อหิงสายาตรา บนเส้นทางสู่อินเดียอื่น (Journey to the Other India) (ตัวอย่างทดลองอ่าน)

Page 1

อหิ ง สายาตรา บ น เ ส้ น ท า ง สู ่ อิ น เ ดี ย อื่ น

Journey to the Other India

ราชโคปาล พี. วี. Rajagopal P. V. สายพิณ กุลกนกวรรณ ฮัมดานี แปล สุรัตน์ โหราชัยกุล บรรณาธิการ


ปาฐกถามหาตมะคานธีอนุสรณ์ว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งที่ ๓ (๒๕๕๗) ศูนย์อินเดียศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


จากส�ำนักพิมพ์

หนังสือเรือ่ งนีพ้ ดู ถึงความกล้า สันติวธิ แี ละความส�ำเร็จ  ความส�ำเร็จของการเดินเท้า ทีน่ ำ� ขบวนโดยเอกตา ปริษทั  ภายใต้การน�ำของราชโคปาล พี. วี. ทีม่ ใี จกลางของการ ขับเคลื่อนขบวนยาตราเพื่อที่ดินท�ำกินและการด�ำรงชีพของผู้ยากไร้  เอกตา ปริษัท ได้เลือกวันที่ ๒ ตุลาคม อันเป็นวันระลึกถึงวันเกิดของมหาตมะคานธีเป็นการเปิดตัว การเดินเท้าทางไกลแบบมหากาพย์ รอนแรมเป็นเวลาหลายเดือนไปในพืน้ ทีต่ า่ งๆ ทัว่ อินเดียตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ โดยยึดหลักการอหิงสาและสัตยาเคราะห์ตามค�ำสอนของ มหาตมะคานธี นัน่ คือมีความกล้าเมือ่ ต้องเผชิญกับการกดขี ่ แสวงหาความสมานไมตรี ดีกว่าการเอาชัยเหนือผู้กดขี่ จงต่อกรกับระบบที่กดขี่หาใช่ผู้กดขี่ ยอมรับความเจ็บ ปวดด้วยตนเองดีกว่าท�ำลายผู้อื่น ด�ำรงไว้ซึ่งความหวังว่าความเป็นธรรมทางสังคม จะบังเกิดผล ราชโคปาลเคยมาเมืองไทยและเชื่อมต่อกิจกรรมกับองค์กรต่างๆ ในบ้านเรา โดยเฉพาะในปี ๒๕๔๐ เมื่อเขาได้รับเชิญจากอาจารย์สุลักษณ์ ศิวรักษ์มาร่วมการ ประชุมนานาชาติเรื่อง ทางเลือกออกจากบริโภคนิยม (International Gathering on Alternative to Consumerism) ที่จัดขึ้นโดยมูลนิธิเสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป ณ พุทธมณฑล เป็นการรวมพลังของผู้คนและองค์กรต่างๆ จากทั้งในและนอกประเทศ เพือ่ แสวงหาทางออกและทางเลือกต่างๆ อาทิ การศึกษาทางเลือก การเมืองทางเลือก และธุรกิจทางเลือก เป็นต้น โดยแนวคิดเรื่องธุรกิจทางเลือกนี้ได้กลายมาเป็นแรง ผลักดันให้เกิดบริษัทสวนเงินมีมาในฐานะการสร้างธุรกิจอย่างใหม่ การเข้าร่วมการ ประชุมในครัง้ นัน้ ราชโคปาลได้มโี อกาสไปเยีย่ มเยือนแบ่งปันเรือ่ งราวของเขากับชุมชน ต่างๆ ในบ้านเรา ปาฐกถามหาตมะคานธีอนุสรณ์ว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งที่ ๓ ที่จัดขึ้นใน วันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีราชโคปาลเป็นปาฐก ในครั้งนี้ถือเป็นโอกาสอันดีส�ำหรับการเริ่มต้นปี ๒๕๕๘  ซึ่งเป็น ‘ปีดินสากล’ (the 6  อหิงสายาตรา


International Year of Soils)  แท้จริงหาใช่เพียงดินเท่านั้น หากคือความสัมพันธ์ อันยาวนานทีเ่ กษตรกรมีตอ่ ผืนดิน  ความสัมพันธ์อนั ยาวนานนีเ่ องทีท่ ำ� ให้ผนื ดินอุดม และผืนดินอันอุดมนีเ่ องจะช่วยสร้างความหวังแก่คนรุน่ ต่อไปว่าจะมีชวี ติ อยูอ่ ย่างผาสุก ได้  และนี่คือเหตุผลว่าท�ำไมเอกตา ปริษัทถึงเน้นย�้ำว่า เกษตรกรจ�ำต้องมีกรอบทาง กฎหมายรองรับทีไ่ ม่เพียงได้เข้าถึงทีด่ นิ เท่านัน้  แต่ควรมีหลักประกันและความมัน่ คง ในระยะยาวด้วย เพื่อสร้างสายสัมพันธ์อันดีต่อการสร้างความอุดมให้กับผืนดิน นับวันคู่ความขัดแย้งและผลประโยชน์ระหว่างเจ้าที่ดินทางอุตสาหกรรมและ การค้าการพาณิชย์ก�ำลังต่อกรกับวิถีการด�ำรงชีพของเกษตรกรรายย่อยที่อยู่กับการ ดูแลผืนดิน นับวันจะเพิ่มมากขึ้นและทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ น�ำมาซึ่งภาวะกลืน ไม่เข้าคลายไม่ออกของผู้ด�ำเนินนโยบาย  การตัดสินใจเลือกสนับสนุนอุตสาหกรรม และการค้าโดยละเลยเรื่องที่ท�ำกินของคนเล็กคนน้อย อาจน�ำไปสู่ปัญหาการอพยพ ของเกษตรกรหรือชาวนาไร้ที่ท�ำกินมาสู่เมืองใหญ่มากขึ้น ทั้งเผชิญกับเศรษฐกิจที่ไม่ ยั่งยืน ความเหลื่อมล�้ำ ความไม่สงบทางสังคมและความรุนแรงต่างๆ นานา หนังสือเล่มนีช้ ใี้ ห้เราในฐานะผูบ้ ริโภคได้เห็นและตระหนักถึงความเชือ่ มโยงของ การกินของเราทุกคน ว่าล้วนเกี่ยวโยงกับผืนดิน การรู้ว่าใครคือคนผลิตอาหาร ผลิต จากทีไ่ หนและอย่างไร นับว่ามีความส�ำคัญอย่างยิง่  ผลจากการทีไ่ ม่รวู้ า่ อาหารถูกผลิต มาอย่างไรและโดยใครนั้น หรือแม้แต่ไม่ต้องการที่จะรับรู้เลย ก็อาจจะน�ำไปสู่ปัญหา มากมายอย่างไม่อาจจะคาดคิดก็เป็นได้ ด้วยเหตุนี้ ส�ำนักพิมพ์สวนเงินมีมาและศูนย์อินเดียศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย จึงหวังว่าการจัดพิมพ์หนังสือ อหิงสายาตรา บนเส้นทางสู่อินเดียอื่น และกิจกรรมปาฐกถามหาตมะคานธีอนุสรณ์ว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งที ่ ๓ นี้ จะ เป็นการร่วมเรียนรู้ประสบการณ์และแรงบันดาลใจจากเอกตา ปริษัท รวมทั้งการเข้า ร่วมใน ‘ปีดินสากล’ จะเป็นแรงกระเพื่อมและช่วยสร้างจุดเปลี่ยนที่ส�ำคัญสู่ความเป็น ธรรมในสังคม

จากส�ำนักพิมพ์  7


ค�ำน�ำ

ผมได้รับเกียรติอย่างยิ่งที่ได้เขียนค�ำน�ำให้หนังสือเล่มนี้ทั้งในฐานะบรรณาธิการแปล และผู้อ�ำนวยการศูนย์อินเดียศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้จัดงานปาฐกถา มหาตมะคานธีอนุสรณ์วา่ ด้วยการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน ทีก่ ล่าวเช่นนีเ้ พราะ ราชโคปาล พี. วี. (Rajagopal P. V.)1 หรือทีช่ าวอินเดียจ�ำนวนมากนิยมเรียกด้วยความรักใคร่วา่ รายายี (Rajaji) เป็นบุคคลส�ำคัญผู้ยึดมั่นในอุดมการณ์เพื่อต่อสู้เรียกร้องความยุติธรรมให้แก่ ชาวอินเดียผู้ไร้ที่ท�ำกินจ�ำนวนมาก ในขณะเดียวกัน รายายีก็ยึดมั่นแน่วแน่ที่จะต่อสู้ เรียกร้องความยุตธิ รรมตามหลักอหิงสา (ahimsa) และสัตยาเคราะห์ (satyagraha)  ที่มหาตมะคานธียึดเป็นเสาหลักในการต่อสู้เพื่อเอกราชจากการปกครองของอังกฤษ ไม่น่าแปลกใจเลยว่า ทุกครั้งที่ผมถามไถ่เรื่องราวเกี่ยวกับราชโคปาลจากเพื่อนๆ ชาว อินเดีย ก็จะได้ค�ำตอบลักษณะเดียวกัน ดังที่มิตรชาวอินเดียท่านหนึ่งย้อนถามว่า “คุณหมายถึงนักเคลื่อนไหวตามแนวทางคานธีใช่ไหม” รายายีถือก�ำเนิด ณ เมืองติลเลงเกรี (Thillenkery) รัฐเกรละ (Kerala) ทาง ตอนใต้ของอินเดีย ในปี ๑๙๔๘ เพียงปีเดียวหลังอินเดียได้รับเอกราช และปีเดียวกับ ที่มหาตมะคานธีถูกสังหารโดยนายนาถูราม วินายก โคฑเส (Nathuram Vinayak Godse) ชาวฮินดูชาตินยิ มแบบสุดโต่ง  รายายีในวัยหนุม่ ได้รบั การฝึกฝนให้เป็นศิลปิน กถกลี (Kathakali) นาฏศิลป์อินเดียใต้รูปแบบหนึ่งที่ใช้ถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ จาก วรรณคดี  รายายีได้โอกาสเดินทางไปแสดงกถกลีทั่วอินเดีย แต่เมื่อวันเวลาผ่านไป เขาก็เริ่มรู้สึกว่าการเป็นศิลปินเช่นนั้นอาจมิใช่สิ่งที่เขาปรารถนาแท้จริง  ครั้งหนึ่ง ๑

เชื่อกันว่าที่ราชโคปาลตั้งใจให้คนเรียกชื่อแรกของตนแทนนามสกุล เพราะไม่ประสงค์ ให้การต่อสู้ เรียกร้องความยุติธรรมที่ตนเป็นผู้น�ำนั้น มีประเด็นวรรณะเข้ามาเกี่ยวข้อง กล่าวอีกอย่างคือ ราช โคปาลต้องการให้การต่อสูเ้ พือ่ ความยุตธิ รรมเป็นเรือ่ งของมนุษย์ทกุ ผูน้ ามโดยปราศจากวรรณะ

8  อหิงสายาตรา


รายายีเคยกล่าวไว้ถงึ เหตุทที่ ำ� ให้ความกระตือรือร้นในกถกลีของเขาเลือนหายไปว่า “ผม เห็นแต่ชนชัน้ กลางมานัง่ เพลิดเพลินกับกถกลี ผมจึงฉุกคิดขึน้ มาทันควันว่า นีม่ ใิ ช่การ ช่วยเหลือคนจนเลย”2 ในปี ๑๙๖๙ เอส. เอ็น. สุภา ราว (S. N. Subha Rao) คนของคองเกรส เสวา ฑัล (Seva Dal) ได้คดั เลือกเยาวชนจ�ำนวน ๓๐ คน จากภูมหิ ลังทางชาติพนั ธุ ์ ศาสนาและ วรรณะต่างกัน เข้าร่วมฝึกอบรมเพื่อสร้างแรงจูงใจในการฟื้นฟูชนบท (rural reconstruction) ในอินเดีย สารัตถะของการฝึกเยาวชนดังกล่าวมุง่ เน้นการใช้หลักสันติแบบ มหาตมะคานธี และการเคารพความหลากหลาย  รายละเอียดอืน่ ๆ มีอกี มากมาย แต่ วิธคี มนาคมทีเ่ น้นเป็นพิเศษคือ การเดินทางโดยรถไฟเหมือนครัง้ หนึง่ ทีม่ หาตมะคานธี เคยใช้เพื่อศึกษาและรณรงค์การต่อสู้กับอังกฤษโดยหลัก อหิงสา และ สัตยาเคราะห์ ในขบวนรถไฟดังกล่าว มีบคุ คลผูห้ นึง่ ถามรายายีวา่  คุณเคยช่วยบรรเทาหรือเปลีย่ นแปลง สถานการณ์รนุ แรงบ้างไหม  ณ จุดนัน้  รายายีพลันตระหนักว่า ตนต้องท�ำสิง่ ทีจ่ ะสกัด กัน้ ความรุนแรง นัน่ คือ การยาตราโดยรถไฟในปี ๑๙๖๙ ได้ให้ทศิ ทางและหลักปฏิบตั ิ เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงอันปราศจากความรุนแรงหรือการนองเลือด รายายีเริม่ ปฏิบตั ติ ามแนวทางของมหาตมะคานธีครัง้ แรกในปี ๑๙๗๐ เมือ่ เขา และเพือ่ นร่วมอุดมการณ์เดินทางไปยังพืน้ ทีจ่ มั พัล (Chambal) ซึง่ ขณะนัน้ มีกลุม่  ‘ผูร้ า้ ย’ หรือ ‘กองโจร’ ชุกชุม กลุม่ เหล่านีร้ ฐั บาลอินเดียหรือชาวท้องถิน่ นิยมเรียกกันว่า ‘the dacoits’ หรือ ‘the outlaws’ (พวกนอกกฎหมาย)  เจตนาในการเดินทางไปยังพื้นที่ ดังกล่าวครัง้ แรกก็เพียงเพือ่ ต้องการยุตคิ วามรุนแรง โดยชักชวนไม่ให้เยาวชนเข้าร่วม กองโจร ดังที่รายายีกล่าวไว้ในบทสัมภาษณ์ว่า “เราไม่ได้ไปที่นั่นด้วยความคิดว่าจะ เอาชนะกองโจรได้ เราคิดแต่ว่าจะสร้างแรงบันดาลใจมิให้เยาวชนกลายเป็นกองโจร และด้วยวิธนี นั้ ก็จะยุตคิ วามรุนแรงได้”  แต่ดว้ ยความจริงใจในการเข้าใจปัญหาทีท่ ำ� ให้ คนเหล่านีก้ ลายเป็น ‘โจร’ ก่อความรุนแรง ท�ำให้ญาติมติ รพีน่ อ้ งของ ‘โจร’ เหล่านี ้ เริม่ เข้ามาพูดคุยกับรายายีมากขึน้ เรือ่ ยๆ  รายายีกล่าวว่า “แต่บรรดาญาติมติ รของพวกโจร ก็คอ่ ยๆ เริม่ พูดคุยกับพวกเรา เราเริม่ ตัง้ อาศรมในปี ๑๙๗๐ และในวันที ่ ๑๔ พฤษภาคม ๑๙๗๒ ก็มโี จรมามอบตัว ๗๖๐ คน  หลายคนถูกจ�ำคุกถึง ๑๐, ๒๐ หรือ ๒๕ ปี”  การ ๒

http://newint.org/columns/makingwaves/2010/09/01/pv-rajagopal/ (เข้าใช้เมือ่ 30 พฤศจิกายน 2557) ค�ำน�ำ  9


เปลีย่ นใจ ‘โจร’ ให้มอบตัวต่อทางการ ถือเป็นความส�ำเร็จครัง้ ส�ำคัญทีร่ ายายีมไิ ด้คาด หวังไว้แต่แรก  พร้อมกับความส�ำเร็จนั้น รายายีมองเห็นแล้วว่า ตนต้องมุ่งมั่นแก้ ปัญหา ๒ ประการส�ำคัญที่สัมพันธ์กัน กล่าวคือ (๑) จะต้องช่วยกันแก้ปัญหาลูกเมีย ‘โจร’ ทีต่ อ้ งรับโทษจ�ำคุก และ (๒) จะต้องแก้ปญั หาทีต่ น้ ตอของปัญหามิใช่ทปี่ ลายเหตุ3 รายายีเริม่ เข้าใจหลักคิดมหาตมะคานธีแล้วว่า ตราบใดทีค่ วามรุนแรงเชิงวัฒนธรรมและระบบยังด�ำเนินต่อไป ความรุนแรงทางกายภาพก็จะตามมาอย่างหลีกเลี่ยง ได้ยาก และยังตระหนักด้วยว่า ล�ำพังตนเองกับเพือ่ นไม่กคี่ นคงไม่อาจจัดการรากเหง้า ของปัญหาได้หมด เขาจึงตัดสินใจฝึกอบรมเยาวชนจ�ำนวนมากเพือ่ ร่วมกันแก้ไขปัญหา ความรุนแรงเชิงโครงสร้าง โดยยึดมั่นในหลัก อหิงสา และ สัตยาเคราะห์  การเริ่มท�ำงานอย่างเอาจริงเอาจังเพื่อแก้ไขปัญหาเรื่องความยุติธรรม ท�ำให้ รายายีเริ่มเรียนรู้วิธีการต่อสู้อย่างเป็นระบบมากขึ้น ในปี ๑๙๙๐ เขาก่อตั้งองค์กรชื่อ เอกตา ปริษทั (Ekta Parishad) ซึง่ หมายถึง สภาแห่งสมานฉันท์ หรือกล่าวอีกอย่างคือ หากผูใ้ ดผูห้ นึง่ ถูกท�ำร้าย รังแก หรือไม่ได้รบั ความเป็นธรรม ประชาชนทัว่ ประเทศก็จะ ลุกขึ้นต่อต้านการกระท�ำนั้นด้วยสันติอันมีเอกภาพ เมื่อไม่นานมานี้ รายายีได้เน้นเรื่องความอยุติธรรมที่ประชาชนอินเดียจ�ำนวน มากต้องประสบ นัน่ คือ เรือ่ งไร้ทที่ ำ� กิน รายายีเชือ่ มัน่ แน่วแน่วา่  ประชาชนต้องมีสทิ ธิ ท�ำมาหากินในระดับเล็กทั่วหน้า รายายีจึงจัดขบวนเดินที่เรียกว่าชนาเทศยาตราในปี ๒๐๐๗ โดยมีผคู้ นเข้าร่วมถึง ๒๕๐,๐๐๐ คน เดินทาง ๓๕๐ กิโลเมตร จากควาลิยรั สู่ เดลี เพื่อให้รัฐบาลอินเดียปฏิรูปที่ดินเพื่อชาวบ้านตาด�ำๆ ที่ล้วนเป็นพลเมืองอินเดีย รายายีอธิบายว่า สิง่ ทีท่ ำ� ไปก็เพือ่ จะให้รฐั บาลรับผิดชอบ และเราร่วมกันเป็นหนึง่ เดียว เพือ่ เรียกร้องความรับผิดชอบของรัฐบาล  แม้รฐั บาลอินเดียจะยอมตามการเรียกร้อง ของเอกตา ปริษทั  แต่ในทางปฏิบตั  ิ การปฏิรปู ทีด่ นิ ยังไม่สมั ฤทธิผลเพราะปัญหานานา ประการ  กระนัน้ รายายีกไ็ ม่ยอ่ ท้อ และเริม่ ขยายจ�ำนวนสมาชิกเอกตา ปริษทั ให้มากขึน้ เพราะโลกาภิวตั น์มใิ ช่เรือ่ งทีอ่ ธิปไตยจะยอมตามบรรษัทข้ามชาติ โดยละเลยประชาชน ผูย้ ากไร้  หลังจากปี ๒๐๐๗ รายายีกไ็ ม่เคยหยุดกดดันรัฐบาลอินเดียให้ทำ� ตามค�ำมัน่ สัญญาของตน ๓

http://newint.org/columns/makingwaves/2010/09/01/pv-rajagopal/ (เข้าใช้เมือ่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗)

10  อหิงสายาตรา


ผมขอขอบพระคุณ ราชโคปาล พี. วี. ที่เขียนหนังสือเล่มนี้ให้เราอ่าน ซึ่งเป็น หนังสือที่ท�ำให้เราเข้าใจประเด็นปัญหาความอยุติธรรมในอินเดีย โดยเฉพาะภาวะไร้ ทีท่ ำ� กินของชาวอินเดียจ�ำนวนมากท่ามกลางการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของอินเดีย และในบริบทที่รัฐอินเดียมุ่งแต่จะเอาใจกลไกตลาดและบรรษัท(ข้ามชาติ) ส�ำหรับ ผู้สนใจศึกษาประเทศอินเดีย หนังสือเล่มนี้จะมีประโยชน์ต่อท่านอย่างยิ่งยวด เพราะ จะท�ำให้ท่านเข้าใจปัญหาส�ำคัญในเชิงโครงสร้างและความคิดของรัฐที่บั่นทอนการ พัฒนาทีย่ งั่ ยืน ส�ำหรับผูท้ กี่ งั ขาว่ามหาตมะคานธียงั คงเกีย่ วข้องกับชีวติ ร่วมสมัยหรือไม่ หนังสือเล่มนี้คงเป็นค�ำตอบได้ดีทีเดียว เพราะการอธิบายการต่อสู้ในประเทศอินเดีย ของรายายี ชี้ให้เห็นกระบวนทัศน์หรือวิถีคิดของมหาตมะคานธีอย่างสม�่ำเสมอ ขอบพระคุณ คุณสายพิณ กุลกนกวรรณ ฮัมดานี ผูแ้ ปล ทีพ่ ยายามแปลหนังสือ เล่มนี้ให้ดีที่สุด ด�ำรงไว้ซ่ึงใจความต้นฉบับ และขอบพระคุณส�ำนักพิมพ์สวนเงินมีมา ซึง่ นอกจากจะเป็นพันธมิตรส�ำคัญในการจัดงานปาฐกถามหาตมะคานธีอนุสรณ์วา่ ด้วย การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนร่วมกันมาโดยตลอดแล้ว ยังเป็นผูจ้ ดั พิมพ์หนังสือเล่มนีด้ ว้ ย เพียง หวังว่าเราจะเรียนรู้ตัวอย่างที่ดี หลีกเลี่ยงตัวอย่างที่ไม่ดี เพื่อช่วยกันพัฒนาสังคมให้ ยั่งยืนที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ สุรัตน์ โหราชัยกุล ผู้อ�ำนวยการศูนย์อินเดียศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ค�ำน�ำ  11


ส า ร บั ญ จากส�ำนักพิมพ์ ค�ำน�ำ บทน�ำ

๖ ๘

ขบวนการเรียกร้องที่ดินและสันตวิธี

๑๕ ๑๗ ๒๐ ๒๑ ๒๔ ๒๗

อินเดียตอนกลาง

๓๒

• ตามรอยสัตยาเคราะห์เกลือของคานธี • รถไฟสายคานธี • อหิงสธรรมคู่ยุติธรรม • การเดินขบวนชนสัตยาเคราะห์

อาทิวาสีกลางสนามรบ ธรรมาภิบาลที่ยังไม่เห็นฝั่ง เคยได้ยินชื่อแฆรัตกลันไหม ฉัตรติสครห์ ฝันสลาย ก้าวย่างของนักกิจกรรมหญิง ประตูสู่พุนเทลขัณฑ์ สังวาทยาตราในมัธยประเทศ

๓๕ ๔๓ ๔๗ ๕๑ ๕๗ ๖๓ ๖๖ ๖๙

อินเดียใต้

๗๘

• พุนเทลขัณฑ์: สังคมหมู่บ้านที่ล่มสลาย

แบ่งแยกเพื่อปกครอง: สภาพการณ์ไม่เคยเปลี่ยน ชะตาร่วมของชาวนาและแรงงานไร้ที่ท�ำกิน การปฏิรูปที่ดินและกลุ่มเสี่ยงทางเพศ การเมืองของการพลัดถิ่น ย้อนเยือนเกรละ เข้าใจสัมพันธภาพกับผืนดิน คนไร้ที่ท�ำกินบนแผ่นดินของพระเจ้า

๘๑ ๘๕ ๙๑ ๙๗ ๑๐๓ ๑๐๙ ๑๑๕


อินเดียตะวันออก

๑๒๒

อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ

๒๐๘

อินเดียตะวันตก

๒๔๐

เวลาของการปฏิรูปที่ดินรอบสองในเบงกอลตะวันตก ๒๑ วันรอบฌาร์ขัณฑ์ มือป้อนจระเข้ ปากร้องหาสันติภาพ ปฏิบัติการคานธีในหมู่อาทิวาสี ก่อความขัดแย้งในนามการพัฒนา ฌาร์ขัณฑ์: แสวงหาความสุขบนกองทุกข์ โอริสสา: ๔๐ องค์กรใน ๗ วัน ข้อเรียกร้องความรับผิดชอบกรณี POSCO ภาพผ่านสังวาทยาตราในโอริสสา ม้วนเสื่อกลับบ้านดีหรือไม่: ข้อค�ำนึงของนักกิจกรรมสังคมจากฌาร์ขัณฑ์ วิถีคานธี: คว�่ำความรุนแรงด้วยสันติวิธี ท่านจินตนาการได้ไกลเพียงไร พัฒนาความยากจน: แบบแผนการพัฒนาของวันนี้ สารจากอีศานย์ถึงแผ่นดินใหญ่: บทเรียนจากอัสสัม ท�ำงานร่วมกัน แนวคิดดีๆ จากขุนเขาแห่งนาคาแลนด์ ประวัติศาสตร์ตกบันทึกของอินเดีย อินเดียผู้เกรงกฏหมาย – เว้นแต่กรณีชุมชนชายขอบ คุชราต รัฐสองหน้า ความยากจนและปัญหา: เกื้อหนุนการน�ำใหม่ของผู้น�ำหญิง บันทึกส่งท้ายแด่คุชราต สุสานแห่งถ้อยค�ำและคุณค่า สิทธิและ/หรือความรับผิดชอบ โลกสองกระแส ท่านจะอยู่ฟากฝั่งใด

๑๒๕ ๑๓๑ ๑๓๙ ๑๔๓ ๑๕๑ ๑๕๗ ๑๖๓ ๑๖๙ ๑๗๓ ๑๘๕ ๑๙๑ ๒๐๓

๒๑๑ ๒๑๙ ๒๒๗ ๒๓๕

๒๔๓ ๒๔๙ ๒๖๑ ๒๗๑ ๒๘๑ ๒๘๗ ๒๙๓


• ราชโคปาล พี. วี.  ประธานของเอกตา ปริษัท

14  อหิงสายาตรา


บทน�ำ โดย จิลล์ คาร์-แฮร์ริส

หนังสือเล่มนีส้ อื่ ถึงการต่อสูห้ นึง่ ปีเต็มของขบวนการคนไร้ทที่ ำ� กิน ในอินเดีย น�ำโดย ราชโคปาล พี.วี.  เป็นเรือ่ งราวความทุกข์ยาก เจ็บปวดที่ไม่มีใครเอ่ยถึงของประชาชนหลายล้านคนในอินเดีย ประมวลอยู่ในการจาริกของชายคนเดียว  ผู้คนที่ราชโคปาลน�ำ แสดงตัวอย่างผ่านความอดทนอดกลัน้ และความมุง่ มัน่ เด็ดเดีย่ ว ว่าการเปลีย่ นแปลงจะบรรลุผลแก่ผยู้ นิ ดีเผชิญความทุกข์ยากเพือ่ สิง่ ทีถ่ กู ต้องและยุตธิ รรม และโดยเฉพาะสิง่ ทีเ่ ป็นปมขัดแย้งอย่าง กรรมสิทธิท์ ดี่ นิ   การต่อสูเ้ พือ่ ปลดแอกผูค้ นชายขอบจากโซ่ตรวน ของการกดขีม่ กั เสริมส่งจิตวิญญาณมนุษย์  ทว่า การได้เห็นคน ยากไร้ได้มาซึง่ อ�ำนาจทางสังคมโดยไม่ทำ� ร้ายผูใ้ ด (ด้วยจิตวิญญาณ อหิงสา) ถือเป็นเรื่องราวความกล้าหาญอันหาได้ยากส�ำหรับ วิวัฒนาการของเผ่าพันธุ์มนุษย์ ในช่วงหนึ่งปีที่ผ่านมา ราชโคปาลเดินทางไปทั่วทุกภาค ของอินเดีย รวม ๓๓๘ อ�ำเภอ ใน ๒๔ รัฐ เพื่อถามหาความ ยุตธิ รรมแก่ผคู้ นทีถ่ กู เบียดขับโดยกระแสโลกาภิวตั น์  เขาพบปะ หารือกับชาวบ้านวันละ ๕-๖ กลุ่มไม่ว่างเว้น ตลอด ๓๕๐ วัน จนสัมพันธ์ใกล้ชิดทั้งกับชาวบ้านและสภาพการณ์จริงในแต่ละ บทน�ำ  15


พืน้ ที  ่ ระหว่างกินอาหารร่วมกันและพักค้างแรมตามหมูบ่ า้ นหลายร้อยแห่ง เขาได้ยนิ เรือ่ งราวการสูญเสียทรัพยากรเพือ่ การด�ำรงชีพ โดยเฉพาะอย่างยิง่  น�ำ  ้ ป่า และทีด่ นิ (ชล จังเกิล้  ซมีน) และตัง้ ใจจะทราบให้ได้วา่ จะสามารถชักจูงให้คนจนและคนชัน้ กลาง มาร่วมมือเคลื่อนไหว เพื่อเปลี่ยนสภาพการณ์ที่เป็นอยู่ได้หรือไม่ รวมทั้งส่งสารแห่ง สันติไปยังชนชั้นกลางและผู้ร่างนโยบายของประเทศอยู่ไม่ขาด เพื่อว่าคนเหล่านั้นจะ ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงเชิงสังคมเป็นการคุกคาม และร่วมสนับสนุนคนยากไร้ซึ่ง ต้องการให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากระดับล่าง ภูมภิ าคที ่ ‘สังวาทยาตรา’ (การเดินทางทัว่ อินเดียเพือ่ หารือกับผูค้ น) นานหนึง่ ปี เดินทางไป รวมถึงพืน้ ทีส่ แี ดงทีเ่ ต็มไปด้วยความรุนแรงในเขตปฏิบตั กิ ารของแนกซัลไลท์1 หรือกลุ่มนิยมลัทธิเหมา  แม้ว่ากรรมสิทธิ์ที่ดินจะเป็นประเด็นยาก ราชโคปาลก็มิได้ ลังเลที่จะบอกผู้คนผ่านสื่อและในยามพบปะพูดคุย ว่ามีการผสานประโยชน์กันอยู่ ระหว่างหน่วยงานรัฐ กลุม่ ธุรกิจ และกลุม่ นิยมลัทธิเหมา ในการคงสภาพความรุนแรง ในพื้นที่ต่างๆ ไว้ เพื่อเปิดช่องส�ำหรับฉกฉวยทรัพยากรจากชนเผ่าพื้นเมือง  ปกติ ผู้ใดกล้าพูดถึงปัญหาอย่างตรงไปตรงมา มักถูกตอบโต้รุนแรง แต่การสื่อสารแบบ ไม่คกุ คามของราชโคปาล และการพลีตน (ศัพท์แบบคานธีเรียกว่า สัตยาเคราะห์) ได้ คุ้มกันเขาไว้อย่างดี  ราชโคปาลยังเขียนจดหมายถึงรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น ของรัฐต่างๆ อย่างต่อเนือ่ ง ให้หนั มาพูดคุยกับฝ่ายอหิงสา และคัดค้านรัฐไม่ให้ใช้ความ รุนแรงแบบมักง่าย หรือเป็นทางสะดวกส�ำหรับแสวงหาความมัง่ คัง่   วาทกรรมเหล่านี้ ช่วยสร้าง “พื้นที่” แก่ชนเผ่าในภูมิภาคต่างๆ  ผู้ก�ำลังท�ำงานเพื่อแก้ปัญหาและความ ทุกข์ยากของตน สังวาทยาตราหนึง่ ปียงั ส�ำคัญในการขับเคลือ่ นองค์กรจ�ำนวนมากทีม่ สี ำ� นึกคล้าย กัน ดังมีกลุม่ ต่างๆ เข้าร่วมการรณรงค์ปฏิรปู ทีด่ นิ กว่า ๒,๐๐๐ กลุม่  และขอส่งคนงาน มาร่วมขบวนยาตราสู่เดลีในเดือนตุลาคม ปี ๒๐๑๒ ซึ่งมีผู้ร่วมขบวนอยู่แล้วราว แสนคน  ตลอดยาตราครั้งนี้ ชุมชนอาทิวาสี2 และทลิต3 ได้มารวมตัวอยู่ใต้ธงน�ำผืน ๑

๒ ๓

Naxalite กลุม่ ติดอาวุธนิยมลัทธิเหมา ค�ำว่า Naxal มีทมี่ าจาก Naxalbari ชือ่ หมูบ่ า้ นเล็กๆ ในเบงกอล ตะวันตก ซึง่ อดีตสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อนิ เดีย (มาร์กซิสต์) เริม่ ปฏิบตั กิ ารแบบกองโจร ในปี ๑๘๖๗ - ผูแ้ ปล Adivasi ค�ำเรียกชนเผ่าพืน้ เมืองเดิมในอินเดียและบังคลาเทศ - ผูแ้ ปล Dalit ค�ำทีม่ นี ยั และน�ำ้ เสียงกลางๆ ใช้เรียกคนนอกวรรณะทัง้ สี ่ หรือเดิมมักเรียกว่า จัณฑาล (untouchables) - ผูแ้ ปล

16  อหิงสายาตรา


เดียวกันของการปฏิรปู ทีด่ นิ  เรียกได้วา่  เกิดการรวมพลังแบบทีไ่ ม่เคยมีมาก่อนอยูท่ วั่ ประเทศ อย่างไรก็ตาม การเคลื่อนไหวนี้ยังมิได้น�ำไปสู่การหลอมรวมขึ้นเป็นองค์กร ขนาดใหญ่ การยาตราทั่วทุกภูมิภาคครั้งนี้ยังส�ำคัญต่อการจ�ำแนกกลุ่มชนที่ยากจนและไร้ ตัวตนที่สุดของอินเดียให้ปรากฏ ตัวอย่างเช่น ประชากรทลิตที่เป็นร้อยละ ๑๘ ของ ประชากรอินเดีย และชาวอาทิวาสีที่เป็นร้อยละ ๘ คนเลี้ยงสัตว์ร้อยละ ๑๑ และชาว ประมงร้อยละ ๑.๕  กระนั้น ยังมีกลุ่มชนอื่นอีกมากที่ไม่ได้นับรวมอยู่ในเศรษฐกิจ กระแสหลัก อาทิ คนงานไร่ชาในอัสสัม คนงานเหมืองเกลือในคุชราต ผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวี ที่ถูกขับไล่ และอื่นๆ อีกมาก  คนเหล่านี้ควรได้รับความสนใจเป็นพิเศษเช่นกัน และ ราชโคปาลได้เสนอหน้าที่รับผิดชอบนี้ต่อนายกรัฐมนตรี  สังวาทยาตราเป็นกลวิธีส�ำคัญในการกระตุ้นความเห็นสาธารณะในหมู่ชนชั้น กลางต่อประเด็นทีด่ นิ ท�ำกิน  ผูส้ อื่ ข่าวหลายพันคนได้เรียนรูจ้ ากยาตราครัง้ นี ้ ว่าท�ำไม เราควรท�ำทุกวิถที างให้แน่ใจว่า แหล่งทรัพยากรธรรมชาติทอ้ งถิน่ จะมีอยูเ่ พียงพอแก่ คนในท้องถิน่  และสิง่ นีส้ ำ� คัญแก่การด�ำรงชีพและช่วยขจัดภาวะความยากจนได้อย่างไร ยาตรานี้ยังเป็นการร�ำลึกการเดินทางในปี ๑๙๖๙ ที่ราชโคปาลโดยสารรถไฟตาม เส้นทางของมหาตมะคานธี  เพื่อฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปีชาตกาลของคานธี สังวาทยาตราที่มีขึ้น ๔๓ ปีต่อมา กลับไปเยือนสถานที่หลายแห่งตามเส้นทางในปี ๑๙๖๙ เว้นแต่วา่ ยาตราโดยรถไฟครัง้ แรกมีขนึ้ สมัยทีร่ าชโคปาลเพิง่ เริม่ งานพัฒนา และยาตรา ครั้งหลังเดินทางโดยรถตู้หลังจากท�ำงานมาแล้วสี่สิบปี  วิธีขับเคลื่อนโดยยาตราของ ราชโคปาลถือเป็นเครื่องมืออหิงสาที่ส�ำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงเชิงสังคม ตามรอยสัตยาเคราะห์เกลือของคานธี

ในเดือนมีนาคม ๑๙๓๐ สัตยาเคราะห์เกลือของคานธีเป็นการเดินเท้า ๒๔ วัน ระยะ ทาง ๓๙๐ กิโลเมตร จากอาศรมสาพรมตีไปยังเมืองทาณฑิบนชายฝัง่ รัฐคุชราต เพือ่ ประท้วงการผูกขาดและเก็บภาษีเกลือของอังกฤษ  ภายหลังคานธีถกู จับกุม ประชาชน ราว ๒,๗๐๐ คนไปรออยู่ที่ธราสณาบนชายฝั่งคุชราต และขัดขืนไม่ให้อังกฤษเข้ามา ท�ำนาเกลือ  ประชาชนเหล่านัน้ แม้ถกู กองทหารอังกฤษทุบตีดว้ ยท่อนเหล็กอย่างทารุณ จนมีผเู้ สียชีวติ  ๔ คน และบาดเจ็บนับร้อย ก็ยงั ยืนหยัดประท้วง  ชนวนทีน่ ำ� ไปสูจ่ ดุ จบ ของอาณานิคมอังกฤษเหนืออินเดีย มิใช่การประท้วงเรือ่ งเกลือโดยตรง แต่คอื เหตุการณ์ บทน�ำ  17


• ชนสัตยาเคราะห์เดินขบวนข้ามแม่น�้ำจัมพัลที่แบ่งเขตรัฐมัธยประเทศและราชสถาน



ที่เป็นผลพวงเช่นนี้ หลักของการขัดขืนครั้งนั้นคือ ก. ยืดหยัดกล้าหาญยามเผชิญการกดขี่ ข. แสวงหาความปรองดองกับฝ่ายตรงข้าม แทนที่จะเอาชนะ ค. โจมตีระบบอันกดขี่ มิใช่ผู้กดขี่ ง. ยอมรับความทุกข์เข็ญโดยไม่มุ่งร้ายผู้ใด จ. ปฏิเสธความรุนแรงทางกาย และ ฉ. คงความหวังว่าความยุตธิ รรมทางสังคมจะบรรลุผล มหาตมะคานธีทดลอง สันติวิธีเหล่านี้ในแอฟริกาใต้ ทว่าหลักการเหล่านี้มีรากฐานจากศาสนาเชน และคติธรรมอื่นๆ แห่งอนุทวีป รถไฟสายคานธี

หลังการประกาศเอกราช  เอส. เอ็น. สุภา ราว เจ้าหน้าที่ของคองเกรสเสวาทัล ได้ชกั จูงเยาวชนคนชัน้ กลางให้ไปออกค่ายฟืน้ ฟูชนบท  ในปี ๑๙๖๙ สุภา ราวคัดเลือก เยาวชน ๓๐ คนทีม่ พี นื้ เพวรรณะ ศาสนา และชาติพนั ธุต์ า่ งกัน ส่งไปเผยแพร่แนวทาง อหิงสาแบบคานธีในหัวเมืองต่างๆ ทัว่ ประเทศ  สุภา ราวและกลุม่ เยาวชนพัฒนาการ สือ่ สารเชิงสันติวธิ  ี การอธิบายบทสวดทางศาสนา และการร้องเพลง เพือ่ ใช้เป็นกลวิธี ให้ความรู  ้ พวกเขาเดินทางโดยรถไฟ และระหว่างเส้นทางหนึง่  ใครคนหนึง่ ถามราชโคปาลขึน้ ว่า เคยสามารถพลิกสถานการณ์ความรุนแรงใดด้วยตนเองหรือไม่  ค�ำถาม นั้นท�ำให้เขาตระหนักว่า สิ่งที่พร�่ำพูดและพยายามเผยแพร่ไม่ได้มาจากประสบการณ์ จริงของตนเลย  ในปี ๑๙๗๐ ราชโคปาลจึงเดินทางต่อไปยังหุบเขาจัมพัล และท�ำงาน กับพวกโจรท้องถิ่นอยู่ ๘ ปี โดยใช้สันติวิธีเป็นเครื่องมือน�ำพวกโจรขึ้นสู่ศาล จากยาตราทางรถไฟ ปี ๑๙๖๙ ราชโคปาลได้รับทั้งแนวทางการฝึกอบรม สันติวธิ  ี และเครือ่ งมือส�ำหรับสร้างการเปลีย่ นแปลงโดยสันติ  ระหว่างปี ๑๙๙๙ จนถึง ขบวนการผู้ไร้ท่ีท�ำกิน “ชนาเทศ” ในปี ๒๐๐๗ เอกตา ปริษัท (Ekta Parishad) ที่ราชโคปาลเป็นผู้น�ำ ได้จัดยาตราขึ้นนับครั้งไม่ถ้วน แต่ละครั้งก็มียุทธวิธีเฉพาะ ต่างกันไป  ตัวอย่างเช่น ในปี ๒๐๐๑ มีการเดินขบวนในรัฐพิหารเพื่อสร้างสันติสุข ผู้เข้าร่วมกลุ่มส�ำคัญคือแรงงานไร้ท่ีท�ำกินและเกษตรกรรายย่อย  นอกจากนี้ยังมี ขบวนการปันทาเรีย ในปี ๒๐๐๓ ในรัฐฉัตติสครห์ ที่เอกตา ปริษัทต่อสู้เรียกร้องโดย 20  อหิงสายาตรา


• การเริ่มต้นชนสังวาทยาตราจากกันยากุมารี ในวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๐๑๑ ใช้คดีพรี ช์  ู แพคา4 กดดันรัฐให้จดั สรรพืน้ ทีป่ า่ แก่ชาวบ้านไร้ทที่ ำ� กิน  ยาตราแต่ละครัง้ ใช้กลยุทธ์แตกต่างกันไป รวมถึงการเดินขบวน การนั่งประท้วง การชุมนุมประท้วง และการพูดคุยแลกเปลีย่ นกับตัวแทนฝ่ายการเมืองและเจ้าหน้าทีร่ ฐั  การแถลงข่าว การ รับฟังสาธารณะ การหารือระดับชาติ และการสัมมนาระดับสากล อหิงสธรรมคู่ยุติธรรม

นักกิจกรรมแนวคานธีในอินเดียจ�ำนวนมากก่อตั้งอาศรม ที่ท�ำงานเพื่อสร้างความ แข็งแกร่งแก่แนวทางอหิงสามาตัง้ แต่กอ่ นอินเดียเป็นเอกราช  อย่างไรก็ตาม สิง่ ทีย่ าก ยิง่ กว่าคือการใช้สนั ติวธิ เี ป็นเครือ่ งมือการเปลีย่ นแปลงเชิงสังคม เพราะในสภาพทีเ่ ป็น อยู่ ขณะที่คนต้องการสันติสุขแต่กลับไม่ยอมเปิดรับการเปลี่ยนแปลง การขับเคลื่อน ชนชั้นกลางให้หันมาสนับสนุนคนยากจนและคนด้อยโอกาสไม่ใช่เรื่องง่าย ดังเห็นได้ จากสังวาทยาตรานานหนึง่ ปี การเรียกร้องแรงสนับสนุนจากชนชัน้ กลางท�ำได้งา่ ยกว่า ๔

Birju Baiga หัวหน้าชนเผ่าในรัฐฉัตติสครห์ที่พยายามปกป้องที่ดินของตน และถูกเจ้าหน้าที่ป่าไม้ กับพวกสังหารในปี ๒๐๐๓ น�ำไปสูก่ ารประท้วงใหญ่จนรัฐบาลท้องถิน่ ยอมจัดสรรทีด่ นิ ให้แก่ชาวบ้าน ๖,๑๐๐ ครอบครัว - ผูแ้ ปล บทน�ำ  21


• ค�ำประกาศปฏิบัติการชี้ชะตา วันที่ ๓ ตุลาคม ๒๐๑๒ ที่ควาลิยัร



• จิลล์ คาร์-แฮร์ริส ในการต้อนรับที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งระหว่างชนสังวาทยาตรา รัฐมัธยประเทศ ในการเดินขบวน ‘ชนสัตยาเคราะห์’ เพราะชนชั้นกลางเห็นคนไร้บ้านไร้ที่ท�ำกินออก เดินเรียกร้องไปตามท้องถนน จากสภาพการณ์น ี้ ราชโคปาลจึงอยากเห็นคนด้อยโอกาส ได้มีเครื่องมือขจัดความยากจน นั่นคือที่ดินท�ำกิน ได้เป็นจริงขึ้นมา การเดินขบวนชนสัตยาเคราะห์

การเดินขบวนชนสัตยาเคราะห์ยตุ ลิ งด้วยการท�ำข้อตกลงระหว่างรัฐบาลอินเดียกับคน ยากจนและคนไร้ทที่ ำ� กินหลายหมืน่ คน ช่างเป็นชัยชนะของผูเ้ รียกร้องความเป็นธรรม! มีการจัดตั้งคณะปฏิรูปที่ดินแห่งชาติ ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารของรัฐและ กลุม่ ประชาสังคม ทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้ใช้เวลาหกเดือน ท�ำงานร่วมกับรัฐบาลท้องถิน่ ของรัฐต่างๆ เพื่อวางแนวนโยบายอันครอบคลุม นอกจากนี้ ยังมีเป้าหมายที่จะร่าง กฎหมายใหม่สองฉบับว่าด้วยสิทธิขั้นต�่ำสุดในการถือครองที่ดิน ทั้งเพื่ออยู่อาศัยและ เพาะปลูกเพื่อยังชีพ รวมทั้งเสริมความแข็งแกร่งแก่หลักประกันทางกฎหมายที่มีอยู่ ในอันจะปกป้องชุมชนของชนเผ่า แง่มุมส�ำคัญของข้อตกลงนี้ คือการคืนที่ดินที่ถูกยึดไปด้วยการบังคับหรือโดย ผิดกฎหมาย ปกป้องสิทธิในทีด่ นิ ของผูท้ มี่ สี ถานะพิเศษ (เช่นผูถ้ อื ครองทีด่ นิ ชาวอาทิวาสีหรือทลิต) การจัดสรรที่ดินแก่ผู้ไร้ที่อยู่อาศัยหรือที่ท�ำกินเพื่อยังชีพ และช่วย 24  อหิงสายาตรา


พัฒนาที่ดินเพื่อประกันว่า เกษตรกรรายย่อยอันเป็นกระดูกสันหลังของประเทศจะยัง ด�ำรงความส�ำคัญในเศรษฐกิจของชนบท การเดินขบวนโดยสันติชนสัตยาเคราะห์จบลงเช่นไร ดังทีท่ ราบ ยุตลิ งด้วยความ พร้อมใจเจรจา สิง่ นีถ้ อื ว่าควรค่าแก่การศึกษาและเจริญรอยตาม  ก่อนหน้านี ้ รัฐบาล ก็เผชิญการประท้วงเรียกร้องคล้ายกัน แต่ไม่สามารถน�ำไปสูก่ ารเจรจาใดๆ อะไรท�ำให้ การเคลื่อนไหวของคนยากจนครั้งนี้ต่างไป การขับเคลื่อนและรวมตัวในแนวทางของ ชนสัตยาเคราะห์ช่วยให้ผู้คนเตรียมพร้อมส�ำหรับการพูดคุยแลกเปลี่ยน ไม่ใช่แค่การ ลุกฮือขึน้ ประท้วง และการตระเตรียมเช่นนีจ้ ำ� เป็นต้องได้รบั การสนับสนุนทัง้ ทางวัตถุ และก�ำลังใจ การเขียนจดหมายถึงนายกรัฐมนตรี รวมถึงโครงการร่วม ๔๐ โครงการทีด่ ำ� เนิน ไปพร้อมกันในยุโรป ไม่ว่าการเดินเท้าเรียกร้อง กลุ่มกินข้าว-หารือ ล้วนเป็นบทตอน อันน่าทึ่งในเรื่องราวแห่งชนสัตยาเคราะห์  นอกเหนือจากนี้ คนไม่น้อยบากบั่น เดินทางมายังอินเดีย แม้ตอ้ งเผชิญความยากล�ำบากระหว่างการเข้าร่วมโครงการ การ ขอวีซา่  และอืน่ ๆ ส�ำหรับผูท้ ไี่ ม่สามารถร่วมเดินขบวน หรือมาถึงหลังวันที ่ ๑๑ ตุลาคม และพบว่าทุกอย่างได้ยตุ ลิ งแล้ว ต่างก็ยนิ ดีทปี่ ฏิกริ ยิ าทางสังคมต่อรัฐบาลครัง้ นีข้ มวด ลงอย่างน่าพึงพอใจ นักปัน่ จักรยานชาวสวิสสองคนทีม่ งุ่ ตรงไปยังทัชเคนท์ หรือผูห้ ญิงสองคนทีต่ าก แดดตากลมบนหลังคารถโดยสารจากฝรั่งเศสจนถึงอินเดีย (โดยต้องอ้อมเข้ามาทาง จีน) แม้ตอ้ งเผชิญกับความยากล�ำบากต่างก็พอใจ  คนท�ำหนังหลายคนทีบ่ นั ทึกยาตรา ช่วงต่างๆ ไว้ หรือผู้ที่จัดนิทรรศการภาพถ่าย หรือเก็บบันทึกภาพ ผู้สื่อข่าวมากมาย ที่ร่วมรายงาน ล้วนเป็นก�ำลังใจแก่เหล่ายาตรี และส่งเสริมเป้าหมายของพวกเขาให้ หนักแน่น  นอกจากนี้ เราไม่อาจลืมผู้ที่ช่วยระดมทุนจนท�ำให้โครงการนี้ประสบผล อย่างงดงาม  จ�ำนวนอีเมลทีล่ ามไหลก็เป็นเครือ่ งบ่งชีว้ า่  มีคนมากมายติดตามยาตรา ครั้งนี้ทางอินเทอร์เน็ต มีคนชื่นชมแนวทางอหิงสา และชักจูงให้ผู้น�ำความเห็นของ ชนชั้นกลาง (สื่อต่างๆ) เห็นว่ายาตราครั้งนี้ควรแก่การเป็นข่าว แรงเสริมเหล่านี้ชุบชู ก�ำลังใจของเหล่ายาตรีถึงความถูกต้องในเป้าหมายของพวกเขา

บทน�ำ  25


• เด็กสาวชนเผ่าเดินน�ำขบวนชนสัตยาเคราะห์

26  อหิงสายาตรา


ขบวนการเรียกร้องที่ดินและสันติวิธี

ในอินเดีย ขบวนการเรียกร้องที่ดินที่รู้จักกันกว้างขวางที่สุดคือ ขบวนการภูทาน  ในช่วงทศวรรษ ๑๙๕๐ และ ๑๙๖๐ วิโนพา ภาเว ศิษย์ของมหาตมะคานธี เดินเท้าข้ามประเทศขอรับบริจาค ทีด่ นิ   ยุทธวิธขี องเขาคือการขอให้ครอบครัวเจ้าทีด่ นิ ถือเขาเป็น วงศ์วานและปันทีด่ นิ ให้หนึง่ ส่วน ซึง่ จะน�ำไปจัดสรรแก่คนไร้ทที่ ำ� กิน อีกต่อหนึง่   วิโนพาต้องใช้เวลาถึง ๑๔ ปี เดินเท้าไปทัว่ ประเทศ และรวบรวมทีด่ นิ ได้กว่า ๑๐ ล้านไร่ ปฏิบตั กิ ารดังกล่าวใช้แนวทาง ที่เป็นเรื่องมูลฐาน ยึดปรัชญา ‘การเปลี่ยนหัวใจ’ ของวิโนพา บ่อยครัง้ พรรคการเมืองฝ่ายซ้ายมักวิพากษ์แนวทางนี ้ เพราะคิด ว่าวิโนพา ภาเวพยายามปกป้องเจ้าทีด่ นิ  และต้องการยับยัง้ การ ใช้กฎหมายเชิงบังคับที่จะให้อ�ำนาจรัฐยึดที่ดินของเกษตรกรไป จัดสรรใหม่  ข้าพเจ้าไม่ขอวิเคราะห์ถงึ ความส�ำเร็จหรือล้มเหลว ของขบวนการดังกล่าว ด้วยมีการเขียนถึงอยู่มากแล้ว กระนั้น ก็น่าสนใจที่จะย้อนศึกษาว่า ปัจเจกผู้หนึ่งสามารถใช้ยุทธวิธีใด ยุทธวิธหี นึง่  ถ่ายโอนทีด่ นิ จากผูม้ อี ำ� นาจไปสูผ่ ไู้ ร้อำ� นาจได้อย่างไร แม้ว่าพรรคการเมืองฟากสังคมนิยมและซ้ายนิยม ต่างก็สร้าง รากฐานพรรคมาด้วยประเด็นการจัดสรรที่ดินใหม่  แต่ทุกวันนี้ ประเด็นดังกล่าวมิได้ดำ� รงความส�ำคัญในนโยบายพรรคอีกต่อไป

ขบวนการเรียกร้องที่ดินและสันติวิธี  27


• ก้าวเดินไปพร้อมกันเพื่อสันติภาพและความยุติธรรม กระแสโลกาภิวัตน์มาถึงพร้อมกับการเปลี่ยนผ่านอย่างเด่นชัดในวิธีคิดของคน ทีเ่ คยเชือ่ ในแนวคิดสังคมนิยมและซ้ายนิยม ผูค้ นค่อยๆ จ�ำนนต่อความคิดทีว่ า่ โลกาภิวัตน์เป็นสิ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ และหนทางปกป้องที่ดินและแหล่งทรัพยากรก็มีอยู่ไม่ มาก  ในชัน้ นี ้ ข้าพเจ้าใคร่ชถี้ งึ บทบาทของกลุม่ สุดโต่งทีเ่ ชือ่ ว่าความรุนแรงเป็นหนทาง กระจายกรรมสิทธิ์ที่ดิน ถึงแม้กลุ่มสุดโต่งไม่สามารถกระจายกรรมสิทธิ์ที่ดินได้อย่าง แท้จริง อย่างน้อยในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารของพวกเขา ชาวบ้านก็ยงั สามารถถือครองทีด่ นิ และแหล่งทรัพยากร หรือป้องกันการจู่โจมของโลกาภิวัตน์ได้ส�ำเร็จระดับหนึ่ง ชนาเทศและชนสัตยาเคราะห์เสนอแนวทางสายกลางในการกระจายกรรมสิทธิ์ ทีด่ นิ   เราเชือ่ ว่าการมีระดับจริยธรรมเทียบเท่าวิโนพา ภาเว เพือ่ แก้ปญั หาโดยใช้ความ การุณย์รกั นัน้ เป็นเรือ่ งยาก ขณะเดียวกัน การเสียเลือดเนือ้ และสร้างความเป็นปฏิปกั ษ์ ระหว่างกลุม่ ต่างๆ เพือ่ กระจายกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ก็หาได้คมุ้ ค่าไม่  แนวทางทีเ่ ราเลือกคือ 28  อหิงสายาตรา


การใช้ปฏิบตั กิ ารมวลชนสันติวธิ กี ดดันรัฐบาลให้แก้ปญั หานีใ้ นกรอบของกฎหมาย ซึง่ รัฐบาลสามารถท�ำอะไรได้มากมายโดยการบังคับใช้กฎหมายที่มีอยู่แล้ว แต่กฎหมาย เหล่านีจ้ ะมีการบังคับใช้ตอ่ เมือ่ รัฐบาลยินดีเข้ามาสนับสนุนชุมชนชายขอบ เพราะชนชัน้ ปกครองแยกตัวออกจากชุมชนพร้อมด้วยที่ดินและทรัพยากร จึงไม่ง่ายที่พวกเขาจะ ยอมให้การสนับสนุนผูท้ อี่ อ่ นแอและคนชายขอบ  ส�ำหรับผูอ้ า่ นชาวต่างชาติ ข้าพเจ้า ขอยกตัวอย่างประกอบการอธิบายถึงประเด็นอันซับซ้อนเกี่ยวกับที่ท�ำกินและแหล่ง ทรัพยากร ในอินเดีย มีกฎหมายว่าด้วยเพดานการถือครองที่ดิน ระบุว่าเกษตรกรทุกคน สามารถถือครองทีด่ นิ ทีม่ ชี ลประทานเข้าถึงได้ไม่เกิน ๒๐ เอเคอร์ และทีไ่ ม่มชี ลประทาน เข้าถึงไม่เกิน ๔๐ เอเคอร์ (ตัวเลขนีอ้ าจต่างกันไปบ้างในแต่ละรัฐ)  หากมีการบังคับใช้ กฎหมายนีท้ งั้ ทางลายลักษณ์อกั ษรและทางปฏิบตั  ิ ย่อมมีทดี่ นิ เหลือเฟือส�ำหรับจัดสรร แก่คนไร้ที่ท�ำกิน  อย่างไรก็ตาม การยักยอกเกิดอยู่ทั่วไปโดยเจ้าหน้าที่รัฐร่วมรู้เห็น ท�ำให้มที ดี่ นิ เหลือส�ำหรับจัดสรรในจ�ำนวนจ�ำกัด  อีกตัวอย่างคือ กฎหมายว่าด้วยสิทธิ ในผืนป่า ๒๐๐๖ อันเป็นผลจากการต่อสูย้ าวนานของกลุม่ เคลือ่ นไหวต่างๆ รวมถึงเอก ตาปริ ษัทและการเดิน ขบวนเรียกร้อ ง ‘ชนาเทศ ๒๐๐๗’ ที่มีผู้ร่วมเดินเท้าจาก ควาลิยัรไปกรุงเดลี ๒๕,๐๐๐ คน  ด้วยกฎหมายนี้ ข้อเรียกร้องของชาวอาทิวาสีใน กรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ทีพ่ วกเขาเพาะปลูกมาหลายชัว่ คน จึงสามารถมีขอ้ ยุตทิ เี่ ป็นประโยชน์ แก่พวกเขา  ผู้อ่านอาจประหลาดใจว่าในประเทศที่ประชากร ๘๐ ล้านคนเป็นชาว อาทิวาสี กลับมีเพียงหนึง่ ล้านคนทีไ่ ด้รบั ทีท่ ำ� กินในช่วง ๕ ปีทผี่ า่ นมา (ทีม่ สี มาชิก ๘ คนต่อครอบครัว คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๕ ของอัตราการจัดสรรทีด่ นิ )  ตัวเลขนีเ้ ป็นเครือ่ ง บ่งชีถ้ งึ ระดับความสามารถของเราในการช่วยเหลือคนยากไร้  ด้วยแรงกดดันจากภาค ประชาสังคม รัฐบาลจึงแต่งตัง้ คณะกรรมการขึน้ มาหลายชุด เพือ่ ศึกษาปัญหาแบบแผน การถือครองที่ดินและการกระจายกรรมสิทธิ์ที่ดิน และน�ำเสนอข้อแนะน�ำ ในช่วง ๑๐ ปีทผี่ า่ นมา มีคณะกรรมการหลายชุดและมาตรการแนะน�ำทีน่ า่ สนใจหลายข้อจากโต๊ะ ประชุม และคณะกรรมการหลายชุดก็เห็นพ้องกันว่า ถ้าไม่มีการจ่ายแจกทรัพยากร เพื่อการด�ำรงชีพ จะน�ำไปสู่การอพยพย้ายถิ่นระลอกใหญ่จากชนบทสู่เมือง และอาจ ชักน�ำให้สถานการณ์ความรุนแรงในชนบทเพิม่ สูงขึน้  แต่นา่ เสียดายว่า ไม่มกี ารตีความ ข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปสู่นโยบายและกฎหมายอันเป็นประโยชน์  เช่นเดียวกับหลาย ประเทศ อินเดียมีสภาพเป็นสองส่วน ทางหนึ่งคนยากไร้ก�ำลังเรียกร้องที่ท�ำกินและ ขบวนการเรียกร้องที่ดินและสันติวิธี  29


ปัจจัยด�ำรงชีพ ส่วนอีกทางหนึง่  บรรษัทระดับชาติและข้ามชาติกก็ ำ� ลังเรียกร้องกรรมสิทธิ์ ทีด่ นิ และโครงสร้างพืน้ ฐานส�ำหรับการประกอบการ  ในโลกโลกาภิวตั น์ทกี่ ารตัดสินใจ ใดๆ มักโน้มเอียงไปเอือ้ ประโยชน์กลุม่ อ�ำนาจทีก่ มุ บังเหียนโลกอยู ่ ขบวนการทางสังคม เชิงสันติวธิ  ี อย่างชนาเทศและชนสัตยาเคราะห์ จึงมีความส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อการเตือน ให้รฐั ระลึกว่า ไม่ควรล�ำเอียงอยูฟ่ ากใดฟากหนึง่  การตัดสินใจใดๆ จ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึง ทุกฝ่าย แม้ว่าอินเดียมีประวัติการต่อสู้แนวอหิงสาในการน�ำของมหาตมะคานธี และ ผู้น�ำอีกหลายต่อหลายท่าน เรากลับไม่น�ำพลังแห่งสันติวิธีมาใช้รับมือปัญหาที่เผชิญ อยู่  ขณะที่ประวัติศาสตร์มิได้ถูกลืม และบ่อยครั้งบรรดาผู้นิยมคานธีก็ยังปลาบปลื้ม ภูมใิ จกับการต่อสูแ้ บบสันติวธิ  ี แต่รฐั บาลกลับนิยมใช้กำ� ลังปิดกัน้ เสียงของผูท้ ชี่ ปู ระเด็น สนับสนุนคนชายขอบ  แม้แต่ในประเทศประชาธิปไตยก้าวหน้า การปกครองผ่าน กระบวนการปรึกษาหารือและแลกเปลีย่ นก็ยงั ไม่กลายเป็นวัฒนธรรม  แนวโน้มทัว่ ไป คือการพูดว่า รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งควรมีอิสระในการตัดสินใจแทนประชาชน พวกเขารู้ดีว่าสิ่งใดจะเป็นประโยชน์ต่อบ้านเมือง  ในการสรุปเยี่ยงนี้ เสียงของชุมชน ชายขอบก็จะถูกขับให้ตกขอบยิ่งขึ้น ด้วยขบวนการเรียกร้องชนาเทศและชนสัตยาเคราะห์  เราพยายามชักน�ำเสียงทีเ่ คยเป็นชายขอบให้กลายเป็นศูนย์กลางความสนใจ รัฐจะกดขีอ่ ยูไ่ ด้นานเท่าไร และรัฐจะเพิกเฉยต่อเสียงของผูถ้ กู กดขีไ่ ด้นานเท่าไร ขณะ ทีพ่ ยายามผลักดันทุกวิธที างในระดับประเทศ เราก็เห็นถึงความจ�ำเป็นของการรวมตัว ในระดับสากล เพื่อให้สันติวิธีเป็นไปได้และเป็นไปเพื่อประโยชน์ของคนไร้อ�ำนาจและ ด้อยโอกาส ข้าพเจ้าใคร่ขอใช้โอกาสนี้เน้นถึงกลยุทธ์สันติวิธีที่ใช้ในการต่อสู้ที่ด�ำเนินอยู่ กลยุทธ์แรกคือเลือกวันอหิงสาสากลเป็นวันเริม่ ต้นการเคลือ่ นไหว เราเริม่ สังวาทยาตรา จากกันยากุมารี เมืองใต้สดุ ของอินเดีย ในวันที ่ ๒ ตุลาคม ๒๐๑๑ เสมือนการโหมโรง ก่อนการเดินขบวนครัง้ ประวัตศิ าสตร์จากควาลิยรั  ในวันที ่ ๒ ตุลาคม ปีถดั มา  กลยุทธ์ ที่สองคือการประสานก�ำลังจากองค์กรที่แตกต่างหลากหลายทางอุดมการณ์การเมือง โดยชักชวนองค์กรต่างๆ ให้เข้าร่วมยาตราครัง้ ประวัตศิ าสตร์ถงึ  ๒,๐๐๐ องค์กร  กลยุทธ์ ที่สามคือเดินทางไปทั่วประเทศในลักษณะการยาตรา และพบปะขบวนการต่อสู้โดย สันติทชี่ าวบ้านรวมตัวกันขึน้ เพือ่ ต่อต้านการยักยอกทรัพยากรไปให้กลุม่ ทุนทีม่ อี ทิ ธิพล นอกจากนี้ จากการต่อสู้แต่ละครั้งเราได้รวบรวมดินตัวอย่างมาจัดนิทรรศการที่เดลี 30  อหิงสายาตรา


• ราเกศ รตัน สิงห์ นักกิจกรรมของเอกตา ปริษทั ทีท่ ำ� งานในอ�ำเภอสิโหเร เพื่อให้ความรู้แก่สาธารณชนถึงความเป็นมาของการต่อสู้เหล่านี้  กลยุทธ์ส�ำคัญอีก ประการคือ ให้นกั กิจกรรมจ�ำนวน ๑๒,๒๒๓ คน โดยสารรถไฟเพือ่ ไปน�ำการเดินขบวน ครั้ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ข องประชาชนหนึ่ ง แสนคนจากควาลิ ยั ร เข้ า สู ่ เ มื อ งหลวงเดลี นักกิจกรรมแต่ละคนต้องรู้วิธีดูแลมวลชนในการเดินขบวนทางไกล โดยมีเจตนารมณ์ หนักแน่นที่จะไม่ใช้ความรุนแรง  กลยุทธ์อีกประการที่ใช้คือการมีกลุ่มนักต่อสู้เพื่อ อิสรภาพอาวุโส ผูเ้ คยท�ำงานภายใต้การน�ำของมหาตมะคานธี นัง่ ประท้วงรออยูท่ เี่ ดลี ระหว่างทีช่ มุ ชนชายขอบตบเท้าแสดงพลังอยูบ่ นท้องถนน  นอกจากนีย้ งั มีกลยุทธ์อนื่ อีกมากที่ใช้เพื่อให้การเคลื่อนไหวไม่เพียงด�ำเนินไปโดยสันติ แต่ยังเปิดให้มีการเข้า ร่วมสูง ดังนั้น กระบวนการต่อสู้ทุกล�ำดับขั้นจึงมีประเด็นที่ดินและทรัพยากรเพื่อการ ยังชีพเป็นธงน�ำ และยึดมัน่ ในหลักสันติวธิ อี ย่างไม่มขี อ้ ประนีประนอม  จากการเคลือ่ นไหวนี้ เราหวังว่าประเด็นที่ดินท�ำกินจะกลับสู่การพิจารณาหารืออีกครั้ง และรัฐบาล จ�ำเป็นต้องริเริ่มกระบวนการเยียวยาเชิงโครงสร้าง อันจะส่งผลให้การจัดสรรที่ดิน การเกษตรแบบยั่งยืน และการขจัดความยากจนเป็นจริงได้

ขบวนการเรียกร้องที่ดินและสันติวิธี  31



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.