูลนิธิรัสเซล เซจ นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยชิคาโกคู่นี้ “เริ่มงานตอน
ต้นทศวรรษ ๑๙๙๐ เพือ่ สำรวจพลวัตของการปฏิรปู ทีป่ รากฏในโรงเรียนที ่ ชิคาโก หลังจากที่กฎหมายปี ๑๙๘๘ ฉบับหนึ่งที่มุ่งกระจายอำนาจการ บริหารโรงเรียนอย่างจริงจังมีผลบังคับใช้”๗ ด้วยความเชือ่ ว่า ‘ความไว้วางใจในความสัมพันธ์’ (relational trust) เป็นปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อความสำเร็จของโรงเรียนทีส่ ำคัญยิง่ แต่ถกู ละเลย บริค และชไนเดอร์ได้ศกึ ษาถึงผลกระทบของตัวแปรต่อสัมฤทธิผลของนักเรียน ซึง่ วัดผลโดยแบบทดสอบมาตรฐานโดยเปรียบเทียบ “การดำเนินงานของ โรงเรียนที่มีความไว้วางใจให้กันระดับสูง กับโรงเรียนที่ความสัมพันธ์ใน โรงเรียนไม่เข้มแข็งนัก” ดังทีม่ กี ารรายงานไว้ใน Education Week: พวกเขาพบว่าโรงเรียนที่มีผลการเรียนการสอนที่อยู่ในควอไทล์สูงสุด ของผลคะแนนจากแบบทดสอบมาตรฐาน ส่วนใหญ่จะเป็นโรงเรียนทีม่ ี ระดับของความไว้วางใจกันสูงกว่าโรงเรียนทีค่ า่ การวัดผลอยู่ในควอไทล์ ต่ำสุด นอกจากนีย้ งั ทำการสำรวจโรงเรียน ๑๐๐ แห่งที่ได้คะแนนสอบ ของแบบทดสอบมาตรฐานสูงสุดและต่ำสุดในแต่ละปี ระหว่างปี ๑๙๙๑ ๑๙๙๖ และจับคูผ่ ลทีอ่ อกมากับข้อมูลจากการสำรวจครูในประเด็นความ สัมพันธ์อย่างไว้วางใจกัน พวกเขาพบว่าโรงเรียนทีร่ ายงานว่ามีความสัมพันธ์แบบไว้วางใจกัน อย่างสูงในปี ๑๙๙๔ มีพัฒนาการของคะแนนในวิชาการอ่านและ คณิตศาสตร์สงู กว่าโรงเรียนทีม่ รี ะดับความไว้วางใจต่ำถึง ๓ เท่า และใน ปี ๑๙๙๗ โรงเรียนที่มีระดับของความไว้วางใจกันสูงมีโอกาส ๑ ใน ๒
I
24 กล้าทีจ่ ะสอน
ที่จะอยู่ ในกลุ่ม ‘กำลังพัฒนา’ เมื่อเทียบกับโรงเรียนที่มีระดับความ
ไว้วางใจต่ำซึง่ มีโอกาสเพียง ๑ ใน ๗ โรงเรียนทีม่ รี ายงานว่าบุคลากรมี ความไว้วางใจกันในระดับต่ำ ทั้งในปี ๑๙๙๔ และ ๑๙๙๗ “แทบไม่มี โอกาสที่จะแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทั้งการอ่านและคณิตศาสตร์”
ผูเ้ ขียนกล่าว๘
บริคและชไนเดอร์ยังพบด้วยว่าความสัมพันธ์ที่ ไว้วางใจกัน ทั้ง ระหว่างครูกบั ฝ่ายบริหาร ครูกบั ครู และครูกบั ผูป้ กครอง มีพลังทีจ่ ะชดเชย ปัจจัยภายนอกที่ปกติจะคิดกันว่าเป็นปัจจัยเบื้องต้นที่กำหนดขีดความ สามารถของโรงเรียนในการให้บริการนักเรียน “การปรับปรุงผลิตภาพทาง วิชาการมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นน้อยมากในโรงเรียนที่มีระดับของความ ยากจนสูง มีการแบ่งแยกเชือ้ ชาติ และมีการย้ายเข้าออกของนักเรียนบ่อย แต่ [ผูว้ จิ ยั ] บอกว่าสหสัมพันธ์ระหว่าง [ความสัมพันธ์ทมี่ ]ี ความไว้วางใจกัน กับผลลัพธ์ทางการเรียนของนักเรียนยังคงอยู่ แม้จะมีการควบคุมตัวแปร เหล่านัน้ แล้วก็ตาม”๙ หากความสามารถในการสอนนักเรียนให้ดี ขึน้ อยูอ่ ย่างมากกับความ สัมพันธ์ที่ไว้วางใจกัน แล้วความสัมพันธ์ที่ไว้วางใจกันขึ้นอยู่กับอะไร แน่นอนว่ามันขึน้ อยูก่ บั ความสามารถของครูในการ ‘สำรวจภูมทิ ศั น์ภายใน’ ของชีวติ ตนเอง เรียนรูท้ จี่ ะฝ่าสภาพลุม่ ๆ ดอนๆ เพือ่ คงความไว้วางใจเอาไว้ ความสัมพันธ์ทมี่ คี วามไว้วางใจกันสร้างขึน้ บนอารมณ์ความรูส้ กึ ของ หัวใจมนุษย์ เช่น การเข้าใจความรูส้ กึ ผูอ้ นื่ ความมุง่ มัน่ ความเห็นอกเห็นใจ กัน ความอดทน และความสามารถในการให้อภัย หากการทำงานภายใน ซึง่ จำเป็นต่อการปลูกฝังอารมณ์ความรูส้ กึ เหล่านัน้ และคอยขัดขวางอะไร ก็ตามที่มาบั่นทอนมันถูกมองว่ามีความสำคัญต่อความสำเร็จทางการ ศึกษา และหากไม่มีการสนับสนุนของสถาบันต่อการทำงานด้านในนั้น
I
เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี 25
ตัวแปรสำคัญจะเข้ามามีบทบาททันที เรารู้อยู่แล้วว่าอะไรจะเกิดขึ้นใน วัฒนธรรมทีค่ วามไว้วางใจกันถูกกัดกร่อนอย่างต่อเนือ่ ง งานวิจยั ของบริคและชไนเดอร์ทำให้เกิดคุณปู การอย่างใหญ่หลวง แต่ ผมจำเป็นต้องพูด ไม่ใช่วจิ ารณ์งานของพวกเขา แต่วจิ ารณ์ความคิดจิตใจ ของเราเอง ว่างานวิจยั เรือ่ ง ความไว้วางใจในโรงเรียน เปิดเผยความลับที่ ซ่อนอยูต่ อ่ สายตาทัว่ ไป มีใครบ้างที่ไม่รวู้ า่ คุณสามารถทุม่ วิธกี ารทีด่ ที สี่ ดุ อุปกรณ์ทนั สมัยทีส่ ดุ และเงินจำนวนมหาศาล ไปให้คนทีไ่ ม่ไว้วางใจกันและ กัน และได้ผลลัพธ์ทนี่ า่ สังเวช ใครบ้างที่ไม่รวู้ า่ คนที่ไว้ใจกันและกัน และ ร่วมมือกันได้อย่างดี สามารถทำงานได้โดดเด่นเป็นพิเศษทัง้ ทีข่ าดแคลน ทรัพยากร เราทุกคนรูเ้ รือ่ งราวเหล่านีท้ งั้ ทีเ่ ป็นเรือ่ งส่วนตัวและประสบการณ์ตรง แต่ในชีวติ สาธารณะของพวกเรา เรากลับไม่ให้คา่ กับสิง่ ทีเ่ รารู้ จริงๆ แล้ว เราปฏิเสธมันอย่างแข็งขัน การยอมจำนนตลอดกาลต่อมายาภาพของ สถาบันทีว่ า่ ตรรกะแห่งหัวใจมนุษย์ไม่มคี วามสัมพันธ์กบั ปฏิบตั กิ ารใน ‘โลก ทีเ่ ป็นจริง’ ทีจ่ ะต้องผลิต ‘ผลกำไร’ ทีโ่ ดดเด่นให้ได้ มันยากทีจ่ ะรูว้ า่ จะเรียก การตัดขาดนี้ หรือการปฏิเสธนี้ ว่าเป็นการแพ้ภยั ตัวเอง หรืองีเ่ ง่า หรือน่า สลดใจ หรือเรียกง่ายๆ ว่าโง่เขลาเบาปัญญาดี ผมคิดว่ามันอาจจะทุกคำ
นัน่ แหละ และอีกบางคำทีแ่ รงจริงๆ จึงจะใช้เรียกความวิปลาสเชิงสถาบันนีไ้ ด้ ผมรู้สึกขอบคุณบริคและชไนเดอร์ที่เร่งเสนอการค้นพบของเขาสู่ สาธารณะ โดยแนะนำผู้ตัดสินใจระดับนโยบายด้านการศึกษาให้ตอบรับ ‘ความสำคัญของการไว้วางใจในการขับเคลื่อนเพื่อให้เกิดผล’ พวกเขา เขียนไว้วา่ “จากมุมมองเชิงนโยบาย เราจำเป็นต้องถามตลอดเวลาว่าการ ริเริม่ สิง่ ใหม่แต่ละอย่างนัน้ มีแนวโน้มส่งเสริมความสัมพันธ์อย่างไว้วางใจ กันภายในสังคมโรงเรียน หรือทำลายมันกันแน่”๑๐
I
26 กล้าทีจ่ ะสอน
เราอาจเริม่ กระบวนการนัน้ ด้วยการมองทีผ่ ลกระทบของโครงการไม่มี เด็กคนใดถูกทิ้งไว้ข้างหลัง ที่มีต่อความไว้วางใจในความสัมพันธ์ภายใน โรงเรียนของเรา เมือ่ เรามองเห็นความเสียหายทีม่ นั ก่อขึน้ แล้ว และเข้าใจ ว่าเกิดอะไรขึ้นกับความสามารถของสถาบันในการปฏิบัติพันธกิจเมื่อเรา ละเลยพลวัตของหัวใจ เราอาจเรียนรูว้ า่ จะวางนโยบายอย่างไรทีจ่ ะรับผิด ชอบต่อสัญญาทีแ่ ท้จริงในการปฏิรปู การศึกษา เพราะนโยบายซึง่ ถูกจริตกับ ‘ธรรมชาติใฝ่ดีของเรา’ มีพื้นฐานมาจากสามัญสำนึกเกี่ยวกับการทำงาน ของโลก และให้ความสำคัญอย่างจริงจังกับภูมทิ ศั น์ภายในของชีวติ ครู ด้วยความขอบคุณ ท้ายทีส่ ดุ มีคำพูดคำหนึง่ สำหรับผูอ้ า่ นของผม ขอบคุณครับ! ขอบคุณทีซ่ อื้ กล้าทีจ่ ะสอน ฉบับพิมพ์ครัง้ แรกมากกว่า ๓ แสนเล่ม และแบ่งปันมันให้กบั นักเรียน เพือ่ นร่วมงาน และมิตรสหาย ทีส่ ำคัญยิง่ กว่านัน้ ขอบคุณทีน่ ำ วิสยั ทัศน์ในการสอนและการเรียนรูข้ องหนังสือนีอ้ อกจากหน้ากระดาษไปสู่ การปฏิบตั จิ ริง วันนี้ ผมมีความหวังกับความเป็นไปได้ของการปฏิรปู การศึกษามาก เสียยิง่ กว่าทีผ่ มเคยมีเมือ่ ๑๐ ปีทแี่ ล้ว เพราะหนังสือเล่มนีช้ กั นำให้ผมรูจ้ กั ผูค้ นมากมาย ทัง้ ทีเ่ ป็นครู เป็นผูบ้ ริหาร และนักปฏิรปู คนทีม่ คี วามห่วงใย อย่างลึกซึง้ ต่อการศึกษา โรงเรียน และผูเ้ รียนทีพ่ วกเขาตัง้ ใจช่วยเหลือ คน ทีเ่ ต็มใจแบกรับความเสีย่ งจากการกระทำด้วยความปรารถนาแรงกล้าของ ตนเอง ด้วยความหวังนัน้ ผมจึงได้เขียนบทส่งท้ายสำหรับการพิมพ์ในครัง้ นี้ ในชื่อว่า ‘นักวิชาชีพรุ่นใหม่: การศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลง’ (The New
I
เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี 27
ตัวแปรสำคัญจะเข้ามามีบทบาททันที เรารู้อยู่แล้วว่าอะไรจะเกิดขึ้นใน วัฒนธรรมทีค่ วามไว้วางใจกันถูกกัดกร่อนอย่างต่อเนือ่ ง งานวิจยั ของบริคและชไนเดอร์ทำให้เกิดคุณปู การอย่างใหญ่หลวง แต่ ผมจำเป็นต้องพูด ไม่ใช่วจิ ารณ์งานของพวกเขา แต่วจิ ารณ์ความคิดจิตใจ ของเราเอง ว่างานวิจยั เรือ่ ง ความไว้วางใจในโรงเรียน เปิดเผยความลับที่ ซ่อนอยูต่ อ่ สายตาทัว่ ไป มีใครบ้างที่ไม่รวู้ า่ คุณสามารถทุม่ วิธกี ารทีด่ ที สี่ ดุ อุปกรณ์ทนั สมัยทีส่ ดุ และเงินจำนวนมหาศาล ไปให้คนทีไ่ ม่ไว้วางใจกันและ กัน และได้ผลลัพธ์ทนี่ า่ สังเวช ใครบ้างที่ไม่รวู้ า่ คนที่ไว้ใจกันและกัน และ ร่วมมือกันได้อย่างดี สามารถทำงานได้โดดเด่นเป็นพิเศษทัง้ ทีข่ าดแคลน ทรัพยากร เราทุกคนรูเ้ รือ่ งราวเหล่านีท้ งั้ ทีเ่ ป็นเรือ่ งส่วนตัวและประสบการณ์ตรง แต่ในชีวติ สาธารณะของพวกเรา เรากลับไม่ให้คา่ กับสิง่ ทีเ่ รารู้ จริงๆ แล้ว เราปฏิเสธมันอย่างแข็งขัน การยอมจำนนตลอดกาลต่อมายาภาพของ สถาบันทีว่ า่ ตรรกะแห่งหัวใจมนุษย์ไม่มคี วามสัมพันธ์กบั ปฏิบตั กิ ารใน ‘โลก ทีเ่ ป็นจริง’ ทีจ่ ะต้องผลิต ‘ผลกำไร’ ทีโ่ ดดเด่นให้ได้ มันยากทีจ่ ะรูว้ า่ จะเรียก การตัดขาดนี้ หรือการปฏิเสธนี้ ว่าเป็นการแพ้ภยั ตัวเอง หรืองีเ่ ง่า หรือน่า สลดใจ หรือเรียกง่ายๆ ว่าโง่เขลาเบาปัญญาดี ผมคิดว่ามันอาจจะทุกคำ
นัน่ แหละ และอีกบางคำทีแ่ รงจริงๆ จึงจะใช้เรียกความวิปลาสเชิงสถาบันนีไ้ ด้ ผมรู้สึกขอบคุณบริคและชไนเดอร์ที่เร่งเสนอการค้นพบของเขาสู่ สาธารณะ โดยแนะนำผู้ตัดสินใจระดับนโยบายด้านการศึกษาให้ตอบรับ ‘ความสำคัญของการไว้วางใจในการขับเคลื่อนเพื่อให้เกิดผล’ พวกเขา เขียนไว้วา่ “จากมุมมองเชิงนโยบาย เราจำเป็นต้องถามตลอดเวลาว่าการ ริเริม่ สิง่ ใหม่แต่ละอย่างนัน้ มีแนวโน้มส่งเสริมความสัมพันธ์อย่างไว้วางใจ กันภายในสังคมโรงเรียน หรือทำลายมันกันแน่”๑๐
I
26 กล้าทีจ่ ะสอน
เราอาจเริม่ กระบวนการนัน้ ด้วยการมองทีผ่ ลกระทบของโครงการไม่มี เด็กคนใดถูกทิ้งไว้ข้างหลัง ที่มีต่อความไว้วางใจในความสัมพันธ์ภายใน โรงเรียนของเรา เมือ่ เรามองเห็นความเสียหายทีม่ นั ก่อขึน้ แล้ว และเข้าใจ ว่าเกิดอะไรขึ้นกับความสามารถของสถาบันในการปฏิบัติพันธกิจเมื่อเรา ละเลยพลวัตของหัวใจ เราอาจเรียนรูว้ า่ จะวางนโยบายอย่างไรทีจ่ ะรับผิด ชอบต่อสัญญาทีแ่ ท้จริงในการปฏิรปู การศึกษา เพราะนโยบายซึง่ ถูกจริตกับ ‘ธรรมชาติใฝ่ดีของเรา’ มีพื้นฐานมาจากสามัญสำนึกเกี่ยวกับการทำงาน ของโลก และให้ความสำคัญอย่างจริงจังกับภูมทิ ศั น์ภายในของชีวติ ครู ด้วยความขอบคุณ ท้ายทีส่ ดุ มีคำพูดคำหนึง่ สำหรับผูอ้ า่ นของผม ขอบคุณครับ! ขอบคุณทีซ่ อื้ กล้าทีจ่ ะสอน ฉบับพิมพ์ครัง้ แรกมากกว่า ๓ แสนเล่ม และแบ่งปันมันให้กบั นักเรียน เพือ่ นร่วมงาน และมิตรสหาย ทีส่ ำคัญยิง่ กว่านัน้ ขอบคุณทีน่ ำ วิสยั ทัศน์ในการสอนและการเรียนรูข้ องหนังสือนีอ้ อกจากหน้ากระดาษไปสู่ การปฏิบตั จิ ริง วันนี้ ผมมีความหวังกับความเป็นไปได้ของการปฏิรปู การศึกษามาก เสียยิง่ กว่าทีผ่ มเคยมีเมือ่ ๑๐ ปีทแี่ ล้ว เพราะหนังสือเล่มนีช้ กั นำให้ผมรูจ้ กั ผูค้ นมากมาย ทัง้ ทีเ่ ป็นครู เป็นผูบ้ ริหาร และนักปฏิรปู คนทีม่ คี วามห่วงใย อย่างลึกซึง้ ต่อการศึกษา โรงเรียน และผูเ้ รียนทีพ่ วกเขาตัง้ ใจช่วยเหลือ คน ทีเ่ ต็มใจแบกรับความเสีย่ งจากการกระทำด้วยความปรารถนาแรงกล้าของ ตนเอง ด้วยความหวังนัน้ ผมจึงได้เขียนบทส่งท้ายสำหรับการพิมพ์ในครัง้ นี้ ในชื่อว่า ‘นักวิชาชีพรุ่นใหม่: การศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลง’ (The New
I
เกริน่ นำ สำหรับการพิมพ์ครบรอบ ๑๐ ปี 27
Professional : Education for Transformation) ในนัน้ ผมได้สำรวจวิธกี าร ต่างๆ ในการให้การศึกษาแก่คนแบบที่เราต้องการ เพื่อให้ทุกสาขาอาชีพ ทำงานรับใช้โลกด้วยดีแบบมืออาชีพ นักวิชาชีพรุน่ ใหม่จะไม่เพียงเชีย่ วชาญในสาขาอาชีพทีต่ นถนัด เช่น การสอน การแพทย์ หรือด้านกฎหมาย เท่านั้น แต่เขาหรือเธอยังมีทักษะและความตั้งใจที่จะช่วยเปลี่ยนแปลง สถาบันอันเป็นทีต่ งั้ ของงานนัน้ ๆ สถาบันทีบ่ อ่ ยครัง้ เป็นภัยต่อมาตรฐานขัน้ สูงสุดของวิชาชีพ ดังทีผ่ อู้ า่ นหนังสือเล่มนีจ้ ำนวนมากได้เป็นพยานยืนยันว่า ‘การสำรวจ ภูมิทัศน์ภายในของชีวิตของครู’ เอื้อให้พวกเรากลับคืน ฝังตัว และฟื้นฟู
ภูมิทัศน์ภายนอกของชีวิตเรา การมีใจให้กับงานที่เรียกร้องเรา ทำให้เรา สามารถให้หวั ใจแก่นกั เรียนของเรา เพือ่ นร่วมงานของเรา โรงเรียนของเรา และโลกของเราอีกครัง้ หนึง่ โลกทีค่ วามโหดร้ายจะยอมอ่อนข้อให้เฉพาะกับ พรสวรรค์และความดีงามทีอ่ อกมาจากภายในเท่านัน้
I
28 กล้าทีจ่ ะสอน
ค ำ ข อ บ คุ ณ
ในปี ๑๙๘๓ ผมได้พมิ พ์หนังสือ To Know as We Are Known: Education as a Spiritual Journey หนังสือเล่มนัน้ เปิดโอกาสให้ผมได้พบและทำงาน กับครูที่ทำงานในหลากหลายบริบททั่วประเทศ ทั้งวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย โรงเรียนรัฐบาล โครงการการศึกษาต่อเนื่อง ศูนย์พักฟื้นจิตใจ (retreat center) สถาบันทางศาสนา และ ‘องค์กรการเรียนรู้’ ของหลาย สังกัด ทั้งภาคธุรกิจ มูลนิธิ และกลุ่มต่างๆ ที่ทำงานเพื่อการเปลี่ยนแปลง สังคม ในการพูดคุยแลกเปลี่ยนกับนักการศึกษาที่โดดเด่นเหล่านี้ ผมถูก ท้าทายให้เขียนหนังสือทีจ่ ะไปไกลกว่า To Know as We Are Known ใน สองประเด็นคือ น่าจะคงจุดเน้นเดิมเรือ่ งการสอนไว้ และมีแนวทางในการ เข้าถึงชีวติ ภายในทีเ่ ปิดให้เห็นหนทางทีห่ ลากหลายของครูผอู้ ทุ ศิ ตนทีผ่ ม ได้พบมา กล้าทีจ่ ะสอน คือหนังสือเล่มนัน้ และผมต้องขอขอบคุณทุกคนที่ มีบางอย่างร่วมกันทีช่ ว่ ยสนับสนุนผมตลอดเส้นทาง ขอบคุณเป็นพิเศษสำหรับโรเบิร์ต เอฟ. ลีห์แมน ประธานสถาบัน
I
คำขอบคุณ 29
Professional : Education for Transformation) ในนัน้ ผมได้สำรวจวิธกี าร ต่างๆ ในการให้การศึกษาแก่คนแบบที่เราต้องการ เพื่อให้ทุกสาขาอาชีพ ทำงานรับใช้โลกด้วยดีแบบมืออาชีพ นักวิชาชีพรุน่ ใหม่จะไม่เพียงเชีย่ วชาญในสาขาอาชีพทีต่ นถนัด เช่น การสอน การแพทย์ หรือด้านกฎหมาย เท่านั้น แต่เขาหรือเธอยังมีทักษะและความตั้งใจที่จะช่วยเปลี่ยนแปลง สถาบันอันเป็นทีต่ งั้ ของงานนัน้ ๆ สถาบันทีบ่ อ่ ยครัง้ เป็นภัยต่อมาตรฐานขัน้ สูงสุดของวิชาชีพ ดังทีผ่ อู้ า่ นหนังสือเล่มนีจ้ ำนวนมากได้เป็นพยานยืนยันว่า ‘การสำรวจ ภูมิทัศน์ภายในของชีวิตของครู’ เอื้อให้พวกเรากลับคืน ฝังตัว และฟื้นฟู
ภูมิทัศน์ภายนอกของชีวิตเรา การมีใจให้กับงานที่เรียกร้องเรา ทำให้เรา สามารถให้หวั ใจแก่นกั เรียนของเรา เพือ่ นร่วมงานของเรา โรงเรียนของเรา และโลกของเราอีกครัง้ หนึง่ โลกทีค่ วามโหดร้ายจะยอมอ่อนข้อให้เฉพาะกับ พรสวรรค์และความดีงามทีอ่ อกมาจากภายในเท่านัน้
I
28 กล้าทีจ่ ะสอน
ค ำ ข อ บ คุ ณ
ในปี ๑๙๘๓ ผมได้พมิ พ์หนังสือ To Know as We Are Known: Education as a Spiritual Journey หนังสือเล่มนัน้ เปิดโอกาสให้ผมได้พบและทำงาน กับครูที่ทำงานในหลากหลายบริบททั่วประเทศ ทั้งวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย โรงเรียนรัฐบาล โครงการการศึกษาต่อเนื่อง ศูนย์พักฟื้นจิตใจ (retreat center) สถาบันทางศาสนา และ ‘องค์กรการเรียนรู้’ ของหลาย สังกัด ทั้งภาคธุรกิจ มูลนิธิ และกลุ่มต่างๆ ที่ทำงานเพื่อการเปลี่ยนแปลง สังคม ในการพูดคุยแลกเปลี่ยนกับนักการศึกษาที่โดดเด่นเหล่านี้ ผมถูก ท้าทายให้เขียนหนังสือทีจ่ ะไปไกลกว่า To Know as We Are Known ใน สองประเด็นคือ น่าจะคงจุดเน้นเดิมเรือ่ งการสอนไว้ และมีแนวทางในการ เข้าถึงชีวติ ภายในทีเ่ ปิดให้เห็นหนทางทีห่ ลากหลายของครูผอู้ ทุ ศิ ตนทีผ่ ม ได้พบมา กล้าทีจ่ ะสอน คือหนังสือเล่มนัน้ และผมต้องขอขอบคุณทุกคนที่ มีบางอย่างร่วมกันทีช่ ว่ ยสนับสนุนผมตลอดเส้นทาง ขอบคุณเป็นพิเศษสำหรับโรเบิร์ต เอฟ. ลีห์แมน ประธานสถาบัน
I
คำขอบคุณ 29
เฟทเซอร์ ทีผ่ มเป็นทีป่ รึกษาอาวุโสอยู่ ท่านทำให้ผมสามารถวางแผนการ เดินทางได้เป็นระยะเวลานานพอที่ผมจะเขียนหนังสือเล่มนี้ได้เสร็จ โดย อาศัยโครงการต่างๆ ของสถาบัน น้ำใจทีม่ ากไปกว่านัน้ คือการเป็นเพือ่ น ร่วมทางทีจ่ ริงใจของท่านในการเดินทางภายในอันเป็นจุดทีห่ นังสือนีเ้ ริม่ ต้น ขึน้ ร็อบ ลีหแ์ มน เข้าใจชีวติ ภายในและผลกระทบของมันต่อโลกของการ กระทำชนิดทีห่ าได้ยากยิง่ และให้กำลังใจยิง่ ผมขอบคุณจากใจจริงสำหรับ ความเข้าใจทีล่ กึ ซึง้ มิตรภาพ และการร่วมรับรูข้ องเขา การทำงานกับสถาบันเฟทเซอร์ทำให้ประสบการณ์ดา้ นการศึกษาของ ผมกว้างขวางขึน้ การสอนของผมส่วนใหญ่จะอยู่ในมหาวิทยาลัยและโครงการการศึกษาของผู้ใหญ่เป็นหลัก และเรือ่ งราวส่วนใหญ่ในหนังสือเล่มนีก้ ็ มาจากโลกตรงนัน้ แต่ระหว่างปี ๑๙๙๒ - ๑๙๙๗ ผมก็ได้ความรูค้ วามเข้าใจ ในครูระดับอนุบาลถึงเกรด ๑๒ จากการช่วยสถาบันเฟทเซอร์พฒ ั นาโครงการสร้างครูให้เป็นครู (Teacher Formation Program) ซึ่งเป็นโครงการ
เข้าเงียบเพือ่ ฟืน้ ฟูจติ ใจต่อเนือ่ ง ๒ ปี สำหรับครูในโรงเรียนรัฐบาล ปัจจุบนั โครงการนีม้ พี นื้ ทีด่ ำเนินการอยู่ในรัฐอิลลินอยส์ แมริแลนด์ มิชแิ กน เซาท์ แคโรไลนา และวอชิงตัน และในขณะทีห่ นังสือเล่มนีเ้ ข้าสูโ่ รงพิมพ์ สถาบัน เฟทเซอร์กก็ ำลังก่อตัง้ ศูนย์สร้างครูให้เป็นครู ในระดับชาติขนึ้ มาเพือ่ เพิม่ พืน้ ทีท่ ำงานกับโรงเรียนระดับอนุบาลถึงเกรด ๑๒๑ ปี ๑๙๙๔ ถึง ๑๙๙๖ ผมได้เข้ามานำกลุม่ ครูทเี่ ข้าร่วมโครงการสร้างครู ให้เป็นครูกลุม่ แรก ผมซาบซึง้ ใจในคณะครูจากโรงเรียนรัฐบาลในมิชแิ กน ซึง่ เป็นแรงบันดาลใจและทำให้การทดลองนัน้ ประสบความสำเร็จอย่างยิง่ ทัง้ แมกกี้ อดัมส์, แจ็ค เบนเดอร์, มาร์ค บอนด์, ลอรี โบเวอร์ซอกส์, มาร์กาเร็ต เอลส์ม, ริชาร์ด ฟาวเลอร์, ลินดา ฮาเมล, อีเลเนอร์ เฮย์เวิรด์ , มารีแอนน์ ฮูสตัน, แคทเธอรีน เคนเนดี, เชอรี แมคลัฟฮาน, ไมเคิล เพอร์รี, ลินดา
I
30 กล้าทีจ่ ะสอน
โพเวลล์, โทนี รอสทามิ, ริค เซราฟิน,ิ เจอรัลด์ ธอมป์สนั และมาร์เซีย ไวน์โฮลด์ ผมยังต้องขอบคุณคนทีท่ ำให้โครงการสร้างครูให้เป็นครูขยายตัวและ ยังคงอยู่ คนกลุม่ นัน้ ได้แก่ จูดี บราวน์, โทนี แชมเบอร์ส, ชาร์ลี กลาสเซอร์, อีเลเนอร์ กรีนสเลด, แซลลี แฮร์, มารีแอนน์ ฮูสตัน, มาร์ซยี ์ แจ็คสัน, ริค แจ็คสัน, มิกกี โอลิวนั ติ, เมแกน สไครบเนอร์, เดวิด สลุยเตอร์ และเพนนี
วิลเลียมสัน เพือ่ นและผูร้ ว่ มงานพัฒนาโครงการทีเ่ ปีย่ มด้วยพรสวรรค์ของ ผม ทีมงานของสถาบันเฟทเซอร์ ซึง่ การทำงานหนักและทุม่ เทของพวกเขา ทัง้ คอยรับโทรศัพท์ เขียนบันทึก ออกเช็ค ทำความสะอาดห้อง ดูแลสถานที่ และการจัดหาของกินไว้บนโต๊ะ ล้วนทำให้โครงการดำเนินไปได้ และคณะ กรรมการบริหารของสถาบัน ทีม่ คี วามเชือ่ มัน่ ในงานนีแ้ ละให้การสนับสนุน ได้แก่ เจนิส คลาฟฟิน, บรูซ เฟทเซอร์, วิงค์ แฟรงคลิน, ลินน์ ทวิสต์, ฟรานเซส วอห์น, เจเรมี วาเลตสกี และจูดธิ สกัทช์ วิทสัน กรรมการบริหารกิตติคณุ ในรอบทศวรรษทีผ่ า่ นมา ผมทำงานอย่างอิสระ แม้ผมจะสอนอย่าง สม่ำเสมอในการสัมมนา การประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร และประชุมนอกสถานที่ ซึง่ เป็น ‘ห้องเรียน’ ในรูปแบบทีห่ ลากหลาย ผมไม่ได้สอนในห้องเรียนแบบ เดิมกับนักเรียนกลุม่ เดียวกันตลอดเทอมหรือกว่านัน้ อย่างทีผ่ มเคยทำตอน เริม่ อาชีพนี้ใหม่ๆ ทีว่ ทิ ยาลัยเบเลียท มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ และเพนเดิล ฮิลล์ ชุมชนอยูอ่ าศัยและเรียนรูข้ องชาวเควกเกอร์ ผมจึงซาบซึ้งใจที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ อาคันตุกะ ทีว่ ทิ ยาลัยเบเรีย ในกรุงเบเรีย รัฐเคนตักกี้ เมือ่ ปี ๑๙๙๓-๑๙๙๔ ในช่วงนัน้ ผมได้เข้าพิธลี า้ งบาปอีกครัง้ หนึง่ เพือ่ เข้าสูค่ วามจริงแห่งการสอน ในวิทยาลัย และผมก็ได้ลงมือเขียนร่างแรกของหนังสือเล่มนี้ ขอขอบคุณ เป็นพิเศษสำหรับฟิลลิส ฮิวส์, ลิบลีย์ โจนส์, ลาร์ลยี ์ ชินน์, จอห์น สเตเฟนสัน
I
คำขอบคุณ 31
เฟทเซอร์ ทีผ่ มเป็นทีป่ รึกษาอาวุโสอยู่ ท่านทำให้ผมสามารถวางแผนการ เดินทางได้เป็นระยะเวลานานพอที่ผมจะเขียนหนังสือเล่มนี้ได้เสร็จ โดย อาศัยโครงการต่างๆ ของสถาบัน น้ำใจทีม่ ากไปกว่านัน้ คือการเป็นเพือ่ น ร่วมทางทีจ่ ริงใจของท่านในการเดินทางภายในอันเป็นจุดทีห่ นังสือนีเ้ ริม่ ต้น ขึน้ ร็อบ ลีหแ์ มน เข้าใจชีวติ ภายในและผลกระทบของมันต่อโลกของการ กระทำชนิดทีห่ าได้ยากยิง่ และให้กำลังใจยิง่ ผมขอบคุณจากใจจริงสำหรับ ความเข้าใจทีล่ กึ ซึง้ มิตรภาพ และการร่วมรับรูข้ องเขา การทำงานกับสถาบันเฟทเซอร์ทำให้ประสบการณ์ดา้ นการศึกษาของ ผมกว้างขวางขึน้ การสอนของผมส่วนใหญ่จะอยู่ในมหาวิทยาลัยและโครงการการศึกษาของผู้ใหญ่เป็นหลัก และเรือ่ งราวส่วนใหญ่ในหนังสือเล่มนีก้ ็ มาจากโลกตรงนัน้ แต่ระหว่างปี ๑๙๙๒ - ๑๙๙๗ ผมก็ได้ความรูค้ วามเข้าใจ ในครูระดับอนุบาลถึงเกรด ๑๒ จากการช่วยสถาบันเฟทเซอร์พฒ ั นาโครงการสร้างครูให้เป็นครู (Teacher Formation Program) ซึ่งเป็นโครงการ
เข้าเงียบเพือ่ ฟืน้ ฟูจติ ใจต่อเนือ่ ง ๒ ปี สำหรับครูในโรงเรียนรัฐบาล ปัจจุบนั โครงการนีม้ พี นื้ ทีด่ ำเนินการอยู่ในรัฐอิลลินอยส์ แมริแลนด์ มิชแิ กน เซาท์ แคโรไลนา และวอชิงตัน และในขณะทีห่ นังสือเล่มนีเ้ ข้าสูโ่ รงพิมพ์ สถาบัน เฟทเซอร์กก็ ำลังก่อตัง้ ศูนย์สร้างครูให้เป็นครู ในระดับชาติขนึ้ มาเพือ่ เพิม่ พืน้ ทีท่ ำงานกับโรงเรียนระดับอนุบาลถึงเกรด ๑๒๑ ปี ๑๙๙๔ ถึง ๑๙๙๖ ผมได้เข้ามานำกลุม่ ครูทเี่ ข้าร่วมโครงการสร้างครู ให้เป็นครูกลุม่ แรก ผมซาบซึง้ ใจในคณะครูจากโรงเรียนรัฐบาลในมิชแิ กน ซึง่ เป็นแรงบันดาลใจและทำให้การทดลองนัน้ ประสบความสำเร็จอย่างยิง่ ทัง้ แมกกี้ อดัมส์, แจ็ค เบนเดอร์, มาร์ค บอนด์, ลอรี โบเวอร์ซอกส์, มาร์กาเร็ต เอลส์ม, ริชาร์ด ฟาวเลอร์, ลินดา ฮาเมล, อีเลเนอร์ เฮย์เวิรด์ , มารีแอนน์ ฮูสตัน, แคทเธอรีน เคนเนดี, เชอรี แมคลัฟฮาน, ไมเคิล เพอร์รี, ลินดา
I
30 กล้าทีจ่ ะสอน
โพเวลล์, โทนี รอสทามิ, ริค เซราฟิน,ิ เจอรัลด์ ธอมป์สนั และมาร์เซีย ไวน์โฮลด์ ผมยังต้องขอบคุณคนทีท่ ำให้โครงการสร้างครูให้เป็นครูขยายตัวและ ยังคงอยู่ คนกลุม่ นัน้ ได้แก่ จูดี บราวน์, โทนี แชมเบอร์ส, ชาร์ลี กลาสเซอร์, อีเลเนอร์ กรีนสเลด, แซลลี แฮร์, มารีแอนน์ ฮูสตัน, มาร์ซยี ์ แจ็คสัน, ริค แจ็คสัน, มิกกี โอลิวนั ติ, เมแกน สไครบเนอร์, เดวิด สลุยเตอร์ และเพนนี
วิลเลียมสัน เพือ่ นและผูร้ ว่ มงานพัฒนาโครงการทีเ่ ปีย่ มด้วยพรสวรรค์ของ ผม ทีมงานของสถาบันเฟทเซอร์ ซึง่ การทำงานหนักและทุม่ เทของพวกเขา ทัง้ คอยรับโทรศัพท์ เขียนบันทึก ออกเช็ค ทำความสะอาดห้อง ดูแลสถานที่ และการจัดหาของกินไว้บนโต๊ะ ล้วนทำให้โครงการดำเนินไปได้ และคณะ กรรมการบริหารของสถาบัน ทีม่ คี วามเชือ่ มัน่ ในงานนีแ้ ละให้การสนับสนุน ได้แก่ เจนิส คลาฟฟิน, บรูซ เฟทเซอร์, วิงค์ แฟรงคลิน, ลินน์ ทวิสต์, ฟรานเซส วอห์น, เจเรมี วาเลตสกี และจูดธิ สกัทช์ วิทสัน กรรมการบริหารกิตติคณุ ในรอบทศวรรษทีผ่ า่ นมา ผมทำงานอย่างอิสระ แม้ผมจะสอนอย่าง สม่ำเสมอในการสัมมนา การประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร และประชุมนอกสถานที่ ซึง่ เป็น ‘ห้องเรียน’ ในรูปแบบทีห่ ลากหลาย ผมไม่ได้สอนในห้องเรียนแบบ เดิมกับนักเรียนกลุม่ เดียวกันตลอดเทอมหรือกว่านัน้ อย่างทีผ่ มเคยทำตอน เริม่ อาชีพนี้ใหม่ๆ ทีว่ ทิ ยาลัยเบเลียท มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ และเพนเดิล ฮิลล์ ชุมชนอยูอ่ าศัยและเรียนรูข้ องชาวเควกเกอร์ ผมจึงซาบซึ้งใจที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ อาคันตุกะ ทีว่ ทิ ยาลัยเบเรีย ในกรุงเบเรีย รัฐเคนตักกี้ เมือ่ ปี ๑๙๙๓-๑๙๙๔ ในช่วงนัน้ ผมได้เข้าพิธลี า้ งบาปอีกครัง้ หนึง่ เพือ่ เข้าสูค่ วามจริงแห่งการสอน ในวิทยาลัย และผมก็ได้ลงมือเขียนร่างแรกของหนังสือเล่มนี้ ขอขอบคุณ เป็นพิเศษสำหรับฟิลลิส ฮิวส์, ลิบลีย์ โจนส์, ลาร์ลยี ์ ชินน์, จอห์น สเตเฟนสัน
I
คำขอบคุณ 31
ผู้ล่วงลับ และสมาชิกของกลุ่มชุมนุมเพื่อนเบเรีย ที่ได้สนับสนุนผมให้ เติบโตในสายอาชีพของผม และผมต้องขอบคุณเพื่อนๆ ในสมาคมการอุดมศึกษาแห่งอเมริกา (American Association of Higher Education - AAHE) ซึ่งผมเป็น กรรมการอาวุโสอยู่ ทัง้ รุส เอจเจอร์ตนั (อดีตประธาน AAHE และปัจจุบนั ดำรงตำแหน่งผูอ้ ำนวยการฝ่ายการศึกษาทีก่ องทุนเพือ่ การกุศลพิว (Pew Charitable Trusts)) ลู อัลเบิรต์ , แพท ฮัทชิงส์ และเท็ด มาร์เชส เป็นระยะ เวลามากกว่าหนึง่ ทศวรรษทีค่ นเหล่านี้ได้สนับสนุนและช่วยทำให้งานของ ผมเป็นรูปเป็นร่าง พาผมเข้าสูช่ มุ ชนแห่งวาทกรรมทีส่ ดุ แสนพิเศษทีผ่ มจะ ไม่สามารถค้นพบได้ดว้ ยตัวเอง ส่วนใหญ่ของหนังสือเล่มนีเ้ ขียนขึน้ ระหว่างปี ๑๙๙๖-๑๙๙๗ และใน ช่วงเวลานั้น ผมโชคดีที่ได้สุดยอดบรรณาธิการ ๔ คน ทุกคนช่วยทำให้ หนังสือเล่มนีด้ ขี นึ้ มากกว่าทีผ่ มจะเขียนคนเดียวได้ ซาร่าห์ พอลสเตอร์ และเชอริล ฟูลเลอร์ตนั เป็นบรรณาธิการของผมที่ สำนักพิมพ์จอสสีย-์ บาส พับลิชเชอร์ ผมขอขอบคุณพวกเขาทีส่ นับสนุนผม และท้าทายผมในระดับทีเ่ หมาะสมและในเวลาทีถ่ กู ทีค่ วร มาร์ค นีโป เป็นกวี นักเขียนบทความ ครู และบรรณาธิการที่ ไม่ ธรรมดา เขาอ่านทุกคำที่ผมเขียนด้วยความใส่ใจ วิพากษ์วิจารณ์เนื้อหา ส่วนใหญ่ดว้ ยความกระตือรือร้น ทัง้ เห็นด้วยและคัดค้าน และพยายามให้ เป็นความคิดเห็นของผมเอง แทนทีจ่ ะใส่ความเห็นของตัวเองลงไป เขาได้ ช่วยหาภาชนะเพือ่ ให้ผมใส่ทรัพย์สมบัติ และชี้ให้ผมเห็นทรัพย์สมบัตทิ ผี่ ม ไม่เคยเห็น เขาได้รบั คำขอบคุณอย่างไม่มสี นิ้ สุดจากผม ชารอน ปาล์มเมอร์ ได้รว่ มแบ่งปันทัง้ ด้านบวกและด้านลบของการทำ หนังสือเล่มนี้ด้วยความรัก สายตาที่แหลมคมและหัวใจที่งดงามของเธอ
I
32 กล้าทีจ่ ะสอน
ทำให้ตวั หนังสือของผมชัดเจน เข้าใจง่าย และจิตวิญญาณของผมสมบูรณ์ คำอุทศิ ของหนังสือเล่มนีเ้ กิดขึน้ เพือ่ แสดงความขอบคุณอย่างลึกซึง้ ต่อเธอ และพ่อของผม ผูช้ ายทีด่ ที สี่ ดุ ทีผ่ มเคยรูจ้ กั ปาร์กเกอร์ เจ. ปาล์มเมอร์ เมดิสนั , วิสคอนซิน กันยายน ๑๙๙๗
I
คำขอบคุณ 33
ผู้ล่วงลับ และสมาชิกของกลุ่มชุมนุมเพื่อนเบเรีย ที่ได้สนับสนุนผมให้ เติบโตในสายอาชีพของผม และผมต้องขอบคุณเพื่อนๆ ในสมาคมการอุดมศึกษาแห่งอเมริกา (American Association of Higher Education - AAHE) ซึ่งผมเป็น กรรมการอาวุโสอยู่ ทัง้ รุส เอจเจอร์ตนั (อดีตประธาน AAHE และปัจจุบนั ดำรงตำแหน่งผูอ้ ำนวยการฝ่ายการศึกษาทีก่ องทุนเพือ่ การกุศลพิว (Pew Charitable Trusts)) ลู อัลเบิรต์ , แพท ฮัทชิงส์ และเท็ด มาร์เชส เป็นระยะ เวลามากกว่าหนึง่ ทศวรรษทีค่ นเหล่านี้ได้สนับสนุนและช่วยทำให้งานของ ผมเป็นรูปเป็นร่าง พาผมเข้าสูช่ มุ ชนแห่งวาทกรรมทีส่ ดุ แสนพิเศษทีผ่ มจะ ไม่สามารถค้นพบได้ดว้ ยตัวเอง ส่วนใหญ่ของหนังสือเล่มนีเ้ ขียนขึน้ ระหว่างปี ๑๙๙๖-๑๙๙๗ และใน ช่วงเวลานั้น ผมโชคดีที่ได้สุดยอดบรรณาธิการ ๔ คน ทุกคนช่วยทำให้ หนังสือเล่มนีด้ ขี นึ้ มากกว่าทีผ่ มจะเขียนคนเดียวได้ ซาร่าห์ พอลสเตอร์ และเชอริล ฟูลเลอร์ตนั เป็นบรรณาธิการของผมที่ สำนักพิมพ์จอสสีย-์ บาส พับลิชเชอร์ ผมขอขอบคุณพวกเขาทีส่ นับสนุนผม และท้าทายผมในระดับทีเ่ หมาะสมและในเวลาทีถ่ กู ทีค่ วร มาร์ค นีโป เป็นกวี นักเขียนบทความ ครู และบรรณาธิการที่ ไม่ ธรรมดา เขาอ่านทุกคำที่ผมเขียนด้วยความใส่ใจ วิพากษ์วิจารณ์เนื้อหา ส่วนใหญ่ดว้ ยความกระตือรือร้น ทัง้ เห็นด้วยและคัดค้าน และพยายามให้ เป็นความคิดเห็นของผมเอง แทนทีจ่ ะใส่ความเห็นของตัวเองลงไป เขาได้ ช่วยหาภาชนะเพือ่ ให้ผมใส่ทรัพย์สมบัติ และชี้ให้ผมเห็นทรัพย์สมบัตทิ ผี่ ม ไม่เคยเห็น เขาได้รบั คำขอบคุณอย่างไม่มสี นิ้ สุดจากผม ชารอน ปาล์มเมอร์ ได้รว่ มแบ่งปันทัง้ ด้านบวกและด้านลบของการทำ หนังสือเล่มนี้ด้วยความรัก สายตาที่แหลมคมและหัวใจที่งดงามของเธอ
I
32 กล้าทีจ่ ะสอน
ทำให้ตวั หนังสือของผมชัดเจน เข้าใจง่าย และจิตวิญญาณของผมสมบูรณ์ คำอุทศิ ของหนังสือเล่มนีเ้ กิดขึน้ เพือ่ แสดงความขอบคุณอย่างลึกซึง้ ต่อเธอ และพ่อของผม ผูช้ ายทีด่ ที สี่ ดุ ทีผ่ มเคยรูจ้ กั ปาร์กเกอร์ เจ. ปาล์มเมอร์ เมดิสนั , วิสคอนซิน กันยายน ๑๙๙๗
I
คำขอบคุณ 33
บทนำ
ส อ น จ า ก โ ล ก ภ า ย ใ น
b
อา อย่าได้ตดั ขาด แม้โดยฉากขวางกัน้ เพียงน้อยนิด ทีแ่ ยกจากกฎของดวงดาว ด้านใน...คืออะไรหรือ หากมิใช่ฟากฟ้าครามเข้ม ทีเ่ หล่าสกุณาทะยานผ่าน สายลมแห่งการคืนเรือนพัดผ่าน k
ไรเนอร์ มารีอา ริลเคอ “(อา อย่าได้ตดั ขาด)”๑
บทนำ
ส อ น จ า ก โ ล ก ภ า ย ใ น
b
อา อย่าได้ตดั ขาด แม้โดยฉากขวางกัน้ เพียงน้อยนิด ทีแ่ ยกจากกฎของดวงดาว ด้านใน...คืออะไรหรือ หากมิใช่ฟากฟ้าครามเข้ม ทีเ่ หล่าสกุณาทะยานผ่าน สายลมแห่งการคืนเรือนพัดผ่าน k
ไรเนอร์ มารีอา ริลเคอ “(อา อย่าได้ตดั ขาด)”๑
เราสอนแบบที่เราเป็น ผมเป็นครูด้วยหัวใจ และก็มีบางครั้งผมอดไม่ได้ที่จะรู้สึกเป็นสุขอย่าง
เปี่ยมล้นในห้องเรียน เมื่อไรที่ผมและนักเรียนได้ค้นพบพื้นที่ใหม่ที่ยังไม่
รูจ้ กั ในยามทีห่ นทางโผล่จากหมูไ่ ม้ทบึ ต่อหน้าเรา เวลาทีป่ ระสบการณ์ของ เราแจ่มแจ้งด้วยการคิดใคร่ครวญ เมือ่ นัน้ การสอนเปรียบดังผลงานอันวิจติ ร ทีส่ ดุ เท่าทีผ่ มรู้ แต่ในบางขณะห้องเรียนช่างไร้ชวี ติ เจ็บปวดและสับสน และผมก็รสู้ กึ ไร้อำนาจทีจ่ ะจัดการ จนการอ้างว่าตัวเองเป็นครูเป็นเรือ่ งจอมปลอมอย่าง เห็นได้ชัด เมื่อนั้นแหละที่จะมีปฏิปักษ์อยู่ทุกหนทุกแห่ง ไม่ว่าจะในตัว นักเรียนที่มาจากต่างดาวที่ไหนสักดวง ในวิชาที่ผมคิดว่าผมรู้ดี และใน ความผิดปกติสว่ นตัวทีท่ ำให้ผมต้องทำมาหากินด้วยอาชีพนีต้ อ่ ไป ผมช่าง โง่เหลือเกินทีค่ ดิ ว่าตัวเองช่ำชองในศิลปะลึกลับนีแ้ ล้ว ยากทีจ่ ะทำนายยิง่ กว่าใบชาพยากรณ์ และเป็นไปไม่ได้เลยสำหรับมนุษย์เดินดินทีจ่ ะทำได้แม้ แค่พอใช้
I
36 กล้าทีจ่ ะสอน
ถ้าคุณเป็นครูที่ไม่เคยเจอวันแย่ๆ เลย หรือเคยเจอแต่ไม่แคร์ หนังสือ เล่มนี้ไม่เหมาะกับคุณ หนังสือเล่มนีเ้ หมาะกับครูทพี่ บเจอทัง้ วันทีด่ แี ละวัน ที่แย่ และวันที่แย่เหล่านั้นนำมาซึ่งความทุกข์อันเกิดจากสิ่งที่เขารัก มัน เหมาะสำหรับครูอาจารย์ที่ไม่ยอมให้หวั ใจแข็งกระด้าง เพราะพวกเขารักผู้ เรียน การเรียน และการสอน เวลาทีค่ ณุ รักงานมากขนาดนัน้ ดังทีค่ รูหลาย คนเป็น หนทางเดียวทีจ่ ะออกจากปัญหาได้ คือจมลงไปให้ลกึ กว่าเดิม เรา ต้องเข้าไปอยู่ในความยุง่ เหยิงของการสอน แทนทีจ่ ะหลบเลีย่ ง เพือ่ ว่าเรา จะได้เข้าใจมันมากขึ้น และจัดการกับมันได้สวยงามขึ้น ไม่ใช่แค่ปกป้อง จิตใจของตนเอง แต่ตอ้ งดูแลนักเรียนของเราให้ดดี ว้ ย ปมปัญหาที่ว่านี้มีที่มาจากสามแหล่งสำคัญ สองประการแรกพบได้ ทั่วไป แต่ประการที่สาม ที่ถือว่าสำคัญที่สุดเป็นเรื่องที่มักไม่ได้รับความ สำคัญ ประการแรก วิชาทีเ่ ราสอนเป็นเรือ่ งที่ใหญ่และซับซ้อนเหมือนชีวติ ดังนั้นความรู้ที่เรามีมักจะไม่สมบูรณ์และเป็นเพียงเสี้ยวเศษ ไม่ว่าเราจะ ทุม่ เทไปกับการศึกษา การค้นคว้าวิจยั เท่าไรก็ตาม ในการสอนหนังสือก็ยงั มี เนือ้ หาสาระทีเ่ กินจะเข้าใจ ประการทีส่ อง นักเรียนทีเ่ ราสอนนัน้ ก็นา่ ประทับ ใจ และยิง่ ซับซ้อนเข้าไปอีก การทีเ่ ราจะเข้าใจนักเรียนได้อย่างกระจ่างชัด และรอบด้าน เพื่อที่จะตอบสนองต่อพวกเขาได้อย่างชาญฉลาดทันควัน ต้องเป็นฟรอยด์รวมกับโซโลมอน และน้อยคนจะเป็นได้เช่นนัน้ ถ้านักเรียนและวิชาเรียนเป็นเหตุผลของความซับซ้อนทั้งหมดของ การสอนแล้วล่ะก็ วิธีการมาตรฐานที่ทำกันอยู่ทั่วไปคือ พยายามติดตาม ความก้าวหน้าในสาขาวิชาของเราให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ และเรียนรู้ เทคนิคให้มากพอทีจ่ ะล้ำหน้านักเรียนของเรา แต่ยงั มีอกี เหตุผลหนึง่ ของ ความซับซ้อนนี้ นัน่ คือ เราสอนแบบทีเ่ ราเป็น การสอนไม่ตา่ งจากกิจกรรมอืน่ ๆ ของมนุษย์ตรงทีอ่ อกมาจากด้านใน
I
บทนำ 37
เราสอนแบบที่เราเป็น ผมเป็นครูด้วยหัวใจ และก็มีบางครั้งผมอดไม่ได้ที่จะรู้สึกเป็นสุขอย่าง
เปี่ยมล้นในห้องเรียน เมื่อไรที่ผมและนักเรียนได้ค้นพบพื้นที่ใหม่ที่ยังไม่
รูจ้ กั ในยามทีห่ นทางโผล่จากหมูไ่ ม้ทบึ ต่อหน้าเรา เวลาทีป่ ระสบการณ์ของ เราแจ่มแจ้งด้วยการคิดใคร่ครวญ เมือ่ นัน้ การสอนเปรียบดังผลงานอันวิจติ ร ทีส่ ดุ เท่าทีผ่ มรู้ แต่ในบางขณะห้องเรียนช่างไร้ชวี ติ เจ็บปวดและสับสน และผมก็รสู้ กึ ไร้อำนาจทีจ่ ะจัดการ จนการอ้างว่าตัวเองเป็นครูเป็นเรือ่ งจอมปลอมอย่าง เห็นได้ชัด เมื่อนั้นแหละที่จะมีปฏิปักษ์อยู่ทุกหนทุกแห่ง ไม่ว่าจะในตัว นักเรียนที่มาจากต่างดาวที่ไหนสักดวง ในวิชาที่ผมคิดว่าผมรู้ดี และใน ความผิดปกติสว่ นตัวทีท่ ำให้ผมต้องทำมาหากินด้วยอาชีพนีต้ อ่ ไป ผมช่าง โง่เหลือเกินทีค่ ดิ ว่าตัวเองช่ำชองในศิลปะลึกลับนีแ้ ล้ว ยากทีจ่ ะทำนายยิง่ กว่าใบชาพยากรณ์ และเป็นไปไม่ได้เลยสำหรับมนุษย์เดินดินทีจ่ ะทำได้แม้ แค่พอใช้
I
36 กล้าทีจ่ ะสอน
ถ้าคุณเป็นครูที่ไม่เคยเจอวันแย่ๆ เลย หรือเคยเจอแต่ไม่แคร์ หนังสือ เล่มนี้ไม่เหมาะกับคุณ หนังสือเล่มนีเ้ หมาะกับครูทพี่ บเจอทัง้ วันทีด่ แี ละวัน ที่แย่ และวันที่แย่เหล่านั้นนำมาซึ่งความทุกข์อันเกิดจากสิ่งที่เขารัก มัน เหมาะสำหรับครูอาจารย์ที่ไม่ยอมให้หวั ใจแข็งกระด้าง เพราะพวกเขารักผู้ เรียน การเรียน และการสอน เวลาทีค่ ณุ รักงานมากขนาดนัน้ ดังทีค่ รูหลาย คนเป็น หนทางเดียวทีจ่ ะออกจากปัญหาได้ คือจมลงไปให้ลกึ กว่าเดิม เรา ต้องเข้าไปอยู่ในความยุง่ เหยิงของการสอน แทนทีจ่ ะหลบเลีย่ ง เพือ่ ว่าเรา จะได้เข้าใจมันมากขึ้น และจัดการกับมันได้สวยงามขึ้น ไม่ใช่แค่ปกป้อง จิตใจของตนเอง แต่ตอ้ งดูแลนักเรียนของเราให้ดดี ว้ ย ปมปัญหาที่ว่านี้มีที่มาจากสามแหล่งสำคัญ สองประการแรกพบได้ ทั่วไป แต่ประการที่สาม ที่ถือว่าสำคัญที่สุดเป็นเรื่องที่มักไม่ได้รับความ สำคัญ ประการแรก วิชาทีเ่ ราสอนเป็นเรือ่ งที่ใหญ่และซับซ้อนเหมือนชีวติ ดังนั้นความรู้ที่เรามีมักจะไม่สมบูรณ์และเป็นเพียงเสี้ยวเศษ ไม่ว่าเราจะ ทุม่ เทไปกับการศึกษา การค้นคว้าวิจยั เท่าไรก็ตาม ในการสอนหนังสือก็ยงั มี เนือ้ หาสาระทีเ่ กินจะเข้าใจ ประการทีส่ อง นักเรียนทีเ่ ราสอนนัน้ ก็นา่ ประทับ ใจ และยิง่ ซับซ้อนเข้าไปอีก การทีเ่ ราจะเข้าใจนักเรียนได้อย่างกระจ่างชัด และรอบด้าน เพื่อที่จะตอบสนองต่อพวกเขาได้อย่างชาญฉลาดทันควัน ต้องเป็นฟรอยด์รวมกับโซโลมอน และน้อยคนจะเป็นได้เช่นนัน้ ถ้านักเรียนและวิชาเรียนเป็นเหตุผลของความซับซ้อนทั้งหมดของ การสอนแล้วล่ะก็ วิธีการมาตรฐานที่ทำกันอยู่ทั่วไปคือ พยายามติดตาม ความก้าวหน้าในสาขาวิชาของเราให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ และเรียนรู้ เทคนิคให้มากพอทีจ่ ะล้ำหน้านักเรียนของเรา แต่ยงั มีอกี เหตุผลหนึง่ ของ ความซับซ้อนนี้ นัน่ คือ เราสอนแบบทีเ่ ราเป็น การสอนไม่ตา่ งจากกิจกรรมอืน่ ๆ ของมนุษย์ตรงทีอ่ อกมาจากด้านใน
I
บทนำ 37
ของผูส้ อน ไม่วา่ จะดีหรือร้ายก็ตาม เวลาทีผ่ มสอน ผมถ่ายทอดสภาวะจิต ไปสูน่ กั เรียนของผม วิชาทีผ่ มสอนและวิธกี ารอยูร่ ว่ มกันของเรา ปมปัญหา ทีผ่ มประสบในห้องเรียนคือเงือ่ นปมของชีวติ ด้านในของผมเองไม่มากไม่ น้อยไปกว่านัน้ หากมองจากมุมมองนี้ การสอนคือ กระจกสะท้อนถึงจิตใจ ถ้าหากผมยอมมองไปทีก่ ระจกเงานี้โดยไม่วงิ่ หนีสงิ่ ทีเ่ ห็น ผมก็จะมีโอกาส รูจ้ กั ตัวเอง และการรูจ้ กั ตัวเองนีส้ ำคัญยิง่ ต่อการสอนทีด่ ี พอๆ กับการรูจ้ กั นักเรียนและวิชาทีส่ อน เอาเข้าจริงๆ แล้ว การรูจ้ กั นักเรียนของผมและวิชาทีผ่ มสอนนัน้ ขึน้ อยู่ กับการรูจ้ กั ตัวเองมากทีเดียว ถ้าผมไม่รจู้ กั ตัวเอง ผมก็ไม่รวู้ า่ นักเรียนของ ผมเป็นใคร ผมจะมองพวกเขาผ่านกระจกมัวๆ ในเงามืดของชีวติ ทีย่ งั ไม่ได้ สำรวจของผม และเมือ่ ผมมองเห็นพวกเขาไม่ชดั ผมก็ไม่สามารถสอนพวก เขาได้ดี ถ้าผมไม่รจู้ กั ตัวเอง ผมก็ไม่รจู้ กั วิชาทีส่ อนในระดับทีล่ กึ ทีส่ ดุ ของ ความหมายส่วนตัวที่แฝงอยู่ ผมจะรู้จักมันอย่างเป็นนามธรรมห่างๆ เหมือนเป็นกลุม่ แนวคิดทีก่ ระจัดกระจายไม่เชือ่ มโยงกับโลก เหมือนกับทีผ่ ม มีระยะห่างจากความจริงของตัวผมเอง งานที่จำเป็นต้อง ‘รู้จักตัวเอง’ นี้ไม่ใช่การเห็นแก่ตัวหรือหลงตัวเอง ในฐานะทีเ่ ป็นครู การรูจ้ กั ตัวเองของเรา จะเอือ้ ประโยชน์ให้กบั นักเรียนของ เราและความรูข้ องเรา การสอนทีด่ นี นั้ จำต้องรูจ้ กั ตัวเอง นีเ่ ป็นความลับที่ ซ่อนอยู่ในทีแ่ จ้ง พื้นภูมิภายในและภายนอก หนังสือเล่มนี้สำรวจชีวิตด้านในของครู แต่ในขณะเดียวกันก็ตั้งคำถามที่ มากไปกว่าความโดดเดีย่ วของจิตวิญญาณครู นัน่ คือ ความเป็นตัวเองของ
I
38 กล้าทีจ่ ะสอน
ครูจะเป็นหัวข้อทีช่ อบธรรมในแวดวงการศึกษาและในเวทีสาธารณะว่าด้วย การปฏิรปู การศึกษาได้อย่างไร? การเรียนการสอนมีความสำคัญยิ่งต่อการอยู่รอดของทั้งบุคคลและ สังคมโดยรวม และต่อคุณภาพชีวติ ของเรา การเปลีย่ นแปลงในอัตราทีเ่ ป็น อยู่ทำให้เราขบเขี้ยวเคี้ยวฟันในความซับซ้อน สับสน และขัดแย้งที่จะ
ลดทอนเราให้รู้สึกเล็กลง หรือไม่ก็ทำลายเรา หากเราไม่เพิ่มพูนความ สามารถในการสอนและการเรียนรู้ ในขณะเดียวกันการวิพากษ์วิจารณ์ โจมตีครูได้กลายเป็นกีฬาสุดฮิต ภาวะวิตกจริตอันเป็นผลจากความบีบคัน้ ต่างๆ ในปัจจุบนั ทำให้เราต้องหาแพะมารับผิดต่อปัญหาทีเ่ ราไม่สามารถแก้ ได้ และบาปทีเ่ รามิอาจแบกรับได้ ครูเป็นเป้าทีง่ า่ ยมาก เพราะพวกเขาเป็นคนธรรมดาๆ ที่ไร้อำนาจใน การตอบโต้ เราโทษครูทไี่ ม่สามารถรักษาโรคของสังคมทีไ่ ม่มใี ครรูว้ ธิ รี กั ษา สังคมเรามักจะเรียกร้องให้ครูรบั เอา “วิธกี ารแก้ปญั หา” ล่าสุดทีป่ รุงแต่งขึน้ โดยเครือ่ งผลิตยาครอบจักรวาลแห่งชาติไปใช้งานโดยทันที ในขณะเดียวกัน ก็ทำลายขวัญกำลังใจหรือแม้แต่ทำให้บรรดาครูทสี่ ามารถช่วยให้เราค้นพบ ทางออกหมดความสามารถไปเสีย ในการเร่งรัดปฏิรูปการศึกษา พวกเราลืมความจริงธรรมดาข้อหนึ่ง นัน่ คือ การปฏิรปู ไม่สามารถสำเร็จได้ดว้ ยการจัดสรรงบประมาณใหม่ ปรับ โครงสร้างโรงเรียน สังคายนาหลักสูตรการสอน ปรับปรุงตำราเรียน หากเรา ยังคงลดเกียรติและบัน่ ทอนขวัญกำลังใจของทรัพยากรมนุษย์ทเี่ รียกว่าครู ซึง่ เราต้องพึง่ พาอาศัย ครูจำต้องได้รบั การชดเชยทีด่ ขี นึ้ ปลอดภัยจากการ ถูกระบบราชการก่อกวน ได้รบั บทบาทหน้าที่ในการบริหารจัดการทางวิชา การ และได้รบั การจัดสรรวิธกี ารและวัสดุอปุ กรณ์ทดี่ ที สี่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ แต่ทงั้ หลายทีก่ ล่าวมานีจ้ ะไม่ชว่ ยให้เราปฏิรปู การศึกษาได้สำเร็จ หากเรา
I
บทนำ 39
ของผูส้ อน ไม่วา่ จะดีหรือร้ายก็ตาม เวลาทีผ่ มสอน ผมถ่ายทอดสภาวะจิต ไปสูน่ กั เรียนของผม วิชาทีผ่ มสอนและวิธกี ารอยูร่ ว่ มกันของเรา ปมปัญหา ทีผ่ มประสบในห้องเรียนคือเงือ่ นปมของชีวติ ด้านในของผมเองไม่มากไม่ น้อยไปกว่านัน้ หากมองจากมุมมองนี้ การสอนคือ กระจกสะท้อนถึงจิตใจ ถ้าหากผมยอมมองไปทีก่ ระจกเงานี้โดยไม่วงิ่ หนีสงิ่ ทีเ่ ห็น ผมก็จะมีโอกาส รูจ้ กั ตัวเอง และการรูจ้ กั ตัวเองนีส้ ำคัญยิง่ ต่อการสอนทีด่ ี พอๆ กับการรูจ้ กั นักเรียนและวิชาทีส่ อน เอาเข้าจริงๆ แล้ว การรูจ้ กั นักเรียนของผมและวิชาทีผ่ มสอนนัน้ ขึน้ อยู่ กับการรูจ้ กั ตัวเองมากทีเดียว ถ้าผมไม่รจู้ กั ตัวเอง ผมก็ไม่รวู้ า่ นักเรียนของ ผมเป็นใคร ผมจะมองพวกเขาผ่านกระจกมัวๆ ในเงามืดของชีวติ ทีย่ งั ไม่ได้ สำรวจของผม และเมือ่ ผมมองเห็นพวกเขาไม่ชดั ผมก็ไม่สามารถสอนพวก เขาได้ดี ถ้าผมไม่รจู้ กั ตัวเอง ผมก็ไม่รจู้ กั วิชาทีส่ อนในระดับทีล่ กึ ทีส่ ดุ ของ ความหมายส่วนตัวที่แฝงอยู่ ผมจะรู้จักมันอย่างเป็นนามธรรมห่างๆ เหมือนเป็นกลุม่ แนวคิดทีก่ ระจัดกระจายไม่เชือ่ มโยงกับโลก เหมือนกับทีผ่ ม มีระยะห่างจากความจริงของตัวผมเอง งานที่จำเป็นต้อง ‘รู้จักตัวเอง’ นี้ไม่ใช่การเห็นแก่ตัวหรือหลงตัวเอง ในฐานะทีเ่ ป็นครู การรูจ้ กั ตัวเองของเรา จะเอือ้ ประโยชน์ให้กบั นักเรียนของ เราและความรูข้ องเรา การสอนทีด่ นี นั้ จำต้องรูจ้ กั ตัวเอง นีเ่ ป็นความลับที่ ซ่อนอยู่ในทีแ่ จ้ง พื้นภูมิภายในและภายนอก หนังสือเล่มนี้สำรวจชีวิตด้านในของครู แต่ในขณะเดียวกันก็ตั้งคำถามที่ มากไปกว่าความโดดเดีย่ วของจิตวิญญาณครู นัน่ คือ ความเป็นตัวเองของ
I
38 กล้าทีจ่ ะสอน
ครูจะเป็นหัวข้อทีช่ อบธรรมในแวดวงการศึกษาและในเวทีสาธารณะว่าด้วย การปฏิรปู การศึกษาได้อย่างไร? การเรียนการสอนมีความสำคัญยิ่งต่อการอยู่รอดของทั้งบุคคลและ สังคมโดยรวม และต่อคุณภาพชีวติ ของเรา การเปลีย่ นแปลงในอัตราทีเ่ ป็น อยู่ทำให้เราขบเขี้ยวเคี้ยวฟันในความซับซ้อน สับสน และขัดแย้งที่จะ
ลดทอนเราให้รู้สึกเล็กลง หรือไม่ก็ทำลายเรา หากเราไม่เพิ่มพูนความ สามารถในการสอนและการเรียนรู้ ในขณะเดียวกันการวิพากษ์วิจารณ์ โจมตีครูได้กลายเป็นกีฬาสุดฮิต ภาวะวิตกจริตอันเป็นผลจากความบีบคัน้ ต่างๆ ในปัจจุบนั ทำให้เราต้องหาแพะมารับผิดต่อปัญหาทีเ่ ราไม่สามารถแก้ ได้ และบาปทีเ่ รามิอาจแบกรับได้ ครูเป็นเป้าทีง่ า่ ยมาก เพราะพวกเขาเป็นคนธรรมดาๆ ที่ไร้อำนาจใน การตอบโต้ เราโทษครูทไี่ ม่สามารถรักษาโรคของสังคมทีไ่ ม่มใี ครรูว้ ธิ รี กั ษา สังคมเรามักจะเรียกร้องให้ครูรบั เอา “วิธกี ารแก้ปญั หา” ล่าสุดทีป่ รุงแต่งขึน้ โดยเครือ่ งผลิตยาครอบจักรวาลแห่งชาติไปใช้งานโดยทันที ในขณะเดียวกัน ก็ทำลายขวัญกำลังใจหรือแม้แต่ทำให้บรรดาครูทสี่ ามารถช่วยให้เราค้นพบ ทางออกหมดความสามารถไปเสีย ในการเร่งรัดปฏิรูปการศึกษา พวกเราลืมความจริงธรรมดาข้อหนึ่ง นัน่ คือ การปฏิรปู ไม่สามารถสำเร็จได้ดว้ ยการจัดสรรงบประมาณใหม่ ปรับ โครงสร้างโรงเรียน สังคายนาหลักสูตรการสอน ปรับปรุงตำราเรียน หากเรา ยังคงลดเกียรติและบัน่ ทอนขวัญกำลังใจของทรัพยากรมนุษย์ทเี่ รียกว่าครู ซึง่ เราต้องพึง่ พาอาศัย ครูจำต้องได้รบั การชดเชยทีด่ ขี นึ้ ปลอดภัยจากการ ถูกระบบราชการก่อกวน ได้รบั บทบาทหน้าที่ในการบริหารจัดการทางวิชา การ และได้รบั การจัดสรรวิธกี ารและวัสดุอปุ กรณ์ทดี่ ที สี่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ แต่ทงั้ หลายทีก่ ล่าวมานีจ้ ะไม่ชว่ ยให้เราปฏิรปู การศึกษาได้สำเร็จ หากเรา
I
บทนำ 39
ไม่สามารถถนอม (และท้าทาย) หัวใจมนุษย์อนั เป็นรากฐานสำคัญในการ สอนทีด่ ไี ด้ ตอนนี้เรามีการสนทนาสาธารณะว่าด้วยการปฏิรูปการศึกษาอย่าง ร้อนแรง แต่บทสนทนาก็เป็นเพียงคำถามเล่นสนุกๆ หนังสือเล่มนี้ตั้ง คำถามเกีย่ วกับการสอน ซึง่ เป็นคำถามที่ไม่มกี ารถามในการพูดคุยระดับ ชาติ และมักจะไม่ถามแม้แต่ในสถานศึกษาทีค่ รูเล่าเรียนและทำงาน แต่เป็น คำถามทีพ่ งึ ถามในที่ใดก็ตามทีถ่ อื ว่าการสอนทีด่ นี นั้ กำลังเป็นปัญหา เพราะ คำถามเหล่านี้ให้เกียรติและท้าทายหัวใจของครู และยังเชือ้ เชิญให้สบื ค้นลึก ลงไปกว่าคำถามทัว่ ไป • คำถามทีเ่ รามักถามกันบ่อยทีส่ ดุ คือ คำว่า ‘อะไร’ เช่น วิชาอะไรที ่ เราควรสอน? • เมือ่ บทสนทนาลงลึกไปอีกนิด เราจะเริม่ ตัง้ คำถาม ‘อย่างไร’ เช่น
มีเทคนิควิธกี ารอย่างไรทีท่ ำให้เราสอนได้ด?ี • บางโอกาสที่การสนทนาลงลึกไปอีก เราก็จะถามว่า ‘ทำไม’ เช่น
เราสอนเพือ่ อะไร และสอนไปถึงจุดไหน? • แต่นานๆ ครัง้ เราจึงจะตัง้ คำถามเกีย่ วกับ ‘ใคร’ เช่น ใครคือตัวตน
ของคนที่สอน? ความเป็นตัวตนของเรา เป็นรูปเป็นร่างขึ้นหรือ
ผิดรูปผิดร่างไปอย่างไร จากการทีเ่ ราสัมพันธ์กบั นักเรียน วิชาที่
สอน เพื่อนร่วมงาน และโลกของเรา สถาบันการศึกษาจะช่วย
จรรโลงและเกือ้ หนุนความเป็นตัวตนทีเ่ อือ้ ให้เกิดการสอนทีด่ นี มี้ ี
ความลุม่ ลึกยิง่ ขึน้ ได้อย่างไร ผมไม่ขอ้ งใจอะไรกับคำถามจำพวก ‘อะไร’ หรือ ‘อย่างไร’ หรือ ‘ทำไม’ นอกเสียจากว่าถามเพราะถือว่าคำถามอืน่ ไม่นา่ ถามเท่านัน้ เพราะคำถาม เหล่านี้สามารถให้ความคิดดีๆ ที่จะเป็นประโยชน์กับการเรียนการสอนได้
I
40 กล้าทีจ่ ะสอน
แต่ไม่มีคำถามไหนเลยที่เปิดพื้นที่ที่ผมต้องการสำรวจในหนังสือเล่มนี ้ นัน่ คือ พืน้ ทีภ่ ายในของครูผสู้ อน ในการทำแผนที่ภูมิทัศน์ด้านในให้ครบถ้วนจำต้องเดินไปใน ๓
เส้นทางหลักๆ นั่นคือ สติปัญญา อารมณ์ และจิตวิญญาณ และจะละเลย
สิ่งใดสิ่งหนึ่งไปไม่ได้ ถ้าเราลดทอนการสอนลงเหลือเพียงมิติทางสติ ปัญญาประการเดียวมันก็จะกลายเป็นนามธรรมทีไ่ ร้ความรูส้ กึ แต่ถา้ ลดมัน เหลือเพียงอารมณ์ การสอนก็อาจถือตัวเองเป็นใหญ่ แต่ถา้ ไปลดลงเหลือ มิติจิตวิญญาณ มันก็จะตัดขาดจากโลก สติปัญญา อารมณ์ และจิตวิญญาณพึง่ พาอาศัยกันและกันเพือ่ ความสมบูรณ์ ทัง้ สามองค์ประกอบนี้ ร้อยเชือ่ มกันในความเป็นมนุษย์ของเรา และในการศึกษาก็เป็นเช่นนัน้ ได้ ด้วย ผมจึงได้พยายามประสานมิตเิ หล่านีไ้ ว้ดว้ ยกันในหนังสือเล่มนี้ เวลาพูดถึง สติปัญญา (intellectual) ผมหมายถึงวิธีคิดที่เรามีต่อ
การเรียนการสอน รูปแบบและเนื้อหาของแนวคิดของเราว่า มนุษย์เรียน และรู้อย่างไร รวมทั้งธรรมชาติของผู้เรียนและวิชาเรียน ในเรื่องอารมณ์ (emotional) ผมหมายถึงความรูส้ กึ ของเราและผูเ้ รียนขณะสอนและเรียนรู้ ความรูส้ กึ ทีอ่ าจส่งผลให้การแลกเปลีย่ นเรียนรูข้ ยายตัวขึน้ หรือถดถอยลง ส่วนคำว่า จิตวิญญาณ (spiritual) นัน้ ผมหมายถึงหนทางอันหลากหลายที่ เราตอบสนองความปรารถนาของหัวใจในการเชือ่ มโยงกับความกว้างใหญ่ ของชีวติ ความปรารถนาทีก่ ระตุน้ ให้ความรักและการงานมีชวี ติ ชีวาขึน้ โดย เฉพาะการงานทีเ่ รียกว่าการสอน ไรเนอร์ มารีอา ริลเคอได้ถา่ ยทอดแรงปรารถนานีอ้ อกมาเป็นบทกวี
ในตอนต้นของบทนำนี้ ความว่า “อา อย่าได้ตดั ขาด” เขาเสนอว่า การแสวง หาทางจิตวิญญาณเพือ่ การเชือ่ มสัมพันธ์นนั้ เมือ่ เข้าใจได้ถอ่ งแท้จะนำเรา ออกจากหัวใจทีซ่ อ่ นเร้นไปสู่โลกทีก่ ว้างใหญ่ไพศาลและมองเห็นได้ “โลก
I
บทนำ 41
ไม่สามารถถนอม (และท้าทาย) หัวใจมนุษย์อนั เป็นรากฐานสำคัญในการ สอนทีด่ ไี ด้ ตอนนี้เรามีการสนทนาสาธารณะว่าด้วยการปฏิรูปการศึกษาอย่าง ร้อนแรง แต่บทสนทนาก็เป็นเพียงคำถามเล่นสนุกๆ หนังสือเล่มนี้ตั้ง คำถามเกีย่ วกับการสอน ซึง่ เป็นคำถามที่ไม่มกี ารถามในการพูดคุยระดับ ชาติ และมักจะไม่ถามแม้แต่ในสถานศึกษาทีค่ รูเล่าเรียนและทำงาน แต่เป็น คำถามทีพ่ งึ ถามในที่ใดก็ตามทีถ่ อื ว่าการสอนทีด่ นี นั้ กำลังเป็นปัญหา เพราะ คำถามเหล่านี้ให้เกียรติและท้าทายหัวใจของครู และยังเชือ้ เชิญให้สบื ค้นลึก ลงไปกว่าคำถามทัว่ ไป • คำถามทีเ่ รามักถามกันบ่อยทีส่ ดุ คือ คำว่า ‘อะไร’ เช่น วิชาอะไรที ่ เราควรสอน? • เมือ่ บทสนทนาลงลึกไปอีกนิด เราจะเริม่ ตัง้ คำถาม ‘อย่างไร’ เช่น
มีเทคนิควิธกี ารอย่างไรทีท่ ำให้เราสอนได้ด?ี • บางโอกาสที่การสนทนาลงลึกไปอีก เราก็จะถามว่า ‘ทำไม’ เช่น
เราสอนเพือ่ อะไร และสอนไปถึงจุดไหน? • แต่นานๆ ครัง้ เราจึงจะตัง้ คำถามเกีย่ วกับ ‘ใคร’ เช่น ใครคือตัวตน
ของคนที่สอน? ความเป็นตัวตนของเรา เป็นรูปเป็นร่างขึ้นหรือ
ผิดรูปผิดร่างไปอย่างไร จากการทีเ่ ราสัมพันธ์กบั นักเรียน วิชาที่
สอน เพื่อนร่วมงาน และโลกของเรา สถาบันการศึกษาจะช่วย
จรรโลงและเกือ้ หนุนความเป็นตัวตนทีเ่ อือ้ ให้เกิดการสอนทีด่ นี มี้ ี
ความลุม่ ลึกยิง่ ขึน้ ได้อย่างไร ผมไม่ขอ้ งใจอะไรกับคำถามจำพวก ‘อะไร’ หรือ ‘อย่างไร’ หรือ ‘ทำไม’ นอกเสียจากว่าถามเพราะถือว่าคำถามอืน่ ไม่นา่ ถามเท่านัน้ เพราะคำถาม เหล่านี้สามารถให้ความคิดดีๆ ที่จะเป็นประโยชน์กับการเรียนการสอนได้
I
40 กล้าทีจ่ ะสอน
แต่ไม่มีคำถามไหนเลยที่เปิดพื้นที่ที่ผมต้องการสำรวจในหนังสือเล่มนี ้ นัน่ คือ พืน้ ทีภ่ ายในของครูผสู้ อน ในการทำแผนที่ภูมิทัศน์ด้านในให้ครบถ้วนจำต้องเดินไปใน ๓
เส้นทางหลักๆ นั่นคือ สติปัญญา อารมณ์ และจิตวิญญาณ และจะละเลย
สิ่งใดสิ่งหนึ่งไปไม่ได้ ถ้าเราลดทอนการสอนลงเหลือเพียงมิติทางสติ ปัญญาประการเดียวมันก็จะกลายเป็นนามธรรมทีไ่ ร้ความรูส้ กึ แต่ถา้ ลดมัน เหลือเพียงอารมณ์ การสอนก็อาจถือตัวเองเป็นใหญ่ แต่ถา้ ไปลดลงเหลือ มิติจิตวิญญาณ มันก็จะตัดขาดจากโลก สติปัญญา อารมณ์ และจิตวิญญาณพึง่ พาอาศัยกันและกันเพือ่ ความสมบูรณ์ ทัง้ สามองค์ประกอบนี้ ร้อยเชือ่ มกันในความเป็นมนุษย์ของเรา และในการศึกษาก็เป็นเช่นนัน้ ได้ ด้วย ผมจึงได้พยายามประสานมิตเิ หล่านีไ้ ว้ดว้ ยกันในหนังสือเล่มนี้ เวลาพูดถึง สติปัญญา (intellectual) ผมหมายถึงวิธีคิดที่เรามีต่อ
การเรียนการสอน รูปแบบและเนื้อหาของแนวคิดของเราว่า มนุษย์เรียน และรู้อย่างไร รวมทั้งธรรมชาติของผู้เรียนและวิชาเรียน ในเรื่องอารมณ์ (emotional) ผมหมายถึงความรูส้ กึ ของเราและผูเ้ รียนขณะสอนและเรียนรู้ ความรูส้ กึ ทีอ่ าจส่งผลให้การแลกเปลีย่ นเรียนรูข้ ยายตัวขึน้ หรือถดถอยลง ส่วนคำว่า จิตวิญญาณ (spiritual) นัน้ ผมหมายถึงหนทางอันหลากหลายที่ เราตอบสนองความปรารถนาของหัวใจในการเชือ่ มโยงกับความกว้างใหญ่ ของชีวติ ความปรารถนาทีก่ ระตุน้ ให้ความรักและการงานมีชวี ติ ชีวาขึน้ โดย เฉพาะการงานทีเ่ รียกว่าการสอน ไรเนอร์ มารีอา ริลเคอได้ถา่ ยทอดแรงปรารถนานีอ้ อกมาเป็นบทกวี
ในตอนต้นของบทนำนี้ ความว่า “อา อย่าได้ตดั ขาด” เขาเสนอว่า การแสวง หาทางจิตวิญญาณเพือ่ การเชือ่ มสัมพันธ์นนั้ เมือ่ เข้าใจได้ถอ่ งแท้จะนำเรา ออกจากหัวใจทีซ่ อ่ นเร้นไปสู่โลกทีก่ ว้างใหญ่ไพศาลและมองเห็นได้ “โลก
I
บทนำ 41
ด้านในคืออะไรเล่า หากมิใช่ทอ้ งฟ้าครามเข้ม ทีเ่ หล่าสกุณาทะยานสายลม แห่งการคืนเรือนพัดผ่าน” ด้วยจินตภาพที่โดดเด่น ริลเคอได้ให้แผนทีท่ สี่ มบูรณ์ของรหัสยิก ซึง่ ความจริงทัง้ ภายนอกและภายในไหลเลือ่ นเข้าหากันและกันอย่างไร้รอยต่อ เหมือนกับแถบเมอบิอสุ ทีก่ ลืนหายในกันและกันตลอดเวลา ร่วมกันสร้างสรรค์ตวั เราและโลกทีเ่ ราอยูอ่ ย่างไม่สนิ้ สุด แม้วา่ หนังสือเล่มนีม้ พี นื้ ฐานอยู่ ที่ด้านในของครูก็ตาม แต่มันก็จะดำเนินเนื่องออกไปภายนอกสู่ชุมชนที่ ต้องการการเรียนการสอน การแสวงหาความเป็นหนึ่งเดียวกันภายใน กลายเป็นการแสวงหาความสัมพันธ์ในโลกภายนอก นัน่ คือเรารูส้ กึ อบอุน่ สบายในจิตวิญญาณของเราอย่างไร เราก็จะรูส้ กึ อบอุน่ ในความสัมพันธ์กบั ผูอ้ นื่ เช่นนัน้ ความห่วงใยของผมต่อพืน้ ภูมภิ ายในของการสอนอาจเหมือนหมกมุน่ กระทัง่ นอกประเด็นไป ในยามทีค่ รูจำนวนมากกำลังดิน้ รนเพียงเพือ่ อยู่ให้ รอด บางครัง้ มีคนถามผมว่า จะไม่มปี ระโยชน์กว่าหรือถ้าผมจะให้เคล็ดลับ อุบาย และเทคนิควิธีในการช่วยให้ครูมีชีวิตรอดในชั้นเรียน เป็นสิ่งที่ครู ธรรมดาๆ เอาไปใช้ได้ในชีวติ ประจำวัน ผมรู้สึกงงกับคำถาม เพราะนับเป็นเวลายี่สิบปีแล้วที่ผมได้นำเอา แนวทางปฏิบตั ทิ มี่ ีในหนังสือเล่มนี้ไปใช้งาน ในการจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การสัมมนา และฝึกอบรมสำหรับนักการศึกษาทีห่ ลากหลาย ผมได้รว่ มงาน กับครูจำนวนนับไม่ถว้ น และครูจำนวนมากได้ยนื ยันประสบการณ์ของผมว่า สิง่ ทีน่ ำไปใช้ได้จริงในการปฏิบตั ทิ สี่ ำคัญพอๆ กับวิธกี าร ซึง่ เราอาจได้รบั จาก การทำงานใดๆ ก็ตาม คือการเข้าใจว่ามันเกิดอะไรขึน้ ภายในตัวเราในขณะที่ เรากำลังทำสิง่ นัน้ ๆ ยิง่ เราคุน้ เคยกับพืน้ ภูมภิ ายในตัวเรามากเท่าไร การ สอนของเรา รวมถึงการใช้ชวี ติ ของเราก็จะยิง่ ยืนหยัดมัน่ คงได้มากเท่านัน้
I
42 กล้าทีจ่ ะสอน
ผมเคยได้ยนิ ว่าในการอบรมนักบำบัดโรค ซึง่ เกีย่ วข้องกับเทคนิคการ ปฏิบตั มิ าก มีคำกล่าวว่า “เทคนิคเป็นสิง่ ทีค่ ณ ุ ใช้ จนกว่าผูบ้ ำบัดจะมาถึง” วิธกี ารทีด่ อี าจช่วยให้นกั บำบัดเข้าถึงปัญหาของผูป้ ว่ ยได้ แต่การบำบัดทีด่ ี จะไม่เริม่ จนกว่านักบำบัดตัวจริงจะก้าวเข้ามาในชีวติ จริงของผูป้ ว่ ย เทคนิควิธเี ป็นสิง่ ทีค่ รูใช้จนกระทัง่ ครูตวั จริงมาถึง และหนังสือเล่มนี้
จะช่วยให้ครูตวั จริงปรากฏตัว ถึงแม้จะจริงอยูท่ วี่ า่ งานด้านในจะก่อให้เกิด ผลลัพธ์ภายนอกสำหรับปัจเจกก็ตาม คำถามถึงการปฏิบตั กิ ย็ งั คงผุดขึน้ มา ในรูปอืน่ ได้แก่ สถาบันการศึกษาจะสนับสนุนชีวติ ด้านในของครูได้อย่างไร และเราควรคาดหวังให้สถาบันเหล่านีม้ ภี ารกิจดังกล่าวด้วยไหม? นีเ่ ป็นคำถามทีม่ คี า่ พอจะใคร่ครวญหาคำตอบ ดังนัน้ เราจะกล่าวถึง เรื่องนี้ในบทที่หก ตอนนี้ผมขอถามกลับกันสักหน่อย นั่นคือ โรงเรียนจะ ให้การศึกษาแก่นกั เรียนได้อย่างไร หากไม่สามารถเกือ้ กูลชีวติ ด้านในของครู การให้การศึกษาคือการนำทางผูเ้ รียนในการเดินทางด้านในไปสูว่ ธิ ที ซี่ อื่ ตรง มากขึ้นในการมองและการเป็นอยู่ในโลกนี้ โรงเรียนจะบรรลุภารกิจนี้ได้ อย่างไร หากไม่สนับสนุนให้ผนู้ ำทางทัง้ หลายได้สำรวจภูมทิ ศั น์ดา้ นในด้วย ตัวเองก่อน เส้นทางที่แทบไม่ใช้ การที่ผมให้ความสำคัญที่ตัวครูอาจดูล้าสมัยสำหรับผู้ที่เชื่อว่าการปฏิรูป การศึกษาไม่มที างเกิดขึน้ ได้ จนกว่าเราจะเลิกกังวลกับการสอนแล้วหันมา เน้นทีก่ ารเรียนแทน ผมไม่มีข้อสงสัยเลยว่า นักเรียนที่ทำหน้าที่เรียนรู้มีความสำคัญต่อ การสอนมากกว่าครูผสู้ อนบทเรียน นักเรียนทีเ่ รียนรูค้ อื ผลลัพธ์ทดี่ เี ลิศของ
I
บทนำ 43
ด้านในคืออะไรเล่า หากมิใช่ทอ้ งฟ้าครามเข้ม ทีเ่ หล่าสกุณาทะยานสายลม แห่งการคืนเรือนพัดผ่าน” ด้วยจินตภาพที่โดดเด่น ริลเคอได้ให้แผนทีท่ สี่ มบูรณ์ของรหัสยิก ซึง่ ความจริงทัง้ ภายนอกและภายในไหลเลือ่ นเข้าหากันและกันอย่างไร้รอยต่อ เหมือนกับแถบเมอบิอสุ ทีก่ ลืนหายในกันและกันตลอดเวลา ร่วมกันสร้างสรรค์ตวั เราและโลกทีเ่ ราอยูอ่ ย่างไม่สนิ้ สุด แม้วา่ หนังสือเล่มนีม้ พี นื้ ฐานอยู่ ที่ด้านในของครูก็ตาม แต่มันก็จะดำเนินเนื่องออกไปภายนอกสู่ชุมชนที่ ต้องการการเรียนการสอน การแสวงหาความเป็นหนึ่งเดียวกันภายใน กลายเป็นการแสวงหาความสัมพันธ์ในโลกภายนอก นัน่ คือเรารูส้ กึ อบอุน่ สบายในจิตวิญญาณของเราอย่างไร เราก็จะรูส้ กึ อบอุน่ ในความสัมพันธ์กบั ผูอ้ นื่ เช่นนัน้ ความห่วงใยของผมต่อพืน้ ภูมภิ ายในของการสอนอาจเหมือนหมกมุน่ กระทัง่ นอกประเด็นไป ในยามทีค่ รูจำนวนมากกำลังดิน้ รนเพียงเพือ่ อยู่ให้ รอด บางครัง้ มีคนถามผมว่า จะไม่มปี ระโยชน์กว่าหรือถ้าผมจะให้เคล็ดลับ อุบาย และเทคนิควิธีในการช่วยให้ครูมีชีวิตรอดในชั้นเรียน เป็นสิ่งที่ครู ธรรมดาๆ เอาไปใช้ได้ในชีวติ ประจำวัน ผมรู้สึกงงกับคำถาม เพราะนับเป็นเวลายี่สิบปีแล้วที่ผมได้นำเอา แนวทางปฏิบตั ทิ มี่ ีในหนังสือเล่มนี้ไปใช้งาน ในการจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การสัมมนา และฝึกอบรมสำหรับนักการศึกษาทีห่ ลากหลาย ผมได้รว่ มงาน กับครูจำนวนนับไม่ถว้ น และครูจำนวนมากได้ยนื ยันประสบการณ์ของผมว่า สิง่ ทีน่ ำไปใช้ได้จริงในการปฏิบตั ทิ สี่ ำคัญพอๆ กับวิธกี าร ซึง่ เราอาจได้รบั จาก การทำงานใดๆ ก็ตาม คือการเข้าใจว่ามันเกิดอะไรขึน้ ภายในตัวเราในขณะที่ เรากำลังทำสิง่ นัน้ ๆ ยิง่ เราคุน้ เคยกับพืน้ ภูมภิ ายในตัวเรามากเท่าไร การ สอนของเรา รวมถึงการใช้ชวี ติ ของเราก็จะยิง่ ยืนหยัดมัน่ คงได้มากเท่านัน้
I
42 กล้าทีจ่ ะสอน
ผมเคยได้ยนิ ว่าในการอบรมนักบำบัดโรค ซึง่ เกีย่ วข้องกับเทคนิคการ ปฏิบตั มิ าก มีคำกล่าวว่า “เทคนิคเป็นสิง่ ทีค่ ณ ุ ใช้ จนกว่าผูบ้ ำบัดจะมาถึง” วิธกี ารทีด่ อี าจช่วยให้นกั บำบัดเข้าถึงปัญหาของผูป้ ว่ ยได้ แต่การบำบัดทีด่ ี จะไม่เริม่ จนกว่านักบำบัดตัวจริงจะก้าวเข้ามาในชีวติ จริงของผูป้ ว่ ย เทคนิควิธเี ป็นสิง่ ทีค่ รูใช้จนกระทัง่ ครูตวั จริงมาถึง และหนังสือเล่มนี้
จะช่วยให้ครูตวั จริงปรากฏตัว ถึงแม้จะจริงอยูท่ วี่ า่ งานด้านในจะก่อให้เกิด ผลลัพธ์ภายนอกสำหรับปัจเจกก็ตาม คำถามถึงการปฏิบตั กิ ย็ งั คงผุดขึน้ มา ในรูปอืน่ ได้แก่ สถาบันการศึกษาจะสนับสนุนชีวติ ด้านในของครูได้อย่างไร และเราควรคาดหวังให้สถาบันเหล่านีม้ ภี ารกิจดังกล่าวด้วยไหม? นีเ่ ป็นคำถามทีม่ คี า่ พอจะใคร่ครวญหาคำตอบ ดังนัน้ เราจะกล่าวถึง เรื่องนี้ในบทที่หก ตอนนี้ผมขอถามกลับกันสักหน่อย นั่นคือ โรงเรียนจะ ให้การศึกษาแก่นกั เรียนได้อย่างไร หากไม่สามารถเกือ้ กูลชีวติ ด้านในของครู การให้การศึกษาคือการนำทางผูเ้ รียนในการเดินทางด้านในไปสูว่ ธิ ที ซี่ อื่ ตรง มากขึ้นในการมองและการเป็นอยู่ในโลกนี้ โรงเรียนจะบรรลุภารกิจนี้ได้ อย่างไร หากไม่สนับสนุนให้ผนู้ ำทางทัง้ หลายได้สำรวจภูมทิ ศั น์ดา้ นในด้วย ตัวเองก่อน เส้นทางที่แทบไม่ใช้ การที่ผมให้ความสำคัญที่ตัวครูอาจดูล้าสมัยสำหรับผู้ที่เชื่อว่าการปฏิรูป การศึกษาไม่มที างเกิดขึน้ ได้ จนกว่าเราจะเลิกกังวลกับการสอนแล้วหันมา เน้นทีก่ ารเรียนแทน ผมไม่มีข้อสงสัยเลยว่า นักเรียนที่ทำหน้าที่เรียนรู้มีความสำคัญต่อ การสอนมากกว่าครูผสู้ อนบทเรียน นักเรียนทีเ่ รียนรูค้ อื ผลลัพธ์ทดี่ เี ลิศของ
I
บทนำ 43
ครูผทู้ ำการสอน และผมก็ไม่มขี อ้ สงสัยเลยว่าผูเ้ รียนเองก็มวี ธิ กี ารเรียนรูท้ ี่ หลากหลายและมหัศจรรย์มาก รวมทั้งวิธีเรียนรู้ที่ไม่จำเป็นต้องอาศัยครู
ผูส้ อนในห้องเรียนเลย หรือแม้แต่วธิ ที ไี่ ม่ตอ้ งอาศัยทัง้ ครูและห้องเรียนด้วย ซ้ำไป แต่ผมก็ชดั เจนว่าในห้องบรรยาย ห้องสัมมนา ในภาคสนาม ในห้อง ทดลอง หรือแม้แต่ในห้องเรียนอิเล็กทรอนิก* เป็นพืน้ ทีท่ คี่ นส่วนมากได้รบั การศึกษาอย่างเป็นทางการ และครูกม็ อี ำนาจในการสร้างเงือ่ นไขทีช่ ว่ ยให้ นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมากมาย หรือไม่กก็ ดี กันไม่ให้นกั เรียนได้ เรียนรู้เลยแม้แต่น้อย การสอนคือการกระทำด้วยความตั้งใจในการสร้าง เงือ่ นไขการเรียนรูเ้ หล่านี้ และสิง่ ทีจ่ ำเป็นต่อการสอนทีด่ คี อื การเข้าใจแหล่ง ทีม่ าของทัง้ การกระทำและความตัง้ ใจทีอ่ ยูด่ า้ นในของเรา ส่วนใหญ่ผมสอนในวิทยาลัยและหลักสูตรการศึกษาสำหรับผู้ใหญ่ แต่ ในหลายปีมานีผ้ มได้มโี อกาสซึมซับประสบการณ์ทดี่ ีในการทำงานกับกลุม่ ครูจากโรงเรียนของรัฐ ตัง้ แต่อนุบาลถึงเกรดสิบสอง** ผมได้เรียนรูอ้ ย่าง มากจากเพื่อนครูเหล่านี้ในสองเรื่อง ได้แก่ หนึ่ง ครูทุกระดับชั้นแห่งการ ศึกษามีความเหมือนกันมากกว่าทีเ่ ราคิด และเราก็ไม่ควรจะเล่นสำนวนว่า ระดับไหนจึงจะเรียกว่า ‘ระดับสูง’ ครูทสี่ อนระดับอนุบาลมักจะรูเ้ รือ่ งงานฝีมอื ดีกว่าพวกเราหลายคนที่ จบปริญญาเอก อาจเป็นเพราะว่านักเรียนในระดับ ‘ล่าง’ เหล่านีเ้ หมือนกับ เด็กในนิทานเรือ่ ง “ฉลองพระองค์ชดุ ใหม่ของจักรพรรดิ” เด็กๆ ไม่ได้สนใจ หรอกว่าคุณจบการศึกษาระดับสูงจากมหาวิทยาลัยอะไร หรือใครคือคณะ กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ของคุณบ้าง หรือคุณเขียนหนังสือมาแล้วกีเ่ ล่ม * Electronic Classroom คือเรียนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต - ผูแ้ ปล ** มัธยมหก - ผูแ้ ปล
I
44 กล้าทีจ่ ะสอน
แต่สิ่งที่พวกเขาสัมผัสได้อย่างรวดเร็วมากคือ คุณมีตัวตนหรือเปล่า และ พวกเขาก็จะตอบสนองตามสิง่ ทีเ่ ขาสัมผัส การรับรูอ้ ย่างบริสทุ ธิข์ องเด็ก เล็กช่วยยืนยันความเชื่อมั่นของผมให้แรงกล้ายิ่งขึ้น ว่าตัวตนของครูคือ หัวใจสำคัญของการศึกษาในทุกระดับ “ใครคือตัวตนที่ทำหน้าที่สอน?” เป็นคำถามหัวใจของหนังสือเล่มนี้ ทว่าการตอบคำถามนีด้ ว้ ยภาษาเขียน เป็นสิง่ ทีท่ า้ ทายกว่าทีผ่ มเคยคิด ใน การเขียนและแก้ไขหนังสือเล่มนี้หลายต่อหลายครั้งในช่วงห้าปีที่ผ่านมา ผมได้เรียนรูว้ า่ มันเย้ายวนมากทีจ่ ะอยูก่ บั คำถามเกีย่ วกับ ‘อะไร’ ‘อย่างไร’ และ ‘ทำไม’ เพราะคำถามเหล่านี้ตอบด้วยภาษาเขียนได้ง่ายกว่า และ สามารถแปรเป็นโครงการเสนอขอรับทุนสนับสนุนได้งา่ ยกว่า แต่ผมก็ยนื กรานกับคำถาม ‘ใคร’ เพราะมันเป็นหนทางที่ไม่ใคร่มีใคร เดินเพื่อค้นหาการปฏิรูปการศึกษา เป็นเส้นทางที่นำไปสู่การฟื้นฟูทรัพยากรด้านในของมนุษย์ทจี่ ำเป็นต่อการสอนทีด่ ี การปฏิรปู ทีแ่ ท้จริงจำเป็น อย่างยิง่ และเราก็ปรับโครงสร้างการศึกษาอยูบ่ อ่ ยมาก แต่กย็ งั ไปไม่ถงึ สิง่ ที่ ฝันไว้ จนเราควรจะส่งหน่วยสำรวจหลายๆ หน่วยออกไปเสาะหาบนหนทาง ทีม่ อี ยูท่ กุ ทาง ผมยืนยันเรื่องนี้ด้วยเหตุผลอีกประการหนึ่งที่แทงใจดำมากกว่า ใน การสำรวจคำถามทีว่ า่ “ใครคือตัวตนทีท่ ำการสอน” เพราะเป็นคำถามทีเ่ ป็น หัวใจของวิชาชีพของผม ผมเชือ่ ว่าคำถามนีเ้ ป็นรากฐานทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ทีเ่ รา จะถามได้เกี่ยวกับการสอนและคนสอน เพื่อประโยชน์ของการเรียนและ
ผูเ้ รียน การตัง้ คำถามนีอ้ ย่างเปิดเผยและซือ่ ตรง ทัง้ ด้วยตัวเองและร่วมกัน เราจะสามารถเอือ้ ประโยชน์ให้กบั นักเรียนของเราได้อย่างจริงใจ และช่วย ส่งเสริมความเป็นอยูท่ ดี่ ขี องเรา สร้างผลอันพึงปรารถนาร่วมกันกับเพือ่ น ร่วมงาน และช่วยให้การศึกษานำแสงสว่างและชีวติ มาสูโ่ ลกนีม้ ากขึน้
I
บทนำ 45
ครูผทู้ ำการสอน และผมก็ไม่มขี อ้ สงสัยเลยว่าผูเ้ รียนเองก็มวี ธิ กี ารเรียนรูท้ ี่ หลากหลายและมหัศจรรย์มาก รวมทั้งวิธีเรียนรู้ที่ไม่จำเป็นต้องอาศัยครู
ผูส้ อนในห้องเรียนเลย หรือแม้แต่วธิ ที ไี่ ม่ตอ้ งอาศัยทัง้ ครูและห้องเรียนด้วย ซ้ำไป แต่ผมก็ชดั เจนว่าในห้องบรรยาย ห้องสัมมนา ในภาคสนาม ในห้อง ทดลอง หรือแม้แต่ในห้องเรียนอิเล็กทรอนิก* เป็นพืน้ ทีท่ คี่ นส่วนมากได้รบั การศึกษาอย่างเป็นทางการ และครูกม็ อี ำนาจในการสร้างเงือ่ นไขทีช่ ว่ ยให้ นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมากมาย หรือไม่กก็ ดี กันไม่ให้นกั เรียนได้ เรียนรู้เลยแม้แต่น้อย การสอนคือการกระทำด้วยความตั้งใจในการสร้าง เงือ่ นไขการเรียนรูเ้ หล่านี้ และสิง่ ทีจ่ ำเป็นต่อการสอนทีด่ คี อื การเข้าใจแหล่ง ทีม่ าของทัง้ การกระทำและความตัง้ ใจทีอ่ ยูด่ า้ นในของเรา ส่วนใหญ่ผมสอนในวิทยาลัยและหลักสูตรการศึกษาสำหรับผู้ใหญ่ แต่ ในหลายปีมานีผ้ มได้มโี อกาสซึมซับประสบการณ์ทดี่ ีในการทำงานกับกลุม่ ครูจากโรงเรียนของรัฐ ตัง้ แต่อนุบาลถึงเกรดสิบสอง** ผมได้เรียนรูอ้ ย่าง มากจากเพื่อนครูเหล่านี้ในสองเรื่อง ได้แก่ หนึ่ง ครูทุกระดับชั้นแห่งการ ศึกษามีความเหมือนกันมากกว่าทีเ่ ราคิด และเราก็ไม่ควรจะเล่นสำนวนว่า ระดับไหนจึงจะเรียกว่า ‘ระดับสูง’ ครูทสี่ อนระดับอนุบาลมักจะรูเ้ รือ่ งงานฝีมอื ดีกว่าพวกเราหลายคนที่ จบปริญญาเอก อาจเป็นเพราะว่านักเรียนในระดับ ‘ล่าง’ เหล่านีเ้ หมือนกับ เด็กในนิทานเรือ่ ง “ฉลองพระองค์ชดุ ใหม่ของจักรพรรดิ” เด็กๆ ไม่ได้สนใจ หรอกว่าคุณจบการศึกษาระดับสูงจากมหาวิทยาลัยอะไร หรือใครคือคณะ กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ของคุณบ้าง หรือคุณเขียนหนังสือมาแล้วกีเ่ ล่ม * Electronic Classroom คือเรียนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต - ผูแ้ ปล ** มัธยมหก - ผูแ้ ปล
I
44 กล้าทีจ่ ะสอน
แต่สิ่งที่พวกเขาสัมผัสได้อย่างรวดเร็วมากคือ คุณมีตัวตนหรือเปล่า และ พวกเขาก็จะตอบสนองตามสิง่ ทีเ่ ขาสัมผัส การรับรูอ้ ย่างบริสทุ ธิข์ องเด็ก เล็กช่วยยืนยันความเชื่อมั่นของผมให้แรงกล้ายิ่งขึ้น ว่าตัวตนของครูคือ หัวใจสำคัญของการศึกษาในทุกระดับ “ใครคือตัวตนที่ทำหน้าที่สอน?” เป็นคำถามหัวใจของหนังสือเล่มนี้ ทว่าการตอบคำถามนีด้ ว้ ยภาษาเขียน เป็นสิง่ ทีท่ า้ ทายกว่าทีผ่ มเคยคิด ใน การเขียนและแก้ไขหนังสือเล่มนี้หลายต่อหลายครั้งในช่วงห้าปีที่ผ่านมา ผมได้เรียนรูว้ า่ มันเย้ายวนมากทีจ่ ะอยูก่ บั คำถามเกีย่ วกับ ‘อะไร’ ‘อย่างไร’ และ ‘ทำไม’ เพราะคำถามเหล่านี้ตอบด้วยภาษาเขียนได้ง่ายกว่า และ สามารถแปรเป็นโครงการเสนอขอรับทุนสนับสนุนได้งา่ ยกว่า แต่ผมก็ยนื กรานกับคำถาม ‘ใคร’ เพราะมันเป็นหนทางที่ไม่ใคร่มีใคร เดินเพื่อค้นหาการปฏิรูปการศึกษา เป็นเส้นทางที่นำไปสู่การฟื้นฟูทรัพยากรด้านในของมนุษย์ทจี่ ำเป็นต่อการสอนทีด่ ี การปฏิรปู ทีแ่ ท้จริงจำเป็น อย่างยิง่ และเราก็ปรับโครงสร้างการศึกษาอยูบ่ อ่ ยมาก แต่กย็ งั ไปไม่ถงึ สิง่ ที่ ฝันไว้ จนเราควรจะส่งหน่วยสำรวจหลายๆ หน่วยออกไปเสาะหาบนหนทาง ทีม่ อี ยูท่ กุ ทาง ผมยืนยันเรื่องนี้ด้วยเหตุผลอีกประการหนึ่งที่แทงใจดำมากกว่า ใน การสำรวจคำถามทีว่ า่ “ใครคือตัวตนทีท่ ำการสอน” เพราะเป็นคำถามทีเ่ ป็น หัวใจของวิชาชีพของผม ผมเชือ่ ว่าคำถามนีเ้ ป็นรากฐานทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ทีเ่ รา จะถามได้เกี่ยวกับการสอนและคนสอน เพื่อประโยชน์ของการเรียนและ
ผูเ้ รียน การตัง้ คำถามนีอ้ ย่างเปิดเผยและซือ่ ตรง ทัง้ ด้วยตัวเองและร่วมกัน เราจะสามารถเอือ้ ประโยชน์ให้กบั นักเรียนของเราได้อย่างจริงใจ และช่วย ส่งเสริมความเป็นอยูท่ ดี่ ขี องเรา สร้างผลอันพึงปรารถนาร่วมกันกับเพือ่ น ร่วมงาน และช่วยให้การศึกษานำแสงสว่างและชีวติ มาสูโ่ ลกนีม้ ากขึน้
I
บทนำ 45