Satish Kumar : My life as a pilgrim

Page 1

PERSPECTIVE

SATISH KUMAR

MY LIFE AS A PILGRIM เรื่อง ถมทอง ทองนอก ภาพ มนัญญา ไชยนันทน์

แม้จะอยู่อังกฤษมาหลายสิบปี แต่ชาย ชาวอินเดียผู้นี้ยังคงมีความเป็นอินเดียอยู่ อย่างชัดแจ้ง เจ้าของเสื้อตัวยาวและรอยยิ้ม กว้างเลือกที่นั่งบริเวณด้านนอกของอาคาร ศศนิเวศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วยเหตุผลที่ว่า “ข้างนอกมีต้นไม้” และ “ผมไม่ต้องการแอร์” สาทิศ กุมาร อดีตนักบวชในศาสนาเชน ผู้รณรงค์ต่อสู้เพื่อสันติภาพและสิ่งแวดล้อม มาตลอดชีวิต เดินทางมากรุงเทพฯ เพื่อเป็น องค์ปาฐกของปาฐกถามหาตมะคานธีอนุสรณ์ ว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งที่ 2 เขามาทัน พอดีกับที่หนังสือ ‘Earth Pilgrim’ ฉบับ แปล หรือ ‘จาริกบนผืนโลก’ ซึ่งเขาเขียน ส�ำเร็จเป็นรูปเล่ม สาทิศเดินทางมาถึงเมืองไทยในช่วงที่ สถานการณ์การเมืองก�ำลังตึงเขม็ง 1 ธันวาคม 2556 ขณะที่บรรยากาศ ภายนอกก�ำลังรุ่มร้อน ผู้คนมากมายเดิน กันขวักไขว่เนืองแน่น แต่บทสนทนาของเรากับชายชราวัย 77 ปี ที่เรียกตัวเองว่าเป็นนักจาริกผู้นี้ กลับเป็นไปในทิศทางตรงกันข้าม ทั้งที่หัวข้อของการสนทนาก็ไม่พ้นเรื่อง ความไม่เป็นธรรม สันติภาพ และความยั่งยืน 170 ● IMAGE JANUARY 2014 ●


IMAGE JANUARY 2014

171


คุณเกิดที่เมืองไหนในอินเดีย

ผมเกิดที่ราชสถาน (Rajasthan) ประเทศอินเดีย เมืองซึ่งมีพระราชา มาก อาจจะมีมากกว่า 100 พระองค์ด้วยซ�้ำไป แต่หลังจากอินเดียประกาศ อิสรภาพจากอังกฤษ ก็ไม่มีราชาอีกต่อไป ตอนผมเกิด บิคาเนร์ (Bikaner) ยังคงมีพระราชาอยู่ บริเวณนัน้ เป็นทะเลทราย แห้งแล้งมาก มีเนินทรายสวยๆ มากมาย พวกเรารักเนินทรายเหล่านัน้ มาก เพราะในเวลากลางคืน ใต้แสงเดือน เนินทรายเหล่านัน้ จะส่องแสงสว่างราวกับทุง่ สีเงิน (Field of Silver) เพราะฉะนัน้ จึงบอกได้ว่าผมเกิดในทุ่งเงิน ที่บ้านผม กลางคืนคุณจะเห็นดวงดาวเป็น ล้านดวง ราชสถานเลยเหมือนกับโรงแรมล้านดาว เรามักจะนอนนอกบ้าน เพราะอากาศอบอุ่น แห้ง ฝนมาแค่ช่วงมรสุม ซึ่งมีแค่ 1-2 เดือนต่อปี เราต้องเก็บน�้ำฝนทุกหยดในแท็งก์และใช้น�้ำจาก แท็งก์นนั้ ทัง้ ปี เราใช้นำ�้ อย่างระมัดระวังมาก แม่ของผมใช้นำ�้ เพียงถังเดียวใน การอาบน�้ำ หลังกินข้าว เราต้องใช้ขนมปังหรือแป้งชิ้นเล็กๆ กวาดจาน จานข้าวที่กินเสร็จต้องสะอาดมากๆ เพื่อที่จะได้ใช้น�้ำเพียงนิดเดียวเวลาล้าง การใช้น�้ำเป็นเรื่องส�ำคัญมาก

นักบวชตอบคุณว่าอย่างไร

ท่านบอกว่านีค่ อื วัฏจักรของการเกิดและตาย ทุกคนอยูใ่ นวัฏจักรนี้ และ วิธีเดียวที่จะหยุดวัฏจักรนี้ได้คือการละทิ้งทางโลกมาเป็นนักบวช ถ้าใช้ชีวิต อย่างบริสุทธิ์ ไม่ท�ำกรรมเลว เวลาตายก็จะไม่ต้องกลับมาอีก นั่นคือจุดจบ ของการเกิดและการตาย จุดจบของวัฏจักร ได้ยินแล้วผมสนใจมาก

เป็นเรื่องปกติไหมคะที่นักบวชจะอธิบายเรื่องแบบนี้กับเด็ก อายุเพียงเท่านั้น

ไม่ใช่เรือ่ งธรรมดาหรอกครับ แต่เราเชือ่ ว่าแม้ในร่างนีค้ ณ ุ จะอายุแค่ 6-7 ขวบ จิตวิญญาณของคุณอาจจะแก่กว่านัน้ คุณอาจมีบางอย่างจากชาติทแี่ ล้ว ทีท่ ำ� ให้สนใจคิดเรือ่ งนีอ้ ย่างจริงจัง นอกจากนี้ ตอนนัน้ จิตใจของผมก็บริสทุ ธิ์ มาก ผมโตมาในเมืองเล็กๆ ไม่ได้มชี วี ติ ทันสมัย ผมเลยสนใจชีวติ แบบนัน้ มาก

อะไรที่ท�ำให้คุณสนใจชีวิตนักบวชขนาดนั้น

พวกเขาปฏิบัติ นั่งสมาธิ เดินทาง นักบวชเดินทางจากหมู่บ้านหนึ่งไป อีกหมู่บ้านหนึ่งตลอดเวลา เพราะฉะนั้นข้อดีอย่างแรกของการเป็นนักบวช พ่อแม่ของคุณประกอบอาชีพอะไรคะ คือ มันยุติการตายได้ สอง ผมได้เดินทาง ไม่ต้องอยู่บ้านอย่างเดียว นอกจาก แม่ผมมีไร่เล็กๆ มีวัว 2 ตัว ควาย 2 ตัว อูฐ 2 ตัว ในช่วงมรสุม แม่จะ นี้ เมื่อคุณเป็นนักบวช ผู้คนจะค�ำนับคุณ มอบอาหารให้คุณ ผมว่าชีวิตแบบ ปลูกแตงโม พืชตระกูลแตงต่างๆ ปลูกข้าวฟ่างและพลัม ส่วนพ่อตายตอนผม นั้นน่าสนใจมาก ตอน 9 ขวบผมเลยไปบวช อายุได้ 4 ขวบ ตอนนัน้ ผมแปลกใจมาก ไม่เข้าใจว่าเกิดอะไรขึน้ แม่ผมร้องไห้ ครอบครัว ญาติและเพื่อนบ้านร้องไห้ ส่วนพ่อก็นอนอยู่บนเตียง ผมถามแม่ แม่ของคุณรู้สึกอย่างไรเมื่อรู้ว่าลูกชายจะบวช ว่าท�ำไมพ่อไม่พูด ไม่ขยับ แม่ก็ร้องไห้ วันนั้นแม่ถอดเครื่องประดับทั้งหมด เพราะแม่ศรัทธาในศาสนา ด้านหนึ่งแม่ก็เลยดีใจและภูมิใจที่ลูกชาย ใส่สา่ หรีทไี่ ม่มสี สี นั สีนำ�้ ตาลเข้ม แม่บอกว่า “แม่รอ้ งเพราะพ่อตายแล้ว” ตอน ฝักใฝ่ในศาสนา ท่านไม่อยากเป็น ‘อุปสรรค’ ในการที่ลูกชายอยากศึกษา นั้นผมไม่รู้หรอกว่าตายคืออะไร รู้แค่ที่แม่บอกว่าทุกคนที่มีชีวิต วันหนึ่งจะ ศาสนาและการรู้แจ้ง แต่อีกด้านแม่ก็เศร้า เพราะในบรรดาลูก 8 คน ผู้ชาย ต้องตาย ผมบอกแม่ว่า “นั่นแย่มาก” และถามต่อว่า “แม่...แม่จะตายไหม” 4 ผู้หญิง 4 ผมเป็นลูกคนสุดท้อง แม่จึงเอ็นดูผมมาก และตั้งแต่พ่อตาย ผมก็อยู่เป็นเพื่อนใกล้ชิดแม่มาตลอด แม่บอกว่า “ทุกคนต้องตาย” ผมช็อกมาก ไม่เข้าใจ และเสียใจมาก

น่าสนใจทีค่ นเป็นแม่พดู กับลูกในวัยนัน้ ด้วยความจริงอย่างนัน้ พี่ๆ น้องๆ ว่าอย่างไรบ้างคะ

แม่ผมเป็นผูห้ ญิงฉลาด แม่ไม่ได้มกี ารศึกษาตามระบบทีเ่ ราเรียกกันว่าการ เรียนทางโลก อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แต่รเู้ รือ่ งราวมากมาย ท่านชอบเล่าเรือ่ งให้ ผมฟัง ท่านรูจ้ กั เพลงเยอะ ชอบร้องเพลง แม่รกั ธรรมชาติมากและชอบเดินมาก ฟาร์มเล็กๆ ของเราอยูห่ า่ งจากบ้านออกไป 2 ไมล์ เราเดินไปฟาร์มเสมอ ไม่เคยขี่ อูฐหรือม้าไป ผมได้รบั การเลีย้ งดูทดี่ จี ากแม่ ท่านเป็นครูทดี่ ี ผมเห็นท่านท�ำงาน หนักเสมอ หน้ามรสุมแม่จะปลูกพืช จากนัน้ รอเก็บเกีย่ ว ท�ำเนยจากนมวัวนม ควาย และท�ำกับข้าวตลอดเวลา แม่ของผมวิเศษมาก ท่านเป็นตัวอย่างทีด่ ี เมื่อย้อนมองกลับไปที่แม่ ผมเห็นคนเต็มคน มนุษย์ที่อยู่กับปัจจุบัน ท�ำอะไรวันต่อวัน ไม่ได้มีความหวังอยากประสบความส�ำเร็จในเรื่องใดเป็น พิเศษ แม่เป็นแม่บ้านสามีตายที่มีลูก 8 คน แม่จึงแข็งแรงมาก ร่างกายก็ แข็งแรงมาก คลอดลูกได้ตั้ง 8 คน (หัวเราะ) แม่แบกลูกไว้บนหลัง บนไหล่ อุ้มไว้บนแขน แม่ท�ำได้ทุกอย่าง

วัยเด็กของคุณเป็นอย่างไร

ผมไม่ได้ไปโรงเรียนจนกระทั่ง 6-7 ขวบ แม่ผมมีเพื่อนเป็นพราหมณ์ (Brahmin Teacher) เพราะฉะนั้นแทนที่จะส่งผมไปเข้าโรงเรียนรัฐ แม่จึงส่ง ผมไปเข้าเรียนในโรงเรียนเล็กๆ ที่มีนักเรียน 30-40 คน แต่มีคนสอนคนเดียว ครอบครัวเรานับถือศาสนาเชน (Jainism) ซึ่งคล้ายกับศาสนาพุทธ ผู้ก่อตั้ง ศาสนาเชนคือพระมหาวีระ (Mahavira) ซึ่งใช้ชีวิตอยู่ในสมัยเดียวกันกับ พระพุทธเจ้า แม่ผมศรัทธาในศาสนามาก ท่านชอบพาผมไปวัดของเชน ให้ไปเรียนรูก้ บั นักบวช แล้ววันหนึง่ ตอนผมอายุได้ 7-8 ขวบ ผมก็ถามนักบวช ว่ามีวิธีไหนที่จะหยุดความตายได้ไหม “พ่อผมตาย แม่ก็บอกว่าแม่ต้องตาย และเวลามีใครตาย ทุกคนจะเสียใจมาก” ผมรู้สึกว่าการตายนี่แย่มาก และ น่าจะมีวิธีที่ท�ำให้คนไม่ตาย 172 ● IMAGE JANUARY 2014 ●

พี่น้องของผมไม่ชอบเท่าไหร่ พวกเขาไม่อยากให้ผมบวช เขาบอกว่า อายุแค่นั้นจะเข้าใจอะไรเรื่องบวช แต่ผมยืนยันและพยายามโน้มน้าวพวก เขา นอกจากนี้แม่ยังบอกว่าถ้าผมอยากบวช พี่น้องก็ไม่ควรขัดขวาง เพราะ เด็กก็ตัดสินใจเองได้ แม่สนับสนุนการตัดสินใจของผมครับ และเมื่อแม่บอก ว่า ‘ได้’ คนอื่นจะว่าอะไรได้

ชีวิตนักบวชเป็นอย่างไรบ้าง

ยาก แต่กส็ วยงามมาก ทีว่ า่ ยากคือมันต้องเดินเท้าเปล่าและใช้ชวี ติ ขึน้ อยู่กับ ‘การขอ’ ผมบิณฑบาตได้วันละหนึ่งครั้งก่อนเที่ยงวัน กินอาหารได้ วันละครั้ง กลางคืน หลังพระอาทิตย์ตกดินกินอะไรไม่ได้เลย ไม่ว่าจะเป็น อาหารหรือน�้ำ แต่ส่วนที่งดงามก็คือผมได้เดินทางไปตามหมู่บ้านต่างๆ ได้เรียนภาษาสันสกฤต ปรัชญาเชน และศาสนาต่างๆ คุรุที่สั่งสอนผมใจดี มาก ท่านเป็นเหมือนพ่อ การเป็นนักบวชท�ำให้ผมมีพ่ออีกคน ผมได้เรียนรู้ เรื่องการไม่ใช้ความรุนแรงและหลักของการไม่ใช้ความรุนแรง

คุณบวชอยู่นานไหมคะ

9 ปีครับ ตัง้ แต่อายุ 9-18 ผมได้เรียนรูม้ ากมาย ได้เรียนรูเ้ รือ่ งพุทธศาสนา นิดหน่อย เรื่องการกลับมาเกิดใหม่ เรื่องกรรม เรื่องการควบคุมอารมณ์โกรธ การควบคุมความภาคภูมิใจในตัวเอง และความถ่อมตน เป็นการฝึกฝนที่ดี มาก ผมไม่เสียใจเลยที่บวช

หลังสึก คุณท�ำอะไรต่อ

ตอนอายุ 18 ผมได้อ่านหนังสืออัตชีวประวัติของมหาตมะคานธี และ หนังสือเล่มนั้นก็เปลี่ยนชีวิตผม ปรัชญาของท่านคือการไม่ใช้ความรุนแรง


และเรื่องของจิตวิญญาณ (Spirituality) ซึ่งเป็นหลักการที่ไม่ได้ใช้ส�ำหรับ นักบวชเท่านั้น แต่ทุกคน ทุกวัย ควรน�ำมาใช้ในทุกวัน ถ้าคุณท�ำอะไรด้วย แรงกระตุ้นที่ถูกต้องและความตั้งใจดี นั่นคือจิตวิญญาณทั้งหมด จิตวิญญาณไม่ใช่สงิ่ ทีอ่ ยู่ ‘นอก’ โลก ไม่ใช่คนทีต่ อ้ งไปอาศัยอยูใ่ นภูเขา หรือถ�้ำ แต่มันคือการอาศัยอยู่ในโลก และเปลี่ยนโลกจากวัตถุนิยมไปเป็น จิตวิญญาณมากขึน้ เมือ่ อ่านจบ ผมรูส้ กึ ว่าตัวเองอยูฝ่ ง่ั ตรงข้าม ผมบวช ละทิง้ โลก เพราะคิดว่าโลกคือหลุมพราง โลกไม่ดี แต่คานธีกลับบอกว่าคุณสามารถ เปลี่ยนโลกได้ ถ้าตั้งใจดี

9 ปีที่เป็นนักบวชเรียกได้เป็นชีวิตด้านจิตวิญญาณของพิลกริม จากนั้น ผมก็มาเป็นพีซพิลกริม (Peace Pilgrim - ผู้จาริกเพื่อสันติภาพ) ท�ำงาน กับวิโนพา ซึ่งก�ำลังเคลื่อนไหวปฏิรูปอินเดีย วิโนพากล่าวว่า เมื่ออินเดีย ได้ รั บ เอกราช เป็ น อิ ส ระจากการปกครองของอั ง กฤษ และก� ำ ลั ง จะ กลายเป็นประเทศที่สงบสุขและไร้ความรุนแรง สิ่งท้าทายก็คือ การท�ำให้ อินเดียเป็นอิสระ มีเอกราชทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และจิตวิญญาณ เขามองว่าปัญหาทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของอินเดียคือความยากจน ซึง่ เกิดเพราะ ผู้คนถูกยึดที่ดินท�ำกินไป ชาวอังกฤษยึดที่ดินและน�ำไปให้เจ้าของที่ (Landlord) ไม่กี่คน เราจึงต้องน�ำที่ดินเหล่านั้นมาคืนให้คนยากจน เพราะเมื่อมี ยกตัวอย่างหน่อยได้ไหมคะ ที่ดิน คุณจะมีอาหาร มีเสื้อผ้า มีชีวิตที่ดี งานออฟฟิศในเมืองมีไม่พอส�ำหรับ ถ้าท�ำงานการเมือง แต่ท�ำด้วยความรัก ความห่วงใย ความกรุณา ทุกคน แต่ผืนดินสร้างงานให้ทุกคนได้ การเมืองนั้นก็เป็นการท�ำงานทางจิตวิญญาณ ถ้าท�ำธุรกิจ แต่เป็นธุรกิจเพื่อ สั ง คม เพื่ อ ชุม ชน และท�ำด้ว ยความกรุณ า ธุรกิจก็เ ป็นการท�ำงานทาง ขอที่ดินคืน...ไม่น่าใช่เรื่องง่าย จิตวิญญาณ เพราะฉะนั้น อหิงสา หรือการไม่ใช้ความรุนแรงจึงไม่ใช่เรื่อง วิโนพาจะเดินจากหมูบ่ า้ นหนึง่ ไปอีกหมูบ่ า้ น เดินไปทุกทิศ ทัง้ เหนือ ใต้ เฉพาะตัว ผมสนใจแนวคิดนัน้ มาก และเวลานัน้ ความสนใจในเรือ่ งความตาย ตะวันออก ตะวันตก เดินอยู่ 20 ปี กว่า 100,000 ไมล์ (160,934.4 กิโลเมตร) ผมร่วมเดินกับเขา เดินเพื่อปฏิวัติสร้างสันติภาพ วิโนพาสามารถโน้มน้าวให้ ของผมก็เริ่มแกว่งๆ แล้ว เจ้าของที่ดินยอมมอบที่ดินรวม 4,000,000 เอเคอร์ (16,187.43 ตาราง เป็นนักบวชมา 9 ปี เป็นไปได้อย่างไรที่หนังสือเล่มเดียวจะ กิโลเมตร) เพื่อการกุศล และน�ำที่ดินเหล่านั้นไปมอบให้คนยากจนและคน ท�ำให้คุณเลิกสนใจชีวิตนักบวช ว่างงาน มันเป็นประสบการณ์ที่ดีมากส�ำหรับผม ผมคิดมาสักพักแล้ว เริ่มคิดว่าบางทีชีวิตนักบวชอาจจะจ�ำกัดเกินไป ผมอยากเป็นอิสระ และเริ่มคิดว่าผมน่าจะท�ำอะไรอย่างอื่นมากกว่าเป็น วิโนพาใช้วิธีไหนในการโน้มน้าวคน นักบวชเพียงอย่างเดียว ผมว่าหนังสือเป็นเหมือนสัญญาณที่ท�ำให้สิ่งที่ผม เขาจะไปหาเจ้าของที่ บอกว่าถ้าคุณมีลูก 5 คน ให้นึกว่าเขาเป็นคนที่ 6 สงสัยชัดเจนขึ้น ผมคิดว่าต่อให้ไม่เป็นนักบวช ผมก็สามารถฝึกฝนปฏิบัติได้ เป็นตัวแทนคนยากจน และโปรดยกที่ดิน 1 ใน 6 ส่วนให้เขา เขาพูดเรื่องของ ในทุกวันของชีวิต หนังสือเป็นเหมือนจุดเปลี่ยน เป็นเหมือนฟางเส้นสุดท้าย ความกรุณาว่าคืออีกหนทางหนึง่ ของความยุตธิ รรม การทีเ่ กิดมาในครอบครัว

ถ้าท�ำงานการเมือง แต่ทำ� ด้วยความรัก ความห่วงใย ความกรุณา การเมืองนัน้ ก็เป็นการท�ำงานทางจิตวิญญาณ ถ้าท�ำธุรกิจ แต่เป็นธุรกิจเพื่อสังคม เพื่อชุมชน และท�ำด้วยความกรุณา ธุรกิจก็เป็นการท�ำงานทางจิตวิญญาณ เพราะฉะนั้น อหิงสาหรือการไม่ใช้ความรุนแรงจึงไม่ใช่เรื่องเฉพาะตัว

ช่วงทีบ่ วชอยู่ ไม่มอี ะไรท�ำให้คณ ุ เสียสมาธิ หรือท�ำให้คณ ุ นึก ที่มีที่ดินท�ำกิน ในขณะคนอื่นไม่มี เป็นเรื่องไม่ยุติธรรม อยากไปเป็นอย่างอื่นเลยหรือ เราสร้างความยุติธรรมได้ 3 วิธี วิธีแรกคือการปฏิวัติโดยใช้ก�ำลังอาวุธ ไม่มากครับ ผมเพียงมีโอกาสได้พบ Gandhian (ผูน้ บั ถือแนวคิดคานธี) หลายคน หนึ่งในนั้นคือวิโนพา ภาเว (Vinoba Bhave) ซึ่งเป็น Gandhian นักปฏิวัติที่ยิ่งใหญ่มาก ผมติดใจแนวคิดของเขามาก เขาเดินเหมือนคุรุใน ศาสนาเชน แต่เป็นการเดินเพื่อปฏิรูปสังคม...เดี๋ยวผมจะเล่าเรื่องนี้ให้ฟัง ทีหลัง ผมสนใจแนวคิดนั้น ส่วนหนึ่งอาจเพราะเป็นวัยรุ่น เริ่มมองออกไปข้าง นอก เริม่ คิดว่าจะท�ำอะไรต่อไปกับชีวติ ดี จะเป็นนักบวชศึกษาปรัชญาเชนต่อ ไปอย่างนี้หรือ เท่านี้หรือ ส�ำหรับผม มันคับแคบเกินไป การเป็นนักบวชก็ เหมือนกับบ้าน เวลาที่เด็กวัยรุ่นทั้งหลายอยากออกจากบ้าน ผมก็อยาก เหมือนกัน หนังสือของคานธีช่วยท�ำให้ผมกระจ่างขึ้น มันท�ำให้ผมคิดว่า น่าจะมีอะไรมากกว่านั้นในชีวิต

คนมีอาวุธไปฆ่าเจ้าของที่ดินและเอาที่ดินไป นั่นไม่ใช่วิถีของคานธี นั่นเป็น วิถีแห่งความรุนแรง วิธีที่ 2 คือรัฐก�ำหนดกฎหมาย ยึดเอาที่ดินไป กับวิธีที่ 3 คือผูค้ นเต็มใจแบ่งปันผืนดินนัน้ เอง ซึง่ ดีกว่ามาก เพราะคุณไม่ตอ้ งโดนบังคับ โดยรัฐหรืออาวุธ เมื่อคนที่ท�ำงานให้คุณ อยู่หมู่บ้านเดียวกับคุณ ไม่มีอาหาร กิน ไม่มีงานท�ำ ไม่มีบ้าน คุณจะใช้ชีวิตอยู่ได้อย่างไร ด้วยตรรกะแบบนี้ คนก็เข้าใจและเต็มใจที่จะแบ่งปัน

คุณอยู่กับวิโนพานานแค่ไหนคะ

ผมเข้าไปตอนอายุ 18 และอยู่กับเขานาน 8 ปี (ค.ศ. 1953 - 1961) นับเป็นช่วงเวลาส�ำคัญ เป็นการเคลือ่ นไหวทีย่ งิ่ ใหญ่ในอินเดีย วิโนพาดึงพลัง ประชาชนออกมา คนทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพออกมาร่วมเรียกร้อง “Change the world! Give the land!” เขาบอกว่าเราต้องรับผิดชอบต่อตนเอง เราต้อง สุดท้ายคุณก็ตัดสินใจสึก เปลี่ยนโลก ไม่ต้องรอให้รัฐบาลเป็นคนเปลี่ยนแปลง มันเป็นการเรียนรู้ที่ดี ถ้าจะพูดง่ายๆ ชีวิตผมก็เหมือนชีวิตของพิลกริม (Pilgrim – ผู้จาริก) มากส�ำหรับผม ●

IMAGE JANUARY 2014

173


174 ● IMAGE JANUARY 2014 ●


เท่าที่ฟัง คุณยังไม่มีช่วงเวลาเหมือนเด็กวัยรุ่นคนอื่นเลย

อย่างการท�ำงานและเริ่มต้นครอบครัวน่ะหรือ ต้องไม่ลืมว่าผมเป็น นักบวชมานาน ความต้องการของผมไม่ใช่การท�ำธุรกิจอีกแล้ว ครอบครัวผม ท�ำธุรกิจ พ่อกับพี่ชายเป็นนักธุรกิจ แต่ผมไม่สนใจเรื่องธุรกิจมาแต่ไหนแต่ไร ผมอยากเปลีย่ นโลกมากกว่า (หัวเราะ) ผมโตมาในวัด แนวคิด ปรัชญา สังคม การเมือง วรรณกรรม ศาสนา มันมากมายเหลือเกินแล้ว และผมก็อุดมคติ มากด้วย ผมเป็นแบบนั้นมาตลอด กระทัง่ วันนี้ ทีผ่ มมาเมืองไทยนี่ ผมก็ไม่มเี งิน คนถามว่าผมต้องการเงิน บาทไว้ใช้บา้ งไหม ผมก็บอกไปว่าผมไม่จำ� เป็นต้องใช้ ผูค้ นดูแลผม เวลาไม่มี เงิน คุณจะไม่มีสิ่งล่อใจ ไม่ต้องคิดว่าซื้อโน่นซื้อนี่ได้ไหม ตอนอยู่กับวิโนพาก็ เช่นกัน ผมได้รับเงินนิดหน่อยจากการท�ำงานตรงนั้น สิ่งที่จ�ำเป็น ผมก็มีใช้ รองเท้า อาหาร เสื้อผ้า ทุกอย่างมีไว้ให้ ผมไม่ได้อยากได้อะไรเลย

เป็นไปได้หรือที่คนเราจะไม่มีความต้องการอะไรเลย

เมือ่ คุณเติบโตขึน้ มาแบบนักบวช คุณจะได้รบั การฝึกฝนให้ละความสุข การมีความสุขไม่ได้หมายถึงการอยากได้ แต่หมายถึงการละทิ้ง ผมมีความ สุขที่มีต้นไม้ ที่ได้เจอผู้คนที่ดี ธรรมชาติก็มีอยู่ ผมได้เรียนรู้และฝึกฝนที่จะไม่ ต้องเป็น ‘เจ้าของ’ หรือ ‘เป็น’ อะไรสักอย่าง นักบวชไม่มีอะไรสักอย่าง แม่ก็ไม่ใช่แม่ของตัวแล้ว

ผู้คนจึงได้รู้จักคุณในฐานะนักเดินทาง 8,000 ไมล์

ผมกับเพื่อนรู้ว่าเราต้องไปมอสโก ปารีส ลอนดอน วอชิงตัน ดีซี เมือง หลวงของประเทศผู้ผลิตอาวุธนิวเคลียร์ แต่ค�ำถามถัดมาคือเราจะไปกัน อย่างไร เครื่องบิน รถไฟ รถ หรือปีนเขา แต่สุดท้ายก็คิดว่าวิโนพาเดินทาง มากมาย ตอนบวชผมก็เดินเยอะ ตอนเด็กๆ แม่กับผมก็เดิน ผมเลยพูดกับ เพื่อนว่า “เดินไปมอสโกกันเถอะ”

ความรู้สึกตอนนั้นเป็นอย่างไรคะ

ออกจะน่ากลัวนิดหน่อย เพราะเราไม่เคยเดินทางออกนอกอินเดีย เลย แต่เ มื่อไปพบวิโนพา เขาเห็นด้วยกับแนวคิด นี้ และแนะน�ำให้เรา เดิ น ทางแบบไม่ มี เ งิ น ติ ด ตั ว เลย “ไม่ มี เ งิ น ติ ด ตั ว สั ก นิ ด เลยหรื อ ” ผม ย้ อ นถาม “บางครั้ ง เราก็ ต ้ อ งการดื่ ม ชา ต้ อ งโทรศั พ ท์ และอยากเขี ย น โปสการ์ด” เขาบอกว่า “ไม่” และอธิบายว่าสงครามเริ่มต้นด้วยความ หวาดกลั ว ขณะที่ สั น ติ ภ าพเริ่ ม ต้ น ที่ ค วามเชื่ อ ใจ ถ้ า จะเดิ น ทางเพื่ อ สั น ติ ภ าพ ต้ อ งเชื่ อ ใจ “คุ ณ ต้ อ ง ‘เป็ น สั น ติ ภ าพ’ ไม่ ใ ช่ เ พี ย งพู ด ถึ ง สันติภาพ” การที่จะ ‘เป็นสันติภาพ’ ได้นั้น ไม่ว่าพื้นหลังของคุณจะเป็น อย่างไร ศาสนาไหน เชื้อชาติใด มีมุมมองทางการเมืองอย่างไร คุณต้อง เริ่มจากความเชื่อใจก่อน

ผมเดินทางสร้างสันติภาพบนโลก แต่อันที่จริงการสร้างสันติภาพไม่จ�ำเป็นว่าจะต้องสร้างกับคนเท่านั้น วิธีการที่เราปฏิบัติต่อสัตว์และผืนดินในทุกวันนี้ เหมือนกับว่าเราก�ำลังท�ำสงครามกับธรรมชาติ ฉะนั้นการสร้างสันติภาพต่อธรรมชาติ ต่อมนุษย์ ต่อตัวเอง และการสร้างสันติภายในใจเป็นเรื่องเดียวกัน ตอนเป็นนักบวช ผมจะไม่พดู ว่า แม่เป็นแม่ของผม แต่จะพูดว่าแม่ ‘เคย’ เป็นแม่ของผมตอนที่ผมยังอยู่ทางโลก แต่เมื่อบวช ผมละทิ้งทุกอย่าง พี่น้อง ก็ไม่ใช่ของผม ผมไม่มีอีโก้ ไม่มีความเป็นเจ้าของ ไม่มีความปรารถนา เป็น อิสระ ไม่ยดึ ติดกับอะไร ผมเป็นส่วนหนึง่ ของโลก แต่โลกไม่ได้เป็นของผม เรา ต้องถอดถอนความปรารถนา แทนที่จะอยากได้สิ่งของ ผมกลับปรารถนาถึง อิสรภาพ ผมเลยมาเป็นพิลกริม เพราะการจาริกท�ำให้คุณได้เดินทาง ผม หลงใหลการเดินทาง

นั่นคือช่วงเวลาที่คุณเริ่มเดินเพื่อสันติภาพ

ผมเขียนหนังสือเรื่อง No Destination (นักเดินเท้าแปดพันไมล์ - ฉบับ แปลเป็นไทย) ไม่ทราบคุณเคยผ่านตาบ้างไหม หนังสือเล่มนีเ้ ล่าเรือ่ งราวการ เดิ น ทางของผม ตอนปี 1961 ผมอ่ า นเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ Bertrand Russell (นักคณิตศาสตร์รางวัลโนเบล) เขาเป็นผู้น�ำด้านการขับเคลื่อนเพื่อ สันติภาพ เขาและผู้สนับสนุนมากมายเดินทางไปกระทรวงกลาโหมใน ลอนดอน เพื่อบอกว่านิวเคลียร์ไม่ใช่สิ่งที่ควรน�ำมาใช้ มันเป็นอาวุธแห่งการ ท�ำลายล้างและเป็นการผิดศีลธรรมที่จะสะสมอาวุธนิวเคลียร์ เขาประท้วง ต่อต้านไปเรื่อยๆ แต่สุดท้ายก็ถูกจับเข้าคุก ตอนทราบข่าว ผมอายุ 25 ผมนั่ง อยู่ในร้านกาแฟในอินเดียกับเพื่อน ผู้ชายอายุ 92 ต้องเข้าคุกเพื่อสันติภาพ ของโลก แล้วผมกับเพือ่ นก�ำลังนัง่ ท�ำอะไรกันอยูน่ ี่ เราต้องท�ำอะไรสักอย่างแล้ว เราต้องเข้าร่วมกับโครงการสันติภาพของเขา

และคุณก็เชื่อเขา

วิโนพาเป็นครูของเรา เราจึงเชื่อเขา เราทิ้งเงินของเราทั้งหมด และเริ่ม ออกเดินทางจากสุสานของมหาตมะคานธี เข้าปากีสถาน อัฟกานิสถาน อิหร่าน อาเซอร์ไบจัน อาร์เมเนีย จอร์เจีย เลียบชายหาดด�ำ มอสโก โปแลนด์ เยอรมนี เบลเยียม ฝรั่งเศส จากนั้นนั่งเรือจากฝรั่งเศสไปอังกฤษ เดินจาก โดเวอร์ไปลอนดอน เข้าพบเบอทรันด์ รัสเซลล์ นั่งเรือจากเซาธ์ แธมป์ตันไป นิวยอร์ก นิวยอร์กไปวอชิงตัน ดีซี เจอ Martin Luther King ไปญี่ปุ่น เดินจาก โตเกียวไปฮิโรชิมา จากนั้นนั่งเรือกลับอินเดีย ทั้งหมดใช้เวลา 2 ปีครึ่ง และนั่นคือการจาริกเพื่อสันติภาพ

คุณเรียนรู้อะไรจากการเดินทางที่ยาวนานครั้งนั้น

ระหว่างการเดินทาง ผมพบว่านอกจากผมจะเป็น Peace Pilgrim ผม ยังเป็น Earth Pilgrim ด้วย ผมเดินทางสร้างสันติภาพบนโลก แต่อันที่จริง การสร้างสันติภาพไม่จ�ำเป็นว่าจะต้องสร้างกับคนเท่านั้น วิธีการที่เราปฏิบัติ ต่อสัตว์และผืนดินในทุกวันนี้ เหมือนกับว่าเราก�ำลังท�ำสงครามกับธรรมชาติ ก�ำลังท�ำลายธรรมชาติอยู่ เราท�ำลายมหาสมุทรด้วยพลาสติก ท�ำให้แม่น�้ำ และอากาศเป็ น พิ ษ ปล่ อ ยก๊ า ซเสี ย สร้ า งความเปลี่ ย นแปลงให้ ส ภาพ ภูมิอากาศโลก ฉะนั้นการสร้างสันติภาพกับธรรมชาติจึงมีความจ�ำเป็นพอๆ กับการสร้างสันติภาพในหมูม่ นุษย์ดว้ ยกันเอง การสร้างสันติภาพต่อธรรมชาติ ต่อมนุษย์ ต่อตัวเอง และการสร้างสันติภายในใจเป็นเรื่องเดียวกัน แต่ที่ผม ●

IMAGE JANUARY 2014

175


เรียกหนังสือของผมว่า ‘Earth Pilgrim’ ก็เพราะผมคิดว่าโลกนั้นครอบคลุม ทุกอย่าง ทั้งตัวผม มนุษย์ และธรรมชาติด้วย มันเป็นคอนเส็ปต์ที่กว้างขึ้น

คุณจ�ำความรู้สึกทางกายตอนเริ่มออกเดินจากสุสานของ คานธีได้ไหม

ได้รับการสนับสนุนมากมายนั้น ผมกลับรู้สึกขอบคุณมากกว่า เวลามีโอกาส ได้เจอนักเคลื่อนไหวท้องถิ่น อย่างเบอทรันด์ รัสเซลล์ หรือมาติน ลูเธอร์ คิง ทีท่ ำ� งานเพือ่ สันติภาพ เราจะยิง่ ถ่อมตัว เข้าไปศึกษาว่าเห็นว่าพวกเขาท�ำงาน กันอย่างไร เวลาไปหมูบ่ า้ นไหนและได้รบั ความเอือ้ เฟือ้ ได้อาหาร เราจะรูส้ กึ ขอบคุณ เพราะฉะนั้นถ้าจะถาม ใช่ครับ อีโก้ก็มีบ้าง แต่ส่วนใหญ่คือ ความรู้สึกกตัญญูและขอบคุณมากกว่า

ได้ ผมรู้สึกขอบคุณโลก เพราะถ้าไม่มีโลก ผมก็ไม่รู้จะเดินที่ไหน ผม ขอบคุณโลกที่รองรับฝ่าเท้าของผม นั่นคือความรู้สึกทางกาย แต่สิ่งที่ผมคิด ก็คือผมจะท�ำมันอย่างไร มันไม่ใช่ความกลัวนะครับ เป็นความกังวล แต่เมื่อ ระหว่างเดินทาง เจออุปสรรคอะไรบ้างไหม เริ่มเดิน เราก็เห็นว่ามีผู้คนให้การต้อนรับ สนับสนุน “โชคดีนะ เราสนับสนุน มี บ ้ าง บางครั้ ง ไม่ ไ ด้ รั บ อาหาร เพราะคนไม่ รู ้ เรื่ อ งของเรา คิ ดว่า คุณ เราก็เชือ่ ในสันติภาพเช่นกัน” สิง่ เหล่านัน้ คือสิง่ ทีผ่ มและเพือ่ นได้พบทุกวัน แต่งเรื่องขึ้นมาเอง เราจะมองว่านี่เป็นโอกาสดีที่จะได้อดอาหาร เมื่อเป็น พิลกริม คุณต้องยอมรับความยากล�ำบาก เป็นพิลกริมไม่เคยง่าย ไม่รู้เลยว่า ผู้คนเหล่านั้นรู้เรื่องราวการเดินของคุณได้อย่างไรคะ จะเกิดอะไรขึ้นต่อไป เรื่องเฉพาะหน้าคือสิ่งที่ต้องเจอ คุณต้องยินดีต้อนรับ เราแจกใบปลิวครับ ไม่วา่ ไปทีไ่ หนเราก็จะแจกใบปลิวในภาษาท้องถิน่ ความยากล�ำบากทั้งหลาย อย่างที่ผมเขียนไว้ในหนังสือเล่มนี้ (สาทิศยื่นมือ บอกว่าท�ำไมเราจึงมาเดิน ท�ำไมเราจึงไม่ใช้เงิน และท�ำไมต้องไม่มีอาวุธ มาแตะหนังสือ ‘จาริกบนผืนโลก’ บนโต๊ะ) ว่าตอนนี้คนเราใช้ชีวิตอยู่บนโลก นิวเคลียร์ เราไปสถานีวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เราไปมหาวิทยาลัย บอก ในฐานะนักท่องเที่ยวมากกว่าพิลกริม ถ้าเป็นนักท่องเที่ยว ทุกอย่างจะง่าย ว่าเราอยากคุยกับนักศึกษา ไปโบสถ์ ไปมัสยิด ถามว่าขอคุยกับสมาชิกโบสถ์ โรงแรมก็จองแล้ว ตั๋วเครื่องบิน รถ ก็จองไว้หมดแล้ว ทุกอย่างแน่นอน หรื อ มั ส ยิ ด ได้ ไ หม เราพยายามจะสื่ อ สารเรื่ อ งการไม่ ส นั บ สนุ น การ นักท่องเที่ยวสนใจปริมาณ แต่พิลกริมสนใจคุณภาพ พิลกริมจะเห็นคุณค่า ใช้นิวเคลียร์ คนมากมายดูแลเรา มีคนเสนอที่พักและอาหารให้เสมอ ในสิง่ ต่างๆ เสมอ ขณะทีน่ กั ท่องเทีย่ วมักเอาแต่บน่ อะไรทีค่ ณ ุ ให้นกั ท่องเทีย่ ว มักไม่ดีพอเสมอ พวกเขาต้องอยากได้อะไรที่ดีกว่านั้น ขณะที่พิลกริมจะ ขอยกการตั้งข้อสังเกตที่ว่า คนที่ท�ำงานลักษณะนี้มักมีอีโก้ ยอมรับสิ่งที่เป็น ว่ามันก็เป็นเช่นนั้นเอง และค่อยๆ พัฒนาคุณภาพของ รูส้ กึ ว่าคนอืน่ รูน้ อ้ ยกว่า และภูมใิ จในสิง่ ทีต่ วั ท�ำมาก คุณเป็น สิง่ นัน้ ขึน้ มา ไม่บน่ ไม่วพิ ากษ์วจิ ารณ์ ขอบคุณในสิง่ ทีไ่ ด้รบั และจะไม่หมกมุน่ แบบนั้นบ้างไหม กับความปลอดภัยขนาดนี้ ปล่อยให้ความไม่ปลอดภัยเข้ามาในชีวติ บ้างก็ได้ ก็มบี า้ ง ไม่มใี ครทีป่ ราศจากอีโก้ไปเสียเลยหรอก แม้แต่แหวนทองทีว่ า่ แล้วคุณจะแข็งแรงขึ้น เป็นทองแท้ก็ยังไม่แท้เลย ยังมีโลหะบางอย่างอยู่ด้วย แต่ในช่วงเวลาที่ผม เพราะเมือ่ คุณปลอดภัยเสมอ เมือ่ ทุกอย่างได้รบั การวางแผนไว้อย่างดี 176 ● IMAGE JANUARY 2014 ●


คุณจะขี้กลัว สังคมเลยกลายเป็นสังคมที่มีแต่คนขี้กลัวและเป็นสังคมที่ ปกครองด้วยความกลัว กลัวว่าพรุง่ นีจ้ ะเป็นอย่างไร จะมีงานท�ำไหม จะหาเงิน มาจากไหน แก่ไปจะมีบ้านอยู่หรือเปล่า เป็นเรื่องของความกังวลทัง้ นัน้ ฉะนั้น อิสระจากความกลัวจึงเป็นกฎข้อแรกส�ำหรับคนที่จะมาเป็นพิลกริม ผมอยากสร้างสรรค์สงั คมทีผ่ คู้ นไม่ได้อยูด่ ว้ ยความกังวลและความกลัว นีค่ อื สิง่ ทีส่ ำ� คัญ อะไรคือเหตุผลของการมีเงินมากๆ มีบา้ น มีรถ ในเมือ่ คุณยังกังวล

macher เขาเป็นผู้เขียนหนังสือ ‘Small is Beautiful’ ซึ่งโด่งดังมาก ตอนนั้น เขาก�ำลังหาใครสักคนไปเป็นบรรณาธิการนิตยสาร Resurgence เพราะ เขายุง่ มาก เขาอยากให้ผมไปท�ำเพราะมองว่าผมมีพนื้ ฐานทีด่ เี กีย่ วกับแนวคิด เรื่องนิเวศวิทยา แต่ผมปฏิเสธ เพราะผมอยากกลับไปท�ำงานกับ Gandhian Movement ที่อินเดียมากกว่า แต่ชูมาเกอร์บอกว่า “ที่อินเดียมี Gandhian เยอะแล้ว เราต้องการ Gandhian ที่อังกฤษสักคน โปรดอยู่ที่นี่ รับงานนี้ และ ท�ำให้มันเป็นหนังสือของคานธีเถอะ” ผมเลยบอกว่า ถ้าผมเป็นบรรณาธิการ ถ้าเป็นอย่างนัน้ ตอนตัดสินใจเดินเพือ่ สันติภาพ คุณวางแผน คุณต้องเขียนงานลงในหนังสือทุกฉบับนะ เขานิ่งไปพักหนึ่ง ก่อนตอบตกลง บ้างหรือเปล่า ผมจึงตกลงรับงานนั้นและเริ่มเป็นบรรณาธิการตั้งแต่ปี 1973 จนถึงทุกวันนี้ ไม่มากครับ เวลาเดิน แผนการจะน้อยมาก ผมเริ่มเดินตอน 9 โมงเช้า เป็นเวลา 40 ปีแล้ว และตอนนี้นิตยสาร Resurgence กับ The Ecologist และไม่แน่ว่าเมื่อไหร่จะหยุด อาจจะเป็น 5 โมง คุณต้องหาที่นอน หาร้าน มารวมกันแล้ว หลังจากผู้ก่อตั้ง The Ecologist เสียชีวิต น�ำ้ ชาทีค่ ณ ุ พอจะเข้าไปพักได้ และต้องพร้อมรับสถานการณ์เฉพาะหน้า เช่น ถ้ามีคนสนใจในสิง่ ทีค่ ณ ุ ท�ำและชวนให้คณ ุ ไปพักด้วย คุณก็จะไป การยอมรับ นอกจากเป็นบรรณาธิการแล้ว ทราบว่าคุณยังท�ำโรงเรียนและ วิทยาลัยด้วย และปฏิกริยาตอบกลับกับสิ่งที่เกิดขึ้นในเวลานั้นจึงส�ำคัญมาก ต่อมา เมื่อชูมาเกอร์เสียชีวิต ผมได้ท�ำ 2 สิ่งเพื่อเป็นการระลึกและให้ หลังเริ่มต้นเดินที่สุสานคานธี คุณหยุดครั้งแรกที่ไหน เกียรติเขา นั่นคือ ท�ำโรงเรียนชื่อ The Small School ตามชื่อหนังสือ Small ผมกับเพื่อนเริ่มเดินตอนเย็น ประมาณ 4-5 โมง จุดแรกที่หยุดคือนอก is Beautiful โรงเรียนนีก้ อ่ ตัง้ ขึน้ เพือ่ เด็กอายุ 11-16 ผมอยากให้การศึกษากับ กรุงเดลีไปนิดหน่อย เป็นทีซ่ งึ่ เพือ่ นเตรียมไว้ให้ เราได้คยุ กับหนังสือพิมพ์ฮนิ ดู พวกเขา ไม่ใช่เฉพาะที่ ‘หัว’ เท่านัน้ เพราะการศึกษาส่วนใหญ่ให้ความส�ำคัญ สถาน ไทมส์ เดอะ ไทมส์ ออฟ อินเดีย ซึง่ คนให้การต้อนรับเป็นอย่างดี เพราะ แต่กับที่หัว แต่ผมอยากให้พวกเขาได้รับการศึกษาทั้งที่หัว หัวใจ และมือ มี ค นรู ้ เ รื่ อ งของเราบ้ า งแล้ ว เราตั้ ง ใจที่ จ ะท� ำ ให้ ก ารเดิ น ครั้ ง นี้ เ ป็ น เรื่ อ ง (head - heart - hand) นักเรียนควรจะได้เรียนรู้วิธีการเชื่อมโยงกับผู้อื่น การ สาธารณะ เนื่องจากอยากสื่อสารเรื่องสันติภาพ ช่วงที่เราเดินคือเดือน มีความกรุณา การมีจิตใจดี และการเคารพผู้อื่น นั่นคือสิ่งที่เราให้คุณค่า ถ้า มิถุนายน อากาศในอินเดียร้อนมาก เรามักหยุดพักตอน 10-11 โมง กระทั่ง คุณมีแต่หวั ไม่มหี วั ใจ คุณจะเป็นคนไม่เต็มคน คุณต้องพัฒนาคุณภาพหัวใจ 4 โมง เดินต่อจนถึงประมาณ 1 ทุม่ และเมือ่ เข้าปากีสถาน อากาศคล้ายคลึงกัน ด้วย การศึกษาที่เน้นเพียงแต่การสอบให้ผ่าน เพื่อให้มีงานท�ำ ไม่ควรเป็น เราอาจจะเดินท่ามกลางแสงจันทร์บ้าง ตอนกลางวันก็พักใต้ต้นไม้บ้าง จุดประสงค์ของการศึกษา การศึกษาควรพัฒนาความสามารถของมนุษย์ ในคาเฟ่บา้ ง ผูค้ นน่ารักมาก ต้อนรับเราดี แม้วา่ ตอนนัน้ อินเดียและปากีสถาน ทั้งหมด ส่วนมือ เราจะสอนให้เด็กๆ ‘สร้าง’ สร้างด้วยตัวเอง เขาจะไม่เป็น จะยังคงท�ำสงครามแย่งชิงแคว้นแคชเมียร์กันอยู่ เพียงผู้ซื้อ แต่ต้องเป็นผู้สร้างด้วย จะได้สร้างบ้าน ปลูกผัก สร้างงานศิลปะ ท�ำเฟอร์นิเจอร์ ทาสี ท�ำงานด้วยมือ

ความรู้สึกแรกที่เหยียบลงบนผืนดินต่างประเทศเป็นอย่างไร

อยากรูแ้ ละสงสัยครับ พิลกริมเป็นมนุษย์ชา่ งสงสัย ความสงสัยเป็นพลัง และแรงขับให้พวกเรา พิลกริมต่างก็สงสัยว่าจะมีอะไรรออยู่เบื้องหน้า เป็นการสงสัยแบบไม่วางแผน ไม่เจาะจง ไม่คิดว่าอะไรจะเป็นอย่างไรใน อนาคต เพียงต้องเชื่อมั่น และมันก็จะผ่านไปได้ เมื่อเดินเสร็จ ผมมีโอกาสได้ แปลและได้เขียนหนังสือ เล่มแรกคือแปลงานของมาร์ติน ลูเธอร์ คิง เพราะ ระหว่างจาริกเขาให้หนังสือของเขากับผมหนึ่งเล่ม เมื่ออ่านแล้ว ผมรู้สึกว่า อยากจะแนะน�ำแนวความคิดของเขาให้กับคนอินเดีย ผมเลยแปลหนังสือ เล่มนั้นเป็นภาษาฮินดี และตีพิมพ์

ฟังดูไม่เหมือนวิชาที่โรงเรียนสมัยนี้สอนเลย

จากนั้น คุณก็เขียนหนังสือของตัวเอง

คุณใช้หลักการเดียวกันนี้กับที่วิทยาลัยด้วยหรือเปล่า

ครั บ ผมเขี ย นหนั ง สื อ เพื่ อ บอกเล่ า ถึ ง การเดิ น ทางเป็ น ภาษาฮิ น ดี จากนัน้ มหาวิทยาลัยและโรงเรียนหลายแห่งก็เริม่ ชวนผมกับเพือ่ นไปบรรยาย เราเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้น จนมาปี 1971 มีสงครามเรียกร้องอิสรภาพใน บังกลาเทศ ผมเองมีส่วนร่วมในเรื่องนี้จากทางฝั่งอินเดีย เพราะมีผู้อพยพ จ�ำนวนมากเข้ามาในอินเดีย ผมน�ำผ้าห่ม เต็นท์และอาหารไปให้พวกเขา ผมถ่ายรูป พูดกับนักการเมืองบังกลาเทศที่เข้ามา และด้วยเรื่องนี้เองผมจึง จึงได้รับเชิญให้ไปที่อังกฤษ มีองค์กรคริสเตียนที่นั่นเชิญผมไปพูดเรื่องการ เคลื่อนไหวที่บังกลาเทศ และผมก็ไป

เพราะการศึกษาของเราไม่ได้สอนแบบนั้น การศึกษาในปัจจุบันท�ำให้ นักเรียนไร้ค่ามาก เมื่อจบออกมา พวกเขาท�ำได้แต่นั่งอยู่หน้าคอมพิวเตอร์ และใช้คีย์บอร์ดเท่านั้น ปลูกผักก็ไม่เป็น สร้างบ้านก็ไม่ได้ ท�ำรองเท้าก็ไม่ได้ การศึกษาแทบจะไม่มีประโยชน์อะไรเลย ผมท�ำโรงเรียนเพื่อให้นักเรียนมี ทักษะ มีความสามารถ ‘สร้าง’ อะไรด้วยมือเป็น คนที่จบออกมาจะเป็น ช่างฝีมือ (Artisan) เป็นกวี ที่ไม่ได้หมายความว่าต้องนั่งเขียนบทกวีเท่านั้น แต่ผมหมายถึงการเป็นผู้สร้าง ทุกคนเป็นกวีได้ถ้าคุณสร้างสรรค์

ผมท�ำวิทยาลัย Schumacher College ตั้งชื่อตามชูมาเกอร์ โดยใช้ หลักการเดียวกัน ว่าเราต้องมีการศึกษาที่เชื่อมโยงกับโลก การศึกษาสมัยนี้ เอาเปรียบธรรมชาติ เราหาวิธีว่าเราจะเอาเปรียบแม่น�้ำ ผืนดิน มหาสมุทร เพือ่ หาเงินได้อย่างไร ระบบการศึกษาสมัยนีส้ อนเรากลายๆ ว่ามนุษย์ยงิ่ ใหญ่ กว่าธรรมชาติ เราจึงสามารถเอาเปรียบธรรมชาติเพื่อระบอบเศรษฐกิจ เพือ่ ตึกใหญ่ๆ เพือ่ ทุกอย่าง เหมือนกับว่าเราเป็นผูป้ กครองโลก แต่ทวี่ ทิ ยาลัย เราสอนว่ามนุษย์เป็นเพียงหนึ่งใน 8.4 ล้านสายพันธุ์บนโลกนี้ มนุษย์ไม่ได้มี สิทธิอะไรมากกว่าสิทธิของธรรมชาติ (Right of Nature) สิทธิของมนุษย์มี อยู่จริง แต่สิทธิของธรรมชาติก็มีอยู่ด้วย มีจากภายใน ต้นไม้มีสิทธิที่จะอยู่ ที่อังกฤษเป็นอย่างไรบ้างคะ แม่ น�้ ำ และมหาสมุ ท รก็ มี สิ ท ธิ ที่ จ ะมี อ ยู ่ มี สิ ท ธิ ที่ จ ะสะอาด ที่ จ ะได้ รั บ ผมได้เจอบรรณาธิการของนิตยสาร Resurgence ชื่อ E.F. Schu- ความเคารพ เราจึงสอนอยู่บนวิถีแห่งความยั่งยืน เศรษฐศาสตร์ การเมือง ●

IMAGE JANUARY 2014

177


178 ● IMAGE JANUARY 2014 ●


สังคม สถาปัตยกรรม การเกษตร หรือมานุษยวิทยา ทุกอย่างต้องเป็นการ เรียกว่าฝั่งทุนนิยมไม่มีอะไรดีเลยหรือคะ ศึกษาที่อยู่บนความยั่งยืน ข้อดีคือ ในบางมุม มุมเล็กๆ มันตอบสนองความต้องการของผู้คน ซูเปอร์มาร์เก็ตและธนาคารตอบสนองความต้องการของคนที่อาศัยในเมือง แนวทางการศึกษาแบบที่คุณว่ามาแตกต่างกันมากกับโลก อาหารซือ้ หาง่ายขึน้ โดยทีค่ นซือ้ ไม่จำ� เป็นต้องรูท้ มี่ าว่ามาจากไหน ซือ้ เสือ้ ผ้า สมัยนี้ เด็กจะอยู่ในโลกปัจจุบันได้อย่างไร ได้โดยไม่ต้องรู้ว่าท�ำมาจากอะไร ทุนนิยมและบริโภคนิยมสร้างสังคมที่ โลกไม่ได้มโี ลกเดียว โลกใบแรกคือโลกแห่งวัตถุนยิ ม บริโภคนิยม ความ สะดวกสบาย และความสะดวกสบายนีเ่ องทีค่ รองโลกในปัจจุบนั คุณไม่ตอ้ ง เติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยังมีอีกโลกหนึ่ง โดยเฉพาะในชนบทที่ผู้คนยังคง ท�ำอะไรเลย ทุกอย่างสะดวกไปหมด สะดวกได้ครับ แต่ความสะดวกต้องไม่ใช่ อาศัยอยู่บนผืนดิน โลกที่ผู้คนยังเคารพธรรมชาติ ที่ผู้คนยังเป็นช่างฝีมือ ทั้งหมด และท่ามกลางความสะดวกสบาย ความสร้างสรรค์และจินตนาการ ใช้ชีวิตกันอยู่เป็นจ�ำนวนน้อย และท�ำงานแบบเป็นนายตัวเอง ผมพยายาม หายไป น�ำศักดิ์ศรีและความเคารพกลับมายังบุคคลเหล่านั้น ถ้าคุณเป็นนายธนาคาร คุณได้เงิน 10,000 ดอลลาร์ต่อวัน ขณะที่ถ้าเป็นช่างฝีมือ คุณอาจ หายไปได้อย่างไร จะได้แค่ 100 ดอลลาร์...ท�ำไมคนที่ปลูกพืช ปลูกอาหารจึงมีค่าไม่เท่ากับคน หัวใจของมนุษย์มีสองด้าน ด้านหนึ่งคือด้านของความสร้างสรรค์ อีก ทีน่ งั่ นับเงินในธนาคาร เราใช้ชวี ติ โดยปราศจากคอมพิวเตอร์ได้ แต่เราอยูโ่ ดย ด้านคือความสะดวกสบาย เมื่อการศึกษาส�ำหรับเด็กอายุ 5-20 ปี ล้างสมอง ไม่มีอาหารไม่ได้ คุณกินคอมพิวเตอร์ไม่ได้ กินเงินหรือบัตรเครดิตพลาสติก ว่าความส�ำเร็จคือการมีเงินมาก มีรถคันใหญ่ มีชื่อเสียง นั่นคือวิธีที่สังคม ก็ไม่ได้ ผมจึงอยากให้ผคู้ นให้เกียรติและเคารพคนทีท่ ำ� งานเป็นผูส้ ร้าง ชาวนา สนับสนุนเรื่องนี้ผ่านการศึกษา สนามบินสุวรรณภูมิเป็น ‘ความภาคภูมิใจ’ ช่างฝีมือ คนปลูกผัก และคนที่ท�ำงาน ‘จริง’ เราควรส่งเสริมเขาและให้เงิน ของคนไทยจริงหรือ ประเทศไทยควรภาคภูมิใจในเรื่องคน เรื่องวัฒนธรรม พวกเขามากขึ้นด้วย วรรณกรรม ดนตรี ครูบาอาจารย์ มากกว่าหรือเปล่า การภูมิใจกับถนน หรือ

หัวใจของมนุษย์มีสองด้าน ด้านหนึ่งคือด้านของความสร้างสรรค์ อีกด้านคือความสะดวกสบาย เมื่อการศึกษาส�ำหรับเด็กอายุ 5-20 ปี ล้างสมองว่า ความส�ำเร็จคือการมีเงินมาก มีรถคันใหญ่ มีชื่อเสียง นั่นคือวิธีที่สังคมสนับสนุน เรือ่ งนีผ้ า่ นการศึกษา สนามบินสุวรรณภูมเิ ป็น ‘ความภาคภูมใิ จ’ ของคนไทยจริงหรือ ประเทศไทยควรภาคภูมิใจในเรื่องคน เรื่องวัฒนธรรม วรรณกรรม ดนตรี ครูบาอาจารย์ มากกว่าหรือเปล่า การภูมิใจกับถนนหรือสนามบิน เป็นเหมือนการดึงให้จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ต�่ำลง ผมคิดว่าพนักงานธนาคารควรจะได้เงินแค่ 100 ต่อวันส่วนชาวนาควร จะได้ 10,000 (หัวเราะ) ท�ำไมล่ะ ใช่ไหม เราไม่มีธนาคารได้ แต่ไม่มีอาหาร ไม่ได้ ท�ำไมแอปเปิ้ลจึงเป็นบริษัทที่ใหญ่มากของโลก ชาวนาต่างหาก ผมไม่ ได้ต่อต้านคอมพิวเตอร์นะ เพียงแต่คิดว่าเราให้ความส�ำคัญกับแอปเปิ้ล กูเกิล หรือแอมะซอนมากเกินไป พวกนัน้ ก�ำลังยึดครองโลกต่างหาก เทคโนโลยี ควรมีทอี่ ยูข่ องมัน และให้มนั อยูใ่ นทีข่ องมัน อย่าปล่อยให้มนั มาครอบง�ำชีวติ เรา

สนามบินเป็นเหมือนการดึงให้จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ต�่ำลง เรา ต้องสอนลูกหลานของเราให้เป็นศิลปิน เป็นนักปราชญ์ เป็นช่างฝีมอื งานทีด่ ี ควรหมายถึงงานทีท่ ำ� แล้วมีความสุข เกิดประโยชน์กบั โลก ไม่ใช่งานทีไ่ ด้เงิน มาก งานที่เรียกกันว่าเป็นงานที่ดีจึงไม่ใช่งานที่ดี นั่นมันงานที่ไม่ดีต่างหาก ไม่ดีอย่างยิ่งเลยละ

จินตนาการส�ำหรับคุณหมายถึงอะไร

คุณมองว่ามนุษย์เราเดินทางมาถึงวันนีไ้ ด้อย่างไร วันทีเ่ ราให้ จินตนาการคือแนวทางของความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ความส�ำคัญกับคอมพิวเตอร์และเศรษฐกิจมากกว่าอาหาร ไม่ใช่สิ่งที่เราจะใช้กับแค่ศิลปะและดนตรีเท่านั้น การที่คุณท� ำสวนใน

เหตุผลมี 2 อย่าง เรามีสงิ่ ยัว่ ยุ และความโลภ เช่น ถ้าคุณมีคอมพิวเตอร์ แต่ผมไม่มี คุณมีบา้ น ผมไม่มี คุณมีบา้ นหลังใหญ่ ผมมีบา้ นหลังเล็ก ผมก็จะ อิจฉา เพราะฉะนั้นความอิจฉาจึงเป็นเหตุผลหนึ่ง หรือถ้าผมมีคอมพิวเตอร์ เก่า แต่คณ ุ มีเครือ่ งใหม่ ผมก็จะอยากได้คอมพิวเตอร์ทใี่ หม่กว่าทีผ่ มมี อยาก ได้ไอโฟน อยากได้แล็บท็อป อยากได้ไอแพด เมื่อโลภ อยากได้ คุณก็ต้อง กลายเป็นผู้ซื้อสินค้า เป็นลูกค้า โฆษณาบอกเราว่าเมื่อซื้อสินค้าแล้วคุณจะ มีความสุข ทั้งที่จริงๆ พวกเขาเป็นฝ่ายได้ก�ำไร บริโภคนิยมกลายเป็นเรื่องดี ซือ้ มากยิง่ ดี แต่สงิ่ ทีค่ ณ ุ ซือ้ น่ะมันไม่ดี เพียงแต่คณ ุ เรียกมันว่า goods (สินค้า) เท่านั้นแหละ ผมไม่ได้อยากได้ความเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่อยากได้ความเติบโต ทางความสุขและสุขภาวะ ความเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างเดียวไม่เพียงพอ เราต้องการความเติบโตทางเศรษฐกิจทีจ่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ สุขภาวะของผูค้ น

จินตนาการของคุณ โดยไม่ได้เตรียมตัวมาก่อน และสวนสวยงามขึ้นมาได้ นั่ น คื อ การแสดงออกของจิ น ตนาการและความคิ ด สร้ า งสรรค์ การท� ำ อาหารก็เป็นความคิดสร้างสรรค์ได้ถา้ คุณไม่ได้แค่ทำ� ตามสูตรในหนังสือหรือ ท�ำตามที่แม่คุณสอน ฉะนั้น การใช้จินตนาการจึงเป็นเหมือนจิตวิญญาณ ทุกอย่างทีค่ ณ ุ ท�ำในชีวติ เป็นส่วนหนึง่ ของจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ได้ จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์จะไม่ท�ำให้เกิดสิ่งน่าเกลียด มันจะ เกิดสิง่ สวยงาม แต่สงั คมอุตสาหกรรมบริโภคสมัยใหม่ไม่ได้ใช้สองสิง่ นัน้ เป็น เพียงการท�ำตามเครื่องจักร เครื่องจักรจินตนาการและคิดสร้างสรรค์ไม่ได้ ท�ำได้เพียงท�ำตามกฎเท่านั้น สังคมเราเริ่มกลายเป็นเครื่องจักร ท�ำทุกอย่าง เหมือนเครือ่ งจักร เครือ่ งยนต์ผลิตของทีส่ วยงามไม่ได้หรอก ทุกอย่างเป็นการ ผลิตแบบ Mass Producing (ผลิตจ�ำนวนมากๆ) ธรรมชาติต่างหากคือจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ต้นไม้ 2 ต้น ●

IMAGE JANUARY 2014

179


ไม่มีทางเหมือนกัน นก 2 ตัวก็ไม่มีทางเหมือนกัน ทุกอย่างมีเอกลักษณ์ แตกต่าง ศิลปินทีแ่ ท้จริงไม่มที างสร้างงานออกมาเหมือนกัน เก้าอีท้ ที่ ำ� ขึน้ จะ ไม่เหมือนกัน ผักที่ปลูก 2 ปีก็ไม่มีทางเหมือนกัน เพราะมันมีเรื่องอากาศ เรื่องดิน เงื่อนไขต่างๆ มันคือการมีส่วนร่วมกับชีวิต ขณะที่กับเครื่องจักรเรา เป็นเพียงคนกดปุ่ มเดินเครื่องเท่านั้น ที่ผมก� ำลังพูดก็คือ คนส�ำคัญกว่า เครือ่ งจักร คนควรเป็นผูค้ วบคุมเครือ่ งจักร แต่ตอนนีเ้ ครือ่ งจักรก�ำลังควบคุมคน

เขาท� ำ งานเกี่ ย วกั บ บ้ า นประหยั ด พลั ง งานและลดการสร้ า งคาร์ บ อน ปฏิ บั ติ ธ รรมด้ ว ย ส่ ว นลู ก สาวผมเป็ น นั ก เต้ น แทงโก แต่ ง งานแล้ ว กั บ ชาวอังกฤษและมีลูกด้วยกัน 1 คน หลานสาวของผมชื่อ Samay อายุจะ ครบ 4 ปีแล้ว ซาเมย์เป็นภาษาสันสกฤตแปลว่า Equanimity (อุเบกขา) เรียกว่าผมเป็นทั้งบรรณาธิการ เป็นชาวสวน เป็นคุณตา และผมก็ อยากให้ทุกคนมีโอกาสได้ใช้ชีวิตแบบนี้

คุณต่อต้านการผลิตจ�ำนวนมากๆ หรือเปล่า

อยากทราบว่าคุณพบกับภรรยาของคุณอย่างไรคะ

ครับ เพราะมันควรจะเป็นการผลิตโดยคนจ�ำนวนมาก (Production by ผมพบภรรยาผมครั้งแรกที่อังกฤษ เธอเป็นคนอังกฤษ เป็นบรรณารักษ์ the Masses) ไม่ ใ ช่ ก ารผลิ ต จ� ำ นวนมาก...ตอนนี้ อั ต ราคนว่ า งงานใน ทีส่ นใจเรือ่ งโลกและเรือ่ งสันติภาพ เธอเคยเดินทางจากอังกฤษไปญีป่ นุ่ จาก ลอนดอนไปมอสโก นั่งรถไฟสายทรานส์ไซบีเรียน 8 วัน ไปวลาดิวอสต็อก ประเทศไทยเป็นอย่างไร และโยโกฮามา จากนัน้ ไปบังกลาเทศ ความสัมพันธ์ของเราเริม่ ตรงนัน้ เพราะ เธอสนใจเรือ่ งการเรียกร้องอิสรภาพของบังกลาเทศ เราจึงได้พบกันทีอ่ งั กฤษ ไม่ดีนักค่ะ เพราะอะไร เพราะทุกอย่างท�ำด้วยเครื่องหรือเปล่า ในอิตาลี วัยรุ่น 20 เราแต่งงานกันมา 42 ปีแล้ว ผมรู้สึกขอบคุณที่ภรรยาของผมเป็นคนสนใจ เปอร์เซ็นต์ไม่มีงานท�ำ ในสเปน 25 เปอร์เซ็นต์ ไม่มีงานท�ำ คนอายุน้อยนะ เรื่องการปฏิบัติภาวนาและธรรมชาติ เธอชอบท�ำสวนด้วย เรามีความชอบ ครับ ไม่มอี ะไรท�ำเลย ชีวติ จะมีไปเพือ่ อะไร แต่ถา้ คุณผลิตโดยคนจ�ำนวนมาก เหมือนกัน และเราก็มีความสุขมากที่ได้อยู่ด้วยกัน เทคโนโลยีจะกลายมาเป็นตัวช่วย ไม่ใช่มาแทนคน เหมือนอย่างคุณถ่ายรูป ั ผูค้ นมากมาย พอมามีครอบครัว รูส้ กึ อย่างไรคะ นั่นเป็นเรื่องดี เพราะกล้องอยู่ในมือคุณ คุณเลือกเองว่าจะถ่ายอะไร อย่างไร คุณใช้ชวี ติ อยูก่ บ คุณเป็นคนควบคุมกล้อง แต่ในโรงงาน เครื่องจักรเป็นตัวที่ก�ำหนด และมัน ผมมีความสุขกับการมีชวี ติ ครอบครัว ผมสามารถจัดสรรชีวติ ครอบครัว ไม่เป็นเพียงการแทนทีม่ อื ของมนุษย์เท่านัน้ แต่เป็นการแทนทีม่ นุษย์เลยทีเดียว และชีวิตของผมกับสาธารณะได้ ผมยังคงเป็นบรรณาธิการ สอนหนังสือ

ส�ำหรับผม การแต่งงานไม่ใช่ 1 บวก 1 เป็น 2 แต่บวกกันแล้วเป็น 11 เมื่อแต่งงาน คุณไม่ได้รวมกัน แต่คุณแบ่งปันความสนใจซึ่งกันและกัน คุณยังคงเป็นอิสระทั้งในเรื่องความคิดและจิตวิญญาณ สามีภรรยาจะไม่กดดันกัน ไม่เรียกร้องซึ่งกันและกัน ยอมรับและอดทนคือสิ่งที่จ�ำเป็นส�ำหรับความสัมพันธ์ คุณยังคงมีเสรีภาพในตัวเองได้ ขณะเดียวกันก็สามารถแบ่งปันความรักกันได้

ถ้าคุณเดินเข้าไปในร้าน มีคนถามคุณว่า “รับอะไรดีคะ จะให้ช่วยอะไร ไหม” พอซื้อของเสร็จ ไปจ่ายเงิน คุณได้พูดขอบคุณที่เขาบริการคุณ ได้พูด คุ ย กั น แต่ พ อไปอี ก ที่ ห นึ่ ง คุ ณ จ่ า ยเงิ น ด้ ว ยบั ต รเครดิ ต ทุ ก อย่ า งเป็ น ออโตเมติกเช็กเอาต์ บริการตัวเอง นี่เราก�ำลังสร้างสังคมที่มีมนุษย์น้อยลง หรือเปล่า เราก�ำลังสร้างสังคมที่มนุษย์ไม่มีความจ�ำเป็นหรือเปล่า ความ สัมพันธ์ไม่มีความจ�ำเป็นหรือเปล่า แค่ซื้อของ กลับบ้าน ดูหน้าจอโทรทัศน์ ไม่ตอ้ งการมีความสัมพันธ์กบั ใครอย่างนัน้ หรือ ใช้ชวี ติ เหงาๆ กับโทรทัศน์ กับ คอมพิวเตอร์อย่างนั้นหรือ

ถ้าอย่างนั้น ทุกวันนี้คุณใช้ชีวิตอย่างไร

ทุ ก วั น นี้ ผ มอาศั ย อยู ่ ใ นหมู ่ บ ้ า นเล็ ก ๆ ที่ เ ดี ย วกั บ ที่ พิ ม พ์ นิ ต ยสาร Resurgence นิตยสารระดับนานาชาติที่พิมพ์ 10,000 ฉบับพิมพ์ที่บ้านผม ผมมี ส วนขนาด 2 เอเคอร์ ที่ ผ มปลู ก มั น ฝรั่ ง แครอต แอสพารากั ส ราสพ์เบอร์รี่ สตรอว์เบอร์รี่ แบล็กเคอเรนต์ กู๊สเบอร์รี่ แอปเปิ้ล แพร์ ผม ปลูกทุกอย่าง ผมโชคดี ที่ มี ภ รรยาแสนดี เธอสนใจในพุทธศาสนาและฝึกปฏิบัติ ตามแนวทางของท่านติช นัท ฮันห์ ขณะที่พูดนี้ภรรยาของผมอยู่ที่ฝรั่งเศส ปฏิบัติธรรมอยู่ ผมมีลูกสาว 1 คน ลูกชาย 1 คน ลูกชายผมสนใจเรื่อง ระบบนิเวศเพื่อความยั่งยืน (Ecological Sustainable Living) เหมือนกัน 180 ● IMAGE JANUARY 2014 ●

ที่วิทยาลัย เดินทาง เขียนหนังสือ ท�ำสวน และอยู่กับครอบครัว ท�ำกับข้าวกับ ครอบครัว เดินเล่นด้วยกันได้ ส�ำหรับผม การแต่งงานไม่ใช่ 1 บวก 1 เป็น 2 แต่บวกกันแล้วเป็น 11 เมื่อแต่งงาน คุณไม่ได้รวมกัน แต่คุณแบ่งปันความ สนใจซึ่งกันและกัน คุณยังคงเป็นอิสระทั้งในเรื่องความคิดและจิตวิญญาณ สามีภรรยาจะไม่กดดันกัน ไม่เรียกร้องซึ่งกันและกัน ยอมรับและอดทนคือ สิ่ ง ที่ จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ ความสั ม พั น ธ์ คุ ณ ยั ง คงมี เ สรี ภ าพในตั ว เองได้ ขณะเดียวกันก็สามารถแบ่งปันความรักกันได้

แล้วคุณเป็นพ่อแบบไหน

นัน่ คุณอาจจะต้องถามลูกผมนะ (หัวเราะ) ผมไม่ได้สอนเขาด้วยค�ำพูด เด็กเรียนจากการเห็นพฤติกรรมของพ่อแม่มากกว่าการฟัง ผมเชือ่ ว่าเด็กควร ได้รบั โอกาสให้ทำ� ผิดพลาด ไม่ควรมีคนยุง่ ก้าวก่าย หรือควบคุมเขา และเขา จะเรียนรู้จากความผิดพลาดเอง กับหลานก็เหมือนกัน ผมไม่มีการควบคุม ผมว่าเด็กเหมือนเมล็ดพันธุ์ มีศักยภาพยิ่งใหญ่ มีความสามารถที่ จะเติบโตเป็นต้นไม้ใหญ่ คุณยังไม่รู้หรอกว่าเด็กคนนี้จะโตขึ้นไปเป็นอะไรได้ แต่ผมเห็นศักยภาพและความเป็นไปได้ เด็กอาจจะมีศักยภาพที่จะพัฒนา เป็นพระพุทธเจ้า เป็นคานธี เป็นเชกสเปียร์ ผมไม่เชื่อว่าความยิ่งใหญ่เป็น คุณสมบัติที่มนุษย์เพียงบางคนมี แต่ผมมองว่าเด็กทุกคนมีความพิเศษใน ตัวเอง เราไม่จ�ำเป็นต้องเปรียบเทียบ ทุกเมล็ดพันธุ์มีศักยภาพที่จะเติบโตขึ้น


เป็นต้นไม้ที่แตกต่างกัน บางต้นเล็ก บางต้นใหญ่ เราไม่จ�ำเป็นต้องเปรียบ เทียบต้นใหญ่กับต้นเล็ก คุณอาจจะมีต้นแอปเปิ้ล มะม่วง มีต้นไทร แต่ทุก ชนิดก็เต็มไปด้วยศักยภาพของมัน เราต้องเห็นและเคารพคุณค่าของต้นไม้ แต่ละต้น คนแต่ละคน

โน่นคือธง ภาษาอาจเป็นตัวแบ่งแยก ทว่าในความเงียบเราจะเห็นความเป็น หนึ่งเดียวกัน เห็นความสัมพันธ์ การปฏิบัติในความเงียบเป็นวิธีที่ดีที่จะมอง เห็นความงดงามขององค์รวมได้ เราใช้ภาษาได้ แต่ตอ้ งใช้รว่ มกับความสงบเงียบ เพราะเมือ่ นัน้ คุณจะมี Holism และมีความแตกต่างหลากหลายในเวลาเดียวกัน

กลับมาทีง่ านเขียน ได้อา่ นแนวคิด Holism ในหนังสือของคุณ คุณเคยนึกสงสัยบ้างไหม ว่าทัง้ หมดทีไ่ ด้เรียนรูต้ ลอดมานีม่ นั อยากให้อธิบายเพิ่มเติมสักหน่อยได้ไหมคะ ‘ใช่’ แล้วหรือ มัน ‘จริง’ หรือเปล่า

Holism (องค์รวม) คือการมองเห็นสิ่งต่างๆ อย่างเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน และมองบริบทรอบข้างด้วย เช่นเมื่อเห็นแก้วน�้ำใบนี้ ถ้าคุณมองเห็นแค่แก้ว เดี่ยวๆ ใบเดียว ไม่มีความเชื่อมโยงกับสิ่งอื่น อันนั้นไม่ใช่ Holism แต่ถ้าคุณ เห็นแก้วมีความสัมพันธ์กับโต๊ะ กับน�้ำ กับมือผม เห็นว่ามันจะดับกระหายให้ ผม เห็นทุกอย่างเกีย่ วเนือ่ งกัน นัน่ คือ Holism หรืออย่างคุณมองต้นไม้ตน้ นัน้ ก็ควรเห็นว่าต้นไม้จะไม่เป็นต้นไม้ ถ้ามันไม่มีความสัมพันธ์กับสิ่งอื่น ต้นไม้ ต้นนี้จะไม่เป็นต้นไม้ ถ้าไม่มีน�้ำฝน ไม่มีดิน มันคือความเชื่อมโยงกันของ สรรพสิ่ง เหมือนกับคุณจะไม่มาอยู่ที่นี่ ถ้าไม่มีพ่อแม่ ไม่มีครู ไม่มีนิตยสารที่ คุณท�ำงานให้ การมองแบบนี้จะต่างกับการมองแบบ Dualism (ทวินิยม) ที่จะเห็น ทุกอย่างแยกกัน แก้วจะแยกจากโต๊ะ โต๊ะก็แยกจากโลก โลกก็แยกจากผม ทุกอย่างไม่เกี่ยวกัน แต่ในความเป็นจริงแล้ว เราต่างสร้างขึ้นมาจากกันและ กัน คุณกับผมถูกสร้างขึ้นมาด้วยสิ่งเดียวกัน นั่นคือ โลก อากาศ ไฟ น�้ำ ความฉลาด สติ อะไรก็ตามทีค่ ณ ุ มี ผมก็มี แต่ความเป็นหนึง่ เดียวกันเหล่านัน้ แสดงออกมาในรูปของความแตกต่างหลากหลาย เพราะฉะนัน้ ถ้ามีดนิ อยูส่ กั ก้อน เราจะสามารถน�ำดินนัน้ ไปปัน้ เป็นอะไร ได้มากมาย เหมือนกับที่มีมนุษย์เป็นล้านๆ คน ความหลากหลายนี้ไม่ใช่ สิ่งที่แบ่งแยกเรา และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (Unity) ก็ไม่ใช่การท�ำให้ ทุกอย่างเป็นเหมือนกันหมด (Uniformity)

จริงและเป็นอุดมคติครับ แต่อะไรคือความจริง อะไรคืออุดมคติ ผมว่า เราสับสนกับความหมายของค�ำนี้ เราบอกว่านีค่ อื โลกจริง การเมืองจริงๆ แต่ ความจริงนี่แหละที่ท�ำให้เกิดสงคราม ท�ำลายธรรมชาติ สร้างความขัดแย้ง และความยากจน เช่นอินเดีย หลังประกาศอิสรภาพ ประเทศถูกปกครองด้วย นักสัจนิยม (Realist) แต่เราก็ยังมีคนที่ไม่มีอาหารกิน เราโทษอังกฤษไม่ได้ แล้ว เพราะมัน 75 ปีมาแล้ว มันคือความรับผิดชอบของเรา แล้วนักสัจนิยม ท�ำอะไร พวกเขาไม่สามารถสร้างสันติภาพได้ สร้างความยุติธรรมก็ไม่ได้ หยุดความยากจนก็ไม่ได้ สิง่ ทีผ่ มพูดอาจจะเป็นอุดมคติ ผูค้ นมักประณามอุดมคตินยิ ม แต่ผมว่า เราต้องการอุดมคติสักเล็กน้อยเพื่อจะใช้ชีวิตที่ดี ชีวิตในอุดมคติ คนมักบอก ว่าอุดมคติคือความไม่จริง ผมว่าไม่ใช่ สิ่งที่เราว่าจริงต่างหากที่ไม่จริง และ อุดมคตินั่นแหละที่เป็นของจริง

เราจะไปถึงอุดมคตินั้นได้อย่างไร เมื่อเราก็เห็นว่าทุกอย่าง รอบตัวก�ำลังค่อยๆ พังทลายลง

นัน่ แปลว่าคุณรูว้ า่ ระบบทีเ่ ราสร้างขึน้ ท�ำให้เรามาไกลจากอุดมคติมาก แต่เราเป็นโมเดิร์นมาไม่นานนี้เอง ก่อนหน้านี้กรุงเทพฯ ยังคงเป็นเมืองที่ มีการจับปลาในแม่น�้ำ มีทุ่งนา ผมไม่ได้บอกว่าเราต้องย้อนกลับไปในช่วง เวลานั้น แต่ผมก�ำลังบอกว่ามันเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาเพียง แป๊บเดียว มันเหมือนกะพริบตา สิ่งที่เราสร้างมันไม่ยั่งยืน ในอีก 50-100 ปี คุณคิดว่าเดี๋ยวนี้ผู้คนมองเห็นสิ่งต่างๆ แบบแยกส่วนกัน เราก็จะถึงจุดจบแล้ว แค่ไม่มนี ำ�้ มัน กรุงเทพฯ ก็พงั แล้ว พังทัง้ หมด แต่ถา้ เป็น มากกว่าเป็นหนึ่งเดียวกันไหม กรุงเทพฯ เมื่อ 100-200 ปีที่แล้วจะไม่พัง เพราะเราอยู่ได้ด้วยพระอาทิตย์ ใช่ เช่นเรามองว่าผลประโยชน์ของอเมริกากับรัสเซียนั้นแยกกัน ซึ่งถ้า ด้วยการจับปลา ผืนดิน และแม่น�้ำ พระอาทิตย์และแม่น�้ำจะอยู่ไปได้อีกเป็น มองแบบ Holism เราจะเห็นว่าผลประโยชน์ของทัง้ 2 ประเทศนัน้ เชือ่ มโยงกัน ล้านปี แต่พลังงานเชื้อเพลิงจะอยู่ไม่นาน เราสร้างระบอบเศรษฐกิจขึ้นมา เพราะเราต่างเป็นส่วนหนึ่งของมนุษยชาติ บนสิ่งที่เปราะบาง บนพลังงานอายุสั้น

มีวิธีไหนไหมคะที่เราจะฝึกมองสิ่งต่างๆ ในแบบของ Holism คุณก�ำลังบอกว่า... มากกว่า Dualism เวลาก�ำลังใกล้เข้ามาแล้ว ตอนนี้มีการเคลื่อนไหวทั่วโลกเกี่ยวกับ

การปฏิบัติภาวนา เพราะในความเงียบสงบนั้น ทุกความแตกแยกจะ นิเวศวิทยา ความยัง่ ยืน จิตวิญญาณ การกลับมาหาผืนดินและการท�ำเกษตร หมดลง เมื่อคุณอยู่ในความสงบ คุณค่าจะไม่มองว่านั่นคือต้นไม้ นี่คือโต๊ะ อินทรีย์ สิ่งเหล่านี้เ กิดขึ้น คนรุ่นใหม่ที่ไ ด้รับการศึกษา คนที่เรียนเรื่อง เทคโนโลยี อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ ต่างอยากกลับไปสร้าง Eco Village เมล็ดพันธุ์เหล่านี้มีอยู่แล้วและจะเติบโตขึ้นเป็นต้นไม้ สาทิศ กุมารเป็นชาวอินเดีย เกิดเมื่อปี 1936 เพราะสงสัยในเรื่องความตาย เด็กชายสาทิศในวัยเพียง 9 ปี จึงตัดสินใจบวชเป็นภิกษุในศาสนาเชน ก่อนที่อีก 9 ปีให้หลังจะสึกเพื่อเข้าร่วมกับวิโนพา ภาเว ในการออกจาริกเพื่อขอบริจาคที่ดินท�ำ กินให้กับคนยากจน และในปี 1962 ออกเดินเท้าข้ามทวีปเพื่อสันติภาพเป็นระยะ ทางกว่า 8,000 ไมล์ โดยไม่มีเงินติดตัวเลย ปัจจุบัน นอกจากเป็นบรรณาธิการของนิตยสาร Resurgence & Ecologist แล้ว เขายังเป็นอาจารย์ เป็นคุณตา และเป็นชาวสวนที่รักและเคารพผืนดินอย่างยิ่ง งานเขียนของสาทิศที่ได้รับการแปลเป็นภาษาไทย • นักเดินเท้าแปดพันไมล์ (No Destination: An Autobiography by Satish Kumar) : เสมสิกขาลัย • เข็มทิศจิตวิญญาณ (Spiritual Compass: The Three Qualities of Life) : ส�ำนักพิมพ์สวนเงินมีมา • ความหวัง ความฝัน แรงบันดาลใจ (Visionaries) : ส�ำนักพิมพ์สวนเงินมีมา • มีเธอจึงมีฉัน : ค�ำประกาศแห่งการพึ่งพา (You Are, Therefore I am: A Declaration of Dependence) : ส�ำนักพิมพ์สวนเงินมีมา • จาริกบนผืนโลก (Earth Pilgrim) : ส�ำนักพิมพ์สวนเงินมีมา

เวลาคุณเดินอยู่ในสวนที่บ้านของคุณ คุณรู้สึกอย่างไร

ผมรูส้ กึ ผ่อนคลาย อิสระ และเชือ่ มโยงกับโลก โลกของดิน ดินซึง่ เป็นต้น ก�ำเนิดชีวิต เพราะถ้าไม่มีดิน อะไรก็อยู่ไม่ได้ มันเป็นที่มาของอาหาร เครื่อง นุง่ ห่ม ดินไม่ได้ดแู ลเพียงมนุษย์เท่านัน้ แต่ยงั ดูแลพืชผลและเชือ้ โรค ผมรูส้ กึ เป็นหนึง่ เดียวกับธรรมชาติ กับจักรวาล เวลาอยูใ่ นสวน ผมไม่กงั วลเรือ่ งอะไร เลย ผมรูส้ กึ สงบ เพราะฉะนัน้ การท�ำสวนส�ำหรับผมจึงเหมือนการปฏิบตั สิ มาธิ ธรรมชาติกลายมาเป็นศาสนาของผม ไม่มีศาสนาอื่นใดส�ำหรับผม ผมเห็น สวรรค์ในสวน ในสวน ผมได้พบพระเจ้า ได้พบสปิริต ความสงบ สันติ และ ความเป็นหนึง่ เดียว นอกจากนีผ้ มยังได้อาหารเป็นของแถมด้วย เป็นของแถม ทีม่ มี ากมาย ถ้าคุณมาทีส่ วนของผม ผมมีผกั โขมมากพอจะเลีย้ งกองทัพได้เลย พืชผักอาจร่วง เน่า แต่ไม่เป็นไร เพราะเมื่อเน่าแล้ว สุดท้าย ทุกอย่างก็กลับสู่ดิน ●

IMAGE JANUARY 2014

181


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.