19TAXMA4KU68Policy of Taxation for Helping Flood

Page 1

มาตรการทางภาษีช่วยเหลืออุทกภัย ปี 2554

โดย

นางสาวโชคลัดดา

พสุ มาตร์

นางสาววนากร

แหวกวารี

นายไพศาล

ร่ มรื่นวาณิชกิจ

ปัญหาพิเศษนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554


Policy of Taxation for Helping Flood Victims in Year 2011

โดย นางสาวโชคลัดดา นางสาววนากร นายไพศาล

พสุ มาตร์ แหวกวารี ร่ มรื่ นวาณิ ชกิจ

51236438 51236552 51239127

ปั ญหาพิเศษฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554


ปัญหาพิเศษ

ของ นางสาวโชคลัดดา นางสาววนากร นายไพศาล

พสุ มาตร์ แหวกวารี ร่ มรื่ นวาณิ ชกิจ

51236438 51236552 51239127

เรื่ อง มาตรการทางภาษีช่วยเหลืออุทกภัย ปี 2554

ได้รับการตรวจสอบและอนุมตั ิ ให้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ต ร บริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริ หาร เมื่อ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

อาจารย์ที่ปรึ กษาปัญหาพิเศษ

อาจารย์ผปู้ ระสานสาขาวิชา


(1)

กิตติกรรมประกาศ ปั ญหาพิเศษฉบับนี้สาเร็ จ ลุล่วงไปด้วยความกรุ ณาอย่างดียงิ่ จาก อาจารย์ประไพพิศ สวัสดิ์ รัมย์ อาจารย์ที่ปรึ กษาปัญ หาพิเศษที่ได้กรุ ณาให้คาแนะนาในด้านต่างๆ พร้อมทั้งตรวจทานแก้ไข ข้อบกพร่ องและข้อเสนอแนะ มอบกาลังใจในการทาปั ญหาพิเศษเล่มนี้จนสาเร็ จสมบูรณ์ คณะ ผูจ้ ดั ทาขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสู ง ไว้ ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณครู อาจารย์ เนื่องจากคณะผูจ้ ดั ทาได้รับความช่วยเหลือ และความดูแล เอาใจใส่ จากคณาจารย์ประจาสาขาการบัญชีบริ หาร ตลอดจนครู อาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิ ทธิ์ ประสาทวิชาความรู ้ มอบความรู ้ความเข้าใจดีๆ และให้คาปรึ กษาในการจัดทาปั ญหาพิเศษเล่มนี้ ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และครอบครัว ที่ให้การส่ งเสริ การศึกษาและให้กาลังใจดีๆ โดยเสมอมา

มสนับสนุนด้าน

อีกทั้งขอขอบคุณเพื่อนนิสิตปริ ญญาตรี สาขาการบัญชีบริ หาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รุ่ น ที่ 68 ที่ให้ความช่วยเหลือแนะนาแนวทางในการจัดทาปั ญหาพิเศษ และให้กาลังใจคณะผูจ้ ดั ทามา โดยตลอด ท้ายนี้ทางคณะผูจ้ ดั ทาขอกราบขอบพระคุณทุกท่านที่ได้กล่าวนามและไม่ได้กล่าวนามที่มี ส่ วนร่ วมสนับสนุน ให้กาลังใจ ความเมตตา และให้ทุนทรัพย์แก่คณะผูจ้ ดั ทามาโดยตลอด คณะ ผูจ้ ดั ทาหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า ปั ญหาพิเศษฉบับนี้จะมีประโยชน์ทางด้านวิชาการ และมีส่วนช่วยในการ ยกระดับมาตรฐานของอาชีพผูส้ อบบัญชีให้เป็ นที่ยอมรับของภาคธุ รกิจ สาธารณชนทัว่ ไป ตลอดจน เป็ นที่ยอมรับในระดับสากล คณะผูจ้ ดั ทา กุมภาพันธ์ 2555


(2)

โชคลัดดา พสุ มาตร์ และคณะ 2554: มาตรการทางภาษีช่วยเหลืออุทกภัยปี 2554 ปริ ญญาบริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร อาจารย์ที่ปรึ กษาวิชาปัญหาพิเศษ: อาจารย์ประไพพิศ สวัสดิรมย์, บธ.ม, บช.ม 106 หน้า รายงานปั ญหาพิเศษฉบับนี้ศึกษามาตรการทางภาษีช่วยเหลืออุ ทกภัย ปี 2554 โดยจะศึกษา ถึงมาตรการทางภาษีช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยสาหรับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล และมาตรการ ทางภาษีช่วยเหลือผูบ้ ริ จาคสาหรับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ซึ่ง มาตรการทางภาษี ช่วยเหลือ ผู้ ประสบอุทกภัยและมาตรการทางภาษีช่วยเหลือผูบ้ ริ จาคนี้ ได้มีการยกเว้นภาษีที่ แตกต่างกัน ไปตาม สถานการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งสาหรับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลจากสถานการณ์อุทกภัยปี 2554 นี้ จากผลการศึกษามาตรการทางภาษีช่วยเหลืออุทกภัย ปี 2554 ทาให้ทราบถึงผลที่เกิดขึ้น จาก สถานการณ์อุทกภัยครั้งนี้ที่ได้สร้างความเสี ยหายต่อผูป้ ระสบภัยอุทกภัยทั้งที่เป็ นบุคคลธรรมดาและ นิติบุคคลเป็ นอย่างมาก จึงทาให้รัฐบาลได้ออกมาตรการทางภาษี มาเพื่อช่วยเหลื อผูป้ ระสบอุทกภัย และผูบ้ ริ จาค ทั้งที่เป็ นบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ซึ่ง ผูป้ ระสบอุทกภัย ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติ บุคคลจะได้รับ ความช่วยเหลือจากรัฐบาลทั้งในของ เรื่ องความเสี ยหายของบ้าน รถยนต์ และนิคม อุสาหกรรมต่างๆ โดยการส่ งเสริ มการลงทุน (บีโอไอ) เพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย ส่ วนในด้าน ของผูบ้ ริ จาคที่บริ จาคเงินหรื อทรัพย์สินก็สามารถนามูลค่าของเงินและทรัพย์สินมายกเว้นภาษีได้ ผลการศึกษาดังกล่าวรัฐบาลควรให้ความสาคั ญกับสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นมากกว่านี้ ซึ่ งที่ผา่ นมา คนไทยทุกคน อาจจะไม่เคยคิดหรื อ คาดการณ์มาก่อนว่าจะเกิด สถานการณ์อุทกภัย เกิดขึ้นต่อประเทศไทยอย่างร้ายแรงได้ขนาดนี้ ดังนั้นรั ฐบาลจึงควรมีการจัดการน้ าที่เป็ นระบบ และ ถูกต้องในการพยากรณ์เกี่ยวกับน้ า ควรมีการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับน้ าให้ประชาชนได้รับทราบ มี มาตรการช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยในระยะยาว ควรมี การช่วยเหลือ และประชาสัมพันธ์ ให้กบั ได้ผู ้ ประสบอุทกภัยอย่าง ทัว่ ถึง เพื่อ เป็ นการ ป้ องกัน หรื อ ลดปัญหา ไม่ให้เกิด สถานการณ์ อุทกภัยที่ ร้ายแรงอย่างที่เกิดขึ้นใน ปี 2554 ที่อาจจะเกิดขึ้นอีกครั้งในอนาคต ________________________ นางสาวโชคลัดดา พสุ มาตร์

________________________ อาจารย์ประไพพิศ สวัสดิรัมย์

_______/_______/_______


(3)

สารบัญ หน้า กิตติกรรมประกาศ

(1)

บทคัดย่อ

(2)

สารบัญภาพ

(5)

สารบัญตาราง

(6)

บทที่ 1 บทนา ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา

1

วัตถุประสงค์ของการศึกษา

2

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

2

ขอบเขตของการศึกษา วิธีการศึกษา

3 3

นิยามศัพท์

3

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินมาตรา 40

5

แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับค่าลดหย่อน

14

แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม

22

แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับอากรขาเข้า

26

แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับมาตรการภาษี

36


(4)

สารบัญ (ต่ อ) หน้า บทที่ 3 สถานการณ์ ปัญหาและผลกระทบจากอุทกภัย สถานการณ์การเกิดอุทกภัย

40

สรุ ปสถานการณ์น้ าท่วม

44

ปัญหาของผู้ประสบภัยอุทกภัย

45

ผลกระทบอุทกภัย ปี 2554

51

การช่วยเหลือของผูบ้ ริ จาค

66

บทที่ 4 ผลการศึกษามาตรการทางภาษีช่วยเหลืออุทกภัยปี 2554 กลุ่มผูป้ ระสบภัย

70

กลุ่มผูบ้ ริ จาค

80

บทที่ 5 บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป

87

ข้อเสนอแนะ

90

เอกสารอ้างอิง

103


(5)

สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 3-1

การแบ่งชั้นและการผสมของมวลน้ าจืดและน้ าเค็ม

57

3-2

ขยะที่ถูกพัดขึ้นมาบนหาดบางแสน

60


(6)

สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 3-1

สาเหตุการเสี ยชีวติ ของประชาชนจากมหาอุทกภัยปี 2554

41

3-2

จังหวัดที่มีผเู้ สี ยชีวติ จากมหาอุทกภัยปี 2554 (เรี ยงลาดับจากมากไปน้อย)

42

3-3

อุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบค่อนข้างรุ นแรงจากวิกฤตน้ าท่วมปี 2554

53

3-4

การประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจจากอุทกภัย

55


บทที่ 1 บทนา ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและสภาวะแวดล้อมของโลกในปัจจุบนั ได้สร้างความเสี ยหาย และเป็ นภัยต่อมนุษย์ ส่ งผลให้ประเทศไทยต้องเผชิญกับปั ญหาภัยพิบตั ิทางธรรมชาติและมี แนวโน้มที่จะมีความรุ นแรงมากขึ้นเรื่ อยๆผลกระทบที่เห็นได้ชดั คือการเกิด ภัยพิบตั ิ ที่เราเรี ยกว่า อุทกภัย ในประเทศไทยเคยเกิดเหตุ อุทกภัย อยูบ่ ่อยครั้งทัว่ ทุกภาคของประเทศ ซึ่ งปี พ .ศ.2554 ได้ เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ซ่ ึ งได้สร้างความเสี ยหายต่อภาคธุ รกิจเป็ นอย่างมาก หลังจาก อุทกภัย ผ่านไป ภาครัฐจะต้องจัดสรรงบประมาณภาษีเพื่อช่วยเหลือ นอกจากนี้กรมสรรพกร ได้เสนอมาตรการทาง ภาษีเพื่อช่วยเหลือภาษีในการเกิดอุทกภัย สาหรับมาตรการทางภาษีที่กรมสรรพกร กระทรวงกา

รคลังได้เสนอเพื่อช่วยเหลือ

ผูป้ ระสบภัยซึ่งมีสาระสาคัญสองด้าน คือ ด้านผูบ้ ริ จาค และด้านผูป้ ระสบภัย อุทกภัย หรื อ ผูร้ ับการ บริ จาค โดย ให้ผทู ้ ี่บริ จาคให้แก่ผทู ้ ี่เดือ ดร้อนจากภัยน้ าท่วมนามูลค่าเงินบริ จาคและสิ่ งของไปหัก ลดหย่อนภาษีได้ เงินหรื อสิ่ งของที่ผปู ้ ระสบภัย อุทกภัย ได้รับก็จะได้รับการยกเว้นภาษี การบริ จาค เพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย ที่ได้กระทาตั้งแต่วนั ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 กาหนดให้สาหรับบุคคลธรรมดาและสาหรับบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลโดยได้ ผ่านการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เศรษฐกิจแล้ว จากเหตุผลที่กล่าวมาการเกิดอุทกภัยครั้งนี้มีความรุ นแรงได้สร้างความเสี ยหายเป็ นอย่าง มาก เมื่อพิจารณาถึงกรณี ที่กรมสรรพากร กระทรวงการคลัง ได้เสนอมาตรการทางภาษีเพื่อ ช่วยเหลือผูป้ ระสบ อุทกภัยน่าจะมีส่วนช่วยสนับสนุนมาตรการต่างๆ ของภาครัฐที่จะช่วยบรรเทา


2

ความเดือดร้อนของผูป้ ระสบอุทกภัยครั้งนี้ได้ คณะผูจ้ ดั ทาจึงมีความสนใจที่จะศึกษา เรื่ อง มาตรการ ทางภาษีช่วยเหลืออุทกภัย ปี 2554 เพื่อประโยชน์ต่อประชาชนทุกคนและภาคธุ รกิจ วัตถุประสงค์ ของการศึกษา จากความสาคัญของปัญหาข้างต้น ทาให้การศึกษาปัญหาพิเศษ

เรื่ อง มาตรการทางภาษี

ช่วยเหลืออุทกภัย ปี 2554 มีวตั ถุประสงค์ของการศึกษา มีดงั ต่อไปนี้ 1. เพื่อศึกษาถึงมา ตรการทางภาษีสาหรับบุคคลธรรมดา และนิติบุคคลสาหรับ ผูป้ ระสบ อุทกภัย 2. เพื่อศึกษาถึงมาตรการทางภาษีสาหรับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลสาหรับผูบ้ ริ จาค ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ การศึกษาปัญหาพิเศษ เรื่ อง มาตรการทางภาษีช่วยเหลืออุทกภัย ปี 2554 ประโยชน์ที่คาดว่า จะได้รับ มีดงั ต่อไปนี้ 1. ทาให้ทราบถึงมาตรการทางภาษีสาหรับบุคคลธรรมดา และนิติบุคคลสาหรับ ผูป้ ระสบ อุทกภัย 2. ทาให้ทราบถึงมาตรการทางภาษีสาหรับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลสาหรับผูบ้ ริ จาค


3

ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาปัญหาพิเศษ เรื่ อง มาตรการทางภาษีช่วยเหลืออุทกภัย ปี 2554 คณะผูจ้ ดั ทาได้ ทาการศึกษาและค้นคว้า จะทาการศึกษาเกี่ยวกับมาตรการทางภาษีสาหรับบุคคลธรรมดา นิติบุคคล ของผูป้ ระสบอุทกภัยและผูบ้ ริ จาคที่เกิดขึ้นในช่วงเกิดอุทกภัย ปี 2554 วิธีการศึกษา การศึกษาค้นคว้าทาปั ญหาพิเศษนี้ เป็ นการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับมาตรการ ทางภาษีช่วยเหลืออุทกภัย และข้อมูลในระดับทุติยภูมิ (Secondary Level) ซึ่งทาการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลจากทาง หนังสื อ บทความ วารสา ร ข่าวสารต่างๆ และเอกสารทางวิชาการ เช่น ประมวล รัษฎากร พระราชบัญญัติต่างๆ กฎกระทรวง ระเบียบ คาสั่ง และเอกสารทางราชการอื่นๆ รวมถึง เอกสารต่างๆ ที่เผยแพร่ ผา่ นทางอินเตอร์ เน็ต นิยามศัพท์ ในการศึกษาปัญหาพิเศษ เรื่ อง มาตรการทางภาษีช่วยเหลืออุทกภัย ปี 2554 เพื่อให้คณะ ผูจ้ ดั ทาและผูท้ ี่ศึกษาเกิดความเข้าใจที่ตรงกัน จึงได้ให้คานิยามศัพท์ไว้ดงั ต่อไปนี้ อุทกภัย หมายถึง ภัยที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีน้ าเป็ นสาเหตุ อาจจะเป็ นน้ าท่วม น้ าป่ า หรื ออื่น ๆ โดยปกติ อุทกภัยเกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องกันเป็ นเวลานาน บางครั้งทาให้เกิดแ ผ่นดินถล่ม อาจมี สาเหตุจากพายุ หมุนเขตร้อนลมมรสุ มมีกาลังแรง ร่ องความกดอากาศต่ามีกาลังแรง อากาศ แปรปรวน น้ าทะเลหนุน แผ่นดินไหว เขื่อนพัง ทาให้เกิดอุทกภัยได้เสมอ


4

บุคคลธรรมดา หมายถึ ง สิ่ งที่สามารถมีสิทธิ และหน้าที่ได้ตามกฎหมาย และมิได้ หมายความเฉพาะมนุษย์ซ่ ึ งก็ เรี ยกว่าบุคคลธรรมดาเพียงอย่างเดียว แต่กฎหมายได้รับรองบรรดา คณะบุคคลหรื อกิจการและทรัพย์สินบางอย่างตามกฎหมายที่กาหนดไว้ ให้เป็ นบุคคลใน ความหมายของกฎหมายได้อีกประการหนึ่งกล่าวคือให้มีสิทธิ และหน้าที่เหมือนบุคคลธรรมดา นิติบุคคล หมายถึง บุคคลประเภทหนึ่งซึ่ งเกิดขึ้นโดยอานาจของกฎหมายมีสิทธิ และหน้าที่ และความรับผิดเช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา เว้นแต่สิทธิ และหน้าที่บางประการซึ่ งจะมีได้เฉพาะ บุคคลธรรมดา และจะต้องอยูภ่ ายในขอบเขตตามข้อบัญญัติแห่งกฎหมายและวัตถุประสงค์ในการ จัดตั้งนิติบุคคล ผู้ประสบภัย หมายถึง บุคคลที่ได้รับบาดเจ็บจากสาเหตุสาธารณภัยต่างๆ เช่น อัคคีภยั ภัย ธรรมชาติ ภัยอันเกิดจากสงคราม ภัยจากความไม่สงบภายใน หรื อภัยจากการจลาจล ภายในประเทศ ภัยจากการถูกสิ่ งปรักหักพังทับ และภัยอันเกิดจากอุบตั ิเหตุบนท้องถนน ผู้บริจาค หมายถึง บุคคลที่ให้ความช่วยเหลือแก่ผปู ้ ระสบภัย อุทกภัย โดยการนาเครื่ อง อุปโภคและบริ โภคที่มีไปให้แก่ผปู ้ ระสบภัยอุทกภัยด้วยความสมัครใจ ผู้ประกอบการ หมายถึง ผูป้ ระกอบการที่จดทะเบียนเนิติบุคคลและผูป้ ระกอบการที่ไม่ได้ จดทะเบียนนิติบุคคล


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง การศึกษาปัญหาพิเศษ เรื่ อง มาตรการทางภาษีช่วยเหลืออุทกภัยปี 2554 คณะผูจ้ ดั ทําได้เก็บ รวบรวมข้อมูล ศึกษา ค้นคว้า และตรวจสอบเอกสารต่า งๆ ทั้งแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจยั ที่ เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อนํามากําหนดเป็ นกรอบความคิดการดําเนินงานการศึกษาปั ญหาพิเศษ ครั้งนี้ คือ 1. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินมาตรา 40 2. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับค่าลดหย่อนมาตรา 47 3. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม 4. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับอากรขาเข้า 5. แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับมาตรการภาษี แนวคิด และทฤษฎีเกีย่ วกับเงินได้ พงึ ประเมินมาตรา 40 ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีเงินได้ พงึ ประเมิน ผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอาจแบ่งออกได้เป็ น 4 ประเภท (ช้องมาศ ปั้ นทอง พันธุ์ , 2547: 17 อ้างถึง สมเดช โรจน์คุรีเสถียร และคณะ , 2547: 22) : (สมคิด บางโม, 2553: 43) และ (ไพโรจน์ คลังสิ น, 2543: 13) ดังนี้


6

1. บุคคลธรรมดา (มาตรา 56 ทวิ วรรคหนึ่ง ) ได้แก่ บุคคลโดยสภาพ คือมีสภาพเป็ น บุคคลเริ่ มตั้งแต่เมื่อคลอดและอยูร่ อดเป็ นทารก ไม่วา่ บุคคลนั้นจะเป็ นผูเ้ ยาว์ ผูท้ ี่ศาลสัง่ ให้เป็ นคนไร้ ความสามารถ จะมีถิ่นที่อยูใ่ นประเทศหรื อต่างประเทศก็ตาม หากบุคคลดังกล่าวมีเงินได้ประเภท ต่างๆตามที่ประมวลรัษฎากรกําหนดไว้ก็ตอ้ งเสี ยภาษีเงินได้ 2. ห้างหุ น้ ส่ วนสามัญหรื อคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล (มาตรา 56 วรรคสอง) ห้างหุ น้ ส่ วน สามัญนั้นต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ กล่าวคือ การจัดตั้งห้าง หุ น้ ส่ วนสามัญต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ 2.1 มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป 2.2 ตกลงเข้าเป็ นหุ น้ ส่ วนโดยปฏิบตั ิถูกต้องตามกฎหมายเรื่ องสัญญา 2.3 นําทุนมาลงเพื่อประสงค์จะหากําไรมาแบ่งกัน 2.4 เพื่อทํากิจการอย่างใดอย่างหนึ่งที่ไม่ตอ้ งห้ามตามกฎหมายและไม่ขดั ต่อศีลธรรม อันดีของประชาชน 2.5 ร่ วมกันทํากิจการและแบ่งปั นกําไรกัน คณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล คือคณะบุคคลที่ไม่ได้จดทะเบียนเป็ นนิติบุคคล

ซึ่ งไม่

จําเป็ นต้องมีวตั ถุประสงค์ที่จะแบ่งปั นผลกําไรที่จะพึงได้ แต่กิจการที่ทาํ ร่ วมกันมีลกั ษณะเหมือน ห้างหุ น้ ส่ วนสามัญแตกต่างกันเพียงวัตถุประสงค์ให้ผอู ้ าํ นวยการหรื อผูจ้ ดั การยืน่ รายการเสี ยภาษีใน ชื่อของห้างหุ น้ ส่ วนหรื อคณะบุคคลนั้น


7

3. กองมรดกที่ยงั ไม่ได้แบ่ง (มาตรา 57 ทวิ วรรคสอง) กองมรดกมิใช่นิติบุคคลและมิใช่ บุคคลธรรมดา เพราะเจ้าของมรดกได้ตายไปแล้ว ทรัพย์สินของกองมรดกอาจจะเกิดดอกผลเป็ นเงิน ได้ เช่น ค่าเช่า ดอกเบี้ย เป็ นต้น กองมรดกบางรายต้องใช้เวลาหลายปี กว่าจะแบ่งกันเสร็ จ หากไม่ เก็บภาษีรัฐย่อมจะเสี ยรายได้ส่วนนี้ไป ผูม้ ี หน้าที่ดาํ เนินการเสี ยภาษีคือผู้ จัดการมรดกหรื อทายาท หรื อผูค้ รองทรัพย์มรดก แล้วแต่กรณี 4. ผูถ้ ึงแก่ความตาย (มาตร 57 ทวิ) ผูถ้ ึงแก่ความตายระหว่างปี ภาษีมีหน้าที่ตอ้ งเสี ยภาษี อย่างบุคคลธรรมดา เงินได้ที่ผตู ้ ายได้รับก่อนหรื อหลังการตายก็ตอ้ งนํามาเสี ยภาษีเงินได้ดว้ ย โดยให้ ผูจ้ ดั การมรดกหรื อทายาท หรื อผูค้ รอบครองทรัพย์สินมรดกเป็ นผูย้ นื่ รายการเสี ยภาษี ประเภทของเงินได้ พงึ ประเมินตามมาตรา 40 ประมวลรัษฎากรมาตรา 40 ได้แบ่งแยกเงินได้พึงประเมินออกเป็ น

8 ประเภท โดยมี

วัตถุประสงค์เพื่อความสะดวกในการหักค่าใช้จ่ายที่แตกต่างกัน และเพื่ อความสะดวกในเรื่ องอื่นๆ นั้น รายละเอียดของเงินได้ พึงประเมิน ทั้ง 8 ประเภท (เกษม มโนสันติ์ และ เกล็ดนที สสิ กาญจน์ , 2548: 22-28) : (จุฑามาศ มนัสชื่นนิรันดร์ , 2536: 44-48) : (สมคิด บางโม, 2543: 46-51) : (ช้องมาศ ปั้ นทองพันธุ์ , 2547: 18-19) : (ประสงค์ ชิงชัย และ ทวี บัวทอง , 2549: 31-37) : (บุญเสริ ม อุ่ย ตระกูล และ วิชาญ โพธิ สิทธิ์ , 2544: 20-22) : (เวก ศิริพิมลวาทิน , 2547: 20-25) : (สนัน่ เกตุทตั , 2513: 5-10) : (กลุ่มนักวิชาการภาษีอากร, 2553: 11) และ (จงพวง มณี วฒั นา, 2544: 4-6) มีดงั นี้ 1. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน ได้แก่ 1.1 เงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ยเลี้ยง โบนัส เบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ 1.2 เงินค่าเช่าบ้าน ซึ่ งเป็ นค่าตอบแทนที่นายจ้างให้ลูกจ้างสําหรับเป็ นค่าเช่าบ้านที่ ลูกจ้างจะนําไปจ่ายให้แก่ผใู ้ ห้เช่า


8

1.3 เงินที่คาํ นวณได้จากมูลค่าของการได้อยูบ่ า้ นที่นายจ้างได้ให้อยูโ่ ดยไม่เสี ยค่าเช่า 1.4 เงินที่นายจ้างออกให้เป็ นค่าภาษีเงินได้หรื อภาษีอากรอื่น 1.5 เงินที่นายจ้างชําระหนี้ใดๆ ซึ่ งลูกจ้างมีหน้าที่ตอ้ งชําระ และเงิน ทรัพย์สินหรื อ ประโยชน์ใดๆ บรรดาที่ได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน สาระสําคัญของเงินได้ประเภทนี้ตอ้ งเป็ นเงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงา น ซึ่งตามประมวล กฎหมายแพ่งและพา ณิ ชย์บญั ญัติวา่ “อันว่าจ้างแรงงานนั้น คือสัญญาซึ่ งบุคคลหนึ่งเรี ยกว่าลูกจ้าง ตกลงจะทํางานให้แก่อีกบุคคลหนึ่ง เรี ยกว่านายจ้าง และนายจ้างตกลงจะให้ค่าสิ นจ้างตลอดเวลาที่ ทํางานให้” 2. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (2) เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรื อตําแหน่งงานที่ทาํ หรื อ จากการรับทํางานให้ ได้แก่ 2.1 ค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า ค่าส่ วนลด 2.2 เงินอุดหนุนในงานที่ทาํ เบี้ยประชุม บําเหน็จ โบนัส 2.3 เงินค่าเช่าบ้าน 2.4 เงินที่คาํ นวณได้จากมูลค่าของการได้อยูบ่ า้ นที่ผจู ้ ่ายเงินได้ให้อยูโ่ ดยไม่เสี ยค่าเช่า 2.5 เงินที่ผจู ้ ่ายเงินได้ออกให้เป็ นค่าภาษีเงินได้หรื อภาษีอากรอื่น 2.6 เงินที่นายจ้างชําระหนี้ใดๆ ซึ่ งผูม้ ีเงินได้มีหน้าที่ตอ้ งชําระ


9

2.7 เงิน ทรัพย์สิน หรื อประโยชน์ใดๆ บรรดาที่ได้เนื่องจากการหน้าที่หรื อตําแหน่ง งานที่ทาํ หรื อจากการรับทํางานให้น้ นั ไม่วา่ หน้าที่หรื อตําแหน่งงานหรื องานที่ รับทําให้น้ นั จะเป็ นการประจําหรื อชัว่ คราว สาระสําคัญของเงินได้ประเภทนี้คือเป็ นเงินได้จากหน้าที่งานหรื อตําแหน่งงานที่ทาํ หรื อ เป็ นเงินได้จากการรับจ้างทํางานให้ สําหรับเงินได้เนื่องจากหน้าที่หรื อตําแหน่งงานที่ทาํ อาจเป็ นการ ทําประจําหรื อชัว่ คราวก็ได้ เงินได้ประเภทนี้มีลกั ษณะคล้ายกับ เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แต่ต่างกันที่วา่ เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) ต้องเป็ นเงินได้ที่เกิดจากการจ้างแรงงานโดยผู ้ จ่ายและผูร้ ับเงินมีความสัมพันธ์กนั ในลักษณะนายจ้างและลูกจ้าง ส่ วนเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (2) ผูม้ ีเงินได้ไม่ได้เป็ นลูกจ้าง และผูจ้ ่ายเงินได้ไม่ได้เป็ นนายจ้าง 3. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (3) ได้แก่ ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิ ทธิ์ หรื อสิ ทธิ อย่างอื่น หรื อเงินได้ที่มีลกั ษณะเป็ นเงินรายปี อันได้มาจากพินยั กรรม นิติกรรมอย่างอื่นหรื อคํา พิพากษาของศาล รวมตลอดถึงเงินค่าภาษีอากรที่ผจู ้ ่ายเงินหรื อผูอ้ ื่นออกแทนให้สาํ หรับเงินได้ ประเภทต่างๆดังกล่าว ไม่วา่ ในทอดใด 4. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (4) ได้แก่เงินได้ดงั ต่อไปนี้ รวมตลอดถึงเงินค่าภาษี อากรที่ผจู ้ ่ายเงิน หรื อผูอ้ ื่นออกแทนให้สาํ หรับเงินได้ประเภทต่างๆดังกล่าว ไม่วา่ ทอดใด แบ่ง ออกเป็ น 2 ตอน คือ 4.1 ตอนที่ 1 4.1.1 ดอกเบี้ย ได้แก่ ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยเงินฝาก ด อกเบี้ยหุ น้ กู้ ดอกเบี้ย ตัว๋ เงิน หรื อดอกเบี้ยเงินกูย้ มื ไม่วา่ จะมีหลักประกันหรื อไม่ก็ตาม ดอกเบี้ย เงินกูย้ มื ที่อยูใ่ นบังคับต้องถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษี เงินได้ปิโตรเลียมเฉพาะส่ วนที่เหลือจากถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตาม


10

กฎหมายดังกล่าว หรื อผลต่าง ระหว่างราคาไถ่ถอนรวมทั้งเงินได้ที่มี ลักษณะทํานองเดียวกันกับดอกเบี้ย ผลประโยชน์ หรื อค่าตอบแทนอื่นๆ ที่ได้จากการให้กยู้ มื หรื อจากสิ ทธิ เรี ยกร้องในหนี้ทุกชนิดไม่วา่ จะมี หลักประกันหรื อไม่ก็ตาม 4.1.2 เงินปั นผล เงินส่ วนแบ่งของกําไรหรื อประโยชน์อื่นใดที่ได้จากบริ ษทั หรื อ ห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ 4.1.3 เงินปันผลจากกองทุนรวม หรื อสถาบันการเงินที่มีกฎหมายโดยเฉพาะ ของประเทศไทยจัดตั้งขึ้นสําหรับให้กยู้ มื เงิน เพื่อส่ งเสริ มเกษตรกรรม พาณิ ชยกรรม หรื ออุตสาหกรรม 4.1.4 เงินโบนัสที่จ่ายแก่ผถู ้ ือหุ น้ หรื อผูเ้ ป็ นหุ น้ ส่ วนในบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วน นิติบุคคล 4.1.5 เงินลดทุนของบริ ษทั ห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลเฉพาะส่ วนที่จ่ายไม่เกินกว่า กําไรและเงินที่กนั ไว้รวมกัน 4.1.6 เงินเพิ่มทุนของบริ ษทั ห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลซึ่ งตั้งจากกําไรที่ได้มาหรื อ เงินที่กนั ไว้รวมกัน 4.1.7 ผลประโยชน์ที่ได้จากการที่บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลควบเข้ากัน หรื อรับช่วงกันหรื อเลิกกัน ซึ่ งตีราคาเป็ นเงินได้เกินกว่าเงินทุน 4.1.8 ผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนการเป็ นหุ น้ ส่ วน หรื อโอนหุ น้ หุ น้ กู้ พันธบัตร หรื อตัว๋ เงิน หรื อตราสารแสดงสิ ทธิ ในหนี้ที่บริ ษทั หรื อห้าง


11

หุ น้ ส่ วนนิติบุคคล หรื อนิติบุคคลอื่นเป็ นผูอ้ อก ทั้งนี้เฉพาะซึ่ งตีราคาเป็ น เงินได้เกินกว่าที่ลงทุน 4.2 ตอนที่ 2 เงินปั นผล เงินส่ วนแบ่งกําไร หรื อประโยชน์อื่นใดที่ได้จากบริ ษทั หรื อ ห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมายไทย 5. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (5) ได้แก่ เงินหรื อประโยชน์อย่างอื่นที่ได้เนื่องจาก 5.1 การให้เช่าทรัพย์สิน ถ้าเจ้าพนักงานประเมินมีเหตุอนั ควรเชื่อว่าผูม้ ีเงินได้แสดง เงินได้ต่าํ ไปไม่ถูกต้องตามความเป็ นจริ ง เจ้าพนักงานประเมินมีอาํ นาจประเมิน เงินได้น้ นั ตามจํานวนเงินที่ทรัพย์สินนั้นควรให้เช่าได้ตามปกติ และให้ถือว่า จํานวนเงินที่ประเมินเป็ นเงินได้พึงประเมินของผูม้ ีเงินได้ 5.2 การผิดสัญญาเช่าซื้ อทรัพย์สิน 5.3 การผิดสัญญาซื้ อขายเงินผ่อนซึ่ งผูข้ ายได้รับคืนทรัพย์สินซื้ อขายนั้นโดยไม่ตอ้ ง คืนเงินหรื อประโยชน์ที่ได้รับไว้แล้ว 6. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (6) ได้แก่ เงินได้จากวิชาชีพอิสระ คือ วิชากฎหมาย การประกอบโรคศิลป์ วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี ประณี ตศิลปกรรม หรื อวิชาชีพอิสระ หรื อวิชาชีพอิสระอื่นซึ่ งได้มีพระราชกฤษฎีกากําหนดชนิดไว้ 7. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (7) เงินได้จากการรับเหมาที่ผรู้ ับเหมาต้องลงทุนด้วย การจัดหาสัมภาระในส่ วนสําคัญนอกจากเครื่ องมือรวมตลอดถึงเงินค่าภาษีอากรที่ผจู ้ ่ายเงิน หรื อ ผูอ้ ื่นออกแทนให้ไม่วา่ ในทอดใด


12

8. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) ได้แก่ เงินได้ประเภทดังต่อไปนี้รวมตลอดถึงเงิน ค่าภาษีอากรที่ผจู ้ ่ายเงิน หรื อผูอ้ ื่นออกแทนให้ ไม่วา่ ในทอดใด 8.1 เงินได้จากการธุ รกิจ การพาณิ ชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ ง หรื อ การอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 7 แล้ว 8.2 เงินได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์อนั เป็ นมรดก หรื อที่ได้รับจากการให้โดย เสน่หา หรื อที่ได้มาโดยมิได้มุ่งในทางการค้าหรื อหากําไร เฉพาะที่เลือกเสี ยภาษี โดยนํามารวมคํานวณภาษีกบั เงินได้อื่นๆ ค่ าใช้ จ่ายทีย่ อมให้ หักจากเงินได้ พงึ ประเมิน ในการคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธ รรมดากฎหมายยอมให้หกั ค่าใช้จ่าย (ช้องมาศ ปั้ นทอง พันธุ์, 2547: 20 อ้างถึง สมคิด บางโม, 2546: 69-74) ดังนี้ 1. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) และ (2) กฎหมายให้หกั ค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาได้ เพียงอย่างเดียวดังนี้ 1.1 ผูม้ ีเงินได้สามารถหักค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาได้ร้อ ยละ 40 ของเงินได้ แต่รวมกัน ต้องไม่เกิน 60,000 บาท 1.2 ในกรณี สามีภริ ยาต่างฝ่ ายต่างมีเงินได้และความเป็ นสามีภริ ยามีอยูต่ ลอดปี ภาษี ให้ต่างฝ่ ายต่างหักค่าใช้จ่ายได้ร้อยละ 40 แต่ไม่เกินฝ่ ายละ 60,000 บาท 2. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (3) เฉพาะเงินได้ที่เป็ นค่าแห่งลิขสิ ทธิ์ เท่านั้นที่ ประมวลรัษฎากรยอมให้หกั ค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาได้ร้อยละ 40 แต่ตอ้ งไม่เกิน 60,000 บาทในกรณี


13

สามีและภริ ยาต่างฝ่ ายต่างมีเงินได้ประเภทนี้ และความเป็ นสามีหรื อภริ ยามีอยูต่ ลอดปี ภาษี ให้ต่าง ฝ่ ายต่างหักค่าใช้จ่ายได้ตามเกณฑ์เดียวกัน 3. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (3) ประมวลรัษฎากรไม่ยอมให้หกั ค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้ น 4. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (4) ประมวลรัษฎากรให้หกั ค่าใช้จ่ายได้ดงั นี้ 4.1 การให้เช่าทรัพย์สิน ผูม้ ีเงินได้มีสิทธิ เลือกหักค่าใช้จ่ายตามความจําเป็ นและ สมควรหรื อหักค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาในอัตราดังนี้ 4.1.1 ค่าเช่าบ้าน โรงเรื อน สิ่ งปลูกสร้างอื่นๆ หรื อแพ

หักได้ร้อยละ 30

4.1.2 ค่าเช่าที่ดินที่ใช้ในการเกษตรกรรม

หักได้ร้อยละ 20

4.1.3 ค่าเช่าที่ดินที่มิได้ใช้ในการเกษตรกรรม

หักได้ร้อยละ 15

4.1.4 ค่าเช่ายานพาหนะ

หักได้ร้อยละ 30

4.1.5 ค่าเช่าทรัพย์สินอื่นๆ

หักได้ร้อยละ 10

4.2 การผิดสัญญาเช่าซื้ อทรัพย์สิน ให้หกั ค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาร้อยละ เดียว

20 ได้วธิ ี


14

4.3 การผิดสัญญาซื้ อขายเงินผ่อน ซึ่ งผูข้ ายได้รับคืนทรัพย์ที่ซ้ื อขายนั้นโดยไม่ตอ้ ง คืนเงินหรื อประโยชน์ที่ได้รับไว้แล้ว ให้หกั ค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาร้อยละ 20 ได้ วิธีเดียว 5. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (6) ประมวลรัษฎากรให้เลือกหักค่าใช้จ่ายตามความ จําเป็ นและสมควรหรื อหักค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาในอัตราดังนี้ 5.1 เงินได้จากการประกอบโรคศิลป์

หักได้ร้อยละ 60

5.2 เงินได้จากวิชาชีพอิสระอื่นๆ นอกจาก 5.1

หักได้ร้อยละ 30

6. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (7) ประมวลรัษฎากรให้เลือกหักค่าใช้จ่ายตามความ จําเป็ นและสมควรหรื อหักค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาในอัตราร้อยละ 70 7. เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) ประมวลรัษฎากรให้เลือกหักค่าใช้จ่ายตามความ จําเป็ นและสมควรหรื อหักค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาในอัตราร้อยละ 40-85 แล้วแต่กรณี แนวคิด และทฤษฎีเกีย่ วกับค่ าลดหย่อน ประสงค์ ชิงชัย และ ทวี บัวทอง (2546: 59) ได้กล่าวว่า ในการคํานวณภาษีเงินได้ นอกจาก กฎหมายจะกําหนดให้หกั ค่าใช้จ่ายเงินได้พึงประเมิ นแล้วยังสามารถหักค่าลดหย่อนได้อีก โดยจาก เงินได้พึงประเมินเมื่อได้หกั ค่าใช้จ่ายจะได้เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย แสดงให้เห็นถึงรายได้หรื อเงิน ได้ส่วนที่ปราศจากต้นทุนในการหารายได้น้ นั แล้วก่อนที่จะคํานวณเสี ยภาษีกฎหมายยังยอมให้หกั ค่าลดหย่อนประเภทต่างๆ ออกจากเงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายนี้อีก เพื่อที่จะหาเงินได้สุทธิเป็ นฐานที่จะ ใช้คาํ นวณภาษีในกรณี ของประเทศไทย นอกจากจะมีการให้ค่าลดหย่อนส่ วนตัวตามสถานภาพของ ผูเ้ สี ยภาษีแล้วยังมีการให้หกั ค่าใช้จ่ายตามรายการเงินได้ หรื อตามรายจ่ายบางประเภทอีกด้วย


15

ความหมายค่ าลดหย่อน เวก ศิริพิมลวาทิน (2547: 48) ได้ให้ความหมายว่ า เป็ นค่าใช้จ่ายส่ วนตัวของผูม้ ีเงินได้ อัน ไม่เกี่ยวกับการหาเงินได้ กฎหมายยอมให้หกั ลดหย่อน ก็เพื่อบรรเทาภาระการเสี ยภาษีของผูม้ ีเงินได้ การหักค่าลดหย่อนนั้น ให้หกั ตามสถานภาพของผูม้ ีเงินได้ ที่สามี ภรรยา และบุตร ย่อมหักค่า ลดหย่อนได้มากกว่าผูม้ ีเงินได้เป็ นโสด เกษม มโนสันติ์ และ เกล็ดนที สสิ กาญจน์ (2548: 52) ได้ให้ความหมายว่า เป็ นค่าใช้จ่าย ส่ วนตัวของผูม้ ีเงินได้ไม่เกี่ยวกับการหาเงินได้ และกฎหมายยอมให้ออกจากเงินได้พึงประเมิน หลังจากหักค่าใช้จ่ายแล้ว ทั้งนี้ เพื่อเป็ นการบรรเทาภาระการเสี ยภาษีของผูม้ ีเงินได้ สมคิ ด บางโม (2553: 79) ได้ให้ความหมายว่า เงินได้พึงประเมินเมื่อหักค่าใช้จ่ายแล้ว กฎหมายกําหนดให้หกั ค่าลดหย่อนได้อีก ค่าลดหย่อนที่ให้หกั นี้ไม่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับ จํานวนเงินได้พึงประเมิน แต่จะมีความสัมพันธ์กบั สถานภาพหรื อพฤติกรรมของผูเ้ สี ยภาษีเป็ น สําคัญ ประเภทค่ าลดหย่อน ค่าลดหย่อนที่กฎหมายยอมให้หกั ได้ (เวก ศิริพิมลวาทิน , 2547: 48-60) : (เกษม มโนสันติ์ และ เกล็ดนที สสิ กาญจน์ , 2548: 52-55) : (ประสงค์ ชิงชัย และ ทวี บัวทอง , 2546: 59-65) และ สมคิด บางโม, (2553: 79-86) มีดงั ต่อไปนี้ 1. ค่าลดหย่อนตามสถานภาพของผูม้ ีเงินได้ มีดงั นี้ 1.1 ผูม้ ีเงินได้หกั ค่าลดหย่อน 30,000 บาท


16

1.2 คู่สมรส ของสามีหรื อภริ ยาของผูม้ ีเงินได้ หักค่าลดหย่อน 30,000 บาท สามีหรื อ ภริ ยาจะต้องจดทะเบียนสมรสถูกต้องตามกฎหมาย ถ้าผูม้ ีเงินได้ไม่ได้อยูใ่ น ประเทศไทยให้หกั ได้เฉพาะสามีหรื อ ภริ ยาที่อยูใ่ นประเทศไ ทยเท่านั้น ยกเว้น ข้าราชการที่ปฎิบตั ิหน้าที่ประจําสถานทูตหรื อสถานกงสุ ลในต่างประเทศ 1.3 บุตรชอบด้วยกฎหมาย หรื อบุตรบุญธรรมของผูม้ ีเงินได้ ต้องมีอายุไม่เกิน 25 ปี และยังศึกษาอยูใ่ นอุดมศึกษา เป็ นผูเ้ ยาว์ ศาลสั่งให้เป็ นคนไร้ความสามารถ หรื อ เสมือนไร้ความสามารถอันอยูใ่ นความอุปการะเลี้ยงดูของผู ้ มีเงินได้ ไม่มีเงินได้ พึงประเมิ นในปี ภาษีล่วงมาแล้ว 15,000 บาทขึ้นไป อยูใ่ นความอุปการะเลี้ยงดู ของผูม้ ีเงินได้ ถ้าผู้ มี เงินได้ไม่อยูใ่ นประเทศไทยหักได้เฉพาะบุตรที่อยูใ่ น ประเทศไทย ถ้าสามีและภริ ยาแยกคํานวณภาษีหกั ลดห ย่อนบุตรได้คนละครึ่ ง ต้องเข้าเกณฑ์ดงั นี้ 1.3.1 บุตรที่เกิดก่อนหรื อในปี พ .ศ.2522 หรื อที่ได้รับเป็ นบุตรบุญธรรมก่อน พ.ศ. 2522 คนละ 15,000 บาท โดยไม่จาํ กัดจํานวน 1.3.2 บุตรที่เกิดหลัง พ.ศ. 2522 หรื อที่ได้รับเป็ นบุตรบุญธรรมในหรื อหลัง พ.ศ. 2522 คนละ 15,000 บาท แต่รวมกันต้องไม่เกิน 3 คน ในกรณี ผมู้ ีเงินได้มี บุตรทั้ง ข้อ 1.3.1 และ ข้อ 1.3.2 การหักลดหย่อนสําหรับบุตรให้นาํ บุตร ตาม ข้อ 1.3.1 ทั้งหมดมาหักก่อน แล้วจึงนําบุตรตาม ข้อ 1.3.2 มาหัก เว้น แต่ผมู ้ ีเงินได้มีบุตรตาม ข้อ 1.3.1 มีชีวติ อยูร่ วมกันตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป จะนํา บุตรตาม ข้อ 1.3.2 มาหักไม่ได้ แต่ถา้ บุตรตาม ข้อ 1.3.1 มีจาํ นวนไม่ถึง 3 คน ให้นาํ บุตรตาม ข้อ 1.3.2 มาหักได้ โดยเมื่อรวมกับบุตรตาม ข้อ 1.3.1 แล้วต้องไม่เกิน 3 คน 1.4 ผูม้ ีเงินได้ที่เป็ นกองมรดก หักค่าลดหย่อน 30,000 บาท


17

1.5 ผูม้ ีเงินได้เป็ นห้างหุ น้ ส่ วนสามัญหรื อคณะบุคคลที่ไม่ ใช่นิติบุคคลเป็ นผูอ้ ยูใ่ น ประเทศไทย หักลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท รวมกันต้องไม่เกิน 60,000 บาท 2. ค่าลดหย่อนเพื่อการศึกษา บุตรของผูม้ ีเงินได้มีสิทธิ หกั ลดหย่อนตามข้อ 1.3 หากศึกษา ในสถานศึกษาของทางราชการ หรื อของเอกชนตามกฎหมายกําหนด หักลดหย่อนได้คนละ 2,000 บาท ถ้าศึกษาอยูต่ ่างประเทศหักลดหย่อนไม่ได้ ถ้าสามีและภริ ยาแยกคํานวณภาษี ให้หกั ลดหย่อน ได้คนละครึ่ ง 3.

ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันชีวติ เบี้ยประกันชีวติ ของผูม้ ีเงินได้ที่จ่ายไประหว่างปี ภาษี

ตามจํานวนที่จ่ายจริ งแต่ไม่เกิน 10,000 บาท คู่สมรสของผูม้ ีเงินได้ที่ไม่มีเงินได้ หักค่าลดหย่อนได้ ตามที่จ่ายจริ งแต่ไม่เกิน 10,000 บาท กรมธรรม์ประกันชีวติ นั้นต้องมีกาํ หนดเวลาตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป และได้เอาประกันไว้กบั ผูร้ ับประกันภัยที่ประกอบกิจการในประเทศไทย การฝากเงินออมสิ น ประเภทสงเคราะห์ชีวติ และครอบครัวก็อยูใ่ นข่ายที่จะขอหักค่าลดหย่อนตามเกณฑ์ 4. ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันสุ ขภาพบิดามารดา บิดามารดาของผูม้ ีเงินได้ตอ้ งมีอายุ 60 ปี ขึ้น ไป และบุตรแต่ละคนจะนําเบี้ยประกันสุ ขภาพของบิดามารดามาหักรวมกันไม่เกิน 15,000 บาท 5. ค่าลดหย่อนเงินสะสมที่จ่ายเข้ากองทุนสํา รองเลี้ยงชีพ อัตราไม่ต่าํ กว่าร้อยละ 3 แต่ไม่ เกินร้อยละ 15 ของเงินเดือน นํามาหักลดหย่อนได้ตามจํานวนจริ งที่จ่ายจริ งแต่ไม่เกิน 10,000 บาท กองทุนสํารองเลี้ยงชีพจะต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาํ หนดไว้ใน กฎกระทรวง (ฉบับที่ 183) พ.ศ. 2533 สําหรับเงินสะสมที่จ่ายเข้ากองทุนสํารองเลี้ยงชีพส่ วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 490,000 บาท ไม่ตอ้ งสี ยภาษี (กฎกระทรวง (ฉบับที่ 126) พ.ศ. 2509) กรณี สามีหรื อภริ ยาของผูม้ ีเงินได้จ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนสํารองเลี้ยงชีพและความเป็ นสามีภริ ยาได้มีอยู่ ตลอดปี ภาษีหกั ลดหย่อนได้


18

6. ค่าลดหย่อนซื้ อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ หักได้ไม่เกินร้อยละ

15

ของเงินได้ เมื่อรวมกับเงินสะสมกองทุนสํารองเลี้ยงชีพและกองทุนบําเ หน็จบํานาญข้าราชการแล้ว ไม่เกิน 500,000 บาท แต่ถา้ ไม่เกิน 400,000 บาท หักลดหย่อนได้อีกร้อยละ 30 ส่ วนเงินปั นผลที่ได้ จากบริ ษทั จดทะเบียนหรื อนิติบุคคลอื่นๆ ให้ใช้วธิ ีเครดิตภาษี 7. ค่าลดหย่อนเงินปั นผล เงินส่ วนแบ่งกําไรจากกองทุนรวมหรื อสถาบันการเงินที่มี กฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทยจัดตั้งขึ้นสําหรับให้กยู้ มื เพื่อส่ งเสริ มการเกษตรกรรม พาณิ ชย กรรม หรื อ อุตสาหกรรม ให้หกั ลดหย่อนได้เท่ากั บจํานวนเงินที่ได้รับเงินปั นผล แต่ไม่เกิน 10,000 บาท เงินปั นผลส่ วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 40,000 บาท หักลดหย่อนได้อีกร้อยละ 30 ส่ วน เงินปันผลที่ได้จากบริ ษทั จดทะเบียนหรื อนิติบุคคลอื่นๆมา ให้ใช้วธิ ีเครดิตภาษี 8. ค่าลดหย่อนดอกเบี้ยเงินกูย้ มื เพื่อซื้ อ เช่ าซื้ อ หรื อสร้างที่อยูอ่ าศัย ผูม้ ีเงินได้มีสิทธิ หกั ลดหย่อนเงินกูย้ มื ที่ได้จ่ายในปี ภาษีให้แก่ธนาคาร สถาบันการเงินอื่น บริ ษทั ประกันชีวติ สหกรณ์ หรื อนายจ้างสําหรับการกูย้ มื เงินเพื่อซื้ อ เช่าซื้ อ หรื อสร้างอาคารอยูอ่ าศัย โดยจํานองอาคารที่ซ้ื อหรื อ สร้างเป็ นประกันกา รกูย้ มื นั้นตามจํานวนที่จ่ายจริ งในปี ภาษีแต่ไม่เกิน

100,000 บาท ต้องเข้า

หลักเกณฑ์ดงั นี้ 8.1 เป็ นดอกเบี้ยเงินกูย้ มื สําหรับการกูย้ มื เงินธนาคาร บริ ษทั ตามกฎหมายว่าด้วยการ ประกอบธุ รกิจเงินทุน ธุ รกิจหลักทรัพย์ และธุ รกิจเครดิตฟองซิ เอร์ บริ ษทั ประกันชีวติ สหกรณ์ บรรษัทตลาด รองสิ นเชื่อที่อยูอ่ าศัยตามกฎหมายว่าด้วย บรรษัทตลาดรองสิ นเชื่อที่อยูอ่ าศัย หรื อนายจ้าง ซึ่ งมีระเบียบเกี่ยวกับ เงินกองทุนที่จดั สรรไว้เพื่อสวัสดิการแก่ลูกจ้าง เฉพาะที่ผใู ้ ห้กยู้ มื ประกอบ กิจการในราชการอาณาจักร 8.2 กองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์เพื่อแก้ไขปั ญหาในระบบสถาบันการเงินที่จดั ตั้งขึ้น ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์


19

8.3 กองทุนรวมเพื่อแก้ไขปั ญหาในระบบสถาบันการเงินที่จดั ตั้งขึ้นเพื่อแก้ไขปั ญหา ในระบบสถาบันการเงินที่จดั ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ 8.4 เป็ นดอกเบี้ยเงินกูย้ มื ตามสัญญากูย้ มื เพื่อซื้ อ เช่าซื้ ออาคารพร้อมที่ดิน หรื อห้อง ชุดในอาคารชุด หรื อเพื่อสร้างอาคารใช้อยูอ่ าศัยบนที่ดินของตนเอง 8.5 ต้องจํานองอาคารหรื อห้องชุดในอาคารชุด หรื ออาคารพร้อมที่ดินเป็ นประกัน การกูย้ มื เงินนั้นโดยมีระยะเวลาการจํานองตามระยะเวลาการกูย้ มื 8.6 ต้องมีอาคารหรื อห้องชุดในอาคารชุดตามข้อ 8.4 เป็ นที่อยูอ่ าศัยแหล่งเดียว โดย มีชื่ออยูใ่ นทะเบียนต ามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรและได้อยูอ่ าศัยใน ระหว่างปี ภาษีที่ขอหักลดหย่อน แต่ไม่รวมถึงกรณี ลูกจ้างสั่งให้ไปปฏิบตั ิงาน ของนายจ้าง ณ ต่างถิ่นเป็ นประจํา หรื ออาคารชุดดังกล่าวเกิดอัคคีภยั ภัย ธรรมชาติ หรื อภัยอันเกิดจากสาเหตุอื่น 8.7 ผูม้ ีเงินได้มีอาคาร หรื อห้องชุดต ามข้อ 8.5 เป็ นที่อยูอ่ าศัยในปี ที่ขอหักลดหย่อน เกินกว่า 1 แห่ง ให้หกั ลดหย่อนได้ทุกแห่งตามข้อ 8.5 8.8 ให้หกั ลดหย่อนได้ตลอดปี ภาษี ไม่วา่ กรณี ที่จะหักลดหย่อนได้น้ นั จะมีอยูต่ ลอด ปี ภาษีหรื อไม่ 8.9 ผูม้ ีเงินได้หลายคนร่ วมกันกูย้ มื หักลดหย่อนได้ทุกคนเฉลี่ยค่าลดหย่อนตามส่ วน ของผูม้ ีเงินได้ ให้หกั ลดหย่อนให้แก่ผมู ้ ีเงินได้เต็มจํานวนตามที่จ่ายจริ งแต่ไม่ เกิน 100,000 บาท


20

8.10 ผูม้ ีเงินได้มีสิทธิ หกั ลดหย่อนอยูก่ ่อนแล้ว ต่อมาได้สมรสกันให้ยงั คงหัก ลดหย่อนได้ ถ้าความเป็ นสามีภริ ยาได้มีอยูต่ ลอดปี ภาษีที่ขอหักลดหย่อน ให้ต่าง ฝ่ ายต่างหักลดหย่อนได้ ตามจํานวนที่จ่ายจริ ง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท ถ้า และ ภริ ยายืน่ รายการโดยแยกคํานวณภาษี ให้สามีและภริ ยาต่างฝ่ ายต่างหักลดหย่อน ได้ครึ่ งหนึ่งของจํานวนที่จ่ายจริ ง แต่รวมกันไม่เกิน 100,000 บาท 8.11 มีการแปลงหนี้ใหม่ดว้ ยการเปลี่ยนตัวเจ้าหนี้เงินกูย้ มื ระหว่างผูใ้ ห้กตู้ ามข้อ 8.1 ให้ยงั คงหักลดหย่อนได้ตามจํานวนจ่ายจริ ง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท 8.12 ดอกเบี้ยเงินกูย้ มื หมายความรวมถึงดอกเบี้ยเงินกูย้ มื เพื่อชําระหนี้เงินกูย้ มื เพื่อซื้ อ เช่าซื้ อ หรื อสร้างที่อยูอ่ าศัยหรื อห้องชุดด้วย ทั้งนี้ เฉพาะดอกเบี้ยสําหรับเงินกูย้ มื เพื่อชําระหนี้ส่วนที่ไม่เกินกว่าหนี้ที่คา้ งชําระ 8.13 ผูม้ ีเงินได้ตอ้ งมีหนังสื อรับรองตามแบบที่อธิ บดีกาํ หนดจากผูใ้ ห้กยู้ มื 9. ค่าลดหย่อนเงินสมทบที่ผปู ้ ระกันตนจ่ายเข้ากองทุนประกันสังคม หักลดหย่อนได้ตาม จํานวนที่จ่ายจริ ง กรณี สามีหรื อภริ ยาของผูม้ ีเงินได้เป็ นผูป้ ระกันตนจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุ

ประกันสังคมมีความเป็ นสามีหรื อภริ ยาได้มีอยูต่ ลอดปี ภาษีให้หกั ลดหย่อนได้ 10. ค่าลดหย่อนเพื่ออุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา หักลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท สําหรับ บิดามารดาที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป และอยูใ่ นความอุปการะเลี้ยงดูของผูม้ ีเงินได้ แต่ไม่ให้หกั ลดหย่อน สําหรับบิดามารดาดังกล่าวที่มีเงินได้พึงประเมิ นในปี ภาษีที่ขอหักลดหย่อนเกิน 30,000 บาทขึ้นไป ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามประกาศอธิ บดีกรมสรรพากร (ฉบับที่ 136) พ.ศ. 2548 ประกาศ กําหนดไว้


21

11. ค่าลดหย่อนเพื่ออุปการะเลี้ยงดูคนพิการ เป็ นค่าอุปการะเลี้ยงดูคู่สมรส บิดามารดา บุตร ชอบด้วยกฎหมายหรื อบุตรบุญธรรม (กฎหมายใช้บงั คับในปี ภาษี 2552) ของผูม้ ีเงินได้หรื อคู่สมรส ซึ่ งเป็ นคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และมีบตั รประจําตัว คนพิการตามพระราชบัญญัติ ส่ งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ พ .ศ. 2550 โดยให้หกั ลดหย่อนได้ 60,000 บาทต่อคน พิการ 1 คน 12. ค่าลดหย่อนเงินบริ จาค เมื่อหักเงินค่าลดหย่อนอื่นๆตามข้อ 1 ถึง 10 เหลือเท่าใดให้หกั ค่าลดหย่อนสําหรับเงินบริ จาคได้อีกเท่าจํานวนที่จ่ายจริ ง แต่ ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินที่เหลือ เท่านั้น เงินบริ จาคที่นาํ มาหักลดหย่อน คือเงินที่บริ จาคแก่สถานพยาบาลและสถานศึกษาของทาง ราชการหรื อขององค์การของรัฐบาล สภากาชาดไทย วัดวาอาราม

(ไม่รวมถึงวัดในต่างประเทศ )

และเงินที่บริ จาคเป็ นสาธารณประโยชน์แก่องค์การหรื อสถานสาธ ารณกุศลตามที่รัฐมนตรี ประกาศ กําหนดในราชกิจนุเบกษา 13. ค่าลดหย่อนเงินบริ จาคเพื่อสนับสนุนด้านการศึกษา การหักค่าลดหย่อนประเภทนี้เริ่ ม ใช้ในปี ภาษี 2547 เป็ นต้นไป การหักค่าลดหย่อนหักได้ 2 เท่าของจํานวนที่จ่ายไปจริ ง แต่ไม่เกินร้อย ละ 10 เงินได้คงเหลือหักค่าใช้จ่ายแ ละค่าลดหย่อน โดยค่าลดหย่อนต้องเป็ นค่าใช้จ่ายสําหรับการ จัดหาให้แก่สถานศึกษาเพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษาให้

เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ

เงื่อนไขที่อธิ บดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด เป็ นโครงการที่กระทรวงศึกษาธิ การให้ความ เห็นชอบ ได้แก่ สถานศึกษาตามโครงการพระราชดําริ ส ถานศึกษาตามนโยบายที่จะระดมพลังเพื่อ เร่ งรัดปรับปรุ งคุณภาพ และสถานศึกษาที่รองรับพัฒนาเด็กด้อยโอกาส เด็กพิการ เป็ นการบริ จาค ให้แก่สถานศึกษาตามรายชื่อสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิ การประกาศกําหนด โดยผูบ้ ริ จาคต้องมี หลักฐานจากสถานศึกษาที่พิสูจน์ได้วา่ เป็ นค่าใช้จ่ายเพื่

อสนับสนุนการศึกษาตามโครงการที่

กระทรวงศึกษาธิการให้ความเห็นชอบ 14. เครดิตภาษีเงินปั นผล การนําอัตราภาษีเงินได้ที่ตอ้ งเสี ยหารด้วยผลต่างของหนึ่งร้อยลบ ด้วยอัตราภาษีเงินได้ ได้ผลลัพธ์เท่าใดให้คูณด้วยเงินปั นผลที่ได้รับ ผูเ้ สี ยภาษีสามารถใช้สิทธิ เครดิต


22

ภาษีเงินปั นผล นําเครดิตภาษีที่คาํ นวณได้หกั ภาษีที่ตอ้ งเสี ย ถ้าขาดเหลือเท่าใดให้เสี ยภาษีเพิ่มหรื อ ได้รับคืนภาษี ซึ่ งเป็ นการคืนภาษีเงินได้นิติบุคคลที่เรี ยกเก็บจากกําไรสุ ทธิ ของบริ ษทั หรื อห้าง หุ น้ ส่ วนนิติบุคคลบางส่ วนที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมายไทยให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ การจะได้รับเครดิตภาษี เงินปัน ผลจะต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามมาตรา 47 ทวิ คือ ต้องเป็ นผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา ต้องมีภูมิลาํ เนาอยูใ่ นประเทศไทยหรื อเป็ นผูอ้ ยูใ่ นประเทศไทย แนวคิด และทฤษฎีเกีย่ วกับภาษีมูลค่ าเพิม่ ความหมายของภาษีมูลค่ าเพิม่ อมรศักดิ์ พงศ์พศุตม์ (2553: 2) ได้ให้ความหมายว่า ภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดเป็ นภาษีทางอ้อม (indirect tax) ซึ่ งจัดเก็บจากมูลค่าการขายสิ นค้าหรื อการใช้บริ การที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอนของการ ผลิต การจําหน่าย หรื อการให้บริ การ (service rendered) (multiple stage sale tax) อย่างไรก็ ตามแม้ จะมีการเก็บ VAT ในทุกทอด แต่ VAT กลับไม่ก่อให้เกิดความซํ้าซ้อนของภาระภาษีโดยผูร้ ับภาระ ภาษีที่แท้จริ งก็คือผูบ้ ริ โภคคนสุ ดท้าย (end users) นัน่ เอง บุญเสริ ม อุ่ยตระกูล และ วิชาญ โพธิ สิทธิ์ (2544: 119) ให้ความหมายว่า ภาษีที่เก็บจาก มูลค่าของสิ นค้าหรื อบริ การเฉพาะส่ วนที่เพิม่ ขึ้นในแต่ละขั้นตอนการผลิตหรื อการจําหน่ายสิ นค้า หรื อบริ การชนิดต่างๆ สํานักพิมพ์ธรรมนิติ (2534: 200) ให้ความหมายว่า ภาษีอากรที่มีหลักการจัดเก็บจากมูลค่า ของสิ นค้าหรื อบริ การเฉพาะที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอนการผลิตหรื อการจําหน่ายสิ นค้าหรื อบริ การ หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ใช้มูลค่าเพิม่ ในแต่ละขั้นตอนการผลิตหรื อการจําหน่ายสิ นค้าหรื อบริ การ เป็ นหลักฐานการคํานวณภาษี (มูลค่าของสิ นค้าหรื อบริ การส่ วนที่เพิ่มขึ้น x อัตราภาษี ) สําหรับภาษี การค้าจะใช้ราคาสิ นค้าหรื อรายรับเป็ นฐานในการคํานวณภาษี (รายรับจากการขายสิ นค้า x อัตรา ภาษี)


23

สมคิด บางโม (2543: 165) : เวก ศิริพิมลวาทิน (2547: 187) : ช้องมาศ ปั้ นทองพันธุ์ (2547: 36 อ้างถึง สมเดช โรจน์คุรีเสถียร และคณะ , 2547: 38) และ ประสงค์ ชิงชัย และ ทวี บัว ทอง (2549: 228) ให้ความหมายว่า มูลค่าส่ วนเพิ่มที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอนของการผลิตและการ จําหน่ายสิ นค้าหรื อบริ การนั้น ฉะนั้นมูลค่าเพิ่มจึงมีค่าเท่ากับผลต่างระหว่างราคาของสิ นค้าหรื อ บริ การที่ ผลิตหรื อจําหน่ายกับราคาของสิ นค้าหรื อบริ การที่ซ้ื อมาเพื่อใช้ในการผลิตหรื อในการ จําหน่ายสิ นค้าหรื อบริ การนั้น ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามประมวลรัษฎากร มาตรา

82 ได้แก่ บุคคล 3 ประเภท

(สมคิด บางโม, 2543: 169) : (จงพวง มณี วฒั นา, 2544: 14) และ (ช้องมาศ ปั้ นทองพันธุ์ , 2547: 36-37 อ้างถึง สมคิด บางโม, 2546: 235-236) ดังนี้ 1. ผูป้ ระกอบการ ได้แก่ ผูผ้ ลิต ผูน้ าํ เข้า ผูส้ ่ งออก ผูข้ ายส่ ง ผูข้ ายปลีก ซึ่ งขายสิ นค้าในทาง ธุ รกิจหรื อวิชาชีพ และรวมถึงผูใ้ ห้บริ การในทางธุ รกิจหรื อวิชาชีพด้วย 2. ผูน้ าํ เข้า หมายถึง ผูป้ ระกอบการหรื อบุคคลอื่นซึ่ งนําสิ นค้าเข้ามาในราชอาณาจักร ไม่ ว่าเพื่อการใดๆ และให้หมายความรวมถึงการนําสิ นค้าที่ตอ้ งเสี ยอากรขาเข้าหรื อที่ได้รับยกเว้นอากร ขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรออกจากเขตปลอดอากร โดยมิใช่เพื่อส่ งออกด้วย โดยกรม ศุลกากรมีหน้าที่เก็บภาษีมูลค่าเพิ่มแทนกรมสรรพากร 3. ผูท้ ี่กฎหมายกําหนดให้มีหน้าที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มเป็ นกรณี พิเศษ ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 82/1 ได้แก่ 3.1 ในกรณี ผปู ้ ระกอบการอยูน่ อกราชอาณาจักร ให้ผทู้ าํ การแทนหรื อลูกจ้างมีหน้าที่ เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มร่ วมกับผูป้ ระกอบการที่อยูน่ อกราชอาณาจักร


24

3.2 ในกรณี ขายสิ นค้าหรื อให้บริ การแก่องค์การสหประชาชาติ สถานทูต หรื อสถาน กงสุ ล จะได้รับสิ ทธิเสี ยภาษีในอัตราร้อยละ 0 3.3 ในกรณี นาํ สิ นค้าที่ได้รับการยกเว้นอากรศุลกากรเข้าประเท ศจะได้รับการยกเว้น ภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย หากต่อมาสิ นค้านั้นไม่ได้รับการยกเว้น ผูท้ ี่ตอ้ งรับผิดเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ 3.3.1 ผูท้ ี่มีความรับผิดชอบตามกฎหมายว่าด้วยพิกดั อัตราศุลกากร 3.3.2 ผูร้ ับโอนสิ นค้า ถ้ามีการโอนสิ นค้าดังกล่าว 3.4 ในกรณี ที่มีการควบเข้ากันของกิจการ ผูท้ ี่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม คือ ผูท้ ี่ควบเข้า กันและผูป้ ระกอบการใหม่ 3.5 ในกรณี การโอนกิจการ ผูท้ ี่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม คือ ผูโ้ อนและผูร้ ับโอน อัตราภาษีมูลค่ าเพิม่ ปั จจุบนั อัตราภาษีที่ใช้มีอยู่ 2 อัตรา (ประสงค์ ชิงชัย และ ทวี บัวทอง , 2549: 232) : (ช้อง มาศ ปั้ นทองพันธุ์ , 2547: 37 อ้างถึง สมเดช โรจน์คุรีเสถียร และคณะ , 2547: 323) และ (เวก ศิริ พิมลวาทิน, 2547: 191-192) คือ 1. อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 7 สําหรับการขายสิ นค้า การให้บริ การ หรื อการนําเข้าทุก กรณี อัตราภาษีน้ ีได้รวมภาษีทอ้ งถิ่นไว้แล้ว 2. อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 0 ใช้สาํ หรับการประกอบการ ดังต่อไปนี้


25

2.1 การส่ งออกสิ นค้าที่มิใช่การส่ งออกสิ นค้าซึ่ งได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม 2.2 การให้บริ การที่กระทําในราชอาณาจักรและได้มีการใช้บริ การนั้นใน ต่างประเทศตามประเภท หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิ บดีกาํ หนด

การ

ให้บริ การที่กระทําในราชอาณาจักร และได้มีการใช้บริ การนั้นในต่างประเทศ ให้รวมถึงการให้บริ การที่กระทําในราชอาณาจักรเพื่อใช้ผลิตสิ นค้าในเขต อุตสาหกรรมส่ งออกเพื่อส่ งออก และการให้บริ การที่กระทําในเขตอุตสาหกรรม ส่ งออกเพื่อใช้ผลิตสิ นค้าเพื่อส่ งออกด้วย 2.3 การให้บริ การขนส่ งระหว่างประเทศโดยอากาศยานหรื อเรื อเดินทะเลที่กระทํา โดยผูป้ ระกอบการที่เป็ นนิติบุคคล 2.4 การขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การกับกระทรวง ทบวง กรม ราชการส่ วนท้องถิ่น หรื อรัฐวิสาหกิจตามโครงการกูเ้ งินหรื อเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ ทั้งนี้ เฉพาะกรณี ที่เป็ นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิ บดีกาํ หนดโดย อนุมตั ิรัฐมนตรี 2.5 การขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การกับองค์การสหประชาชาติ ทบวงการชํานาญ พิเศษของสหประชาชาติ สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุ ลใหญ่ ทั้งนี้ เฉพาะการขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การที่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ

และ

เงื่อนไขที่อธิ บดีกาํ หนด 2.6 การขายสิ นค้า หรื อการให้บริ การระหว่างคลังสิ นค้าทัณฑ์บนกับผูป้ ระกอบการ ที่ประกอบกิจการอยูใ่ นเขตอุตสาหกรรมส่ งออกหรื อระหว่างผูป้ ระกอบการกับ ผูป้ ระกอบการที่ประกอบกิจการอยูใ่ นเขตอุตสาหกรรมส่ งออก ไม่วา่ จะอยูใ่ น


26

เขตอุตสาหกรรมส่ งออกเดียวกันห รื อไม่ ทั้งนี้ เฉพาะการขายสิ นค้าหรื อการ ให้บริ การที่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิ บดีกาํ หนด แนวคิด และทฤษฎีเกีย่ วกับอากรขาเข้ า ความหมายพิกดั อัตราศุลกากร วิชยั มากวัฒนสุ ข (2551: 49-50) ได้ให้ความหมายว่า พิกดั อัตราศุลกากร หมายถึงการ แบ่งกลุ่มสิ นค้าที่มีการซื้ อขายกันระหว่างประเทศ ออกเป็ นประเภทและประเภทย่อย โดยมีเลขรหัส กํากับประเภท และประเภทย่อยนั้นๆ และกําหนดอัตราค่าอากรศุลกากรของแต่ละประเภทย่อย เพื่อให้การแบ่งกลุ่มหรื อประเภทที่มีความละเอียด ชัดเจนแน่นอน เกิดผลดีโดยตรงต่อการผลิต การค้าและการลงทุน ช่วยให้ผผู ้ ลิต ผูท้ าํ การค้าหรื อผูล้ งทุนสามารถคํานวณต้นทุนของสิ นค้าได้ อย่างแน่นอน ทําให้การวางแผนการผลิต การค้าและการลงทุนเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และทํา ให้เกิดความเป็ นธรรมแก่ผบู ้ ริ โภค นอกจากนี้พิกดั อัตราศุ ลกากรยังช่วยให้เกิดความสะดวกในด้าน ต่างๆ อีกหลายด้าน ได้แก่ 1. เพื่อให้สะดวก การกําหนดอัตรา การแบ่งกลุ่มสิ นค้าออกเป็ นหมวดหมู่ทาํ ให้การ กําหนดอัตราอากรทําได้ง่ายขึ้นและถูกเป้ าหมายตามนโยบายทางการคลังหรื อตามสภาวการณ์ทาง เศรษฐกิจ 2. เพื่อให้เกิดความสะดวกในการจัดเก็บอากรศุลกากร เจ้าหน้าที่ศุลกากรสามารถเก็บ อากรได้ถูกต้อง เป็ นธรรมและรัดกุมขึ้น 3. เพื่อให้งานด้านสถิติ พิกดั ศุลกากรช่วยให้การจัดเก็บข้อมูลทางสถิติสะดวกขึ้น ได้ ข้อมูลที่ถูกต้องสามารถนําไปใช้วเิ คราะห์เพื่อกําหนดนโยบายการเงิน การคลั ผูป้ ระกอบการนําไปใช้ในการตัดสิ นในด้านการค้า การลงทุน

งของประ เทศหรื อ


27

4. เพื่อให้เกิดความสะดวกทางการค้าระหว่างประเทศ การสื่ อสาร การอ้างอิง และการให้ ข้อมูลต่อกันทําให้รวดเร็ วขึ้น สามารถเข้าใจปั ญหาและแก้ปัญหาได้เร็ วยิง่ ขึ้น 5. เพื่อเป็ นการแลกเปลี่ยนสิ ทธิประโยชน์ทางกา รค้า หรื อสิ ทธิประโยชน์ทางศุลกากร กระทําได้สะดวกถูกต้อง และชัดเจนยิง่ ขึ้นทั้งในระดับภูมิภาค หรื อการทําความตกลงทางการค้า แบบทวิภาคีหรื อพหุภาคี สมคิด บางโม (2543: 216) ได้ให้ความหมายว่า ภาษีศุลกากร เป็ นภาษีที่เรี ยกเก็บจาก สิ่ งของที่นาํ เข้ามาหรื อส่ งออกไปนอกราชอาณาจักร ปั จจุบนั กรมศุลกากรให้ใช้คาํ ว่า อากร แทนคํา ว่า ภาษี ดังนั้นภาษีที่เรี ยกเก็บจากสิ นค้าเข้าจึงเรี ยกว่า อากรขาเข้า และภาษีที่เรี ยกเก็บจากสิ นค้าออก จึงเรี ยกว่า อากรขาออก ประสงค์ ชิงชัย และ ทวี บัวทอง (2546: 298 อ้างถึง สาธิต รังคสิ ริ , 2538: 302) ได้ให้ ความหมายว่า อากรศุลกากร เป็ นเงินหรื อทรัพย์ที่เรี ยกเก็บแก่การนําสิ นค้าผ่านเข้าหรื อออกจากเขต แดนหนึ่งไปยังอีกเขตแดนหนึ่ง ซึ่ งอาจเป็ นรัฐในรู ปใดๆ ก็ได้ที่ไม่ข้ ึนแก่ กันหรื อกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า เป็ นภาษีหรื ออากรที่เรี ยกเก็บจากสิ่ งของ หรื อสิ นค้าที่นาํ เข้ามาในและส่ งออกไปนอกราชอาณาจักร ผู้ทมี่ ีหน้ าทีเ่ สี ยภาษี ผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษี คือ ผูส้ ่ งออกสิ นค้าและผูน้ าํ เข้าสิ นค้า ความรับผิดในอันทีจ่ ะต้ องเสี ยค่ าภาษีเกิดขึน้ ความรับผิดในอันที่จะต้องเสี ยค่าภาษีศุลกากรมีความสําคัญต่อผูท้ ี่นาํ ของเข้าหรื อผูส้ ่ งของ ออกเป็ นอันมากเพราะถ้าไม่ทราบเวลาแห่งความรับผิดแล้ว ก็ไม่สามารถเสี ยอากรให้ถูกต้องได้ ฐาน ที่นาํ มาคํานวณค่าภาษีได้แก่ สภาพของ ราคาของ และพิกดั อัตราศุลกากร องค์ประกอบทั้งสามอย่าง


28

นี้ อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา จึงต้องตีเอาตามที่เป็ นอยูใ่ นเวลาใดเวลาหนึ่งที่เป็ นแน่นอน ตายตัวมาคํานวณค่าภาษี เวลาดังกล่าวคือเวลาแห่งความรับผิดชอบอันจะต้องเสี ยค่าภาษีตามหลัก ทัว่ ไป (วิชยั มากวัฒนสุ ข, 2551: 40-42) ดังนี้ 1. ความรับผิดในอันที่จะต้องเสี ยภาษีสาํ หรับของขาเข้า ความรับผิดในอันที่จะต้องเสี ย ภาษีสาํ หรับของขาเข้านั้น บัญญัติไว้ในมาตรา 10 ทวิ วรรคแรก แห่ง พ .ร.บ. ศุลกากร พ .ศ. 2469 ความว่า “ความรับผิดในอันที่จะต้องเสี ยค่าภาษีสาํ หรับของที่นาํ เข้าเกิดขึ้นในเวลาที่นาํ ของเข้า สําเร็ จ ” ส่ วนเวลาที่นาํ ของเข้าสําเร็ จนั้น คือเวลาใด ตามมาตรา 41 แห่ง พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2469 กําหนดเวลาที่เรี ยกว่านําของเข้าสําเร็ จไว้วา่ “ถ้ามีความจําเป็ นด้วยประการใดๆ เกี่ยวกับศุลกากรที่จะ กําหนดเวลาเป็ นแน่นอนว่า การนําของใดๆเข้ามาจะพึงถือว่าเป็ นอันสําเร็ จเมื่อไรไซ้ ท่านให้ถือว่า การนําของเข้ามาเป็ นอันสํา เร็ จแต่ขณะที่เรื อซึ่ งนําของเช่นนั้นได้เข้ามาในเขตท่าที่จะถ่ายของออก จากเรื อ หรื อท่าที่มีชื่อส่ งของถึง” การนําของเข้าสําเร็ จหรื อไม่เวลาใด จึงเป็ นข้อเท็จจริ งตามความหมายนี้ เมื่อเรื อที่บรรทุก สิ นค้าเข้ามาในเขตน่านนํ้าไทยอย่างเดียวการนําของเข้าจึงไม่สาํ เร็ จ แต่จะเข้ามาเขตท่าซึ่ งต้องเป็ นท่า ศุลกากรที่รัฐมนตรี กาํ หนดโดยออกกฎเป็ นกระทรวงมาตรา 4 การเข้ามาในเขตท่าเช่นว่านี้มิใช่วา่ จะ ถึงเขตท่าใดๆในราชอาณาจักรแล้วจะถือว่านําของเข้าสําเร็ จไปทั้งหมด เพราะท่าดังกล่าวนั้นมีหลาย ท่า การนําของเข้าสําเร็ จจะเกิดขึ้นเฉพาะของที่จะถ่ายลงจากเรื อ ณ ท่านั้น หรื อท่านั้นมีชื่อส่ งของถึง ท่าที่มีชื่อส่ งของถึงคือ ท่าซึ่ งเป็ นจุดหมายปลายทางอันจะส่ งของให้แก่ผรู ้ ับ ณ ท่านั้น ข้อที่ควรระวัง อยูท่ ี่ “ท่าที่จะถ่ายของจากเรื อ ” เพราะถ้อยคําไม่ชดั เจนและอาจทําให้เกิดปั ญหาได้ ความข้อนี้ หมายความถึงท่าที่จะถ่ายของจากเรื อเพื่อขนส่ งต่อไปโดยเรื อลําอื่นหรื อโดยทางพาหนะอื่นเพื่อส่ ง ให้แก่ผรู ้ ับหรื อจุ ดหมายปลายทางในราชอาณาจักรเท่านั้น หากเป็ นการถ่ายของจากเรื อเพื่อขนส่ ง ต่อไปโดยเรื ออื่นหรื อพาหนะอื่นเพื่อส่ งให้แก่ผรู ้ ับหรื อจุดหมายปลายทางที่อยูน่ อกราชอาณาจักร ท่าที่จะถ่ายของจากเรื อเช่นนี้ ก็มิใช่ท่าที่จะถ่ายของจากเรื อตามนัยแห่งมาตรา 41 นี้


29

2. ความรับผิดในอัน ที่จะต้องเสี ยภาษีสาํ หรับของขาออก สําหรับความผิดในอันที่จะเสี ย ค่าภาษีขาออกปรากฏอยูใ่ นมาตรา 10 ตรี วรรคแรก แห่ง พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2469 ความว่า “ความ รับผิดในอันที่จะต้องเสี ยค่าภาษีสาํ หรับของที่ส่งออกเกิดขึ้นในเวลาที่ส่งของออกสําเร็ จ “เวลาที่ส่ง ของออกสําเร็ จได้กาํ หนดไว้ในมาตรา 46 ความว่า “ถ้ามีความจําเป็ นด้วยประการใดๆ เกี่ยวด้วยการ ศุลกากรที่จะกําหนด เวลาเป็ นแน่นอนว่า การส่ งของใดๆออกจะพึงถือว่าเป็ นอันสําเร็ จเมื่อไรไซ้ ท่านให้ถือว่าการส่ งของออกเป็ นอันสําเร็ จแต่ขณะที่เรื อซึ่ งส่ งของออกจากเขตท่าซึ่ งได้ออกเรื อเป็ น ชั้นที่สุด เพื่อไปจากพระราชอาณาจักรนั้น” เขตท่าก็คือ เขตที่กาํ หนดไว้ดงั กล่าวข้างต้นในเรื่ องความรับผิดในอันที่จะเสี ยค่าภาษีขาเข้า สําหรับข้อที่ระบุวา่ เขตท่าซึ่ งได้ออกเรื อเป็ นชั้นที่สุด เพื่อออกเรื อไปจากพระราชอาณาจักรนั้น หมายถึงว่าถ้าเรื อลํานั้นมิได้ออกจากท่าที่บรรทุกสิ นค้าเพื่อไปยังต่างประเทศทันที แต่ตอ้ งแวะท่าอื่น ในประเทศอีก แล้วจึงจะไปจากพระราชอาณาจักร จะถือว่าสิ นค้าที่บรรทุกในท่าแรกส่ งออกสําเร็ จก็ ต่อเมื่อเรื อลํานั้นได้ออกไปจากเขตท่าสุ ดท้ายเพื่อไปจากราชอาณาจักรแล้ว 3. ความรับผิดในอันที่จะต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณี นาํ เข้า ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มที่เกิดจากการนําเข้าเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 3.1 การนําเข้านอกจากที่ระบุตาม เพื่อให้เกิดความสะดวกในการจัดเก็บอากร ศุลกากร เจ้าหน้าที่ศุลกากรสามารถเก็บอากรได้ถูกต้อง เป็ นธรรมและรัดกุมขึ้น เพื่อให้งานด้านสถิติ พิกดั ศุลกาก รช่วยให้การจัดเก็บข้อมูลทางสถิติสะดวกขึ้น ได้ขอ้ มูลที่ถูกต้องสามารถนําไปใช้วเิ คราะห์เพื่อกําหนดนโยบายการเงิน การ คลังของประ เทศหรื อผูป้ ระกอบการนําไปใช้ในการตัดสิ นในด้านการค้า การ ลงทุนหรื อ เพื่อให้เกิดความสะดวกทางการค้าระหว่างประเทศ การสื่ อสาร การ อ้างอิง และการให้ขอ้ มูลต่อกันทําให้รวดเร็ วขึ้น สามารถเข้าใจปั ญหาและ


30

แก้ปัญหาได้เร็ วยิง่ ขึ้นความรับผิดชอบจะเกิดขึ้นพร้อมกับการชําระอากรขาเข้า วางหลักประกันอากรขาเข้า หรื อวันที่ได้มีการคํ้าประกันอากรขาเข้า แล้วแต่ กรณี และหากไม่มีกรณี ที่จะต้องเสี ยอากรขาเข้าก็ให้ความรับผิดเกิดขึ้นในวันที่มี การออกใบขนสิ นค้าขาเข้า 3.2 การนําเข้ากรณี นาํ สิ นค้าในราชอาณาจักรเข้าไปในเขตปลอดอากร แล้วนํา สิ นค้าออกจากเขตดังกล่าว โดยมิใช่เพื่อส่ งออกความรับผิดจะเกิดขึ้นในวันที่นาํ สิ นค้านั้นออกจากเขตอุตสาหกรรมส่ งออกโดยมิใช่เพื่อส่ งออก 3.3 การนําเข้าของตกค้างตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร ความรับผิดจะเกิดขึ้นเมื่อทาง ราชการได้ขายทอดตลาดหรื อขายโดยวิธีอื่น 3.4 การนําเข้าสิ นค้าที่จาํ แนกประเภทไว้ในภาคว่าด้วยของที่ได้รับยกเว้นอากร ตาม กฎหมายว่าด้วยพิกดั อัตราศุลกากร ซึ่ งได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มด้วยนั้น ถ้า ภายหลังสิ นค้าต้องเสี ยภาษีอากร ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น พร้อมกับความรับผิดตามกฎหมายว่าด้วยพิกดั อัตราศุลกากร กรณี ส่งออก ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มที่เกิดจากการขายสิ นค้าโดยส่ งออก เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ 3.5

การส่ งออกนอกจากเพื่อให้เกิ ดความสะดวกในการจัดเก็บอากรศุลกากร เจ้าหน้าที่ศุลกากรสามารถเก็บอากรได้ถูกต้อง เป็ นธรรมและรัดกุมขึ้นหรื อ เพื่อให้งานด้านสถิติ พิกดั ศุลกากรช่วยให้การจัดเก็บข้อมูลทางสถิติสะดวกขึ้น ได้ขอ้ มูลที่ถูกต้องสามารถนําไปใช้วเิ คราะห์เพื่อกําหนดนโยบายการเงิน การ คลังของประ เทศหรื อผูป้ ระกอบการนําไปใช้ในการตัดสิ นในด้านการค้า การ ลงทุน ความรับผิดจะเกิดขึ้นพร้อมกับการชําระอากรออก วางหลักประกันขา


31

ออก หรื อวันที่ได้มีการคํ้าประกันอากรขาออก และหากไม่มีกรณี ที่ตอ้ งเสี ยอากร ขาออกก็ให้ความรับผิดเกิดขึ้นในวันที่มีการออกใบขนส่ งสิ นค้าออก 3.6 การส่ งออกสิ นค้าเข้าไปในเขตปลอดอากร ความรับผิดจะเกิดขึ้นในวันที่นาํ สิ นค้าราชอาณาจักรเข้าไปในเขตปลอดอากร 3.7 การส่ งออกสิ นค้าที่อยูใ่ นคลังสิ นค้าทัณฑ์บนตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร ความ รับผิดจะเกิดขึ้นพร้อมกับความรับผิดตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร 3.8 ความรับผิดในอันจะต้องเสี ยภาษีสรรพสามิต ในกรณี สินค้าที่นาํ เข้า เกิดขึ้นในเวลาเดียวกันกับความรับผิดในอันจะต้องเสี ยภาษีศุลกากร สําหรับของที่นาํ เข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร เว้นแต่กรณี ที่สินค้าเก็บอยูใ่ นคลังสิ นค้าทัณฑ์บน ตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร ให้ถือเป็ นความผิดในอันจะต้องเสี ยภาษีเกิดขึ้นในเวลาที่นาํ สิ นค้าออก จากคลังสิ นค้าทัณฑ์บนนั้น หลักการเกีย่ วกับการเสี ยภาษีศุลกากร การเรี ยกเก็บค่าภาษีจะเก็บโดยวิธีใด และผูเ้ สี ยภาษีจะต้องปฏิบตั ิอย่างไรบ้างนั้น กฎหมาย ศุลกากรได้กาํ หนดหลักการไว้ในมาตรา

10 แห่ง พระราชบัญญัติศุลกากร พ

.ศ. 2469 (วิชยั

มากวัฒนสุ ข, 2551: 44-45) ดังนี้ มาตรา 10 วรรคแรก “บรรดาค่าภาษีน้ นั ให้เก็บตามบทพระราชบัญญัติน้ ีและตามกฎหมาย ว่าด้วยพิกดั อัตราศุลกากร การเสี ยค่าภาษีให้เสี ยแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในเวลาที่ออกใบขนส่ งสิ นค้า ให้”


32

จากบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวสามารถอธิ บายได้ดงั นี้ 1. บรรดาค่าภาษีให้เรี ยกเก็บตามพระราชบัญญัติศุลกากร กฎหมายศุลกากรได้บญั ญัติ หลักการเกี่ยวกับการเก็บภาษีอากรไว้หลายมาตรา เช่น ความรับผิดอันที่จะต้องเสี ยภาษีเกิดขึ้น เมื่อใด (มาตรา 10 ทวิ, มาตรา 10 ตรี แห่ง พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2469) บทบัญญัติ ให้เว้นการเรี ยก เก็บอากรในบางกรณี เช่น ให้งดเว้นการเรี ยกอากรขาเข้าขาออกแก่ของที่ปล่อยออกไปจาก คลัง สิ น ค้าทัณฑ์บนเพื่อส่ งออกไปนอกราชอาณาจักร (มาตรา 88 วรรคสอง แห่ง พ .ร.บ. ศุลกากร พ.ศ.2469) หรื ออาจมีพระรา ชกฤษฎีกายกเว้นอากรซึ่ งเรี ยกเก็บตามกฎหมายพิกดั อัตราศุลกากรแก่ ของที่นาํ เข้าหรื อส่ งออกทางบกได้ (มาตราแห่ง พ.ร.บ. ศุลกากร (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2480) 2. ให้เรี ยกเก็บตามกฎหมายว่าด้วยพิกดั อัตราศุลกากร

กฎหมายพิกดั อัตราศุลกากร

หมายถึงกฎหมายที่กาํ หนดว่าภาษีศุลกากรให้คิดและเก็ บกันอย่างดีท้ งั นี้เพื่อประโยชน์แก่ผมู ้ ีหน้าที่ เก็บภาษีศุลกากรในอันที่จะเก็บภาษีได้โดยถูกต้องและชอบด้วยกฎหมายและเพื่อประโยชน์แก่ผอู ้ ื่น ในอันที่จะทราบว่าตนจะต้องเสี ยภาษีอากรสําหรับของที่นาํ เข้าหรื อส่ งออกหรื อไม่เพียงใด กฎหมายพิกดั อัตราศุลกากรที่ใช้อยูใ่ นปั จจุ บันคือ พระราชกําหนดพิกดั อัตราศุลกากร พ .ศ. 2530 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมฯ และประกาศกระทรวงการคลังฉบับต่างๆ ที่ออกโดยอาศัย อํานาจตามพระราชบัญญัติพิกดั อัตราศุลกากรฉบับนี้อีกหลายฉบับ เพื่อยกเว้น ลดหย่อน เพิ่มอัตรา อากร หรื อเรี ยกเก็บอากรพิเศษ แล้วแต่กรณี พิเศษทั้ งนี้ตามมาตรา 4 แห่งพระราชกําหนดพิกดั อัตรา ศุลกากร พ .ศ. 2530 ได้บญั ญัติไว้ความว่า

“ของที่นาํ มาเข้าในหรื อส่ งหรื อพาออกไปนอก

ราชอาณาจักรนั้น ให้เรี ยกเก็บและเสี ยอากรตามที่กาํ หนดไว้ในพิกดั อัตราอากรท้ายพระราชบัญญัติ กําหนดนี้ 3. การเสี ยภาษีให้เสี ยแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในเวลาที่ออกใบขนสิ นค้าให้ ตามกฎหมาย ศุลกากรกําหนดว่า ก่อนที่จะนําของใดๆ ไปจากอารักขาของศุลกากร ผูน้ าํ ของเข้าต้องปฏิบตั ิให้ ครบถ้วนตามพระราชบัญญัติศุลกากร และตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการศุลกากร กับต้องยืน่ ใบ


33

ขนสิ นค้าโดยถู กต้อง และเสี ยภาษีอากรจนครบถ้วน หรื อวางเงินไว้เป็ นประกัน การขอวางเงิน ประกันให้เป็ นไปตามระเบียบที่อธิ บดีกาํ หนด

(มาตรา 40 วรรคแรด แห่ง พ .ร.บ. ศุลกากร

พ.ศ.2469) กรณี ส่งออกก่อนที่จะส่ งของใดๆ ออกไปนอกราชอาณาจักร ผูส้ ่ งของออกต้องปฏิบตั ิให้ ครบถ้วนตามพระราชบัญญัติศุลกากร และตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการศุลกากรกับต้องยืน่ ใบ ขนสิ นค้าโดยถูกต้องและเสี ยภาษีอากรโดยครบถ้วน หรื อวางเงินไว้เป็ นประกันการ ประกันให้เป็ นไปตามระเบียบที่อธิ บดีกาํ หนด

ขอวางเงิน

(มาตรา 45 วรรคแรก แห่ง พ .ร.บ. ศุลกากร

พ.ศ.2469) ภาษีอากรและค่ าธรรมเนียมทีก่ รมศุลกากรจัดเก็บ กรมศุลกากรมีหน้าที่ในการจัดเก็บภาษีอากรหลายประเภทจากการนําสิ นค้าเข้าและส่ ง สิ นค้าออก (วิชยั มากวัฒนสุ ข, 2551: 40) ได้แก่ 1. อากรศุลกากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร 2. ภาษีสรรพสามิตแทนกรมสรรพสามิต 3. ภาษีเพื่อมหาดไทยแทนกระทรวงมหาดไทย 4. ภาษีมูลค่าเพิ่มแทนกรมสรรพกร 5. ภาษีอากรอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย


34

นอกจากนี้กรมศุลกากรยังมีหน้าที่ในจัดเก็บค่าธรรมเนียมต่างๆ ตามกฎหมาย ได้แก่ 1. ค่าธรรมเนียมตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร 2. ค่าธรรมเนียมพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการส่ งเสริ มการลงทุน 3. ค่าธรรมเนียมพิเศษกระทรวงพา ณิ ชย์ตามกฎหมายว่าด้วยการส่ งออกไปนอกและการ นําเข้ามาในราชอาณาจักร 4. ค่าธรรมเนียมประภาคารตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรื อในน่านนํ้าไทย อัตราอากร ตามพระราชกําหนดพิกดั อัตราศุลกากร พ .ศ. 2530 มาตรา 5 “ของใดที่ระบุอตั ราอากรทั้ง ตามราคาและตามสภาพ ให้เสี ยอากรในอัตราที่คิดเป็ นเงินสู งกว่า ” แสดงว่าอัตราอากรที่ระบุไว้ใน พิกดั อัตราศุลกากรจึงมีอยูด่ ว้ ยกัน 2 อัตรา คือ อัตราตามราคาและอัตราตามสภาพ (วิชยั มากวัฒน สุ ข, 2551: 59-60) อัตราตามราคา หมายถึง อัตราที่คิดจากร้อยละของราคาศุลกากรสําหรับของที่นาํ เข้าหรื อ ส่ งออก เช่น ร้อยละ 5, ร้อยละ 10, ร้อยละ 30 เป็ นต้น อัตราตามสภาพ หมายถึง อัตราที่คิดตามปริ มาณของสิ นค้าที่นาํ เข้าหรื อส่ งออก ได้แก่ นํ้าหนัก ปริ มาณ ขนาดความยาว หรื อจํานวนของสิ นค้า เช่น กิโลกรัมละ 30 บาท ลิตรละ 0.05 บาท หลาละ 6 บาท หรื อชิ้นละบาท เป็ นต้น


35

ในการคํานวณเงินอากรที่ตอ้ งเสี ยหรื อจ่ายคืนแต่ละรายการเศษของหนึ่งบาทให้ปัดทิ้ง ของ ใดที่ระบุอตั ราทั้งตามราคาและตามสภาพ ให้เสี ยอากรในอัตราที่คิดเป็ นเงินสู งกว่า อย่างไรก็ตามอัตราอากรที่พึงต้องชําระจริ งสําหรับของที่นาํ เข้าหรื อส่ งออก ไม่วา่ จะใช้ อัตราใดก็ตาม ขึ้นอยู่ กับประกาศกระทรวงการคลังที่ออกโดยอาศัยตาม พ .ร.ก. พิกดั อัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 มาตรา 12, 13, 14 ซึ่ งรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี มีอาํ นาจประกาศลด หรื อยกเว้นการเรี ยกเก็บอากรพิเศษเพิ่มจากที่ได้เรี ยกเก็บไว้แล้วก็ ได้ ตามเหตุผลของแต่ละกรณี ดังนี้ มาตรา 12 เพื่อประโยชน์แก่การเศรษฐกิจของประเทศ หรื อเพื่อความผาสุ กของประชาชน เพื่อความมัน่ คงของประเทศ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง โดยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี มีอาํ นาจประกาศลดอัตราอากรสําหรับของใด ๆ จากอัตราที่กาํ หนดไว้ในพิกดั อัตรา ศุลกากรหรื อยกเว้นอ ากรสําหรับของใด ๆ หรื อเรี ยกเก็ บอากรพิเศษเพิ่มขึ้นสําหรับของใด ๆ ไม่เกิน ร้อยละห้าสิ บของอัตราที่กาํ หนดไว้ในพิกดั อัตราศุลกากรสําหรับของนั้น ทั้งนี้โดยจะกําหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขใดๆ ไว้ดว้ ยก็ได้ ประกาศ การยกเลิกหรื อเปลี่ยนแปลงประกาศในวรรคหนึ่ง ให้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษา มาตรา 13 ในกรณี ที่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังเห็นว่า ของใดที่นาํ เข้ามาเป็ นของที่ ได้รับความช่วยเหลือจากประเทศหรื อบุคคลใด โดยวิธีอื่นนอกจากการคืนหรื อชดเชยเงินค่าภาษี อากร อันก่อหรื ออาจทําให้เกิดความเสี ยหายแก่การเกษตรหรื อการอุตสาหกรรมในประเทศ รัฐมนตรี ว่ าการกระทรวงการคลังโดยความชอบของคณะรัฐมนตรี มีอาํ นาจประกาศให้เรี ยกเก็บ อากรพิเศษ แก่ของนั้นในอัตราตามที่เห็นสมควรนอกเหนือไปจากอากรที่พึงต้องเสี ยตามปกติ แต่ อากรพิเศษที่เรี ยกเก็บนี้จะต้องไม่เกินจํานวนที่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังเห็นชอบได้มีการ ช่วยเหลือดังกล่าวข้างต้น


36

การประกาศ การยกเลิกหรื อเปลี่ยนแปลงประกาศในวรรคหนึ่ง ให้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษา มาตรา 14 เพื่อปฏิบตั ิตามข้อผูกพันตามสัญญาหรื อความตกลงระหว่างประเทศเพื่อ ประโยชน์แก่การเศรษฐกิจของประเทศ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี มีอาํ นาจประกาศยกเว้น ลดหรื อเพิ่มอากรจากอัตราที่กาํ หนดไว้ในพิกดั อัตราศุลกากร หรื อประกาศเรี ยกเก็บอากรตามอัตราที่กาํ หนดไว้ในอัตราศุลกากรสําหรับของที่มีถิ่นกําเนิดจาก ประเทศที่ร่วมลงนามหรื อลักษณะตามที่ระบุไว้ในสัญญาหรื อความตกลงดังกล่าว ทั้งนี้ จะกําหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขใดๆ ไว้ดว้ ยก็ได้ แนวคิด และทฤษฎีเกีย่ วกับมาตรการภาษี เนื่องจากประเทศไทยประสบอุทกภัยบ่อยครั้ง ซึ่ งแต่เดิมรัฐบาลมักจะกําหนดมาตรการทาง ภาษีเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยก็ต่อเมื่อเหตุการณ์น้ นั ได้ผา่ นเลยไปแล้ว ล่าสุ ดได้มีการตราพระ ราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 527) พ.ศ. 2554 ไว้เป็ นการล่วงหน้า ไม่ตอ้ งรอให้เกิดอุทกภัยแล้วค่อยออกมาตรการทางภาษีอากรอีกต่อไป โดยให้มี ผลใช้บงั คับตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 เป็ นต้นไป ทั้งนี้ เพื่อเป็ นการบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผปู ้ ระสบอุทกภัย และส่ งเสริ มให้มีการบริ จาคเพื่อ ช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยดังกล่าว โดยมีบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลเป็ นตัวแทนรับบริ จาค สมควรยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บุคคลธรรมดาและบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคล สําหรับเงิน ชดเชยที่ได้รับจากรัฐบาล หรื อเงินหรื อทรัพย์สินที่ได้รับบริ จาคหรื อช่วยเหลือเพื่อชดเชยความ เสี ยหายที่ได้รับนอกเหนือจากเงิ นชดเชยที่ได้รับจากรัฐบาล และสําหรับค่าสิ นไหมทดแทนซึ่ ง บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลได้รับจากบริ ษทั ที่ประกอบธุ รกิจประกันภัยเพื่อชดเชยความ เสี ยหายเนื่องจากอุทกภัยดังกล่าว นอกจากนี้ เพื่อเป็ นการส่ งเสริ มให้มีการบริ จาคเพื่อช่วยเหลือผู ้ ประสบอุทกภัย โดยยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บุคคลธรรมดาและบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลเท่า


37

จํานวนเงินหรื อราคาทรัพย์สินที่บริ จาค และยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่ผปู ้ ระกอบการ สําหรับสิ นค้า ที่บริ จาคเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยดังกล่าว ซึ่ งจะขอนํามากล่าวทีละประเด็น (นางสาวอรทัย ทาติ๊บ , http://www.dlo.co.th, 13 มกราคม 2555) : (เดลินิวส์ , http://www.businesssoft.com, 12 มกราคม 2555) และ (ฝ่ ายกฎหมาย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย , www.fti.or.th, 14 มกราคม 2555) ดังต่อไปนี้ การบริจาคช่ วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย สําหรับการบริ จาคให้แก่ หน่วยงานราชการ กองทุนช่วยเหลือผูป้ ระสบสาธารณภัย สํานัก นายกรัฐมนตรี องค์การหรื อสถานสาธารณกุศล เอกชนที่เป็ นตัวแทนรับบริ จาคที่ได้ข้ ึนทะเบียนไว้ กับกรมสรรพากร ในระหว่างวันที่ 1 กันยายน - 31 ธันวาคม 2554 สามารถพิจารณาได้ดงั นี้ กรณีผ้ บู ริจาคเป็ นบุคคลธรรมดา ให้หกั ค่าใช้จ่ายสําหรับเงินที่บริ จาคได้ 1.5 เท่า แต่เมื่อรวมกับเงินบริ จาคอื่น ต้องไม่เกินร้อย ละ 10 ของเงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อน กรณีผ้ บู ริจาคเป็ นนิติบุคคล (บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคล) หักรายจ่ายสําหรับเงินหรื อทรัพย์สินที่บริ จาคได้ 1.5 เท่า แต่เมื่อรวมกับรายจ่ายเพื่อการกุศล สาธารณะอื่น ต้องไม่เกินร้อยละ2 ของกําไรสุ ทธิ ทั้งนี้ สําหรับผูป้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ทั้งที่เป็ นบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล) ที่นาํ สิ นค้าไปบริ จาคช่วยเหลือ ไม่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม มาตรการช่ วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย 1. ยกเว้นภาษีเงินได้สาํ หรับเงินชดเชยที่ได้รับจากภาครัฐ


38

2. ยกเว้นภาษีเงินได้สาํ หรับเงินหรื อทรัพย์สินที่ได้รับบริ จาคนอกเหนือจากเงินชดเชยที่ ได้รับจากภาครัฐ ทั้งนี้ตอ้ งไม่เกินมูลค่าความเสี ยหายที่ได้รับ 3. ยกเว้นภาษีเงินได้จากค่าเช่า การประกอบธุ รกิจ วิชาชีพอิสระ เป็ นจํานวนเท่ากับมูลค่ า ความเสี ยหายที่ได้รับสําหรับผูป้ ระสบอุทกภัยที่ได้ลงทะเบียนไว้ (เฉพาะบุคคลธรรมดา) 4. ยกเว้นภาษีเงินได้สาํ หรับค่าสิ นไหมทดแทนที่ได้รับจากการประกันภัย เฉพาะส่ วนที่ เกินมูลค่าต้นทุนของทรัพย์สินที่เหลือจากการหักค่าสึ กหรอหรื อค่าเสื่ อมราคา (เฉพาะนิติบุคคล) 5. กระทรวงการคลังจะพิจารณาขยายเวลาการยืน่ แบบแสดงรายการภาษีสรรพากร สําหรับผูป้ ระกอบการในพื้นที่ที่ประสบอุทกภัยรุ นแรงตามความจําเป็ นและสมควร มาตรการช่ วยเหลือผู้ได้ รับส่ งเสริมการลงทุน (BOI) 1. อนุญาตให้สามารถเคลื่อนย้ายเครื่ องจักรและวัตถุดิบ ออกจากโรงงานหรื

อพื้นที่ที่

ได้รับผลกระทบจากภัยนํ้าท่วมได้ทนั ที 2. ผูป้ ระกอบการจะได้รับยกเว้นอากรขาเข้าเครื่ องจักรที่นาํ เข้ามาทดแทนเครื่ องจักรที่เสี ยหาย จากอุทกภัย มาตรการช่ วยเหลือของกรมศุลกากร 1. อนุญาตให้ผปู้ ระกอบการ ในเขตประกอบการเสรี เขตปลอดอากร และคลังสิ นค้าทัณฑ์บน สามารถขนย้ายของออกจากพื้นที่ได้ที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยได้โดยไม่ตอ้ งปฏิบตั ิพิธีการ ศุลกากร


39

2. เมื่อเหตุการณ์กลับสู่ ภาวะปกติ ต้องขนย้ายกลับภายใน 7 วัน หากไม่ครบถ้วนต้องชําระ อากรในภายหลัง


บทที่ 3 สถานการณ์ ปัญหาและผลกระทบจากอุทกภัยปี 2554 สถานการณ์ การเกิดอุทกภัย การเกิดอุทกภัยของประเทศไทยในครั้งนี้เกิดจากอิทธิ พลของพายุโซนร้อน

“นกเตน ”

(NOCK–TEN) ร่ องมรสุ มกาลังปานกลางถึงค่อนข้างแรงที่พาดผ่านประเทศไทย ทาให้ประเทศไทย มีฝนตกหนักต่อเนื่องและเกิดน้ าล้นตลิ่งตั้งแต่วนั ที่ 25 กรกฎาคม 2554 จนถึงปัจจุบนั มีพ้นื ที่ที่ได้รับ ผลกระทบและประกาศเป็ นพื้นที่ประสบภัยพิบตั ิกรณี ฉุกเฉิ น (อุทกภัย ) รวมทั้งสิ้ น 64 จังหวัด 660 อาเภอ 4,842 ตาบล 43,045 หมู่บา้ น (ได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แพร่ น่าน แม่ฮ่องสอน ลาปาง ลาพูน อุตรดิตถ์ สุ โขทัย พิษณุ โลก พิจิตร เพชรบูรณ์ ตาก กาแพงเพชร นครสวรรค์

อุทยั ธานี

ชัยนาท สิ งห์บุรี อ่างทอง พระนครศรี อยุธยา ลพบุรี สระบุรี สุ พรรณบุรี ราชบุรี นครปฐม ปทุมธานี นนทบุรี เลย อุดรธานี หนองคาย บึงกาฬ ขอนแก่น กาฬสิ นธุ์ สุ รินทร์ นครราชสี มา

นครพ นม อานาจเจริ ญ มุกดาหาร สกลนคร ยโสธร

ร้ อยเอ็ด มหาสารคาม บุรีรัมย์ ศรี ส ะเกษ อุบลราชธานี ชัยภูมิ

นครนายก สระแก้ว ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด

ประจวบคีรีขนั ธ์ สุ ราษฎร์ ธานี ระนอง พังงา ภูเก็ต ตรัง สตูล ส

มุทรสาคร สมุทรปราการ และ

กรุ งเทพมหานคร) (ทีมข่าว ศูนย์ข่าว TCIJ, http://www.tcijthai.com/investigative-story/1029, 12 มกราคม 2555) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 3,317,902 ครัวเรื อน 11,325,182 คน บ้านเรื อนเสี ยหายทั้งหลัง 118 หลัง บ้านเรื อนเสี ยหายบางส่ วน 91,544 หลัง พื้นที่การเกษตรคาดว่าจะได้รับความเสี ยหาย 10,301,830 ไร่ ถนน 18,409 สาย ท่อระบายน้ า 1,028 แห่ง ฝาย 1,075 แห่ง ทานบ 167 แห่ง สะพาน/ คอสะพาน 680 แห่ง บ่อปลา/บ่อกุง้ /หอย 205,142 ไร่ ปศุสัตว์ 12,331,589 ตัว มีผเู้ สี ยชีวติ 527 ราย (ทีมข่าว ศูนย์ข่าว TCIJ, http://www.tcijthai.com/investigative-story/1029, 12 มกราคม 2555)


41

ตารางที่ 3-1 สาเหตุการเสี ยชีวติ ของประชาชนจากมหาอุทกภัยปี 2554 สาเหตุการเสี ยชีวติ จานวน (คน) จมน้ า

372

พลัดตกน้ า

37

ดินถล่ม

8

น้ าป่ าพัด

9

น้ าพัด

19

ไฟฟ้ าช็อต

36

เรื อคว่า/ล่ม

21

โคลนถล่ม

6

ฟ้ าผ่า

2

ต้นไม้ทบั

2

งูกดั

1

สู ญหาย

2

ไม่มีขอ้ มูล

12

รวม

527

ที่มา: ทีมข่าว ศูนย์ข่าว TCIJ (ทีมข่าว ศูนย์ข่าว TCIJ, http://www.tcijthai.com/investigative-story/980, 17 มกราคม 2555)


42

ตารางที่ 3-2 จังหวัดที่มีผเู้ สี ยชีวติ จากมหาอุทกภัยปี 2554 (เรี ยงลาดับจากมากไปน้อย) จังหวัด จานวน (คน) พระนครศรี อยุธยา 90 นครสวรรค์ 62 พิจิตร 51 ลพบุรี 37 สิ งห์บุรี 26 ชัยนาท 23 ปราจีนบุรี 22 พิษณุโลก 18 สุ โขทัย 18 สุ พรรณบุรี 17 ปทุมธานี 14 สระบุรี 13 เชียงใหม่ 13 อ่างทอง 11 แพร่ 8 อุตรดิตถ์ 7 แม่ฮ่องสอน 7 ขอนแก่น 7 นนทบุรี 7 กาแพงเพชร 7 เพชรบูรณ์ 6 ฉะเชิงเทรา 6 ชัยภูมิ 6 นครปฐม 6


43

ตารางที่ 3-2(ต่ อ) จังหวัดที่มีผเู้ สี ยชีวติ จากมหาอุทกภัย ปี 2554 (เรี ยงลาดับจากมากไปน้อย) จังหวัด จานวน (คน) อุบลราชธานี 6 อุทยั ธานี 5 มหาสารคาม 5 สุ รินทร์ 4 ร้อยเอ็ด 4 สระแก้ว 3 ชลบุรี 3 ลาปาง 2 นครนายก 2 นครพนม 2 ตาก 2 ที่มา: ทีมข่าว ศูนย์ข่าว TCIJ (ทีมข่าว ศูนย์ข่าว TCIJ, http://www.tcijthai.com/investigative-story/980, 17 มกราคม 2555) นอกจากนี้ยงั พบว่ามีนิคมอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบอีกกว่า 9 นิคม (ทีมข่าว ศูนย์ข่าว TCIJ, http://www.tcijthai.com/investigative-story/1029, 12 มกราคม

2555) ได้แก่ นิคม

อุตสาหกรรมสหรัตนนคร อ.นครหลวง จ .พระนครศรี อยุธยา นิคมอุตสาหกรรมโรจนะ อ.อุทยั จ.พระนครศรี อยุธยา นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค อ.บางปะอิน จ.พระนครศรี อยุธยา นิคมอุตสาหกรรม บางปะอิน อ .บางปะอิน จ .พระนครศรี อยุธยา

นิคมอุตสาหกรรมแฟคตอรี่ แลนด์ อ .วังน้อย

จ.พระนครศรี อยุธยา นิคมอุตสาหกรรมนวนคร อ .คลองหลวง จ.ปทุมธานี นิคมอุตสาหกรรมบาง กะดี อ .เมือง จ.ปทุมธานี และ โรงงานในเขต อุตสาหกรรมอ้อมน้อย อ้อมใหญ่ อ .สามพราน จ.นครปฐม

นิคมอุตสาหกรรมบางชัน เขตมีนบุรี กรุ งเทพ

ลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุ งเทพมหานคร

มหานคร และนิคมอุตสาหกรรม


44

จากสถานการณ์อุกทกภัยครั้งใหญ่น้ ีทาให้มีเกิดความสู ญเสี ยและความเสี ยหาย นานับประการ ทาให้เกิดนโยบายในการช่วยเหลื อผูป้ ระสบอุทกภัยและผูท้ ี่ได้รับความเดือดร้อน ตามมามากมายทั้งเพื่อประโยชน์ของบุคคลธรรมดาและเพื่อประโยชน์ของผูป้ ระกอบการ สรุ ปสถานการณ์ อุทกภัย ภาคเหนือ เมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2554 ได้เกิดพายุที่ชื่อว่า นกเตน ได้ส่งผลให้จงั หวัด แม่ฮ่องสอน น้ าเอ่อล้นพื้นที่อาเภอปาย และอาเภอปางมะผ้า นอกจากนี้ตน้ เดือนสิ งหาคม 2554 ใน ภาคเหนือยังมีจงั หวัดที่ได้รับผลกระทบจากพายุ นกเตน อาทิเช่น เชียงใหม่ พิจิตร แพร่ ลาปาง เป็ น ต้น พื้นที่ส่วนมากได้รับผลกระทบจากการที่ดินโคลนถล่ม น้ าป่ าทะลัก หรื อแม่น้ าล้นตลิ่ง พื้นที่ การเกษตร โรงเรี ยน และบ้านเรื อนได้รับความเสี ยหาย แม้แต่ววั ยังขาดแคลนอาหารอย่างหนัก ในช่วงเดือนกันยายน 2554 น้ ายังคงท่วมในจังหวัดพิจิตรอย่างหนัก และยังคงมีผเู ้ สี ยชีวติ เพิ่มมาก ขึ้น ในเดือนนี้จงั หวัด พิจิตรมียอดการเสี ยชีวติ สู งสุ ดในรอบ 14 ปี ต้นเดือนตุลาคม 2554 เกิดดิน โคลนถล่มปิ ดถนน และยังมีน้ าป่ าไหลหลากตัดผ่านรันเวย์สนามบิน ซึ่ งไม่เคยเกิดขึ้นเลยในรอบ 30 ปี ในขณะเดียวกันกลางเดือนตุลาคม 2554 จังหวัดพิจิตรน้ าเริ่ มลดลงและได้ทิ้งขยะไว้มากมาย ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ อิทธิ พลของพายุ นกเตน ได้เริ่ มเข้าถล่มตัวเมืองหนองคาย จนเกิด น้ าท่วมหนักสู งกว่า 80 ซ.ม. ในปลายเดือนกรกฎาคม 2554 และต้นเดือนสิ งหาคม 2554 น้ าได้เริ่ ม ลุกลามไปยังจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉี ยงเหนืออย่างต่อเนื่อง ทาให้พ้นื ที่ทางการเกษตรไม่วา่ จะ เป็ นสวนยางพารา หรื อนาข้าวได้รับความเสี ยหายอย่างรุ นแรง นอกจากนี้จากสภาพอากาศที่ เปลี่ยนแปลงทาให้มีผปู ้ ่ วยเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจหลายราย ปลายเดือนสิ งหาคม 2554 ถึงต้น เดือนกันยายน 2554 แม่น้ ามูลและแม่น้ าชีได้เอ่อล้นทะลักเข้าท่วมพื้นที่จงั หวัดทางภาค ตะวันออกเฉี ยงเหนือเพิ่มมากขึ้น อาทิเช่น จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดมหาสารคาม เป็ นต้น สรุ ป ความเสี ยหายของภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือส่ วนใหญ่เป็ นพื้นที่การเกษตรและบ้านเรื อนของ ชาวบ้านตามจังหวัดต่างๆ


45

ภาคกลาง อุทกภัยครั้งใหญ่น้ ีได้เริ่ มเข้าท่วมทางภาคกลางประมาณต้นเดือนสิ งหาคม 2554 โดยจังหวัดอยุธยาเป็ นจังหวัดแรกที่มีการเตรี ยมการรับมือกับอุทกภัยครั้งนี้

โดยมีการตั้งกาแพง

ป้ องกันน้ าท่วมบริ เวณหน้าวัดไชยวัฒนาราม จังหวัดอยุธยายังเป็ นจังหวัดแรกที่เกิดอุทกภัยในภาค กลาง นอกจากนี้ในเดือนกันยายน 2554 ผูป้ ระสบอุทกภัยยังเกิดเหตุร้ายแรงอีกเรื่ องหนึ่ง คือเรื่ อง ของสัตว์มีพิษอย่างงูที่จงั หวัดนครสวรรค์นนั่ เอง เรื่ องจิตใจขอ งผูป้ ระสบอุทกภัยก็สาคัญเจ้าหน้าที่ ต้องคอยเยียวยาครอบครัวของผูป้ ระสบ อุทกภัย พร้อมมีการเตือนป้ องกัน 4 โรคติดต่อ ได้แก่ ไข้หวัดใหญ่ ฉี่ หนู ตาแดง และอุจจาระร่ วง เมื่อเกิดน้ าท่วมนานๆปั ญหาอีกอย่างหนึ่งที่เริ่ มตามมาคือ น้ าเริ่ มส่ งกลิ่นเน่าเหม็น ในช่วงเดือนตุลาคม 2554 น้ าเริ่ มลุกลามท่วมในเขตปริ มณฑล กรุ งเทพมหานคร ได้มีการนากระสอบทรายมาสร้างแนวป้ องกันน้ าท่วมชัว่ คราวเพื่อเตรี ยม รับมือกับสถานการณ์น้ าในแม่น้ าเจ้าพระยา ตั้งแต่ปลายเดือนสิ งหาคม 2554 ในเดือนกันยายน 2554 ทางกรุ งเทพมหานครยังคงมีการเฝ้ าระวังการเกิดอุทกภัยกันอ ย่างใกล้ชิด เพื่อเตรี ยมรับมือกับการ เกิดอุทกภัย ต้นเดือนตุลาคมน้ าเริ่ มเข้าท่วมที่ท่าพระจันทร์ และได้มีการเสริ มแนวกระสอบทราย สู งขึ้นจากแนวป้ องกันน้ าท่วมถาวร เพื่อไม่ให้คลื่นน้ าเอ่อล้นเข้าเขตพระราชฐาน เมื่อน้ าเริ่ มเข้าท่วม เขตพื้นที่ของกรุ งเทพมหานคร ทาให้ประชาชน แตกตื่นแห่กนั ซื้ อของกักตุนจนทาให้สินค้าขาด แคลน ประชาชนที่อยูใ่ นกรุ งเทพมหานครและเขตปริ มณฑลยังแห่กนั กลับภูมิลาเนากันอย่าง หนาแน่นเพื่อหนีสถานการณ์ อุทกภัย แต่กรุ งเทพมหานครก็ยงั คงช่วยกันรับมือและช่วยเหลือผู ้ ประสบอุทกภัย โดยการจัดศูนย์ที่พกั พิงภายในกรุ งเทพมหานคร

ให้เพียงพอกับผูอ้ พยพ

(ASTVผูจ้ ดั การออนไลน์, http://www.manager.co.th, 24 มกราคม 2555) ปัญหาของผู้ประสบอุทกภัย จากสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในหลายๆพื้นที่ของประเทศไทย

ในปี 2554 ถือว่าเป็ น

วิกฤติการณ์ครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในรอบหลายสิ บปี ซึ่ งจากสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นทาให้เกิด ความเสี ยหายตามมามากมาย โดยเฉพาะปัญหา ของผูป้ ระสบอุทกภัยที่ประสบกับปัญหาด้านปัจจัย ในการดารงชีวติ และการดาเนินงานของบริ ษทั ที่ประสบอุทกภัย ดังต่อไปนี้


46

1. ไม่มีที่อยูอ่ าศัย เนื่องมาจากสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในหลายจังหวัดทางภาคเหนือ ได้ก่อให้เกิดปริ มาณน้ าก้อนใหญ่ไหลบ่าเข้าสู่ พ้นื ที่กรุ งเทพมหานครและแผ่ขยายไปตามพื้นที่เขต ต่าง ๆ ศูนย์อานวยการเฉพา ะกิจป้ องกันและแก้ไขปั ญหาอุทกภัย กรุ งเทพมหานคร พิจารณาแล้ว เห็นว่า สถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นตั้งแต่วนั ที่ 10 ตุลาคม 2554 จนถึงปั จจุบนั เป็ นเหตุให้เกิดภาวะ น้ าท่วมฉับพลัน และน้ าเหนือไหลบ่าเข้าในพื้นที่เขตกรุ งเทพมหานคร โดย สถานการณ์อุทกภัย ใน ครั้งนี้เป็ นสถานการณ์ค่อนข้างรุ นแรง มีปริ มาณน้ าเห นือสะสมมาก ทาให้ประชาชนในพื้น เขตต่างๆ ของกรุ งเทพมหานครได้รับผลกระทบและทรัพย์สิ นได้รับความเสี ยหายเป็ นจานวนมา ก บ้านเรื อนที่อยูอ่ าศัยประจาของ ผูป้ ระสบ อุทกภัย และทรัพย์สินได้รับความเสี ยหาย ส่ งผลให้เกิด ความเสี ยหายต่ออาคารบ้านเรื อนเป็ นจานวน 1,899,329 ครัวเรื อน ทาให้ที่อยู่ อาศัยของผูป้ ระสบ อุทกภัยได้รับความเสี ยหายไม่สามารถพักอาศัยได้ ดังนั้น ผูป้ ระสบอุทกภัย จึงต้องไปพักอาศัยตาม ศูนย์พกั พิงต่างๆที่ ทางผูบ้ ริ จาค ได้จดั ขึ้นพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบ อุทก ภัย (รังสิ ต เด็ดสาระตี่ , http://blog.eduzones.com/rangsit/85895, 20 มกราคม 2555) 2. ขาดแคลนสิ่ งของจาเป็ นเร่ งด่วนเพื่อใช้ในการอุปโภคบริ โภ ค ผูป้ ระสบอุทกภัยทุกคน ต่างได้รั บความเสี ยหายกับสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นในปี 2554 เนื่องจากผูป้ ระสบอุทกภัยมีจานวนมาก ต่างคนต่างมีความต้องการที่จะใช้สิ่งของที่จาเป็ น ที่จะใช้ ในการดารงชีวติ จึงทาให้ เกิดปั ญหาการ ขาดแคลนสิ่ งของจาเป็ นเร่ งด่วนเพื่อใช้ในการอุปโภคบริ โภคของผูป้ ระสบอุทกภัย จากสถานการณ์ อุทกภัย ของประเทศไทย ถือว่า อยูใ่ นระดับ ขั้น วิกฤติ ซึ่ง มี มูลค่าความ เสี ยหายรวมแล้วกว่าแสนล้านบาท และ สร้างความเดือดร้อนอย่างต่อเนื่อง ทาให้ช่วงต้นปี หน้าจะมี วิกฤติที่ต่อเนื่องจาก อุทกภัย คือ สิ นค้าราคาแพงขึ้น อาหารการกินขาดแคลน เพราะผลผลิตทางการ เกษตรทั้งพืชและสัตว์เสี ยหายไปเกือบครึ่ งปี ผลิตผลลดลงอย่างมาก


47

สิ่ งของจาเป็ นเร่ งด่วนเพื่อใช้ในการอุปโภคบริ โภคของผูป้ ระสบอุทกภัย มีดงั นี้ 2.1 อาหารและน้ า อาหารแห้งที่สาเร็ จรู ปพร้อมรับประทาน โดยไม่ตอ้ งปรุ ง เพราะ บ้านคนที่ เกิดอุทกภัย ไม่มีไฟฟ้ าใช้และไม่มีแก๊ ส เช่น ปลากระป๋ อง ผักกาดดอง น้ าพริ ก ขนมปั ง ไส้กรอก แฮม ช็อกโกแลต น้ าดื่ม นมกล่อง ฯลฯ 2.2 เงิน ผูป้ ระสบ อุทกภัยหลายคน สิ้ นเนื้อประดาตัว เพราะบ้านจ มไปทั้งหลัง ไม่ เหลือทรัพย์สินใดๆ เหลือแต่ตวั เปล่า 2.3 เรื อ เป็ นอุปกรณ์ ที่สาคัญสาหรับการสัญจรทางน้ า แต่ในอนาคตผูผ้ ลิตควรจะทา เรื อชนิดที่มีลอ้ สาหรับไปได้ทุกที่ 2.4 กระสอบทราย เอาไว้ทาคันกั้นน้ า หรื อแนวป้ องกัน ในบางกรณี ใช้ถุงดาใส่ น้ า มัดปากถุงก็ใช้แทนถุงทรายได้ 2.5 สุ ขา ส้วมกระดาษ หรื อ ถังพลาสติกมีฝาเจาะรู + ถุงดา ที่ประดิษฐ์ข้ ึนมาสาหรับ การขับถ่ายของเสี ย 2.6 ลังกล่องโฟม ใช้สาหรับบรรจุสิ่งของ ขนถ่ายสัมภาระ เช่น อาหาร ของมีค่า เสื้ อผ้า ฯลฯ เพื่อให้ลอยน้ าได้ 2.7 เสื้ อชูชีพ ห่วงยาง กระแสน้ ามีความแรงและเชี่ยว ต้องใช้สิ่งของที่มีน้ าหนักเบา และลอยน้ า เพื่อพยุงตัว 2.8 เชือก ใช้เป็ นอุปกรณ์ช่วยชีวติ มัด ลาก จูง ขึง และใช้งานอเนกประสงค์


48

2.9 ผ้าใบพลาสติก ผืนผ้าใบขนาดใหญ่ และกันน้ าได้ ใช้เป็ นที่กาบัง ห่อ ขึง

ปูพ้นื

รองพื้น ฯลฯ 2.10 ไฟฉายและถ่านไฟฉาย ส่ องแสงสว่างในเวลากลางคืน ในเขตพื้นที่ที่ถูกตัด กระแสไฟฟ้ า 2.11 ไม้ขีดไฟ ไฟแช็ค เทียนไข จุดไฟให้แสงสว่างในครัวเรื อน เวลาไฟดับ 2.12 ถุงดาหรื อถุงพลาสติกขนาดใหญ่ ใช้ใส่ ของ และใส่ ขยะสิ่ งปฏิกลู ต่างๆ 2.13 ยารักษาโรค ยาสามัญประจาบ้านทุกชนิ ด ยารักษาโรคที่มากับน้ าท่วม รวมไป จนถึงยาทากันยุง 2.14 เสื้ อผ้าและเครื่ องนุ่งห่ม ผ้าขาวม้า ผ้าขนหนู ผ้าเช็ดตัว เสื้ อ กางเกง รองเท้าแตะ ผ้าห่ม ฯลฯ 2.15 เต็นท์ มุง้ ศูนย์อพยพต้องมีที่อยูอ่ าศัยให้ผปู ้ ระสบ อุทกภัย ใช้เต็นท์ผา้ ใบ รวมทั้ง เครื่ องนอน หมอน มุง้ กันยุง 2.16 กระดาษชาระ ผ้าอนามัย ใช้เช็ดทาความสะอาดทัว่ ไป และสาหรับสตรี ที่มี ประจาเดือน 2.17 ตูค้ อนเทนเนอร์ ใช้สาหรับดัดแปลงเป็ นที่อยูอ่ าศัยชัว่ คราว และใช้สาหรับขนส่ ง สิ่ งของด้วยรถบรรทุก


49

2.18 เครื่ องมือสื่ อสาร ใช้ติดต่อสื่ อสารแจ้งขอความช่วยเหลือ รวมไปถึงวิทยุขนาด พกพา เพื่อรับฟังข่าวสาร 2.19 อิฐบล็อก ใช้ก่อกาแพงป้ องกันน้ าท่วม ในพื้นที่เสี่ ยงภัย หรื อวัสดุทดแทน เช่น ปูนปลาสเตอร์ กาวซิลิโคน 2.20 ของใช้ประจาวัน เครื่ องอุปโภคบริ โภคในชีวติ ประจาวันทัว่ ไป เช่น สบู่ ยาสี ฟัน ผงซักฟอก ยาล้างจาน ฯลฯ 2.21 เครื่ องสู บน้ า รวมไปจนถึงเทคโนโลยีต่างๆ ที่ช่วยในการระบายน้ า 2.22 น้ าหมักชีวภาพ เอาไว้ใช้แก้น้ าเน่าเสี ย จากการที่มีน้ าท่วมขังเป็ นเวลานานๆ 2.23 อื่น ๆ เช่น อาวุธป้ องกันตัวสาหรับ ป้ องกันภัยจากสัตว์มีพิษและสัตว์น้ า เช่น งู ตะขาบ แมงป่ อง จระเข้ ฯลฯ ซึ่ง หลังจาก สถาน การณ์ อุทกภัยที่เกิดขึ้นนั้น

จะ ทาให้ผปู้ ระสบ อุทก ภัย มีความ

ต้องการสิ นค้าและบริ การซ่อมแซมบารุ งรักษาอีกเป็ นจานวนมาก เช่น เฟอร์ นิเจอร์ เครื่ องใช้ไฟฟ้ า ซ่อมบ้าน ซ่อมรถ ล้างรถ รับจ้างขนของ รักษาสุ ขภาพ เครื่ องเขียน เครื่ องใช้ สานักงาน ของใช้ในบ้านเสื้ อผ้าเครื่ องนุ่งห่ม สุ ขภั

ณฑ์ วัสดุก่อสร้าง ประกันภัย ฯลฯ

(http://humanrevod.wordpress.com/2011/10/12/thaiflood-need/, 20 มกราคม 2555) 3. การซ่อมแซมและทาความสะอาดบ้านหลังน้ าลด หลังจากที่น้ าลดลงผูป้ ระสบ อุทกภัย ต้องทาการซ่อมแซมสิ่ งที่สามารถซ่อมแซมได้เพื่อนากลับมาใช้ประโยชน์

อีก ต่อไป และการทา

ความสะอาดบ้านเพื่อให้บา้ นมีน่าอยูอ่ าศัย แต่ปัญหาของ การซ่อมแซมและทาความสะอาดบ้าน ผู้ ประสบอุทกภัยต้องมีเงินในการซ่อมแซมและทาความสะอาดบ้าน


50

จากสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้น พบว่า ผูป้ ระสบ อุทกภัยส่ วนใหญ่หรื อร้อยละ 86.5 มี ค่าใช้จ่ายในชีวติ ประจาวันที่สูงขึ้น เช่น ค่าเดินทาง ของกินของใช้แพงขึ้น รองลงมาคือ ร้อยละ 81.6 อาคาร/บ้านเรื อนได้รับความเสี ยหาย และร้อยละ 61.7 ทรัพย์สินได้รับความเสี ยหาย เช่น รถยนต์ เครื่ องใช้ไฟฟ้ า เฟอร์นิเจอร์เมื่อ สอบถามถึงค่าใช้จ่ายเป็ นจานวนเงินที่ตอ้ งจัดหาไว้ในการฟื้ นฟู อาคารบ้านเรื อนและทรัพย์สินของตนเอง พบว่า กว่า 2 ใน 3 หรื อร้อยละ 68.4 ต้องซ่อมแซมอาคาร บ้านเรื อน โดยมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยจานวน 37,022 บาท ค่าใช้จ่ายสู งสุ ดอยูท่ ี่ 500,000 บาท รองลงมา คือ ร้อยละ 40.6 ต้องซื้ อ /ซ่อมเครื่ องใช้ไฟฟ้ าและเฟอร์ นิเจอร์ เฉลี่ยอยูท่ ี่ 20,745 บาท ค่าใช้จ่าย สู งสุ ดอยูท่ ี่ 200,000 บาท ร้อยละ 20.6 ต้องซ่อมแซมระบบไฟฟ้ า ประปา โทรศัพท์ในบ้าน เฉลี่ยอยู่ ที่ 7,096 บาท ค่าใช้จ่ายสู งสุ ดอยูท่ ี่ 50,000 บาท ร้อยละ 13.6 ต้องซ่อมแซมรถยนต์ เฉลี่ยอยูท่ ี่ 22,603 บาท ค่าใช้จ่ายสู งสุ ดอยูท่ ี่ 250,000 บาท และร้อยละ 8.2 ต้องรักษาอาการเจ็บป่ วยของ ตนเองและครอบครัว เฉลี่ยอยูท่ ี่ 5,611 บาท ค่าใช้จ่ายสู งสุ ดอยูท่ ี่ 40,000 บาท ซึ่งเงินที่จะต้องใช้ นามาจ่ายในการซ่อมแซมและทาความสะอาดบ้านนี้มีค่าใช้จ่าย ที่สูง ทาให้ผปู้ ระสบอุทกภัยบางคน ไม่มีเงินมากพอที่จะนามาจ่า ยในการซ่อมแซมและทาความสะอาดบ้าน ได้อย่างที่ตอ้ งการ (สานัก ข่าวไทย, http://www.mcot.net/cfcustom/cache_page/315600.html, 20 มกราคม 2555) 4. สุ ขภาพและโรคผิวหนังหลังอุทกภัย หลังจากสถานการณ์อุทกภัยนอกจากผูป้ ระสบ อุทกภัยจะประสบกับการสู ญเสี ยญาติมิตรและทรัพย์สินแล้ว ยังต้องเผชิญกับปั ญหาสุ ขภาพหลาย ด้าน ทั้งนี้ เพราะเมื่อเกิดอุทกภัย แหล่งน้ าสาหรับการอุปโภคบริ โภคจะปนเปื้ อน กระแสน้ าจะพาสิ่ ง สกปรก เชื้อโรค ของเสี ยที่เคยถูกเก็บในที่มิดชิด หรื อ สารเคมีกระจายเป็ นวงกว้างและ ไปห่างไกล จากแหล่งเดิม อุทกภัยทาให้สภาพสิ่ งแวดล้อมเปลี่ยนทาให้สัตว์ แมลง ไม่มีที่อยูอ่ าศัยออกจากถิ่นที่ อยูเ่ พ่นพ่านทัว่ ไป ในขณะเดียวกันทาให้พาหะนาโรคต่าง ๆ เจริ ญเติบโตได้ดีซ่ ึ งส่ งผลทาให้ปริ มาณ เชื้อโรคมีจานวนเพิ่มขึ้นและแพร่ ได้อย่างรวดเร็ ว จึงมีโอกาสเกิดโรคระบาดได้ง่าย สภาพผิวดินหลัง อุทกภัยมีความเหมาะสมสาหรับการแพร่ พนั ธุ์ของยุง โรคหลายชนิดที่เกิดจากยุงเป็ นพาหะจึงมี โอกาสระบาดสู งขึ้นหลังอุทกภัยโดยสรุ ปปั ญหาด้านสุ ขภาพที่จะเกิดหลังการเกิด อุทกภัย มีท้ งั อาการ เจ็บป่ วยในระยะแรกและระยะยาวหลังจากนั้น ได้แก่ โรคติดเชื้อทางเดินอาหาร เช่นโรคท้องร่ วง จากการติดเชื้อจากอาหารเป็ นพิษ โรคเล็บโตสไปโรสิ ส (หรื อโรคฉี่หนู ) โรคผิวหนังจากการสัมผัส


51

กับสารเคมี สิ่ งสกปรก หรื อ ติดเชื้อที่ผวิ หนังไม่วา่ จะเป็ นเชื้อแบคทีเรี ย เชื้อราหรื อหนอนพยาธิ โรคผิวหนังจากแมลง สัตว์มีพิษกัดต่อยซึ่ งนอกจากจะทาให้ไม่สบายจากการถูกกัดต่อย แล้ว ในภายหลังหากได้รับเชื้อ โรคเข้าไปด้วย ไข้สมองอักเสบ

อาจทาให้ป่วยเป็ นโร คไข้เลือดออก มาลาเรี ย

ห รื อติดเชื้อในกระแสเลือด เป็ นต้

น ( วลัยอร ปรัชญพฤทธิ์

,

http://www.inderm.go.th/inderm_th/Health/dr_walaiorn.html, 19 มกราคม 2555) 5. ภาคอุตสาหกรรม จากสถานการณ์ อุทกภัยที่ผา่ นมา ทาให้ในนิคมอุตสาหกรรม 9 แห่ง ส่ งผลกระทบต่อห่วงโซ่การผลิตของโลก หลายอุตสาหกรรมต้องหยุดผลิตทั้งโลกส่ งผลต่อความ เชื่อมัน่ ของนักลงทุนต่างชาติ ทาให้เริ่ มมีการพูดถึงการทบทวนการกระจายฐานการผลิตเพื่อไม่ให้มี การกระจุกตัวอยูท่ ี่ใดที่หนึ่ง เพื่อลดความเสี่ ยงต่อความเสี ยหายที่เกิดขึ้น

ทาให้ ภาคอุตสาหกรรม

อิเล็กทรอนิกส์ได้รับผลกระทบมากที่สุด โดยข้อมูลความเสี ยหายที่เกิดขึ้นกับโรงงานใน นิคมอุตสาหกรรม 9 แห่ง จมน้ า 838 โรงงาน มูลค่าความเสี ยหาย 237,340 ล้านบาท ขณะที่ โรงงานนอกนิคม อุตสาหกรรม 19,000 แห่งได้รับความเสี ยหาย คิดเป็ นมูลค่า 240,000 ล้านบาท ส่ งผลให้อตั ราการลงทุนเพิ่มในช่วงสองเดือนสุ ดท้ายของปี ถึงต้นปี 2555 ลดลง จากอุทกภัย ครั้ งนี้จะส่ งผลให้มีคนว่างงานสู งถึ

2554 และต่อเนื่อง ง 700,000-920,000 คน

(http://prachatai.com/journal/2011/12/38349, 19 มกราคม 2555) ผลกระทบอุทกภัย ปี 2554 1. ผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจไทย แม้สถานการณ์วกิ ฤตอุทกภัย ปี 2554 เริ่ มทยอยคลี่คลายลงตามลาดับในช่ วงปลายเดือนพฤศจิกายน 2554 เหตุการณ์ อุทกภัย ที่ร้ายแรง ตั้งแต่ปลายเดือนกรกฎาคม 2554 เป็ นต้นมา สร้ างความเสี ยหายต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทย ในช่วงครึ่ งปี หลังเป็ นมูลค่ามหาศาล เนื่องจากน้ าท่วมทะลักเข้าพื้นที่ศูนย์กลางเศรษฐกิจที่สาคัญของ ประเทศทั้งนิคมอุตสาหกรรมรวม 9 แห่งในจังหวัดพระนครศรี อยุธยาและปทุมธานีตลอดจนพื้นที่ หลายเขตของกรุ งเทพมหานคร โดย ความเสี ยหายได้ขยายวงเพิ่มขึ้นตามการแผ่ของมวลน้ าไปตาม พื้ น ที่ที่เป็ นทางผ่านออกสู่ ทะเล

การวิเคราะห์ผลกระทบสุ ทธิ จากปั ญหาน้ าท่วมที่มีต่อ


52

ภาคอุตสาหกรรมของไทย ซึ่ งจะมีผลเชื่ อมโยงไปยังหลายภาคส่ วนและแนวโ น้มเศรษฐกิจไทย ในช่วงที่เหลือของปี 2554 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 การผลิตภาคอุตสาหกรรมถูกกระทบรอบ 2 จากวิกฤตอุทกภัย นับตั้งแต่ ตน้ ปี 2554 การผลิตภาคอุตสาหกรรมของไทย โดยปัจจัยล่าสุ ดที่เข้ามาในช่วงครึ่ งหลัง ของปี 2554 ก็คือ ภาวะ อุทกภัย ครั้งรุ นแรงในรอบหลายทศวรรษ ซึ่ งได้หกั ล้าง ภาพการฟื้ นตัวจากปั จจัยรอบแรกที่เชื่ อมโยงมาจากเหตุการณ์ภยั พิบตั ิในญี่ปุ่น ช่ วงเดือนมีนาคม 2554 ไปทั้งหมดอีกรอบหนึ่ง สถานการณ์ น้ าท่วม ที่เข้าท่วม พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม 9 แห่งในจังหวัดพระนครศรี อยุธยา และปทุมธานี ส่ งผลกระทบทาให้ โรงงานอุตสาหกรรมหลายแห่ งได้รับความเสี ยหาย หรื อมี ความจาเป็ นต้ องระงับส ายการผลิตซึ่ งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ได้ ประเมินความเสี ยหายเบื้องต้ นว่ามีโรงงานที่อยูใ่ นนิคม อุตสาหกรรม 9 แห่งจานวน 838 โรงงาน นอกนิคมอุตสาหกรรมจานวน 9,021 โรงงาน ผูป้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) จานวน 2.85 แสนราย ตลอดจนแรงงานไม่ต่า ก ว่า 1.8 ล้านคน ได้ รับผลกระทบจาก เหตุการณ์ อุทกภัย ครั้งนี้ อุตสาหกรรมที่ได้รั บผลกระทบค่อนข้างรุ นแรงจากวิกฤต อุทกภัย ปี 2554 ประกอบด้วย


53

ตารางที่ 3-3 อุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบค่อนข้างรุ นแรงจากวิกฤตอุทกภัยปี 2554 อุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ และ

ความสาคัญ และผลกระทบ มีความสา คัญถึงร้ อยละ 27 ของการผ ลิตในภาคอุตสาหกรรม

เครื่ องใช้ไฟฟ้ า

และการส่ งออกโดยรวมของไทย โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้

รับ

ผลกระทบจากปัญหา อุทกภัย ประกอบด้ วย คอมพิวเตอร์ / ส่ วนประกอบ โดยเฉพาะฮาร์ ดดิสก์ได

ร์ฟ แผงวงจรไฟฟ้ า

เครื่ องใช้ ไฟฟ้ า/ส่ วนประกอบ พริ นท์เตอร์ กล้ อง ดิจิตอลทั้งนี้ วิกฤต อุทกภัย น่าจะมีผ ลกระทบต่อห่วงโซ่ การผลิตของกลุ่ม อิเล็กทรอนิกส์มากกว่ากลุ่มเครื่ องใช้ไฟฟ้ า เนื่องจากการผลิตใน กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ อาจเสี ยหายกว่าครึ่ งหนึ่งของการ ผลิตรวม ของประเทศ ยานยนต์และส่ วนประกอบ

อุตสาหกรรมยานยนต์และส่ วนประกอบมีสัดส่ วนประมาณร้ อย ละ 10 ของการผลิตใ นภาคอุตสา หกรรม และการส่ งออก โดยรวมของไทย โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้

รับผลกระทบ ได้ แก่

รถยนต์ ชิ้ นส่ วนและอะไหล่รถยนต์ ทั้งนี้ ผลกระทบ อุทกภัย ไม่ได้ จากัดอยูเ่ ฉพาะในพื้นที่ที่ได้ รับความเสี ยหายโดยตรง เท่านั้น แต่ยงั มีผลทาใ ห้ ผู้ป ระกอบการในพื้นที่อื่นก็ ได้รับ ผลกระทบทางอ้ อมจากการขาดแคลน ชิ้ นส่ วนสาคัญ และต้ อง ประกาศหยุดการผลิตชัว่ คราวเช่นกัน


54

ตารางที่ 3-3(ต่ อ) อุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบค่อนข้างรุ นแรงจากวิกฤตอุทกภัยปี 2554 อุตสาหกรรม โรงสี ขา้ ว

ความสาคัญ และผลกระทบ ภาวะอุทกภัย ครอบคลุมพื้นที่ที่เป็ นแหล่งกระจุกตัวของโรงสี ที่ สาคัญ โดยเฉพาะจังหวัดนครสวรรค์ซ่ ึ งมี โรงสี ขนาดใหญ่แล ะ เป็ นท่าข้ าวสาคัญที่สุดของประเทศ รวมทั้งพื้นที่จงั หวัดพิจิตร อุทยั ธานี อยุธยา และล พบุรี ทั้งนี้ คาดว่า โรงสี ที่ได้ รับความ เสี ยหายอาจสู งถึ ง เกือบร้ อยละ 30 ของประเทศ (เฉพาะโรงสี ขนาดใหญ่และขนาดกลาง)

ผลิตภัณฑ์อาหาร

โรงงานผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้ รับความเสี ยหายโดยตรงจาก อุทกภัย เป็ นทั้งโรงงานที่ผลิตสิ นค้าอาหารเพื่อการส่ งออกและ เพื่อป้ อนร้ านอาหารและภัตตาคารชั้ นนาหลายแห่ง (บางบริ ษทั ที่มีโรงงานที่ต้ งั อยูน่ อกวงกระทบของน้ าท่วม ก็อาจใช้ ผลิตภัณฑ์จากพื้นที่อื่นๆ ทดแทนได้) อย่างไรก็ดีนอกจากปั ญหา ด้านโรงงานผลิตแล้ ว ยังมีปั ญหาอื่ นๆ เช่ น อุปสรรคในการ ขนส่ งวัตถุดิบ การขาดแคลนวัตถุดิบ ซึ่ งผูผ้ ลิตอาจต้ องพิจารณา นาเข้าวัตถุดิบบางประเภท โรงงานเครื่ องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ที่ได้รับผลกระทบจากน้ าท่วม ส่ วนใหญ่ต้ งั อยูใ่ นเขตพื้นที่จงั หวัดพระนครศรี อยุธยา ปทุมธานี และ นครสวรรค์ โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้ รับผลกระทบ เช่ น ชา พร้อมดื่ม กาแฟกระป๋ อง น้ าผลไม้ และน้ าดื่มบรรจุขวด อย่างไร ก็ตาม โรงงานที่ไม่ได้ รับความเสี ยหายน่าจะได้ รับอานิสงส์ จาก ความต้ องการที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากประชาชนมีการซื้ อสิ นค้าจา เป็ น เพื่อเก็บสา รองไว้ในช่ วงอุทกภัย หรื อเพื่อบริ จาคให้ กับผู ้ที่ ประสบอุทกภัย และผูท้ ี่เป็ นอาสาสมัครช่ วยเหลือ โดยเครื่ องดื่ม ประเภทต่างๆ อ าทิ ชาพร้ อมดื่ม น้ าอัดลม เครื่ องดื่มชูกาลัง น้ า ดื่มบรรจุขวด น่าจะมียอดจาหน่ายเพิม่ ขึ้นมาก โดยเฉพาะน้ าดื่ม บรรจุข วดที่คาดว่าจะมียอดจาหน่ายเพิ่มสู งขึ้นกว่าช่ วงปกติ ประมาณร้อยละ 15-20

เครื่ องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์


55

ตารางที่ 3-3(ต่ อ) อุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบค่อนข้างรุ นแรงจากวิกฤตอุทกภัยปี 2554 อุตสาหกรรม อื่นๆ

ความสาคัญ และผลกระทบ อุตสาหกรรมอื่นๆ ที่มีโรงงานผลิตอยู่ ในพื้นที่ประสบ อุทกภัย ได้แก่ รองเท้า สิ่ งทอ เครื่ องประดับ ผลิตภัณฑ์ พลาสติก บรรจุ ภัณฑ์ โลหะ เครื่ องจักร แม่พิมพ์อุตสาหกรรม

เครื่ องมือ

วิทยาศาสตร์ และเลนซ์ 1.2 ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากวิกฤต อุทกภัย สาหรับโรงงาน ที่เครื่ องจักรจมอยู่ ใต้น้ าเป็ นเวลานานอาจต้ องใช้เวลาอีกไม่น้ อยกว่า 3 เดือนกว่าที่จะสามารถฟื้ น กาลังการผลิตกลับคืนสู่ ระดับปกติได้ อุทกภัย ยังสร้ างความสู ญเสี ยต่อพื้นที่ เพาะปลูกและแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของไทยด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ วิกฤตอุทกภัย จะ ส่ งผลกระทบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทยค่อนข้างมากในช่

วงไตรมาส

สุ ดท้ายของปี 2554 ซึ่ งในกรณี พ้นื ฐานนั้น ความสู ญเสี ยต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศหรื อ จีดีพี คิดเป็ นมูลค่าสุ ทธิ 242,200 ล้านบาท แบ่งเป็ นความ เสี ยหายในภาค อุตสาหกรรม 171,900 ล้านบาท (ประมาณร้ อยละ 70 ของความ เสี ยหายทั้งหมด ) ภาคการเกษตร 37,100 ล้านบาท (ประมาณร้ อยละ 15.3 ของ ความเสี ยหายทั้งหมด ) และภาคบริ การ /อื่นๆ รวม 33,200 ล้านบาท (ประมาณ ร้อยละ 13.7 ของความเสี ยหายทั้งหมด) ตารางที่ 3-4 การประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจจากอุทกภัย ผลกระทบ ความสู ญเสี ยสุ ทธิ ต่อผลผลิตในภาคเศรษฐกิจต่างๆ (ล้านบาท) ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริ การและอื่นๆ

กรณี พ้นื ฐาน 242,200 37,100 171,900 33,200


56

ตารางที่ 3-4(ต่ อ) การประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจจากอุทกภัย ผลกระทบ กรณี พ้นื ฐาน ผลต่ออัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ หรื อ จีดีพี (ร้อยละ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปี ก่อน) อัตราการขยายตัวของจีดีพี ประจาไตรมาส 4/2554 -3.3 อัตราการขยายตัวของจีดีพี ปี 2554 1.5 ผลกระทบทางเ ศรษฐกิจจากอุทกภัยดังกล่าว จะเป็ นหนึ่งในตัวแปรที่ฉุด ให้เศรษฐกิจไทย หดตัวลงถึงร้ อยละ 3.3 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันปี ก่อน (YoY) ในไตรมาสที่ 4/2554 แม้ว่าการ บริ โภคและกิจกรรมก่อสร้ างบางส่ วนเพื่อฟื้ นฟูบูรณะในส่ วนของภาคครัวเรื อน อาจสามารถทยอย ฟื้ นตัวขึ้นในช่วงเดือนธันวาคม 2554 หลังระดับน้ าเริ่ มลดลงแล้ วก็ตาม สาหรับภาพรวมทั้งปี 2554 นั้น คาดว่า อัตราการขยายตัวของจีดีพีท้ งั ปี 2554 น่าที่ จะชะลอลงมาอยู่ ที่ร้อยละ 1.5 จากที่ ขยายตัว ร้ อยละ 7.8 ในปี 2553 โดยการผลิตภาคอุตสาหกรรมได้ รับผลกระทบในช่ วงครึ่ งปี แรกและ ครึ่ งปี หลังจากภัยธรรมชาติในและต่างประเทศ ขณะที่ การบริ โภค การลงทุน และการใช้ จ่ายของ ภาครัฐ ก็อยูใ่ นเกณฑ์ที่ซบเซากว่าภาวะปกติ

เนื่องจากถูกกดดันจา กความไม่แน่นอนหลาย

ด้านที่ลว้ นแล้ วแต่มีผลกระทบต่อบรรยากาศกา รจับจ่ายใช้ สอยในประเท ศ (ศูนย์วจิ ยั กสิ กรไทย, http://www.smeclinic.in.th/download/pdf/flood2554.pdf, 21 มกราคม 2555) 2. ผลกระทบต่อทะเลอ่าวไทย ในปี 2554 ตั้งแต่เดือนตุลาคมเป็ นต้นมาหลายจังหวัดใน ประเทศไทย ต่างได้รับความเดือดร้อนจากเหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ โดยมีพ้นื ที่ที่ได้รับผลกระทบ จาก อุทกภัย ครั้งนี้เป็ นจานวนมากตั้งแต่ทางภาคเหนือ

ภาคอีสาน ภาคกลาง และพื้นที่

กรุ งเทพมหานคร ซึ่ งได้สร้างความเสี ยหายแก่ชีวติ ทรัพย์สินของประชาชน และหน่วยงานต่างๆ ใน พื้นที่ที่เกิดอุทกภัยโดยปริ มาณน้ าทั้งหมดที่มีปริ มาณมหาศาลจะถูกเร่ งให้ระบายลงสู่ ทะเลเพื่อแก้ไข ปั ญหาน้ าท่วมขั งซึ่ งอาจจะก่อให้เกิดภาวะน้ าเน่าเสี ย มีกลิ่นเหม็นเน่า และจะเกิดโรคที่มกั จะพบได้


57

เมื่อเกิดภาวะอุทกภัย เช่น โรคฉี่หนู โรคน้ ากัดเท้าจากเชื้อราและแผลพุพองเป็ นหนอง โรคติดเชื้อ ระบบทางเดินอาหาร โรคตาแดง โรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรี ย เส้นทางในการระบายน้ าที่ท่วมขังลงสู่ ทะเล จะไหลผ่านตามแม่น้ าสายหลักของประเทศ ได้แก่ แม่น้ าบางปะกง แม่น้ าเจ้าพระยา และแม่น้ าท่าจีน เพื่อระบายลงสู่ ทะเลทางด้านอ่าวไทยตอน ใน เมื่อน้ าจืดและน้ าเค็มมาปะทะกัน จะเกิดการแบ่งชั้นของมวลน้ าจืดและน้ าเค็ม โดยมวลน้ าจืดซึ่ ง มี น้ าหนักเบาจะลอยอยูท่ ี่หน้าผิวน้ าและมวลน้ าเค็มที่มีความเข้มข้นและน้ าหนักมากกว่าจะอยู่ ด้านล่าง การแบ่งชั้นของมวลน้ านั้นจะทาให้มวลน้ าเค็มไม่ได้สัมผัสกับอากาศ โดยปกติทุกๆ ปี มวล น้ าจืดที่มาจากปริ มาณน้ าฝนและน้ าจากแม่น้ า ลาคลองทั้งหมดภายในประเทศ จะมีปริ มาณไม่มาก ประกอบกับลมและคลื่นที่แรงจะทาให้ช้ นั น้ าทั้งสองผสมกันไปในที่สุด แต่ในปั จจุบนั ที่กาลัง ประสบปั ญหาอุทกภัยครั้งใหญ่ของประเทศ ทาให้มีมวลน้ าจืดปริ มาณมากการแบ่งชั้นของมวลน้ า ระหว่างน้ าจืดและน้ าเค็ม จะมีช้ นั ของมวลน้ าจืดหนามากกว่าในช่วงปกติ และถ้าหากเกิดในวันที่ลม สงบ คลื่นไม่แรง การผสมของชั้นน้ าทั้งสองจะเป็ นแบบค่อยเป็ นค่อยไป การแบ่งชั้นจึงคงระยะเวลา อยูย่ าวนาน ภาพที่ 3-1 การแบ่งชั้นและการผสมของมวลน้ าจืดและน้ าเค็ม

โดยทัว่ ไปแล้วในแหล่งน้ าทุกชนิด ช่วงกลางวันซึ่ งเป็ นช่วงที่มีแสงแดดซึ่ งเป็ นปั จจัยสาคัญ ประการหนึ่งในการสัง เคราะห์แสงของแพลงก์ตอนพืช โดยการสังเคราะห์แสงนี้จะเป็ นการเปลี่ยน คาร์ บอนได้ออกไซด์ที่อยูใ่ นน้ าให้เป็ นน้ าตาลและได้ออกซิ เจนเป็ นผลพลอยได้ออกมาซึ่ งคล้ายกัน กับหน้าที่ของพืชบนบก ในขณะที่เวลากลางคืนที่ไม่มีแสง กระบวนการสังเคราะห์แสงจะหยุด ไม่มี การผลิตออกซิเจน แต่แพลงก์ตอนพืชและสัตว์น้ าต่างๆยังคงต้องใช้ออกซิ เจนเพื่อการหายใจ โดย


58

ปล่อยคาร์ บอนไดออกไซด์ออกมา และระดับคาร์ บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้นจะถูกกาจัดออกไปด้วย กระบวนการสังเคราะห์แสงที่เกิดขึ้นในวันถัดไป ออกซิ เจนในน้ ายังได้มาเรื่ อยๆ จากการละลายจาก ผิวหน้าที่มีคลื่นและลมช่วยทาให้มนั ผสมลงมายังมวลน้ าชั้นล่าง ดังนั้น การผสมกันของชั้นน้ าทั้งสองในช่วงที่มีน้ าหลากมากที่เป็ นแบบค่อยเป็ นค่อยไป การแบ่งชั้นจึงคงระยะเวลาอยูย่ าวนาน ประกอบกับตะกอนที่ละลายอยูใ่ นชั้นน้ าจืดที่เป็ นดินตะกอน ละลายอยูเ่ ป็ นจานวนมากซึ่ งเราจะเห็นเป็ นสี ออกแดงอิฐ ตะกอนนี้จะเป็ นตัวไปบดบังแสงทาให้แสง ส่ องลงไปถึงชั้นน้ าเค็มได้นอ้ ยลงหรื อไม่ถึงเลย ทาให้ช้ นั น้ าเค็มเกิดสภาพที่เป็ นเวลากลางคืนอย่าง ยาวนาน ซึ่ งในที่สุดแล้วออกซิ เจนจะค่อยๆ

ลดลงด้วยกระบวนการหายใจของสิ่ งมีชีวติ ต่างๆ

ในขณะที่คาร์บอนไดออกไซด์เกิดสะสมมากขึ้น นอกจากการที่น้ าทะเลชายฝั่งมีความเค็ม

และปริ มาณออกซิ เจนลดลงอย่างรวดเร็ วไม่

เพียงพอต่อการดารงชีพของสัตว์น้ า จากปริ มาณน้ าจืดที่ถูกระบายลงสู่ ทะเลในปริ มาณมากแล้ว น้ า จืดยังนาพาสารอาหารจากแผ่นดินสารอาหารเหล่านี้ หากมีอยูใ่ นระดับพอดี จะช่วยให้ทะเลอุดม สมบูรณ์ แต่ถา้ มีมากเกินไป จะทาให้แพลงก์ตอนพืชเพิ่มจานวนขึ้นอย่างรวดเร็ ว

ตามด้วย

แพลงก์ตอนสัตว์บางชนิด เกิดปรากฏการณ์ “ขี้ปลาวาฬ” หรื อ “น้ าเบียด” ซึ่ งจะทาให้สัตว์น้ าเกิด อาการช็อค และสัตว์ทะเลตาย ทั้งจากภาวะที่ออกซิ เจนลดน้อยลงจนหมด หรื ออาจตายจากพิษของ แพลงก์ตอนบางกลุ่ม ถ้าหากมีการระบายน้ าที่ท่วมอยูใ่ นขณะนี้จานวนมากลงสู่ ทะเลอ่าวไทยตอน ใน ทาให้น้ าทะเลบริ เวณชายฝั่งมีความเค็มลดลง และออกซิ เจนในน้ าไม่เพียงพอ ต่อสัตว์น้ า จะ ส่ งผลกระทบต่อระบบนิเวศของสิ่ งมีชีวติ ที่อาศัยอยูใ่ นบริ เวณชายฝั่ง โดยจะทาให้สัตว์น้ าต่างๆ เช่น กุง้ หอย ปู ปลา ตายได้ดงั เหตุการณ์ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ที่มีจาพวกปลาฉลาม ปลา กระเบน ปลาดุกทะเล ปลาจวด ปลาลิ้นหมา กุง้ และปลาตัวเล็กตัวน้อยจานวนมากหลายแสนตัวถูก คลื่นซัดลอยขึ้นมาเกยตื้น ตลอดแนวชายหาดชะอา จังหวัดเพชรบุรี โดยชาวบ้านที่อาศัยอยูใ่ น บริ เวณใกล้เคียงต่างแห่กนั มาจับปลาพวกนี้ไปทาอาหาร ดังกล่าวยังคงเป็ นปลาที่สดและไม่เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ

และขายจาหน่าย ซึ่ งปลาที่ตายจากเหตุ


59

ผลกระทบจากการระบายน้ าที่ท่วมขังลงสู่ ทะเลอ่าวไทย ไม่ได้ส่งผลต่อระบบนิเวศทาง ทะเลเท่านั้นยังส่ งผลต่ อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าชายฝั่ง และการท่องเที่ยวบริ เวณอ่าวไทยตอนใน โดย ผลกระทบที่เกิดกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าชายฝั่ง จะเกิดจากมวลน้ าที่เป็ นน้ าท่วมล้น น้ าท่วมทุ่ง น้ า ผ่านเมือง เป็ นน้ าความเค็มต่าออกซิ เจนต่า ค่าปริ มาณออกซิ เจนที่ตอ้ งการเพื่อใช้ไปในกระบวนการ ต่างๆของสิ่ งมีชีวติ ทั้งหมด (Bilogical Oxygen Demand; BOD) สู ง ค่าความเป็ นกรด-ด่าง (pH) อาจ ต่ากว่า 7 มีธาตุอาหาร สารอินทรี ยส์ ู งและมีสารเจือปนอื่นๆ จากชุมชน เขตอุตสาหกรรม และทุ่งที่ น้ าไหลผ่าน ถ้าน้ าลงสู่ อ่าวไทย จะเป็ นน้ าที่สร้างปั ญหาให้กบั อ่าวไทย เพราะสามารถทาให้สัตว์น้ า ตายได้ในทันทีที่มวลน้ าออกสู่ ทะเล โดยอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่างๆ เช่น  ปลาที่เลี้ยงในกระชัง เกิดอาการน็อคน้ า ดิ้นรนหาทางหนีน้ า ชนตาข่าย มุดตาข่าย จนบาดเจ็บ และตาย สัตว์น้ าในบ่อเพาะเลี้ยง ไม่มีน้ าทะเลสะอาดให้เปลี่ยน หรื อ โชคร้าย คือ น้ าท่วมบ่อหลุดออกไป  หอยแมลงภู่ ในพื้นที่ อาเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี และอาเภอคลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม หากมวลน้ าความเค็ม ต่ากว่า 25 ส่ วนในพันส่ วน (ppt) เป็ น เวลานานจะเริ่ มมีปัญหาและตายในที่สุด เมื่อตายไป สภาพพื้นจะเริ่ มเน่าเสี ยหาก การไหลเวียนน้ าไม่ดี  หอยแครง แถวจังหวัดเพชรบุรี ในอาเภอบ้านแหลม ตาบลบางตะบูน และอาเภอ คลองโคน จังหวัดสมุทรสงคราม หากน้ ามีความเค็มต่ากว่า 15 ส่ วนในพันส่ วน (ppt) เป็ นเวลานาน จะเริ่ มตาย  ปลาทูในระยะวัยรุ่ น ที่จะมาหากินแพลงก์ตอน บริ เวณแม่กลอง จนโตเป็ นปลาทู หนุ่มสาว และบางส่ วน จะว่ายลงมาผสมพันธุ์แถวๆ ประจวบคีรีขนั ธ์ อีกรอบหนึ่ง หากน้ ามีความเค็มต่าเกินไปพื้นที่หากินของปลาทู จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์

จะถอยร่ นลงไปอยูแ่ ถวๆ


60

ผลกระทบที่เกิดกับการท่องเที่ยวทางทะเล จะเกิดจากน้ าจากพื้นที่ ที่เกิด อุทกภัย จะเป็ นน้ า เน่าที่ไหลบ่าผ่านแหล่งเกษตร โรงงาน และย่านชุมชน และยังเต็มไปด้วยขยะโดยเป็ นขยะที่ไม่ยอ่ ย สลาย เช่นถุงพลาสติก กระสอบทราย กระป๋ อง รองเท้าแตะ ฯลฯ จานวนมากมายมหาศาล ล่องลอย อยูใ่ นน้ าที่กาลังท่วมหากหลุดจากกรุ งเทพ มหานครลงสู่ อ่าวไทยตอนใน โดยไม่มีป่าชายเลนช่ วย ขวางหรื อดักขยะ มีแต่โรงงานและแหล่งชุมชนช่วยเติมขยะ ขยะเหล่านั้นย่อมหมุนเวียนอยูใ่ นอ่าว ไทยตอนใน และส่ งผลกระทบถึงแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล โดยชายหาดชื่อดัง นับตั้งแต่บางแสน พัทยา เรื่ อยไปจนจรดสัตหีบ ชายหาดเพชรบุรี หัวหิน ฯลฯ จะหนีไม่พน้ วงจรขยะเหล่านี้ โดยขยะที่ ลอยอยูใ่ นทะเล จะถูกคลื่นลมพัดพามาติดชายหาด ทาให้ชายหาดมีปริ มาณขยะเป็ นจานวนมาก ขยะ ที่เป็ นขยะอันตราย เช่น เศษแก้ว เข็มฉีดยา จะก่อให้เกิดอันตรายต่อนักท่องเที่ยว รวมทั้งถ้าขยะที่เข้า มาติดบนชายหาดมีจานวนมาก และไม่ได้รับการจัดการแก้ไข ก็จะทาให้เกิดเป็ นแ หล่งสะสมของ ขยะ มีกลิ่นเหม็นเน่า ความสวยงามและทัศนียภาพของชายหาดลดลงจนไม่เหมาะที่จะท่องเที่ยวได้ ซึ่ งจะส่ งผลให้มีปริ มาณนักท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยน้อยลงและทาให้ประเทศ สู ญเสี ยรายได้จากการท่องเที่ยว ภาพที่ 3-2 ขยะที่ถูกพัดขึ้นมาบนหาดบางแสน


61

เหตุการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในครั้งนี้

นอกจากจะทาให้เกิดความเสี ยหายแก่ชีวติ

และทรัพย์สินแล้ว การระบายน้ าที่ท่วมขังลงสู่ ทะเลอ่าวไทยตอนในยังส่ งผลกระทบไปยัง หลายๆ ด้าน ทั้งระบบนิเวศวิทยาทางทะเลที่ทาให้น้ าทะเลบริ เวณชายฝั่งมีความเค็มและออกซิ เจน ลดลง

ซึ่ งจะมีผลต่อ การดารงชีพของพืชและสัตว์น้ า

ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าชายฝั่ง

จะทาให้สัตว์น้ าต่างๆ เช่น ปลาชนิดต่างๆ หอยแมลงภู่ หอยแครง ที่ถูกเลี้ยงไว้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์ น้ าชายฝั่งเกิดอาการช็อคน้ า และตายได้ นอกจากนั้นยังส่ งผลต่อสภาพแวดล้อมและ ทัศนียภาพของชายหาด จากน้ าเสี ยและปริ มาณขยะที่ถูกพัดพาจากเส้นทางที่น้ าไหลผ่านมา ลงสู่ ทะเล โดยผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นจากการขาดการจัดการในเรื่ องของ ขยะที่มากับน้ า คุณภาพน้ า และการควบคุมปริ มาณน้ าที่จะระบายออกให้อยูใ่ นเกณฑ์ ที่เหมาะสมก่อนการระบายน้ าลงสู่ ทะเล

(สานักจั ดการคุณภาพน้ ากรมควบคุมมล

พิ ษ

, http://wqm.pcd.go.th/water/images/stories/marine/journal/2554/november/floodimpact.pdf, 23 มกราคม 2555) 3. ผลกระทบต่อระบบ โลจิสติกส์ สิ นค้าเกษตร จากสถานการณ์อุทกภัยปี 2554 ทาให้ ประชาชนไทยหลายสิ บล้านคนต้องได้รับผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะปั ญหาสาคัญ คือการขาดแคลนผลิตผลเกษตรเพื่อนามาปรุ งอาหารสาหรับประชาชนโดยทัว่ ไป ทั้งนี้ปัญหานั้น เกิดกับผลิตผลเกษตรทั้งในด้านการผลิตในแปลง ปลูกและด้านโลจิสติกส์หลังการเก็บเกี่ยว โดย อุทกภัยครั้งนี้ทาให้เส้นทางการคมนาคมสาคัญๆ ทั้งของกรมทางหลวงและกรมทางหลวงชนบท จนไม่สามารถสัญจรไปได้กว่า 300 เส้นทาง ซึ่ งส่ งผลต่อการกระจายสิ นค้าจากแหล่งผลิตไปสู่ มือ ประชาชน 3.1 ผลกระทบต่อระบบโลจิสติกส์สินค้าเกษตรภายในประเทศไทย สถานการณ์ การ เกิ ดอุทกภัย ส่ งผลกระทบกับการค้าส่ งผักและผลไม้ และสิ นค้าทางการเกษตร หลายชนิด มีปัจจัยหลักมาจากพื้นที่เพาะปลูกพืชผักถูกน้ าท่วม ถนนหลายสาย ถูกตัดขาด ทาให้การขนส่ งสิ นค้าเป็ นไปด้วยความยากลาบาก สิ นค้าหลายชนิด


62

ในซูเปอร์ มาร์ เก็ต โ มเดิร์นเทรด ตลาดสด ขาดแคลน จนทาให้ผบู้ ริ โภคต้อง ประสบปั ญหาหาซื้ อสิ นค้าไม่ได้และราคาสู งขึ้น 3.1.1 ผลผลิตทางการเกษตรลดลง เนื่องมาจากพื้นที่ปลูกได้รับความเสี ยหาย ปัญหาอุทกภัยทาให้ผลผลิตพืชไร่ และพืชสวนหลายๆ ชนิดฤดูกาลปี นี้มี ปริ มาณลดลง ขาดตลาดเนื่องจาก แหล่งผลิ ตใน นครปฐม ปทุมธานี อยุธยา สิ ง ห์บุรี นครสวรร ค์ พิษณุโลก สุ โขทัย และหลายจังหวัดทาง ภาคเหนือได้รับความเสี ยหาย จนต้องมีการนาเข้าสิ นค้าเกษตรจาก ประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะมีการนาผักและผลไม้นาเข้าจากจี

นมา

ชดเชยตามความตกลงการค้าเสรี (FTA) ไทย-จีน 3.1.2 เส้นทางการขนส่ งถูกตัดขาดจาก

การเกิด อุทกภัย ทั้งสายจากทาง

ภาคเหนือและอีสาน รวมไปถึงสายใต้บางสาย การขนส่ งก็ตอ้ งใช้ เส้นทางอ้อมกว่าจ ะขึ้นมาถึงตลาดปลายทางตามภาคต่าง ๆ ต้องเสี ย ค่าใช้จ่ายน้ ามันให้คนขับรถมากขึ้น และผูบ้ ริ โภคที่มีกาลังซื้ อเองก็ หายไปหลายจังหวัด เช่น นครสวรรค์ ที่ถูกน้ าท่วมหนัก 3.1.3 ตลาดรวบรวมและตลาดค้าส่ ง เช่น ตลาดไท และตลาดสี่ มุมเมือง รวม ไปถึงศูนย์กระจายสิ นค้าของซุ ปเปอร์ มาร์ เก็ตหลายแห่งก็น้ าท่วมหรื อ น้ าล้อมรอบ ทาให้สินค้าที่ถู กจัดส่ งไปแหล่งขายยังภูมิภาคต่าง ๆ ประสบปัญหาการกระจายสิ นค้า ตลาดสี่ มุม เมือง ถูกน้ าท่วมในช่วง ปลายเดือนตุลาคม 2554 ส่ วนตลาดไทถูกน้ าท่วมประมาณร้อยละ 10 ทาให้ยอดการจาหน่ายผักของตลาดไทลดลงร้อยละ 50 ซึ่ งส่ ว นใหญ่ เป็ นกลุ่มผักกิน ใบ เช่น ผักคะน้า ผักกวางตุง้ ผักบุง้ และต้นหอม ส่ วน ผลไม้ซ่ ึงเป็ นสิ นค้าหลักของตลาดไทสิ นค้าหายไปร้อยละ

30-40


63

สาหรั บสิ นค้าที่หายไปจากตลาด ได้แก่ มะม่วง กล้วยหอม และกล้วย น้ าว้า ที่ปลูกมากใน จังหวัดปทุมธานี และส้มโอ จากจังหวัดพิจิตร 3.1.4 สิ นค้ามีการถูกยกเลิกการสั่งซื้ อหรื อสั่งซื้ อสิ นค้าน้อยลง เนื่องจาก ผูบ้ ริ โภคไม่มีกาลังซื้ อ จนเป็ นปั ญหาลูกโซ่ เพราะพ่อคนกลางที่เคยรับ ซื้ อสิ นค้าก็ไม่มีที่วางจาหน่าย ทาให้ชาวสวนจึงต้องรี บระบายสิ นค้า ไม่เช่นนั้นจะกระทบต่อราคาของผลไม้เนื่องจากมีคุณภาพที่ค่อนข้างต่า เมื่อประชาชนส่ วนใหญ่ ถูกน้ าท่วมทั้งในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ประสบอุทกภัย กาลังการซื้ อจึงลดลงอย่างเห็นได้ ชัด ดังนั้นซื้ อผลไม้ส่วนใหญ่จึงมาจากกรุ งเทพมหานคร และภาคใต้เป็ น หลัก 3.2 ผลกระทบต่อระบบโลจิสติกส์ สินค้าเกษตรภายนอกประเทศไทย 3.2.1 การนาเข้าและการส่ งออกสิ นค้าเกษตร อุทกภัย ที่เกิดขึ้นในหลายพื้นที่ ส่ งผลกระทบต่อการผลิตผักและผลไม้ และการเกษตรของไทยเป็ นวง กว้าง ผลิตผลหลายชนิดเริ่ มขาดแคลนจาเป็ นต้องพึ่งพาการนาเข้าจาก ประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนก็มีการ นาเข้าสิ นค้าเกษตรค่อนข้างมากภายหลังไทย- จีนได้เปิ ดเส้นทางสาย R3a เพื่อใช้ลาเลียงขนส่ งสิ นค้านาเข้าและส่ งออกระหว่างทั้ง 2 ประเทศ โดยช่วงวิกฤติปัญหา อุทกภัย ปริ มาณการนาเข้าผักสดจาก สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ลดลงอย่างเห็นได้ชดั ส่ วนใหญ่เป็ นผักกินใบ อาทิ บร็ อก คอลี่ กะหล่าดอก ถัว่ หวาน และถัว่ ลันเตา ทั้งนี้ เนื่องจากเส้นทางขนส่ ง สิ นค้าไปยังตลาดไทซึ่ งเป็ นศูนย์กระจายสิ นค้าถูกน้ าท่วมตัดขาด ทาให้ ผูป้ ระกอบการเกิดความไม่มนั่ ใจ หากนาเข้ามาแล้วไม่มีแหล่งรองรับ และกระจายสิ นค้า ถ้าเก็บไว้นานสิ นค้าอาจเน่าเสี ยได้ ซึ่ งตรงกันข้ามกับ


64

การนาเข้าผลไม้จาก สาธารณรัฐประชาชนจีน กลับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่ วนใหญ่ เป็ นแอปเปิ้ ล สาลี่ ทับทิม ลูกพลับ และส้มจีน เป็ นต้น ซึ่ ง สามารถเก็บได้นาน การกระจายผลไม้ที่นาเข้ายังสามารถกระจายได้ใน ตลาดพื้นที่ภาคเหนือ ส่ วนการส่ งออกไปประเทศอื่นๆ ทางเรื อหรื อ เครื่ องบินนั้น ปริ มาณสิ นค้าส่ งออกลดลงไม่ต่ากว่าร้อยละ 20-30 และ สิ นค้าที่ตอ้ งขนส่ งข้ ามจังหวัด เช่น ข้าว ที่มาจากทางภาคกลางและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ก็จาเป็ นต้องเลื่อนส่ งมอบสิ นค้า ซึ่ งมีผลต่อเนื่อง ไปยังบริ ษทั เดินเรื อขนส่ ง การจองระวางเรื อถูกยกเลิกหรื อขอเลื่อน ออกไปเพราะสิ นค้าไม่สามารถนามาส่ งขึ้นเรื อได้ 3.2.2 การขนส่ งสิ นค้า ในเขตภาคกลางเกือบทั้งหมดและภาคตะวันออกต้อง ใช้รถบรรทุกขนาดใหญ่ที่สูงพอเท่านั้นจึงจะเข้าไปรับสิ นค้าในบริ เวณที่ มีน้ าท่วมขังได้ ซึ่ งทาให้สิ้นเปลืองเพราะเดิมใช้เพียงรถบรรทุกเล็ก เส้นทางบางสายน้ าท่วมสู งมากรถวิง่ ไม่ได้ก็ทาให้การขนส่ งเส้นทางนั้น ชะงักไปด้วย ผลที่จะตามมาคือมีรถขนส่ งสิ นค้าวิง่ น้อยลง มีปัญหาขาด แคลนรถตามมา และอีกปัญหาที่ทาให้ผปู้ ระกอบการวิตกมากคือ การ ส่ งมอบสิ นค้าให้ได้ตามกาหนดเวลาในสัญญาว่าจ้าง บางบริ ษทั จาเป็ นต้องส่ งทางเครื่ องบินแทนซึ่ งทาค่าใช้จ่ายในการขนส่ งเพิ่มขึ้น ประมาณ 10 เท่า 3.2.3 ขาดแคลนเชื้อเพลิง ปั๊ มจ่ายน้ ามันเชื้อเพลิงปิ ดตัวลงหลายปั๊ ม ทาให้มี ปั ญหาขาดแคลนเชื้อเพลิงเพื่อใช้ในการขนส่ ง โดยเฉพาะเชื้อเพลิง NGV (Natural Gas for Vehicles) ซึ่ งสถานีแม่ที่จ่ายก๊าซถูกน้ าท่วม จานวน 5 แห่ง จากทั้งหมด 7 แห่ง ของการปิ โตรเลียมแห่งประเทศไทย 3.2.4 ความขาดแคลนวัตถุดิบ ความเสี ยหายที่เกิดขึ้นนั้นกินวงกว้างถึง อุตสาหกรรมที่ไม่ถูกน้ าท่วมด้วย เพราะประสบปั ญหาด้านการ


65

ขนส่ ง และขาดแคลนวัตถุดิบ บริ ษทั ผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร บางบริ ษทั ต้องหยุดสายการผลิตชัว่ คราวในช่วง

การเกิดอุทกภัย

เนื่อ งจากไม่มีวตั ถุดิบ หลายโรงงานแล้วและต้องแก้ปัญหาด้วยการ นาเข้าแทน ซึ่งทาให้ตน้ ทุนสู งขึ้นมา ก (เฉลิมชัย วงษ์อารี และ ศิริชยั กัลยาณรัตน์ , http://www.phtnet.org/article/view-article.asp?aID=50, 23 มกราคม 2555) 4. ผลกระทบต่อตลาดอสังหาริ มทรัพย์ไทย วิกฤตอุทกภัย ที่เกิดขึ้นจะส่ งผลให้เกิดกา ร เปลี่ยนแปลงรู ปแบบความต้องการด้านที่พกั อาศัยในเรื่ องของทาเลที่ต้ งั และลักษณะที่พกั อาศัยใน เรื่ องทาเลที่ต้ งั ย่านใจกลางธุ รกิจ หรื อ ซี บีดี ซึ่ งได้แก่ ลุมพินี เพลินจิต สี ลม สาทร และสุ ขมุ วิ ทใน ตอนต้น น่าจะเป็ นย่านที่ได้รับความนิยมสู งขึ้นเนื่องจากเป็ นเขตศูนย์กลางธุ รกิจที่จะได้รับการ ป้ องกันเป็ นพิเศษ ในขณะที่ทาเลอื่นจะมีการประเมินอีกครั้งหลังจากเหตุการณ์ อุทกภัย ได้ผา่ นพ้น ไปแล้วว่าทาเลใดปลอดภัยจาก

อุทกภัย มากกว่า ทั้งนี้ ความต้องการที่พกั อาศัยแนวสู ง

หรื อ

คอนโดมิเนียมที่เป็ นอาคารสู งจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากประชาชนอาจจะต้องการซื้ อเพื่อใช้ เป็ นบ้านหลังที่สองในย่านใจกลางเมืองเพื่อเป็ นที่พกั สารอง ผูท้ ี่จะซื้ อที่พกั อาศัยในอนาคตจะให้ ความสาคัญกับการออกแบบโครงการที่คานึงถึงการป้ องกัน อุทกภัย และจะพิจารณามาตร การใน การป้ องกัน อุทกภัย ของแต่ละอาคารเพิ่มมากขึ้น ขณะเดียวกันผูป้ ระกอบการในตลาดบ้านพักอาศัย โดยเฉพาะโครงการใหม่จะจาเป็ นต้องสร้างความมัน่ ใจให้กบั ผูซ้ ้ื อด้วยการออกแบบของโครงการที่ คานึงถึงความเสี่ ยงที่จะเกิดจากอุทกภัยในอนาคต ส่ วนตลาดบ้านพักตากอากาศในพัทยา ชล บุรี หัวหิน ชะอา และจังหวัดอื่นๆ ในละแวก ใกล้เคียงจะได้รับประโยชน์จากวิกฤตในครั้งนี้ เพราะผูท้ ี่พกั อาศัยอยูใ่ นกรุ งเทพมหานครที่มีกาลัง ซื้ อจะมีแนวโน้มที่จะซื้ อบ้านพักตากอากาศนอกเขต กรุ งเทพมหานคร ที่อยูใ่ นระยะขับรถประมาณ 2 - 3 ชัว่ โมง ซึ่งสังเกตได้ชดั จากการที่ในปั จจุบนั มีคนกรุ งเทพมหานคร จานวนมากอพยพไปยัง พัทยาและหัวหินจากเหตุการณ์ อุทกภัย ครั้งนี้ นอกจากนี้ การที่คน กรุ งเทพมหานครอพยพออกนอก เมืองยังเอื้อประโยชน์ต่อตลาดโรงแรมและตลาดเช่าที่พกั อาศัย ซึ่ งซี บี ริ ชาร์ ด เอลลิสเห็นถึงอัตรา


66

การเข้าพักที่ปรับตัวสู งขึ้นของโรงแรมระดับกลาง เซอร์ วสิ อพาร์ ตเมนต์ และอพาร์ ตเมนต์ในย่านใจ กลางเมืองและจังหวัดใกล้เคียง เช่น พัทยา หัวหิ น และแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆจากผูอ้ พยพจาก กรุ งเทพมหานคร ในทางตรงกันข้ามโรงแรมระดับบนใน กรุ งเทพมหานคร มีอตั ราการเข้าพักที่ลด ต่าลง ซึ่งเป็ นผลมาจากการยกเลิกการจองห้องพักของกลุ่มลูกค้าทัวร์ จากต่างประเทศ กลุ่มที่มีการจัด ประชุม และเป็ นผลจากการประกาศเตือนเรื่ องการเดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ ตาม ซี บี ริ ชาร์ ด เอลลิส เชื่อว่า อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศไทยสามารถรับมือกับความ เปลี่ยนแปลงของตลาดได้ และคาดว่าปริ มาณนักท่องเที่ยวที่เดินทางมายังประเทศไทยจะฟื้ น ตัวอย่างรวดเร็ วทันทีที่วกิ ฤติอุทกภัยจบลง ในส่ วนของตลาดอาคารสานักงานและพื้นที่คา้ ปลีกนั้น จะได้รับผลกระทบน้อยมาก และในระยะสั้น ตลาดอาคารสานักงานในปั จจุบนั กาลังประสบกับการชะลอตัวใน เนื่องจากบริ ษทั ต่างๆชะลอการตัดสิ นใจ ในขณะที่ธุรกิจค้าปลีกที่ต้ งั อยูใ่ นทาเลที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจาก การ เกิดอุทกภัย มียอดขายลดลงหรื อต้องปิ ดตัวลง ในระยะยาว ผูค้ า้ ปลีกต่างๆ อาจจาเป็ นต้องทบทวน กลยุทธ์ในการกระจายสิ นค้า และพิจารณาการกระจายตัวของศูนย์กระจายสิ นค้าให้มากยิง่ ขึ้น เพื่อที่จะช่วยลดผลกระทบจากวิกฤติ

อื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาค

ต (CBRE Condo Society,

http://www.facebook.com/note.php?note_id=273482599363162, 23 มกราคม 2555) การช่ วยเหลือของผู้บริจาค หลายๆที่ได้ติดตามข่าวน้ าท่วมกันอย่างใกล้ชิดและได้เห็นถึงสภาพความเป็ นอยูท่ ี่ลาบาก ของผูป้ ระสบอุทกภัยกันแล้วซึ่งเดือดร้อนกันถ้วนหน้าประชาชนในจังหวัดที่ประสบอุทกภัยต้องไร้ ที่อยูอ่ าศัย ขาดแคลนเครื่ องอุปโภคบริ โภค โดยมีหน่วยงานของทั้งทางภาครัฐและเอกชน รวมไปถึง องค์กรอิสระต่างๆ โดยหลากหลายช่องทางที่ผบู ้ ริ จาคได้ทาการช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย ซึ่ งมีการ บริ จาคทั้งสิ่ งของและบริ จาคเงินตามจุดต่างๆ อาทิ หน่ วยงานทีร่ ับบริจาคสิ่ งของ ได้ แก่


67

1. กรมการขนส่ งทางบก 2. สานักงานพุทธมณฑล 3. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4. ศูนย์รับบริ จาคที่ศูนย์เยาวชนเทศบาลเมืองชัยภูมิ 5. สานักข่าว ไอเอ็นเอ็น จากัด 6. ศูนย์อาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง 7. กระทรวงสาธารณสุ ข 8. โรงพยาบาลศิริราช 9. จุดรับบริ จาคเงินและสิ่ งของช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย จังหวัดสุ รินทร์ 10. ศูนย์อานวยการเฉพาะกิจรับบริ จาคเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยจังหวัดสกลนคร 11. กรมประชาสัมพันธ์ ช่อง 11 The National Broadcasting Services of Thailand 12. มูลนิธิซีเมนต์ไทย 13. บริ ษทั โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จากัด (มหาชน) 14. มูลนิธิกระจกเงา 15. การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค 16. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 17. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 18. สานักผูแ้ ทนการค้าไทย 19. วุฒิสภา 20. ศาลากลางจังหวัดภูเก็ต 21. มูลนิธิกุศลธรรมภูเก็ต 22. กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย 23. โรงพยาบาลมหาราช จ.นครราชสี มา 24. อาสาสมัครฟื้ นฟูประเทศไทย 25. สถานีวทิ ยุโทรทัศน์ไทยทีวสี ี ช่อง 3 26. องค์การสื่ อสารมวลชนแห่งประเทศไทย


68

27. ทีวไี ทยร่ วมกับกองทัพอากาศ 28. สานักข่าวเนชัน่ 29. สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 30. สถานีวทิ ยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 31. กรุ งเทพมหานคร 32. ศูนย์รับบริ จาคสิ่ งของจังหวัดโคราช 33. กระทรวงคมนาคม 34. องค์การขนส่ งมวลชนกรุ งเทพ 35. ศูนย์การค้าฟิ วเจอร์พาร์ค รังสิ ต 36. สานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร 37. พรรคภูมิใจไทย 38. ศูนย์ช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย กองทัพเรื อ 39. ศูนย์ปฏิบตั ิการกระทรวงพาณิ ชย์เพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย หน่ วยงานทีร่ ับบริจาคเงิน ได้ แก่ 1. กรมการขนส่ งทางบก 2. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 3. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. ไปรษณี ยไ์ ทย 5. รัฐบาลไทย 6. ศูนย์ช่วยเหลือผูป้ ระสบสาธารณภัย (อุทกภัย) จังหวัดเชียงใหม่ 7. ซี พีออลล์ร่วมกับกองทัพบก 8. สานักข่าว ไอเอ็นเอ็น จากัด 9. กระทรวงสาธารณสุ ข 10. ศูนย์อานวยการเฉพาะกิจรับบริ จาคเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยจังหวัดสกลนคร 11. มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์


69

12. ธนาคารทหารไทย จากัด (มหาชน) 13. กรมประชาสัมพันธ์ ช่อง 11 The National Broadcasting Services of Thailand 14. มูลนิธิกระจกเงา 15. การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค 16. สถานีโทรทัศน์ Spring News 17. มูลนิธิ 1500 ไมล์ 18. วุฒิสภา 19. ธนาคารออมสิ น 20. โรงพยาบาลมหาราช จ.นครราชสี มา 21. สถานีวทิ ยุโทรทัศน์ไทยทีวสี ี ช่อง 3 22. องค์การสื่ อสารมวลชนแห่งประเทศไทย 23. ทีวไี ทยร่ วมกับกองทัพอากาศ 24. สานักข่าวเนชัน่ 25. สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 26. สถานีวทิ ยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 27. มูลนิธิสยามกัมมาจล-ไทยพาณิ ชย์ เพื่อผูป้ ระสบภัย 28. กรุ งเทพมหานคร 29. สภากาชาดไทย 30. กระทรวงคมนาคม 31. ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบัญชาการป้ องกันชายแดนจันทบุรีและตราด 32. ศูนย์ปฏิบตั ิการกระทรวงพาณิ ชย์เพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย ทั้งนี้การส่ งความช่วยเหลือจากคนต่างพื้นที่สามารถ

ทาได้อย่างรวดเร็ วที่สุดคงจะหนี

ไม่พน้ การสื่ อสารด้วยระบบ Social Network เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต ทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน แล ะ ส่ วนสาคัญจากภาคประชาชนที่พร้อม ผนึกกาลัง เพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบ อุทกภัย ตัวอย่างเช่น เพียงคลิก Like Fanpage facebook มากมาย อาทิ เช่น Krupanan FB, GunPun FB, EzyBot Club FB


70

โดยจะมียอดบริ จาคขึ้นอยูก่ บั จานวน

Like หรื อจะเป็ นช่องทางจาก ทวิตเตอร์

(http://www.green.in.th/node/2303, 23 มกราคม 2555)

#thaiflood


บทที่ 4 ผลการศึกษามาตรการทางภาษีช่วยเหลืออุทกภัยปี 2554 จากสถานการณ์การเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ของประเทศไทย ทาให้รัฐบาลหรื อหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องต้องช่วยกันออกมาตรการเพื่อช่วยบรรเทาภาระภาษีผปู ้ ระสบอุทกภัย เช่น เรื่ องการยกเว้น ภาษีจากเงินชดเชย หรื อเงินที่ได้รับจากการช่วยเหลือ ไม่เพียงแต่มาตรการช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย รัฐบาลยังออกมาตรการทางภาษีที่จะช่วยผูท้ ี่บริ จาคทรัพย์สิน หรื อเงิน เพื่อเป็ นการกระตุน้ ให้ ประชาชนมีการช่วยเหลือผูท้ ี่ประสบอุทกภัย นอกจากนี้ยงั ทาให้ผทู ้ ี่บริ จาคได้ผลประโยชน์จากการ บริ จ าค ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องของการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มหรื อสามารถนาไปหักเป็ น ลดหย่อนสาหรับ เงินหรื อทรัพย์สินที่บริ จาคได้ จากสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในปี 2554 จึง ทาให้รัฐบาลมีการเร่ งสั่งการให้หน่วยงาน ต่างๆ ให้ดาเนินการให้ความช่วยเหลือกับผูป้ ระสบอุทกภัย ซึ่ งทั้งภาครัฐและภาคเอกชนได้เปิ ดรับ บริ จาคเงินและสิ่ งของเพื่อรวบรวมส่ งไปช่วยเหลือบรรเทาทุกข์

จึงทาให้กรมสรรพากรได้ออก

มาตรการทางภาษีเพื่อให้ผปู้ ระสบอุทกภัยและผูบ้ ริ จาค สามารถนาเงินหรื อมูลค่าทรัพย์สินที่บริ จาค นามาหักเป็ นค่าลดหย่อนได้ (กรมสรรพากร, 1 กุมภาพันธ์ 2555) ดังนั้นปั ญหาพิเศษเล่มนี้จึงได้แบ่ง ผลการศึกษาออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผูป้ ระสบอุทกภัย และกลุ่มผูบ้ ริ จาค ได้ดงั นี้ กลุ่มผู้ประสบอุทกภัย จากเหตุการณ์อุทกภัยในปี พ.ศ. 2554 ที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดความเสี ยหายอย่างมากและกระทบ ต่อผูเ้ สี ยภาษีท้ งั บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลซึ่ งได้รับความเดือดร้อน

รัฐบาลจึงได้มีการช่วย ผ่อน

คลายความทุกข์ร้อนของผูป้ ระสบอุทกภัยได้บางส่ วนในทางด้านการเสี ยภาษี ดังนี้


71

1. บุคคลธรรมดา บุคคลธรรมดา จะต้องเสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่ง ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คือ ภาษีที่ จัดเก็บจากบุคคลทัว่ ไป หรื อจากหน่วยภาษีที่มีลกั ษณะพิเศษ ตามที่กฎหมายกาหนดและมีรายได้ เกิดขึ้นตามเกณฑ์ที่กาหนด โดยปกติ จะจัดเก็บเป็ นรายปี รายได้ที่เกิดขึ้นในปี ใดๆ ผูม้ ีรายได้มีหน้าที่ ต้องนาไปแสดงรายการตนเองตามแบบแสดงรายการภาษีที่กาหนดภายในเดือนมกราคมถึงมีนาคม ของปี ถัดไป จะได้รับสิ ทธิคือ 1.1

รัฐบาลช่วย 5,000 บาทต่อครอบครัว ให้กบั ผูป้ ระสบอุทกภัย หรื อ ได้รับเงิน ช่วยเหลือเพื่อชดเชยความเสี ยหายจากส่ วนราชการหรื อภาคเอกชน แต่จะต้อง ไม่เกิน ค่าความเสี ยหายที่ได้รับ โดยเงื่อนไขว่าผูป้ ระสบอุทกภัยจะต้องไป ลงทะเบียนกับทางราชการก่อน ซึ่ งเงินที่ได้รับนี้ไม่นบั เป็ นรายได้ ตัวอย่ าง กรณี ได้ รับเงินจากเหตุการณ์ ภัยพิบัตินา้ ท่ วมเพื่อเยียวยาผู้ประสบภัยที่ นา้ ท่ วมขังเกิน 7 วัน โดยเงินที่ได้ รับไม่ ถือเป็ นรายได้ ของปี นั้น ในปี พ.ศ. 2554 นายจ้อย มีเงินเดือน เดือนละ 13,000 บาท ได้รับเงินช่วยเหลือ จากรัฐบาล เป็ นเงิน 5,000 บาท วิธีคานวณ เงินได้ (เงินเดือน รวมทั้งปี 13,000*12) หัก ค่าใช้จ่าย 40 % หัก ค่าลดหย่อนผูม้ ีเงินได้ เงินได้สุทธิ หลังหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน เงินได้สุทธิ

156,000 บาท 60,000 บาท 30,000 บาท 66,000 บาท 66,000 บาท


72

ดังนั้น เงินได้ของนายจ้อยที่นามาคานวณเพื่อเสี ยภาษี จะไม่นาเงินจานวน 5,000 บาท ที่ได้รับมารวมคานวณเป็ นเงินได้เพื่อเสี ยภาษี 1.2

รัฐ บาลให้เงินที่บา้ นเสี ยหายทั้งหลัง ไม่เกิน 30,000 บาท ถ้า เสี ยหายบางส่ วน ได้รับไม่เกิน 20,000 บาท ซึ่ งเงินจานวนนี้ได้รับการยกเว้นภาษี ซึ่ งเงินที่ได้น้ ี ไม่นบั เป็ นรายได้ ตัวอย่ าง กรณี ได้ รับเงินจากเหตุการณ์ อุทกภัย หลังนา้ ลดเพื่อฟื ้ นฟูเยียวยา โดย เงินที่ได้ รับไม่ ถือเป็ นรายได้ ของปี นั้น ในปี พ.ศ. 2554 นายสบโชค ได้รับเงินเดือนจากบริ ษทั รักชาติ จากัด เดือนละ 30,000 บาท ตลอดปี ภริ ยาไม่มีเงินได้แต่อย่างใด นายสบโชคได้รับเงินจาก รัฐบาลเป็ นเงิน 30,000 บาท เนื่องจากน้ าท่วมบ้านเสี ยหายทั้งหลัง วิธีคานวณ เงินได้ (เงินเดือน รวมทั้งปี 30,000*12) หัก ค่าใช้จ่าย 40 % หัก ค่าลดหย่อนผูม้ ีเงินได้ 30,000 ภริ ยา 30,000 เงินได้สุทธิ หลังหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน เงินได้สุทธิ

360,000 บาท 60,000 บาท 60,000 บาท 240,000 บาท 240,000 บาท

ดังนั้น เงินได้ของนายสบโชคที่นามาคานวณเพื่อเสี ยภาษี จะไม่นาเงินจานวน 30,000 บาท ที่ได้รับมารวมคานวณเป็ นเงินได้เพื่อเสี ยภาษี 1.3

การซ่อมแซมบ้านรวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ในการซ่อมแซมทรัพย์สิน มีรายการให้ หักค่าลดหย่อนไม่เกิน 100,000 บาท ถ้าใช้สิทธิยกเว้นในปี ภาษี พ.ศ. 2554 และ ปี ภาษี พ .ศ. 2555 ทั้งสองปี ภาษี ให้ได้รับสิ ทธิ ยกเว้นรวมกันไม่เกิน 100,000


73

บาท โดยจะต้องได้รับความเสี ยหายจาก เหตุอุทกภัยตั้งแต่วนั ที่ 25 กรกฎาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 ตัวอย่ าง ค่ าใช้ จ่ายในการซ่ อมแซมบ้ าน จะต้ องเป็ นบ้ านพักที่อยู่อาศัย อาคารชุด ที่ได้ รับผลกระทบจากปั ญหาอุทกภัย ตั้งแต่ วนั ที่ 25 กรกฎาคม 2554 และต้ อง เป็ นพืน้ ที่ ที่ทางราชการประกาศให้ เป็ นพืน้ ที่ภัยพิบัติ ในปี พ .ศ. 2554 นายสันติ ได้รับเงินเดือนจากบริ ษทั สยามมอเตอร์ เดือนละ 40,000 บาท ตลอดปี ภริ ยาไม่มีเงินได้แต่อย่างใด นายสันติได้จ่ายเบี้ยประกัน ชีวติ ให้กบั บริ ษทั เมืองไทยประกันชีวติ จากัด เป็ นเงิน

10,800 บาท อายุ

กรมธรรม์ 20 ปี บ้านพักของนายสันติเสี ยหายหนักได้ทาการซ่อมแซมเป็ นเงิน 85,000 บาท วิธีคานวณ เงินได้ (เงินเดือน รวมทั้งปี 30,000*12) หัก ค่าใช้จ่าย 40 % หัก ค่าลดหย่อนผูม้ ีเงินได้ ภริ ยา ค่าซ่อมแซมบ้านไม่เกิน100,000 เงินประกันชีวติ เงินได้สุทธิ 1.4

360,000 บาท 60,000 บาท 30,000 30,000 85,000 10,800 155,800 บาท 144,200 บาท

การซ่อมแซมรถยนต์รวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ในการซ่อมแซม รัฐบาลให้เงินไม่เกิน 30,000 บาท และหากมีรถยนต์เกินกว่า 1 คัน ให้ได้รับสิ ทธิ ในการยกเว้นภาษี รวมกันทั้ง 2 คันตามจานวนที่จ่ายจริ งแต่ไม่เกิน 30,000 บาท ถ้าใช้สิทธิยกเว้น ในปี ภาษี พ .ศ. 2554 และปี ภาษี พ .ศ. 2555 ทั้ง 2 ปี ภาษี ให้ได้รับสิ ทธิยกเว้น รวมกันแต่ตอ้ งไม่เกิน 30,000 บาท โดยจะต้องได้รับความเสี ยหายจาก เหตุ อุทกภัยตั้งแต่วนั ที่ 25 กรกฎาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554


74

ตัวอย่ าง ค่ าใช้ จ่ายในการซ่ อมแซมรถยนต์ รวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ ใช้ สิทธิ ยกเว้ นใน ปี ภาษี พ.ศ. 2554 ในปี พ.ศ. 2554 นายวิจิตร ได้รับเงินเดือน เดือนละ 13,000 บาท มีรถยนต์ 2 คัน ได้นาไปซ่อมแซม รวมเป็ นเงิน 45,000 บาท วิธีคานวณ เงินได้ (เงินเดือน รวมทั้งปี 13,000*12) 156,000 บาท หัก ค่าใช้จ่าย 40 % 60,000 บาท หัก ค่าลดหย่อนผูม้ ีเงินได้ 30,000 บาท เงินได้สุทธิ หลังหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน 66,000 บาท หัก ค่าซ่อมแซมรถยนต์ 30,000 บาท เงินได้สุทธิ 36,000 บาท 1.5

ผูม้ ีรายได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน จากการประกอบวิชาชีพอิสระ เช่น กฎหมาย การประกอบโรคศิลป์ วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี จากการรับเหมา ก่อสร้าง และจากการประกอบธุ รกิจและการพาณิ ชย์ ซึ่งผูป้ ระสบอุทกภัย ไม่ ต้องเอาเงินได้น้ นั มาเสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา แต่มีเงื่อนไข คือจะได้รับ ยกเว้นเท่ากับจานวนที่ เสี ยหายจริ งตามที่ได้ลงทะเบียนแจ้งไว้กบั หน่วยงาน ราชการ ตัวอย่ าง ผู้มีรายได้ จากการให้ เช่ าทรั พย์ สิน จากการประกอบวิชาชี พอิสระ ในปี พ.ศ. 2554 นายโชคดีประกอบกิจการค้าขายสิ นค้าเบ็ดเตล็ด (ซื้ อมาขาย ไป) ขายสิ นค้าตลอดปี ทั้งภาษีได้เงินทั้งสิ้ น 1,000,000 บาท มีภริ ยาที่ถูกต้อง ตามกฎหมาย โดยในปลายเดือนตุลาคมการขายสิ นค้าเบ็ดเตล็ดของนายโชคดี


75

ได้รับผลกระทบจากเหตุอุทกภัย และได้จดั การแจ้งกับหน่วยงานราชการ โดย ได้นาหลักฐานเอกสารใบเสร็ จระบุจานวนเงิน 50,000 บาทเพื่อขอยกเว้น

วิธีคานวณ เงินได้จากการขายสิ นค้าทั้งปี หัก ค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาร้อยละ 80 หัก ค่าลดหย่อนผูม้ ีเงินได้ 30,000 ภริ ยา 30,000 เงินได้สุทธิ

1,000,000 บาท 800,000 บาท 60,000 บาท 140,000 บาท

2. นิติบุคคล นิติบุคคล จะต้องเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล ซึ่งภาษีเงินได้นิติบุคคล คือ ภาษีอากรประเภท หนึ่งที่บญั ญัติไว้ ในประมวลรัษฎากร และเป็ นภาษีทางตรง จัดเก็บจากเงินได้ของ บริ ษทั หรื อห้าง หุ น้ ส่ วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์ หมายความรวมถึงนิติบุคคล อื่นๆ ที่ไม่ได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ดว้ ยจะได้รับสิ ทธิ คือ 2.1

กิจการ ที่มีทรัพย์สินเสี ย หายจานวนมากและ ไม่มีการทาประกันภัยไว้ จะ สามารถตัดเป็ นรายจ่ายได้ทนั ที

แต่ ถา้ เกิด ทาประกันภัย และได้รับเงินค่า

สิ นไหมทดแทนเพื่อชดเชยความเสี ยหาย จะทาการยกเว้นภาษี เงิ นได้นิติบุคคล สาหรับค่าสิ นไหมทดแทนเฉพาะส่ วนที่เกินมูลค่าต้นทุนของทรัพย์สินที่เหลือ จากการหักค่าสึ กหรอและค่าเสื่ อมราคาแล้ว ตัวอย่ าง กิจการที่มีทรั พย์ สินเสี ยหายจานวนมากและมีการทาประกันภัยไว้ ในปี พ.ศ. 2554 บริ ษทั ไชโย จากัด เครื่ องจักรของบริ ษทั ได้ทาประกันภัยไว้ โดยในระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคมเครื่ องจักรได้รับความเสี ยหาย


76

สุ ทธิจากอุทกภัย 10,000,000 บาท ซึ่ งบริ ษทั ประกันภัยได้จ่ายเงินค่าสิ นไหม ทดแทน 10,005,000 บาท กาไรสุ ทธิ สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีเท่ากับ 7,005,000 บาท เดบิต เงินสด

10,005,000

ค่าเสื่ อมราคาสะสม-เครื่ องจักร

500,000

เครดิต เครื่ องจักร

10,500,000

กาไรจากเงินสิ นไหมทดแทน

5,000

วิธีคานวณ กาไรสุ ทธิ ท้ งั รอบระยะเวลาบัญชี

7,005,000 บาท

หัก ส่ วนเกินค่าสิ นไหมทดแทน

5,000 บาท

กาไรสุ ทธิ ทางภาษี ภาษีเงินได้นิติบุคคล (7,000,000 x 30%)

7,000,000 บาท 2,100,000 บาท

ดังนั้น จานวนเงินค่าสิ นไหมทดแทนเฉพาะส่ วนที่เกินมูลค่าต้นทุนเครื่ องจักรที่ บริ ษทั ไชโย จากัด ได้รับ 5,000 บาท ได้รับการยกเว้นภาษี 2.2

บริ ษทั ที่มีสานั กงานใหญ่หรื อสาขาอยูใ่ นพื้นที่ ได้รับ ประส บอุทกภัย และ จาเป็ นต้องยืน่ รายการภาษีมูลค่าเพิ่มหรื อภาษีธุรกิจเฉพาะ ให้ยนื่ รายการเฉพา ะ ในส่ วนของสานักงานใหญ่หรื อสาขาที่ไม่ได้รับผลกระทบก่อน และสานักงาน ที่ได้รับอนุมตั ิให้เก็บเอกสารนอกสถานประกอบการ โดยสถานที่ที่เก็บเอกสาร ได้รับผลกระทบ จนไม่สามารถคานวณภาษีได้ ได้มีการ ขยายเวลาให้ยนื่ ได้ จนถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2554 โดยไม่ตอ้ งเสี ยเบี้ยปรับ และเงินเพิ่ม


77

2.3

ถ้าหลักฐานเอกสารทางภาษีเสี ยหายหรื อสู ญหาย ให้แจ้งความไว้เป็ นหลักฐาน ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สถานีตารวจท้องที่

หรื อสานักงานใดที่ ไม่เข้า

หลักเกณฑ์และเงื่อนไขข้างต้น ให้ทาคาร้องชี้แจงเหตุผล

และหากมีปัญหา

ในทางปฏิบตั ิ ให้ติดต่อ กับสานักงานสรรพากรพื้นที่ เพื่อเป็ นการอานวยความ สะดวกกรมสรรพากร ได้ ขอให้สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาอานวยความ สะดวกในการรับแบบต่างท้องที่ดว้ ย

และได้ ขยายเวลาการยืน่ แบบแสดง

รายการและชาระภาษีอากร 3. ผูท้ ี่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) สิ ทธิ และประโยชน์ดา้ นภาษีอากรที่ผไู ้ ด้รับการส่ งเสริ มการลงทุนได้รับจาก สานักงาน คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน ก่อนการเกิดอุทกภัยสามารถสรุ ปได้ (สมเดช โรจน์คุรีเสถียร , 2545: 16-18) ดังนี้ 1. การทาลายสิ นค้าและวัตถุดิบ มีทางปฏิบตั ิสาหรับผูป้ ระกอบการ 2 วิธี เมื่อมีการทาลาย ต้องให้เป็ นไปตามวิธีปฏิบตั ิทางการค้าอันเป็ นที่ยอมรับกันทัว่ ไปและเป็ นไปตามคาสั่ง กรมสรรพากร หากปฏิบตั ิตามก็จะไม่ถือว่าเป็ นการขายสิ นค้า กิจการไม่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจาก มูลค่าสิ นค้าที่ทาลาย และสามารถตัดมูลค่าสิ นค้านั้นออกจากรายงานสิ นค้าและวัต ถุดิบ ได้ (สมเดช โรจน์คุรีเสถียร, 2545: 210-211) 2. ให้ได้รับลดหย่อนอากรขาเข้าสาหรับเครื่ องจักรกึ่งหนึ่ง เฉพาะเครื่ องจักรที่มีอากรขาเข้า ไม่ต่ากว่าร้อยละ 10 (สมเดช โรจน์คุรีเสถียร, 2545: 16) 3. ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นระยะเวลา 3 ปี สาหรับโครงการที่ต้ งั สถาน ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมหรื อในเขตอุตสาหกรรมที่ได้รับการส่ งเสริ มทั้งนี้ผไู ้ ด้รับการ ส่ งเสริ มในโครงการที่มีขนาดการลงทุน ตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป (ไม่รวมค่าที่ดินและทุน หมุนเวียน ) จะต้องดาเนินการให้ได้รับใบรับรองระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9000 หรื อ มาตรฐานสากลอื่นที่เทียบเท่าภายในระยะเวลา 2 ปี นับตั้งแต่วนั เปิ ดดาเนินการ หากไม่สามารถ


78

ดาเนินการได้จะถูกเพิกถอนสิ ทธิและประโยชน์การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี (สมเดช โรจน์คุ รี เสถียร, 2545: 16) จากสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นใน ปี 2554 ได้สร้างความเสี ยหายทางเศรษฐกิจเป็ นอย่าง มาก โดยมีโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับสิ ทธิ ส่งเสริ มการลงทุนจากคณ ะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) ประสบกับปั ญหา อุทกภัย ประมาณ 2,919 โครงการ คิดเป็ นวงเงินลงทุนรวมทั้งสิ้ น 620,848 ล้านบาท เพื่อเป็ นการสร้างความเชื่อมัน่ ต่อการลงทุ นในระยะยาว จึงมีมาตรการช่วยเหลือผูป้ ระสบ อุทกภัยที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน ดังนี้ 1. วัตถุดิบที่ได้รับการยกเว้นอากรขาเข้าเพื่อนามาใช้ในการผลิตเพื่อส่ งออกหากได้รับ ความเสี ยหายและไม่มีเศษซากเหลืออยูก่ ็ ไม่มีภาระภาษี อากร เนื่องจากการเกิดอุทกภัยทาให้วตั ถุดิบ เสี ยหาย ซึ่ งไม่ถือเป็ นการขายจึงทาให้กิจการไม่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจากวัตถุดิบนั้น 2. ขยายเวลาการยกเว้นอากรขาเข้าเครื่ องจักรใหม่ที่นามาทดแทนเครื่ องจักรเดิมที่ได้รับ ความเสี ยหายจากอุทกภัยออกไปอีก 6 เดือน ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2555 จนถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2555 3. มาตรการทัว่ ไปสาหรับผูป้ ระกอบการที่ได้รับความเสี ยหายโดยตรงจากอุทกภัย จะต้อง เป็ น ผูป้ ระกอบการที่ได้รับการส่ งเสริ มอยูเ่ ดิม ที่มีเครื่ องจักร และหรื ออาคารโรงงาน ได้รับความ เสี ยหายจากอุทกภัย และเป็ นประเภทกิจการที่อยูใ่ นข่ายได้รับส่ งเสริ มภายใต้หลักเกณฑ์ปัจจุบนั โดย แบ่งการให้สิทธิ ประโยชน์เป็ น 2 กรณี

3.1

หากเป็ นโครงการที่ได้รับการส่ งเสริ มอยูเ่ ดิมที่ได้รับสิ ทธิ และประโยชน์ยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยโครงการที่จากัดวงเงินภาษีที่ยกเว้น ให้ถือเสมือนเป็ น โครงการใหม่ โดยให้ได้รับสิ ทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี หากโครงการดังกล่าวยัง มีการลงทุนในจังหวัดเดิมที่ประสบอุทกภัย จะให้ ได้รับวงเงินภาษีที่ยกเว้นในอัตราร้อยละ 150 ของเงินลงทุน รวมกับวงเงินภาษี ที่ได้รับอยูเ่ ดิมที่ยงั เหลืออยู่ แต่หากย้ายไปลงทุนในจังหวัดอื่น ให้ได้รับยกเว้น ภาษีร้อยละ 100 ของเงินลงทุน


79

3.2

กรณี โครงการที่ได้รับการส่ งเสริ มอยูเ่ ดิมที่ได้รับสิ ทธิ และประโยชน์ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล โดยไม่จากัดวงเงินภาษีที่ยกเว้น ให้ได้รับสิ ทธิและประโยชน์ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิม่ จากสิ ทธิ และประโยชน์ที่เหลืออยูต่ ามโครงการ เดิมอีกไม่เกิน 3 ปี แต่รวมแล้วไม่เกิน 8 ปี หากโครงการใดยังเหลือระยะเวลา การให้สิทธิ และประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลมากกว่า 5 ปี ให้ได้รับ สิ ทธิ และประโยชน์เพิ่มเติม คือ หากเหลือระยะเวลายกเว้นภาษีเงินได้มากกว่า 5-6 ปี ให้ได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 อีก 2 ปี หากเหลือ ระยะเวลายกเว้นภาษีเงินได้มากกว่า 6-7 ปี ให้ได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้ นิติบุคคลร้อยละ 50 อีก 4 ปี และหากเหลือระยะเวลายกเว้นภาษีเงินได้มากกว่า 7-8 ปี ให้ได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 อีก 5 ปี

นอกจากนี้ จากเหตุการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นทางคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) ยังได้ ออกมาตรการด้านอื่นๆ นอกเหนือจากมาตรการเดิมที่มี เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์อุทกภัยที่ เกิดขึ้นและเพื่อช่วยเหลือนักลงทุนบรรเทาความเดือดร้อนจากอุทกภัย ดังนี้ 1. มาตรการฟื้ นฟูภาพลักษณ์ประเทศไทยและสร้างความเชื่อมัน่ แก่นกั ลงทุน เพื่อป้ องกัน ไม่ให้นกั ลงทุนย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศอื่น นอกจากนี้ยงั มีการกระตุน้ ให้นกั ลงทุนเกิดการ ลงทุนใหม่ จัดตั้ง คณะอนุกรรมการส่ งเสริ มภาพลักษณ์ประเทศไทย โดยมี รัฐมนตรี วา่ การกระทรวง อุตสาหกรรม เป็ นประธาน และบีโอไอ เป็ นฝ่ ายเลขานุการ เพื่อทาแผนงาน งบประมาณ และบูรณา การ การทางานร่ วมกับหน่วยงานอื่นๆ และดาเนินกิจกรรมต่างๆ เช่น การประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ ของประเทศให้ชาวต่างชาติได้รับรู ้ถึงภาพลักษณ์ที่ดี ผ่านสื่ อชั้นนาต่างๆ ของโลก การจัดคณะ ผูบ้ ริ หารเพื่อเดินทางไปชี้แจงแก้ขอ้ สงสัย และปั ญหาต่างๆแก่นกั ลงทุนโดยตรง และการจัดงาน บีโอ ไอแฟร์ เพื่อแสดงศักยภาพของอุตสาหกรรมไทยตลอดจนเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ เป็ นต้น 2. อนุญาตให้ผปู้ ระกอบการ สามารถย้ายเครื่ องจักรหรื อวัตถุดิ บไปไว้นอกโรงงานได้ใน กรณี ฉุกเฉิ น เนื่องจากเครื่ องจักรที่ใช้ในอุตสาหกรรมที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน ได้รับยกเว้น อากรขาเข้า หรื อมีการลดหย่อนอากรขาเข้าเครื่ องจักร ทาให้ตอ้ งมีการขออนุญาตในการเคลื่อนย้าย เครื่ องจักรก่อนออกจากโรงงาน


80

3. มาตรการเร่ งรัดการอนุมตั ิวซี ่า และใบอนุญาตทางานสาหรับผูช้ านาญการต่างชาติ เพื่อให้สามารถเดินทางเข้ามาช่วยฟื้ นฟูโครงการที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยได้สะดวกมากขึ้น 4. มาตรการสาหรับ ผูพ้ ฒั นา นิคมหรื อเขตอุตสาหกรรม ทั้งที่ได้รับความเสี ยหาย จาก อุทกภัย และไม่ได้รับความเสี ยหายจากอุทกภัย เพื่อช่วยเหลือนิคมหรื อเขตอุตสาหกรรมที่ได้รับการ ส่ งเสริ ม ให้มีการลงทุนเพื่อพัฒนาหรื อปรับปรุ ง พื้นที่เพื่อ ป้ องกันอุทกภัยในอนาคต โดยจะให้สิทธิ และประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี และขยายวงเงินยกเว้นภาษีที่จะได้รับ จากเดิมไม่เกิน ร้อยละ 100 เป็ นไม่เกินร้อยละ 200 ของเงินลงทุน ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ทั้งนี้ ผูข้ อรับการ ส่ งเสริ มจะต้องดาเนินการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานเพื่อป้ องกันอุทกภัย และจะต้องกาหนดอัตรา ค่าบริ การที่เรี ยกเก็บจากผูป้ ระกอบการอย่างเป็ นธรรม กลุ่มผู้บริจาค ผูบ้ ริ จาคที่ได้นาเงินหรื อทรัพย์สินไปบริ จาคให้กบั ผูป้ ระสบอุทกภัยจากสถานการณ์อุทกภัย ที่เกิดขึ้นในปี 2554 โดยผูบ้ ริ จาค สามารถ นาเงินหรื อทรัพย์สิน มาหักเป็ นค่าลดหย่อน หรื อหักเป็ น รายจ่ายในการคานวณภาษีได้ 1.5 เท่าของจานวนเงินหรื อมูลค่าทรัพย์สินที่ได้บริ จาค สามารถนามา หักลดหย่อนได้ ดังนี้ 1. บุคคลธรรมดาได้บริ จาค ให้แก่ ส่ วนราชการ มูลนิธิ องค์การ หรื อสถานสาธารณกุศลที่ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา ยังได้บริ จาคผ่านตัวแทน เช่น สถานีโทรทัศน์ หรื อสถานีวทิ ยุต่างๆเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยที่ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์อุทกภัย และได้บริ จาคให้กบั สถานศึกษาที่ได้รับการประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ 1.1

บุคคลธรรมดาที่ได้บริ จาค “เงิน ” ให้กบั ผูป้ ระสบ อุทกภัย สามารถนาจานวน เงินที่ได้บริ จาคไปนาไปหักลดหย่อนในการคานวณเสี ยภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดาได้ โดยเมื่อรวมกับเงินบริ จาคอื่นแล้วต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้ สุ ทธิ หลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักค่าลดหย่อน


81

ตัวอย่ าง บุคคลธรรมดาที่ได้ บริ จาค “เงิน” ให้ กับผู้ประสบอุทกภัย โดยบริ จาค ให้ แก่ ส่ วนราชการ มูลนิธิ องค์ การ หรื อสถานสาธารณกุศลที่รัฐมนตรี ว่าการ กระทรวงการคลังประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา วูดดี้ เป็ นคนโสดประกอบอาชีพเป็ นนักแสดงและพิธีกร มีเงินรายได้จากการ แสดงละครและเป็ นพิธีกรต่อปี 10,000,000 บาท วูดดี้ ได้บริ จาคเงินช่ วยเหลือ ผู้ประสบภัยอุทกภัยเป็ นจานวนเงิน 1,000,000 บาท โดยบริ จาคให้แก่ สภากาชาดไทยเพื่อนาไปช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยของประเทศไทย วิธีคานวณ เงินได้จากการเป็ นนักแสดงและพิธีกร 10,000,000 บาท หัก ค่าใช้จ่าย 40 % 60,000 บาท หัก ค่าลดหย่อนผูม้ ีเงินได้ 30,000 บาท เงินได้สุทธิ หลังหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน 9,910,000 บาท หัก เงินบริ จาคช่วยเหลืออุทกภัย 991,000 บาท เงินได้สุทธิ 8,919,000 บาท ตัวอย่ าง บุคคลธรรมดาที่ได้ บริ จาค “เงิน” ให้ กับผู้ประสบอุทกภัย โดยบริ จาค ผ่ านตัวแทน เช่ น สถานีโทรทัศน์ หรื อสถานีวิทยุต่างๆ ลูกค้าดีแทค ได้มอบเงินบริ จาคจากน้ าใจลูกค้าผ่านการส่ งข้อความสั้น (SMS) เพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยน้ าท่วมรวมทั้งสิ้ น 9,097,750 บาท แก่นายสรยุทธ สุ ทัศนะจินดา ผูแ้ ทนครอบครัวข่าว 3 โดยมีสู่ ขวัญ บูลกุล และ พิชญทัฬห์ จันทร์ พุฒ ร่ วมรับมอบเมื่อเร็ วๆนี้ที่ช่อง 3 ซึ่ง ลูกค้าดีแทคต่อมี เงิน รายได้ของปี 15,000,000 บาท วิธีคานวณ เงินได้ 15,000,000 บาท หัก ค่าใช้จ่าย 40 % 60,000 บาท หัก ค่าลดหย่อนผูม้ ีเงินได้ 30,000 บาท เงินได้สุทธิ หลังหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน 14,910,000 บาท หัก เงินบริ จาคช่วยเหลืออุทกภัย 1,491,000 บาท


82

เงินได้สุทธิ 1.2

13,419,000 บาท

บุคคลธรรมดาที่ได้บริ จาค “เงิน ” สามารถมาหักค่าลดหย่อนได้เป็ นจานวน 2 เท่าของเงินบริ จาค เพื่อใช้ในการสนับสนุนการศึกษาไม่เกินร้อยละ 10 ของ กาไรสุ ทธิ ก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศล ตัวอย่ าง บุคคลธรรมดาที่ได้ บริ จาค “เงิน ” โดยบริ จาคให้ กับสถานศึกษาที่ ได้ รับการประกาศของกระทรวงศึกษาธิ การ นายกสมาคมผูป้ ระกอบการสถานศึกษาเอกชน ผูร้ ับใบอนุญาต /ผูอ้ านวยการ โรงเรี ยนกุมุทมาส เป็ นตัวแทนโรงเรี ยนภาคเอกชน มอบเงินบริ จาคช่วยเหลือ โรงเรี ยนที่ได้รับผลกระทบจาก อุทกภัย โดยมี นายชูชาติ กาญจนธนชัย ผอ . สพป.นนทบุรี เขต 2 รับมอบเงิน ณ ห้องประชุม สพป .นนทบุรี เขต 2 (อ.ปาก เกร็ ด ) จังหวัดนนทบุรีก็ได้รับผลกระทบโดยตรงจากอุทกภัยในครั้งนี้ สพป . นนทบุรี เขต 2 จึงได้เตรี ยมการรับมือในเบื้องต้นได้ช่วยเหลือโรงเรี ยนที่ได้รับ ผลกระทบทั้งจากโรงเรี ยนภาครัฐและโรงเรี ยนภาคเอกชน ในส่ วนของ โรงเรี ยนที่ไม่ได้รับผลกระทบได้ช่วยกันตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง สิ่ งของ อุปโภค บริ โภค และร่ วมบริ จาคเงินช่วยเหลือพร้อมเยียวยาในคราวเดียวกัน มีรายนามโรงเรี ยนที่มอบเงินและสิ่ งของ ดังนี้ 1.โรงเรี ยนชลประทานวิทยา จานวนเงิน 53,760.00 บาท 2.โรงเรี ยนกสิ ณธรเซนต์ปีเตอร์ จานวนเงิน 43,090.00 บาท 3.โรงเรี ยนเซนฟรังซีสเซเวียร์ จานวนเงิน 30,000.00 บาท 4.โรงเรี ยนดุสิตพณิ ชยการนนทบุรี จานวนเงิน 15,000.00 บาท 5.โรงเรี ยนนันทนวรวิทย์ จานวนเงิน 15,000.00 บาท 6.โรงเรี ยนพระแม่สกลสงเคราะห์ จานวนเงิน 10,000.00 บาท 7.โรงเรี ยนกุมุทมาส จานวนเงิน 3,000.00 บาท 8.โรงเรี ยนดรุ ณวิทย์ศึกษา จานวนเงิน 2,000.00 บาท 9.โรงเรี ยนเปรมประชาวัฒนา จานวนเงิน 7,580.00 บาท 10.โรงเรี ยนพณิ ชยการบางบัวทอง จานวนเงิน 2,500.00 บาท 11.โรงเรี ยนศิริมงคลศึกษา จานวนเงิน 2,500.00 บาท


83

รวมจานวนเงินที่ได้บริ จาค วิธีคานวณ เงินได้ หัก ค่าใช้จ่าย 40 % หัก ค่าลดหย่อนผูม้ ีเงินได้ เงินได้สุทธิ ก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศล หัก เงินบริ จาคช่วยเหลืออุทกภัย เงินได้สุทธิ

184,430.00 บาท 3,090,000 บาท 60,000 บาท 30,000 บาท 3,000,000 บาท 300,000 บาท 2,900,000 บาท

2. นิติบุคคล ได้บริ จาค ให้แก่ ส่ วนราชการ มูลนิธิ องค์การ หรื อสถานสาธารณกุศลที่ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา ยังได้บริ จาคผ่านตัวแทน เช่น สถานีโทรทัศน์ หรื อสถานีวทิ ยุต่างๆ เพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยที่ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์อุทกภัย และได้บริ จาคให้กบั สถานศึกษาที่ได้รับการประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ 2.1

บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลที่ได้บริ จาค “เงิน หรื อ ทรัพย์สิน ” ให้กบั ผู ้ ประสบอุทกภัย สามารถนาจานวนเงินหรื อมูลค่าทรัพย์สินที่ได้บริ จาคไปนาไป หักเป็ นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล ได้ โดย เมื่อรวมกับรายจ่ายเพื่อการกุศลอื่นแล้วต้องไม่เกินร้อยละ 2 ของกาไรสุ ทธิ ก่อน หักรายจ่ายเพื่อการกุศล ตัวอย่ าง บริ ษัทหรื อห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคลที่ได้ บริ จาค “เงิน หรื อ ทรั พย์ สิน ” โดยบริ จาค ให้ แก่ ส่ วนราชการ มูลนิธิ องค์ การ หรื อสถานสาธารณกุศลที่ รั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลังประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา บริ ษทั ฟันบ็อกซ์ จากัด ผูใ้ ห้บริ การเกมออนไลน์ช้ นั นา ผูใ้ ห้บริ การ เกม Grandchase ได้นาเงินรายได้ส่วนหนึ่งจากการเปิ ดให้บริ การ เกม Grandchase มอบให้แก่สภากาชาดไทย โดยในโอกาสนี้ คุณ พจน์ พันศิริ พจน์ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป บริ ษทั ฟั นบ็อกซ์ จากัด เป็ นตัวแทน ในการมอบเงิน บริ จาคให้แก่สภากาชาดไทย เป็ นจานวนเงิน 1,000,000 บาท ซึ่งมีเจ้าหน้าที่จาก ทางสภากาชาดไทย เป็ นตัวแทนรับเงินบริ จาคจากทางฟันบ็อกซ์ ซึ่งจะนาไปใช้


84

ในการให้ความช่วยเหลือแก่ผปู ้ ระสบอุทกภัยต่อไป ซึ่ง กาไรสุ ทธิ ของบริ ษทั ฟันบ็อกซ์ จากัด ก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศล 35,000,000 บาท วิธีคานวณ รายได้ 60,000,000 บาท หัก ค่าใช้จ่าย ดอกเบี้ยจ่าย 17,000,000 เงินเดือนและค่าจ้าง 5,000,000 ค่าน้ า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ 2,000,000 หนี้สูญ 500,000 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 500,000 25,000,000บาท กาไรสุ ทธิ ก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศล 35,000,000บาท หัก เงินบริ จาคช่วยเหลืออุทกภัย 700,000 บาท กาไรสุ ทธิ ทางภาษี 34,300,000 บาท ตัวอย่ าง บริ ษัทหรื อห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคลที่ได้ บริ จาค “เงิน หรื อ ทรั พย์ สิน ” โดยบริ จาคผ่ านตัวแทน เช่ น สถานีโทรทัศน์ หรื อสถานีวิทยุต่างๆ บริ ษทั จินฮั้วเฮง จากัด ได้บริ จาคเงินช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย ปี 2554 เพื่อ ช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยผ่านครอบครัวข่าว 3 เป็ น จานวนเงิน 1,250,000 บาท บริ ษทั จินฮั้วเฮง จากัด มี กาไรสุ ทธิ ก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศล

เท่ากับ

29,000,000 บาท วิธีคานวณ รายได้ หัก ค่าใช้จ่าย ดอกเบี้ยจ่าย เงินเดือนและค่าจ้าง ค่าน้ า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

40,000,000 บาท 4,000,000 2,000,000 3,000,000 2,000,000

11,000,000 บาท


85

กาไรสุ ทธิ ก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศล หัก เงินบริ จาคช่วยเหลืออุทกภัย กาไรสุ ทธิ ทางภาษี 2.2

29,000,000 บาท 580,000 บาท 28,420,000 บาท

ผูป้ ระกอบการ จดทะเบียน นิติบุคคลที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ ไม่ตอ้ งนา มูลค่าของ สิ นค้า ที่บริ จาคมารวมเป็ นมูลค่าของฐานภาษีในการคานวณเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่ม ตัวอย่ าง ผู้ประกอบการนิติบุคคลที่ได้ จดทะเบียนภาษีมลู ค่ าเพิ่มได้ บริ จาค “สิ นค้ า ”โดยบริ จาค ให้ แก่ ส่ วนราชการ มูลนิธิ องค์ การ หรื อสถานสาธารณ กุศลที่รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลังประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา บริ ษทั น้ าใส จากัด ซึ่ งมีรายได้จากการขายน้ าดื่มได้มากกว่า 1,800,000 บาทต่อ ปี ได้บริ จาคน้ าดื่มเป็ นจานวนเงิน 300,000 บาท ให้กบั สภากาชาดไทย โดย สภากาชาดไทยเป็ นตัวแทนในการนาน้ าดื่มไปบริ จาคให้กบั ผูป้ ระสบอุทกภัย การบันทึกบัญชี เดบิต ค่าบริ จาคช่วยเหลืออุทกภัย 300,000 เครดิต สิ นค้า

300,000

ตัวอย่ าง ผู้ประกอบการนิติบุคคลที่ได้ จดทะเบียนภาษีมลู ค่ าเพิ่มได้ บริ จาค “สิ นค้ า” โดยบริ จาคผ่ านตัวแทน เช่ น สถานีโทรทัศน์ หรื อสถานีวิทยุต่างๆ บริ ษทั ขนมไทย จากัด เป็ นบริ ษทั ที่ที่ขายขนมไทย ซึ่ งมี รายได้ จากการขาย ขนมไทยได้มากกว่า 1,800,000 บาทต่อปี ได้บริ จาคขนมไทยซึ่งเป็ นสิ นค้าของ บริ ษทั เป็ นจานวนเงิน 200,000 บาท ให้กบั สถานีโทรทัศน์ ช่อง 7 เพื่อช่วยเหลือ ผูป้ ระสบอุทกภัยต่อไป การบันทึกบัญชี เดบิต ค่าบริ จาคช่วยเหลืออุทกภัย 200,000


86

เครดิต สิ นค้า

200,000

ดังนั้น จากตัวอย่างทั้ง 2 ตัวอย่างเป็ นการบริ จาคสิ นค้าที่บริ ษทั ได้ผลิตขึ้นมาเอง เพื่อนาไปบริ จาคช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย ซึ่ง จะได้รับการยกเว้นโดยไม่ตอ้ ง นา มูลค่าของสิ นค้าที่ ได้บริ จาคมารวมเป็ นมูลค่าของฐานภาษีในการคานวณเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่ม 2.3

บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลที่ได้บริ จาค “เงินหรื อทรัพย์สิน ” เพื่อ สนับสนุนการศึกษาให้หกั เป็ นรายจ่ายได้ 2 เท่าของรายจ่ายที่จ่ายไปเป็ น ค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษา ไม่เกินร้อยละ 10 ของกาไรสุ ทธิ ก่อนหัก รายจ่ายเพื่อการกุศล ตัวอย่ าง บริ ษัทหรื อห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคลที่ได้ บริ จาค “เงินหรื อทรั พย์ สิน ” โดยบริ จาคให้ กับสถานศึกษาที่ได้ รับการประกาศของกระทรวงศึกษาธิ การ Mazda Thailand ได้ให้ความช่วยเหลือในทันทีโดยความร่ วมมือของผูจ้ าหน่าย ทัว่ ประเทศร่ วม บริ จาคเงินกว่า 2,000,000 บาทและรถปิ กอัพ Mazda BT อีก 2 คัน พร้อมกับได้รับการสนับสนุนอย่างเต็มที่จาก Mazda Corporation Japan ร่ วมกันสมทบทุนทั้งสิ้ น 18,000,000 บาทโดยบริ จาคผ่านทางมูลนิธิราชประช า นุเคราะห์ ในพระบรมราชูประถัมภ์ สร้างอาคารเรี ยนจานวน 1 หลัง สู ง 3 ชั้น จานวน 18 ห้องเรี ยน ที่โรงเรี ยนราชประชานุเคราะห์ ที่บา้ นบางสัก อ. ตะกัว่ ป่ า จังหวัดพังงา ซึ่ง Mazda Thailand มี กาไรสุ ทธิ ก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศล เท่ากับ 900,000,000 บาท วิธีคานวณ รายได้ หัก ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย เงินเดือนและค่าจ้าง ค่ารับรอง

3,000,000,000 บาท 1,000,000,000 400,000,000 10,000,000


87

ค่าน้ า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ 200,000,000 ดอกเบี้ยจ่าย 300,000,000 ค่าทาบัญชี 1,000,000 ค่าสอบบัญชี 2,000,000 ค่าเสื่ อมราคา 187,000,000 2,100,000,000 บาท กาไรสุ ทธิ ก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศล 900,000,000 บาท หัก เงินบริ จาคช่วยเหลืออุทกภัย 36,000,000 บาท กาไรสุ ทธิ ทางภาษี 864,000,000 บาท


บทที่ 5 บทสรุปและข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป จากสถานการณ์อุทกภัยครั้งประวัติศาสตร์ ของประเทศไทย ทาให้เกิดความเสี ยหายมากมาย ไม่วา่ จะเป็ นชีวติ ที่ไม่สามารถเรี ยกคืนมาได้ หรื อจะเป็ นทรัพย์สิน เงินทอง อุทกภัยครั้งนี้ครอบคลุม ไปหลายจังหวัด รวมไปถึงนิคมอุตสาหกรรมที่สาคัญอีกหลายแห่ง ทาให้เกิดมูลค่าความเสี ยหาย นานับประการ นอกจากนี้ยงั มีปัญหาอีกหลายประการที่เกิดขึ้น อาทิเช่น การไม่มีที่อยูอ่ าศัย การขาด แคลนสิ่ งของจาเป็ นที่ใช้ในการบริ โภค ทั้งอาหาร น้ า เรื อ กระสอบทรายและสุ ขาที่เป็ นสิ่ งจาเป็ นที่ สาหรับ ผูป้ ระสบ อุทกภัย ที่ ขาดแคลนอย่างหนัก ไม่ใช่เพียงจะเจอปั ญหาตอนที่ประสบอุทก ภัย เท่านั้น หลังจากน้ าลดก็ยงั คงมีปัญหาอีกมากมาย อาทิเช่น การซ่อมแซมและทาความสะอาดบ้านที่ ต้องใช้เงินในการซ่อมแซมและทาความสะอาด สุ ขภาพและโร คผิวหนังที่ตามหลังจากน้ าลด และ ในภาคอุตสาหกรรมที่ทาให้นกั ลงทุนต่างขาดความเชื่อมัน่ ในการลงทุนในประเทศไทย จากปั ญหา ต่างๆ นานาประการนั้นยังทาให้ได้เห็นความมีน้ าใจช่วยเหลือของคนไทยที่มีต่อเพื่อนมนุษย์ร่วม ชาติเดียวกัน ไม่วา่ จะเป็ นทรัพย์สิน เงินทอง หรื อกาลังแรงที่ทุกคนมีอย่างเต็มกาลังสุ ดความสามารถ ดังนั้นทางรัฐบาลจึงมีการออกนโยบายทางภาษีเพื่อช่วยเหลือทั้งผูท้ ี่ประสบอุทกภัยและผูบ้ ริ จาค ในด้านของผูป้ ระสบอุทกภัยที่เป็ นบุคคลธรรมดา นิติบุคคลและผูป้ ระกอบการ

โดยผู้

ประสบอุทกภัยทั้ง บุคคลธรรมดา นิติบุคคลและผูป้ ระกอบการ จะได้รับความช่วยเหลือจากเงินที่ รัฐบาลช่วย 5,000 บาทต่อครอบครัว ซึ่ง สามารถนามา สรุ ปเป็ นนโยบายภาษีที่ทางรัฐบาลได้ออก ขึ้นมาเพื่อช่วยเหลือและเอื้อประโยชน์แก่ผปู ้ ระสบอุทกภัย ได้ดงั นี้ โดยผูป้ ระสบภัย ที่เป็ นบุคคล ธรรมดาจะได้รับการยกเว้นเงินชดเชยที่ได้รับจากรัฐบาล ในเรื่ องของการยกเว้น ภาษีสาหรับ บ้าน เสี ยหายทั้งหลังยกเว้นภาษีได้ไม่เกิน 30, 000 บาท (กรณี จมทั้งหลัง ) หรื อถ้าบ้านจมบางส่ วนต้องให้ ทางการพิจารณาอนุมตั ิเป็ นรายๆ ไปแต่ ได้ไม่เกิน 20,000 บาท และยังมี ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม บ้านที่ได้รับยกเว้นภาษีสาหรับเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็ นค่าซ่อมแซมบ้านรวมทั้งค่าวัสดุอุปกรณ์ในการ ซ่อมแซมทรัพย์สินแต่ไม่เกิน 100,000 บาท และจากค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมรถยนต์ให้ยกเว้นภาษี


88

เงินได้สาหรับเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็ นค่าซ่อมแซมรถยนต์ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ รวมทั้งค่าวัสดุ อุปกรณ์ในการซ่อมแซมรถยนต์ แต่ไม่เกิน 30,000 บาท โดยผูป้ ระสบอุทกภัยที่ได้รับการยกเว้นภาษี เงินได้จากค่าเช่า การประกอบธุ รกิจ วิชาชีพอิสระ เป็ นจานวนเท่ากับมูลค่าความเสี ยหายที่ได้รับ สาหรับผูป้ ระสบอุทกภัยที่ได้ลงทะเบียนไว้ ไม่เพียงแต่บุคคลธรรมดาเท่านั้นที่ได้รับประโยชน์จาก การออกนโยบายทางภาษีของรัฐบาลในครั้งนี้ แต่ยงั รวมไปถึง ส่ วนของผูป้ ระสบภัย อุทกภัย ที่เป็ น นิติบุคคลและผูป้ ระกอบการ โดยผูป้ ระสบอุทกภัยที่เป็ นนิติบุคคลนั้นได้รับยกเว้นภาษีเงินได้สาหรับค่าสิ นไหมทดแทน ที่ได้รับจากการประกันภัย เฉพาะส่ วนที่เกินมูลค่าต้นทุนของทรัพย์สินที่เหลือจากการหักค่าสึ กหรอ หรื อค่าเสื่ อมราคาได้ และผูป้ ระสบอุทกภัยที่เป็ นผูป้ ระกอบการจะได้รับการยกเว้นภาษีอากรขาเข้า ในการนาเครื่ องจักรใหม่มาแทนเครื่ องจักรที่ได้รับความเสี ยหายจากอุทกภัย ส่ วนผูป้ ระสบอุทกภัยที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน โดยมีโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับ สิ ทธิ ส่งเสริ มการลงทุนจากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน เพื่อไปชดเชยความเสี ยหายให้ที่เกิดขึ้น ทางรัฐบาลจึงได้ออกมาตรการฉุ กเฉิ นเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระกอบการที่มีเครื่ องจักร หรื อวัตถุดิบที่ ได้รับความเสี ยหายจากอุทกภัย ยังมี มาตรการด้านภาษีอากรเพื่อฟื้ นฟูการลงทุนจากวิกฤตอุทกภัย ทั้งผูป้ ระกอบการรายเล็กและรายใหญ่รวมถึงบริ ษทั ของคนไทยและต่างชาติประกอบด้วย มาตรการ ทัว่ ไปสาหรับผูป้ ระกอบการที่ได้รับความเสี ยหายโดยตรงจากอุทกภัยจะต้องเป็ นผูป้ ระกอบการที่ ได้รับการส่ งเสริ มอยูเ่ ดิม ถ้าโครงการที่ได้รับการส่ งเสริ มอยูเ่ ดิมที่ได้รับสิ ทธิ และประโยชน์ยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยจากัดวงเงินภาษีที่ยกเว้น ให้ถือเสมือนเป็ นโครงการใหม่ โดยให้ได้รับ สิ ทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี และถ้าโครงการที่ได้รับการส่ งเ สริ มอยูเ่ ดิมที่ ได้รับสิ ทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยไม่จากัดวงเงินภาษีที่ยกเว้นให้ได้รับสิ ทธิ และประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มจากสิ ทธิ และประโยชน์ที่เหลืออยูต่ ามโครงการเดิม อีกไม่เกิน 3 ปี แต่รวมแล้วไม่เกิน 8 ปี และมาตรการสาหรับนิคมหรื อเขตอุตสาหกรรม ทั้งที่ได้รับ ความเสี ยหายและไม่ได้รับความเสี ยหายจากอุทกภัย

เพื่อช่วยเหลือนิคมหรื อเขตอุตสาหกรรมที่

ได้รับการส่ งเสริ มให้มีการลงทุนเพื่อพัฒนาหรื อปรับปรุ งโครงสร้างพื้นฐาน

รวมทั้งระบบ


89

สาธารณูปโภคต่างๆ และยังมีมาตรการฟื้ นฟูภาพลักษณ์ประเทศไทยและสร้าง ความเชื่อมัน่ แก่นกั ลงทุน เพื่อป้ องกันไม่ให้นกั ลงทุนย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศอื่น ทั้งนี้ยงั มีนโยบายในส่ วนของผูป้ ระสบอุทกภัยที่เป็ นประโยชน์ท้ งั บุคคลธรรมดาและนิติ บุคคล ที่สามารถสรุ ปพอสังเขปได้คือ สามารถยกเว้นภาษีเงินได้สาหรับเงินชดเชยที่ได้รับจาก ภาครัฐ และยกเว้นภาษีเงินได้สาหรับเงินหรื อทรัพย์สินที่ได้รับบริ จาคนอกเหนือจากเงินชดเชยที่ ได้รับจากภาครัฐ แต่ตอ้ งไม่เกินมูลค่าความเสี ยหายที่ได้รับ ไม่วา่ จะเป็ นบุคคลธรรมดาหรื อนิติ บุคคลต่างก็ลว้ นแต่ได้ประโยชน์จากการออกนโยบายทางภาษีของรัฐบาลในครั้งนี้ ด้านของผูบ้ ริ จาคที่เป็ นบุคคลธรรมดา นิติบุคคลและผูป้ ระกอบการ สามารถนาสรุ ปเป็ น นโยบายภาษีที่ทางรัฐบาลได้ออกขึ้นมาเพื่อช่วยเหลือและเอื้อประโยชน์แก่ผบู ้ ริ จาค ได้ดงั นี้ โดย บุคคลธรรมดาที่ได้บริ จาคผ่าน ส่ วนราชการ มูลนิธิ องค์การ หรื อสถานสาธารณกุศลที่ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา และผูบ้ ริ จาคได้บริ จาคผ่าน สถานีโทรทัศน์ หรื อสถานีวทิ ยุต่างๆนั้น สามารถนาเงินหรื อทรัพย์สินที่ได้บริ จาคนามาหักค่าใช้จ่าย สาหรับเงินที่บริ จาคได้ 1.5 เท่า แต่เมื่อรวมกับเงินบริ จาคอื่นแล้วจะต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้ พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อน และผูบ้ ริ จาคที่ได้บริ จาคให้กบั สถานศึกษาที่ ได้รับการประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ สามารถยกเว้นภาษีได้เป็ นจานวน 2 เท่าของเงินบริ จาค เพื่อใช้ในการสนับสนุนก ารศึกษาได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของกาไรสุ ทธิ ก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศล สาธารณะหรื อเพื่อการสาธารณประโยชน์ และเพื่อการศึกษาหรื อเพื่อการกีฬา ส่ วนผูบ้ ริ จาคที่เป็ นนิติบุคคลและผูป้ ระกอบการ ที่จดทะเบียน เป็ น นิติบุคคล โดยถ้านิติ บุคคลได้บริ จาคเงินหรื อทรัพย์สินนั้นผ่าน ส่ วนราชการ มูลนิธิ องค์การ หรื อสถานสาธารณกุศลที่ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา และบริ จาคผ่าน สถานีโทรทัศน์ หรื อสถานีวทิ ยุต่างๆ จะสามารถนาเงินหรื อทรัพย์สินมาหักเป็ นรายจ่ายในการ คานวณภาษีได้ 1.5 เท่าของจานวนเงินหรื อมูลค่าทรัพย์สินที่ได้บริ จาค แต่เมื่อรวมกับรายจ่ายเพื่อการ กุศลสาธารณะอื่นแล้วต้องไม่เกินร้อยละ2 ของกาไรสุ ทธิ และนิติบุคคลยังสามารถยกเว้นภาษีได้อีกถ้า นิติบุคคลบ ริ จาคได้ให้กบั สถานศึกษาที่ได้รับการประกาศของกระทรวงศึกษา ธิการ ซึ่งจะได้รับ ยกเว้นภาษีเหมือนบุคคลธรรมดาคือสามารถ ยกเว้นภาษีได้เป็ นจานวน 2 เท่าของเงินบริ จาค เพื่อใช้


90

ในการสนับสนุนการศึกษาไม่เกินร้อยละ 10 ของกาไรสุ ทธิ ก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศล แต่ถา้ เป็ น ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนนิติบุคคลที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยไม่ตอ้ งนามูลค่าของสิ นค้าที่ ได้บริ จาคไปนั้นมารวมเป็ นมูลค่าของฐานภาษีในการคานวณเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งนี้ผบู ้ ริ จาคทั้งบุคคลธรรมดานิติบุคคลและผูป้ ระกอบการต่างล้วนต้องการที่จะช่วยเหลือ ผูป้ ระสบอุทกภัยเพื่อให้มีกาลังกายและกาลังใจที่จะสู ้กบั สถานการณ์อุทกภัยที่ เกิดขึ้น โดยการ ช่ วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย ครั้ง นี้ผูบ้ ริ จาคต้องยอมบริ จาคเงินและทรัพย์สินของตนเองซึ่งถือเป็ น ค่าใช้จ่ายของผูบ้ ริ จาค รัฐบาลจึงให้มีการออกมาตรการทางภาษีเพื่อช่วยเหลือผูบ้ ริ จาคในการยกเว้น ภาษีได้ ข้ อเสนอแนะ จากปั ญหาที่เกิดขึ้นในประเทศไทยที่เกิดจากอุทกภัยที่คนไทยทุกคนไม่คาดการณ์มาก่อนว่า จะเกิดขึ้นอย่างร้ายแรง จนกลายเป็ นความเดือดร้อนในวงกว้าง แทบจะเรี ยกได้วา่ เป็ นความ เดือดร้อนที่ส่งผลกระทบไปทั้งประเทศ จากปั ญหาที่เกิดขึ้นสามารถเสนอแนะได้ ดังนี้ 1. การจัดการน้ าของรัฐบาล รัฐบาลควรมีการจัดการน้ าที่เป็ นระบบ และมีการจัดการที่ ถูกต้อง การพยากรณ์เกี่ยวกับน้ า ควรมีการร่ วมมือกันจากหลายๆฝ่ าย สาหรับประเทศไทยมีบุคลากร ที่มีความสา มารถชานาญการในการจัดการปั ญหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องของน้ า

หลายบุคคล อาทิ

เช่น รศ.ดร.กัม ปนาท ภักดีกุล คณบดีคณะสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล นักวิชาการด้านน้ า ดร.ทวิดา กมลเวช อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ม .ธรรมศาสตร์ นักวิชาการด้าน การเมืองการปกครอง เป็ นต้น เพราะฉะนั้นเพื่อเป็ นการไม่ให้เกิดประวัติศาสตร์ การเกิดอุทกภัยนี้ เกิดขึ้นอีก รัฐบาลควรมีการป้ องกันล่วงหน้า และมีการจัดการอย่างต่อเนื่อง 2. การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวน้ าให้กบั ประชาชนได้รับรู ้ รัฐบาลควรมีการเปิ ดเผยข้อมูล เกี่ยวกับน้ าให้ประชาชนได้รับทราบเพื่อให้รู้ตวั ในการเตรี ยมตัวรับมือกับน้ า

และสนับสนุนให้

ชุมชนแต่ละชุมชนมีการเตรี ยมตัวรับมือกับน้ า เนื่องจากหากทุกชุมชนรอรับการช่วยเหลือจาก รัฐบาลคงจะไม่ทนั กาล ในการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับน้ ารัฐบาลควร

มีการกลัน่ กรองข้อมูลที่จะ


91

เปิ ดเผยให้ประชาชนได้รับทราบ ข้อมูลที่ เปิ ดเผยควรตรงตามความ เป็ นจริ งและถูกต้อง เพื่อไม่ให้ ประชาชนเกิดการตระหนกตกใจจนเกินไปหากได้รับข่าวที่เกินจากความเป็ นจริ ง 3. รัฐบาลควรออกมาตร การช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยในระยะยาว เนื่อง จากหลังน้ าลด แล้วนั้ นอาจมีผลกระทบตามมาทั้งเรื่ องของแรงงานที่โรงงานได้รับผลกระทบจากอุทกภัย อาจมี แรงงานที่ถูกเลิกจ้างจาน วนมาก ไม่เพียงแต่คนที่ทางานในอุตสาหกรรมแต่คนที่เป็ นเกษตรกรก็ ได้รับผลกระทบไม่นอ้ ย เพราะอาชีพการทาเกษตรกว่าจะฟื้ นฟูพ้นื ที่ในการทาการเกษตรได้น้ นั ต้อง ใช้เวลานานและใช้เงินจานวนมาก รัฐบาลควรมีนโยบายในการช่วยเหลือและผูร้ ับผิดชอบอย่าง ชัดเจน และเป็ นการช่วยเหลืออย่า งต่อเนื่อง นอกจากนี้รัฐบาลควรมีการประกาศและทาความเข้าใจ เกี่ยวกับมาตรการการช่วยเหลือในระยะยาวนี้ดว้ ยหากรัฐบาลมีการประกาศ

ใช้มาตรการ การ

ช่วยเหลือดังกล่าว 4. จากอุทกภัยที่เกิดขึ้นอาจมีหลายๆครั้งที่ได้ยนิ ข่าวเกี่ยวกับการช่วยเหลือ การบริ จาคที่ ไม่ทวั่ ถึง ทาให้ชาวบ้านบางส่ วนไม่เคยได้รับความช่วยเหลือเลยตลอดระยะเวลาที่มีการเกิดอุทกภัย เพราะฉะนั้นรัฐบาลควรมีการสารวจตรวจสอบผูป้ ระสบ อุทกภัยอย่างทัว่ ถึง ไม่วา่ ชาวบ้านจะอยูใ่ น พื้นที่ที่เข้าถึงยาก แต่รัฐบาลก็ควรทาการสารวจและส่ งความช่วยเหลือไปให้ถึง

เพราะความ

ช่วยเหลือของรัฐบาลไม่ใช่เพียงแต่การบริ จาคสิ่ งของหรื อช่วยเหลือตอนที่ประสบอุทกภัย แต่ยงั มี การช่วยเหลือหลังน้ าลดที่ชาวบ้านจะได้รับ เงินชดเชยจากรัฐบาล หากการสารวจตกหล่นชาวบ้านที่ ไม่ได้รับการสารวจอาจหมดสิ ทธิ ที่จะได้รับความช่วยเหลือนี้ดว้ ย 5. จากการเกิดอุท กภัยทาให้รัฐบาลออกนโยบายเกี่ยวกับภาษีหลายประการเพื่อเอื้อ ประโยชน์แก่ประชาชนหลายๆฝ่ าย ทั้งผูท้ ี่ประสบอุทกภัยและผูบ้ ริ จาค ที่เป็ นบุคคลธรรมดาและนิติ บุคคล รวมถึงผูป้ ระกอบการที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย แต่รัฐบาลยังขาดการประชาสัมพันธ์ ให้กบั ผูท้ ี่ได้รับประโยชน์ ให้ ทราบถึงรายละเอียดที่ผไู ้ ด้รับประโยชน์น้ นั จะได้รับอย่างชัดเจน นอกจากนี้รัฐบาลควรมีการทาความเข้าใจกับผูไ้ ด้รับผลประโยชน์เพื่อให้เข้าใจตรงกัน หากผูท้ ี่


92

ได้รับผลประโยชน์มีความเข้าใจตรงกับรัฐบาลก็จะช่วยให้รัฐบาลนั้นสามารถทางานได้ง่ายและ รวดเร็ วมากขึ้นซึ่งเป็ นการเอื้ออานวยประโยชน์ในการทางานของรัฐบาลด้วย


ภาคผนวก


94

ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ ๒๐๖) เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพือ่ การได้ รับยกเว้นภาษีเงินได้ ของ ผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย หรือภัยธรรมชาติอนื่ ทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทย ตั้งแต่ วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้ นไป __________________ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓ แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวล รัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ๕๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๔ อธิ บดีกรมสรรพากรกาหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพื่อการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ของผู้

ประสบอุทกภัย วาตภัย

อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นที่เกิดขึ้นในประเทศไทยตั้งแต่วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้น ไป ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ การยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บุคคลธรรมดาและบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลซึ่ ง เป็ นผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นที่เกิดขึ้นในประเทศไทย สาหรับเงินได้ เท่าจานวนเงินที่ได้รับชดเชยจากรัฐบาล ผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นนั้น ต้องมีการลงทะเบียนต่อศูนย์หรื อหน่วยงานช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยของทางราชการ ข้อ ๒ การยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บุคคลธรรมดาและบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลซึ่ ง เป็ นผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นที่เกิดขึ้นในประเทศไทยสาหรับเงินได้ เท่าจานวนเงินหรื อราคาทรัพย์สินที่ได้รับบริ จาคหรื อช่วยเหลือเพื่อชดเชยความเสี ยหายที่ได้รับ นอกเหนือจากกรณี ตามข้อ ๑ ซึ่ งไม่เกินมูลค่าความเสี ยหายที่ได้รับ ผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นนั้น จะต้องเป็ นผูไ้ ด้รับความเสี ยหายอันเกิดจากอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัย ธรรมชาติอื่นนั้น


95

ข้อ ๓ การได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามข้อ ๑ และข้อ ๒ ให้ผปู้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้โดยไม่ตอ้ งนาไปรวมเป็ นเงิน ได้พึงประเมินหรื อรายได้ในการคานวณเสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหรื อในการคานวณกาไรสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับปี ภาษี

หรื อรอบระยะเวลาบัญชีที่ได้รับเงินหรื อทรัพย์สิน

ดังกล่าว แล้วแต่กรณี ประกาศ ณ วันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ สาธิต รังคสิ ริ (นายสาธิต รังคสิ ริ) อธิบดีกรมสรรพากร


96

ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ ๒๐๗) เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพือ่ การยกเว้นภาษีเงินได้ สาหรับเงินได้ ทผี่ ้ ปู ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย หรือภัยธรรมชาติอนื่ ทีเ่ กิดขึน้ ตั้งแต่ วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้ นไป ได้ รับ __________________ อาศัยอานาจตามความในข้อ ๒ (๘๒) แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙) ออก ตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๘๒ (พ.ศ. ๒๕๕๔) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร อธิ บดี กรมสรรพากรกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้สาหรับเงิ นได้ที่ผู้ ประสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่น ที่เกิดขึ้นตั้งแต่วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้นไป ได้รับ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ เงินได้ที่ผมู้ ีเงินได้ซ่ ึงเป็ นผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่น ที่ เกิดขึ้นตั้ งแต่วนั ที่ ๑ มกราคม พ .ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้นไป ได้รับ ที่ได้รับยกเว้นไม่ตอ้ งนาไปรวม คานวณเพื่อเสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ต้องเป็ นเงินได้ตามมาตรา ๔๐ (๕) (๖) (๗) หรื อ (๘) แห่ง ประมวลรัษฎากร ข้อ ๒ การได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามข้อ ๑ ผูม้ ีเงินได้ซ่ ึงเป็ นผู้ ประสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่น ที่เกิดขึ้นตั้งแต่วนั ที่

๑ มกราคม พ .ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้นไป ต้อง

ลงทะเบียนแจ้งรายการหรื อมูลค่าความเสี ยหาย ไว้กบั ศูนย์หรื อหน่วยงานให้ความช่วยเหลือ


97

ของทางราชการ โดยเงินได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ตอ้ งนาไปรวมคานวณเพื่อเสี ยภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดาตามข้อ ๑ให้ได้รับยกเว้นเฉพาะส่ วนที่เท่ากับความเสี ยหายที่เกิดขึ้นตามที่ได้ลงทะเบียนแจ้ง ไว้น้ นั ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ สาธิต รังคสิ ริ (นายสาธิต รังคสิ ริ) อธิ บดีกรมสรรพากร


98

ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพือ่ การยกเว้ นภาษีเงินได้ และภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับเงินได้ ทรัพย์ สิน หรือสิ นค้ าทีบ่ ริจาคเพือ่ ช่ วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย หรือภัยธรรมชาติอนื่ ทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทยตั้งแต่ วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้ นไป โดยมีบริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอืน่ เป็ นตัวแทนรับเงิน ทรัพย์ สิน หรือสิ นค้ าทีบ่ ริจาค เพือ่ นาไปช่ วยเหลือผู้ประสบภัยนั้น __________________ อาศัยอานาจตามความในมาตร า ๕ และมาตรา ๖ แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความใน ประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ๕๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๔ อธิบดีกรมสรรพากร กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิม่ สาหรับเงินได้ ทรัพย์สิน หรื อสิ นค้าที่บริ จาคเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นที่ เกิดขึ้นในประเทศไทยตั้งแต่วนั ที่

๑ มกราคม พ .ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้นไป โดยมีบริ ษทั หรื อห้าง

หุ น้ ส่ วนนิติบุคคลหรื อนิติบุคคลอื่น เป็ นตัวแทนรับเงิน ทรัพย์สิน หรื อสิ นค้าที่บริ จาค เพื่อนาไป ช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยนั้น ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ การยกเว้นภาษีเงินได้สาหรับการบริ จาคเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นที่เกิดขึ้นในประเทศไทยตั้งแต่วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้น ไป โดยมีบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลหรื อนิติบุคคลอื่นเป็ นตัวแทนรั

บเงิน ทรัพย์สิน หรื อ

สิ นค้าที่บริ จาค เพื่อนาไปช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่น ที่จะ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิม่ ตามมาตรา ๕ และมาตรา ๖ แห่งพระราชกฤษฎีกา ออก ตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ๕๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๔ ต้องเป็ นไป ตามหลักเกณฑ์ในข้อ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๔ และข้อ ๕ ของประกาศนี้ ข้อ ๒ การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ให้ยกเว้นเงินได้พึงประเมินหลังจากหัก ค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อนตามมาตรา ๔๗ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) หรื อ (๖) แห่งประมวลรัษฎากร เท่า


99

จานวนเงินที่บริ จาคแต่เมื่อรวมกับเงินบริ จาคตามมาตรา ๔๗ (๗) แห่งประมวลรัษฎากรแล้ว ต้องไม่ เกินร้อยละสิ บของเงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อนนั้น ทั้งนี้ สาหรับการ บริ จาคเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยวาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ตั้งแต่วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้นไป ข้อ ๓ การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้ยกเว้นสาหรับเงินได้เท่าจานวนเงินหรื อราคา ทรัพย์สินที่บริ จาค แต่เมื่อรวมกับรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรื อเพื่อการสาธารณประโยชน์ตาม มาตรา ๖๕ ตรี (๓) แห่งประมวลรัษฎากรแล้ว ต้องไม่เกินร้อยละสองของกาไรสุ ทธิ ทั้งนี้ สาหรับ การบริ จาคเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นที่เกิดขึ้นในประเทศ ไทยตั้งแต่วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้นไป ข้อ ๔ การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ให้ยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสาหรั บสิ นค้าที่ผปู้ ระกอบการได้ นาไปบริ จาคเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทยตั้งแต่วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้นไป ข้อ ๕ การบริ จาคเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นที่ จะ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่มตามข้อ ๒ ข้อ ๓ และข้อ ๔ ต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (๑) ต้องเป็ นการบริ จาคโดยมีบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลหรื อนิติบุคคลอื่นเป็ น ตัวแทนรับเงิน ทรัพย์สิน หรื อสิ นค้า เพื่อนาไปช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัย ธรรมชาติอื่นที่เกิดขึ้นในประเทศไทยตั้งแต่วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้นไป (๒) บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลหรื อนิติบุคคลอื่นที่เป็ นตัวแทนรับเงิน ทรัพย์สิน หรื อสิ นค้า เพื่อนาไ ปช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นตาม (๑) ต้อง


100

ดาเนินการในลักษณะเป็ นสื่ อกลางอย่างเปิ ดเผยเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อ ภัยธรรมชาติอื่นตั้งแต่วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้นไป (๓) บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลหรื อนิติบุคคลอื่นที่ดาเนินการในลักษณะเป็ น สื่ อกลางในการเป็ นตัวแทนรับเงิน ทรัพย์สิน หรื อสิ นค้า ตาม (๒) ที่มิใช่ส่วนราชการ องค์การของ รัฐบาล หรื อองค์การหรื อสถานสาธารณกุศลตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ให้แจ้ง ชื่อต่ออธิ บดีก รมสรรพากร (ผ่านผูอ้ านวยการสานักมาตรฐานการกากับและตรวจสอบภาษี หรื อ สรรพากรพื้นที่ ) แสดงว่าเป็ นผูท้ าหน้าที่ดาเนินการในลักษณะเป็ นสื่ อกลางในการเป็ นตัวแทนรับ เงิน ทรัพย์สิน หรื อสิ นค้าดังกล่าว กรณี บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลหรื อนิติบุคคลอื่น ได้ร่วมกันเป็ นตัวแทนรับเงิน ทรัพย์สิน หรื อสิ นค้าที่บริ จาค เพื่อนาไปช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัย ธรรมชาติอื่นและผูท้ ี่ทาหน้าที่ออกหลักฐานการรับบริ จาค หรื อผูท้ ี่ดาเนินการเปิ ดบัญชีเงินฝาก ธนาคารเพื่อรับบริ จาค เป็ นบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุ คคลหรื อนิติบุคคลอื่นที่มิใช่ส่วนราชการ องค์การของรัฐบาล หรื อองค์การหรื อสถานสาธารณกุศลตามมาตรา

๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวล

รัษฎากร ให้บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลหรื อนิติบุคคลอื่นนั้น เป็ นผูแ้ จ้งชื่อของตนเองต่อ อธิบดีกรมสรรพากร (ผ่านผูอ้ านวยการสานักมาตรฐานการกากับและตรวจสอบภาษี หรื อสรรพากร พื้นที่) แต่ถา้ บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลหรื อนิติบุคคลอื่นนั้นได้แจ้งชื่อในฐานะที่เป็ นตัวแทน การรับบริ จาคแยกต่างหากตามวรรคหนึ่งแล้ว ก็ไม่ตอ้ งดาเนินการแจ้งชื่อในกรณี น้ ีอีก การแจ้งชื่อตามวรรคหนึ่งหรื อวรรคสองให้แจ้งตามแบบคาขอแจ้งเป็ นตัวแทนรับบริ จาค ที่มีขอ้ ความอย่างน้อยตามที่แนบท้ายประกาศนี้ทุกครั้งก่อนรับบริ จาคหรื อภายหลังรับบริ จาคโดย ต้องแจ้งในระหว่างการเกิดเหตุอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่น หรื อแจ้งภายในหนึ่ง เดือนนับถัดจากวันที่เหตุอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นนั้นได้สิ้นสุ ดลงแล้ว ทั้งนี้ เว้น แต่อธิ บดีกรมสรรพากรจะกาหนดเป็ นอย่างอื่น


101

(๔) หลักฐานการบริ จาคที่ผบู้ ริ จาคจะนามาใช้เพื่อยกเว้นภาษีเงินได้สาหรับการบริ จาค เงินหรื อทรัพย์สิน และเพื่อยกเว้นภาษีมูลค่าเพิม่ สาหรับการบริ จาคสิ นค้า แล้วแต่กรณี ได้แก่ (ก) หลักฐานการรับเงิน ทรัพย์สิน หรื อสิ นค้า ที่บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคล หรื อนิติบุคคลอื่นซึ่ งเป็ นตัวแทนในการรับเงิน ทรัพย์สิน หรื อสิ นค้าที่บริ จาค ได้จดั ทาขึ้นเพื่อ แสดง การรับเงิน ทรัพย์สิน หรื อสิ นค้า ที่ระบุขอ้ ความที่มีสาระสาคัญว่า เพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อ ภัยธรรมชาติอื่น โดยระบุช่วงเวลาที่เกิดอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติ อื่นดังกล่าวด้วย หรื อข้อความอื่นที่ มีลกั ษณะทานองเดียวกัน ทั้งนี้ ต้องเป็ นหลักฐานการรับบริ จาค เพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นที่เกิดขึ้นในประเทศไทยตั้งแต่ วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็ นต้นไปหรื อ (ข) หลักฐานการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารในช่ วงระยะเวลาที่เกิดอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่นดังกล่าว ที่บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลหรื อนิติบุคคลอื่นซึ่ งเป็ น ตัวแทน ในการรับบริ จาคดังกล่าวได้เปิ ดบัญชีธนาคารขึ้นเพื่อรับเงินบริ จาค โดยผูบ้ ริ จาค ต้องมีหลักฐานการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารดังกล่าวที่พิสูจน์ได้วา่ ตนเองเป็ นผูบ้ ริ จาค กรณี บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลหรื อนิติบุคคลอื่นที่เป็ นตัวแทนรับบริ จาค เป็ นผูบ้ ริ จาคด้วย ให้แสดงหลักฐานตาม (ก) และ (ข) เป็ นหลักฐานการบริ จาคเพื่อใช้ยกเว้นภาษีเงิน ได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม แล้วแต่กรณี โดยจะต้องพิสูจน์ให้ได้วา่ มีการบริ จาคจริ ง กรณี บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลที่บริ จาคทรัพย์สินหรื อสิ นค้า ต้องมีหลักฐาน การได้มาซึ่ งทรัพย์สินหรื อสิ นค้าที่บริ จาค ที่ระบุจานวนและมูลค่าของทรัพย์สินหรื อสิ นค้าที่บริ จาค


102

นั้น เช่น ใบกากับภาษี ใบรับเงินที่ได้ซ้ื อทรัพย์สินหรื อสิ นค้ามาบริ จาค เป็ นต้น หรื อหลักฐานอื่นที่ พิสูจน์ได้วา่ เป็ นผูผ้ ลิตสิ นค้าหรื อเป็ นผูข้ ายสิ นค้าที่บริ จาคที่แสดงต้นทุนสิ นค้านั้นได้ ซึ่ งจะต้องเป็ น ทรัพย์สินหรื อสิ นค้ารายการเดียวกับที่บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติ

บุคคลหรื อนิติบุคคลอื่นที่เป็ น

ตัวแทนในการรับทรัพย์สินหรื อสิ นค้าออกเป็ นหลักฐานในการรับบริ จาคทรัพย์สินหรื อสิ นค้านั้น ให้แก่ผบู ้ ริ จาค (๕) ภายหลังจากการช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติอื่น หากยังมีเงิน ทรัพย์สิน หรื อสิ นค้าเหลืออยู่ บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลหรื อนิติบุคคลอื่นซึ่ ง เป็ นตัวแทนรับเงิน ทรัพย์สิน หรื อสิ นค้า ที่ได้แจ้งชื่อต่ออธิ บดีกรมสรรพากรตาม (๓) ต้องส่ งมอบ เงิน ทรัพย์สิน หรื อสิ นค้าดังกล่าวให้แก่ส่วนราชการ หรื อองค์การหรื อสถานสาธ

ารณกุศลตาม

มาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ให้แล้วเสร็ จภายในหกเดือนนับถัดจากวันยืน่ แบบแจ้งคา ขอเป็ นตัวแทนรับบริ จาค เว้นแต่อธิ บดีกรมสรรพากรจะกาหนดเป็ นอย่างอื่น ข้อ ๖ บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลหรื อนิติบุคคลอื่นซึ่ งเป็ นตัวแทนรับเงิน ทรัพย์สิ น หรื อสิ นค้า ที่ได้แจ้งชื่อต่ออธิ บดีกรมสรรพากรตามข้อ ๕ (๓) ต้องจัดส่ งเอกสารหลักฐานให้แก่ อธิบดีกรมสรรพากร (ผ่านผูอ้ านวยการสานักมาตรฐานการกากับและตรวจสอบภาษี หรื อสรรพากร พื้นที่) ได้แก่ สาเนาบัญชีการรับเงินบริ จาคซึ่ งต้องแยกออกจากบัญชีการดาเนินงานตามปกติ สาเน า บัญชีแสดงรายการจ่ายค่าใช้จ่ายในการช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรื อภัยธรรมชาติ อื่น และสาเนารายชื่อผูบ้ ริ จาคที่บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลหรื อนิติบุคคลอื่นซึ่ งเป็ นตัวแทน รับเงิน ทรัพย์สิน หรื อสิ นค้าดังกล่าว ได้ออกหลักฐานการรับบริ จาคให้ โดยให้

จัดส่ งภายในเก้า

เดือนนับถัดจากวันยืน่ แบบแจ้งคาขอแจ้งเป็ นตัวแทนรับบริ จาค เว้นแต่อธิ บดีกรมสรรพากรจะ กาหนดเป็ นอย่างอื่น ประกาศ ณ วันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ สาธิต รังคสิ ริ (นายสาธิต รังคสิ ริ) อธิบดีกรมสรรพากร


เอกสารอ้างอิง กลุ่มนักวิชาการภาษีอากร . 2553. ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2553. ม.ป.ท.: โรงพิมพ์เรื อน แก้วการพิมพ์. เกษม มโนสันติ์ และ เกล็ดนที สสิ กาญจน์ . 2548. การภาษีอากร . กรุ งเทพมหานคร : บริ ษทั พัฒนาวิชาการ (2535) จากัด. จงพวง มณี วฒั นา. 2544. การภาษีอากร. พิมพ์ครั้งที่4. ม.ป.ท.: บริ ษทั วัชริ นทร์ การพิมพ์ จากัด. เฉลิมชัย วงษ์อารี และ ศิริชยั กัลยาณรัตน์ . 2554. ผลกระทบของมหาอุทกภัย 2554 ต่ อระบบโลจิ สติกส์ สินค้ าเกษตรของไทย และข้ อเสนอแนะ (Online).

www.phtnet.org/article/view-

article.asp?aID=50, 23 มกราคม 2555. ช้องมาศ ปั้ นทอง . 2547.

การภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร . กรุ งเทพมหานคร : สถาบัน

เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพระนครใต้. ทีมข่าว ศูนย์ข่าว TCIJ. 2554. ผงะนา้ ลด-ทุกข์ ท่วมซ้า กระทบคนงาน 9 นิคมใหญ่เกือบล้าน ลอยแพแล้ วครึ่งหมื่น จับตาเยียวยาจากรัฐ ปลดทุกข์ จริงหรือฝันค้ าง

(Online).

www.tcijthai.com/investigative-story/1029, 12 มกราคม 2555. _________________. 2554. สาเหตุการเสี ยชี วติ ของประชาชนจากมหาอุทกภัยปี 2554 (Online). www.tcijthai.com/investigative-story/980, 17 มกราคม 2555.


104

นิรนาม . 2554.

ความต้ องการสิ่ งของทีจ่ าเป็ นสาหรับผู้ประสบภัยนา้ ท่ วม

(Online).

http://humanrevod.wordpress.com/2011/10/12/thaiflood-need/, 20 มกราคม 2555. นิรนาม . 2554.

นักวิชาการเสนอสถานการณ์ แรงงานหลังนา้ ท่ วมและยุทธศาสตร์ ขบวนการ

แรงงานไทย (Online). http://prachatai.com/journal/2011/12/38349, 19 มกราคม 2555. นิรนาม . 2554.

รวมข้ อมูลเพือ่ ช่ วยเหลือผู้ประสบภัยนา้ ท่ วม

(Online).

www.thaigiving.org/node/1376, 23 มกราคม 2555. บุญเสริ ม อุ่ยตระกูล และ วิชาญ โพธิ สิทธิ์ . 2544. การภาษีอากร. ม.ป.ท.: จูนพับลิชชิ่ง จากัด. บริ ษทั สานักพิมพ์ธรรมนิติ จากัด . 2534. ภาษีมูลค่ าเพิม่ ฉบับสมบูรณ์ . กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั ดีไลท์ จากัด. ประสงค์ ชิงชัย และ ทวี บัวทอง. 2549. การภาษีอากร. กรุ งเทพมหานคร: จิตรวัฒน์. รังสิ ต เด็ดสาระตี่ . 2554. คู่มือการจ่ ายเงินช่ วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย 5,000 บาท (Online). http://blog.eduzones.com/rangsit/85895, 20 มกราคม 2555. วลัยอร ปรัชญพฤทธิ์ , แพทย์หญิง . 2549. ปั ญหาสุ ขภาพและโรคผิวหนังหลังน้ าท่วม (Online). www.inderm.go.th/inderm_th/Health/dr_walaiorn.html, 19 มกราคม 2555. เวก ศิริพิมลวาทิน. 2547. การภาษีอากร. กรุ งเทพมหานคร: ศูนย์ส่งเสริ มวิชาการ.


105

ศูนย์วจิ ยั กสิ กรไทย. 2554. ผลกระทบนา้ ท่วมปี 2554 ต่ อภาคอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจไทย (Online). www.smeclinic.in.th/download/pdf/flood2554.pdf, 21 มกราคม 2555. สนัน่ เกตุทตั . 2513. วิชา การภาษีอากร. ม.ป.ท. สมคิด บางโม. 2543. ภาษีอากรธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่5. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั วิทยพัฒน์ จากัด. ___________. 2553. ภาษีอากรธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่15. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั วิทยพัฒน์ จากัด. สมเดช โรจน์คุ รีเสถียร. 2545. การบัญชี ภาษีอากรของธุรกิจทีไ่ ด้ รับการส่ งเสริมการลงทุน . พิม ครั้งที่4. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั ธรรมนิติ จากัด สานักข่าวไทย. 2555. เอแบคโพลล์ พบผู้ประสบอุทกภัยร้ อยละ 40.8 ต้ องกู้เงินนอกระบบฟื้ นฟูบ้าน (Online). www.mcot.net/cfcustom/cache_page/315600.html, 20 มกราคม 2555. สานักจัดการคุณภาพน้ ากรมควบคุมมลพิษ. 2554. ผลกระทบจากนา้ ท่ วมสู่ ทะเลอ่ าวไทย (Online). http://wqm.pcd.go.th/water/images/stories/marine/journal/2554/november/floodimpact.p df, 23 มกราคม 2555. อมรศักดิ์ พงศ์พศุตม์ . 2553. การบัญชี ภาษีมูลค่ าเพิ่ ม ชั้ นสู ง . พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุ งเทพมหานคร : บริ ษทั ชวนพิมพ์ 50 จากัด ASTV ผูจ้ ดั การออนไลน์ . 2554. สรุ ปสถานการณ์ อุทกภัยครั้งประวัติศาสตร์ 2554 (Online). www.manager.co.th, 24 มกราคม 2555.


106

CBRE Condo Society. 2554. ผลกระทบจากวิกฤตินา้ ท่วมต่ อตลาดอสั งหาริมทรัพย์ไทย (Online). www.facebook.com/note.php?note_id=273482599363162, 23 มกราคม 2555.



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.