ปัญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่ าเพิม่ จากสิ นค้ ามือสอง : กรณีศึกษา รถยนต์ มือสอง
โดย นางสาวกอปรลักษณ์ นางสาวภคินี นางสาวมณิสา นางสาวพิชญ์ สินี
รัตนเพียรธัมมะ พุ่มพวง แสงสุ ข กิจส่ งเสริมธน
ปัญหาพิเศษนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554
ปัญหาพิเศษ ของ นางสาวกอปรลักษณ์ นางสาวภคินี นางสาวมณิ สา นางสาวพิชญ์สินี
รัตนเพียรธัมมะ พุม่ พวง แสงสุ ข กิจส่ งเสริ มธน
เรื่ อง ปัญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสอง : กรณี ศึกษา รถยนต์มือสอง
ได้รับการตรวจสอบและอนุมตั ิ ให้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริ หาร
เมื่อ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2555 อาจารย์ที่ปรึ กษาปัญหาพิเศษ (อาจารย์ประไพพิศ สวัสดิ์รัมย์, บช.ม.) ผูป้ ระสานงานรายวิชา (ผศ.พัชนิจ เนาวพันธ์, บธ.ม.)
ปัญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสอง : กรณี ศึกษา รถยนต์มือสอง Problems Related To The Collection Of Value Added Taxes : A Case Study Of Second Cars
โดย นางสาวกอปรลักษณ์ นางสาวภคินี นางสาวมณิ สา นางสาวพิชญ์สินี
รัตนเพียรธัมมะ พุม่ พวง แสงสุ ข กิจส่ งเสริ มธน
51233781 51234177 51234201 51239101
ปัญหาพิเศษฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริ หารธุรกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554
(1)
กิตติกรรมประกาศ ปั ญหาการจัดเก็บภาษี มูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามื อสอง กรณี ศึกษารถยนต์มือสอง ฉบับนี้ ได้มาจาก การศึกษาข้อมูล การสื บค้นข้อมูล การอ่านและวิเคราะห์จากการศึกษา ส่ งผลให้คณะผูจ้ ดั ทําได้รับความรู ้เรื่ อง ปั ญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในรถยนต์มือสอง รายงานฉบับนี้ เกิดขึ้นได้เนื่ องจากการได้รับ การสนับสนุ นและความร่ วมมือจากอาจารย์ และเพื่อนๆ คณะผูจ้ ดั ทําประทับใจและขอขอบพระคุณในการ สนับสนุนและความร่ วมมือของทุกคนมาดังนี้ ขอขอบคุ ณ อาจารย์ประไพพิ ศ สวัสดิ์ รั มย์ ที่ ช่ วยถ่ ายทอดวิ ชาความรู ้ แก่ คณะผูจ้ ัดทํา ได้ให้ คําปรึ กษา ข้อชี้แนะ และคอยให้ความช่วยเหลือในหลายสิ่ งหลายอย่างจนกระทัง่ ลุล่วงไปได้ดว้ ยดี ขอขอบคุณ เพื่อนๆ นิ สิต ที่ช่วยเป็ นที่ปรึ กษาและให้การสนับสนุนในเรื่ องต่างๆ รวมถึงกําลังใจ ซึ่ ง ทําให้การจัดทํารายงานการศึกษาฉบับนี้สาํ เร็ จ สุ ดท้ายนี้ขอขอบพระคุณ บิดา มารดา ของคณะผูจ้ ดั ทําที่ได้มอบชีวิต การศึกษาและอนาคตที่ดี ให้แก่คณะผูจ้ ดั ทํา รวมถึงสมาชิกในครอบครัวทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือและกําลังใจกับคณะผูจ้ ดั ทํา ตลอดมา รวมทั้งกลุ่มผูอ้ ยู่เบื้องหลังความสําเร็ จของงานอีกมากมาย ซึ่ งคณะผูจ้ ดั ทําก็ขอขอบคุณมา ณ ที่น้ ีดว้ ย คุณค่าและประโยชน์อนั พึงมีจากรายงานฉบับนี้คณะผูจ้ ดั ทําขอมอบแด่ผมู ้ ีพระคุณทุกท่าน คณะผูจ้ ดั ทํา 29 กุมภาพันธ์ 2555
(2)
กอปรลักษณ์ รัตนเพียรธัมมะ และคณะ 2554: ปั ญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสอง : กรณี ศึกษา รถยนต์มือสอง ปริ ญญาบริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริ หาร อาจารย์ที่ปรึ กษาวิชาปัญหาพิเศษ: อาจารย์ประไพพิศ สวัสดิ์รัมย์, บธ.บ, บช.ม 67 หน้า การศึกษาครั้ งนี้ มีความประสงค์ที่จะศึกษาถึงวิธีการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากรถยนต์มือ สอง โดยเริ่ มศึกษาตั้งแต่วิธีการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หลักเกณฑ์ในการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ฐานภาษี อัตราภาษี เกณฑ์การคํานวณภาษี กําหนดเวลาจดทะเบียน สถานที่จดทะเบียนภาษีมูลค่า การยืน่ แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม กําหนดเวลา สถานที่ ยืน่ แบบและการชําระภาษี การจัดเก็บ ภาษีมูลค่าเพิ่มสําหรับการขายทอดตลาดทรัพย์สิน ตลอดจนการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสอง เพื่อพิจารณาถึงประสิ ทธิภาพในการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสองในประเทศไทย โดยมีวิธี การศึกษาจากบทบัญญัติของกฎหมายไทยจากประมวลรั ษฎากร พระราชกฤษฎี กา ประกาศจาก อธิบดีกรมสรรพากร คําสัง่ กรมสรรพากร วิทยานิพนธ์ งานวิจยั วารสารและหนังสื ออื่นๆที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการศึกษาโดยสัมภาษณ์จากผูป้ ระกอบการขายสิ นค้ามือสองที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่ จ. ชลบุรี เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาศึกษาวิเคราะห์ หาข้อสรุ ป ข้อเสนอแนะและวิธีการแก้ไขในปั ญหาที่ เกิดขึ้นจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสอง ผลการศึกษาพบว่า วิธีการให้เครดิ ตภาษี มูลค่าเพิ่มในขณะซื้ อสิ นค้าจะช่ วยบรรเทาการ จัด เก็ บ ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ซํ้าซ้ อ นในขณะทํา การซื้ อ สิ น ค้า โดยการให้ เ ครดิ ต แก่ ผู ้ซ้ื อ สิ น ค้า จาก ผูป้ ระกอบการจดทะเบียน ส่ วนวิธีการอื่นๆ จะช่วยบรรเทาปั ญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ การแก้ปัญหาความไม่เป็ นธรรมในการรับภาระภาษี การแก้ปัญหาการโอนลอยของทะเบียนรถยนต์ การแก้ปัญหาการจดทะเบียนพาณิ ชย์ของผูป้ ระกอบการขายสิ นค้ามือสอง อีกทั้งวิธีการแก้ปัญหา จากการคํานวณภาษีขายตํ่ากว่าราคาจริ ง จากการศึกษาปั ญหาของการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสองฉบับนี้ เป็ นประโยชน์ ต่อผูน้ กั บัญชีและกรมสรรพากร เนื่องจากทําให้ทราบถึงปัญหาของการจัดเก็บภาษีจากสิ นค้ามือสอง ประเภทรถยนต์มือสองในประเทศไทยที่ ประสบอยู่ในปั จจุ บนั อันเป็ นแนวทางที่ จะใช้ในการ แก้ปัญหาระบบการจัดเก็บภาษีจากสิ นค้ามือสองให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น _____________________________ ________________________ ___/___/___ นางสาวกอปรลักษณ์ รัตนเพียรธัมมะ
อาจารย์ ประไพพิศ สวัสดิ์รัมย์
(3)
สารบัญ หน้ า กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่ อ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ
(1) (2) (3) (5) (6)
บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา วิธีการศึกษาค้นคว้า ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ นิยามศัพท์
1 2 2 2 2 3
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
5 24
บทที่ 3 ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับรถยนต์ มือสองและประวัติกจิ การกรณีศึกษา ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับรถยนต์มือสอง ประวัติและความเป็ นมาของรถยนต์ในประเทศไทย ประวัติกิจการกรณี ศึกษา
27 28 31
(4)
สารบัญ (ต่อ) บทที่ 4 ผลการวิจัยและข้ อวิจารณ์ หลักเกณฑ์การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายรถยนต์มือสอง ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากรถยนต์มือสอง แนวทางการแก้ไขปัญหาของการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากรถยนต์มือสอง
33 42 59
บทที่ 5 บทสรุปและข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป ข้อเสนอแนะ
65 68
บรรณานุกรม
70
(5)
สารบัญตาราง หน้ า ตารางที่
4.1 แสดงลําดับการซื้อสิ นค้ามือสองโดยผูป้ ระกอบการที่อยูใ่ น ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มตามตัวอย่างที่ 1
42
4-2 แสดงลําดับการซื้อสิ นค้ามือสองโดยผูป้ ระกอบการที่อยูใ่ น ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มและผูป้ ระกอบการที่ไม่อยูใ่ นบังคับต้อง เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มตามตัวอย่างที่ 2
43
4-3 แสดงลําดับการซื้อสิ นค้ามือสองโดยผูป้ ระกอบการที่อยูใ่ น ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มและผูป้ ระกอบการที่ไม่อยูใ่ นบังคับต้อง เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มตามตัวอย่างที่ 3
45
(6)
สารบัญภาพ หน้ า ภาพที่
3-1 แสดงลักษณะสถานที่ต้ งั กิจการ หรั่งคูคต กู๊ดคาร์
30
3-2 แสดงลักษณะสถานที่ต้ งั กิจการ หรั่งคูคต กู๊ดคาร์
31
บทที่ 1 บทนํา ทีม่ าและความสํ าคัญของการศึกษา ด้วยสภาวะสังคมในปั จจุบนั ที่เน้นการเจริ ญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ ทําให้มีการผลิตสิ นค้า เพื่ออุปโภค/บริ โภคขึ้นอย่างมากมาย ส่ งผลให้สินค้าบางประเภทยังไม่ทนั จะหมดอายุการใช้งานก็ ไม่เป็ นที่ตอ้ งการของผูใ้ ช้สินค้า ซึ่งทําให้สินค้านั้นถูกนํามาทําลายหรื อนําไปขายต่อให้กบั บุคคลอื่น ที่มีความต้องการในตัวสิ นค้านั้น สิ นค้าดังกล่าวนั้นครั้งหนึ่ งเคยเสี ยภาษีมูลเพิ่มแล้วจากราคาเต็ม จํา นวน แต่ เ มื่ อ ถู ก ขายเปลี่ ย นมื อ ให้ กั บ ผู ้ป ระกอบการหรื อบุ ค คลอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู่ ใ นระบบ ภาษี มู ลค่ า เพิ่ ม ซึ่ ง ไม่ ส ามารถขอคื น ภาษี มู ลค่ า เพิ่ ม ที่ ตอ้ งเสี ย ไปในขณะซื้ อสิ น ค้า ทํา ให้สิน ค้า ดังกล่าวมีตน้ ทุนจากภาษีมูลค่าเพิ่มแฝงอยู่ และเมื่อบุคคลดังกล่าวขายสิ นค้าต่อไปในลักษณะมือ สองให้แก่ผปู ้ ระกอบการที่ซ้ื อสิ นค้าไปใช้ในกิจการหรื อผูป้ ระกอบการที่ดาํ เนิ นธุ รกิจซื้ อสิ นค้ามือ สอง ผูป้ ระกอบการเหล่านั้นก็ไม่สามารถที่จะขอเครดิตภาษีมูลค่าเพิ่มที่แฝงอยูใ่ นต้นทุนสิ นค้าคืน ได้ เนื่องจากผูป้ ระกอบการหรื อบุคคลอื่นที่ไม่ได้อยูใ่ นระบบภาษีมูลค่าเพิ่มนั้น ไม่มีหน้าที่ตอ้ งเรี ยก เก็บภาษีขายและไม่มีหน้าที่ตอ้ งออกใบกํากับภาษี ดังนั้น จึงไม่มีภาษีซ้ือจากการที่ผปู ้ ระกอบการจด ทะเบี ยนได้ซ้ื อสิ นค้าดังกล่าว ทําให้ไม่สามารถคํานวณภาษี มูลค่าเพิ่มและเครดิ ตภาษี ได้ ดังนั้น สิ น ค้ามื อสองที่ มีตน้ ทุ น มู ลค่า เพิ่มแฝงอยู่น้ ัน จะส่ งผลกระทบต่ อมู ลค่าของสิ น ค้าหรื อบริ การที่ ผูป้ ระกอบการทําการผลิตหรื อในกรณี ที่ผปู ้ ระกอบธุรกิจซื้อ-ขายสิ นค้ามือสอง ทําการขายสิ นค้านั้น ต่อไป ก็ตอ้ งเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มซํ้าซ้อนบนฐานภาษีเดิ ม นอกจากฐานมูลค่าที่เพิ่มขึ้นของสิ นค้าอีก ด้วย ปั จจุบนั รถยนต์กลายเป็ นปั จจัยสําคัญในการดํารงชี วิตของคนไทย อีกทั้งการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของประเทศที่เติบโตขึ้น ส่ งผลให้ประชาชนจําเป็ นต้องใช้รถยนต์มากขึ้น ตลาดรถยนต์ที่ รองรับความต้องการของลูกค้ามีอยู่ 2 กลุ่มด้วยกัน คือ ตลาดรถยนต์ใหม่และตลาดรถยนต์ที่ใช้แล้ว หรื อที่รู้จกั กันในนามตลาดรถยนต์มือสอง ซึ่งถือเป็ นอีกทางเลือกหนึ่ งสําหรับผูท้ ี่ตอ้ งการใช้รถยนต์ เนื่ องจากราคารถยนต์ป้ายแดงในปั จจุบนั มีราคาสู งจนไม่สามารถซื้ อได้ ดังนั้น รถยนต์มือสองจึง เป็ นเป้ าหมายแรกๆ สําหรับประชาชนส่ วนใหญ่ในปัจจุบนั
2
วัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาถึงหลักเกณฑ์การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายรถยนต์มือสอง 2. เพื่อศึกษาถึงปั ญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากรถยนต์มือสอง 3. เพื่อทราบถึงแนวทางการแก้ไขปั ญหาของการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากรถยนต์มือสอง ขอบเขตของการศึกษา ในการศึ ก ษาครั้ งนี้ จะทํา การศึ ก ษาถึ ง การจัด เก็ บ ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม จากสิ น ค้า มื อ สองตาม บทบัญญัติแห่ งกฎหมายของประเทศไทย รวมทั้งศึกษาถึงผลกระทบและปั ญหาที่เกิ ดขึ้นจากการ จัดเก็บภาษีมูลค่าเพิม่ จากสิ นค้ามือสองในปัจจุบนั วิธีการศึกษาและค้ นคว้ า ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากบทบัญญัติของกฎหมายไทยจากประมวลรัษฎากร พระราชกฤษฎีกา ประกาศจากอธิ บดีกรมสรรพากร คําสั่งกรมสรรพากร วิทยานิ พนธ์ งานวิจยั วารสารและหนังสื อ อื่นๆที่ เกี่ ยวข้อง รวมถึ งการศึกษาโดยสัมภาษณ์ จากผูป้ ระกอบการขายสิ นค้ามื อสองที่ เป็ นกลุ่ม ตัวอย่างในพื้นที่ จ.ชลบุรี เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาศึกษาวิเคราะห์ หาข้อสรุ ป ข้อเสนอแนะและวิธีการ แก้ไขในปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสอง ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ 1. ทําให้ทราบถึงหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิม่ จากการขายรถยนต์มือสอง 2. ทําให้ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายรถยนต์มือสอง
3
3. ทําให้ทราบถึงวิธีการที่จะป้ องกันและแก้ไขปั ญหาการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากรถยนต์มือ สองในปัจจุบนั 4. ช่วยให้กิจกรรมการขายรถยนต์มือสองในบางกรณี เข้ามาสู่ ระบบของภาษีมูลค่าเพิ่ม นิยามศัพท์ ภาษีขาย หมายถึง ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนได้เรี ยกเก็บหรื อพึง เรี ยกเก็บจากผูซ้ ้ือสิ นค้าหรื อผูร้ ับบริ การ เมื่อขายสิ นค้าหรื อรับชําระค่าบริ การ ภาษีซื้อ หมายถึง ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผปู ้ ระกอบการได้จ่ายให้กบั ผูข้ ายสิ นค้าหรื อผู ้ ให้บริ การที่เป็ นผูป้ ระกอบการจดทะเบียน เมื่อซื้ อสิ นค้าหรื อชําระค่าบริ การเพื่อใช้ประกอบกิจการ ของตน ภาษีมูลค่ าเพิม่ หมายถึง ภาษีที่เก็บจากการบริ โภคของประชาชน ที่ภาระภาษีตอ้ งตกไป ยังผูบ้ ริ โภค โดยจัดเก็บผ่านผูป้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ ที่เป็ นผูข้ ายสิ นค้าหรื อให้บริ การ จดทะเบียนเสี ยภาษีจากมูลค่าของสิ นค้าหรื อบริ การเฉพาะส่ วนที่เพิ่มขึ้นแต่ละขั้นตอนของการขาย สิ นค้าหรื อบริ การเท่านั้น ใบกํากับภาษี หมายถึง เอกสารหลักฐานที่ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มมี หน้าที่ตอ้ งจัดทําและออกให้แก่ผซู ้ ้ือสิ นค้าหรื อผูร้ ับบริ การ ทุกครั้งที่ขายสิ นค้าหรื อให้บริ การ สิ นค้ ามือสอง หมายถึง สิ นค้าที่ยงั เป็ นของใหม่ ผ่านการใช้งานมาบ้าง แต่ยงั อยูใ่ นสภาพ ดีเกือบเต็มร้อย รถยนต์ หมายถึง รถยนต์นั่งส่ วนบุคคลไม่เกินเจ็ดคนหรื อรถยนต์นั่งส่ วนบุคคล เกินเจ็ดคนแต่ไม่เกินสิ บสองคน และรถบรรทุกที่มีน้ าํ หนักไม่เกินหนึ่งพันหกร้อยกิโลกรัม ซึ่งมิได้ ใช้ประกอบการขนส่ งเพื่อสิ นจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่ ง
4
รถยนต์ มือสอง หมายถึง รถยนต์นั่งส่ วนบุคคลที่ มีการจดทะเบี ยนตามพระราชบัญญัติ รถยนต์ พ.ศ.2522 เต็นท์ รถ ดําเนินธุรกิจรถยนต์
หมายถึง เป็ นคําเรี ยกทัว่ ไปสําหรับร้าน หรื อบริ ษทั ที่ทาํ การจําหน่ายหรื อ
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง การศึกษาการจัดการปั ญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสอง ในครั้งนี้ จะทําการ เก็บรวบรวมข้อมูล ศึกษา ค้นคว้า และตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้องในด้านต่างๆ เพื่อนํามากําหนด เป็ นกรอบความคิดการดําเนินงานการศึกษา 1. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม 2. ผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง แนวคิดและทฤษฎีเกีย่ วกับภาษีมูลค่ าเพิม่ ความหมายภาษีมูลค่ าเพิม่ วรรณวิภา คูสกุล (2553: 5-1) ให้ความหมายของภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ว่า เป็ นภาษีทางอ้อมที่ รัฐจัดเก็บจากการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การของผูป้ ระกอบการรวมถึงการนําเข้าสิ นค้าและบริ การด้วย ผูป้ ระกอบการที่เป็ นผูข้ ายสิ นค้าหรื อให้บริ การจึงสามารถผลักภาระภาษีน้ ี ให้ผบู ้ ริ โภคได้ โดยเรี ยก เก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากผูบ้ ริ โภคด้วยการเครดิตภาษีรวมอยู่ในราคาสิ นค้าและบริ การ เช่นเดียวกับ ยุพดี ศิริวรรณ (2552: 5-1) ได้กล่าวว่า ภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็ นภาษีทางอ้อมที่กาํ หนดให้ผปู ้ ระกอบการ ผูน้ าํ เข้า และผูท้ ี่ประมวลรัษฎากรกําหนดเป็ นผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่สามารถผลักภาระภาษี ให้กบั ผูซ้ ้ื อสิ นค้าและ/หรื อผูร้ ับบริ การ โดยเรี ยกเก็บค่าภาษีมูลค่าเพิ่มนอกเหนื อจากค่าสิ นค้าและ บริ การ ตามที่กฎหมายกําหนดได้ เหมือนกับกลุ่มนักวิชาการภาษีอากร. (2553: 231) กล่าวถึง ความหมายของภาษีมูลค่าไว้ว่า ตามประมวลรัษฎากรเป็ นภาษีทางอ้อมประเภทหนึ่ งที่จดั เก็บจาก ฐานการบริ โภคทัว่ ไป ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะเริ่ มบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2535 โดยนํ า มาใช้ แ ทนภาษี ก ารค้า ซึ่ งถู ก ยกเลิ ก ไปเพราะไม่ ส อดคล้อ งกับ สภาวการณ์ ปั จ จุ บ ัน เช่นเดียวกับสุ พฒั นา นาคประดิษฐ์ (2553) กล่าวถึงภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax หรื อใช้ตวั ย่อ ว่า VAT) ไว้ว่า คือภาษีที่รัฐบาลเรี ยกเก็บจากมูลค่าส่ วนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอนการผลิต สิ นค้า
6 หรื อบริ การ และการจําหน่ายสิ นค้าหรื อบริ การชนิ ดต่าง ๆ โดยผูป้ ระกอบการเป็ นผูม้ ีหน้าที่เก็บจาก ลูกค้า แล้วนําภาษีมูลค่าเพิม่ ไปชําระให้แก่รัฐบาล ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (วรรณวิภา คูสกุล, 2553: 5-1 – 5-2) 1. ผูป้ ระกอบการที่ขายสิ นค้าหรื อให้บริ การในทางธุรกิจหรื อวิชาชีพเป็ นปกติธุระ ไม่ว่า จะประกอบกิจการในรู ปของบุคคลธรรมดา คณะบุคคลหรื อห้างหุ น้ ส่ วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคลหรื อ นิติบุคคลใดๆ 2. ผูน้ าํ เข้า หมายถึง ผูป้ ระกอบการหรื อบุคคลอื่นใดที่นาํ สิ นค้าเข้ามาในราชอาณาจักร ต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ 3. ผูท้ ี่กฎหมายกําหนดให้มีหน้าที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ ตัวแทน กรณี ที่ผปู ้ ระกอบการอยูน่ อกราชอาณาจักรและได้ขายสิ นค้าหรื อให้บริ การใน ราชอาณาจักรเป็ นปกติธุระ โดยมีตวั แทนอยูใ่ นราชอาณาจักร ผูร้ ับโอนสิ นค้าหรื อผูร้ ับโอนสิ ทธิ ในบริ การ จากการขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การที่ได้ เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 ถ้าภายหลังได้มีการโอนกรรมสิ ทธิ์ในสิ นค้า หรื อโอนสิ ทธิใน บริ การนั้นไปให้บุคคลที่ มิใช่ องค์การสหประชาชาติ ทบวงการชํานาญพิเศษของสหประชาชาติ สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุ ลใหญ่ สถานกงสุ ล ผูท้ ี่มีความรับผิดชอบตามกฎหมายว่าด้วยพิกดั อัตราศุลกากรหรื อผูร้ ับโอนสิ นค้า ถ้ามี การโอนสิ นค้า กรณี สินค้านําเข้าที่ จาํ แนกประเภทไว้ในภาคว่าด้วยของที่ได้รับยกเว้นอากรตาม กฎหมายว่าด้วยพิกดั อัตราศุลกากร ซึ่งได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ถ้าภายหลังสิ นค้านั้นต้องเสี ยอากร ตามกฎหมายว่าด้วยพิกดั อัตราศุลกากร 4. ผูท้ ี่ ค วบเข้า กัน และผูป้ ระกอบกิ จ การใหม่ กรณี ที่ มี ก ารควบกิ จ การที่ มี ห น้า ที่ เ สี ย ภาษีมูลค่าเพิ่มเข้ากันด้วย
7
5. ผูโ้ อนและผูร้ ับโอน กรณี มีการโอนกิจการให้กนั นอกจากนี้ กรณี ที่ผปู ้ ระกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักรและได้เข้ามาประกอบกิจการ ขายสิ นค้าหรื อให้บริ การในราชอาณาจักรเป็ นชัว่ คราว โดยไม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มชัว่ คราว หรื อในกรณี ที่ ผู ้ป ระกอบการได้ใ ห้ บ ริ การจากต่ า งประเทศและได้มี ก ารใช้ บ ริ การนั้ นใน ราชอาณาจักรให้ผปู ้ ระกอบการดังกล่าวเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มและชําระภาษีมูลค่าเพิ่ม เมื่อความรับผิด ในการเสี ยภาษีเกิดขึ้น สําหรับกรณี ผปู ้ ระกอบการอยู่นอกราชอาณาจักร ให้ผมู ้ ีหน้าที่รับผิดชอบในการประกอบ กิ จการ รวมตลอดถึง ลูกจ้างหรื อผูท้ าํ การแทน ซึ่ งมีอาํ นาจในการจัดการแทนโดยตรงหรื อโดย ปริ ยายที่อยูใ่ นราชอาณาจักรเป็ นผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มร่ วมด้วย ทั้งนี้ผมู ้ ีหน้าที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มดังกล่าว หากมีรายรับจากการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การเกิน กว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี มีหน้าที่ตอ้ งยื่นคําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อเป็ นผูป้ ระกอบการจด ทะเบียน โดยคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ตอ้ งเสี ยจากภาษีขายหักด้วยภาษีซ้ือ ฐานภาษีมูลค่ าเพิม่ โดยทัว่ ไป เมื่อความรับผิดในภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนต้องจัดทํา ใบกํากับภาษี ที่แสดงจํานวนเงิ นค่าสิ นค้าและภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรี ยกเก็บหรื อพึงเรี ยกเก็บจากผูซ้ ้ื อ สิ น ค้า หรื อผูร้ ั บบริ ก าร ซึ่ งคํานวณจากฐานภาษี ตามที่ ประมวลรั ษ ฎากรกําหนด คู ณ ด้ว ย อัตรา ภาษีมูลค่าเพิ่ม ฐานภาษีมูลค่าเพิ่มตามที่กาํ หนดในมาตรา 79 ดังต่อไปนี้ (ยุพดี ศิริวรรณ, 2552: 6-1, 6-2) 1. ฐานภาษีสาํ หรับการขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การโดยทัว่ ไป
8 มาตรา 79 ภายใต้บงั คับมาตรา 79/1 ฐานภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายสิ นค้าหรื อการ ให้บริ การ ได้แก่ มูลค่าทั้งหมดที่ผปู ้ ระกอบการได้รับหรื อพึงได้รับจากการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การ รวมทั้งภาษีสรรพสามิตที่ตอ้ งชําระ (ถ้ามี) มู ลค่ า ของฐานภาษี ให้ห มายความรวมถึ ง เงิ น ทรั พ ย์สิน ค่า ตอบแทน ค่า บริ ก าร หรื อ ประโยชน์ใด ๆ ซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็ นเงิน แต่ไม่รวมถึง (1) ส่ วนลดหรื อค่าลดหย่อนที่ให้ในขณะขายสิ นค้าหรื อให้บริ การ เช่น ส่ วนลดการค้า (Trade Discount) ที่ได้แสดงไว้ชดั แจ้งในใบกํากับภาษี เว้นแต่เป็ นใบกํากับภาษีอย่างย่อจะไม่แสดง อย่างชัดแจ้งก็ได้ (2) ค่าชดเชย หรื อเงินอุดหนุนตามที่อธิบดีกาํ หนด (3) ภาษีขาย ที่ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนเรี ยกเก็บไม่ตอ้ งนําไปรวมเป็ นฐานภาษี (4) ค่าตอบแทนที่มีลกั ษณะและเงื่ อนไข ตามประกาศอธิ บดี กรมสรรพากรเกี่ ยวกับ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ฉบับที่ 40 ฉบับที่ 117 2. ฐานภาษีสาํ หรับการส่ งออกสิ นค้า ตามมาตรา 79/1 (1) ได้แก่ มูลค่าสิ นค้าส่ งออกโดย ใช้ราคา F.O.B. ของสิ นค้าบวกด้วยภาษีสรรพสามิตและภาษีหรื อค่าธรรมเนี ยมอื่นตามที่กฎหมาย กําหนด แต่ท้ งั นี้ไม่รวมอากรขาออก 3. ฐานภาษีสาํ หรับการให้บริ การขนส่ งระหว่างประเทศ ตามมาตรา 79/1 (2) แบ่งได้เป็ น 2 กรณี คือ 3.1 กรณี รับขนคนโดยสาร ได้แก่ มูลค่าของค่าโดยสาร ค่าธรรมเนี ยม หรื อประโยชน์ อื่นใดที่ เรี ยกเก็บในประเทศก่อนหักรายจ่ายใด ๆ เนื่องในการรับขนคนโดยสารนั้น
9 3.2 กรณี รับขนสิ นค้า ได้แก่ มูลค่าของค่าระวาง ค่าธรรมเนี ยม และประโยชน์อื่นใดที่ เรี ยกเก็บไม่ว่าในหรื อนอกประเทศ ก่อนหักรายจ่ายใด ๆ เนื่ องจากการรั บขนสิ นค้านั้นออกนอก ประเทศ 4. ฐานภาษีสาํ หรับการนําเข้า ตามมาตรา 79/2 ซึ่งสรุ ปหลักเกณฑ์ได้ ดังนี้ ฐานภาษีสาํ หรับการนําเข้าทุกประเภท ได้แก่ มูลค่าของสิ นค้านําเข้าโดยให้ใช้ราคา C.I.F. ของสิ นค้า บวกด้วยอากรขาเข้า ภาษีสรรพสามิต (ถ้ามี) ค่าธรรมเนียมพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการ ส่ งเสริ มการลงทุนภาษีและค่าธรรมเนียมอื่นตามที่กฎหมายกําหนด ราคา C.I.F. ได้แก่ ราคาทุนของสิ นค้า บวกด้วย ค่าประกันภัยและค่าขนส่ งถึงด่านศุลกากร ที่นาํ สิ นค้านั้นเข้าราชอาณาจักร เว้นแต่กรณี ที่อธิ บดีกรมศุลกากรประกาศให้ใช้ราคาตลาดถัวเฉลี่ย ของสิ น ค้านั้น หรื อราคาที่ ป ระเมิ น ใหม่ ในบางกรณี โดยให้ถือราคานั้น เป็ นราคาสิ น ค้า ในการ คํานวณราคา C.I.F. อากรขาเข้า ที่ ผูน้ ํา เข้า ได้รั บ ยกเว้น หรื อ ลดหย่อ นตามกฎหมายส่ ง เสริ ม การลงทุ น หรื อ กฎหมายอื่น ซึ่ งไม่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ต้องนําอากรขาเข้าที่ได้รับยกเว้นหรื อลดหย่อนมา รวมเป็ นฐานภาษีดว้ ย กรณี นาํ เข้าสิ นค้าที่ผูน้ าํ เข้าได้รับยกเว้นอากรตามกฎหมายว่าด้วยพิกดั อัตราศุลกากร ซึ่ ง ได้รับการยกเว้นภาษี มูลค่าเพิ่มด้ว ย ถ้าภายหลังสิ น ค้านั้น ต้องเสี ยอากรขาเข้าอันทําให้ตอ้ งเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย ให้ถือมูลค่าตามสภาพหรื อปริ มาณของสิ นค้าที่เป็ นอยูใ่ นวันที่ความรับผิดเกิดขึ้น 5. ฐานภาษีกรณี ขายผลิตภัณฑ์น้ าํ มัน ตามมาตรา 79/6 สรุ ปได้ ดังนี้ 5.1 นํ้ามันดิบ ฐานภาษีคือ ราคา F.O.B. บวกภาษีสรรพสามิต
10 5.2 ผลิตภัณฑ์น้ าํ มันแต่ละชนิ ด ฐานภาษีคือ มูลค่าผลิตภัณฑ์ชนิ ดนั้น ๆ ที่ได้จากการ หักจํานวนภาษีมูลค่าเพิ่มออกจากจํานวนเต็มของราคาขายปลีกของสิ นค้า โดยให้คาํ นวณจํานวน ภาษีมูลค่าเพิ่มตามอัตราภาษีมูลค่าเพิม่ ที่รวมอยูใ่ นจํานวนเต็มของราคาขายปลีก อัตราภาษีมูลค่ าเพิม่ อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มเป็ นดังนี้ (กลุ่มนักวิชาการภาษีอากร, 2553: 253-254) 1. อัตราภาษี ปกติ ตามประมวลรั ษฎากรมี อตั ราเดี ยวกัน คื อร้ อยละ 10 (ยังไม่ ร วม ภาษีมูลค่าเพิ่มของราชการบริ หารส่ วนท้องถิ่น) แต่มีพระราชกฤษฎีกาลดอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มเป็ น การชัว่ คราวอีกร้อยละ 10 เหลือร้อยละ 6.3 เมื่อรวมภาษีทอ้ งถิ่นอีกร้อยละ 0.7 จะเท่ากับร้อยละ 7 ส่ วนสิ นค้าและบริ การบางประเภทที่ มีลกั ษณะเป็ นสิ่ งฟุ่ มเฟื อย จะมีการจัดเก็บภาษี สรรพสามิ ต เพิ่มเติมอีกต่างหากด้วย ดังนั้นผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มโดยทัว่ ไปจึงต้องเสี ยภาษีในอัตราดังกล่าวข้างต้น เว้นแต่ ในกรณี ที่จะกล่าวในข้อ 2. 2. อัตราภาษีร้อยละ 0 มีผลเท่ากับไม่ตอ้ งเสี ยภาษีขายจากการขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การ และยังได้รับคืนภาษี อัตราภาษีมูลค่าเพิม่ ร้อยละ 0 ใช้สาํ หรับการประกอบการดังต่อไปนี้ (ก) การส่ งออกสิ นค้าของผูป้ ระกอบการจดทะเบียน (ข) การให้บริ การในที่กระทําในราชอาณาจักรและได้มีการใช้บริ การนั้นในต่างประเทศ ตามประเภทหลักเกณฑ์ วิธีการเงื่อนไขตามที่อธิ บดีกาํ หนด นอกจากนี้ ยังรวมถึงการให้บริ การต่อ เรื อเดินทะเล การให้บริ การซ่ อมแซมอากาศยานหรื อเรื อเดินทะเล และการให้บริ การประกันวินาศ ภัยตามกฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัยสําหรับทรัพย์สินในต่างประเทศ หรื อสําหรับสิ นค้าที่ได้
11 ส่ งออกทัว่ ราชอาณาจักรและการบริ การที่กระทําในราชอาณาจักรเพื่อใช้ผลิตสิ นค้าในเขตปลอด อากร ดูประกาศอธิบดีกรมสรรพากร (ฉบับที่ 105) ประกอบ การให้บริ การที่ ก ระทํา ในราชอาณาจัก รและได้มีก ารใช้บริ การนั้น ในต่ างประเทศ ให้ รวมถึงการให้บริ การที่กระทําในราชอาณาจักร เพื่อใช้ผลิตสิ นค้าในเขตปลอดอากรเพื่อส่ งออก และ การให้บริ การที่กระทําในเขตดังกล่าวเพื่อให้ผลิตสิ นค้าเพื่อส่ งออกด้วย (ค) การให้บริ การขนส่ งระหว่างระเทศโดยอากาศยานหรื อเรื อเดิ นทะเล ที่ กระทําโดย ผูป้ ระกอบการที่เป็ นนิ ติบุคคล (เดิมก่อนมีการแก้ไขกฎหมายตามพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2541 เริ่ มบังคับใช้ พ.ศ. 2542 นั้น ถ้าเป็ นผูป้ ระกอบการที่เป็ นนิ ติบุคคลที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมาย ต่างประเทศจะได้รับอัตราศูนย์เฉพาะกรณี ที่ประเทศนั้นให้การปฏิบตั ิกบั นิ ติบุคคลไทยในทํานอง เดียวกัน) (ง) การขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การแก่ส่วนราชการหรื อรัฐวิสาหกิจ ตามโครงการเงินกู้ หรื อเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ (จ) การขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การกับองค์การสหประชาชาติ ทบวงการชํานาญพิเศษ ของสหประชาชาติ สถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุ ลใหญ่ สถานกงสุ ล (ฉ) การขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การที่ก่อให้เกิ ดสิ นค้าที่มีรูปร่ างหรื อการให้บริ การที่ไม่ ก่ อ ให้เ กิ ด สิ น ค้าที่ มี รูปร่ าง แต่ ทาํ ให้สิ น ค้ามี ป ระสิ ทธิ ภ าพมากขึ้ น หรื อมี มูล ค่า เพิ่ มขึ้ น ระหว่า ง คลังสิ นค้าทัณฑ์บนด้วยกัน หรื อระหว่างผูป้ ระกอบการที่ประกอบกิจการอยูใ่ นเขตปลอดอากรไม่ว่า อยู่ในเขตเดี ยวกันหรื อไม่ รวมทั้งการขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การระหว่างคลังสิ นค้าทัณฑ์บน ด้ ว ยกั น หรื อไม่ รวมทั้ง การขายสิ น ค้า หรื อการให้ บ ริ การระหว่ า งคลัง สิ น ค้า ทัณ ฑ์ บ นกั บ ผูป้ ระกอบการที่ประกอบกิจการอยูใ่ นเขตปลอดอากร การคํานวณภาษีมูลค่ าเพิม่
12 เรื่ องการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามประมวลรัษฎากร แยกได้เป็ น 2 นัย ดังนี้ (ยุพดี ศิ ริ วรรณ, 2552: 6-7, 6-8) 1. การคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนต้องเรี ยกเก็บหรื อพึงเรี ยกเก็บจากผู ้ ซื้อสิ นค้า หรื อผูร้ ับบริ การ ซึ่ งต้องพิจารณาทั้งจุดความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มและฐานภาษี ตามที่กล่าวมาแล้ว ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ตอ้ งเรี ยกเก็บ หรื อพึงเรี ยกเก็บ = ฐานภาษี x อัตราภาษี (ที่รวมภาษีทอ้ งถิ่น) (ภาษีขาย) จํานวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่คาํ นวณจากมูลค่าของสิ นค้าหรื อบริ การที่มีเศษเป็ นจุดทศนิ ยมให้ พิจารณาตัวที่สามหลังจุดทศนิยม ถ้ามีคา่ ไม่ถึง 5 ให้ปัดเศษทิ้ง ถ้ามีค่าตั้งแต่ 5 ขึ้นไป ให้ปัดเศษขึ้น 2. การคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนจะต้องชําระเป็ นรายเดือนภาษี หรื อมีสิทธิขอรับคืนภาษี หรื อขอนําไปเป็ นเครดิตภาษีเดือนถัดไป ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ตอ้ งชําระ หรื อ (มีสิทธิได้รับคืน) = ภาษีขาย – ภาษีซ้ือ ภาษีซ้ื อ หมายถึง ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนถูกผูป้ ระกอบการจดทะเบียน รายอื่นเรี ยกเก็บ หรื อพึงเรี ยกเก็บ ตามใบกํากับภาษีที่ได้รับในเดือนภาษีน้ นั ซึ่ งภาษีซ้ื อดังกล่าวมิใช่ รายการภาษีซ้ือต้องห้าม ภาษีขาย หมายถึง ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนเรี ยกเก็บ หรื อพึงเรี ยกเก็บจาก ผูซ้ ้ือสิ นค้า และ/หรื อผูร้ ับบริ การ รวมทั้งการจําหน่ายจ่ายโอนสิ นค้า หรื อการใช้บริ การของตนเองที่ ถือว่าเป็ นการขายในเดือนภาษีน้ นั การคํานวณภาษีขายของเดือนภาษี ให้คาํ นวณจาก ผลรวมมูลค่าสิ นค้าที่ขายและ/หรื อมูลค่า บริ การที่ได้รับในเดือนภาษีน้ นั คูณกับ อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม (ที่รวมภาษีทอ้ งถิ่น) จึงอาจมีผลให้ภาษี
13 ขายของเดื อนภาษีที่คาํ นวณจากยอดรวมดังกล่าวมีจาํ นวนที่มากกว่า/หรื อน้อยกว่าผลรวมของค่า ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ได้เรี ยกเก็บ/พึงเรี ยกเก็บจากผูซ้ ้ื อสิ นค้า และ/หรื อผูร้ ับบริ การในเดือนภาษีน้ นั ก็ได้ ทั้งนี้เนื่องจากการปัดเศษทศนิยมในการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรี ยกเก็บในแต่ละครั้ง วิธีการจดทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิม่ (กรมสรรพากร, 2549) 1. แบบคําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แบบคําขอที่ใช้ในการขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ แบบ ภ.พ.01 ซึ่ งในเขต กรุ งเทพมหานครขอรับได้ที่สาํ นักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (เขต/อําเภอ) หรื อสํานักงานสรรพากร พื้นที่ สําหรับในจังหวัดอื่นขอรับได้ที่สาํ นักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (อําเภอ) ทุกแห่ง 2. เอกสารที่ตอ้ งใช้ในการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (1) คําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มตามแบบ ภ.พ.01 จํานวน 3 ฉบับ (2) สําเนาทะเบี ยนบ้านหรื อ หลักฐานแสดงการอยู่อาศัยจริ ง พร้ อมภาพถ่ ายสําเนา ดังกล่าว (3) บัตรประจําตัวประชาชนและบัตรประจําตัวผูเ้ สี ยภาษีอากร พร้ อมภาพถ่ายบัตร ดังกล่าว (4) สัญญาเช่าอาคารอันเป็ นที่ต้ งั สถานประกอบการ (กรณี เช่า) หรื อหนังสื อยินยอมให้ ใช้สถานประกอบการ และหลักฐานแสดงกรรมสิ ทธิ์ เช่น เป็ นเจ้าบ้าน, สัญญาซื้ อขาย, คําขอ หมายเลขบ้าน, ใบโอนกรรมสิ ทธิ์ , สัญญาเช่าช่วง พร้อมสําเนาทะเบียนบ้านอันเป็ นที่ต้ งั สถาน ประกอบการและภาพถ่ายเอกสารดังกล่าว (5) หนังสื อจัดตั้งห้างหุ ้นส่ วน พร้อมภาพถ่ายหนังสื อดังกล่าว (กรณี เป็ นห้างหุ ้นส่ วน สามัญหรื อคณะบุคคล)
14
(6) หนังสื อรับรองของนายทะเบียนห้างหุ ้นส่ วน บริ ษทั พร้อมวัตถุประสงค์ หนังสื อ บริ คณห์สนธิ และข้อบังคับ และใบทะเบียนพาณิ ชย์พร้อมภาพถ่ายหนังสื อดังกล่าว (กรณี เป็ นนิ ติ บุคคล) (7) บัตรประจําตัวประชาชนของกรรมการผูจ้ ดั การ หรื อหุ ้นส่ วนผูจ้ ดั การ และสําเนา ทะเบียนบ้าน พร้อมภาพถ่ายเอกสารดังกล่าว (8) แผนที่ ซ่ ึ งแสดงที่ ต้ ัง ของสถานประกอบการโดยสั ง เขป และภาพถ่ า ยสถาน ประกอบการจํานวน 2 ชุด (9) กรณี มอบอํานาจให้ผอู ้ ื่นทําการแทน ต้องมีหนังสื อมอบอํานาจปิ ดอากรแสตมป์ 10 บาท บัตรประจําตัวประชาชนของผูม้ อบอํานาจและผูร้ ับมอบอํานาจพร้อมภาพถ่ายบัตรดัง กล่าว โดยผูร้ ับมอบอํานาจต้องมีอายุ 20 ปี ขึ้นไป กําหนดเวลาจดทะเบียน (กรมสรรพากร, 2549) 1. ผูป้ ระกอบการต้องยืน่ คําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อเริ่ มประกอบกิจการขายสิ นค้า หรื อให้บริ การ เว้นแต่กรณี ที่ผปู ้ ระกอบการมีแผนงานที่สามารถพิสูจน์ได้ว่าได้เตรี ยมการเพื่อ ประกอบกิจการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การที่อยูใ่ นบังคับต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มและมีการดําเนิ นการ เพื่อเตรี ยมประกอบกิจการอันเป็ นเหตุให้ตอ้ งมีการซื้ อสิ นค้าหรื อรับบริ การที่อยู่ในบังคับต้องเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่ น การก่ อสร้ างโรงงาน การสร้างอาคารสํานักงานหรื อการติดตั้งเครื่ องจักร ให้ ผูป้ ระกอบการมีสิทธิ ยื่นคําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มได้ภายในกําหนด 6 เดื อนก่อนวันเริ่ ม ประกอบกิจการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การ 2. ผูป้ ระกอบการที่มีรายรับเกิ นกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี ต้องยื่นคําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 30 วันนับแต่วนั ที่มีมูลค่าของฐานภาษี (รายรับ) เกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี สถานทีจ่ ดทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิม่ (กรมสรรพากร, 2549)
15
การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มของผูป้ ระกอบการให้ยนื่ คําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มตาม แบบ ภ.พ.01 ณ สถานที่ดงั ต่อไปนี้ 1. กรณี สถานประกอบการตั้งอยูใ่ นเขตกรุ งเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สํานักงานสรรพากร พื้นที่ หรื อ สํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาในเขตท้องที่ที่ สถานประกอบการตั้งอยู่ 2. กรณี สถานประกอบการตั้งอยูน่ อกเขตกรุ งเทพมหานคร ให้ยนื่ ณ สํานักงานสรรพากร พื้นที่สาขา (อําเภอ) ในเขตท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ และกรณี สถานประกอบการตั้งใน ท้องที่อาํ เภอหรื อกิ่ งอําเภอตั้งใหม่ที่กรมสรรพากรมิได้จดั อัตรากําลังไว้ ให้ยื่น ณ สํานักงาน สรรพากรพื้นที่สาขา (อําเภอ) ที่เคยควบคุมพื้นที่เดิมของอําเภอหรื อกิ่งอําเภอตั้งใหม่น้ นั กรณี สถานประกอบการหลายแห่ ง ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนได้ที่ สํานักงานสรรพากรพื้นที่ หรื อ สํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา ในท้องที่ที่สถานประกอบการอันเป็ นที่ต้ งั ของสํานักงานใหญ่ เพียงแห่งเดียว 3. กรณี สถานประกอบการที่อยู่ในความดูแลของสํานักบริ หารภาษีธุรกิ จขนาดใหญ่ให้ ยืน่ ณ สํานักบริ หารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ หรื อจะยืน่ ผ่านสํานักงานสรรพากรพื้นที่ หรื อสํานักงาน สรรพากรพื้นที่สาขาที่สถานประกอบการตั้งอยูก่ ไ็ ด้ การยืน่ แบบแสดงรายการภาษีมูลค่ าเพิม่ (กรมสรรพากร, 2549) 1. ผูม้ ีหน้าที่ยนื่ แบบ ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 10 (ปั จจุบนั อัตรา ภาษีมูลค่าเพิ่มลดลงเหลืออัตราร้อยละ 7.0 ตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 440) พ.ศ. 2548 มีผลใช้ บังคับจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2550) หรื อผูป้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 โดยคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มจากภาษีขายหักด้วยภาษีซ้ือในแต่ละเดือนภาษี ทั้งนี้ ไม่ว่าผูป้ ระกอบการ
16 ดังกล่าวจะประกอบการในรู ปของบุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ น้ ส่ วนสามัญ กองมรดก บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคล องค์การของรัฐบาล หรื อนิติบุคคลในรู ปแบบใดก็ตาม 2. แบบแสดงรายการที่ใช้ (1) แบบ ภ.พ.01 แบบคําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (2) แบบ ภ.พ.02 แบบคําขอยืน่ แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มรวมกัน (3) แบบ ภ.พ.02.1 แบบคําขอยกเลิกการยืน่ แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มรวมกัน (4) แบบ ภ.พ.04 แบบคําขอรับใบแทนใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (5) แบบ ภ.พ.08 แบบคําขอถอนทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (6) แบบ ภ.พ.09 แบบคําขอแจ้งการเปลี่ยนแปลงทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (7) แบบ ภ.พ. 30 ใช้สําหรับผูป้ ระกอบการจดทะเบียนที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม โดย คํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มจากภาษีขายหักด้วยภาษีซ้ือในแต่ละเดือนภาษี กรณี เดือนภาษีใดมีจาํ นวนภาษี ซื้อมากกว่าภาษีขาย ผูป้ ระกอบการจะได้รับคืนภาษี และสามารถใช้แบบ ภ.พ. 30 นี้เป็ นคําขอคืน ภาษีมูลค่าเพิ่ม (8) แบบ ภ.พ.30.2 แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม ในกรณี ปรับปรุ งภาษีซ้ื อที่เฉลี่ย ตามส่ วน ของรายได้ (9) แบบ ภ.พ.30.3 แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม ในกรณี ปรับปรุ งภาษีซ้ื อที่เฉลี่ย ตามส่ วน ของการใช้พ้นื ที่อาคาร
17 (10) แบบใบขนสิ นค้าขาเข้า ใช้สาํ หรับผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มที่เป็ นผูน้ าํ เข้า ไม่ ว่าจะเป็ นผูป้ ระกอบการจดทะเบียนหรื อไม่ก็ตาม ผูน้ าํ เข้าต้องชําระภาษีพร้อมกับการชําระอากรขา เข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร (11) แบบ ภ.พ.36 ใช้สาํ หรับผูม้ ีหน้าที่นาํ ส่ งภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณี ดงั ต่อไปนี้ (ก) ผูจ้ ่ายเงินที่จ่ายค่าซื้อสิ นค้าหรื อค่าบริ การให้แก่ - ผูป้ ระกอบการที่อยูน่ อกราชอาณาจักร ซึ่ งได้เข้ามาประกอบกิจการ ขายสิ นค้าหรื อให้บริ การในราชอาณาจักรเป็ นการชัว่ คราว และไม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเป็ น การชัว่ คราว หรื อ - ผูป้ ระกอบการที่ได้ให้บริ การในต่างประเทศและได้มีการใช้บริ การ นั้นในราชอาณาจักร (ข) ผูร้ ับโอนสิ นค้าหรื อผูร้ ับโอนสิ ทธิในบริ การที่ได้เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มไปแล้ว ในอัตราร้อยละ 0 ได้แก่ การรับโอนสิ นค้าหรื อรับโอนสิ ทธิในบริ การ ที่ได้มีการขายหรื อให้บริ การ กับองค์การสหประชาชาติ ทบวงการชํานาญพิเศษของสหประชาชาติ สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุ ลใหญ่ สถานกงสุ ล ทั้งนี้ เฉพาะการขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การที่เป็ นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกาํ หนด (ค) ผูข้ ายทอดตลาดซึ่งขายทรัพย์สินของผูป้ ระกอบการจดทะเบียน กําหนดเวลา สถานที่ ยืน่ แบบและการชําระภาษี (กรมสรรพากร, 2549) 1. กําหนดเวลายืน่ แบบ
18 (1) ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนต้องยื่นแบบ ภ.พ.30 พร้อมชําระภาษีมูลค่าเพิ่ม (ถ้ามี) เป็ นรายเดือนทุกเดือนภาษี ไม่ว่าจะมีการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การในเดือนภาษีน้ นั หรื อไม่ก็ตาม โดยให้ยนื่ แบบภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ในกรณี ผปู ้ ระกอบการมีสถานประกอบการหลายแห่ ง ให้แยกยื่นแบบแสดงรายการ ภาษีและชําระภาษีเป็ นรายสถานประกอบการ เว้นแต่ได้ยื่นคําร้องขออนุ มตั ิยื่นแบบแสดงรายการ ภาษีและชําระภาษีรวมกัน (ภ.พ.02) เมื่อได้รับอนุมตั ิจากอธิ บดีกรมสรรพากรแล้ว ก็สามารถยื่น แบบ ภ.พ.30 รวมกันได้ต้ งั แต่เดือนภาษีที่อธิบดีกาํ หนดเป็ นต้นไป (2) การนําเข้าสิ นค้า ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนหรื อผูน้ าํ เข้าต้องยืน่ แบบใบขนสิ นค้าขา เข้าและชําระภาษี มูลค่าเพิ่มพร้อมกับการชําระอากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร ณ ด่าน ศุลกากรที่มีการนําเข้าสิ นค้า (3) ผูม้ ีหน้าที่นาํ ส่ งภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณี ผปู ้ ระกอบการที่ให้บริ การในต่างประเทศและ ได้ มี ก ารใช้ บ ริ การนั้ นในราชอาณาจัก ร หรื อผู ้ท อดตลาดซึ่ งขายทอดตลาดทรั พ ย์สิ น ของ ผูป้ ระกอบการจดทะเบียน ต้องยืน่ แบบนําส่ งภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 7 วันนับแต่วนั ที่จ่ายเงินหรื อวัน รับเงินจากการขายทอดตลาดแล้วแต่กรณี ปั จจุบนั ได้มีประกาศกระทรวงการคลังขยายกําหนดเวลา การนําส่ งเงินภาษีมูลค่าเพิ่มโดยให้นาํ ส่ งภายใน 7 วัน นับแต่วนั สิ้ นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินให้แก่ ผูป้ ระกอบการจดทะเบียน หรื อผูป้ ระกอบการ และยืน่ รายการ แล้วแต่กรณี (4) กรณี ผรู ้ ับโอนสิ นค้า หรื อผูร้ ับโอนสิ ทธิ ในบริ การที่ได้เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา ร้อยละ 0 ให้นาํ ส่ งภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 30 วันนับแต่วนั ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น ปั จจุบนั ได้มีประกาศกระทรวงการคลังขยายกําหนดเวลาการนําส่ งเงินภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยให้นาํ ส่ ง และยืน่ รายการภายใน 7 วัน นับแต่วนั สิ้ นเดือนของเดือนที่ครบกําหนด 30 วันที่ความรับผิดในการ เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น (5) กรณี ที่ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนยืน่ แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ไม่ถูกต้อง ครบถ้วน ไม่วา่ การคลาดเคลื่อนนั้นจะเป็ นเหตุให้จาํ นวนภาษีในเดือนภาษีเปลี่ยนแปลงไป หรื อไม่ก็
19 ตามจะยื่นแบบแสดงรายการภาษี มูลค่าเพิ่มเพิ่มเติ มได้อีกพร้ อมกับชําระภาษี (ถ้ามี ) ให้ถูกต้อง ครบถ้วน ณ หน่วยงานที่ได้ยนื่ แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิม่ ไว้ก่อน 2. สถานที่ยนื่ แบบ (1) กรณี สถานประกอบการตั้งอยู่ในเขตกรุ งเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สรรพากรพื้นที่สาขา (เขต/อําเภอ) ในท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่
สํานักงาน
(2) กรณี สถานประกอบการตั้งอยู่นอกเขตกรุ งเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สรรพากรพื้นที่สาขา (อําเภอ) ในท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่
สํานักงาน
3. การชําระภาษี (1) ชําระเป็ นเงินสด (2) ชําระด้วยเช็คขีดคร่ อม สั่งจ่ายแก่กรมสรรพากร โดยขีดฆ่าคําว่า ผูถ้ ือและหรื อตาม คําสัง่ หมายเหตุ การยื่ น แบบแสดงรายการและชํา ระภาษี สามารถยื่ น ผ่ า นเว็ บ ไซต์ ข อง กรมสรรพากรได้ การจัดเก็บภาษีมูลค่ าเพิม่ สํ าหรับการขายทอดตลาดทรัพย์ สิน (เกียรติศกั ดิ์ อังคณานุพงศ์, 2551: 4142) สิ นค้ามือสองอาจถูกขายในรู ปแบบของการขายทอดตลาด โดยจะต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มใน กรณี ที่สินค้านั้นเป็ นสิ นค้าของผูป้ ระกอบการจดทะเบียน ตามมาตรา 83/5 และคําสั่งกรมสรรพากร ที่ ป.87/2542ฯ การขายทอดตลาดดังกล่าวแยกออกได้เป็ นการขายทอดตลาดโดยส่ วนราชการและ การขายทอดตลาดโดยผูท้ ี่มิใช่ส่วนราชการ
20 การขายทอดตลาดโดยส่ วนราชการ ส่ วนราชการนั้นต้องจัดทําใบเสร็ จรับเงินส่ งมอบให้แก่ ผูซ้ ้ือในการขายทอดตลาด และจัดทําสําเนาใบเสร็ จรับเงินส่ งมอบให้แก่ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนผู ้ เป็ นเจ้า ของทรั พ ย์สิ น ซึ่ งใบเสร็ จ รั บ เงิ น ดัง กล่ า วถื อ เป็ นใบกํา กับ ภาษี ต ามมาตรา 77/1(22) ผูป้ ระกอบการจดทะเบี ยนเจ้าของทรั พ ย์สิน ต้องนํามูลค่าทรั พย์สินรวมภาษี มูลค่ าเพิ่ มไปลงใน รายงานภาษีขายมาตรา 87(1) และยืน่ แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มในนามของตนเอง กรณี ที่ผขู ้ ายทอดตลาดมิใช่ส่วนราชการที่ได้ขายทอดตลาดทรัพย์สินของผูป้ ระกอบการจด ทะเบียน ผูข้ ายทอดตลาดต้องเป็ นผูจ้ ดั ทําใบกํากับภาษีตอ้ งมี ชื่ อ ที่อยู่ และเลขประจําตัวผูเ้ สี ยภาษี อากรของผูข้ ายทอดตลาดที่จดั ทําใบกํากับภาษี โดยผูข้ ายทอดตลาดต้องส่ งมอบต้นฉบับใบกํากับ ภาษี ใ ห้แ ก่ ผูซ้ ้ื อ ในการขายทอดตลาด และส่ ง มอบสํา เนาใบกํากับ ภาษี ใ ห้แ ก่ ผูป้ ระกอบการจด ทะเบี ย นเจ้า ของทรั พ ย์สิ น นอกจากนี้ ผูท้ อดตลาดมี ห น้า ที่ ต ้อ งยื่น แบบนํา ส่ ง ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ที่ ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนเจ้าของทรัพย์สินมีหน้าที่ตอ้ งเสี ยต่อกรมสรรพากร ภายใน 7 วัน นับแต่ วันสิ้ นเดื อนของเดื อนที่ขายทอดตลาดและผูซ้ ้ื อในการขายทอดตลาดจ่ายเงิ นค่าทรัพย์สินให้แก่ผู ้ ทอดตลาด โดยผูป้ ระกอบการจดทะเบียนเจ้าของทรัพย์สินไม่ตอ้ งนํามูลค่าทรัพย์สินไปลงรายงาน ภาษีขาย และไม่ตอ้ งนํามูลค่าของทรั พย์สินและจํานวนภาษีมูลค่าเพิ่ม ดังกล่าวไปยื่นแบบแสดง รายการภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งนี้ ห้ามมิให้ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนที่ทรัพย์สินถูกนําออกขายทอดตลาดหรื อขายโดย วิธีอื่นโดยบุคคลอื่น ตามมาตรา 83/5 เป็ นผูอ้ อกใบกํากับภาษี (มาตรา 86/1)
การเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ จากสิ นค้ ามือสอง (เกียรติศกั ดิ์ อังคณานุพงศ์, 2551: 14-18) การจัดเก็บภาษี มูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสองในประเทศไทยนั้น โดยทัว่ ไปไม่มีกฎหมาย บัญญัติวิธีการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้าดังกล่าวไว้ ดังนั้น เมื่อผูป้ ระกอบการซื้ อสิ นค้ามาจาก บุคคลทัว่ ไป หรื อผูท้ ี่ไม่ได้อยูใ่ นระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม เพื่อนํามาใช้ในกิจการหรื อเพื่อทําการขายต่อ ผูป้ ระกอบการที่ซ้ื อสิ นค้ามือสองมาใช้ในกิจการต้องรับภาระแฝงในต้นทุนสิ นค้ามือสองที่ซ้ื อมา เนื่องจากสามารถที่จะขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มที่แฝงกับตัวสิ นค้าได้ ทําให้อาจเกิดภาษีซอ้ นขึ้นในสิ นค้า
21 หรื อบริ การของผูป้ ระกอบการดังกล่าว เช่นเดียวกันกับผูป้ ระกอบการที่ทาํ การซื้ อสิ นค้ามาเพื่อขาย จะต้องเรี ยกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากราคาสิ นค้าเต็มจํานวนที่ได้เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มมาแล้วอีกครั้งหนึ่ ง ส่ งผลให้เกิดการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มซํ้าซ้อนบนฐานภาษีเดิมอีกด้วย 1. การเสี ยภาษีมลู ค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสอง ภาษีมูลค่าเพิม่ เป็ นภาษีที่จดั เก็บจากมูลค่าเพิ่มของสิ นค้าหรื อบริ การเฉพาะที่เพิ่มขึ้นใน แต่ละขั้นตอนของการผลิต แต่สาํ หรับทรัพย์สินหรื อสิ นค้าที่มีไว้ใช้ในการประกอบกิจการนั้นบาง ชนิ ดอาจมีราคาเพิ่มขึ้น ในขณะที่ปกติสินค้าที่ผ่านการใช้งานหรื อมีอายุการใช้งาน จะมีราคาตํ่าลง เนื่องจากทรัพย์สินดังกล่าวจะมีการเสื่ อมสภาพไปตามสภาพหรื อลักษณะการใช้ การดูแลรักษา และ อายุการใช้งานที่เหลืออยู่ 1.1 ลักษณะของกิจการที่ตอ้ งเสี ยและไม่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายสิ นค้ามือ สอง ในการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้าดังกล่าว กรมสรรพากรได้วางแนวทางใน การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม สําหรับผูป้ ระกอบการที่ขายสิ นค้ามือสองไม่ว่าจะเป็ นกิจการที่ตอ้ งเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่ม กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มทั้งหมด หรื อกิจการที่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจาก การประกอบกิจการบางส่ วน โดยอาจเทียบเคียงได้จากแนวปฏิบตั ิตามหนังสื อตอบข้อหารื อของ กรมสรรพากร ดังนี้ 1.1.1 ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนขายทรัพย์สินที่มีไว้ใช้ในการประกอบกิ จการ การขายทรั พย์สินของผูป้ ระกอบการประเภทนี้ แม้จะไม่ได้เป็ นการขายที่ทาํ ในทางการค้าหรื อ วิชาชีพของผูป้ ระกอบการ แต่เนื่ องจากถือว่าเป็ นการขายทรัพย์สินของผูป้ ระกอบการจดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรมสรรพากรจึ งถือว่าเป็ นการขายสิ นค้าตามมาตรา 77/1(9) และเป็ นการขายใน ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม จึงต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายสิ นค้าสอง
22 ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มขายทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบกิจการการขาย ทรัพย์สินดังกล่าวต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ โดนถือว่าสิ นค้าได้ขายไปในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม (หนังสื อ ที่ กค. 0802/พ.2726 ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2536) บริ ษทั ประกอบกิจการขายสิ นค้า มีลกั ษณะการขายแบบให้เชื่อ โอนขายกิจการบางส่ วนซึ่ง ประกอบด้วย ที่ดิน โรงงาน อาคารสํานักงาน เครื่ องจักร อุปกรณ์ สิ นค้าคงคลัง ค่าความนิ ยม และ บัญชีลูกหนี้ การค้า ให้บริ ษทั อ. โดยบริ ษทั ยังคงตั้งอยูเ่ พื่อดําเนิ นกิจการอื่นต่อไป หรื อมีรายได้จาก การประกอบกิจการอื่นอันอยูใ่ นบังคับต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม บริ ษทั จึงมีภาระภาษีมูลค่าเพิ่มในกรณี ที่บริ ษทั ขายเครื่ องจักร อุปกรณ์ สิ นค้าคงคลัง และค่าความนิ ยมให้บริ ษทั อ. ถือเป็ นการขายสิ นค้า ตามมาตรา 77/1(8) และ (9)1 ต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม2 (หนังสื อที่ กค. 0706/พ./6386 ลงวันที่ 7 กรกฎาคม 2547) 1.1.2 ผูป้ ระกอบการที่ ไ ด้รั บ ยกเว้น ภาษี มูล ค่ า เพิ่ ม ขายทรั พ ย์สิ น ที่ ใ ช้ใ นการ ประกอบกิจการ ผูป้ ระกอบการที่ ไ ด้รับ ยกเว้น ภาษี มูลค่ า เพิ่ม ขายทรั พ ย์สิน ที่ ใ ช้ใ นการ ประกอบกิ จการดังกล่าว เช่ น รถยนต์ ตูช้ ้ นั วางสิ นค้า ฯลฯ ถ้าพิจารณาถึงลักษณะของทรั พย์สิน ดังกล่าว การขายทรัพย์สินนั้น ย่อมไม่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม เนื่องจากทรัพย์สินที่มีไว้ใช้ในการ ประกอบกิจการย่อมเข้าลักษณะเป็ นสิ นค้าตามมาตรา 77/1 (9) แห่ งประมวลรัษฎากร แต่จากคํา วินิจฉัยของกรมสรรพากรถือว่า การขายสิ นค้าดังกล่าวไม่ใช่การขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การในทาง ธุรกิจ หรื อวิชาชีพ ผูข้ ายจึงไม่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 77/2 และมาตรา 82 แห่ งประมวล รัษฎากร แม้การขายสิ นค้าดังกล่าวจะมีมูลค่าเกิน มูลค่าของฐานภาษีของกิ จการขนาดย่อมก็ตาม (หนังสื อเลขที่ กค. 0802/พ.2314 ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2536)
1
มาตรา 77/1(9) “สิ นค้า” หมายความว่า ทรัพย์สินที่มีรูปร่ างและไม่มีรูปร่ างที่อาจมีราคา และถือเอาได้ไม่ว่าจะมีไว้เพื่อขาย เพื่อ ใช้ หรื อเพื่อการใดๆ และให้หมายความรวมถึงสิ่ งของทุกชนิดที่นาํ เข้า 2 แต่ถา้ เป็ นการโอนหรื อควบรวมกิจการทั้งหมด กับผูป้ ระกอบการใหม่อนั ได้ควบเข้ากัน หรื อผูร้ ับโอนกิจการต้องอยูใ่ นบังคับที่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 82/3 จะไม่ถือเป็ นการขายสิ นค้าตามมาตรา 77/1 (8)(ฉ) และไม่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจาก การโอนกิจการดังกล่าว
23 บริ ษทั เป็ นผูป้ ระกอบการด้านปศุสัตว์ซ่ ึ งได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้ขายทรั พย์สินที่ใช้ เฉพาะในกิ จการที่ไม่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม การขายทรัพย์สินดังกล่าวไม่เข้าลักษณะเป็ นการขาย สิ นค้าหรื อให้บริ การในทางธุรกิจหรื อวิชาชีพ บริ ษทั ผูข้ ายจึงไม่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 82 และมาตรา 77/2 แห่ งประมวลรั ษฎากร (หนังสื อเลขที่ กค. 0802/พ.3105 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2536) ห้างฯ จําหน่ ายสิ นค้าซึ่ งได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ทําการขายสิ นทรัพย์ ได้แก่ รถยนต์ที่ใช้ ในการประกอบกิจการดังกล่าว แม้จะมีมูลค่าการขายเกิน 1,200,000 บาท (ตั้งแต่ 1 เมษายน 2548 เพิ่มเป็ นเงิน 1,800,000 บาท) ห้างฯ ก็ไม่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มแต่อย่างใด (หนังสื อเลขที่ กค. 0802( ก)/พ.3105 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2536) บริ ษทั ประกอบกิจการ 2 ประเภท คือ กิจการให้บริ การขนส่ งนํ้ามันทางเรื อซึ่ งเป็ นกิจการที่ ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยมีเรื อที่ใช้ในการขนส่ ง 3 ลํา และกิจการขายส่ งและขายปลีกนํ้ามัน ซึ่ งเป็ นกิ จการที่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม หากบริ ษทั มิได้นาํ เรื อไปใช้ในกิ จการอื่นใด นอกจากการ ให้บริ การขนส่ งนํ้ามันเมื่อมีการขายเรื อทั้ง 3 ลําดังกล่าวไป บริ ษทั ไม่ตอ้ งเรี ยกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจาก ผูซ้ ้ือแต่อย่างใด (หนังสื อที่ กค0802(ก)/พ.8279 ลงวันที่ 8 ตุลาคม 2535) 1.1.3 ผู ้ป ระกอบการจดทะเบี ย นประกอบกิ จ การทั้ง ประเภทที่ ต ้ อ งเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่มและไม่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มขายทรัพย์สินที่ใช้ในกิจการ การขายทรัพย์สินของผูป้ ระกอบการประเภทนี้ ถือเป็ นการขายทรัพย์สิน ของกิ จการที่ ตอ้ งเสี ยภาษี มูลค่าเพิ่ม จึ งอยู่ในบังคับต้องเสี ยภาษี มูลค่าเพิ่มตามมาตรา 77/2 แห่ ง ประมวลรัษฎากร โดยจะต้องคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มจากมูลค่าของฐานภาษีของทรัพย์สินที่ขายทั้ง จํานวน ตามมาตรา 79 แห่ งประมวลรัษฎากร (หนังสื อที่ กค 0802/พ.1021 ลงวันที่ 19 มกราคม 2537) นอกจากแนวคําวินิจฉัยของกรมสรรพากรในเรื่ องเกี่ยวกับการขายทรัพย์สินที่มีไว้เพื่อใช้ใน กิจการตามที่กล่าวมาข้างต้น มีหนังสื อกรมสรรพากรเกี่ยวกับการโอนสิ ทธิ ในทรัพย์สินที่ใช้ในการ ประกอบกิจการ วินิจฉัยไว้ในทํานองเดียวกัน เช่ น การโอนสิ ทธิ การเช่าอสังหาริ มทรัพย์ สําหรั บ
24 กิ จการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม ไม่ว่าจะได้รับการยกเว้นเนื่ องจาก ประเภทกิจการตามที่กฎหมายกําหนด หรื อมีรายรับไม่เกินฐานภาษีของกิจการขนาดย่อม (หนังสื อที่ กค 0811/พ.7057 ลงวันที่ 15 สิ งหาคม 2545, หนังสื อที่ กค 0811/พ./ก.632 ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2544) แต่ถา้ เป็ นการโอนสิ ทธิ การเช่าอสังหาริ มทรัพย์ของกิจการที่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มและได้รับ ยกเว้นภาษีมูลค่า การโอนสิ ทธิการเช่าดังกล่าวต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 77/2 ถือว่าเป็ นการ ขายสิ นค้าที่ไม่มีรูปร่ างตามมาตรา 77/1(8)(3)(หนังสื อที่ กค 0706/พ./2559 ลงวันที่ 8 สิ งหาคม 2546) กล่าวคือการขายทรั พย์สินที่ใช้แล้วของผูป้ ระกอบการจดทะเบี ยนภาษีมูลค่าเพิ่ม ต้องเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายทรัพย์สินเนื่องจากเป็ นการขายในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ส่ วนการขายสิ นค้า ของผูป้ ระกอบการที่ได้รับยกเว้นไม่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจะถือว่าไม่ใช่เป็ นการขายสิ นค้าในทาง ธุ รกิจหรื อวิชาชีพ จึงไม่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่ งอาจนํามาเทียบเคียงกับกิจการที่ไม่อยูใ่ นบังคับที่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น กิจการที่ตอ้ งเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะหรื อได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ การ ขายทรัพย์สินของกิจการดังกล่าวน่าจะถือว่าไม่ใช่เป็ นการขายสิ นค้าในทางธุรกิจหรื อวิชาชีพเช่นกัน แม้ว่าการขายทรัพย์สินดังกล่าวนั้นจะมีมูลค่าเกินกว่าฐานภาษีของกิจการขนาดย่อมก็ตาม ส่ วนการ ขายทรั พย์สินที่ ใช้ร่วมกันในกิ จการที่อยู่ในบังคับต้องเสี ยภาษี มูลค่าเพิ่มกับกิ จการที่ไม่ตอ้ งเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่ม การขายดังกล่าวต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจากมูลค่าของสิ นค้าที่ขายเต็มจํานวน ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนที่ขายทรัพย์สินที่มีไว้ใช้ในกิจการนั้นโดยปกติตอ้ งออกใบกํากับ ภาษีตามมาตรา 86 เมื่อความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้นตามมาตรา 78(1) ยกเว้นแต่ใน กรณี ที่ เ ป็ นการขายสิ น ค้า ของผูป้ ระกอบการรายย่อ ย ตามที่ ม าตรา 86/8 และประกาศอธิ บ ดี กรมสรรพากรเกี่ ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 154)ฯ กําหนดไว้ ไม่จาํ เป็ นต้องออกใบกํากับภาษี สําหรับการขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การที่มีมูลค่าครั้งหนึ่ งไม่เกิน 1,000 บาท เว้นแต่ผซู ้ ้ือสิ นค้าหรื อ ผูร้ ับบริ การจะเรี ยกร้องใบกํากับภาษี แต่ท้ งั นี้ ตามข้อ 4 ของประกาศอธิ บดีฉบับดังกล่าวกําหนดให้ ผูป้ ระกอบการจัดทําใบกํากับภาษีอย่างย่อรวบรวมการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การที่มูลค่าครั้งหนึ่ งไม่ เกิน 1,000 บาท ในหนึ่ งวันทําการเพื่อเป็ นเอกสารประกอบการลงรายงานภาษีขายตามมาตรา 87(1) ซึ่งผูเ้ ขียนเห็นว่าในการขายทรัพย์สินที่มีไว้ใช้ในการประกอบกิจการของกิจการรายย่อยดังกล่าวซึ่ ง มีมูลค่าครั้งหนึ่ งไม่เกิน 1,000 บาท ก็อาจไม่จาํ เป็ นต้องออกใบกํากับภาษีได้ตามมาตรา 86/8 และ ประกาศอธิ บ ดี ก รมสรรพากรเกี่ ย วกับ ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม (ฉบับ ที่ 154) นอกจากนี้ ยัง มี ก รณี ที่ ไ ม่
25 จําเป็ นต้องออกใบกํากับภาษี ซึ่ งเป็ นไปตามที่ กรมสรรพากรได้วางแนวปฏิบตั ิ ไว้ตามข้อ 2 ของ คําสั่งกรมสรรพากรที่ ป.86/2542ฯ ลงวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 สําหรับการกระทําที่ถือเป็ น การขายสิ นค้าตามมาตรา 77/1(8) หรื อการให้บริ การตามมาตรา 77/1(10) ผูป้ ระกอบการจดทะเบียน มีหน้าที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น โดยไม่จาํ เป็ นต้องจัดทํา ใบกํากับภาษี ดังเช่ น กรณี ที่ถือว่าเป็ นการขายเพราะไม่ได้นาํ สิ นค้าไปใช้ในกิ จการโดยตรง ตาม มาตรา 77/1(8)(ง) หรื อสิ นค้าขาดจากรายงานสิ นค้าและวัตถุดิบตามมาตรา 87(3) ซึ่ งถือเป็ นการขาย สิ นค้าตามมาตรา 77/1(8)(จ) เป็ นต้น งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง ในการศึกษาการจัดการปัญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิม่ จากสิ นค้ามือสอง มีผศู ้ ึกษาวิจยั ไว้ที่ มีส่วนเกี่ยวข้องกับผลงานวิจยั ดังนี้ การศึกษาวิจยั ของเกี ยรติ ศกั ดิ์ อังคณานุ พงศ์ (2551: 140) เรื่ อง ปั ญหาการจัดเก็บ ภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสอง พบว่า ปั ญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสองก่อให้เกิด ความไม่เป็ นธรรมในการรับภาระภาษีในกรณี ที่ซ้ื อสิ นค้าเดียวกันจากผูป้ ระกอบการที่ไม่มีตน้ ทุน ภาษีแฝงอยูใ่ นตัวสิ นค้า ซึ่ งจะไม่มีการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มบนฐานราคาที่มีตน้ ทุนภาษีแฝงอยูด่ ว้ ย เพราะโดยทัว่ ไปไม่มีวิธีการในการบรรเทาปั ญหาภาระภาษีมูลค่าเพิ่มดังกล่าวในประเทศไทย ดังนั้น จึ ง ควรมี ก ารเปลี่ ย นแปลงแก้ไ ขบทบัญ ญัติ อ ัน เกี่ ย วกับ การจัด เก็ บ ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม โดยเพิ่ ม เติ ม บทบัญญัติในกรณี ที่เกี่ยวกับวิธีการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มกับสิ นค้ามือสองเพื่อแก้ไขปั ญหาอันเกิดจาก ภาระภาษีแฝงในต้นทุนสิ นค้าและเกิดการจัดเก็บภาษีซอ้ นจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้า มือสองในปัจจุบนั และเพื่อให้เกิดความเป็ นธรรมในการรับภาระภาษี การศึกษาวิจยั ของศิริวรรณ รัตนสังข์ (2550: 136) เรื่ อง ปั ญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามประมวลรัษฎากร : กรณี ธุรกรรมพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิ กส์ พบว่า ปั ญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ทําให้การจัดเก็บยุง่ ยากหรื อมีความซับซ้อนกว่าปกติหรื อไม่สามารถจัดเก็บได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ซึ่ งกฎหมายภาษีของประเทศไทยยังมีรายละเอียดและวิธีการบางอย่างที่อาจจะทําให้การจัดเก็บ ภาษีมูลค่าเพิ่มเกิ ดความซํ้าซ้อนหรื อไม่มีการเรี ยกเก็บโดยไม่ได้ต้ งั ใจได้ จึงควรมีการปรับเปลี่ยน
26 กฎเกณฑ์ในการเรี ยกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม เพื่อให้เกิดความเป็ นธรรม ทั้งผูป้ ระกอบการและผูบ้ ริ โภค ซึ่งจะเป็ นการส่ งเสริ มพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ต่อไป สุ มาลี สถิตชัยเจริ ญ ได้ทาํ การศึกษา เรื่ อง การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มรถยนต์มือสอง พบว่า การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มธุ รกิจการซื้ อขายรถยนต์มือสองจากส่ วนต่างมูลค่าซื้อและขาย โดยมีการ กําหนดราคามาตรฐานของมูลค่ารถยนต์จะช่วยให้ผบู ้ ริ โภค ซึ่ งเป็ นผูร้ ับภาระภาษีได้รับความเป็ น ธรรมจากการซื้อสิ นค้าที่ไม่มีภาระซํ้าซ้อน อันเป็ นหลักการในการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม อย่างไรก็ดี จะต้องมีการออกแบบหรื อกําหนดหลักเกณฑ์บางประการเพื่อไม่ให้ผปู ้ ระกอบการแสดงราคาที่ไม่ เป็ นจริ งในการคํานวณมูลค่าส่ วนต่าง อีกทั้งการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากมูลค่าส่ วนต่างเป็ นวิธีการที่ แตกต่างจากวิธีการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ใช้ในปั จจุบนั ที่คิดภาษีมูลค่าเพิ่มในแต่ละขั้นตอนโดย วิธีเครดิตที่มีหลักฐานใบกํากับภาษีในการเครดิตภาษีซ้ือ แต่การคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มจากส่ วนต่าง จะมีหลักฐานใบกํากับภาษีในการแสดงการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในขั้นตอนการขายถัดไปเท่านั้น จึง มีความจําเป็ นต้องกําหนดคุณสมบัติ ของผูป้ ระกอบการเพื่อควบคุมและตรวจสอบได้ มิฉะนั้นจะทํา ให้ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มมีความยุง่ ยากเพิ่มขึ้น และอาจมีผลกระทบในทางปฏิบตั ิต่อการจัดเก็บภาษี โดยรวมได้ การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากมูลค่าส่ วนต่างส่ วนใหญ่ใช้ในประเทศที่มีการจัดเก็บภาษีที่ดี และมีระบบการบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับสิ นค้าที่ซ้ือมาอย่างละเอียดและชัดเจน ซึ่ งผูเ้ ขียนเห็นว่า หากประเทศไทยได้มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและมีการนําเทคโนโลยีมาช่วยในการบริ หารการ จัดเก็บและตรวจสอบแล้วก็จะสามารถนําวิธีการปฏิบตั ิเป็ นพิเศษในลักษณะนี้ มาใช้ได้ เพื่อให้เกิด ความเป็ นธรรมและบรรลุวตั ถุประสงค์การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มอย่างแท้จริ ง
บทที่ 3 ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับรถยนต์ มือสองและประวัติกจิ การกรณีศึกษา ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับรถยนต์ มือสอง รถยนต์ หมายถึง ยานพาหนะทางบกที่ขบั เคลื่อนที่ดว้ ยพลังงานอย่างใดอย่างหนึ่ งและ ถ่ายทอดลงสู่ ลอ้ เพื่อพาผูข้ บั ผูโ้ ดยสาร หรื อสิ่ งของ ไปยังจุดหมายปลายทาง ปั จจุบนั รถยนต์โดย ส่ วนมากได้รับการออกแบบอย่างซับซ้อนในทางวิ ศวกรรมและหลากหลายประเภทตามความ เหมาะสมของการใช้งาน หรื อใช้สาํ หรับงานเฉพาะกิจ ทั้งนี้เว้นแต่รถไฟ ประกอบด้วยรถยนต์ 3 ประเภท คือ 1. รถยนต์นงั่ ส่ วนบุคคลไม่เกิน 7 คน เป็ นรถที่ตอ้ งมีขนาดกว้างไม่เกิน 2.50 เมตร ยาวไม่ เกิน 12 เมตร เช่น รถเก๋ งตอนเดียว รถเก๋ งสองตอน เป็ นต้น 2. รถยนต์นงั่ ส่ วนบุคคลเกิน 7 คน เป็ นรถที่ตอ้ งมีขนาดกว้างไม่เกิน 2.50 เมตร ยาวไม่ เกิน 12 เมตร และความยาวของตัวถังวัดจากศูนย์กลางเพลาล้อหลังถึงท้ายรถต้องไม่เกิน 2 ใน 3 ของ ความยาววัดจากศูนย์กลางเพลาล้อหน้าถึงศูนย์กลางเพลาล้อหลัง เช่น รถเก๋ งสามตอน เป็ นต้น 3. รถยนต์บรรทุกส่ วนบุคคล (ปิ คอัพ) เป็ นรถซึ่ งมิได้ใช้ประกอบการขนส่ งส่ วนบุคคล ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่ งทางบก ต้องมีขนาดกว้างไม่เกิน 2.50 เมตร ยาวไม่เกิน 12 เมตรและ ความยาวของตัวถังวัดจากศูนย์กลางเพลาล้อหลังถึงท้ายรถไม่เกิน 3 ใน 5 ของความยาววัด จาก ศูนย์กลางเพลาล้อหน้าถึงศูนย์กลางเพลาล้อหลัง รถยนต์มือสอง หมายถึง รถยนต์ที่ถูกนําไปใช้แล้ว และเปลี่ยนเจ้าของจากบุคคลแรกเป็ น สําคัญ โดยไม่คาํ นึงว่าจะเป็ นเจ้าของมาแล้วกี่ครั้ง ลักษณะการซื้อขายรถยนต์มือสองนั้น มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ
28 1. การซื้อขายผ่านคนกลาง เช่น รถประมูล รถที่ขายตามเต็นท์ รถไฟแนนซ์ เป็ นต้น 2. การซื้ อขายโดยตรงกับผูใ้ ช้รถ หรื อรถบ้าน ซึ่ งรถบ้านตรงนี้ ขอ้ ดีคือ การซื้อขายจะได้ คุยกับเจ้าของรถโดยตรง ทําให้ผบู ้ ริ โภคสามารถรู ้ว่าสภาพรถในปั จจุบนั เป็ นอย่างไร ลักษณะการ ขับเป็ นอย่างไร ปั ญหาที่เคยเกิดขึ้นกับรถมีหรื อไม่ และอื่น ๆ ที่ผบู ้ ริ โภคต้องการสอบถาม ซึ่ งทําให้ ผูบ้ ริ โภค หรื อผูซ้ ้ือได้ขอ้ มูลที่ชดั เจนและตรง แต่ก็มีขอ้ เสี ยเช่นกัน คือ การขายจะเป็ นการขายตาม สภาพรถนัน่ คือ รถยนต์น้ นั มีสภาพเป็ นอย่างไร ผูข้ ายจะขายสภาพอย่างนั้น การซื้อขายดังกล่าวไม่มี การรับประกันคุณภาพ และส่ วนใหญ่การซื้อขายแบบนี้ใช้เวลานานเหมาะกับผูบ้ ริ โภคที่ไม่รีบร้อน ซื้อ ไม่รีบร้อนขาย ประวัติและความเป็ นมาของรถยนต์ ในประเทศไทย เมื่อประมาณ 100 ปี ที่แล้ว รถยนต์คนั แรกเข้ามาวิ่งในแผ่นดินสยามถือเป็ นสิ่ งแปลกใหม่บน ท้องถนน คนยุคนัน่ คงนึกไม่ถึงว่ามันจะเป็ นพาหนะสําคัญ จนเป็ นปั จจัยที่ 5 ของผูค้ นในยุคปั จจุบนั ธุรกิจรถยนต์ยคุ เริ่ มต้นมีเพียงรถอิมพอร์ ตเจ้าของร้านเป็ นฝรั่งต่างชาติไม่กี่ร้าน และแต่ละร้านก็สูญ สลายไปในเวลาต่อมา ตํานานรถยนต์ และธุ รกิ จรถยนต์ต่างเลือนไปจากความทรงจําของคนรุ่ น ปั จจุบนั เสี ยสิ้ นจากฝรั่งสู่ มือคนไทย รถคันแรกในเมืองบางกอก ปี 2406 พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 ทรงโปรดให้ตดั ถนนสายแรกในมหานครขึ้น คือถนนเจริ ญกรุ ง ตั้งต้นที่กาํ แพง พระบรมมหาราชวังเลียบฝั่งเจ้าพระยาไปสิ้ นสุ ดที่บางคอแหลม หรื อถนนตกในปั จจุบนั ในยุคนั้นมี เพียงรถลาก และรถม้าเป็ นเจ้าครองถนนสายแรกที่มีความยาว 6.5 กม.และในช่วง 30 ปี ต่อมาก็มีการ ตัดถนนเพิ่มเพียงไม่กี่สาย ในปี 2435 ในยุคของรัชกาลที่ 5 ถนนในเมืองบางกอกรวมกันแล้วมี ความยาวเพียง 12 กม. แม้ถนนบางสายจะมีความกว้างถึง 20 เมตรก็ตาม การกําเนิ ดรถยนต์ในประเทศไทย และการที่พระราชวงศ์ไทยสนพระทัยในเรื่ องรถยนต์ เป็ นเรื่ องที่อุบตั ิข้ ึนแทบจะเป็ นเวลาเดี ยวกันกับช่ วงเปลี่ยนศตวรรษ เมื่อเริ่ มมีการผลิตรถยนต์ใน ยุโรปและ อเมริ กาเหนื อ รถยนต์คนั แรกขึ้นบกที่ท่าเรื ออู่บางกอก และมีการขับไปตามท้องถนน ท่ามกลางสายตาของประชาชนที่เฝ้ ามองอย่างพิศวง รถยนต์สมัยต้นคริ สต์ศตวรรษที่ 20 ไม่ทราบ แน่ชดั ว่าเป็ นรถยีห่ อ้ ใด คันเกียร์ และคันห้ามล้อติดตั้งอยูน่ อกตัวถังด้านขวามือของผูข้ บั รถยนต์อนั เป็ นเทคโนโลยีแห่ งศตวรรษที่ 20 เข้ามาเมืองไทยครั้งแรกเมื่อใดยังเป็ นข้อถกเถียงไม่สิ้นสุ ด แต่เชื่อ
29 กันว่าเป็ นชาวต่างชาติเป็ นผูส้ งั่ เข้ามาเป็ นคนแรก รถคันนี้มีลกั ษณะคล้ายกับรถบดถนนในปั จจุบนั มี ล้อเป็ นยางตัน หลังคา คล้ายปะรํา ที่นงั่ 2 แถว ใช้น้ าํ มันปิ โตเลียมเป็ นเชื้อเพลิง และรถมีกาํ ลังเพียง วิ่งตามพื้นราบไต่ข้ ึนเนิ นสะพานไม่ได้ การใช้งานของรถคันแรกจึงมีขีดจํากัด เพราะท้องถนนเมือง บางกอกเต็มไปด้วยสะพานข้ามคลองสู ง เพื่อให้เรื อลอดผ่านได้ถือเป็ นอุปสรรคสําคัญของรถยนต์ ยุคนั้น รถยนต์คนั แรกสามารถปลุกเร้าความสนใจของคนไทย และคนต่างชาติได้เป็ นอย่างดี ต่อมา ไม่นานเจ้าของรถคันดังกล่าวก็ขายต่อให้จอมพลเจ้าพระยาสุ รศักดิ์มนตรี (เจิม แสงชูโต) ถือเป็ นคน ไทยคนแรกที่เป็ นเจ้าของรถยนต์ ท่านจอมพลฯซื้ อรถยนต์มาทั้งที่ขบั ไม่เป็ นจึงต้องให้ท่านพระยา อนุทูตวาที (เข็ม แสงชูโต) น้องชายเป็ นผูข้ บั แทน เชื่อกันว่าพระยาอนุทูตวาทีเป็ นคนไทยคนแรกที่ ขับรถยนต์ได้ เนื่ องจากเคยทํางานที่ประเทศอังกฤษจึงมีโอกาสได้ขบั รถยนต์ ต่อมาก็สอนคนอื่น เรี ยนรู ้การขับรถยนต์อย่างแพร่ หลาย หลังการซื้อรถมาเจ้าพระยาสุ รศักดิ์มนตรี ได้มีโอกาสขับโลด แล่นไปตามท้องถนนเมืองบางกอกอยูห่ ลายปี ก่อนที่รถคันแรกจะเสื่ อมสู ญไปตามกาลยุคนั้น ผูท้ ี่สั่ง รถเข้ามาจะเป็ นพระราชวงศ์เป็ นส่ วนใหญ่ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัวเสด็จขึ้น ครองราชย์เมื่อปี 2411 พระองค์ทรงสนพระทัยเรื่ องรถยนต์เป็ นอย่างมาก และพระราชวงศ์หลาย พระองค์ก็มีบทบาทสําคัญในการปฏิวตั ิยานยนต์ของไทย ปี 2447 มีรถยนต์ 3 คันเข้ามาวิ่งในถนน บางกอก แต่ไม่มีบนั ทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษรว่าเป็ นรถยนต์ยหี่ อ้ อะไร และใครเป็ นเจ้าของ ปี นั้นเองรัฐบาลเห็นความสําคัญเรื่ องเทคโนโลยีใหม่ไม่นอ้ ย โดยได้สั่งซื้ อรถแวนแล่นได้ เร็ วถึง 10 ไมล์ต่อชัว่ โมง เพื่อใช้ในการขนส่ งทองแท่งเงินแท่ง และเหรี ยญกษาปณ์หนักหนึ่งตัน ใน พ.ศ. เดียวกันนั้น ขณะที่พระเจ้าลูกยาเธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงประชวร และเสด็จรักษา พระองค์ที่กรุ งปารี สได้ทรงซื้อรถยนต์เดมเลอร์-เบนซ์หนึ่งคัน ซึ่งถือว่าเป็ นรถที่ดีที่สุดในยุคนั้น เมื่อ ทรงเสด็จกลับแผ่นดินสยาม พระองค์ได้นอ้ มเกล้าฯ ถวายรถคันดังกล่าวแด่พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั นับเป็ นรถยนต์พระที่นงั่ คันแรกในประวัติศาสตร์ไทย และผูท้ ี่ทาํ หน้าที่สารถี ก็คือ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์นัน่ เอง รถยนต์หลวงคันที่ 2 ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั เป็ นเมอเซเดส-เบ็นซ์ ปี 2448 ได้รับพระราชทานนามว่า "แก้วจักรพรรดิ์" พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดปรานรถยนต์พระที่นั่งมาก เพราะมีความสะดวกสบาย และ เดินทางได้เร็ วกว่ารถม้าพระที่นงั่ เมื่อทรงว่างจากพระราชกรณี ยกิจจะเสด็จไปที่ต่างๆ ด้วยรถยนต์ พระที่นั่งคันดังกล่าวเสมอ ต่อมาทรงเล็งเห็ นว่ารถคันเดี ยวไม่เพียงพอที่จะใช้งานตามพระราช
30 ประสงค์ พระองค์จึงตัดสิ นพระทัยที่จะซื้อรถยนต์พระที่นงั่ อีกหนึ่งคันเสด็จในกรมฯ ซึ่ งกรมหลวง ราชบุรีฯเป็ นผูแ้ ทนพระองค์ในการสัง่ ซื้อและทรงเลือกรถเมอร์ เซเดสเบนซ์ซ่ ึ งเป็ นรถนําเข้าโดยตรง จากประเทศเยอรมนี รุ่ นปี 2448 เครื่ องยนต์สี่ลูกสู บขนาด 28 แรงม้า วิ่งเร็ ว 73 กม.ต่อชัว่ โมง นับว่า เร็ วมากในยุคนั้น รถพระที่นงั่ คันนั้นเกือบเกิดอุบตั ิเหตุไฟไหม้ เมื่อมาถึงคณะกรรมการตรวจรับช่วยกันเติม นํ้ามันเบนซิ นใส่ ถงั โดยไม่มีใครสังเกตเห็นละอองนํ้ามันลอยฟุ้ งไปถึงตะเกียงรั้วซึ่ งแขกยามแขวน ไว้ในโรงม้าที่อยูใ่ กล้ ๆ กว่าจะรู ้กต็ ่อเมื่อนํ้ามันเบนซินในปี๊ บลุกเป็ นไฟอย่างฉับพลัน ต้องช่วยกันใช้ ฟ่ อนหญ้าสําหรับม้ากินฟาดดับไฟ แขกโรงม้าต้องวิ่งไปเอาถังนํ้ามาช่วยดับอีกแรง ทุกคนต้องอก สั่นขวัญแขวน เมื่อตรวจพบว่าเปลวไฟลวกสี รถเกรี ยมไปแถบหนึ่ งบานประตูใช้ไม่ได้อีกข้างหนึ่ ง ผูร้ ับผิดชอบที่นาํ ข่าวร้ายไปกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั คือพระเจ้าลูก ยาเธอกรมหลวงราชบุรีฯ ขณะที่ทรงประทับอยูท่ ี่สวนอัมพร ทรงนิ่ งอึ้งชัว่ ครู่ ก่อนที่รับสั่งให้ ซ่ อมแซมความเสี ยหาย 2-3 สัปดาห์ต่อมารถซ่ อมเสร็ จ คณะกรรมการจึงนํารถมาถวายให้ ทอดพระเนตรพระองค์ข้ ึนประทับ และทรงลองขับดูชวั่ ครู่ ทรงรู ้สึกว่าต้องพระราชหฤทัย ความนิยม ในการใช้รถยนต์แพร่ หลายในหมู่พระราชวงศ์ และคหบดีในหลวงรัชกาลที่ 5 ทรงดําริ วา่ สมควรจัด งานเฉลิมฉลองสักครั้งหนึ่ง ดังนั้นปลายฤดูฝน วันที่ 7 ตุลาคม ปี 2448 จึงมีพระบรมราชโองการให้ มีการชุมนุมพบปะกันของรถยนต์ครั้งแรกในเมืองบางกอก ปรากฏว่ามอเตอร์ โชว์ครั้งแรกของสยามมีรถยนต์ไปชุมนุ มในบริ เวณพระบรมมหาราชวัง ทั้งสิ้ น 30 คัน พระองค์ทรงมีพระราชปฏิสันถารกับเจ้าของรถทุกคน ครั้นเวลาบ่ายสี่ โมงเย็นจึง เคลื่ อนขบวนรถไปตามถนนสามเสน และเลี้ ยวเข้าสู่ สวนดุสิตสองข้างทางมี ผูค้ นยืนเรี ยงรายชม ขบวนด้วยความตื่นตาตื่นใจ ในวาระเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 56 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว ปี 2451 ทรงสั่งรถยนต์เข้ามาเป็ นของขวัญพระราชทานให้พระบรมวงศานุ วงศ์ และข้าราชการชั้นสู ง เพื่อใช้ในราชการแผ่นดิน ทรงสัง่ รถยนต์จาํ นวน 10 คันจากฝรั่งเศสเช่น เคย และทรงพระราชทานนามแก่รถยนต์แต่ละคันเช่นเดียวกับพระราชทานนามช้างเผือก เพื่อแสดง ถึงฐานะ และความมัง่ คัง่ เวลาข้าราชบริ พารพูดถึงรถจึงไม่เรี ยกชื่ อรุ่ นหรื อยี่ห้อ แต่จะเรี ยกชื่ อ พระราชทานเป็ นเรื่ องสับสนสําหรับชาวต่างชาติที่ไม่รู้ภาษาไทยว่าหมายถึงรถคันไหน ตัวอย่างนาม พระราชทานเช่น แก้วจักรพรรดิ, มณี รัตนา, ทัดมารุ ต, ไอยราพต, กังหัน, ราชอนุยนั ต์, สละสลวย, กระสวยทอง, ลําพองทัพ, พรายพยนต์, กลกําบังและสุ วรรณมุขี เป็ นต้น
31 ประวัติกจิ การกรณีศึกษา “ หรั่งคูคต กู๊ดคาร์ ” ที่ต้ งั 20/4 หมู่18 ถนนลําลูกกา ตําบลคูคต อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130 โทร. 086-3872095, 086-3328281, 081-6204530 กิจการประกอบธุ รกิจ รับซื้ อ-ขาย-แลกเปลี่ยน รถยนต์มือ2ทุกชนิ ด จัดไฟแนนซ์ ปิ ดบัญชี ไฟแนนซ์ และจํานํารถยนต์มือสอง เป็ นกิจการเจ้าของคนเดียวและได้ผา่ นการจดทะเบียนพานิชย์ มี ทั้งหมด 2 สาขา รถยนต์อยูใ่ นความครอบครองจํานวนมากกว่า 40 คัน ประกอบกิจการมาแล้วกว่า 15 ปี
ภาพที่ 3-1 แสดงลักษณะสถานที่ต้ งั กิจการ หรั่งคูคต กู๊ดคาร์
32 “ สกล รถสวย สาขา 2 ” ที่ต้ งั 153 หมู่ 12 ตําบลทุ่งสุ ขลา อําเภอศรี ราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทร. 086-8266652, 084-4397891 กิจการประกอบธุ รกิจรับซื้ อรถยนต์ทุกชนิด รับแจ้ง โอน ย้ายทะเบียนรถยนต์ รับทํา พรบ. และประกันรถยนต์ เป็ นกิ จการเจ้าของคนเดี ยว และได้ผ่านการจดทะเบี ยนพาณิ ชย์ มีท้ งั หมด 2 สาขา รถยนต์อยูใ่ นความครอบครองจํานวนมากกว่า 30 คัน ประกอบกิจการมาแล้วกว่า 10 ปี
ภาพที่ 3-2 แสดงลักษณะสถานที่ต้ งั ของกิจการ สกล รถสวย สาขา 2
บทที่ 4 ผลการศึกษา โดยทัว่ ไปการขายสิ นค้าของผูป้ ระกอบการจะต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายสิ นค้า เนื่ องจากถือว่าเป็ นการขายของผูท้ ี่อยูใ่ นระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่ในขณะเดียวกันผูป้ ระกอบการ ได้ แบ่งออกเป็ น ผูป้ ระกอบการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มและผูป้ ระกอบการที่ไม่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม จากการที่ได้ศึกษาผูป้ ระกอบกิจการขายรถยนต์มือสอง ทั้งที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มและไม่จด ทะเบี ยนภาษีมูลค่าเพิ่ม ทําให้ทราบถึงกลไกของการเสี ยภาษี มูลค่าเพิ่มที่ ยงั เป็ นปั ญหาแฝงอยู่ใน สิ น ค้า รถยนต์มื อ สอง ซึ่ ง สภาพปั ญ หาของการจัด เก็ บ ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม จากรถยนต์มื อ สองนั้น มี รายละเอียดดังต่อไปนี้ หลักเกณฑ์ การจัดเก็บภาษีมูลค่ าเพิม่ จากการขายรถยนต์ มือสอง ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax : VAT) เป็ นภาษีที่จดั เก็บจากมูลค่าของสิ นค้าหรื อบริ การ ที่ เพิ่มขึ้ นในแต่ละขั้นตอนของการผลิ ตและการจําหน่ ายสิ นค้าหรื อบริ การนั้นๆ โดยผูป้ ระกอบ กิจการเป็ นผูม้ ีหน้าที่เก็บจากลูกค้า และนําภาษีมูลค่าเพิ่มไปชําระให้แก่กรมสรรพากร โดยผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม คือ ผูป้ ระกอบการที่ขายสิ นค้าหรื อให้บริ การในทางธุรกิจ หรื อวิชาชี พเป็ นปกติธุระ ไม่ว่าจะประกอบกิ จการในรู ปของบุคคลธรรมดา คณะบุคคลหรื อห้าง หุ ้นส่ วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล หรื อนิ ติบุคคลใด ๆ หากมีรายรับจากการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การ เกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี มีหน้าที่ตอ้ งยืน่ คําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อเป็ นผูป้ ระกอบการจด ทะเบียน โดยคํานวณภาษีที่ตอ้ งเสี ยจากภาษีขายหักด้วยภาษีซ้ือ บริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัด ประกอบธุ รกิจซื้ อ – ขายรถยนต์มือสอง ได้ขอจด ทะเบียนเป็ นผูป้ ระกอบการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม เนื่องจาก 1. ต้องการออกใบกํากับภาษี ให้กับลูกค้า หรื อลูกค้าต้องการใบกํากับภาษี จากกิ จการ ดัง นั้น กิ จ การจึ ง ต้อ งขอจดทะเบี ย นเป็ นผูป้ ระกอบการเสี ย ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม (เพราะผูม้ ี สิ ท ธิ์ ออก
34 ใบกํากับภาษีได้ ก็คือผูท้ ี่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม) อีกทั้งยังเป็ นผลดีต่อกิจการในการขอคืนเครดิต ภาษีอีกด้วย 2. กิจการมีรายได้ถึง 1,800,000 บาท ต่อปี อีกทั้งธุรกิจซื้อ – ขายรถยนต์มือสองอยูใ่ นบังคับต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวล รัษฎากรมาตร 77/2 อีกด้วย สําหรับหลักเกณฑ์การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ และเอกสารที่ตอ้ งใช้ในการขอขึ้นทะเบียน เป็ นผูป้ ระกอบการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มสําหรับกิจการซื้อ – ขายรถยนต์มือสอง มีหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี้ หลักฐานและเอกสารในการขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เอกสารที่ตอ้ งใช้มีดงั นี้ 1. สําเนาทะเบียนบ้านหรื อหลักฐานแสดงการอยูอ่ าศัยจริ ง พร้อมภาพถ่ายสําเนาดังกล่าว 2. บัตรประจําตัวประชาชนและบัตรประจําตัวผูเ้ สี ยภาษีอากร พร้อมภาพถ่ายบัตรดังกล่าว 3 สัญญาเช่าอาคารอันเป็ นที่ต้ งั สถานประกอบการ (กรณี เช่า) หรื อหนังสื อยินยอมให้ใช้ สถานประกอบการ และหลักฐานแสดงกรรมสิ ทธิ์ เช่น เป็ นเจ้าบ้าน, สัญญาซื้อขาย, คําขอหมายเลข บ้าน, ใบโอนกรรมสิ ทธิ์, สัญญาเช่าช่วง พร้อมสําเนาทะเบียนบ้านอันเป็ นที่ต้ งั สถานประกอบการ และภาพถ่ายเอกสารดังกล่าว 4. หนังสื อจัด ตั้งห้างหุ ้น ส่ ว น พร้ อมภาพถ่ า ยหนังสื อดังกล่ าว (กรณี เป็ นห้างหุ ้น ส่ ว น สามัญหรื อคณะบุคคล) 5 หนังสื อรั บ รองของนายทะเบี ย นห้า งหุ ้น ส่ ว น บริ ษ ทั พร้ อ มวัตถุ ป ระสงค์ หนังสื อ บริ คณห์สนธิ และข้อบังคับ และใบทะเบียนพาณิ ชย์พร้อมภาพถ่ายหนังสื อดังกล่าว (กรณี เป็ นนิ ติ บุคคล)
35 6. บัตรประจําตัวประชาชนของกรรมการผูจ้ ัด การ หรื อหุ ้น ส่ ว นผูจ้ ัด การ และสํา เนา ทะเบียนบ้าน พร้อมภาพถ่ายเอกสารดังกล่าว 7 แผนที่ซ่ ึงแสดงที่ต้ งั ของสถานประกอบการโดยสังเขป และภาพถ่ายสถานประกอบการ จํานวน 2 ชุด 8. กรณี มอบอํานาจให้ผูอ้ ื่ นทําการแทน ต้องมี หนังสื อมอบอํานาจปิ ดอากรแสตมป์ 10 บาท บัตรประจําตัวประชาชนของผูม้ อบอํานาจและผูร้ ั บมอบอํานาจพร้อมภาพถ่ายบัตรดังกล่าว โดยผูร้ ับมอบอํานาจต้องมีอายุ 20 ปี ขึ้นไป 9. แบบคํา ขอจดทะเบี ย นภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม (ภ.พ.01) จํ า นวน 3 ฉบั บ ซึ่ งในเขต กรุ งเทพมหานครขอรับได้ที่สาํ นักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (เขต/อําเภอ) หรื อสํานักงานสรรพากร พื้นที่ สําหรับในจังหวัดอื่นขอรับได้ที่สาํ นักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (อําเภอ) ทุกแห่ ง การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มของผูป้ ระกอบการให้ยนื่ คําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มตาม แบบ ภ.พ.01 ณ สถานที่ดงั ต่อไปนี้ 1. กรณี สถานประกอบการตั้งอยู่ในเขตกรุ งเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สํานักงานสรรพากร พื้นที่ หรื อ สํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาในเขตท้องที่ที่ สถานประกอบการตั้งอยู่ 2. กรณี สถานประกอบการตั้งอยูน่ อกเขตกรุ งเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สํานักงานสรรพากร พื้นที่ สาขา (อําเภอ) ในเขตท้องที่ ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ และกรณี สถานประกอบการตั้งใน ท้อ งที่ อ าํ เภอหรื อ กิ่ ง อํา เภอตั้ง ใหม่ ที่ ก รมสรรพากรมิ ไ ด้จ ัด อัต รากํา ลัง ไว้ ให้ยื่ น ณ สํา นัก งาน สรรพากรพื้นที่สาขา (อําเภอ) ที่เคยควบคุมพื้นที่เดิมของอําเภอหรื อกิ่งอําเภอตั้งใหม่น้ นั กรณี สถานประกอบการหลายแห่ ง ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนได้ที่ สํานักงานสรรพากรพื้นที่ หรื อ สํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา ในท้องที่ที่สถานประกอบการอันเป็ นที่ต้ งั ของสํานักงานใหญ่ เพียงแห่ งเดียว
36 3. กรณี สถานประกอบการที่อยูใ่ นความดูแลของสํานักบริ หารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ให้ยนื่ ณ สํานักบริ หารภาษี ธุรกิ จขนาดใหญ่ หรื อจะยื่นผ่านสํานักงานสรรพากรพื้นที่ หรื อสํานักงาน สรรพากรพื้นที่สาขาที่สถานประกอบการตั้งอยูก่ ไ็ ด้ โดยฐานภาษีของกิจการซื้อ – ขายรถยนต์มือสอง มูลค่าฐานภาษีเท่ากับราคาหรื อมูลค่าที่ทาํ การซื้อขาย ที่ได้รับการปฏิบตั ิเช่นเดียวกับสิ นค้าประเภทอื่น ๆ ที่อยูใ่ นบังคับต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม (อัตรา 7%) แต่เนื่องจากรถยนต์มือสองเป็ นสิ นค้าใช้แล้ว ซึ่งได้เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มในการซื้อครั้งแรก อีกทั้งผูป้ ระกอบการมีการติดต่อซื้ อขายส่ วนใหญ่กบั ผูบ้ ริ โภคที่ไม่ได้อยูใ่ นระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม จึง ไม่มีหลักฐานภาษี (ใบกํากับภาษีมูลค่าเพิ่มจากผูข้ าย) เพื่อใช้ในการเครดิตภาษีซ้ื อได้ จึงก่อให้เกิด ภาระภาษีแฝงอยูใ่ นสิ นค้าใช้แล้ว ซึ่งสามารถพิจารณา ได้ 2 กรณี ดังนี้ 1. กรณี ที่ผขู ้ ายไม่อยูใ่ นระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผูข้ าย
ผูป้ ระกอบการซื้อขายรถยนต์มือสอง ไม่มีภาษีซ้ื อ
ซื้อ / ขาย
ภาษีขาย
ผูซ้ ้ือ
ผูป้ ระกอบการไม่สามารถนําภาษี ซ้ื อไปหักจากภาษี ขาย เนื่ องจากผูข้ ายไม่อยู่ในระบบ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ทําให้รถยนต์ที่ผปู ้ ระกอบการซื้ อขายรถยนต์มือสองขายต่อไปยังผูซ้ ้ือรายใหม่ตอ้ งมี ภาระภาษีเพิ่มขึ้นจากปัจจุบนั ที่เสี ยเฉพาะส่ วนต่างของภาษีขายและภาษีซ้ือ 2. กรณี ที่ผขู ้ ายอยูใ่ นระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผูข้ าย
ผูป้ ระกอบการซื้อขายรถยนต์มือสอง ภาษีซ้ื อ
ซื้อ / ขาย
ภาษีขาย
ผูซ้ ้ือ
ผูป้ ระกอบการสามารถนําภาษีซ้ื อไปหักจากภาษีขายได้ ทําให้เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจากส่ วน ต่างภาษีที่เกิดจากการซื้อขายตามระบบภาษีมูลค่าเพิ่มที่กาํ หนด
37 อย่า งไรก็ ดี จะต้อ งคํา นึ ง อยู่เ สมอว่ า ผูท้ ี่ เ สี ย ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ที่ แ ท้จ ริ ง คื อ ผูบ้ ริ โ ภค โดย ผูป้ ระกอบการเป็ นผูจ้ ดั เก็บภาษีมูลค่าเพิม่ ส่ งให้แก่ภาครัฐเท่านั้น โดยระบบภาษีมูลค่าเพิ่มได้กาํ หนดให้ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนต้องจัดทํารายงานเกี่ยวกับ การเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มดังต่อไปนี้ 1. รายงานภาษี ขาย เป็ นแบบรายงานเพื่อทําการสรุ ปภาษี ซึ่ งทําให้ทราบรายละเอี ยด เกี่ยวกับมูลค่าสิ นค้า หรื อบริ การและจํานวนภาษีขายที่ผปู ้ ระกอบการได้เรี ยกเก็บจากลูกค้าไว้ท้ งั สิ้ น ในเดือนภาษีน้ นั ตามหลักฐานในเอกสารใบกํากับภาษี 2. รายงานภาษีซ้ื อ เป็ นแบบรายงานเพื่อทําการสรุ ปภาษีซ้ื อ ซึ่ งทําให้ทราบรายละเอียด เกี่ยวกับมูลค่าสิ นค้า หรื อบริ การและจํานวนภาษีซ้ือที่ผปู ้ ระกอบการรายอื่นได้เรี ยกเก็บไปทั้งสิ้ นใน เดือนภาษีน้ นั ตามหลักฐานในเอกสารใบกํากับภาษี 3. รายงานสิ นค้าและวัตถุดิบ เป็ นแบบรายงานเพื่อแสดงปริ มาณสิ นค้าหรื อวัตถุดิบที่ รับมาหรื อจ่ายไปจริ ง และปริ มาณสิ นค้าที่คงเหลืออยู่ การจัดทํารายงานต้องมีเอกสารประกอบเป็ น ใบสําคัญรับหรื อจ่ายสิ นค้า ซึ่งควรแยกออกเป็ นแต่ละประเภท ชนิดและขนาด การคํานวณภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามที่กล่าวไปแล้วในข้างต้นว่า กิจการซื้อ – ขายรถยนต์มือสองมีฐานภาษีเท่ากับราคาหรื อ มูลค่าที่ทาํ การซื้ อขาย ที่ได้รับการปฏิบตั ิ เช่ นเดี ยวกับสิ นค้าประเภทอื่น ๆ ที่ อยู่ในบังคับต้องเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่ม (อัตรา 7%) แต่รถยนต์มือสองนั้นเคยเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มไปแล้วในครั้งแรก แต่เมื่อมี การทําการซื้ อ – ขายอีกครั้ งก็ยงั ต้องเสี ยภาษี มูลค่าเพิ่มอีก ทําให้เกิ ดการเสี ยภาษีซ้ าํ ซ้อน และ ผูบ้ ริ โภคคนสุ ดท้าย ซึ่ งปกติเป็ นผูบ้ ริ โภคทัว่ ไปที่ไม่ได้อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มทําให้เป็ นผูแ้ บก รับภาษีท้ งั หมดไว้ ซึ่ งมีการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนต้องเรี ยกเก็บหรื อพึง เรี ยกเก็บจากผูซ้ ้ือสิ นค้า หรื อผูร้ ับบริ การ ดังนี้ (รวบรวมภาษีมาจากรายงานภาษีขายและรายงานภาษี ซื้อ)
38 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ตอ้ งเรี ยกเก็บ หรื อพึงเรี ยกเก็บ = ฐานภาษี x อัตราภาษี (ที่รวมภาษีทอ้ งถิ่น) (ภาษีขาย) การคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนจะต้องชําระเป็ นรายเดือนภาษี หรื อมี สิ ทธิขอรับคืนภาษี หรื อขอนําไปเป็ นเครดิตภาษีเดือนถัดไป ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ตอ้ งชําระ หรื อ (มีสิทธิได้รับคืน) = ภาษีขาย – ภาษีซ้ือ ภาษีซ้ื อ หมายถึง ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนถูกผูป้ ระกอบการจดทะเบียน รายอื่นเรี ยกเก็บ หรื อพึงเรี ยกเก็บ ตามใบกํากับภาษีที่ได้รับในเดือนภาษีน้ นั ซึ่ งภาษีซ้ื อดังกล่าวมิใช่ รายการภาษีซ้ือต้องห้าม ภาษีขาย หมายถึง ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนเรี ยกเก็บ หรื อพึงเรี ยกเก็บจาก ผูซ้ ้ือสิ นค้า และ/หรื อผูร้ ับบริ การ รวมทั้งการจําหน่ายจ่ายโอนสิ นค้า หรื อการใช้บริ การของตนเองที่ ถือว่าเป็ นการขายในเดือนภาษีน้ นั การคํานวณภาษีขายของเดือนภาษี ให้คาํ นวณจาก ผลรวมมูลค่าสิ นค้าที่ขายและ/หรื อมูลค่า บริ การที่ได้รับในเดือนภาษีน้ นั คูณกับ อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม (ที่รวมภาษีทอ้ งถิ่น) จึงอาจมีผลให้ภาษี ขายของเดื อนภาษีที่คาํ นวณจากยอดรวมดังกล่าวมีจาํ นวนที่มากกว่า/หรื อน้อยกว่าผลรวมของค่า ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ได้เรี ยกเก็บ/พึงเรี ยกเก็บจากผูซ้ ้ือสิ นค้า และ/หรื อผูร้ ับบริ การในเดือนภาษีน้ นั ก็ได้ แต่อย่างไรก็ตามยังมีขอ้ จํากัดบางประการในการขอคืนภาษีซ้ือ โดยสําหรับรถยนต์นงั่ หรื อ โดยสารที่มีที่นงั่ ไม่เกิน 10 คน ที่ผปู ้ ระกอบการไม่สามารถที่จะขอคืนภาษีซ้ือได้ เนื่องจากเป็ นภาษี ซื้อต้องห้ามตามประกาศอธิ บดีกรมสรรพากร (ฉบับที่ 42) ฯ กําหนดไว้ ทําให้รถยนต์ดงั กล่าวไม่ว่า จะถูกซื้อไปใช้และนํามาขายต่อโดยผูป้ ระกอบการจดทะเบียนหรื อผูบ้ ริ โภครายสุ ดท้ายหรื อไม่ จะมี ภาระภาษีแฝงในต้นทุนรถยนต์ที่ขายเสมอ เพียงแต่ผปู ้ ระกอบการที่ดาํ เนิ นธุ รกิจซื้ อขายรถยนต์มือ สองนั้นไม่อาจเลือกใช้วิธีการเก็บภาษีจากส่ วนต่าง กับรถยนต์นงั่ หรื อรถยนต์โดยสารที่มีที่นงั่ ไม่
39 เกิ น 10 คน ที่ ไ ด้ข ายโดยผูป้ ระกอบการจดทะเบี ย น เนื่ อ งจากในการทํา ธุ ร กรรมดัง กล่ า ว ผูป้ ระกอบการที่ขายรถยนต์ตอ้ งทําการเรี ยกเก็บและออกใบกํากับภาษีให้แก่ ผูป้ ระกอบการที่ซ้ื อ รถยนต์มาเพื่อขายต่ อ อย่างไรก็ดี ถึ ง แม้ว่าจะไม่สามารถใช้วิธีการเก็บภาษี จากส่ วนต่ างได้ แต่ ผูป้ ระกอบการที่ซ้ือรถยนต์มาเพื่อขายนั้นสามารถนําภาษีซ้ือจากการซื้อรถยนต์ดงั กล่าวไปขอคืนได้ โดยไม่ถือเป็ นภาษี ซ้ื อต้องห้ามตามประกาศอธิ บดี กรมสรรพากรแต่อย่างใด ปั ญหาดังกล่าวอาจ แก้ไขโดยให้สิทธิแก่ผปู ้ ระกอบการที่ซ้ือรถยนต์มาเพื่อขาย สามารถใช้วิธีการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจาก ราคาปรับลด เพื่อช่วยในการบรรเทาภาระภาษีที่แฝงอยู่ในต้นทุนสิ นค้าและลดปั ญหาการจัดเก็บ ภาษีมูลค่าเพิ่มซํ้าซ้อนอันเกิดจากการขายรถยนต์ดงั กล่าวได้ ส่ วนกรณี ของการซื้ อรถยนต์ประเภท ต่าง ๆ จากผูท้ ี่ไม่ใช่ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียน หรื อผูบ้ ริ โภครายสุ ดท้ายนั้นควรที่จะนําวิธีการเก็บ ภาษีจากส่ วนต่างมาใช้เพื่อลดปัญหาการจัดเก็บภาษีซ้ าํ ซ้อน กําหนดเวลา สถานทีย่ นื่ แบบและการชําระภาษี กําหนดเวลายืน่ แบบ 1. ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนต้องยื่นแบบ ภ.พ.30 พร้อมชําระภาษีมูลค่าเพิ่ม (ถ้ามี) เป็ น รายเดือนทุกเดือนภาษี ไม่ว่าจะมีการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การในเดือนภาษีน้ นั หรื อไม่ก็ตาม โดยให้ ยืน่ แบบภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ในกรณี ผูป้ ระกอบการมีสถานประกอบการหลายแห่ ง ให้แยกยื่นแบบแสดงรายการภาษี และชําระภาษีเป็ นรายสถานประกอบการ เว้นแต่ได้ยื่นคําร้องขออนุ มตั ิยื่นแบบแสดงรายการภาษี และชําระภาษีรวมกัน (ภ.พ.02) เมื่อได้รับอนุ มตั ิจากอธิ บดีกรมสรรพากรแล้ว ก็สามารถยื่นแบบ ภ.พ.30 รวมกันได้ต้ งั แต่เดือนภาษีที่อธิบดีกาํ หนดเป็ นต้นไป 2. การนําเข้าสิ นค้า ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนหรื อผูน้ าํ เข้าต้องยืน่ แบบใบขนสิ นค้าขาเข้า และชําระภาษีมูลค่าเพิ่มพร้อมกับการชําระอากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร ณ ด่านศุลกากร ที่มีการนําเข้าสิ นค้า
40 3. ผูม้ ีหน้าที่นาํ ส่ งภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณี ผปู ้ ระกอบการที่ให้บริ การในต่างประเทศและได้มี การใช้บริ การนั้นในราชอาณาจักร หรื อผูท้ อดตลาดซึ่ งขายทอดตลาดทรัพย์สินของผูป้ ระกอบการ จดทะเบียน ต้องยืน่ แบบนําส่ งภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 7 วันนับแต่วนั ที่จ่ายเงินหรื อวันรับเงินจากการ ขายทอดตลาดแล้วแต่กรณี ปั จจุบนั ได้มีประกาศกระทรวงการคลังขยายกําหนดเวลาการนําส่ งเงิน ภาษีมูลค่าเพิ่มโดยให้นาํ ส่ งภายใน 7 วัน นับแต่วนั สิ้ นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินให้แก่ผปู ้ ระกอบการ จดทะเบียน หรื อผูป้ ระกอบการ และยืน่ รายการ แล้วแต่กรณี 4. กรณี ผูร้ ั บ โอนสิ น ค้า หรื อ ผูร้ ั บ โอนสิ ท ธิ ใ นบริ ก ารที่ ไ ด้เ สี ย ภาษี มูล ค่ า เพิ่ ม ในอัต รา ร้อยละ 0 ให้นาํ ส่ งภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 30 วันนับแต่วนั ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น ปั จจุบนั ได้มีประกาศกระทรวงการคลังขยายกําหนดเวลาการนําส่ งเงินภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยให้นาํ ส่ ง และยื่นรายการภายใน 7 วัน นับแต่วนั สิ้ นเดือนของเดือนที่ครบกําหนด 30 วันที่ความรับผิดในการ เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น 5. กรณี ที่ผูป้ ระกอบการจดทะเบี ยนยื่นแบบแสดงรายการภาษี มูลค่าเพิ่มไว้ไม่ ถูกต้อง ครบถ้วน ไม่วา่ การคลาดเคลื่อนนั้นจะเป็ นเหตุให้จาํ นวนภาษีในเดือนภาษีเปลี่ยนแปลงไปหรื อไม่ก็ ตาม จะยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม เพิ่มเติ มได้อีกพร้ อมกับชําระภาษี (ถ้ามี ) ให้ถูกต้อง ครบถ้วน ณ หน่วยงานที่ได้ยนื่ แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ก่อน สถานทีย่ นื่ แบบ 1. กรณี สถานประกอบการตั้งอยู่ในเขตกรุ งเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สํานักงานสรรพากร พื้นที่สาขา(เขต/อําเภอ) ในท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ 2. กรณี สถานประกอบการตั้งอยูน่ อกเขตกรุ งเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สํานักงานสรรพากร พื้นที่สาขา(อําเภอ) ในท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่
41 การชําระภาษี 1. ชําระเป็ นเงินสด 2. ชําระด้วยเช็คขี ดคร่ อม สั่งจ่ายแก่ กรมสรรพากร โดยขีดฆ่าคําว่า ผูถ้ ื อและหรื อตาม คําสัง่ ซึ่ งจากกรณี ศึกษา พบว่า บริ ษทั ทรั พย์มหาศาลออโต้ จํากัด เป็ นผูป้ ระกอบการซื้ อขาย รถยนต์มือสองและได้จดทะเบียนเป็ นผูป้ ระกอบการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่ งรถที่มีไว้เพื่อขายของ กิจการจะมาจากหลายแหล่ง เช่น มาจากการประมูลของโรงงานอุตสาหกรรมหรื อบริ ษทั ต่าง ๆ ที่ถูก นํามาขายซาก เนื่ องจากหมดอายุการใช้งาน หรื อมาจากบุคคลทัว่ ไปที่นาํ มาขายมือสองให้กบั ทาง บริ ษทั เอง หรื อที่เรี ยกกันว่า รถบ้าน จะเห็นได้ว่า รถต่างๆเหล่านี้ จะมาจากผูข้ ายทั้งที่ไม่อยูใ่ นระบบ ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม และอยู่ ใ นระบบภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ซึ่ งถ้า ทางกิ จ การซื้ อ มาจากผู ้ที่ อ ยู่ ใ นระบบ ภาษีมูลค่าเพิ่มจะสามารถนําภาษีซ้ื อไปหักจากภาษีขายได้ หากภาษีซ้ื อมากกว่าภาษีขาย กิจการจะ สามารถขอคืนภาษีได้ แต่ถา้ ภาษีขายมากกว่าภาษีซ้ื อกิจการจะต้องทําการชําระภาษีมูลค่าเพิ่ม โดย การยืน่ แบบแสดงรายการ ภพ.30 ที่กรมสรรพากร แต่ท้ งั นี้ถา้ บริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัด ซื้อ รถจากผูท้ ี่ไม่ได้อยูใ่ นระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม นัน่ หมายความว่าทางบริ ษทั ไม่สามารถนําภาษีซ้ือไปหัก จากภาษีขาย (การคํานวณภาษีมูลค่าของบริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัด คิดจากยอดราคาหรื อมูล ค่าที่ทาํ การซื้อขาย คูณ อัตราภาษีมูลค่าเพิม่ 7%) แต่ในส่ วนของกิจการสกลรถสวย และกิจการของหรั่งคูคต กู๊ดคาร์ เป็ นกิจการที่ไม่ได้จด ทะเบียนเป็ นผูป้ ระกอบการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม ดังนั้นในการขายรถยนต์ของทั้งสองกิจการจะเสมือน ไม่มีภาษีขายเกิดขึ้น คือราคาที่ขายเป็ นราคาที่รวมค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่ทาํ ให้รถนั้นมีสภาพพร้อมขาย และแฝงไปด้วยภาษีอยูแ่ ล้ว ทําให้ผบู ้ ริ โภครายสุ ดท้ายเป็ นผูแ้ บกรับภาษีที่แท้จริ ง ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จากการจัดเก็บภาษีมูลค่ าเพิม่ จากรถยนต์ มือสอง โดยทัว่ ไปการขายสิ นค้าของผูป้ ระกอบการจะต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายสิ นค้า แม้วา่ สิ นค้านั้นจะเป็ นสิ นค้าที่มีไว้ใช้ในกิจการก็ตาม เนื่ องจากถือว่าเป็ นการขายของผูท้ ี่อยูใ่ นระบบ
42 ภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่หากเป็ นการขายสิ นค้าที่มีไว้ใช้ในการประกอบกิจการของผูท้ ี่ไม่ใช่ผปู ้ ระกอบการ จดทะเบียนการขายสิ นค้าดังกล่าวจะไม่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม เนื่ องจากไม่ใช่การขายในทางธุรกิจ หรื อวิชาชีพ ซึ่งผูท้ ี่ไม่ใช่ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็ นผูบ้ ริ โภคที่เป็ นบุคคล ทัว่ ไป กิจการซึ่ งได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ว่าจะเป็ นการยกเว้นโดยประมวลรัษฎากรหรื อตาม กฎหมายอื่น ๆ ตลอดจนกิจการที่ไม่อยูใ่ นบังคับที่จะต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยบุคคลเหล่านั้นอาจ ขายสิ นค้าโดยตนเอง ขายทอดตลาด หรื อขายผ่านตัวแทน ลักษณะของภาษีมูลค่าเพิ่มนั้นเป็ นภาษีอากรที่จดั เก็บจากการค้าปลีกหรื อจากผูบ้ ริ โภคราย สุ ดท้ายและจากกลไกของภาษีมูลค่าเพิ่มที่อนุญาตให้ผปู ้ ระกอบการสามารถขอเครดิตภาษีซ้ือที่เสี ย ไปแล้วคืนได้ ทําให้โดยปกติจะไม่มีภาระภาษีซ้ าํ ซ้อน อย่างไรก็ดีถา้ ผูป้ ระกอบการซื้อสิ นค้าจากผูท้ ี่ ไม่ได้อยูใ่ นระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ก็อาจเกิดการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มซํ้าซ้อนได้ 1. ปัญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่ าเพิม่ ซํ้าซ้ อน ภาษีมูลค่าเพิ่มเป็ นภาษีที่จดั เก็บจากมูลค่าที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอนการผลิตสิ นค้าหรื อ ให้บริ การ โดยกลไกของภาษีมูลค่าเพิม่ จะอนุญาตให้ผปู ้ ระกอบการสามารถที่จะขอเครดิตภาษีที่เสี ย ไปในขณะซื้อสิ นค้าคืนได้ ทําให้ไม่มีภาระภาษีมูลค่าเพิ่มแฝงอยูใ่ นต้นทุนสิ นค้าที่ขาย และไม่มีการ จัดเก็บสิ นค้ามูลค่าเพิ่มซํ้าซ้อน ทั้งนี้ภาระภาษีมูลค่าเพิ่มทั้งหมดจะตกอยูแ่ ก่ผบู ้ ริ โภครายสุ ดท้ายที่ไม่ สามารถขอภาษีซ้ือคืนได้ กรณี ศึกษาบริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัด พบว่า บริ ษทั ได้เข้าระบบภาษีมูลค่าเพิ่มตาม กฎหมาย มีการรับรถยนต์มือสองมาจากการประมูลตามโรงงานอุตสาหกรรมหรื อตามบริ ษทั มีการ รับแลกเปลี่ยนรถยนต์มือสองจากบุคคลธรรมดาทัว่ ไป ในการตั้งราคาขายบริ ษทั ได้รวมต้นทุนที่ เกิดขึ้นเพื่อให้รถยนต์มือสองมีสภาพพร้อมขายไว้แล้ว ในการซื้อ-ขายนั้นบริ ษทั ได้มีหน้าที่การออก ใบเสร็ จ รั บ -จ่ า ยเงิ น ตามปกติ ในกรณี ที่ บ ริ ษ ัท ซื้ อ รถยนต์มื อ สองมาจากบริ ษ ัท ที่ จ ดทะเบี ย น ภาษีมูลค่าเพิ่ม บริ ษทั สามารถที่จะนําภาษีซ้ื อนั้นมาเครดิตภาษีได้ แต่ถา้ บริ ษทั ได้รับซื้ อรถยนต์มือ สองมาจากกิจการที่ไม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มหรื อบุคคลธรรมดาทัว่ ไป ภาษีซ้ื อที่เกิ ดขึ้นไม่ สามารถนํามาเป็ นเครดิตภาษีซ้ื อได้ กรณี การขายก็เช่นเดียวกันหากบริ ษทั มีการขายให้กบั บริ ษทั ที่ จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มก็นาํ ภาษีขายมาเครดิตภาษีได้ แต่ถา้ ไม่ได้ขายให้กบั บริ ษทั ที่เข้าระบบ
43 ภาษีมูลค่าเพิ่มถึงแม้จะออกใบเสร็ จรับเงินแต่ภาษีขายที่เกิดขึ้นก็ไม่สามารถนํามาเป็ นเครดิตภาษีขาย ได้ ซึ่งเมื่อบริ ษทั นําภาษีซ้ือหักภาษีขายแล้วพบว่าบริ ษทั มีภาษีซ้ือสู งกว่า บริ ษทั ก็สามารถนําภาษีซ้ื อ ที่เกินมาไปขอคืนภาษีได้ ศึกษาจากตัวอย่างที่ 1 และตัวอย่างที่ 2 เพื่อความเข้าใจมากยิง่ ขึ้น ตัวอย่ างที่ 4.1 บริ ษทั A เป็ นผูป้ ระกอบการจดทะเบียน ขายรถยนต์ใหม่ให้แก่ บริ ษทั B ในราคา 800,000 บาท บริ ษทั B นํารถยนต์มาใช้ในกิจการของตน และขายต่อให้กบั บริ ษทั C ราคา 400,000 บาท บริ ษทั C ขายให้บริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัด ซึ่ งเป็ น ผูป้ ระกอบการขายรถยนต์มือสองในราคา 200,000 บาท ต่อมา บริ ษทั ทรัพย์มหาศาล ออโต้ จํากัด ขายรถยนต์ดงั กล่าวให้แก่ นาย ก ในราคา 300,000 บาท ตารางที่ 4-1 แสดงลําดับการซื้ อสิ นค้ามือสองโดยผูป้ ระกอบการที่อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มตาม ตัวอย่างที่ 1 ผู้ประกอบการ
ราคาซื้อ
ราคาขาย
บริ ษทั A บริ ษทั B บริ ษทั C บจก.ทรัพย์มหาศาลออโต้ นาย ก รวม
856,000 428,000 214,000 321,000
800,000 400,000 200,000 300,000 -
ภาษีซื้อ (7%) 56,000 28,000 14,000 21,000
ภาษีขาย ภาษีมูลค่ าเพิม่ (7%) ทีพ่ งึ ชําระ 56,000 56,000 28,000 (28,000) 14,000 (14,000) 21,000 7,000 21,000
จากตารางที่ 4.1 เป็ นกรณี ที่ไม่มีปัญหาในการเครดิตภาษีซ้ื อ เนื่ องจากการขายรถยนต์ที่ใช้ ในกิจการในทุกขั้นตอนได้กระทําโดยผูป้ ระกอบการจดทะเบียน จึงมีหน้าที่ตอ้ งออกใบกํากับภาษี และผูซ้ ้ือที่อยูใ่ นระบบภาษีมูลค่าเพิ่มก็สามารถขอเครดิตภาษีซ้ือคืนได้ ดังนั้น จึงไม่มีภาระภาษีแฝง อยูใ่ นราคาสิ นค้า บริ ษทั B และบริ ษทั C สามารถขอคืนภาษีซ้ือได้ท้ งั หมดตามส่ วนที่ใช้ไปจริ ง โดย ภาษีซ้ือที่สามารถขอคืนได้สาํ หรับบริ ษทั B เท่ากับ 28,000 บาท และบริ ษทั C เท่ากับ 14,000 บาท (ภาษีซ้ือ – ภาษีขาย) กรณี บริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัด ที่ประกอบกิจการขายรถยนต์มือสอง
44 ซื้อรถยนต์ที่ใช้แล้วจากบริ ษทั C แล้วนํามาขายต่อให้กบั นาย ก ดังนั้น บริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัด ต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจากมูลค่าเพิ่มขึ้นในการขายรถยนต์ดงั กล่าวเป็ นจํานวน 7,000 บาท (ภาษีขาย – ภาษีซ้ือ) และนาย ก ที่ซ้ือรถยนต์ไปใช้มีภาระภาษีมูลค่าเพิ่มเป็ นจํานวน 21,000 บาท ทํา ให้ในขั้นตอนสุ ดท้ายภาษีมูลค่าเพิ่มที่พึงชําระในระบบจะเท่ากับภาระภาษีที่ผบู ้ ริ โภคต้องแบกรับ ตัวอย่ างที่ 4.2
กรณี บริ ษทั B ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ประกอบกิ จการที่ได้รับยกเว้นหรื อไม่อยู่ในบังคับที่ตอ้ งเสี ย
ตารางที่ 4-2 แสดงลําดับการซื้ อสิ นค้ามือสองโดยผูป้ ระกอบการที่อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มและ ผูป้ ระกอบการที่ไม่อยูใ่ นบังคับต้องเสี ยภาษีมลู ค่าเพิ่มตามตัวอย่างที่ 2 ผู้ประกอบการ บริ ษทั A บริ ษทั B บริ ษทั C บจก.ทรัพย์มหาศาลออโต้ นาย ก รวม
ราคาซื้อ 856,000 480,000 299,600 406,600
ราคาขาย 800,000 480,000 280,000 380,000 -
ภาษีซื้อ (7%) 56,000 ไม่มี 19,600 26,600
ภาษีขาย ภาษีมูลค่ าเพิม่ (7%) ทีพ่ งึ ชําระ 56,000 56,000 ไม่มี ไม่มี 19,600 19,600 26,600 7,000 82,600
ตารางที่ 4.2 บริ ษทั B ได้รับยกเว้นหรื อไม่อยูใ่ นบังคับที่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม ดังนั้นจึงไม่ มีภาษีซ้ือและไม่ตอ้ งเรี ยกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายสิ นค้า ถ้าบริ ษทั B ขายรถยนต์ดงั กล่าวโดย ต้องการมีส่วนต่างราคาเท่ากับ 376,000 บาท จะมีภาระภาษีแฝงอยู่ในราคาสิ นค้าหรื อบริ การของ บริ ษทั B ถึง 56,000 บาท โดยบริ ษทั B อาจผลักภาระภาษีรวมไปกับรถยนต์ที่ขายซึ่ งจะตกเป็ นภาระ แก่บริ ษทั C และถ้าบริ ษทั C ต้องการผลตอบแทนสําหรับการขายทรัพย์สินในจํานวน 200,000 บาท ภาระภาษีแฝงจะตกอยูก่ บั บริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัด และนาย ก ผูซ้ ้ือรถยนต์ในลําดับต่อ ๆ มา กรณี ดงั กล่าวจะมี ภาระภาษีมูลค่าเพิ่มที่พึงชําระในระบบเท่ากับ 82,600 บาท โดยผูบ้ ริ โภคที่ แท้จริ งรับภาระภาษีจาํ นวน 26,600 บาท เพราะมีภาระภาษีแฝงจํานวน 56,000 บาท อันเกิดจากการ ที่บริ ษทั B ไม่สามารถขอภาษีซ้ื อคืนได้และผลักภาระภาษีรวมไปในราคาสิ นค้า ซึ่ งภาระภาษี
45 ดังกล่าวจะถูกแปรสภาพไปเป็ นฐานภาษีของบริ ษทั C ทําให้เกิดเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มซํ้าซ้อน ทําให้ ภาระภาษีที่ผบู ้ ริ โภคที่แท้จริ งรับภาระภาษีเพิม่ จากตัวอย่างที่ 1 จํานวน 5,600 บาท แต่กรณี ที่ผปู ้ ระกอบการไม่สามารถขอเครดิตภาษีซ้ื อคืนได้ เนื่ องจากซื้ อสิ นค้าในลักษณะ สิ นค้ามื อสองจากผูท้ ี่มิได้อยู่ในระบบภาษี มูลค่าเพิ่ม ทําให้มีภาระภาษี มูลค่าเพิ่มแฝงอยู่ในราคา สิ นค้านั้น ซึ่งถ้ามีการนําสิ นค้านั้นไปใช้เป็ นทรัพย์สินในการประกอบกิจการต่อไป ทรัพย์สินนั้นจะ ถือเป็ นต้นทุนของสิ นค้าที่ผลิตและขาย ดังนั้น ในการคํานวณหาต้นทุนเพื่อกําหนดราคาสิ นค้า ก็ จํา เป็ นต้อ งมี ภ าระภาษี ที่ แ ฝงอยู่ใ นตัว สิ น ค้า ทุ น รวมเข้า อยู่ด้ว ย ทํา ให้ เ กิ ด ภาษี ซ้อ นในระบบ ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม และเกิ ด ความเบี่ ย งเบนของราคาสิ น ค้า หรื อบริ การนั้ นๆ ตลอดจนกรณี ที่ ผูป้ ระกอบการประกอบกิจการซื้อสิ นค้ามือสองจากผูท้ ี่มิได้อยูใ่ นระบบภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อขายต่อไป ผูป้ ระกอบการดังกล่าวจะต้องเรี ยกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากราคาสิ นค้าซึ่ งได้เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มมาครั้ง หนึ่งแล้ว ก่อให้เกิดการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มซํ้าซ้อนบนฐานภาษีเดิมอีกด้วย ซึ่ งจากกรณี ศึกษากิจการของสกลรถสวย สาขา 2 พบว่า กิจการได้รับรถส่ วนใหญ่มาจาก การประมูล จากโรงงานอุ ต สาหกรรมหรื อ บริ ษ ัทต่ า งๆ ซึ่ ง ราคาที่ ป ระมู ลได้จ ะเป็ นราคาที่ รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ไว้แล้วกับราคาที่ประมูล แต่เมื่อทางกิจการได้ขายรถมือสองออกไปให้แก่ลูกค้า กิจการก็จะรวมราคาต้นทุนต่างๆ ซึ่ งประกอบด้วย ค่าซ่อมแซม ค่าขนส่ ง และค่าโอน แต่ค่าโอนนั้น ก็ข้ ึนอยู่แต่ตามตกลงระหว่างเจ้าของกิจการกับลูกค้าว่าต้องการแบบไหน โดยราคาที่ตกลงซื้ อขาย กันจะเป็ นราคาที่บวกภาษีมูลค่าเพิ่มเข้าไปแล้ว จึงทําให้เกิดการเสี ยภาษีซ้ าํ ซ้อนบนฐานภาษีเดิม เช่ นเดี ยวกับกรณี ศึกษากิ จการของหรั่ งคูคต กู๊ดคาร์ ซึ่ งเป็ นกิ จการค้าขายรถยนต์มือสอง แบบเป็ นเต็นท์รถทัว่ ไป ซึ่งส่ วนใหญ่กิจการได้รับรถยนต์มือสองมาจากการแลกเปลี่ยนซื้อขาย หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า รถยนต์บ ้า น และการได้ม าจากการประมู ล รถยนต์มื อ สองจากบริ ษ ัท หรื อ โรงงาน อุตสาหกรรมเช่นเดียวกับกิจการของสกลรถสวย สาขา 2 ซึ่ งในการรับซื้อรถยนต์มานั้นทางกิจการก็ จะเสี ยภาษีรวมอยูใ่ นการประมูลนั้น การดําเนิ นการซื้อขายต่างๆ เหมือนกันทั้งสองกิจการคือ มีการ เสี ยภาษีที่ซ้ าํ ซ้อนสองทอด คือ ทอดหนึ่ งเสี ยตอนรั บซื้ อซึ่ งกิ จการเป็ นผูเ้ สี ยเอง และอีกทอดหนึ่ ง กิจการจะผลักภาระภาษีไปให้ผบู ้ ริ โภค คือ ลูกค้าของกิจการที่มาซื้ อรถยนต์มือสองไป โดยราคาที่ ซื้ อ-ขายกันนั้นจะใช้หลักเกณฑ์ของราคาตลาดในการประเมินบวกกับอายุการใช้งานของรถยนต์
46 โดยถ้าซื้ อเงินสดจะไม่มีการคิดดอกเบี้ย แต่ถา้ ซื้ อเงินผ่อนจะมีการคิดดอกเบี้ยรวมเข้าไปด้วยตาม ตัวอย่างที่ 3 ตัวอย่ างที่ 4.3 กรณี บริ ษ ทั C ภาษีมลู ค่าเพิ่ม
ประกอบกิ จ การที่ ไ ด้รั บ ยกเว้น หรื อ ไม่ อยู่ใ นบัง คับที่ ตอ้ งเสี ย
ตารางที่ 4-3 แสดงลําดับการซื้ อสิ นค้ามือสองโดยผูป้ ระกอบการที่อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มและ ผูป้ ระกอบการที่ไม่อยูใ่ นบังคับต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มตามตัวอย่างที่ 3 ผู้ประกอบการ บริ ษทั A บริ ษทั B บริ ษทั C สกลรถสวย นาย ก รวม
ราคาซื้อ 856,000 428,000 240,000 363,800
ราคาขาย 800,000 400,000 240,000 340,000 -
ภาษีซื้อ (7%) 56,000 28,000 ไม่มี 23,800
ภาษีขาย ภาษีมูลค่ าเพิม่ (7%) ทีพ่ งึ ชําระ 56,000 56,000 28,000 (28,000) ไม่มี ไม่มี 23,800 23,800 51,800
ตารางที่ 4.3 บริ ษทั B เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มจากราคาสิ นค้าที่ขายเป็ นจํานวน 28,000 บาท ส่ วน บริ ษทั C ไม่สามารถขอคืนภาษีซ้ื อได้ เนื่ องจากไม่ได้เป็ นผูป้ ระกอบการในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ไม่ มี ห น้าที่ ต ้อ งเรี ย กเก็ บ โดยภาษี ซ้ื อที่ แ ฝงอยู่จ ะถื อ เป็ นต้น ทุ น ของรถยนต์ และบริ ษ ัท C ภาษีมูลค่าเพิ่มจากผูซ้ ้ื อสิ นค้า สกลรถสวย ผูซ้ ้ื อจึงไม่มีภาษีซ้ื อที่จะขอคืนในกรณี ดงั กล่าว แต่จะมี ภาระภาษีที่แฝงอยูใ่ นราคารถยนต์ที่ซ้ือจากบริ ษทั C ดังนั้นสกลรถสวย ต้องเรี ยกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม จากนาย ก ผูซ้ ้ื อเป็ นจํานวน 23,800 บาท โดยมีภาษีมูลค่าเพิ่มที่พึงชําระเท่ากับ 51,800 บาท เนื่ องจากบริ ษทั C ไม่สามารถขอภาษี ซ้ื อคืนจํานวน 28,000 บาทได้ ซึ่ งภาษีมูลค่าเพิ่มจํานวน ดังกล่าวจะแฝงไปกับราคาสิ นค้า และเปลี่ยนเป็ นฐานภาษีของสกลรถสวย ทําให้เกิดภาษีมูลค่าเพิ่ม ซ้อน ส่ งผลให้ภาระภาษีที่ผบู ้ ริ โภคที่แท้จริ งรับภาระภาษีเพิ่มจากตัวอย่างแรกจํานวน 2,800 บาท
47 จากตารางที่ 4.2 รั ฐจะได้ประโยชน์จากการเก็บภาษี มูลค่าเพิ่มได้มากขึ้ นกว่าตาราง 4.1 เนื่ องจากไม่ถูกขอคืนภาษีซ้ื อใน 2 ขั้นตอนคือ ในส่ วนของบริ ษทั B เพราะไม่ใช่ผปู ้ ระกอบการจด ทะเบี ยน และบริ ษทั C ที่ไม่มีภาษีซ้ื อเนื่ องจากซื้ อสิ นค้าจากผูท้ ี่ไม่ใช่ ผูป้ ระกอบการ เป็ นเหตุให้ จัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มได้มากขึ้น 61,600 บาท (82,600 – 21,000) เงินจํานวนดังกล่าวที่เพิ่มขึ้นมานั้น เกิดจากการที่บริ ษทั B ไม่สามารถขอเครดิตภาษีซ้ื อคืนได้ โดยในความเป็ นจริ ง ภาระภาษีอาจถูก ผลักไปโดยรวมกับราคาทรัพย์สินที่ขาย กรณี ดงั กล่าวถ้าบริ ษทั C ซื้อรถยนต์และต้องการขายเพื่อให้ ได้ส่วนต่างในอัตราส่ วนเท่าเดิม ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ไม่สามารถขอคืนได้น้ นั จะถือเป็ นต้นทุนสิ นค้า ซึ่ง จะส่ งผลกระทบต่ อ บริ ษ ทั ทรั พ ย์มหาศาลออโต้ จํากัด และนาย ก ผูซ้ ้ื อสิ น ค้านั้น ด้ว ย ทํานอง เดียวกับตาราง 4.3 รัฐสามารถจัดเก็บภาษีอากรได้มากกว่า ตาราง 4.1 เป็ นเงินจํานวน 30,800 บาท เนื่องจากบริ ษทั C ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม รัฐจึงไม่ตอ้ งคืนภาษีมูลค่าเพิ่มสําหรับจํานวนดังกล่าว ซึ่งภาษีน้ นั อาจแฝงไปในราคาสิ นค้าหรื อบริ การใด ๆ ของบริ ษทั C 2. ปัญหาความไม่ เป็ นธรรมในการรับภาระภาษี ภาษีที่แฝงอยู่ในสิ นค้ามือสอง อาจถูกผลักภาระอยูใ่ นรู ปแบบของต้นทุนสิ นค้า ซึ่ งจะ ส่ งผลกระทบต่อราคาสิ นค้าและทําให้ผูบ้ ริ โภคต้องรั บภาระค่าสิ นค้าสู งขึ้น หรื อผูป้ ระกอบการ ได้รับผลตอบแทนน้อยลง ก่ อให้เกิ ดความเหลื่อมลํ้าแก่ ผูป้ ระกอบกิ จการที่ ซ้ื อสิ นค้ามื อสองจาก ผูข้ ายที่ไม่ใช่ผปู ้ ระกอบการซึ่งไม่สามารถขอคืนภาษีที่ผขู ้ ายเสี ยไปแล้วได้ แม้จะเป็ นการซื้อมาใช้ใน กิ จการของผูซ้ ้ื อที่ เ ป็ นผูป้ ระกอบการจดทะเบี ย นก็ตาม อัน ก่ อให้เ กิ ดความไม่ เ ป็ นธรรมในการ รับภาระภาษีในระหว่างผูป้ ระกอบการด้วยกัน เนื่ องจากภาษีมูลค่าเพิ่มดังกล่าวจะถูกรวมเป็ นมูลค่า ของต้นทุนสิ นค้า เป็ นผลให้ความสามารถแข่งขันในการประกอบธุ รกิ จไม่เท่าเทียมกัน เกิ ดความ เสี ยหายต่อระบบการผลิตสิ นค้าและบริ การรวมไปถึงคุณภาพของสิ นค้า อีกทั้งอาจก่ อให้เกิ ดการ หลบหนีหรื อการหลีกเลี่ยงภาษีได้ กรณี ศึกษาของบริ ษทั ทรั พย์มหาศาลออโต้ จํากัด พบว่า กิ จการได้มีการจดทะเบี ยน ภาษีมูลค่าเพิ่ม และได้มีการซื้อรถยนต์มาจากบริ ษทั หรื อจากโรงงาน โดยทางบริ ษทั หรื อโรงงานที่ ขายรถยนต์ให้น้ นั ได้มีการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเช่นกัน ทําให้บริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัด สามารถที่ขอเครดิตภาษีซ้ื อคืนได้ เนื่ องจากทางบริ ษทั ผูข้ ายนั้นได้มีสิทธิ ในการออกใบกํากับภาษี
48 แบบเต็มรู ปแบบให้เป็ นหลักฐานในการซื้อ-ขาย จึงทําให้บริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัดสามารถ ที่จะขอเครดิตภาษีซ้ือคืนได้ ทําให้บริ ษทั มีตน้ ทุนของรถยนต์มือสองเป็ นราคาที่หกั ภาษีซ้ือแล้ว แต่กิจการของสกลรถสวย สาขา 2 และกิจการของหรั่ง คูคต กู๊ดคาร์ เป็ นกิจการที่ไม่ได้จด ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และได้มีการซื้อสิ นค้าจากบริ ษทั หรื อโรงงาน และบุคคลธรรมดาทัว่ ไป โดย ที่บริ ษทั ผูข้ ายดังกล่าวได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่ งผูข้ ายนั้นสามารถที่จะออกใบกํากับภาษีแบบ เต็มรู ปแบบได้ แต่กิจการของสกลรถสวย สาขา 2 และกิจการของหรั่ง คูคต กู๊ดคาร์น้ นั ไม่สามารถที่ จะขอคืนภาษีซ้ื อคืนได้ เพราะว่าไม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ทําให้ตน้ ทุนของรถยนต์มือสอง เพื่อขายคือราคาทุนที่รวมภาษีซ้ื อไว้แล้ว 7% และในกรณี ที่กิจการของสกลรถสวย สาขา 2 และ กิ จ การของหรั่ ง คู ค ต กู๊ ด คาร์ ได้ซ้ื อรถยนต์ จ ากบุ ค คลธรรมดาทั่ว ไปที่ ไ ม่ ไ ด้ จ ดทะเบี ย น ภาษีมูลค่าเพิ่ม กิจการทั้งสองก็ไม่สามารถที่จะขอคืนภาษีซ้ือได้เช่นกัน ทําให้ตน้ ทุนของรถยนต์เพื่อ ขายเป็ นต้นทุนที่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มไว้แล้ว จากทั้งสองกรณี ดงั กล่าวกิ จการจะมี ตน้ ทุนของรถยนต์เพื่อขายต่อที่ไม่เท่ากัน เนื่ องจาก กิ จ การที่ ไ ม่ ไ ด้จ ดทะเบี ย นภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม และได้ ซ้ื อรถยนต์ จ ากผู ้ข ายที่ ไ ม่ ไ ด้ จ ดทะเบี ย น ภาษีมูลค่าเพิ่มจะไม่สามารถเครดิตภาษีซ้ือคืนได้ จึงทําให้เกิดความเหลื่อมลํ้าและความไม่เป็ นธรรม ระหว่างผูป้ ระกอบการด้วยกันเอง เพราะภาษีมูลค่าเพิ่มดังกล่าวจะถูกรวมเข้าไปเป็ นต้นทุนของ สิ นค้า ทําให้ส่งผลกระทบต่อราคาและคุณภาพของสิ นค้า และยังเป็ นช่ องทางให้ผูป้ ระกอบการ หลีกเลี่ยงภาษีได้อีกด้วย 3. การซื้อขายสิ นค้ าของกิจการกระทําในลักษณะทีเ่ รียกว่ า การโอนลอย การโอนลอย คือ การที่ผขู ้ ายรถทําการขายรถโดยส่ งมอบรถให้ผซู ้ ้ื อ พร้อมมอบแบบ “คําขอโอนและรับโอนรถ” ที่ได้ ทําการลงลายมือชื่อในช่องผูโ้ อน (โดยไม่กรอกรายละเอียดอะไร) แล้วมอบให้ผูซ้ ้ื อไป พร้ อมกับเอกสารอื่ นของผูข้ าย คือ เล่มทะเบี ยน สําเนาบัตรประชาชนและ สํา เนาทะเบี ย นบ้า นของผูข้ าย และหนัง สื อ มอบอํา นาจที่ ผูข้ ายลงลายมื อ ชื่ อ ไว้ (โดยไม่ ก รอก รายละเอียดอะไร) โดยไม่ไปจดทะเบียนโอนที่สาํ นักงานขนส่ งแต่อย่างใด จึงไม่ถือว่าเป็ นการโอน ตามความหมายของทางราชการแต่อย่างใด
49 "การโอนลอย" ตามความหมายของกรมการขนส่ งทางบก ระบุว่า "คือ การที่เจ้าของรถได้ ขายรถของตนแล้ว และทําการลงนามในเอกสารการโอนรถ และใบมอบอํานาจให้แก่ผซู ้ ้ือ โดยมิได้ มีการดําเนินการทางทะเบียนที่สาํ นักงานขนส่ งฯ" โดยบริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัด กิจการของสกลรถสวย สาขา 2 และกิจการของหรั่ง คูคต กู๊ดคาร์ จะใช้วิธีการเดียวกันคือ ผูข้ ายรถยนต์มือสองจะรับเงินจากทางกิจการและลงนามในใบ โอนรถล่วงหน้า รอจนกว่าจะมีผมู ้ าซื้อรถยนต์ดงั กล่าว จึงค่อยทําการโอนรถยนต์ โดยกิจการจะทํา หน้าที่เป็ นตัวการระหว่างผูซ้ ้ื อและผูข้ าย ทําให้กิจการส่ วนมาก มีรายได้ไม่ถึงเกณฑ์ที่จะต้องเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งการโอนในลักษณะนี้มีประมาณร้อยละ 80 ของการซื้อขายรถยนต์มือสองในตลาด ทั้งหมด การกระทําดังกล่าวส่ งผลดีและผลเสี ยต่อทั้งสองกิจการดังนี้ ผลดีของการโอนลอย 1. สะดวกเหมาะกับการซื้ อขายในธุรกิจซื้ อขายรถยนต์มือสอง เพราะสามารถถือเอกสาร ไว้รอบุคคลที่มาซื้อรถ ทางผูข้ ายก็สามารถส่ งรถ-ส่ งเอกสารต่อไปให้ผซู ้ ้ือได้เลย 2. สามารถเปลี่ยนตัวผูร้ ับโอนได้เสมอ ผลเสี ยของการโอนลอย 1. หากบัตรประชาชนของผูข้ ายหมดอายุ จะมีปัญหาในการโอนกับนายทะเบียนกรมการ ขนส่ ง ต้องตามตัวคนขาย หาเอกสารใหม่ที่ไม่สิ้นอายุมาให้ได้ ถ้าผูข้ ายเสี ยชีวิตก็ไม่สามารถหาบัตร ประชาชนหรื อสําเนาบัตรประชาชนได้ การขอเอกสารใหม่ก็ไม่สามารถทําได้ และยังเกิ ดความ ยุง่ ยากอย่างมากอีกด้วย 2. ในระหว่ า งที่ ย งั ไม่ ไ ปจดทะเบี ย นโอนที่ สํา นัก งานขนส่ ง หากบุ ค คลที่ นํา รถยนต์ ดังกล่าวไปแล้วเกิดอุบตั ิเหตุขบั รถไปชนบุคคลอื่นแล้วหนี ไป หรื อนํารถยนต์ไปขนสิ่ งผิดกฎหมาย เมื่อเจ้าหน้าที่ตาํ รวจมาตรวจสอบทางทะเบียนว่าบุคคลใดเป็ นเจ้าของรถ แล้วพบว่าทะเบียนรถยนต์ นั้นยังเป็ นชื่อเจ้าของรถยนต์คนเดิมอยู่ ทางเจ้าหน้าที่ตาํ รวจก็อาจจะต้องเชิญเจ้าของรถยนต์ดงั กล่าว
50 ไปให้ปากคํา หรื อตั้งข้อหาที่ทาํ ให้เกิดความยุง่ ยากจนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่าเจ้าของรถยนต์น้ นั ไม่ได้มี ส่ วนเกี่ยวข้อง 3. หากผูป้ ระกอบการไม่ไปโอน แล้วยังไม่เคยไปต่อทะเบียนรถยนต์เพื่อเสี ยภาษี ดังนั้น ในทางเอกสารราชการจะถือว่า คุณเป็ นคนค้างภาษี พรบ.รถยนต์อยู่ กรณี ศึกษาบริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัด กิจการของสกลรถสวย สาขา 2 และกิจการ ของหรั่ง คูคต กู๊ดคาร์ได้ใช้การโอนลอยเหมือนกันในการโอนเปลี่ยนกรรมสิ ทธิ์รถยนต์มือสอง โดย เจ้าของกิ จการทั้งสามได้ให้ความเห็ นเหมื อนกันว่า ถ้าทําการโอนลอยแล้วทางกิ จการจะไม่ตอ้ ง รับภาระภาษีค่าธรรมเนี ยม พรบ. รายปี ซึ่ งเป็ นกฎหมายข้อบังคับเมื่อได้สิทธิ์ ครอบครองสิ นทรัพย์ ดังกล่าว 4. ปัญหากิจการซื้อ-ขายรถยนต์ มือสองบางรายไม่ ได้ จดทะเบียนพาณิชย์ และค้ าของเก่า การขออนุญาตค้าของเก่า แนวทางการดําเนินงานทะเบียนการขายทอดตลาดและค้าของเก่า 1. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1.1 พระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่า พ.ศ. 2474 1.2 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่า พ.ศ. 2533 2. คําจํากัดความ 2.1 การขายทอดตลาด หมายถึง การขายโดยเปิ ดเผยแก่มหาชน ด้วยวิธีให้โอกาสแก่ผู ้ ประมูลราคาผูใ้ ดให้ราคาสูง ก็มีสิทธิซ้ือทรัพย์สินนั้นได้
51 2.2 ของเก่า หมายถึง ทรัพย์ที่เสนอขาย แลกเปลี่ยนหรื อจําหน่ ายโดยประการอื่นอย่าง ทรัพย์ที่ใช้แล้ว ทั้งนี้รวมถึงของโบราณด้วย 2.3 การค้าของเก่า หมายถึง ก. ประเภทโบราณวัต ถุ หรื อศิ ล ปวัต ถุ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโบราณสถาน โบราณวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ข. ประเภทเพชร พลอย ทอง นาก เงิน หรื ออัญมณี ค. ประเภทรถยนต์ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ได้แก่ รถยนต์สาธารณะ รถยนต์ บริ การและรถยนต์ส่วนบุคคล ง. ประเภทอื่น ๆ เช่น รถจักรยานยนต์ ไม้เรื อนเก่า ขวด เศษเหล็ก กระดาษ เป็ น ต้น 2.4 เจ้าพนักงานผูอ้ อกใบอนุญาต หมายถึง ก. ผูบ้ งั คับ การกองทะเบี ย น กองบัญ ชาการตํารวจสอบสวนกลาง สํานัก งาน ตํารวจแห่ งชาติ ในเขตกรุ งเทพมหานคร ข. ผูว้ า่ ราชการจังหวัด ในเขตจังหวัด 2.5 นายตรวจ หมายถึง เจ้าพนักงานฝ่ ายปกครองตั้งแต่ปลัดอําเภอหรื อเจ้าพนักงานฝ่ าย ตํารวจซึ่ง มียศตั้งแต่ช้ นั ร้อยตํารวจตรี ข้ ึนไป 3. ขั้นตอนการดําเนินการ 3.1 การขออนุญาต
52 ก. ผูข้ ออนุญาตยืน่ คําร้อง ณ ที่วา่ การอําเภอหรื อกิ่งอําเภอที่จะดําเนินการ ข. อําเภอตรวจสอบเอกสาร หากครบถ้วน ถูกต้อง ส่ งให้จงั หวัด ค. จังหวัดตรวจสอบเอกสารและคุณสมบัติของผูข้ อ หากครบถ้วน ถูกต้อง ให้ ออกใบอนุญาตและส่ งกลับอําเภอ ง. อําเภอแจ้งผูข้ ออนุญาต เพื่อรับใบอนุญาตและชําระค่าธรรมเนียม จ. อําเภอสําเนาใบเสร็ จ รั บเงิ น ส่ งจัง หวัด เพื่ อบันทึ กรายละเอี ยดลงในต้น ขั้ว ใบอนุญาตเก็บไว้เป็ นหลักฐาน 3.2 การขอต่ออายุใบอนุญาต ก. ผูไ้ ด้รับอนุญาตจะต้องยืน่ คําขอต่ออายุใบอนุญาตก่อนที่ใบอนุญาตจะหมดอายุ 90 วัน ณ ที่วา่ การอําเภอหรื อกิ่งอําเภอเดิม ข. อําเภอดําเนินการเช่นเดียวกับการขออนุญาต 4. หลักฐานประกอบการขออนุญาต 4.1 บัต รประจํา ตัว ประชาชน หรื อ หนัง สื อ สํา คัญ ประจํา ตัว คนต่ า งด้า ว พร้ อ มใบ ประกอบธุรกิจและสําเนา 4.2 ทะเบียนบ้านและสําเนา 4.3 รู ปถ่ายหน้าตรง ขนาด 2 นิ้ว จํานวน 3 รู ป 4.4 ทะเบียนพาณิ ชย์ หรื อหนังสื อรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลและสําเนา
53 4.5 หนังสื อยินยอมให้ใช้สถานที่ทาํ การค้า หรื อหลักฐานการเป็ นเจ้าของหรื อสัญญา เช่า 4.6 ใบอนุ ญาตจากกรมศิลปากรและสําเนา กรณี ประกอบอาชีพขายทอดตลาดหรื อค้า ของเก่าประเภทโบราณวัตถุ หรื อศิลปวัตถุตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่ งชาติ 5. คุณสมบัติของผูข้ อใบอนุญาต 5.1 มีอายุ 20 ปี บริ บูรณ์ข้ ึนไป 5.2 มีความรู ้หนังสื อไทยพออ่านออกเขียนได้ 5.3 เป็ นผูท้ ี่ไม่เคยต้องโทษจําคุกความผิดฐานปลอมแปลงเงินตรา การปลอมบัตรและ การปลอมใบสําคัญ สัญญาในการยืมเงินตรา และในการให้ดอกเบี้ย และความผิดฐานประทุษร้าย แก่ทรัพย์ 6. การปฏิบตั ิตนของผูข้ ายทอดตลาดและค้าของเก่า 6.1 ผูข้ ายทอดตลาดปฏิบตั ิดงั นี้ ก. สําแดงคําแจ้งความแห่ งการขายทุกคราวไว้ ณ สถานที่ขายให้เห็นได้แจ้ง ข. อยู่ ณ ที่ ข ายในเวลาขายทอดตลาด และพร้ อ มที่ จ ะแสดงใบอนุ ญ าตต่ อ นายตรวจเมื่อเรี ยกตรวจ ค. มีสมุดบัญชีสาํ หรับการขายทุกคราว และจดรายการข้อสําคัญทั้งปวงแห่ งการ ขายนั้น ๆ ลงไว้ ง. แจ้งวันและสถานที่ขายให้นายตรวจทราบล่วงหน้าอย่างน้อยสามวันเต็ม
54 จ. สํา แดงนามของตนและคํา ว่ า "ผูท้ อดตลาด" ไว้เ หนื อ ประตู ช้ ัน นอกแห่ ง สํานักงาน 6.2 ผูค้ า้ ของเก่าปฏิบตั ิดงั นี้ ก. แสดงนามของตนและคําว่า "ผูค้ า้ ของเก่า" ไว้ ณ ที่ทาํ การค้าของตนพร้อมทั้ง ใบอนุญาตในที่อนั เห็นได้แจ้ง ข. มีสมุดบัญชีสาํ หรับการค้าของตนและจดรายการข้อสําคัญทั้งปวงแห่ งการค้า ลงไว้ทุกราย สมุดบัญชีตามที่ กล่าวนี้ ตอ้ งทําตามแบบและนํามาให้เจ้าพนักงานผูอ้ อกใบอนุญาตลง นาม และประทับตราก่อนทุกเล่ม ค. แจ้งแก่เจ้าหน้าที่ตาํ รวจหรื อนายตรวจ เมื่อมีเหตุอนั ควรสงสัยว่าทรัพย์ที่มีผมู ้ า เสนอหรื อโอนให้ตนนั้นเป็ นทรัพย์ที่ได้มาโดยทางทุจริ ต ง. ทําเลขลําดับเป็ นเครื่ องหมายปิ ดไว้ที่ของให้ตรงกับเลขลําดับในสมุดบัญชี เพื่อ สะดวกในการสํารวจ 7. การพิมพ์ลายนิ้วมือ ให้อาํ เภอขอความร่ วมมือสถานีตาํ รวจท้องที่เป็ นผูพ้ ิมพ์ลายนิ้วมือของผู ้ ขอใบอนุญาต เพื่อ ส่ งไปตรวจสอบคุณสมบัติตาม มาตรา6(3) แห่ งพระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและค้า ของเก่า พ.ศ. 2474 ที่กองทะเบียนประวัติอาชญากรสํานักงานตํารวจแห่ งชาติ (ไม่ตอ้ งรอผลการ ตรวจสอบ) 8. หน้าที่ของนายตรวจ 8.1 ตรวจตราผูไ้ ด้รับอนุ ญาตขายทอดตลาดในท้องที่ตนว่าได้ปฏิบตั ิถูกต้องครบถ้วน ตามหน้าที่ของผูข้ ายทอดตลาดอันต้องกระทําตามพระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและค้า
55 ของเก่า พ.ศ. 2474 มาตรา 7 ข้อ ก. ข. ค. และ ง. หรื อไม่ ส่ วนการขายทอดตลาดเร่ ซึ่ งไม่ได้ขาย ประจําในสํานักงานตามที่จดทะเบี ยนไว้ เมื่อผูข้ าย ทอดตลาดได้แจ้งวันและสถานที่ ขาย ให้ นายตรวจทราบล่วงหน้าตามความใน ข้อ ฆ. แห่ งมาตราเดียวกันนี้ ก็ให้ นายตรวจซึ่ งประจําอยู่ใน ท้องที่ที่มีการขายทอดตลาดนั้นไปตรวจดูว่าผูข้ ายทอดตลาดได้ปฏิบตั ิถูกต้องตามความข้อ ก. ข. ค. ดัง กล่ า วแล้ว นี้ หรื อ ไม่ เ ช่ น เดี ย วกัน ถ้า ปรากฏว่ า ยัง มี สิ่ ง บกพร่ อ งอยู่ก็ ใ ห้ ผูข้ ายทอดตลาดนั้น ดําเนินการเสี ยให้ครบถ้วนบริ บูรณ์เสี ยก่อน จึงให้ทาํ การขายทอดตลาดได้
8.2 ตรวจตราผูค้ า้ ของเก่ าว่า ได้ปฏิ บตั ิ ห น้าที่ ตามที่ ก าํ หนดไว้ ตามพระราชบัญญัติ ควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่า พ.ศ. 2474 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2495 มาตรา 8 ข้อ ก. ข. ค. และ ฆ. ครบถ้วนหรื อไม่ ถ้าบกพร่ องก็ใ ห้ผูค้ า้ ของเก่ าดํา เนิ น การเสี ยให้ครบถ้ว น บริ บูรณ์ก่อน จึงให้ทาํ การค้าของเก่าได้ 8.3 ตรวจบัญชี และทรัพย์สินสิ่ งของการขายทอดตลาดและค้าของเก่า กรณี มีเหตุอนั ควรสงสัยว่าทรัพย์สินสิ่ งของได้มาโดยการทุจริ ต ให้รีบรายงานตามลําดับชั้น จนถึงเจ้าพนักงานผู ้ ออกใบอนุญาตพิจารณาสัง่ การ 8.4 ตรวจตราผูข้ ายทอดตลาดและค้าของเก่ าให้ปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย หากปรากฏว่า ปฏิบตั ิ ไม่ถูกต้องและเข้าลักษณะความผิดตามมาตรา 12 แห่ งพระราชบัญญัติควบคุมการขาย ทอดตลาดและค้าของเก่า พ.ศ. 2474 ให้นายตรวจบันทึกความผิดส่ งสถานีตาํ รวจท้องที่ดาํ เนิ นการ ตามกฎหมายต่อไป แล้วรายงานให้เจ้าพนักงานผูอ้ อกใบอนุ ญาตทราบ ซึ่ งกรมการปกครองได้ กําหนดแบบบันทึกผลการตรวจให้ถือเป็ นแนวทางปฏิบตั ิแล้ว 8.5 การย้ายที่ทาํ การหรื อร้านขายทอดตลาดและค้าของเก่าจากที่ระบุไว้ในใบอนุ ญาต ตามที่ ได้กาํ หนดไว้ในข้อ 6 แห่ งกฎกระทรวงมหาดไทย (ฉบับที่ 2) ออกตามความใน พระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่า พ.ศ. 2474 ลงวันที่ 3 กันยายน 2484 ว่าให้ ผูร้ ับอนุญาต แจ้งนายตรวจทราบโดยมิชกั ช้า ดังนั้น เมื่อนายตรวจได้รับทราบแจ้งการย้ายจากผูท้ าํ การขายทอดตลาดหรื อค้าของเก่ ารายใดแล้ว นายตรวจจะต้องตรวจอาคารสถานที่ ต้ งั ตลอดจน สถานที่เก็บทรัพย์สินว่าเหมาะสมหรื อไม่ พร้อมกับทําแผนที่สังเขปแสดงสถานที่ต้ งั แล้วรายงาน
56 เสนอความเห็ นต่ อเจ้าพนักงานผูอ้ อกใบอนุ ญาตสั่งการ หากได้รับอนุ ญาตให้แ ก้ไขรายการใน ใบอนุญาตให้ถูกต้องตามความเป็ นจริ ง 9. อัตราค่าธรรมเนียม 9.1 การขายทอดตลาด ปี ละ 15,000 บาท 9.2 การค้าของเก่า ก. ประเภทโบราณวัต ถุ ห รื อศิ ล ปวัต ถุ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ปี ละ 12,500 บาท ข. ประเภทเพชร พลอย ทอง นาค เงิน หรื อ อัญมณี ปี ละ 10,000บาท ค. ประเภทรถยนต์ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ปี ละ 7,500 บาท ง. ประเภทอื่น ๆ ปี ละ 5,000 บาท ผูค้ า้ ของเก่ารายเดียวหลายประเภท ให้เรี ยกเก็บค่าธรรมเนี ยมในประเภทที่สูงกว่า ประเภทเดียว 10. ความผิดเกี่ยวกับการขายทอดตลาดและค้าของเก่า 10.1 ผูใ้ ดประกอบอาชี พขายทอดตลาดหรื อค้าของเก่ าโดยไม่ได้รับอนุ ญาตหรื อ ประกอบอาชีพดังกล่าว ภายหลังที่ได้มีคาํ สั่งเพิกถอนใบอนุญาตตามมาตรา 9 ต้องระวางโทษจําคุก ไม่เกินหกเดือน หรื อปรับไม่เกิน ห้าพันบาท
57 หากเป็ นการกระทําความผิดเกี่ยวกับการขายทอดตลาด หรื อค้าของเก่าประเภทโบราณวัตถุ หรื อศิลปวัตถุตามกฎหมาย ว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถาน แห่ งชาติ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรื อทั้งจําทั้งปรับ 10.2 ผูร้ ับใบอนุ ญาตผูใ้ ด ทําการขายทอดตลาดหรื อค้าของเก่าโดยใบอนุ ญาตขาด อายุ หรื อทําการขายทอดตลาดหรื อค้าของเก่าโดยไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย หรื อฝ่ าฝื นกฎกระทรวง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท 10.3 ผูร้ ั บ ใบอนุ ญ าตประกอบอาชี พ ขายทอดตลาดหรื อ ค้า ของเก่ า ไม่ แ จ้ง แก่ เจ้าหน้าที่ตาํ รวจหรื อนายตรวจทันทีเมื่อมีเหตุอนั ควรสงสัยว่า ทรัพย์ที่มีผมู ้ าเสนอหรื อโอนให้ตน นั้นเป็ นทรัพย์ที่ได้มาโดยทุจริ ต ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสามปี หรื อปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่น บาทถึงสามหมื่นบาทหากเป็ นการกระทําเกี่ยวกับทรัพย์เป็ นโบราณวัตถุหรื อศิลปวัตถุตามกฎหมาย ว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่ ห้าปี ถึงสิ บห้าปี หรื อปรับตั้งแต่หา้ หมื่นบาทถึงหนึ่งแสนห้าหมื่นบาท บริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัด กิจการของหรั่งคูคต กู๊ดคาร์ และกิจการของสกลรถสวย สาขา 2 ได้ให้ความเห็นตรงกันว่า การที่กิจการมีการประกอบกิจการค้าขายของเก่าหรื อของมือสอง ต้องจดทะเบี ยนอนุ ญาตการค้าของเก่ า ซึ่ งเมื่ อกิ จการได้จดทะเบี ยนการค้าของเก่ าแล้วจะทําให้ ผูบ้ ริ โภคมีความเชื่อมัน่ ว่ากิจการของเราน่าเชื่อถือไม่ผดิ กฎหมาย และค่าใช้จ่ายที่ตอ้ งเสี ยก็ไม่ได้สูง มากแค่เพียง 7,500 บาทต่อปี ไม่ว่ากิ จการนั้นจะมีจาํ นวนสิ นค้ามือสองที่ ขายจํามากหรื อน้อย ค่าใช้จ่ายก็ยงั คงเท่าเดิม แล้วยังเป็ นการไม่เสี่ ยงต่อความผิดทางกฎหมายอีกด้วย ผูป้ ระกอบการของทั้งสามกิจการ คือ บริ ษทั ทรั พย์มหาศาลออโต้ จํากัด กิจการของหรั่ ง คูคต กู๊ดคาร์และกิจการของสกลรถสวย สาขา 2 ได้กล่าวถึงการจดทะเบียนอนุญาตการค้าของเก่าว่า ถ้ากิจการใดที่ไม่จดทะเบียนอนุญาตการค้าของเก่า กิจการนั้นก็จะขาดความน่าเชื่อถือจากผูบ้ ริ โภค เพราะผูบ้ ริ โภคแต่ละรายมีความเข้าใจพื้นฐานในเรื่ องของรถยนต์มือสองที่แตกต่างกันไป ไม่ว่าจะ เป็ นเรื่ องของการที่ผบู ้ ริ โภคกลัวเรื่ องรถยนต์ที่ผา่ นการเกิดอุบตั ิเหตุมาหลายครั้ง กลัวว่ารถยนต์น้ นั จะเป็ นรถยนต์ที่ไปขโมยมา เป็ นต้น แต่ถา้ กิ จการต่างๆ ที่ขายสิ นค้ามื อสองมีการจดทะเบียนขอ
58 อนุญาตการค้าของเก่า กิจการนั้นก็จะได้รับความไว้วางใจจากผูบ้ ริ โภค และผูบ้ ริ โภคก็จะไม่มีความ ความวิตกกังวลเมื่อเลือกซื้อสิ นค้าจากกิจการที่จดทะเบียนค้าของเก่าดังกล่าว 5. กิจการส่ วนใหญ่ เป็ นธุรกิจขนาดเล็กและมีรายได้ ไม่ ถึง 1.8 ล้ าน จึงได้ รับการยกเว้ น ภาษีมูลค่ าเพิม่ กิจการส่ วนใหญ่ในธุรกิจสิ นค้ามือสองเป็ นกิจการเจ้าของเพียงคนเดียว สามารถจัดตั้ง และดําเนิ นการได้เองเพียงคนคนเดียว ซึ่ งส่ วนมากจะเป็ นธุ รกิจขนาดเล็ก เน้นความเรี ยบง่ายและ สะดวกในการประกอบธุรกิจ สามารถลดภาระค่าใช้จ่ายได้มากกว่าธุ รกิจขนาดใหญ่ จึงมีรายรับไม่ ถึง 1,800,000 บาทต่อปี หรื อต่อรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่ งจะได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ดังนั้นถ้า หากพิจารณาโดยเฉลี่ยแล้วกิ จการที่มีรายได้ต่อเดื อนไม่เกิ น 150,000 บาท ไม่ตอ้ งจดทะเบียน ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม แต่ อ ย่า งไรก็ ดี เมื่ อ รวมกัน ทั้ง ปี จะต้อ งเสี ย ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม หากมี ร ายได้ต้ ัง แต่ 1,800,000 บาทขึ้นไป ซึ่ งจากกรณี ศึกษากิ จการของสกลรถสวย สาขา 2 และ หรั่ง คูคต กู๊ดคาร์ พบว่าทั้งสอง กิจการเป็ นกิจการเจ้าของคนเดียว และเป็ นธุ รกิจขนาดเล็ก ที่สาํ คัญมีรายรับไม่ถึง 1,800,000 บาท ทั้งสองกิจการจึงได้รับการยกเว้นไม่ตอ้ งจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 6. การออกภาษีขายตํ่ากว่ าราคาจริง วิธีการนี้ มกั จะเกิ ดขึ้นกับธุ รกิ จขายสิ นค้าที่ ยากต่อการตรวจสอบในเรื่ องราคา เช่ น ธุ รกิ จ อัญ มณี รถยนต์มือสอง เมื่ อมี ก ารซื้ อ ขายสิ น ค้ากัน แล้ว กัน แล้ว ลูก ค้า บางรายที่ ไ ม่ ไ ด้รั บ ใบกํากับภาษี หรื อไม่ตอ้ งการรับใบกํากับภาษี จึงเกิดช่องโหว่ให้ผขู ้ ายสามารถออกใบกํากับภาษีใน ราคาที่ต่าํ กว่าราคาจริ งได้ บริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัด ได้ให้ขอ้ มูลเพิ่มเติมว่า บางกิจการที่ขายรถยนต์มือสอง ออกไปแก่ลูกค้า ซึ่ งลูกค้าบางรายก็ไม่เห็ นว่าใบเสร็ จรับเงิ นมีความสําคัญหรื อไม่ตอ้ งการ ทําให้ ผูข้ ายไม่จาํ เป็ นที่ตอ้ งออกใบกํากับภาษีให้ เพราะฉะนั้นการที่ผขู ้ ายไม่ออกใบกํากับภาษีให้ เมื่อมีการ
59 นํารายได้จากการขายไปบันทึกบัญชี ทางผูข้ ายอาจจะบันทึ กบัญชี รายได้ที่ต่ าํ กว่าจากราคาที่ขาย ให้แก่ผซู ้ ้ือ เพื่อทําให้กิจการของตนมีรายได้นอ้ ยแล้วจะได้เสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ น้อยลง ดังตัวอย่างที่ 4 ตัวอย่ างที่ 4.4 สมมติว่าบริ ษทั ทรัพย์มหาศาลออโต้ จํากัด ได้ขายรถยนต์มือสองคันหนึ่ งแก่ลูกค้า ในราคาที่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว 500,000 บาท ลูกค้าจ่ายเงินเป็ นเงินสดทันที โดยที่ ลูกค้าไม่ได้รับใบกํากับภาษีไว้เป็ นหลักฐานในกาซื้ อขาย ทําให้ผขู ้ ายสามารถออก ใบกํากับภาษีในราคา 100,000 บาทได้ ยอดการขายในครั้งนี้ ก็จะตํ่ากว่าความเป็ นจริ ง ทันที ทําให้ยอดการชําระภาษีมูลค่าเพิ่มก็จะลดลง ทําให้รัฐได้รับภาษีนอ้ ยลง
60 แนวทางการแก้ ไขปัญหาของการจัดเก็บภาษีมูลค่ าเพิม่ จากรถยนต์ มือสอง 1. กรมการขนส่ งทางบกควรมีข้อกําหนดการโอนกรรมสิ ทธิ์ทชี่ ัดเจนมากยิง่ ขึน้ กรมการขนส่ งทางบกควรออกข้อกําหนดที่ว่า เมื่อมีซ้ื อขายสิ นค้าเกิดขึ้นให้ผซู ้ ้ื อและ ผูข้ ายมาทําการโอนกรรมสิ ทธิ์ในสิ นค้าดังกล่าวพร้อมกัน โดยต้องมีการยืน่ จ่ายเงินต่อหน้าเจ้าหน้าที่ กรมการขนส่ งทางบกตามราคาที่ได้มีการตกลงกันระหว่างผูซ้ ้ือและผูข้ าย ประหนึ่ งเหมือนการโอน กรรมสิ ทธิ์ ในที่ดิน เพื่อลดปั ญหาที่เกิดขึ้นจากการโอนลอย ที่ผขู ้ ายรถทําการขายรถโดยส่ งมอบรถ ให้ผซู ้ ้ือ พร้อมมอบแบบ “คําขอโอนและรับโอนรถ” ที่ได้ ทําการลงลายมือชื่อในช่องผูโ้ อน (โดยไม่ กรอกรายละเอียดอะไร) แล้วมอบให้ผซู ้ ้ือไป พร้อมกับเอกสารอื่นของผูข้ าย คือ เล่มทะเบียน สําเนา บัตรประชาชนและสําเนาทะเบียนบ้านของผูข้ าย และหนังสื อมอบอํานาจที่ผขู ้ ายลงลายมือชื่ อไว้ (โดยไม่กรอกรายละเอียดอะไร) โดยไม่ไปจดทะเบียนโอนที่กรมการขนส่ งทางบกแต่อย่างใด 2. เพิม่ บทลงโทษทางกฎหมาย มีการเพิ่มบทลงโทษทางกฎหมายสําหรับผูท้ ี่กระทําผิด เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มจากเดิมที่ว่า กรณี ผปู ้ ระกอบการไม่ได้ยื่นแบบ ภ.พ.30 ภายในเวลาที่กฎหมายกําหนด ไม่ว่าจะมาจากสาเหตุ หลงลืม หรื อนับวันเวลาผิดพลาด หรื อจัดทําไม่ทนั หรื อด้วยสาเหตุอื่นใดก็ตาม จะมีโทษอาญาและ แพ่ง สรุ ปได้ดงั นี้ โทษอาญา ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาทต่อแบบ ภ.พ.30 ที่ยื่น บางท่านตกใจ เพราะไม่ได้ยนื่ แบบมาหลายเดือนภาษีแล้ว มิตอ้ งจ่ายค่าปรับกันอ่วมหรื อนี่ กรมสรรพากรก็ได้ผอ่ น ปรนค่าปรับ โดยเสี ยค่าปรับไม่ถึง 2,000 บาท ทั้งนี้ หากได้มายืน่ แบบเพราะตนเองตรวจพบเองโดย ได้ยนื่ แบบไม่เกิน 7 วันนับแต่วนั พ้นกําหนดเวลายืน่ แบบ จะเสี ยค่าปรับเพียง 300 บาท หรื อถ้าหาก ได้มายื่นแบบเกินกว่า 7 วันนับแต่พน้ กําหนดเวลายืน่ แบบ จะเสี ยค่าปรับเพียง 500 บาท แต่ถา้ เป็ น กรณี ที่ เจ้าหน้าที่ตรวจพบความผิดจะเสี ยค่าปรับ 1,000 บาทต่อแบบ ภ.พ.30 และถ้าได้มายืน่ แบบ เมื่อพ้นกําหนดเวลาเกิ นกว่า 1 ปี ขึ้นไป ก็จะไม่เสี ยค่าปรับแต่อย่างใด เพราะขาดอายุความที่จะ ดําเนินการ
61 โทษทางแพ่ ง การที่ จ ะมี โ ทษทางแพ่ ง หรื อ ไม่ ก็ ข้ ึ น อยู่กับ แบบ ภ.พ.30 ที่ ยื่ น ว่ า มี ภาษีมูลค่าเพิ่มต้องชําระหรื อไม่ หากไม่มีภาษีตอ้ งชําระก็จะได้รับเพียงโทษอาญาเท่านั้น แต่ถา้ แบบ ที่ยนื่ มีภาษีตอ้ งชําระ ก็จะได้รับโทษทางแพ่ง ซึ่งได้แก่เบี้ยปรับและเงินเพิ่ม โดยเบี้ยปรับจะคิด 2 เท่า ของภาษีตอ้ งชําระ และเงินเพิ่มจะคิดอัตราร้อยละ 1.5 ต่อเดือนของจํานวนภาษีที่ตอ้ งชําระอย่างไรก็ ตาม เบี้ยปรับจํานวน 2 เท่าของภาษีที่ตอ้ งชําระนั้น อาจจะลดลงมาได้ตามที่กฎหมายกําหนด หาก ผูป้ ระกอบการได้มายื่นแบบโดยไม่ไ ด้รับคําเตื อนหรื อคํา เรี ย กตรวจสอบไต่ สวน โดยตรงเป็ น หนังสื อจากเจ้าหน้าที่ โดยได้ยนื่ แบบและชําระภาษีภายใน 15 วันนับแต่วนั พ้นกําหนดเวลาให้เสี ย เบี้ยปรับเพียงร้อยละ 2 ของจํานวนเบี้ยปรับ ถ้าชําระภายหลัง 15 วัน แต่ไม่เกิน 30 วัน ให้เสี ยเบี้ย ปรับร้อยละ 5 ถ้าชําระภายหลัง 30 วัน แต่ไม่เกิน 60 วัน ให้เสี ยเบี้ยปรับร้อยละ 10 และถ้ายืน่ แบบ และชําระภายหลัง 60 วันนับแต่พน้ กําหนดเวลายืน่ แบบ ให้เสี ยเบี้ยปรับในร้อยละ 20 ของจํานวน เบี้ยปรับ 2 เท่า กรณี ได้รับคําเตือนหรื อคําเรี ยกตรวจสอบไต่สวนโดยตรงเป็ นหนังสื อจากเจ้า หน้าที่ เบี้ย ปรับจะต้องเสี ยไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 การตรวจพบด้วยตนเอง จึงดีกว่าเจ้าหน้าที่ตรวจพบ สําหรับ เงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือนของจํานวนภาษีที่ตอ้ งชําระนั้น หากได้มายืน่ แบบและชําระภาษีล่าช้า ออกไปนานเท่าใด จํานวนเงินเพิ่มก็จะมากขึ้นตามจํานวนเดือนที่เพิ่มขึ้น แต่จาํ นวนเงินเพิ่มจะไม่ เกินจํานวนภาษีที่ตอ้ งชําระ
3. เพิม่ บทบัญญัติอนั เกีย่ วกับการจัดเก็บภาษีมูลค่ าเพิม่ ควรมีการเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร หมวด 4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม มาตรา 77/2 การกระทําที่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม ในส่ วนที่เกี่ยวกับสิ นค้ามือสอง เพื่อกําหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ สิ นค้ามือสองให้แน่ชดั และเป็ นไปในทิศทางเดียวกันมากขึ้น ซึ่งจะช่วยแก้ไขปัญหาอันเกิดจากภาระ ภาษีแฝงในต้นทุนสิ นค้าที่ส่งผลกระทบต่อราคาสิ นค้าและทําให้ผูบ้ ริ โภคต้องรั บภาระค่าสิ นค้า สู งขึ้นหรื อผูป้ ระกอบการได้รับผลตอบแทนน้อยลง และปั ญหาอันเกิดจากการจัดเก็บภาษีซ้ าํ ซ้อน จากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสองที่จะเกิดขึ้นในกรณี ที่กิจการไม่สามารถขอเครดิตภาษี
62 ซื้ อคืนได้ เนื่ องจากซื้ อสิ นค้าในลักษณะสิ นค้ามือสองจากผูท้ ี่มิได้อยูใ่ นระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ทําให้ เกิดมีภาระภาษีมูลค่าเพิม่ แฝงอยูใ่ นราคาสิ นค้านั้น
4. ยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ สํ าหรับผู้ประกอบธุรกิจซื้อขายรถยนต์ มือสอง เนื่ องจากสิ นค้ารถยนต์มือสองเป็ นสิ นค้าที่จดั เก็บภาษีมูลค่าเพิ่มไปแล้วในครั้ งแรก ดังนั้นจึงไม่ควรจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในการซื้ อขายครั้งต่อไป โดยวิธีการนี้ ผบู ้ ริ โภคขั้นถัดไปไม่ ต้องรับภาระภาษีมูลค่าเพิ่มอีก และผูป้ ระกอบการไม่สามารถเครดิตภาษีซ้ื อได้ ซึ่ งง่ายในแง่การ บริ หารการจัดเก็บ แต่หากผูป้ ระกอบการซื้อสิ นค้ารถยนต์มือสองจากผูท้ ี่อยูใ่ นระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม จะทําให้ผปู ้ ระกอบธุรกิจซื้อขายรถยนต์มือสองมีตน้ ทุนภาระภาษีได้ในทางกลับกัน ซึ่ งวิธีน้ ี จะช่วย ลดปั ญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มซํ้าซ้อนแล้วยังทําให้กิจการประเภทนี้ เข้ามาอยู่ในระบบมากขึ้น แต่ ก็ไม่มีเหตุ ผลในหลักการที่ จะให้การยกเว้นภาษี มูลค่าเพิ่ มที่ เกิ ดขึ้ นแก่ กิจการประเภทนี้ และ กิจการประเภทนี้อาจมีความได้เปรี ยบกิจการประเภทอื่นที่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ 5. การเก็บภาษีจากส่ วนต่ าง (margin scheme) การเก็บภาษีจากส่ วนต่างเป็ นวิธีน้ ี มีการบรรเทาภาระภาษีซ้ าํ ซ้อน โดยลดจํานวนฐาน ภาษีที่ตอ้ งนํามาคํานวณหาภาษีมูลค่าเพิ่มที่ตอ้ งเสี ยจากราคาเต็มจํานวนสิ นค้า เป็ นการเก็บภาษีจาก ราคาขายสิ นค้าหักด้วยราคาซื้ อสิ นค้า ดังนั้นก็ควรที่จะเพิ่มเติ มบทบัญญัติในส่ วนที่เกี่ ยวกับฐาน ภาษี มูลค่าเพิ่ม โดยการกําหนดลักษณะและเงื่ อนไขต่าง ๆ สําหรั บวิธีการหามูลค่าของฐานภาษี ตามที่กาํ หนดในวิธีการเก็บภาษีจากส่ วนต่าง โดยไม่นาํ มูลค่าที่ซ้ื อสิ นค้ามือสองนั้น ๆ มารวมเป็ น ค่าตอบแทนของสิ นค้ามือสอง และควรระบุถึงรายละเอียดต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 5.1 ชนิ ด ของผูป้ ระกอบการที่ สามารถเลื อ กใช้วิ ธีก ารบรรเทาภาระภาษี ซ้อ น โดย วิธีการเก็บภาษีจากส่ วนต่าง คือผูป้ ระกอบการที่ทาํ การซื้อสิ นค้ามือสองมาเพื่อขายใหม่ 5.2 รายละเอียดของสิ นค้า, ชนิ ด และประเภทของสิ นค้ามือสองที่อยู่ภายใต้เงื่ อนไข ของวิธีการเก็บภาษีจากส่ วนต่าง
63 5.3 เงื่อนไขในการใช้วิธีการเก็บภาษีจากส่ วนต่าง กล่าวคือสิ นค้ามือสองที่กิจการนํามา ขายนี้จะต้องเป็ นสิ นค้าที่กิจการซื้ อจากบุคคลทัว่ ไปหรื อผูซ้ ่ ึ งไม่ได้อยูใ่ นระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่ งไม่ มีหน้าที่นาํ ส่ งภาษีมูลค่าเพิ่มและออกใบกํากับภาษีขาย 5.4 วิธีการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ตอ้ งเสี ย โดยคํานวณจากฐานราคาขายสิ นค้าหักลบ ด้วยราคาซื้อสิ นค้ามือสอง 5.5 เงื่ อนไขเกี่ ยวกับหลักฐานต่ าง ๆ ที่ ตอ้ งจัดทํา รวมถึ งหลักฐานต่าง ๆ ที่ ตอ้ งเก็บ รักษาไว้ภายในระยะเวลาที่กาํ หนด 6. กรมสรรพากรควรปรั บเปลี่ยนนโยบายเกีย่ วกับการจัดการภาษีของกิจการที่ไม่ ต้องจด ทะเบียน กรมสรรพากรควรมีการปรับเปลี่ยนนโยบายในการบริ หารจัดการเกี่ยวกับการจัดการ ภาษีมูลค่าเพิ่มของกิจการที่ไม่ตอ้ งจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยกรมสรรพากรต้องให้ความสนใจ กับกิจการดังกล่าวให้เท่าเทียมกับกิจการที่ตอ้ งจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แม้กิจการเหล่านี้จะไม่ตอ้ ง เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่ก็อาจมีการปกปิ ดภาษีที่เกิดขึ้นจริ งได้ ดังนั้นเพื่อความเป็ นธรรมกับกิจการที่ ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่มีหน้าที่ตอ้ งเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วยังต้องถูกเฝ้ าสังเกตเป็ นพิเศษ จากกรมสรรพากรเกี่ ยวกับการซื้ อขายรถยนต์มือสองว่ามี การนําส่ งกรมสรรพากรอย่างถูกต้อง ครบถ้วนตามที่กฎหมายกําหนดไว้หรื อไม่ 7. การเก็บภาษีโดยใช้ ราคาขายปรับลด (Discounted sale price scheme) การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มของกิจการที่ปกติจะใช้ราคาขายก่อนปรับลดในการคํานวณ การเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มควรมีการเปลี่ยนแปลงเป็ นราคาขายที่ผ่านการปรับลดแล้ว เพื่อกิจการจะได้ เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มที่นอ้ ยลงกว่าเดิมและได้รับประโยชน์จากกรณี ดงั กล่าวมากขึ้น ซึ่ งกรณี น้ ี ก็จะทํา ให้กิจการมีความเต็มใจและพร้อมที่จะเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มต่อกรมสรรพากรมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น สิ นค้าราคา 100 บาท ถ้าเป็ นราคาขายก่อนปรับลด เมื่อเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มก็จะเท่ากับ 100 คูณ ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ตอ้ งเสี ยอีก 7 % จะมีมูลค่าสิ นค้าสุ ทธิ เท่ากับ 107 บาท แต่ถา้ เป็ นกรณี ราคาขายหลัง ปรับลด เมื่อเสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ จะเท่ากับ 100 คูณส่ วนลดที่ได้รับ สมมุติในที่น้ ีได้ลด 20 % จะเท่ากับ 80 บาท คูณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ตอ้ งเสี ยอีก 7 % จะมีมูลค่าสิ นค้าสุ ทธิ เท่ากับ 85.60 บาท ซึ่ งแสดงให้
64 เห็ นว่ากรณี ราคาขายหลังปรับลดจะทําให้สินค้าดังกล่าวมีมูลค่าสุ ทธิ ที่ต่าํ กว่ากรณี ราคาขายก่ อน ปรับลด 8. การออกกฎระเบียบให้ ออกใบกํากับภาษีทุกครั้งทีม่ ีการซื้อขายสิ นค้ ามือสอง กรมสรรพากรควรจะมี ก ารออกกฎระเบี ย บเพิ่ ม เติ ม ในบทบัญ ญัติ แ ห่ ง ประมวล รัษฎากร หมวด 4 มาตรา 86 ต้องทําใบกํากับภาษีและสําเนา โดยในการขายสิ นค้าในแต่ละครั้ง ไม่ ว่าจะขายให้กบั กิจการที่จดทะเบียนเป็ นผูป้ ระกอบการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มหรื อไม่ได้จดทะเบียนเป็ น ผูป้ ระกอบการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มหรื อขายให้กบั บุคคลธรรมดาทัว่ ไป ควรจะต้องออกใบกํากับภาษี ขายให้กบั ลูกค้าทุกครั้ง และต้องมีลายเซ็นต์ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องในการซื้ อขายด้วย เพื่อป้ องกันการทุจริ ต ฉ้อโกง ทําให้มีรายได้ต่าํ กว่าจริ ง ซึ่ งจะส่ งผลเสี ยต่อประเทศชาติ เนื่ องจากเมื่อมีรายได้นอ้ ยลงจะทํา ให้กิจการเสี ยภาษีนอ้ ยลงไปน้อยเป็ นเหตุให้รัฐเสี ยรายได้ในส่ วนนี้ไป
บทที่ 5 บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป จากการศึกษาถึงปั ญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสอง กรณี ศึกษา รถยนต์มือสอง หลักเกณฑ์การจัดเก็บภาษี มูลค่าเพิ่มจากรถยนต์มือสอง และแนวทางการแก้ไข ปั ญหาจากการจัดเก็บภาษีมูลเพิ่มจากรถยนต์มือสอง ได้บทสรุ ปดังนี้ หลักเกณฑ์ในการจัดเก็บภาษี มูลค่าเพิ่ม ประกอบไปด้วย ผูม้ ี หน้าที่ เ สี ยภาษี วิธีก ารจด ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ฐานภาษี อัตราภาษี เกณฑ์การคํานวณภาษี กําหนดเวลาจดทะเบียน สถานที่ จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม การยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม กําหนดเวลา สถานที่ ยื่นแบบ และการชํา ระภาษี การจัด เก็ บ ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม สํ า หรั บ การขายทอดตลาดทรั พ ย์สิ น การเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่มจากสิ นค้ามือสอง พบว่า การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มของสิ นค้ามือสองนั้น มีวิธีการ คํานวณภาษีเหมือนกันกับผูจ้ ดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มที่ขายสิ นค้าทัว่ ไป อีกทั้งกระบวนการและ ขั้นตอนต่างๆในการยื่นแบบชําระภาษีก็ปฏิบตั ิเหมือนกับผูป้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ทัว่ ๆไป ปั ญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มของสิ นค้ามือสอง กรณี ศึกษา รถยนต์มือสอง นั้น จากการศึกษาพบว่า มีปัญหาที่มีความสําคัญอยู่ 6 ประเด็น คือ ปั ญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ซํ้าซ้ อ น โดยปั ญ หานี้ จะเกิ ด กับ บริ ษัท ที่ ไ ด้รั บ การยกเว้น หรื อไม่ อ ยู่ ใ นข้อ บัง คับ ที่ ต ้อ งเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้เข้ามาทําธุ รกรรมการซื้ อ-ขายกับบริ ษทั ที่จดทะเบียนภาษีมูลเพิ่ม ทําให้เกิดภาระ ภาษีแฝงรวมอยู่ในสิ นค้า และไม่สามารถขอคืนได้ ทําให้ตอ้ งผลักภาระภาษีแฝงเหล่านี้ รวมไปใน ราคาสิ นค้าส่ งผลให้ผบู ้ ริ โภคที่แท้จริ งรับภาระภาษีเพิ่มขึ้น ภาษีที่แฝงอยูใ่ นสิ นค้ามือสอง อาจถูกผลักภาระอยูใ่ นรู ปแบบของต้นทุนสิ นค้า จึงก่อให้เกิด ความไม่เป็ นธรรมในการรับภาระภาษีในระหว่างผูป้ ระกอบการด้วยกัน ส่ งผลให้ความสามารถใน การแข่งขันในการประกอบธุ รกิ จไม่เท่าเทียมกัน เกิ ดความเสี ยหายต่อระบบการผลิตสิ นค้าและ
66
บริ การรวมไปถึงคุณภาพของสิ นค้า อีกทั้งอาจก่อให้เกิดการหลบหนี หรื อการหลีกเลี่ยง นอกจากนี้ ยังส่ งผลกระทบต่อราคาสิ นค้าและทําให้ผบู ้ ริ โภคต้องรับภาระค่าสิ นค้าสู งขึ้นหรื อผูป้ ระกอบการ ได้รับผลตอบแทนน้อยลงอีกด้วย การที่ผขู ้ ายรถได้ขายรถของตนแล้ว และได้ทาํ การลงนามในเอกสารการโอนรถ และใบ มอบอํานาจให้แก่ ผูซ้ ้ื อ โดยมิได้มีการดําเนิ นการทางทะเบียนที่สํานักงานขนส่ งฯ หรื อที่เรี ยกว่า “การโอนลอย” นั้นนับเป็ นช่องว่างของกฎหมายที่ผปู ้ ระกอบกิจการซื้อ-ขายรถยนต์มือสองนํามาใช้ ในการดําเนินธุรกิจเป็ นจํานวนมากเพราะสะดวกสําหรับลูกค้าที่จะมาซื้อรถยนต์มือสอง ซึ้ งสามารถ นําเอกสารดังกล่าวไปโอนกรรมสิ ทธิ์ได้ในทันที อีกทั้งวิธีน้ ี ยงั สามารถช่วยให้ผปู ้ ระกอบกิจการไม่ ต้องรั บ ภาระภาษี ค่าธรรมเนี ย ม พรบ. รายปี ซึ่ ง เป็ นกฎหมายข้อ บังคับ เมื่ อได้สิทธิ์ ครอบครอง ทรัพย์สินดังกล่าว การที่กิจการมีการประกอบกิจการค้าขายของเก่าหรื อของมือสองต้องจดทะเบียนอนุ ญาต การค้าของเก่า จะทําให้ผบู ้ ริ โภคมีความเชื่อมัน่ ว่ากิจการมีน่าเชื่อถือและปฏิบตั ิถูกต้องตามกฎหมาย แต่ ใ นขณะเดี ย วกัน กิ จ การที่ จ ดทะเบี ย นการค้า เหล่ า นี้ กลับ ถู ก ตรวจสอบการนํา ส่ ง ภาษี จ าก กรมสรรพากรมากจนเกินไป ทั้งๆที่กิจการที่ดาํ เนิ นอยูน่ ้ นั ได้จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย ส่ วน กิจการที่เปิ ดดําเนินงานโดยไม่จดทะเบียนนั้นกลับไม่ถูกตรวจสอบจากกรมสรรพากรแต่อย่างใด ธุ รกิ จขนาดเล็กที่มีรายรับไม่ถึง 1,800,000 บาทต่อปี หรื อต่อรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่ งจะ ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ดังนั้นถ้าหากพิจารณาโดยเฉลี่ยแล้วกิจการที่มีรายได้ต่อเดือนไม่เกิน 150,000 บาท ไม่ ตอ้ งจดทะเบี ยนภาษี มูลค่าเพิ่ม แต่ อย่างไรก็ดี เมื่ อรวมกันทั้งปี จะต้องเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่ม หากมีรายได้ต้ งั แต่ 1,800,000 บาทขึ้นไป จากข้อกําหนดนี้ทาํ ให้กิจการส่ วนใหญ่ที่ เป็ นกิ จ การขนาดเล็ ก หรื อ กิ จ การเจ้า ของคนเดี ย วนั้ น ไม่ ต ้อ งเข้า สู ้ ร ะบบขึ้ น ทะเบี ย นเพื่ อ เสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่ม จะมีเพียงแต่กิจการขนาดใหญ่เท่านั้นที่ที่ถูกข้อกฎหมายบังคับให้ทะเบียนเป็ นผูเ้ สี ย ภาษีมูลค่าเพิ่ม บางกิจการที่ขายรถยนต์มือสองออกไปแก่ลูกค้า ซึ่ งลูกค้าบางรายก็ไม่เห็นว่าใบเสร็ จรับเงิน มีความสําคัญหรื อไม่ตอ้ งการ ทําให้ผขู ้ ายไม่จาํ เป็ นที่ตอ้ งออกใบกํากับภาษีให้ เพราะฉะนั้นการที่ ผูข้ ายไม่ออกใบกํากับภาษีให้ ทําให้มีช่องโหลให้ผขู ้ าย โดยเมื่อมีการนํารายได้จากการขายไปบันทึก บัญชีทางผูข้ ายอาจจะบันทึกบัญชีรายได้ที่ต่าํ กว่าจากราคาที่ขายให้แก่ผซู ้ ้ือ เพื่อทําให้กิจการของตน
67
มีรายได้นอ้ ยแล้วจะได้เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มน้อยลง วิธีการนี้ มกั จะเกิดขึ้นกับธุรกิจขายสิ นค้าที่ยากต่อ การตรวจสอบในเรื่ องราคา การแก้ไขปั ญหาของการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากรถยนต์มือสอง สามารถกระทําการได้ หลายรู ป แบบ ไม่ ว่ า จะเป็ นการเปลี่ ย นบัญ ญัติ เ กี่ ย วกับ การจัด เก็ บ ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม การยกเว้น ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม สํา หรั บ ผูป้ ระกอบธุ ร กิ จ ซื้ อ ขายรถยนต์มื อ สอง การเก็ บ ภาษี จ ากส่ ว นต่ า ง การ ปรับเปลี่ยนนโยบายการจัดเก็บภาษีของกิจการที่ไม่ตอ้ งจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม การเก็บภาษีโดย ใช้ราคาขายปรับลด อีกทั้งรวมไปถึงการออกกฎหมายให้ออกใบกํากับภาษีทุกครั้งที่มีการซื้ อขาย สิ นค้า
68
ข้ อเสนอแนะ 1. ลดฐานรายได้ จาก 1,800,000 บาท เพือ่ ให้ ผู้ประกอบการขายรถยนต์ มือสองจดทะเบียน ภาษีมูลค่ าเพิม่ มากขึน้ ปรับลดรายรับจากการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การที่แต่เดิมต้องเกินกว่า 1,800,000 บาท ต่อปี ให้ลดลง เพื่อเป็ นการดึงดูดให้ผปู ้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มมากยิ่งขึ้น เพราะส่ วน ใหญ่ผปู ้ ระกอบการไม่ยอมจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเนื่องมาจากการที่เมื่อจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แล้วต้องมีการลงบันทึกรายการบัญชี ภาษีซ้ื อ-ขายเป็ นจํานวนจริ งตามใบเสร็ จรั บเงินที่ได้รับหรื อ ออกให้แก่ลูกค้า ผูป้ ระกอบการส่ วนใหญ่จึงใช้ช่องว่างนี้ ในการหลบเลี่ยงภาษีมูลค่าเพิ่ม เพราะไม่ อยากเสี ยภาษีจาํ นวนมากจากรายได้ที่เป็ นฐานภาษีมาก แต่ถา้ มีการลดรายได้ให้นอ้ ยกว่า 1,800,000 บาท จะทําให้ผปู ้ ระกอบการเสี ยภาษีในอัตราที่ต่าํ ลง และเป็ นการลดการหลีกเลี่ยงภาษีอีกด้วย 2. เพิม่ ความเข้ าใจระหว่ างกรมสรรพากรและผู้ประกอบการ กรมสรรพากรและผูป้ ระกอบการควรสร้างความสัมพันธ์อนั ดีและความเข้าใจร่ วมกัน เพื่อให้ผูป้ ระกอบการได้มีทศั นคติ ที่ดีต่อการเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม ทางสรรพากรควรบอกถึ งความ จําเป็ นที่ตอ้ งมีการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาระหน้าที่ของกรมสรรพากรที่ตอ้ งรับผิดชอบ ที่ตอ้ ง ทําเช่นนี้ ก็เพราะว่าในปั จจุบนั ปั ญหาระหว่างกรมสรรพากรกับผูป้ ระกอบมีความเห็นที่ไม่ตรงและ ไม่ เ ข้า ใจกัน ผูป้ ระกอบการเองก็ ไ ม่ มี ค วามเข้า ใจอย่ า งถ่ อ งแท้ว่ า ทํา ไมต้อ งเสี ย ภาษี เพราะ ผูป้ ระกอบการส่ วนใหญ่ก็ไม่อยากเสี ยเงินในจํานวนมากแบบไม่เป็ นธรรม ส่ วนทางกรมสรรพากร เองก็ไม่เข้มงวดมากพอที่ตอ้ งตามเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มแก่ผปู ้ ระกอบการ แต่กรมสรรพากรจะเข้มงวด เฉพาะกิจการที่เคยเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วเท่านั้น ส่ วนกิจการที่ไม่เคยเสี ยก็ไม่เข้าไปตรวจสอบ ทําให้ ผูป้ ระกอบการรู ้สึกว่าไม่มีความเป็ นธรรมแก่กิจการตนเอง จึงพยายามหลีกเลี่ยงภาษีมูลค่าเพิ่มหรื อ เสี ยให้นอ้ ยที่สุด แต่ถา้ ทั้งผูป้ ระกอบการและกรมสรรพากรมีการเข้าใจปั ญหาซึ่งกันและกัน การเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่มก็จะไม่เป็ นปัญหาอีกต่อไป
69
3. มอบสิ ทธิประโยชน์ ต่าง ๆ สํ าหรับกิจการทีจ่ ่ ายภาษีอย่ างถูกต้ อง ครบถ้ วน และตรงต่ อ เวลา รัฐบาลควรมอบสิ ทธิ ประโยชน์ต่าง ๆ แก่กิจการที่จ่ายภาษีอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และ ตรงต่อเวลา อาทิเช่น ถ้ากิจการเหล่านี้ ตอ้ งการกูเ้ งินก็ควรจะได้รับอัตราดอกเบี้ยลูกค้าชั้นดีหรื อตํ่า กว่ากิจการอื่น ถ้ามีการชดเชยดอกเบี้ยก็ควรจะได้รับโอกาสใช้บริ การก่อน หรื อถ้าหากมีมหกรรม การค้าขายที่จดั โดยรัฐบาลก็ควรได้โควตาหรื อราคาพิเศษ หน่ วยงานของรัฐบาลใด มีการจัดอบรม สัมมนา ก็ควรได้สิทธิ หรื อได้รับการพิจารณาก่อนกิจกรรมอื่น เพื่อเป็ นการจูงใจ ที่จะกระตุน้ ให้ กิจการอยากที่จะจ่ายภาษีอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และตรงต่อเวลา มากยิ่งขึ้น เนื่ องจากปั จจุบนั มีวิธี หลบเลี่ยงภาษีหลายวิธีซ่ ึ งทําให้มีตน้ ทุนสิ นค้าที่ต่าํ กว่ากิจการที่ตอ้ งจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มอย่าง ถูกต้อง ดังนั้นเมื่อทําดีแล้วกลับเสี ยเปรี ยบ จึงไม่มีกิจการใดเต็มใจอยากเข้าระบบภาษีมูลค่าเพิ่มอย่าง ตรงไปตรงมา วิ ธี ก ารมอบสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ต่ า ง ๆ จึ ง เป็ นวิ ธี ห นึ่ งที่ เ ป็ นแรงจู ง ใจในการเสี ย ภาษีมูลค่าเพิ่มได้เป็ นอย่างดี 4. ปลูกฝังแนวความคิดในการเสี ยภาษีอย่ างถูกต้ องแก่เยาวชนรุ่นใหม่ พ่อแม่ ผูป้ กครอง หรื อโรงเรี ยน ควรปลูกฝังแนวความคิดในการเสี ยภาษีอย่างถูกต้อง แก่เยาวชนรุ่ นใหม่ ให้เยาวชนได้รู้วา่ การเสี ยภาษีอย่างถูกต้องเป็ นมาตรฐานหรื อเครื่ องหมายของคน ดีมีจริ ยธรรม ไม่ตอ้ งกังวลต่อการตรวจสอบจากสังคมและเจ้าหน้าที่กรมสรรพากร อีกทั้งการเสี ย ภาษียงั ทําให้เกิดความภาคภูมิใจที่ได้ปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่กฎหมายกําหนด อันเป็ นค่านิยมของสังคม ประชาธิ ป ไตยอย่า งแท้จ ริ ง ซึ่ ง การเสี ย ภาษี อ ย่า งถู ก ต้อ งยัง ถื อ เป็ นการกระจายรายได้สู่ สั ง คม ก่อให้เกิดความเป็ นธรรม และการอยูร่ ่ วมกันอย่างสันติสุข เป็ นการช่วยสร้างสรรค์ประเทศชาติให้มี แต่ความสุ ขสงบอีกด้วย
70 บรรณานุกรม เกียรติศกั ดิ์ อังคณานุพงศ์. 2551. ปัญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่ าเพิม่ จากสิ นค้ ามือสอง. นิติศาสตร์ มหาบัณฑิต , มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรมสรรพากร. ภาษีมูลค่ าเพิม่ , 2552. ค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2554, แหล่งที่มา http://www.rd.go.th/publish/307.0.html กลุ่มนักวิชาการภาษีอากร. 2553. ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2553. โรงพิมพ์เรื อนแก้วการ พิมพ์. ยุพดี ศิริวรรณ. 2552. การบัญชีภาษีอากร. พิมพ์ครั้งที่ 1 . นนทบุรี: ห้างหุ น้ ส่ วนจํากัด จําปาทอง พริ้ นติ้ง. วรรณวิภา คูสกุล. การบัญชีภาษีอากร. กรุ งเทพมหานคร: สํานักพิมพ์เสมาธรรม, 2553. ศิริวรรณ รัตนสังข์. 2550. ปัญหาการจัดเก็บภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามประมวลรัษฎากร:กรณีธุรกรรม พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ . นิติศาสตร์มหาบัณฑิต , มหาวิทยาลัยรามคําแหง. สุ มาลี สถิตชัยเจริ ญ. “การจัดเก็บภาษีมูลค่ าเพิม่ รถยนต์ มอื สอง.” สํานักนโยบายภาษี สํานักงาน เศรษฐกิจการคลัง. : 1-7 สุ พฒั นา นาคประดิษฐ์. ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับภาษีมูลค่ าเพิม่ , 2553. ค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2554, แหล่งที่มา https://sites.google.com/a/ttc.ac.th/taxacc/1-khwam-ru-thawpi-keiyw-kabphasi-mulkha-pheim สุ มาลี สถิตชัยเจริ ญ. บทความทางภาษี, 2554. ค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2554, แหล่งที่มา www.fpo.go.th,