23COSTMA4KU68Lean

Page 1


:1e-ur,trfirntu

fl0.i

ur{ar.ltuffin''l

uoprx't ru

ururJqm

ttmri'tnilevvnu

utarrarufnf

rrn{601fi

uxarnrnrrf,nf

fiQnmrynn

J

t30.i

n

r r:-6u r e fru1 u1n

u

er:r

r

n

r

e

zu

6

m

un r n

neni6 n:gr:G:f,vr nrmrfrr mfi

l4rv Lfi ?L n 1 ? n

?,1

qdo

L Ltn y0

oa61 ,6t

uil qq n

A r rumorfi qrirufi

ufio

dd

o

,

Ll, n-l

n

ud ,) u1, rr

a

rltr

<' 1J.t

nr

T

rrirpd ur

nrd-

u fi

u

dr ri'a

4 fl 0.i n 1 r d n a:-Trufi

u

Br m r :J u a n a m r

:-Fr,lr

a

{ufi 25 nurd'u{ zssq I

14

rq r arifr rFn :sr fl ruurfi ra:e

runr{:Jevaru{rumuitr

({rir

u n r a n'flq r

afrt'tfl s rur rfiuf,ro. r. )


การบริหารต้นทุนโดยระบบการผลิตและการบัญชีแบบลีน กรณีศกึ ษาบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด

โดย นางสาวชนม์นิภา ยอดชาญ นายปยุต เขตต์ชลประทาน นางสาวศมนรัตน์ แดงสอาด นางสาวเสาวรัตน์ ลิขติ ตระกูล

51205516 51205755 51206100 51206258

ปญั หาพิเศษฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554


(1)

คำนำ ปญั หาพิเศษเล่มนี้ เป็ นการศึกษาปญั หาพิเศษเรือ่ ง การบริหารต้นทุนโดยระบบการผลิต และระบบบัญชีแบบลีน กรณีศกึ ษาบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด จะกล่าวถึงความเป็ นมา และ ความสาคัญ การบริหารต้นทุน ด้วยเครื่องมือลีน แนวคิดหลักในการบริหารจัดการ การนาเอา แนวคิดแบบลีนมาใช้ในกระบวนการดาเนินงาน ประโยชน์ขององค์การธุรกิจเมื่อนาแนวคิดแบบ ลีนมาใช้ และระบบบัญชีท่จี ะต้องประยุกต์ให้เหมาะสมกับแนวคิดแบบลีน รวมถึงสิง่ ทีเ่ กี่ยวข้อง กับกรณีศกึ ษาคือ ประวัตบิ ริษทั ความเป็ น มาของบริษ ั ท โครงสร้างองค์การและคาอธิบาย ลัก ษณะงาน กลุ่ ม ผลิต ภัณ ฑ์ บ ริษัท ขัน้ ตอนกระบวนการด าเนิ น งาน กลุ่ ม ลูก ค้าของบริษัท การจัดจาหน่ ายและช่องทางการจัดจาหน่ าย ซึ่งในปญั หาพิเศษเล่มนี้จะกล่าวตัง้ แต่การเริม่ ต้น การศึกษาถึงปญั หาทีเ่ กิดขึน้ เกี่ยวกับการบริหารต้นทุน การวางแผน และกระบวนการในการนา แนวคิดแบบลีนมาใช้ ั หาพิเ ศษเล่ ม นี้ จะกล่ า วถึง สถานการณ์ ใ นป จั จุบ ัน ได้แ ก่ สภาวะ นอกจากนี้ ใ นป ญ เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมปจั จุบนั ของประเทศไทย ปจั จัยทีส่ ่งผลกระทบต่อศักยภาพการ ดาเนินงานของหน่ วยงานภาครัฐและเอกชน การบริหารต้นทุน และแนวคิดการพัฒนาธุรกิจ อย่างยังยื ่ น หากปญั หาพิเศษเล่มนี้ผดิ พลาดประการใด คณะผูจ้ ดั ทาขออภัยไว้ ณ ทีน่ ้ดี ว้ ย คณะผูจ้ ดั ทา มีนาคม 2555


(2)

rurif,nr u

A

u0

a

da

n:Iufl

u IllTLLUu fl U

rjt

ru

omm

o r r3r,t r : s:ff qu

<a

s

LLfl yet

rur 25ss: nr:liur:qi'urlulor

n B',]:J:]9Y} fi:',]',t

LIrufi

u:rl:-tnr:zufi

q

o

fl I

d

ltLS:]

a ;J

fl

d

fl

q

rrnr:tLL

o

A1 n O

ll't i t1 n r : :th fi lSra r

:

,a

0101:dfi:-isn:crer'rilrxurfirflt+: ririrusrefl:ror:rirfirfio iur':vt'uf,. L.r.t]. ulj 125 v1in

nr:fin:grrJruilrfi tsrrinY.rdfroqil:rsr ri'ifi odnrcr rfi urn-:: mr LusrnlTdr

LL%?6q

q

uuL

fiurril:runei'[d'an*.rrfiurriruurhour:ufiulunr:rirar:rfiodreLril::rnqi"ld'fin:gr i9 tul.{??l1.rn1:rl:runqi"ld'utur6ou:rudu finr*rr-l:rRrBnrvlnr:l3mr:oi'uyrulou"[fuur6el ca dAAq

rti-JUCIu

ttflrfln:9'rn'r:14'ruu?qqrLr-ruflurJ'rLd'rfionr:nierur'lrjeiorruri.:fiumr.:r:fia qlq

nr:fin:Er:Jourfi ter*o;oAtAtmtnr:6nrcrle <v

o

A

r nr:eYuurrio

eLn U

rda.r qi'ur

orrS:iyr

AU *-

Ynnl:8';JnlrErul]0eJ8U:19y1 tt0rflln1:flntg'to1nt0nfl1Tyt L9::_J01nt_J:tgyt lJ ___4._..-:1

n''l

:fl

n 191

!

Y: . tx 14'l 1^l t fl 19fr :.l

ev

o vtva

a

A

4

u Fl [us u o o ?'l1 Lft t fl 0 n fl n :9't t: 0.: n1 :L T14 1 : ov uil u TI o u

a-vdoonoe.a€ova

T3LUnl:hnOlLnr:rulJlJlLlTtfiJuflu nTIugtntgl:til91,t Fl:'t?utff:13Jftfl aln0 r{nn]Tfintg't v d a do a v , ,j^ 3 d t d a I ^ y,lu'l'l u:l9Yl Fl:1?uL{T'lelflfl alnq eJn't:€lu?\11?8ilfl11fl'l9t?'ltnqlJu LqusJl0.ttiiutflolJu ct

o

a

T

u

Vl ?d

a

q v A

j

6l hd

4

,

L:Juo-lU?ualln [qU]J:lEYl [qlJnl:u1ttu?frfiLLU]JaueJl LT t.::_ti:crorudan Lflrnrronot.tn1-[ V1

,q

Y

' aon'L:ltrd'r"[uuqiorrTuq0u ttnirtqin:il:rrnrro.]rla.rrAu IquLS#ro;yirnr:rr.:T3lJLnl:

rir{'qrauftufirfiotu''rflu:v:rurrndu rfiafrovsrrur:nr116'ouo.:rfruloier:.reo Iquilu'ir q

i o

a

ru

,

Y Ue

n0n::ililr1n]TlJTUilT'iuu lq q

i

,

,

-l ^ r ^ ; [oLLn n']TL?\rJU?frn1TrJ.(iq?tAOf]9ttLUn.t'11.t j

nl:0afrl,tfi'tn.laa.l ttflt qed

,

.:'luYlT0ttn"AtLr L143J ttflrn'l:Ly'l3J:J:rmronrvl?0.:n1:oT?0flo1_l.ltuLf aLorlaLzuoll tn'lofloil,t ,9

u0na'rnfrL3:iyrfrqia.:finr:oi'.:rflrualtu nt:?'1.:rrzu1r uflynl::Jfru-6fifi:J:yRn?nrw d

,

A 1,

I

y

u

r Vt rMw

,

La

lqulf

^ ^v LLU?Oqttljl-JflUeJlTlU Ll^l0L14lJT19Ytfl]3J1TnAUT0q tOl_JIS]itnrflrruilrgto'L:l'taiaur.:u.:uu {


(3) กิ ตติ กรรมประกาศ ปญั หาพิเ ศษฉบับนี้ สาเร็จลุ ล่ว งไปได้ด้ว ยความกรุณาอย่างดียงิ่ จากผู้ช่วยศาสตราจารย์ พัชนิจ เนาวพันธ์ อาจารย์ทป่ี รึกษาปญั หาพิเศษทีไ่ ด้กรุณาให้คาแนะนาในด้านต่างๆ พร้อมทัง้ ตรวจทานแก้ไข ข้อบกพร่องและการให้ขอ้ เสนอแนะ มอบกาลังใจในการทาปญั หาพิเศษเล่มนี้จนสาเร็จสมบูรณ์ คณะผูจ้ ดั ทาขอกราบ ขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณครู อาจารย์ เนื่องจากคณะผู้จดั ทาได้รบั ความช่วยเหลือ และความ ดูแลเอาใจใส่จากคณาจารย์ประจาสาขาการบัญชีบริหาร ตลอดจนครูอาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิทธิ ์ ประสาทวิชาความรู้ มอบความรูค้ วามเข้าใจดีๆ และให้คาปรึกษาในการจัดทาปญั หาพิเศษเล่มนี้ ขอกราบขอบพระคุ ณ คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ และครอบครัว ที่ใ ห้ก ารส่ ง เสริม สนั บ สนุ น ด้า น การศึกษาและให้กาลังใจดีๆ โดยเสมอมา อีกทัง้ ขอขอบคุณเพื่อนนิสติ ปริญญาตรี สาขาการบัญชีบริหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รุ่นที่ 68 ทีใ่ ห้ความช่วยเหลือแนะนาแนวทางในการจัดทาปญั หาพิเศษ และให้กาลังใจคณะผูจ้ ดั ทา มาโดยตลอด ท้ายนี้ทางคณะผู้จดั ทาขอกราบขอบพระคุณทุกท่านที่ได้กล่าวนามและไม่ได้กล่าวนามที่ม ี ส่วนร่วมสนับสนุ น ให้กาลังใจ ความเมตตา และให้ทุนทรัพย์แก่ คณะผู้จ ดั ทามาโดยตลอด คณะ ผูจ้ ดั ทาหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า ปญั หาพิเศษฉบับนี้จะมีประโยชน์ทางด้านวิชาการ และมีส่วนช่วยในการ ยกระดับมาตรฐานของอาชีพผูส้ อบบัญชีให้เป็ นทีย่ อมรับของภาคธุรกิจ สาธารณชนทัวไป ่ ตลอดจน เป็นทีย่ อมรับในระดับสากล คณะผูจ้ ดั ทา มีนาคม 2555


(4)

สารบัญ คำนำ บทคัดย่อ กิตติกรรมประกำศ สำรบัญ สำรบัญภำพ สำรบัญตำรำง บทที่ 1 บทนำ ที่มำและควำมสำคัญ วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้ รับจำกกำรศึกษำ วิธีกำรศึกษำ ขอบเขตกำรศึกษำ นิยำมศัพท์ บทที่ 2 กำรทบทวนวรรณกรรมและสำรสนเทศที่เกี่ยวข้ อง สภำวะเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้ อมปั จจุบนั ของประเทศไทย ปั จจัยที่สง่ ผลกระทบต่อศักยภำพกำรดำเนินงำนของหน่วยงำนภำครัฐ และเอกชน กำรบริหำรต้ นทุน แนวคิดกำรพัฒนำธุรกิจอย่ำงยัง่ ยืน กำรบริหำรต้ นทุนด้ วยเครื่ องมือลีน งำนวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง กรอบแนวคิดกำรศึกษำ

หน้ า (1) (2) (3) (4) (7) (10) 1 2 2 3 3 4 5 13 30 35 57 75 77


(5)

สารบัญ (ต่อ) หน้ า บทที่ 3 กรณีศกึ ษำบริษัท ครำวน์เซรำมิคส์ จำกัด ประวัตบิ ริษัท ควำมเป็ นมำของบริษัท บริษัทในเครื อ โครงสร้ ำงองค์กรและคำอธิบำยงำน คณะผู้บริหำร รำยชื่อคณะทำงำนในโครงกำรลีน คำอธิบำยลักษณะงำน กลุม่ ผลิตภัณฑ์ของบริษัท ตัวอย่ำงผลิตภัณฑ์ ขันตอนกระบวนกำรด ้ ำเนินงำน กลุม่ ลูกค้ ำหลัก ส่วนแบ่งกำรตลำด STP ขององค์กร กำรจัดจำหน่ำยและช่องทำงกำรจัดจำหน่ำย งบแสดงฐำนะกำรเงินและงบกำไรขำดทุนของ บริษัท ครำวน์เซรำมิคส์ จำกัด บทที่ 4 ผลกำรศึกษำ สำเหตุเกี่ยวกับกำรนำแนวคิดแบบลีนมำประยุกต์ใช้ ใน กรณีศกึ ษำบริษัท ครำวน์เซรำมิคส์ จำกัด แนวคิดแบบลีนในกำรบริหำรเพื่อนำมำประยุกต์ใช้ ใน กรณีศกึ ษำบริษัท ครำวน์เซรำมิคส์ จำกัด กำรเลือกหัวข้ อในกำรปรับปรุง ขันตอนกำรแก้ ้ ปัญหำ แนวทำงกำรประยุกต์ใช้ แนวคิดแบบลีนใน กรณีศกึ ษำบริษัท ครำวน์เซรำมิคส์ จำกัด

80 80 82 83 84 85 85 86 88 88 89 91 93

97 97 98 99 102


(6)

สารบัญ(ต่อ) หน้ า กำรเปรี ยบเทียบกลยุทธ์บริษัท รอยัล เปอร์ ซเลน จำกัด กับกรณีศกึ ษำบริษัท ครำวน์เซรำมิคส์ จำกัด กำรประยุกต์ใช้ แนวคิดแบบลีนโดยวงจร PDCA กำรจัดกำรควำมด้ อยประสิทธิภำพ ประสิทธิภำพกำรบริหำรต้ นทุนโดยใช้ แนวคิดแบบลีนใน กรณีศกึ ษำบริษัท ครำวน์เซรำมิคส์ จำกัด กำรวิเครำะห์ผลกำรดำเนินงำน กำรวิเครำะห์ฐำนะกำรเงิน กำรประเมิน เปรี ยบเทียบกำรทำงำนของ บริษัท ครำวน์เซรำมิคส์ จำกัด กับแนวทำงกำรพัฒนำที่ยงั่ ยืน กำรนำแนวคิดแบบลีนมำใช้ เพื่อกำรพัฒนำไปสูค่ วำมยัง่ ยืนทำงธุรกิจ บทที่ 5 สรุปผลและข้ อเสนอแนะ ข้ อสรุปผลกำรศึกษำ ข้ อเสนอแนะสำหรับบริษัท ข้ อเสนอแนะสำหรับผู้อื่น ที่มีศกึ ษำงำนนี ้และต้ องกำรศึกษำเพิ่มเติม บรรณำนุกรม

103 106 108 108 113 115 120 121 123 123 125 (11)


(7)

สารบัญภาพ ภาพที่ 2-1 2-2 2-3 2-4 2-5 2-6 2-7 2-8 2-9 2-10 2-11 2-12 2-13 2-14 2-15 2-16 2-17 2-18 2-19 2-20 2-21

ผลสำรวจสภำวะกำรทำงำนของประชำกรไตรมำสสี่ปี 2554 ดัชนีควำมสุขมวลรวมของคนไทยตังแต่ ้ มี.ค.2552-2555 สัดส่วนกำรคลอดบุตรของมำรดำวัยรุ่น กำรบริโภคและกำรลงทุนภำคเอกชน รำยได้ เกษตรกร จำนวนผู้วำ่ งงำน ร้ อยละของประชำกรอำยุ 6 ปี ขึ ้นไปที่ใช้ คอมพิวเตอร์ อินเตอร์ เน็ต และโทรศัพท์มือถือ ร้ อยละของผู้บริโภคที่ประสบปั ญหำจำกกำรซื ้อหรื อใช้ บริ กำรในปี 2554 จำนวนคดีอำญำในสังคมไทยรำยไตรมำสปี 2551-2554 กรำฟดัชนีชี ้วัดภำพลักษณ์คอรัปชัน่ (CPI) ในปี 2545- 2552 ตัวอย่ำงของระบบทุนนิยม ระดับควำมรู้เรื่ อง ควำมสำมำรถด้ ำนกำรอ่ำน (literacy), ผลกำรประเมิน PISA ปี 2009 องค์กรกำรค้ ำโลก (World Trade Organization: WTO) นโยบำยเขตกำรค้ ำเสรี (Free Trade Area: FTA) ประชำคมอำเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) น ้ำท่วมครัง้ ใหญ่ในประเทศไทย กราฟแสดงคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครตัง้ แต่ปี 2535-2554 กราฟแสดงคุณภาพน้าผิวดินทัวประเทศ ่ 2552-2554 ปริมาณขยะมูลฝอยจาแนกตามพืน้ ที่ เปรียบเทียบลักษณะธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับ กับสภาวะการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจโลก สรุปปจั จัยทีส่ ่งผลกระทบต่อศักยภาพการประกอบการและ แนวทางในการบริหารจัดการเพื่อเพิม่ ศักยภาพทางการแข่งขัน

หน้ า 5 6 7 9 10 11 11 13 13 14 15 18 20 21 22 25 26 27 28 29 30


(8)

สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ 2-22 2-23 2-24 2-25 2-26 2-27 2-28 2-29 2-30 2-31 2-32 2-33 2-34 2-35 2-36 2-37 2-38 2-39 2-40 2-41 2-42 2-43 2-44 2-45 2-46

เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สรุปองค์ประกอบการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น หลักการในการบริหารจัดการองค์กร องค์ประกอบทีส่ าคัญ 6 ประการของหลักธรรมาภิบาล สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงปจั จัยทีน่ าไปสู่การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ ของเสียตามมุมมองตามแนวคิดของ ABC, EMA และ LEAN เปรียบเทียบของเสียตามมุมมองตามแนวคิดของ ABC, EMA และ Lean องค์กรแห่งลีน การขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการ ห่วงโซ่อุปทาน Henry Ford ผูก้ ่อตัง้ บริษทั ผลิตรถยนต์ฟอร์ด Taiichi Ohno และระบบการผลิตแบบโตโยต้า James P.Womack และ “The Machine That Changed The World” โมเดลระบบการผลิตแบบโตโยต้า แนวคิดการบริหารจัดการตามแนวคิดแบบลีน ความสมบูรณ์แบบ (perfection) ขัน้ ตอนการสร้างการผลิตแบบลีน muri muda และ mura ความสูญเปล่า 7 ประการ การบัญชีแบบดัง้ เดิมและแบบลีน งบกาไรขาดทุนแบบดัง้ เดิม งบกาไรขาดทุนแบบลีน การนาเสนอข้อมูลทีเ่ ป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน กรอบแนวคิดการศึกษา

หน้ า 32 35 38 38 41 42 46 49 50 52 54 57 58 59 59 60 62 62 64 65 70 72 73 74 77


(9)

สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ 3-1 3-2 3-3 3-4 3-5 3-6 3-7 3-8 3-9 3-10 3-11 3-12 4-1 4-2 4-3 4-4 4-5 4-6 4-7

บริษทั ในเครือของบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด โครงสร้ ำงองค์กรในส่วนงำนต่ำงๆ ผู้บริหำรบริ ษัท ครำวน์เซรำมิคส์ จำกัด รำยชื่อคณะทำงำนในโครงกำรลีน ชุดอำหำรใช้ สำหรับโรงแรม ชุดอำหำรสำหรับมื ้อเย็น ชุดแก้ วเซรำมิค ชุดเซรำมิคสำหรับลูกค้ ำออกแบบเอง ตัวอย่ำงผลิตภัณฑ์ ขันตอนกำรด ้ ำเนินงำนในกำรผลิตเซรำมิค สัดส่วนกำรขำยของลูกค้ ำต่ำงประเทศและในประเทศ สัดส่วนของกำรขำยของลูกค้ ำในโซนต่ำงๆ บนโลก ผลิตภัณฑ์ของบริษัท ครำวน์เซรำมิคส์ จำกัด ของเสียของผลิตภัณฑ์ JMSC76 ของเสียชนิดรู และเบี ้ยวไม่ได้ มำตรฐำน ควำมสัมพันธ์ของสำเหตุของปั ญหำและปั ญหำที่เกิด ลำดับกำรแก้ ปัญหำที่แท้ จริง ถังกวนน ้ำเคลือบ วงจร PDCA

หน้ า 82 83 84 85 86 86 87 87 88 88 90 90 99 99 100 100 101 101 106


(10)

สารบัญตาราง ตารางที่ 4-1 4-2 4-3 4-4 4-5 4-6 4-7 4-8 4-9 4-10 4-11 4-12

หน้ า เปรี ยบเทียบกลยุทธ์บริษัท รอยัล เปอร์ ซเลน จำกัด (มหำชน) กับบริ ษัท ครำวน์เซรำมิคส์ จำกัด วิธีกำรจัดกำรของเสีย ผลลัพธ์ที่เกิดจำกกำรปรับปรุงหลังนำแนวคิดแบบลีนมำใช้ โครงสร้ ำงรำยได้ ของปี 2551-2553 โครงสร้ ำงค่ำใช้ จำ่ ยของปี 2551-2553 โครงสร้ ำงกำไรสุทธิของปี 2551-2553 เงินสดและเงินฝำกสำบันกำรเงินของปี 2551-2553 ลูกหนี ้กำรค้ ำของปี 2551-2553 สินค้ ำคงเหลือของปี 2551-2553 เจ้ ำหนี ้กำรค้ ำของปี 2551-2553 กำรวิเครำะห์อตั รำส่วนทำงกำรเงินของบริ ษัทปี 2551-2553 เปรี ยบเทียบกำรทำงำนของบริษัท ครำวน์เซรำมิคส์ จำกัด กับแนวทำงกำรพัฒนำอย่ำงยัง่ ยืน

103 108 108 113 114 114 115 115 116 116 117 120


11

บทที่ 1 บทนำ ที่มำและควำมสำคัญ ปจั จุบนั โลกของธุรกิจมีการแข่งขันรุนแรง ปจั จัยทางลบทีส่ ่งผลกระทบต่อธุรกิจไม่ว่าจะ เป็ นระบบทุนนิยมที่มุ่งหวังผลกาไร การแข่งขันทางด้านราคาและช่องทางการจัดจาหน่ าย เกิด การกีดกันทางการค้าขึน้ เป็ นที่มาของการเปิ ดเสรีทางการค้า โดยกลุ่มธุรกิจของประเทศไทย เผชิญกับปญั หาความไม่มนคงทางการเมื ั่ อง ปญั หาคอร์รปั ชัน่ ปญั หาการศึกษาด้อยคุณภาพ ปญั หาทรัพยากรธรรมชาติท่นี ับวันยิง่ เสื่อมโทรม ระบบเศรษฐกิจของไทยที่มลี กั ษณะเป็ นการ รับจ้าง และที่ สาคัญ ผลกระทบจากเห ตุ ก ารณ์ ม หาอุ ท กภัย ครัง้ ใหญ่ ใ นปี 2554 ส่งผล ต่ อ การตัด สิน ใจในการลงทุ น และเสถีย รภาพในการด าเนิ น ธุ ร กิจ ต่ อ ไป ท าให้ม ีแ นวโน้ ม ที่ นักลงทุนเตรียมแผนย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศเพื่อนบ้านแทนที่จะพัฒนาฟื้นฟูโรงงานและ ั หาทัง้ หมดมาจากคนในสัง คมมีค วามตกต่ า แหล่ ง ผลิต ในประเทศไทย โดยสาเหตุ ข องป ญ ทางด้านศีลธรรม และความต้องการด้านวัตถุอย่างไม่จากัด ซึง่ ในทีน่ ้คี อื อานาจเงิน เพื่อให้ธุรกิจ สามารถอยู่ร อดได้ ผู้บ ริห ารควรพิจ ารณาบริห ารต้น ทุ น ในองค์ก ารให้ม ีศ ัก ยภาพสู ง สุ ด ใน การปฏิบตั ิงานและให้เ กิดประสิทธิภาพสูงสุ ดในทุกๆ ส่ว นงาน ซึ่งจะทาให้การบริหารงานมี คุณภาพ สามารถเพิม่ ศักยภาพในการแข่งขันระยะยาวในองค์การได้ ปจั จุบนั เครื่องมือหรือเทคนิคการบริหารต้นทุนมีหลากหลาย สาหรับธุรกิจผลิตที่มกี าร นาระบบบัญชีต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) มาใช้ เพื่อจาแนกต้นทุนที่ แท้จริงในแต่ละกิจกรรม การจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management: SCM) เป็ น แนวคิดที่เชื่อมโยงเครือข่ายทางธุรกิจ ให้มกี ารลดต้นทุนในทุกห่วงโซ่อุปทาน การนาหลักการ เศรษฐกิจพอเพียง (sufficiency economy) มาปฏิบตั ิ เพื่อให้องค์การสามารถดาเนินอยู่รอดได้ ด้ว ยตัว เอง และการจัด การของเสีย ที่ จ าแนกต้น ทุ น เป็ น ข้อ เสีย และของดีอ อกจากกัน โดย รับ ผิด ชอบตัง้ แต่ ภ ายในจนถึ ง ภายนอกองค์ ก ารด้ ว ยหลัก การบัญ ชีบ ริห ารสิ่ง แวดล้ อ ม (Environmental Management Accounting: EMA) ซึง่ สาหรับในปจั จุบนั วิวฒ ั นาการทีส่ าคัญที่ สามารถทาให้การบริหารต้นทุนเกิดประสิทธิภาพสูงสุดคือ ลีน (Lean) เป็ นการจัดการของเสียใน กระบวนการผลิตให้เป็นศูนย์ แต่ละองค์การควรมีนโยบายการดาเนินงานทีด่ ี หลักธรรมาภิบาลที่ ดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทัง้ การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึน้ กับทรัพยากร มนุ ษ ย์ หากองค์ก ารสามารถปฏิบตั ิได้ต ามแนวคิดข้างต้น องค์ก ารก็จะนามาซึ่งการบริหาร ต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยังยื ่ น


2 วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ จากความสาคัญของปญั หาข้างต้น ทาให้การศึกษาปญั หาพิเศษเรื่อง การบริหารต้นทุน โดยระบบการผลิต และระบบบัญ ชีแ บบลีน กรณี ศึ ก ษาบริษั ท คราวน์ เ ซรามิค ส์ จ ากั ด มีวตั ถุประสงค์ของการศึกษาดังนี้ 1. เพื่อ ศึก ษาเกี่ย วกับ สาเหตุ ก ารน าแนวคิด แบบลีน มาประยุ ก ต์ ใ ช้ใ นกรณีศึก ษา บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด 2. เพื่อศึกษาเกีย่ วกับแนวคิดแบบลีนในการบริหาร เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในกรณีศกึ ษา บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด 3. เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการประยุ ก ต์ ใ ช้ แ นวคิ ด แบบลี น ในกรณี ศึ ก ษาบริ ษั ท คราวน์เซรามิคส์ จากัด 4. เพื่อ ศึก ษาประสิทธิภาพการบริหารต้น ทุน โดยใช้แ นวคิดแบบลีน ในกรณีศึกษา บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด 5. เพื่อศึกษาการนาแนวคิดแบบลีนมาใช้เพื่อการพัฒนาไปสู่ความยังยื ่ นทางธุรกิจ ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รบั จำกกำรศึกษำ การศึกษาปญั หาพิเศษเรือ่ ง การบริหารต้นทุนโดยระบบการผลิตและระบบบัญชีแบบลีน กรณีศกึ ษาบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด ซึง่ ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั มีดงั นี้ 1. ทาให้ท ราบถึง สาเหตุ การน าแนวคิด แบบลีน มาประยุกต์ใ ช้ใ นกรณีศึกษาบริษัท คราวน์เซรามิคส์ จากัด 2. ทาให้ทราบถึง แนวคิด แบบลีนในการบริหาร เพื่อนามาประยุกต์ใ ช้ในกรณีศึกษา บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด 3. ทาให้ทราบถึงแนวทางการประยุกต์ใช้แนวคิดแบบลีนในกรณีศกึ ษาบริษทั คราวน์ เซรามิคส์ จากัด 4. ทาให้ทราบถึงประสิทธิภาพการบริหารต้นทุน โดยใช้แนวคิดแบบลีนในกรณีศกึ ษา บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด 5. ทาให้ทราบถึงการนาแนวคิดแบบลีนมาใช้เพื่อการพัฒนาไปสู่ความยังยื ่ นทางธุรกิจ


3 วิ ธีกำรศึกษำ การศึกษาปญั หาพิเศษเรือ่ ง การบริหารต้นทุนโดยระบบการผลิตและระบบบัญชีแบบลีน กรณีศกึ ษาบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด มีวธิ กี ารศึกษาดังนี้ 1. ทาการค้นหาข้อมูลเบื้องต้นของบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด เพื่อให้ทราบข้อมูล ของบริษทั คร่าวๆ ก่อนการเข้าไปสัมภาษณ์ 2. ทาการสัมภาษณ์ ข้อ มูล ในด้านต่ างๆ ของบริษัท ได้แก่ ข้อมูล ภายในของบริษัท ข้อมูลการดาเนินงานในกระบวนการผลิต เป็นต้น 3. ทาการศึกษาจากเอกสารทีบ่ ริษทั ได้ให้มาเป็นแนวทางในการศึกษา ได้แก่ เอกสารที่ แสดงถึงผลการดาเนินงานของกิจการตามแนวคิดแบบลีน ขอบเขตกำรศึกษำ การศึกษาปญั หาพิเศษเรือ่ ง การบริหารต้นทุนโดยระบบการผลิตและระบบบัญชีแบบลีน กรณีศกึ ษาบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด คณะผูจ้ ดั ทาได้ทาการศึกษาและค้นคว้า โดยขอบเขต ของการศึกษาปญั หาพิเศษจะศึกษาถึงแนวทางและวิธปี ฏิบตั ิในการนาหลักการระบบการผลิต แบบลีนและการบัญชีแบบลีน มาประยุกต์ใช้กบั บริษัท ประสิทธิภาพการบริหารต้นทุนโดยใช้ ระบบการผลิตแบบลีน และผลกระทบทีเ่ กิดจากการนาหลักการระบบการผลิตแบบลีนและการ บัญชีแบบลีนมาประยุกต์ใช้ นิ ยำมศัพท์ กำรพัฒนำอย่ำงยังยืน (sustainable) (ชัยอนันต์ สมุทวณิช, 2541) ได้ให้คานิยามไว้ ว่า การตอบสนองความต้องการในรุน่ ปจั จุบนั โดยไม่ส่งผลกระทบในทางลบต่อความต้องการใน รุน่ ต่อไปในอนาคต กำรบริ หำรต้นทุน (cost management) (โกศล ดีศลี ธรรม, 2547) ได้ให้คานิยามไว้ว่า การดาเนินงานให้ เป็ นไปตามเป้าหมายของกิจการคือ การมีกาไรสูงสุด ซึ่งจาเป็ นต้อ งอาศัย ระบบบัญชีต้นทุนและการบริหารต้นทุนที่มปี ระสิทธิภาพ การบริหารต้นทุนไม่ให้เกิดการสูญ เปล่าหรือรัวไหล ่ การใช้ทรัพยากรทีม่ อี ย่างคุม้ ค่าล้วนแต่ตอ้ งอาศัยข้อมูลด้านต้นทุนทัง้ สิน้ ดังนัน้ ตัวเลขทีถ่ ูกต้องแม่นยาและทันเหตุการณ์เท่านัน้ ทีจ่ ะมีชยั เหนือคู่แข่งได้ กำรบัญชี บริ หำร (managerial accounting) (วิโรจน์ เฉลิมรัตนา, 2549) ได้ให้คานิยาม ไว้ว่า เป็ นการนาข้อมูลทางการบัญชีมาใช้ประโยชน์ภายในองค์ก าร โดยเฉพาะที่เป็ นข้อมูลใน


4 การวางแผน การควบคุ ม และการประเมินผลของฝ่ายบริหาร เป็ นข้อ มูล เชิงลึก ที่มากกว่าที่ ปรากฏอยูใ่ นงบการเงิน และเป็นความลับของระดับบริหารเท่านัน้ ลีน (Lean) (ประดิษฐ์ วงศ์มณี และคณะ, 2552) ได้ให้คานิยามไว้ว่า เป็ นปรัชญาในการผลิต ทีถ่ อื ว่าความสูญเปล่า (waste) เป็นตัวการทีท่ าให้เวลาทีใ่ ช้ในการผลิตยาวนานขึน้ จึงนาเทคนิค ต่างๆ มาขจัดความสูญเปล่า แนวคิ ดแบบลีน (Lean) (พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย, 2553) ได้ให้คานิยามไว้ว่า แนวคิด ทีม่ วี ตั ถุประสงค์ทจ่ี ะพยายามขจัดความสูญเปล่า (waste/MUDA) ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในกระบวนการ ดาเนิ น งานขององค์ ก าร กำรบัญชีแบบลีน (accounting Lean) (มังกร โรจน์ประภากร, 2552) ได้ให้คานิยาม ไว้ว่า เป็ นการทาบัญชีตามหลักแนวคิดของลีน ซึ่ง เป็ นส่วนหนึ่งของการบัญชีต้นทุน โดยการ เปลีย่ นจากการบัญชีต้นทุนแบบเดิมมาเป็ นแนวคิดของลีน เพื่อนาระบบบัญชีไปใช้กบั ระบบการ จัดการและการผลิตตามแนวคิดของลีนอย่างถูกต้องและเหมาะสม กำรผลิ ตแบบลีน (Lean manufacturing) (โกศล ดีศลี ธรรม, 2547) ได้ให้คานิยามไว้ ว่า การสร้างคุณค่าโดยมุ่งขจัดความสูญเปล่าและการเพิม่ ความยืดหยุ่นขององค์ก ารด้วยการคิด ใหม่ เพื่อ สร้างคุณ ค่าตลอดทัง้ กระบวนการตัง้ แต่ช่วงเริม่ แรกของการวางแผน โดยลีนจะมุ่ง จาแนกความสูญเปล่าเพื่อดาเนินการขจัด และปรับปรุงกระบวนการด้วยการระบุและสร้างคุณค่า ในการปฏิบตั กิ าร


5

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง สภาวะเศรษฐกิ จ สังคม และสิ่ งแวดล้อมปัจจุบนั ของประเทศไทย 1. ในภาพรวมทัง้ ประเทศ 1.1 สภาวะเศรษฐกิจ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้รายงานว่า เมื่อปี 2554 เศรษฐกิจไทยในสาม ไตรมาสแรกมีการขยายตัวเพิม่ ขึ้น แม้จะได้รบั ผลกระทบทัง้ ภัยพิบตั ิในประเทศ ญี่ปุ่นและการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก พบว่า แนวโน้ มปี 2554 มีการขยายตัว ของเศรษฐกิจ ซึ่งขึน้ อยู่กบั ระยะเวลาที่ใช้ในการฟื้ นตัวเป็ นปกติของภาคการผลิต มาตรการในการบริหารจัดการน้ าของภาครัฐ และภาวะเศรษฐกิจโลก ซึง่ ส่วนหนึ่ง ขึน้ อยู่กบั การแก้ไขปญั หาหนี้สาธารณะของกลุ่มประเทศยูโร ส่วนอัตราเงินเฟ้อมี แนวโน้ มชะลอลงตามราคาน้ ามันและสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลก แม้ จะมีแรง กดดันบ้างจากการฟื้นตัวของภาคเอกชนและผลของนโยบายภาครัฐ เช่น การปรับ ขึน้ ค่าจ้างขัน้ ต่าและโครงการรับจานาข้าว 1.2 สภาวะสังคม 1.2.1 ด้านการจ้างงาน

ภาพที่ 2-1 ผลสารวจสภาวะการทางานของประชากรไตรมาสสีป่ ี 2554 ทีม่ า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. www.service.nso.go.th. (19 มีนาคม 2555)


6 อัตราการว่างงานอยู่ในระดับต่ าร้อยละ 0.6 แต่จานวนชัวโมงการ ่ ทางานลดลง จึงทาให้เกิดการว่างงานแฝง สถานการณ์ด้านการว่างงานที่ เกิดขึ้นนัน้ ไม่สอดคล้องกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และยังไม่สะท้อนถึง ภาวะน้ าท่ วมในช่วงที่ผ่ านมา เนื่องจากช่ วงที่เกิดมหาอุ ทกภัยน้ าท่วม ภาคค้าส่งและค้าปลีกมีการจ้างงานทีเ่ พิม่ มากขึน้ ตามความต้องการในการ กัก เก็ บสินค้ าของผู้ บริโภค ผู้ ประกอบการบางส่ ว นอยู่ ใ นช่ ว งที่ขาด ฐานข้อมูลการจ้างงานที่จะนามาใช้ในการปรับแผนการจ้างงานได้ การลด การจ้างงานส่ วนหนึ่ งเป็ นการลดจ านวนชัว่ โมงการท างาน นอกจากนี้ แรงงานภาคเกษตรจานวนมากเป็ นแรงงานรอฤดูกาล ซึ่งไม่ได้ถูกนับว่า เป็นผูท้ ว่ี ่างงาน ดังนัน้ ในภาพรวมจึงเห็นได้ว่าการจ้างงานในไตรมาสทีส่ ป่ี ี 2554 ยังคงเพิม่ ขึน้ จากปี 2553 ซึง่ ไม่ตรงกับสภาพความเป็ นจริงในช่วงที่ เกิดสภาวะน้าท่วม 1.2.1 ด้านสุขภาพ

ภาพที่ 2-2 ดัชนีความสุขมวลรวมของคนไทยตัง้ แต่ มี.ค.2552-ม.ค.2555 ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อ้างถึง ศูนย์วจิ ยั ความสุขชุมชน มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ. www.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555) จากแผนภาพแสดงดัชนีความสุขมวลรวมของคนไทยตัง้ แต่ มี.ค. 2552 - ม.ค. 2555 พบว่า ความสุขมวลรวมของคนไทยลดลงในเดือนมกราคม 2555 อยูท่ ่ี 6.66 มีผปู้ ว่ ยด้วยโรคจิตเวชทีม่ ารับบริการเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องปญั หา สุขภาพและการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อและไม่ตดิ ต่อเรื้อรังอยู่ในระดับสูง


7 และมีแนวโน้ มเพิม่ ขึ้นอย่างต่ อเนื่อง ดังนัน้ ภาครัฐจึงต้องให้ความรู้แก่ ประชาชนในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค 1.2.2 ด้านพฤติกรรมและความเป็นอยูข่ องคน

ภาพที่ 2-3 สัดส่วนการคลอดบุตรของมารดาวัยรุ่นพ.ศ.2553 จาแนกตามอายุ ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อ้างถึงศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงาน ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุ ่ ษย์. www.nesdb.go.th. (19 มีนาคม2555) พฤติกรรมเสี่ยงเรื่องการดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มเด็กและเยาวชน อายุ 15-24 ปีมมี ากขึน้ เนื่องจากสภาพแวดล้อมทีส่ ามารถหาซือ้ ได้ง่ายขึน้ และยังพบว่าคนไทยมีอตั ราการดื่มแอลกอฮอล์ทเ่ี พิม่ สูงมากขึน้ ในแต่ละปี ทางด้านการใช้เทคโนโลยีท่ไี ม่เหมาะสมในเด็กวัยรุ่นมีเพิม่ มากขึน้ โดยมี สาเหตุมาจากการขยายตัวของเครือข่ายทางสังคมในโลกออนไลน์มากขึน้ ส่ งผลต่ อความมันคงและความปลอดภั ่ ยต่ อ ชีว ิตเด็กและเยาวชนอย่าง มากมาย สัดส่ วนการคลอดบุตรของมารดาวัยรุ่น มีแนวโน้ มที่เพิ่มสูงขึ้น โดยอัตราการคลอดบุตรของหญิงไทยอายุต่ ากว่า 20 ปี เพิม่ สูงกว่าเกณฑ์ ขององค์การอนามัยโลก และมีสถิตสิ ูงสุดในเอเชีย ส่งผลกระทบต่อปญั หา สุขภาพมารดาและการพัฒนาการของเด็กที่เกิดมา รวมทัง้ ปญั หาสังคมใน เรือ่ งของการทาแท้งและการเลีย้ งดูทไ่ี ม่เหมาะสมเพิม่ ขึน้


8 1.2.3 ด้านความมันคงทางสั ่ งคม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้รายงานว่า ในไตรมาสที่ 4 ปี 2554 ภาวะสังคมไทยทีเ่ กี่ยวกับคดีอาญา โดยรวมเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะยาเสพติด กลุ่มวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี มีการเสพ ยาที่เพิม่ ขึ้นโดยเฉพาะยาไอซ์ภาครัฐและภาคเอกชนต้องให้ความสนใจ พร้อมกับออกกฎหมายที่ระบุถึงความรับผิดที่ชดั เจนขึ้น ด้านอุ บตั ิเหตุ จราจรทางบกมีจานวนลดลง แต่อนั ตรายถึงขัน้ เสียชีวติ มีเพิม่ มากขึน้ โดย กลุ่มเยาวชนและแรงงานที่มพี ฤติกรรมขับขี่ท่ไี ม่เหมาะสมมีเพิม่ มากขึ้น ภาครัฐและเอกชนควรสนับสนุ นให้สร้างค่านิยมความปลอดภัยในการใช้ รถใช้ถนนในสังคมรวมทัง้ ติดตามและผลักดันให้เกิดการบังคับใช้กฎหมาย อย่างเคร่งครัด 1.3 สภาวะสิง่ แวดล้อม สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (2553) ได้ รายงานสถานการณ์คุณภาพสิง่ แวดล้อมว่า สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมของประเทศไทยในช่วงที่ผ่ านมามีปญั หาในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็ น ความเสื่อมโทรมของการใช้ท่ดี นิ ผิดประเภท และการขาดการกระจายการถือครอง ที่ดนิ นอกจากนี้การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพมีแนวโน้ มเพิม่ ขึน้ อย่าง ต่อเนื่องซึง่ ประเทศไทยต้องใช้ความพยายามในการอนุ รกั ษ์ความหลากหลายทาง ชีวภาพโดยสนับสนุ นการศึกษาวิจยั และตระหนักให้ประชาชนเห็นความสาคัญของ การอนุรกั ษ์ความหลากหลายทางชีวภาพมากขึน้ ประเทศไทยมีส ัดส่ วนของการปล่ อยก๊ าซเรือนกระจกเป็ นจ านวนมาก ั หามลพิษ อากาศด้ า นป ญ ั หาการจัด การขยะที่ ย ัง ไม่ ส ามารถ ก่ อ ให้ เ กิ ด ป ญ ดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและทัวถึ ่ ง ซึง่ เป็ นปญั หาสาคัญในเมืองใหญ่และ ั หาสิ่งแวดล้อมชุ มชนเกิดจากการเพิ่มขึ้นของประชากรไม่ แหล่ งชุ มชนด้านป ญ สอดคล้องกับศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติและบริการขัน้ พื้นฐานเนื่องจาก เศรษฐกิจขยายตัวประชากรจึงย้ายถิ่นฐานเข้าสู่เมืองเพิม่ ขึ้นปญั หาสิง่ แวดล้อม ชุมชนทีส่ าคัญเช่นปญั หามลพิษต่างๆ ปญั หาชุมชนแออัดและปญั หามลทัศน์ การดาเนินชีวติ ของมนุ ษย์กบั สิง่ แวดล้อมจึงเป็ นสิง่ ทีต่ ้องดาเนินควบคู่กนั ไปพร้อมกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ดงั นัน้ การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสภาพ สิง่ แวดล้อมจึงต้องพิจารณาในการจัดรูปแบบของสังคมและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อการดารงชีวติ ของประชาชนด้วยเหตุน้ีการดาเนินมาตรการด้านการอนุ รกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงต้ องเป็ นไปภายใต้ เงื่อนไขของการใช้ ประโยชน์อย่างยังยื ่ นมากกว่าการอนุรกั ษ์เพียงอย่างเดียว


9 2. ภาคเอกชนผูป้ ระกอบการประเภทต่างๆ 2.1 สภาวะเศรษฐกิจ

ภาพที่ 2-4 การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน ทีม่ า: ธนาคารแห่งประเทศไทยอ้างถึง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. www.bot.or.th. (19 มีนาคม 2555) จากผลกระทบของมหาอุทกภัยในปี 2554 ทีเ่ กิดขึน้ ด้านภาคอุตสาหกรรม ได้รบั ผลกระทบอย่างรุนแรง เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมผลิต ชิน้ ส่วนบางพืน้ ทีโ่ ดนน้าท่วม ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากมายในปี 2554 ไตร มาสที่ 4 ภาคอุตสาหกรรมได้รบั ผลกระทบอย่างหนักจากการทีน่ ้ าท่วมโรงงานในบาง แห่งของไทยซึง่ เป็ นศูนย์กลางการผลิตอุตสาหกรรมสาคัญและมีเครือข่ายการผลิต ทีซ่ บั ซ้อน เช่น ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ ฮาร์ดไดร์ฟ และเครื่องใช้ไฟฟ้า ส่งผลให้ การผลิตหยุดชะงัก ขาดแคลนชิน้ ส่วน และส่งผลต่อการคมนาคมขนส่ง


10

ภาพที่ 2-5 รายได้เกษตรกร ทีม่ า: ธนาคารแห่งประเทศไทย อ้างถึง สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. www.bot.or.th. (19มีนาคม 2555) ทางด้านภาคเกษตรกรรม ถึงแม้ว่าผลผลิตในภาคกลางจะได้รบั ผลกระทบ จากมหาอุทกภัยโดยเฉพาะข้าว แต่ผลผลิตเกษตรอื่นๆ ยังคงขยายตัวตามการเพิม่ พื้นที่เพาะปลูก ซึ่งเมื่อประกอบกับราคาสินค้าเกษตรที่ยงั มีขยายตัวดี ส่งผลให้ รายได้เกษตรกรขยายตัวต่อเนื่องจากปีก่อน สาหรับในภาพรวม ปญั หาในภาคการผลิตทาให้สนิ ค้าขาดแคลน ส่งผลให้ การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนทีข่ ยายตัวดีในช่วงสามไตรมาสแรกต้องสะดุด ลง แม้ปจั จัยสนับสนุ นการบริโภคและการลงทุนจะยังคงอยู่ในเกณฑ์ดี ไม่ว่าจะเป็ น รายได้ทงั ้ ในและนอกภาคเกษตร ความเชื่อมันของทั ่ ง้ ผูบ้ ริโภคและนักธุรกิจ รวมทัง้ ภาวะการเงินมีการคลายตัวลง


11 2.2 สภาวะสังคม

ภาพที่ 2-6 จานวนผูว้ ่างงาน ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อ้างถึง สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. http://social.nesdb.go.th (19 มีนาคม 2555) ปจั จุ บนั ประเทศไทยก าลังพัฒนาเป็ นประเทศของอุ ตสาหกรรม ท าให้ ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทมากขึน้ แต่ปลายปี 2554 ภาคเอกชนได้ประสบกับวิกฤต อุทกภัยทาให้การดาเนินงานต้องหยุดชะงักลง และมีผลกระทบในด้านต่างๆ ที่ สาคัญคือ คนงาน จากภาพจะเห็นได้ว่าอัตราการว่างงานมีจานวนที่ลดลงอยู่ใน ระดับต่ าร้อยละ 0.6 เพราะภาคเอกชนต้องใช้แรงงานเพื่อเข้ามาฟื้นฟูกจิ การให้สามารถ กลับมาดาเนินกิจการได้

ภาพที่ 2-7 ทีม่ า:

ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขน้ึ ไปทีใ่ ช้คอมพิวเตอร์อนิ เตอร์เน็ต และโทรศัพท์มอื ถือ สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. www.nso.go.th. (19มีนาคม 2555)


12 นอกจากนี้สภาพสังคมในปจั จุบนั เป็ นสังคมเมือง มีรูปแบบการใช้ชวี ติ ที่ เร่งรีบ รักความสะดวกสบายและความรวดเร็วมากขึน้ ทาให้ภาคเอกชนต้องหันมา ให้ความสนใจเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคมากขึน้ เป็ นการ สร้างรายได้ แ ละขยายฐานลู กค้ า อีก ทัง้ ในการสื่อ สารที่รวดเร็ว ขึ้นโดยผ่ า น เทคโนโลยีท่สี ามารถครอบคลุ มทุกกลุ่ มผู้บริโภค จากภาพ พบว่ า มีประชากร เพิม่ ขึ้นทุกปี ในการใช้เทคโนโลยีด้านการสื่อสาร ทาให้ภาคเอกชนจาเป็ นต้องให้ ความสาคัญเรื่องการสื่อสารกับผู้บริโภคมากขึน้ นัน่ หมายถึงภาคเอกชนต้องแบก รับภาระทางด้านต้นทุนเพื่อใช้ในการสื่อสาร โฆษณา หรือใช้ในการติดต่อทาให้ สินค้าหรือการบริการของภาคเอกชนเข้าถึงกลุ่มผูบ้ ริโภคมากขึน้ 2.3 สภาวะสิง่ แวดล้อม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2555) ได้ รายงานสภาวะสิ่งแวดล้อมของภาคเอกชนในประเทศไทยว่ า สถานการณ์ ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมของประเทศไทยในปจั จุบนั มีแนวโน้มเสื่อม โทรมรุนแรงขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงทัง้ ในด้านกายภาพ การใช้ประโยชน์ การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศส่งผลให้สถานการณ์และแนวโน้ มความเสื่อมโทรม ของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมทวีความรุนแรง โดยเฉพาะการขาดแคลน น้ ารูปแบบและพฤติกรรมการบริโภคที่ฟุ่มเฟื อยทัง้ ในภาคประชาชนและภาคการ ผลิต ท าให้มกี ารใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง ไม่คุ้มค่ า และมีปริมาณของเสีย เพิม่ ขึน้ ปจั จุบนั ภาคธุรกิจเอกชนได้มสี ่วนส าคัญอย่างยิง่ ในการดูแลรักษาและ ฟื้ นฟู ส ิ่งแวดล้อม ซึ่งภาคเอกชนเองได้ม ีการจัดโครงการเพื่อรณรงค์เกี่ยวกับ สิง่ แวดล้อมมากมาย รวมไปถึงลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อลดภาวะโลกร้อน อย่างยังยื ่ น ดังนัน้ ภาคเอกชนจาเป็ นต้องให้ความสาคัญกับสิง่ แวดล้อมในประเทศ ไทยเป็ นอย่างมาก เพราะหากไม่มที รัพยากรเหลืออยู่ ภาคเอกชนก็จะไม่สามารถ ดาเนินการผลิตได้ อีกทัง้ การดูแลรักษาสิง่ แวดล้อมยังเป็ นการสร้างภาพลักษณ์ทด่ี ี ในสายตาผูบ้ ริโภคอีกด้วย ภาคธุ รกิ จเอกชนจะต้ อ งด าเนิ น การเปลี่ยนแปลงโลกทัศ น์ เ กี่ย วกับ สิง่ แวดล้อมธรรมชาติอย่างเร่งด่วน ภาคธุรกิจเอกชนจะต้องมีแนวทางที่กระตุ้นให้ บริษทั ต่างๆ ดาเนินโครงการจัดระบบการศึกษาสิง่ แวดล้อมให้แก่บุคลากรทุกระดับ ทุกสาขาและทุกฝ่าย เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับแนวคิด ค่านิยม และ แนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับระบบการจัดการทางสิง่ แวดล้อม


13 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่ อศักยภาพการดาเนิ นงานของนน่ วยงานภาครัฐและเอกนน 1. ความตกต่ าทางศีลธรรม

ภาพที่ 2-8 ร้อยละของผูบ้ ริโภคทีป่ ระสบปญั หาจากการซือ้ หรือใช้บริการในปี 2554 ทีม่ า: ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ . www.nesdb.go.th. (18 มีนาคม 2555)

ภาพที่ 2-9 จานวนคดีอาญาในสังคมไทยรายไตรมาสปี 2551-2554 ทีม่ า: ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ . www.nesdb.go.th. (18 มีนาคม 2555)


14 เกรียงศักดิ ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ ์ (2546) กล่าวว่า ในปจั จุบนั สภาพความเสื่อมถอย ด้านคุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทยเริม่ เข้าสู่ภาวะวิกฤต สะท้อนได้จากพฤติกรรมของ คนในสังคม วิกฤตด้านคุ ณธรรมจริย ธรรมที่ตกต่ านัน้ สะท้อนในหลายๆ ด้าน เช่ น ั หาการขาดความรับผิดชอบของภาคธุ รกิจ โดยดู ได้จากภาพที่ 2-8 แสดงถึง ปญ ผลกระทบที่ผู้บริโภคประสบปญั หาจากการบริโภคผลิตภัณฑ์ ซึ่งประชาชนยังมีความ เสี่ยงสูงในการบริโภคผลิตภัณฑ์ต่างๆ ปญั หาความรุนแรงที่เพิม่ ขึ้นในสังคม ปญั หา อาชญากรรมยาเสพติด โดยดูได้จากจานวนคดีอาญาทีม่ จี านวนสูงขึน้ ดังแสดงในภาพ ที่ 2-9 การมีบุ ตรก่ อนวัยอันควร การค้าประเวณี เหล่ านี้ ล้วนเกิดจากศีลธรรมของ ประชาชนในสังคมทีเ่ สื่อมโทรมลง ปญั หาด้านคุณธรรมจริยธรรมนี้จะส่งผลโดยตรงต่อ การพัฒนาคน และสังคมไทยในอนาคตอย่างไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ซึ่งเป็ นปญั หา สาคัญทีค่ วรได้รบั การแก้ไขอย่างเร่งด่วน 2. การเมืองและคอร์รปั ชัน่

ภาพที่ 2-10 กราฟดัชนีชว้ี ดั ภาพลักษณ์คอรัปชัน่ (CPI)ในปี 2545- 2552 ทีม่ า: สยามอินเทลลิเจนท์ยนู ิต. www.siamintelligence.com. (18 มีนาคม 2555) ดอกไม้ปลายปื น (2553) กล่ าวว่ า การเมืองมีอิทธิพลต่ อ พัฒนาการทาง เศรษฐกิจของไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นักลงทุนในต่างประเทศมีนโยบายชะลอการ ลงทุ นในประเทศไทย รวมถึงตัดสินใจย้ายไปลงทุนที่ประเทศเพื่อนบ้าน เนื่ องจาก การเมืองไทยมีความวุ่นวายไม่สงบนิ่ง เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ทางด้านการเมือง ได้แก่


15 การปฏิวตั ิการยึดสนามบินนานาชาติทาให้ส่งสินค้าออกไม่ได้ การประกาศใช้ พ.ร.ก. ฉุ กเฉิน ทาให้บริษทั ไม่สามารถทาการผลิตมากกว่า 8 ชัวโมงได้ ่ จึงส่งผลกระทบต่อการ ดาเนินธุรกิจ เกิดการจลาจลระหว่างกลุ่มคนเสือ้ สีต่างๆ เกิดการชุมนุ มทางการเมืองขึน้ ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมันของนั ่ กลงทุน ทาให้สร้างความเสียหายต่อเศรษฐกิจ ปญั หาการคอรัปชันของไทยยั ่ งคงเป็ นปญั หาสาคัญที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น จากการจัดอันดับภาพลักษณ์คอรัปชันโลกขององค์ ่ การเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ ประเทศไทยตกอันดับจากอันดับที่ 78 ในปี 2553 เป็ นอันดับที่ 80 ในปี 2554 ซึง่ วัดจาก ดัชนีช้วี ดั ภาพลักษณ์คอรัปชัน่ (CPI) แสดงในภาพที่ 2-10 ปญั หาคอรัปชันเป็ ่ นตัวกัด กร่อนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจโดยรวม 3. ความล่มสลายและล้มเหลวของระบบทุนนิยม

ภาพที่ 2-11 ตัวอย่างของระบบทุนนิยม ทีม่ า: นิฐนิ ันท์. http://nithinan-note.exteen.com. (21 มีนาคม 2555) มายเฟิ รส์ อินโฟ (2552) ได้กล่าวไว้ว่า สังคมของโลกทุนนิยมนัน้ มีหลักการที่ ให้ เ สรีภาพ โดยที่ก ลไกตลาดจะเป็ นตัวก าหนดความเป็ นไปของทุ กสิ่งทุ กอย่ าง แม้กระทังความสั ่ มพันธ์ของผู้คนในสังคมตลอดจนผลิตภัณฑ์ในตลาดจะถูกกาหนดว่า ภายใต้เงื่อนไขและผลิตภัณฑ์ใดจะถู กแลกเปลี่ยน ตลาดแรงงานจะเป็ นตัวกาหนด


16 คุณสมบัตแิ ละค่าแรงงาน ทัง้ สินค้าแรงงานและทักษะของมนุ ษย์ท่เี ป็ นประโยชน์จะถูก นามาแลกเปลี่ยนอย่างเสรีภายใต้เงื่อนไขของตลาด ผลิตภัณฑ์ใดก็ตามจะไม่มคี ุณค่า ทางเศรษฐกิจเลยหากไม่มคี วามต้องการผลิตภัณฑ์นนั ้ ในตลาด แรงงานและทักษะของ มนุ ษย์ก็เช่นกันจะไม่มคี ุณค่าอันใดเลยหากไม่มคี วามต้องการของแรงงานและทักษะ นัน้ ในตลาด เจ้าของทุนสามารถทีจ่ ะจ้างแรงงานและสังการให้ ่ ผใู้ ช้แรงงานเหล่านัน้ ผลิต เพื่อให้เกิดผลก าไรจากการลงทุน ผู้ใช้แรงงานจะต้องรับจ้างนายทุนมิฉะนัน้ ก็จะไม่ สามารถหาเลี้ยงชีพได้ โครงสร้างทางเศรษฐกิจเช่นนี้เป็ นผลสะท้อนของระดับการให้ ความส าคัญของคุ ณค่ าต่ างๆ โดยมีเงินทุนสังการแรงงาน ่ และแรงงานทาการผลิต สิง่ ของที่ไม่มชี วี ติ ทีใ่ นบางครัง้ อาจมีค่ามากกว่าแรงงานของตัวผูผ้ ลิตเองทีย่ งั คงมีชวี ติ อยู่ ั หาต่ างๆ ตามมา ซึ่งการเกิดขึ้นของสังคมแบบทุ นนิ ยมย่อมก่ อให้เกิดปญ มากมาย เช่น ปญั หาความไม่สมดุลของความเจริญ เนื่องจากการพัฒนาของสังคมแบบ ทุนนิยมส่งผลต่อการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมมากกว่าการพัฒนาด้านการเกษตร จึงทา ให้เกษตรกรหันมาทางานทางด้านอุ ตสาหกรรมมากขึ้น ตลอดจนปญั หาการพัฒนา อย่างไม่ทวถึ ั ่ ง จึงทาให้เกิดการย้ายถิน่ ฐานของคนเพื่อแสวงหาแหล่งชุมชมที่มคี วาม ั หาการละทิ้ ง ถิ่ น ฐาน ตลอดจนการพัฒ นา เจริญ ที่ม ากกว่ า จึง ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ป ญ อุตสาหกรรมทีม่ ากจนเกินไปย่อมทาให้เกิดปญั หาการกดราคาสินค้าทางการเกษตรให้ อยูใ่ นราคาทีต่ ่าเพื่อการทากาไรของพวกนายหน้า ตลอดระยะเวลาการพัฒนาทุ นนิยมในสังคมไทยจะพบว่าเป็ นความร่วมมือ ระหว่างทุนท้องถิน่ รัฐและต่างชาติในการแสวงหาผลประโยชน์จากสังคมไทยทุนไม่ได้ สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ท่ี ดี แ ละพั ฒ นาชี ว ิ ต ความเป็ นอยู่ ข องชาวบ้ า นอี ก ทั ้ง กระบวนการพัฒนาทุนนิยมทาให้ชนชัน้ ล่างในสังคมไทยไม่มกี นิ และอดอยากทุนนิยม ไม่ได้นาเอาประชาธิปไตยเข้าสู่สงั คมไทยแต่กลับส่งเสริมระบบเผด็จการเสียด้วยซ้า ดังนัน้ กลุ่มคนที่ผลักดันประชาธิปไตยนัน้ กลับเป็ นพวกปญั ญาชนและชนชัน้ ล่างผู้ซ่งึ เสียเปรียบจากการพัฒนาเสียมากกว่า ระบบทุนนิยมมีแนวคิดว่ามนุ ษย์ต้องซื้อ ต้อง ร่ารวย ต้องมีเงินในการซือ้ จับจ่ายใช้สอย เน้นทีอ่ านาจเงินเพื่อความอยูร่ อด ประเทศสหรัฐอเมริกาถือเป็ นต้นแบบของเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี และเริม่ แผ่ขยายอานาจทางเศรษฐกิจออกไปตามประเทศต่างๆ ทัวโลก ่ โดยเฉพาะหลังจากที่ ระบบสังคมนิยมและคอมมิวนิ สต์ของสหภาพโซเวียตได้พ่ายแพ้ และล่ มสลายลงไป อเมริกาได้รุกเข้าสู่ประเทศต่างๆ โดยใช้นโยบายเปิ ดการค้าเสรีและมีสทิ ธิเท่าเทียมกัน ในการดาเนินการทางธุรกิจในแต่ละประเทศ ประเทศไหนที่ยงั คงปิ ดไม่เปิ ดให้อเมริกา เข้าไปลงทุนได้ก็มกั จะถูกโจมตีว่าไม่เป็ นประชาธิปไตย หรือถ้าเข้าไปสู่ประเทศนัน้ ๆ แล้วไม่มชี ่องโอกาสให้รุกเข้าไปสู่ธุรกิจสาคัญๆ เพื่อหวังทรัพยากรธรรมชาติจากผู้อ่นื


17 อเมริกาก็มกั จะใช้วธิ ดี สิ เครดิตความเชื่อมันในการลงทุ ่ นหรือบอยคอตการส่งสินค้าเข้า ไปขายในอเมริกาเอง ยังไม่รวมถึงการพยายามรุกคืบเข้าสู่ประเทศในแถบตะวันออก กลาง เพื่อมุง่ ผลประโยชน์ดา้ นพลังงานเป็นหลัก อย่ างไรก็ตามหากมองในแง่ ดีแล้วก็ จะเห็นว่ า ทุ นนิ ยมเสรีนั น้ ช่ วยท าให้ เศรษฐกิจทัวโลกเติ ่ บโต และมีการแข่งขันอย่างเสรี สร้างบุคลากรที่มคี วามสามารถ ขึน้ มาในระบบเศรษฐกิจเป็ นจานวนมาก แต่ระบบทุนนิยมหาได้มขี อ้ ดีเพียงอย่างเดียว ไม่ ทุนนิยมนัน้ ๆ มีข้อเสียพอๆ กับข้อดี โดยเฉพาะในประเทศกาลังพัฒนาทัวโลกที ่ ่ ต่ างพยายามที่จะใช้ นโยบายระบอบทุ นนิ ยมเลียนแบบสหรัฐ จนต้ องพังทลายทาง เศรษฐกิจมาแล้ว รวมถึงประเทศไทยในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจในปี 2540 การพังทลายลงของระบอบทุนนิยมทีเ่ ชื่อกันว่า เสรีทน่ี าโดยสหรัฐฯ ดังกล่าวนี้ สาเหตุเกิดจากการที่บริษัทต่างๆ ไร้ซ่งึ หลักธรรมาภิบาล มุ่งหวังแต่ผลกาไรและการ ขยายตัวทางธุรกิจ โดยเฉพาะสถาบันการเงินที่ต้องการลงทุนเพื่อเก็งกาไรและขยาย การลงทุน เฉพาะอย่างยิง่ การปล่อยสินเชื่อด้านอสังหาริมทรัพย์เป็ นจานวนมากให้กบั ลูกค้าที่ดอ้ ยคุณภาพโดยไม่คดิ ถึงผลกระทบที่จะตามมา และไม่มกี ารควบคุมดูแลของ ทางภาครัฐ ส่งผลให้เศรษฐกิจเป็ นแบบฟองสบู่ และแตกในเวลาต่ อมา ดูได้จากกรณี เลห์แมน บราเธอร์ส ที่ถือเป็ นการล้มละลายครัง้ รุนแรงที่สุ ดของสหรัฐอเมริกาด้วย ทรัพย์สนิ 691 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยได้ย่นื ล้มละลายไปเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2551 การล้มละลายครัง้ นี้เกิดจากการที่บริษัทในเครือที่ช่ือว่ า บีเอ็นซี มอร์ทเกจ (BNC Mortgage) ได้ปล่อยกู้ให้กบั ลูกค้าทีไ่ ม่มคี ุณภาพในด้านอสังหาริมทรัพย์ ทาให้เกิดหนี้ เสียจ านวนมากตามมา ส่ งผลให้ต้องปิ ดตัวลง จนส่ งผลกระทบมาถึงเลห์แมน บรา เธอร์ส ที่ต้องรับภาระและประสบปญั หาการขาดทุนอย่างหนัก ส่ งผลให้บริษัทต้อง ล้มละลายในที่สุด ปญั หาเหล่านี้เกิดจากการเก็งกาไรในตลาดอนุ พนั ธ์และลูกหนี้ไม่ สามารถชาระหนี้ได้ จนทาให้เกิดปญั หาสภาพคล่องและเงินหมุนเวียนในระบบ รวมถึง การทุ จริตคอรัปชัน่ ผลประโยชน์ ท ับซ้อนภายในองค์ก ารที่เป็ นส่ วนส าคัญของการ พังทลายของธุรกิจ อย่างไรก็ตามในความเป็ นจริงไม่เพียงแต่ในสหรัฐฯ เท่านัน้ ที่ได้รบั ผลกระทบ จากปญั หาในระบอบทุนนิยมดังกล่าวนี้ แต่ผลกระทบยังกระจายตัวออกเป็ นลูกโซ่ก่อ ปญั หาเศรษฐกิจในระดับโลกตามมา ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากเครื่องมือทางการเงินและการ ลงทุนที่ถูกผลิตขึน้ มาอย่างสลับซับซ้อนและมีบทบาทที่สาคัญยิง่ ในระบอบดังกล่าวนี้ ซึ่งได้ดงึ ดูดให้คนจากทัวทุ ่ กมุมโลกเข้ามาเกี่ยวข้องโดยตรงกับทุนนิยม เมื่อธุรกิจทุน นิยมของสหรัฐฯ เหล่านี้ได้แตกลง ทาให้หนีไม่พ้นที่ผลกระทบจะต้องแผ่ออกเป็ นวง กว้างไปทัวโลกและสร้ ่ างปญั หาอย่างหนัก การเติบโตในแนวทางของทุนนิยมที่นับถือ เงินและความมังคั ่ งเป็ ่ นพระเจ้าโดยไม่มขี อบเขตของสหรัฐฯ ดังกล่าวนี้จงึ เป็ นสิง่ ที่ไร้


18 ความยังยื ่ น อาจไม่เกินเลยไปนักทีจ่ ะกล่าวได้ว่าการล้มละลายลงของธุรกิจขนาดใหญ่ ของสหรัฐฯ เหล่านี้ได้แสดงนัยยะให้เห็นถึงความอ่อนแอและทรุดโทรมลงของสหรัฐฯ ชาติทค่ี รัง้ หนึ่งได้ภาคภูมใิ จในชัยชนะของระบอบทุนนิยมของตนเองที่มตี ่อสังคมนิยม และคอมมิวนิสต์ทส่ี หรัฐฯ ได้เคยประณามว่าเลวร้ายและต่อสูม้ าอย่างเอาเป็นเอาตาย 4. ความตกต่าทางการศึกษา

ภาพที่ 2-12 ระดับความรูเ้ รือ่ งความสามารถด้านการอ่าน (literacy), ผลการประเมิน PISAปี 2009 ทีม่ า: สฤณี อาชวานันทกุล. www.tcijthai.com. (21 มีนาคม 2555) สฤณี อาชวานันทกุล (2554) กล่าวว่า การศึกษาไทยอยู่ในขัน้ วิกฤติเด็กไทย โดยเฉลี่ยมีทกั ษะในการคิดวิเคราะห์และแยกแยะข้อมูลต่ ามาก โดยดูจากการสังเกต พฤติกรรมของเด็กแบบสอบทางการศึกษาแห่งชาติขนั ้ พืน้ ฐาน (O-NET) หรือโครงการ ประเมินผลนักเรียนนานาชาติแสดงให้เห็นถึงศักยภาพด้านการศึกษาของไทยแย่ลง มาก ส่งผลกระทบต่อศักยภาพทีจ่ ะก่อให้เกิดการแข่งขันกับนานาประเทศ ประเด็นสาคัญคือ การศึกษาของไทยที่แย่ลงเรื่อยๆ นโยบายของประเทศไทย จึงมีการกาหนดรากฐานการศึกษาในด้านภาษา เนื่องจากเด็กไทยมีการใช้ภาษาไทย ในทางที่ผ ิด มีการสะกดค าที่ไม่ตรงตามรูปแบบ และเริ่มไม่ค่ อยให้ความส าคัญกับ ภาษาไทยประกอบกับเด็กไทยมีความรูค้ วามเข้าใจในภาษาอังกฤษซึ่งเป็ นภาษาสากล ที่ใช้ในการสื่อสารกันทัวโลกนั ่ น้ ค่อนข้างต่ า รวมทัง้ ไม่สามารถใช้ในการสื่อสารได้ดี


19 เท่าที่ควรและผู้ใหญ่ สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้เพียงแค่ประโยคสัน้ ๆ นอกจากนี้เด็กไทยไม่สามารถนาความรูท้ ไ่ี ด้รบั จากการศึกษามาใช้ในการคิดวิเคราะห์ เพื่อนาไปใช้ในการปฏิบตั ิงานได้จริง เนื่องจากการศึกษาของไทยในปจั จุบนั ไม่ได้ให้ ความรูค้ วามเข้าใจในแต่ละเรื่องอย่างลึกซึง้ เช่น การศึกษาของไทยให้นักเรียนได้เรียน หนังสือในหลายๆ วิชาในแต่ละวัน รวมถึงจานวนชัวโมงในแต่ ่ ละรายวิชามีเวลาในการ เรียนน้ อย และไม่ได้ให้นักเรียนมีการศึกษาหรือสนับสนุ นในเรื่องที่นักเรียนให้ความ สนใจเป็ นพิเศษและในเรื่องสถานที่ท่ีสนับสนุ นการศึกษาของไทยนัน้ ไม่ม ีสถานที่ เพียงพอต่อการรองรับจานวนบุคลากรทีใ่ ห้ความสนใจเข้าใช้บริการ ซึง่ สถานทีท่ พ่ี ร้อม ต่อการให้บริการสนับสนุ นในเรื่องการศึกษามักจะอยู่ในพื้นทีก่ รุงเทพมหานครและตาม ตัวเมืองทีส่ าคัญเป็นส่วนใหญ่ จากที่ได้กล่าวมาข้างต้นสิง่ นี้จะเป็ นผลกระทบต่อประเทศไทย หน่ วยงานของ ภาครัฐ และหน่ วยธุ รกิจทุ กหน่ วย เพราะเด็กไทยที่ส าเร็จการศึกษาจะกลายเป็ น ทรัพยากรบุคคลทีเ่ ป็ นเสมือนกาลังสาคัญทีจ่ ะสามารถขับเคลื่อนธุรกิจแต่ละองค์การให้ เกิดประสิทธิภาพ แต่ความตกต่ าที่เกิดขึน้ เหล่านี้มพี ้นื ฐานและต้นทุนทางการศึกษาที่ แตกต่างกันนาไปสู่ความเลื่อมล้าของการศึกษาที่สาคัญในการพัฒนานัน่ คือการพัฒนา บุคลากร ซึ่งบุคลากรจะต้องมีความรูค้ วามเชี่ยวชาญ มีการถ่ายทอดประสบการณ์ซ่งึ กันและกัน และจะต้องมีการดาเนินการอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอและยังสามารถส่งผล ต่อองค์การธุรกิจให้สามารถขับเคลื่อนไปไกลได้อกี ด้วย 5. การเปิดเสรีประเภทต่างๆ การเปิ ดการค้าเสรีเป็ นการรวมตัวกันของประเทศต่างๆ ที่ตกลงกันทาการค้า เสรีโดยในแต่ละประเทศจะเลือกผลิตสินค้าที่ตนมีประสิทธิภาพในการผลิตสูงสุดและ ต้นทุนต่ า ซึ่งการทาการค้าเสรีจะช่วยให้ประเทศต่างๆ ได้รบั ผลประโยชน์เป็ นอย่างมาก ทัง้ การลดการกีดกันทางด้านภาษี และการลดข้อกีดกันทางด้านการค้า ทัง้ นี้มอี งค์การ หลักๆ ทีเ่ ปิดการค้าเสรี ดังนี้


20 5.1 องค์การการค้าโลก

ภาพที่ 2-13 องค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) ทีม่ า: Gladstone Thurston. www.thebahamasweekly.com. (23March2012) สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2554) รายงานว่า องค์ก ารการค้า โลก (World Trade Organization: WTO) เป็ นเวทีในการเจรจาลดอุปสรรคและข้อ กีดกันทางการค้า มีกฎระเบียบการค้าระหว่างประเทศ และสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่กระบวนการยุติข้อพิพาททางการค้าระหว่างประเทศ นอกจากนี้ยงั ถือเป็ น กลไกการตรวจสอบและทบทวนนโยบายการค้าของประเทศสมาชิก การที่ประเทศ ไทยเป็ นสมาชิกองค์การการค้าโลกจะส่งผลกระทบทัง้ ในเชิงบวกและเชิงลบให้แก่ ธุรกิจในประเทศ นอกจากนี้ประเทศไทยยังไม่สามารถกาหนดเงื่อนไขในเรื่องการ กาหนดอุตสาหกรรมที่มสี ทิ ธินาเข้าได้ เมื่อพิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่าประเทศไทย อาจมีต้นทุนทีเ่ พิม่ มากขึน้ จากการเป็ นส่วนหนึ่งขององค์การการค้าโลก จากการที่ ประเทศไทยต้องน าเข้าสินค้ามากขึ้น ท าให้ผู้คนภายในประเทศมีทางเลือกที่ หลากหลายธุ รกิจในประเทศไทยต้องมีการปรับปรุงสินค้าของตนเองให้ดีกว่ า ต่างประเทศ ทาให้เสียต้นทุนในการพัฒนาและปรับปรุงสินค้าของตนเองเพิม่ ขึ้น ภาครัฐจึงต้องมีการเร่งสร้างความนิยมในสินค้าไทยให้มากขึน้


21 5.2 เขตการค้าเสรี

ภาพที่ 2-14 ทีม่ า:

นโยบายเขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA) Docstoc. www.docstoc.com.(19 March 2012)

กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (2552) รายงานว่า เป็ นการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจเพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่มให้เหลือน้อยทีส่ ุด การทาเขต การค้าเสรีนัน้ จะส่งผลกระทบทาให้ประเทศไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ทางด้านการค้าทาให้มกี ารขยายการค้าในระหว่างประเทศที่ทาเขตการค้าเสรีมาก ยิ่งขึ้นซึ่งโดยส่ ว นใหญ่ แล้ วจะท าให้ ประเทศไทยส่ งออกสินค้ าไปยังประเทศ มหาอ านาจได้มากขึ้น นอกจากนี้ การท าเขตการค้าเสรีจะช่ วยให้ประเทศไทย สามารถลดอุปสรรคทางด้านการค้าและการลงทุน และยังถือเป็ นการสร้างพันธมิตร ที่จะเกื้อกู ลกันทางเศรษฐกิจกับประเทศอื่นอีกด้วย แต่ทงั ้ นี้ประเทศไทยจะต้อง เผชิญกับผลกระทบทางด้านลบที่จะเกิดขึน้ คือ ทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนจะต้องให้ ความสนใจกับผูผ้ ลิตไทยทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการแข่งขันกับต่างประเทศในระดับต่ า ซึง่ จาเป็นจะต้องเร่งปรับปรุงศักยภาพและมาตรฐานการผลิต


22 5.3 ประชาคมอาเซียน

ภาพที่ 2-15 ประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ทีม่ า: สมาพันธ์โลจิสติกส์ไทย. www.thailog.org. (19 มีนาคม 2555) ประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) เป็ นการรวมกลุ่ม ของความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีแผนจะพัฒนา ในปี 2558 มีกรอบความร่วมมือทีก่ าหนดไว้ 3 ส่วนหลัก ซึง่ ประกอบด้วยด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมืองความมันคง ่ และด้านสังคมวัฒนธรรม โดยจะมีการรวมกันเป็ นตลาด และฐานการผลิตเดียวกัน สินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝี มอื รวมถึงปจั จัยการ ผลิตต่างๆ สามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีภายใต้กรอบกฎเกณฑ์ กติกาทีต่ กลงกัน ซึง่ เป็ นผลดีต่อทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็ นผู้บริโภค เกษตรกร นักธุรกิจ ผู้ส่งออก-นาเข้า และนักลงทุน หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ (2554) ได้รายงานข่าวถึงผลการสารวจของ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยเมื่อปี พ.ศ. 2553 พบว่าเกือบ 80% ของผูป้ ระกอบการ ไทยยังไม่รจู้ กั ประชาคมอาเซียน (AEC) แต่ในปจั จุบนั เริม่ มีการรูจ้ กั มากขึน้ การใช้ ประโยชน์ยงั ค่อนข้างน้อยโดยเฉพาะผูป้ ระกอบการทีเ่ ป็ นธุรกิจขนาดย่อม (SMEs) ดังนัน้ กระทรวงพาณิชย์จงึ ได้มกี ารหารือร่วมกับหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องทัง้ ภาครัฐ และเอกชน เพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับประชาคมอาเซียนอีก 3 ปีขา้ งหน้า ตัง้ แต่การเจรจาจัดทาแผนงานทีอ่ าเซียนจะก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน รวมถึงการ ปฏิบตั ิตามแผนงาน และแนวทางรองรับผลกระทบ แต่ ป จั จุบ ันประเทศไทยยัง ประสบปญั หาหลายด้าน ทัง้ การเมือง ความปรองดองของคนในชาติ อีกทัง้ ยังต้อง


23 เร่งฟื้นฟูประเทศครัง้ ใหญ่หลังน้ าลด ซึง่ ต้องใช้งบอีกมหาศาล และภาคเอกชนทีย่ งั มีความกังวลเรื่องแผนธุรกิจเพื่อรับมือกับน้ าท่วมที่อาจเกิดขึน้ อีกครัง้ ต้นทุนการ ผลิตทีส่ งู ขึน้ จากการปรับขึน้ ค่าแรงของรัฐบาล ปจั จัยต่างๆ เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อ การเตรียมพร้อมของภาครัฐและเอกชนพอสมควร ดังนัน้ ภาครัฐและภาคเอกชนจึง ควรมีก ารบริห ารจัดการเพื่อ รับมือกับผลกระทบต่ างๆ ที่ม ีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา 6. ความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศน์ จากการเพิม่ ขึน้ ของประชากรโลก ประกอบกับกระแสโลกาภิวฒ ั น์ ทก่ี ่อให้เกิด การเคลื่อนย้ายทุนทีส่ าคัญ ได้แก่ ประชากรในพื้นที่และประชากรแฝง ทุนการเงิน ทุน อ านาจ ซึ่งการเคลื่อนย้ายทุนดังกล่ าวทาให้เศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว ภาวะการแข่งขันทางการค้ารวดเร็วและรุนแรงมากขึ้น ทัง้ นี้ประเทศไทยจึง ได้รบั ผลกระทบจากการกระแสโลกาภิวฒ ั น์ ทงั ้ ในด้านดีและไม่ดอี ย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรมลง เนื่ องจากการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง และขาดมาตรฐานในการจัดการสิง่ แวดล้อมอย่าง จริงจัง นาไปสู่การขาดสมดุลของระบบนิเวศน์ 6.1 การล้มเหลวของรัฐบาลในการควบคุม สานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2555) กล่าวว่า สถานการณ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยได้ร บั ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงในบริบทโลกและปจั จัยภายในประเทศทัง้ เรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศการเพิม่ ขึน้ ของประชากร การพัฒนาเศรษฐกิจทีม่ ุ่งการเจริญเติบโตและ การแข่ งขั น ทางด้ า นการค้ า และการลงทุ นท าให้ ม ี ก ารใช้ ป ระโยชน์ ทรัพ ยากรธรรมชาติเ กินศักยภาพในการรองรับของระบบนิ เวศในขณะที่ข ีด ความสามารถของการบริหารจัดการและเครื่องมือทางนโยบายเช่ นฐานข้อมูล กฎระเบี ย บการบัง คับ ใช้ ก ฎหมายเกี่ ย วกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มและเครื่อ งมือ ทาง เศรษฐศาสตร์ยงั ไม่สามารถนามาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการบริหาร จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในป จั จุ บ ันยังคงล้มเหลวขาดการบู รณาการ ร่วมกันระหว่างหน่ วยงานรับผิดชอบทีเ่ กี่ยวข้อง การกาหนดเครื่องมือและกลไกใน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเป็ นแบบแยกส่วน ระบบการจัดการ ข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมยังไม่เป็ นมาตรฐาน ไม่ครอบคลุม และขาดการเชื่อมโยงกับข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม กฎหมายมีลกั ษณะของ การบริหารจัดการทรัพยากรรายสาขา ขาดประสิทธิภาพในการบังคับใช้ ขาดความ เป็ นธรรม และไม่โปร่งใส นอกจากนี้ยงั มีปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชัน่ และความไม่ เป็ นธรรมในการจัดสรรทรัพยากร เช่น ที่ดนิ น้ า และป่าไม้ เป็ นต้น ส่งผลให้เกิด


24 ความไม่ ไว้วางใจในการบริหารจัดการของภาครัฐ ในขณะที่เกิดช่ องว่ างทาง นโยบายในการบูรณาการระหว่างการอนุ รกั ษ์สงิ่ แวดล้อมกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ประกอบกับความอ่ อนแอของกลไกการจัดการสิ่งแวดล้อ มและการบังคับใช้ กฎหมาย และความไม่ ม ีประสิทธิภาพของเครื่องมือก ากับและควบคุ มในการ บรรเทาผลกระทบของโครงการขนาดใหญ่ ส่ งผลให้เกิดผลกระทบมากมายจาก โครงการพัฒนาเศรษฐกิจขนาดใหญ่ของทัง้ ภาครัฐและเอกชน อีกทัง้ รัฐบาลไม่ให้ ความส าคัญกับการจัดการสิ่งแวดล้อมมากเท่ าที่ควร ซึ่งหากเปรียบเทียบกับ ต่างประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ ญี่ป่นุ หรืออเมริกา ทีใ่ ห้ความสาคัญกับการดูแล สิง่ แวดล้อมและการพัฒนาอย่างยังยื ่ น ทัง้ ในภาครัฐและภาคธุรกิจ ดังจะเห็นได้จาก การนาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (EMA) เข้ามาใช้เป็ นมาตรฐานในภาคธุรกิจรวม ไปถึงการจัดทาบัญชีเพื่อการพัฒนาอย่างยังยื ่ น (accounting for sustainability) เป็ นต้น ซึง่ ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อความเป็ นอยู่ของประชาชนและคุณภาพ สิง่ แวดล้อม และนาไปสู่ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่งผลต่อความสมดุลของระบบนิเวศโดยรวมอย่างต่อเนื่อง 6.2 ทรัพยากรธรรมชาติ สานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2554) รายงานว่า ทรัพยากรทางธรรมชาติของประเทศไทยมีความเสื่อมโทรมอย่างต่อเนื่องและเกิด ปญั หาความขัดแย้งของการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติมากขึน้ เห็นได้จาก พืน้ ที่ป่าไม้ยงั คงถูกบุกรุกอย่างต่อเนื่อง จากการเพิม่ ขึน้ ของประชากรซึ่งต้องการ ใช้ประโยชน์ จากที่ดินในการผลิตทางการเกษตร เพื่อการอยู่อาศัยและพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานภายใต้ทรัพยากรที่ดนิ มีอยู่อย่างจากัด อีกทัง้ ความเสื่อมโทรม ของคุณภาพดินที่เกิดจากดินเปรี้ยวและดินเค็ม รวมทัง้ การสูญเสียพื้นที่บริเวณ ั หาเหล่ านี้ ส่ งผลกระทบต่ อความสมดุ ล ทางระบบนิ เวศและความ ชายฝ งั ่ ป ญ หลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเป็ นแหล่งพึ่งพิงเพื่อการดารงชีวติ ของชุมชน และเป็ น พืน้ ฐานการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต แต่รฐั บาลก็ไม่สามารถบริหาร จัดการที่ดนิ ให้มปี ระสิทธิภาพได้ ทาให้การใช้ท่ดี นิ ไม่ตรงตามศักยภาพของพื้นที่ และพืน้ ทีป่ ่าไม้ลดลงและถูกทาลายเหลือเพียงร้อยละ 33.56 ของพืน้ ทีท่ งั ้ ประเทศเกิด ความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์ และไม่สามารถแก้ไขปญั หาผู้ไร้ท่ที ากินได้อย่าง ั ่ ดการเสื่อมโทรมลงอย่างต่ อเนื่ อง ยังยื ่ น ส่ วนทรัพยากรทางทะเลและชายฝ งเกิ เช่นกัน เนื่องจากพื้นที่ป่าชายเลนและแนวปะการังลดลงจากการถูกบุกรุกทาลาย ั ่ ความรุนแรงมากขึ้น มีการเปลี่ยนสภาพไปใช้ประโยชน์อ่นื ๆ การกัดเซาะชายฝงมี ในขณะที่ทรัพยากรประมงลดลงทัง้ ในเชิงปริมาณ ชนิ ด และขนาด ส่ วนการ ั่ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าชายฝงขยายตั วต่อเนื่อง แต่ยงั คงสร้างปญั หาคุณภาพสิง่ แวดล้อม


25 ด้านทรัพยากรแร่และพลังงาน เนื่ องจากยังคงมีความต้องการใช้เพิ่มขึ้นอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง ท าให้ เ กิด การพัฒ นาทรัพ ยากรเพื่อ รองรับความต้ อ งการดังกล่ า ว ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และทรัพยากรน้ ามีแนวโน้มขาดแคลนเพิม่ ขึน้ จากการประมาณการความต้องการใช้น้ าของประเทศที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปี ละ 1,281 ล้าน ลบ.ม. ในระยะ 3 ปีขา้ งหน้า และปีละ 2,178 ล้าน ลบ.ม. ในระยะ 5 ปีถดั ไป 6.3 ปญั หาน้ าท่วมใหญ่ของประเทศ

ภาพที่ 2-16 น้ าท่วมครัง้ ใหญ่ในประเทศไทย ทีม่ า: กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. www.bangkokbiznews.com. (19 มีนาคม 2555) แม้สาเหตุของอุทกภัยครัง้ ใหญ่ท่สี ุดในประวัตศิ าสตร์ของประเทศไทยจะ เกิดจากภัยธรรมชาติอย่างพายุโซนร้อน ลมมรสุม และร่องความกดอากาศต่ ากาลัง ทาให้มฝี นตกชุกจนเกิดน้ าท่วมต่อเนื่อง นาไปสู่ความเดือดร้อนในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกของประเทศและได้รบั อิทธิพลจาก พายุโซนร้อนพร้อมกับไต้ฝ่นุ พัดเข้าสู่ประเทศไทยตอนบนจนมีฝนตกหนักถึงหนัก มากเป็ นระยะๆ จึงเกิดเหตุการณ์น้ าท่วมอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน แต่ทงั ้ นี้อีก สาเหตุหนึ่งที่สาคัญคือ การบริหารจัดการน้ าทีไ่ ร้ประสิทธิภาพ ขาดการกาหนดผัง เมืองและการควบคุมการใช้ประโยชน์ ท่ดี นิ ที่ดี ทาให้ท่วี ่างรับน้ าต่างๆ ถูกแทนที่ ด้วยการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนและถนนหนทาง ซึง่ เป็ นการตอกย้าความล้มเหลว ั หาน้ าท่ วมที่เกิดขึ้น จากป ญ ั หาน้ าท่ วม ของรัฐบาลในควบคุ มและป้ องกันป ญ ประเทศครัง้ ใหญ่ท่เี กิดขึน้ นัน้ กองติดตามประเมินผล (2554) เปิ ดเผยว่า พื้นที่ท่ี ประสบอุ ทกภัยและพื้นที่ท่ีมกี ารประกาศเป็ นพื้นที่ประสบภัยพิบตั ิกรณีฉุ กเฉิ น ตัง้ แต่ปลายเดือนกรกฎาคม - 7 ธันวาคม ปี 2554 รวมทัง้ สิ้น 64 จังหวัด มีผู้เสียชีวติ 675 ราย


26 สูญหาย 3 คน ผลกระทบจากอุทกภัยสร้างความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และรายได้ ของประเทศ ประมาณ 1.3 ล้านล้านบาท (ข้อมูลวันที่ 8 ธันวาคม ปี พ.ศ. 2554) ทัง้ ยังส่ง ผลกระทบไปยังหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะระบบนิเวศวิทยาทางทะเล เพราะการ ระบายน้ าเสียลงสู่ทะเลมีผลต่อการดารงชีพและสัตว์น้ า แหล่งพืน้ ทีแ่ ละพืชผลทาง เกษตรได้รบั ความเสียหาย สุ ขภาพอนามัยของประชาชนแย่ลง เกิดโรคระบาด ทรัพยากรธรรมชาติถูกทาลาย เกิดแผ่ นดินถล่ม และดินขาดปุ๋ยธรรมชาติ เกิดความ เสียหายต่อระบบบาบัดน้าเสียและระบบกาจัดขยะมูลฝอย เป็นต้น 6.4 มลพิษ เขตเมือง/เขตอุตสาหกรรม/สารตกค้างไปทัวประเทศ ่ ไทยพับลิก้า (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ ซึง่ เปิดเผยถึงสถานการณ์ มลพิษของประเทศไทยปี 2554 โดยมีรายละเอียดสถานการณ์ต่างๆ ดังนี้ 6.4.1 มลพิษทางอากาศและเสียง

ภาพที่ 2-17 กราฟแสดงคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครตัง้ แต่ปี 25352554 ทีม่ า: ไทยพับลิก้า (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ. www.thaipublica.org. (19 มีนาคม 2555) ไทยพับลิก้า (2554) อ้างถึง วิจารย์ สิมาฉายา อธิบดีกรมควบคุม มลพิษ ซึง่ ได้สรุปสถานการณ์มลพิษของประเทศไทยประจาปี 2554 ว่าสถานการณ์ คุณภาพอากาศของประเทศไทยมีแนวโน้ มดีข้นึ เมื่อเทียบกับปี ท่ผี ่านมา ปญั หาหลักยังคงเป็นฝุน่ ละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอนหรือฝุ่นขนาดเล็กใน


27 บริเวณริมถนนในกรุงเทพมหานครซึ่งลดลงจากปี ท่แี ล้ว ดังภาพที่ 2-17 ปญั หารองลงมาคือ ก๊าซโอโซนและก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ซึ่งพบเกิน มาตรฐานบริเวณริมถนนในบางพืน้ ทีข่ องกรุงเทพมหานคร ส่วนสารมลพิษ ชนิดอื่น ได้แก่ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และคาร์บอนมอนอกไซด์ยงั อยู่ในเกณฑ์ มาตรฐานด้านคุ ณภาพอากาศในเขตปริมณฑลพบว่ าสมุ ทรปราการ นนทบุรแี ละปทุมธานี ยังคงมีปญั หาฝุ่นขนาดเล็กมีค่าเกินมาตรฐาน ส่วน ต่ างจังหวัดปญั หาหลักยังคงเกิดจากฝุ่นขนาดเล็กและก๊ าซโอโซน โดย ั หาฝุ่นขนาดเล็กมากที่สุ ด ได้แก่ สระบุ ร ี รองลงมา ได้แก่ พื้นที่ท่ีมปี ญ พะเยา พระนครศรีอยุธยา และเชียงราย สาหรับก๊าซโอโซนพบว่ามีค่าเกิน มาตรฐานในหลายพื้น ที่ โดยพื้นที่ท่ีพ บเกิ น มาตรฐานมากที่สุ ด คือ พระนครศรีอยุธยาส่วนสถานการณ์สารอินทรีย์ระเหยในพื้นที่มาบตาพุด พบว่ามีปญั หาสารอินทรียร์ ะเหย (VOCs) 4 ชนิดมีค่าเกินมาตรฐาน ได้แก่ สารเบนซีน สาร 1,3-บิวทาไดอีน สาร 1,2-ไดคลอโรอีเทน และสารคลอโรฟอร์ม ซึง่ เกินมาตรฐานในบางช่วงเวลาและบางสถานี ด้านสถานการณ์ระดับเสียงริมเส้นทางจราจรและพื้นที่ทวไปใน ั่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีแนวโน้มลดลงจากปีท่ผี ่านมา โดยระดับ เสียงเฉลีย่ (Leq) 24 ชัวโมงอยู ่ ใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน 6.4.2 มลพิษทางน้า

ภาพที่ 2-18 กราฟแสดงคุณภาพน้ าผิวดินทัวประเทศ ่ 2552-2554 ทีม่ า: ไทยพับลิก้า (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ. www.thaipublica.org. (19 มีนาคม 2555) ก่อนเหตุการณ์น้ าท่วมใหญ่ช่วงเดือนกันยายนพบว่า คุณภาพน้ า ผิวดินอยู่ในเกณฑ์ดี ร้อยละ 30 พอใช้ ร้อยละ 42 และเสื่อมโทรม ร้อยละ 28 ตามลาดับ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบคุณภาพน้ า 5 ปี ยอ้ นหลังพบว่า คุณภาพ


28 น้ าโดยรวมมีแนวโน้มดีขน้ึ ยกเว้นแหล่งน้ า 3 แหล่ง ได้แก่ ระยองตอนบน พังราดตอนบน และปราจีนบุร ี เสื่อมโทรมลง สาเหตุมาจากความสกปรก ในรูปสารอินทรีย์ (BOD) เพิม่ ขึน้ ส่วนแม่น้ าสายหลักทีม่ คี ุณภาพน้ าอยู่ใน เกณฑ์เสื่อมโทรม ได้แก่ เจ้าพระยาตอนล่าง ท่าจีนตอนกลาง และท่าจีน ตอนล่ าง มีสาเหตุหลักมาจากน้ าเสียชุมชน ทัง้ นี้พบว่า แหล่งน้ าในทุก ภาคโดยรวมมีคุณภาพน้ าดีขน้ึ เมื่อเทียบกับปีทผ่ี ่านมา และตัง้ แต่ปี 25512554 ไม่มแี หล่งน้ าใดอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมมาก ด้านคุณภาพน้ าชายฝงั ่ ทะเลส่วนใหญ่อยูใ่ นเกณฑ์ดแี ละพอใช้รวมกันกว่าร้อยละ 90 เช่น อ่าวไทย ั ่ นตก ฝ งอั ั ่ นดามัน ซึ่งเป็ นแหล่งท่ องเที่ยวส าคัญ ส่ วนบริเวณที่ ฝ งตะวั ยังคงมีปญั หาคุณภาพน้ าคือ พื้นทีอ่ ่าวไทยตอนใน บริเวณปากแม่น้ าสาย หลักจากการระบายน้าทีท่ ่วมขังลงในแม่น้ าเจ้าพระยา ท่าจีน บางปะกง ลง สู่ทะเลอ่าวไทยตอนใน ทาให้ค่าความเค็มลดต่ าลง ส่งผลต่อสัตว์น้ าบาง ชนิดและการเพาะเลีย้ งฝงั ่ 6.4.3 มลพิษกากของเสียและสารอันตราย

ภาพที่ 2-19 ปริมาณขยะมูลฝอยจาแนกตามพืน้ ที่ ทีม่ า: ไทยพับลิก้า (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ. www.thaipublica.org. (19 มีนาคม 2555) ปริมาณขยะมูลฝอยทัวประเทศเพิ ่ ม่ ขึน้ ทุกปี โดยปี 2554 มีประมาณ 16 ล้านตัน หรือวันละ 43,800 ตัน เพิม่ ขึน้ 0.84 ล้านตัน หรือร้อยละ 5.5 ตามการขยายตัวของชุมชนและประชากรทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยกรุงเทพมหานครมี ขยะมูลฝอยประมาณวันละ 9,500ตัน คิดเป็ นร้อยละ 22 ของปริมาณขยะที่ เกิดขึ้นในแต่ ละวัน ขณะที่เขตเทศบาลและเมืองพัทยามีขยะมูลฝอย


29 ประมาณวันละ 17,488 ตัน คิดเป็ นร้อยละ40 ของปริมาณขยะทีเ่ กิดขึน้ ใน แต่ละวัน ขณะทีเ่ ขตองค์การบริหารส่วนตาบลมีขยะมูลฝอยประมาณวันละ 16,792 ตัน คิดเป็นร้อยละ 38 ของปริมาณมูลฝอยทัวประเทศ ่ ของเสียอันตรายเกิดขึน้ ประมาณ 3.12 ล้านตัน โดยเกิดจากอุตสาหกรรม ประมาณ 2.4 ล้านตัน และประมาณ 0.73 ล้านตัน เป็ นของเสียอันตรายจาก ชุ มชน แบ่ งเป็ นกลุ่ มแบตเตอรี่ หลอดไฟ และภาชนะบรรจุ ส ารเคมี ประมาณ 340,000 ตั น กลุ่ ม ซากผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ าและ อิเล็กทรอนิกส์ประมาณ 367,000 ตัน และมูลฝอยติดเชือ้ ประมาณ 41,000 ั หาที่ส่ งผลกระทบต่ อคุ ณภาพชีว ิต ตัน ส่ วนสารอันตรายยังคงเป็ นป ญ ประชาชนเช่ นกัน จากสถิติจ านวนผู้ป่วยของกรมควบคุมโรคพบว่ า มี ผูป้ ว่ ยได้รบั พิษจากสารเคมีประมาณ 1,934 ราย จาแนกเป็ นผูป้ ่วยทีไ่ ด้รบั พิษจากสารเคมีดา้ นอุตสาหกรรมรวม 210 ราย โดยพืน้ ทีท่ ม่ี ผี ู้ป่วยได้รบั พิษสารอันตรายทางด้านอุตสาหกรรมมากทีส่ ุดนัน้ คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีผู้ป่วยที่ได้รบั พิษจากสารอันตรายทางการเกษตร 1,724 ราย โดย พื้นที่ท่ีม ีผู้ป่ วยได้ร บั พิษจากสารอันตรายทางการเกษตรมากที่สุ ดคือ ภาคเหนือ ทัง้ ยังเกิดอุบตั ิภยั ฉุ กเฉินจากสารเคมี จากการขนส่งสารเคมี เกิดในโรงงานอุตสาหกรรม โกดังเก็บสารเคมี การลักลอบทิง้ กากของเสีย เป็ นต้น และในเขตกรุงเทพและปริมณฑลมีการร้องเรียนปญั หามลพิษมาก ทีไ่ ด้สุด ได้แก่ มลพิษทางด้านอากาศ 68% ปญั หามลพิษทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศ เหล่านี้ ส่งผลกระทบต่อความสมดุลของระบบนิเวศวิทยาด้วยเช่นกัน 7. คุณลักษณะธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับสภาวะการเปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็วของเศรษฐกิจโลก

ภาพที่ 2-20 เปรียบเทียบลักษณะธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับ สภาวะการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจโลก ทีม่ า: จุฑามาศ ปญั ญพรสุข. www.chula-alumni.com. (19 มีนาคม 2555)


30 สรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล (2549) กล่าวว่า ปจั จุบนั ธุรกิจในประเทศไทยต้อง เผชิญหน้ ากับคู่แข่งทางการค้าที่สาคัญคือ จีน และเวียดนาม ที่มคี ่าแรงงานที่ต่ ากว่า ประเทศไทย ทาให้งานหรือธุรกิจที่เคยมีในไทยนัน้ กลายไปเป็ นของคู่แข่ง เนื่องจาก ลักษณะธุรกิจในประเทศไทยส่วนมากจะเป็ นการรับจ้างผลิตสินค้า ทัง้ การรับจ้างให้กบั ผู้ว่าจ้างภายในประเทศหรือรับจากต่างประเทศ ทาให้การดาเนินงานของธุรกิจขึน้ อยู่ กับผู้ว่าจ้าง เพราะผู้ว่าจ้างอาจจะย้ายฐานการผลิตไปในประเทศอื่นที่มตี ้นทุนต่ ากว่า ประเทศไทยควรที่จะมีความกระตือรือร้นในการจัดการและพัฒนาองค์ก าร เพื่อที่จะ สามารถแข่งขันกับประเทศคู่แข่งได้ ซึ่งแต่ละธุรกิจนัน้ ควรมีการเตรียมการรับมือกับ สภาวะเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยการวางแผนกลยุทธ์ของธุ รกิจ เพื่อให้ พนักงานรับทราบและใช้เป็ นแม่บทในการปฏิบตั ิงาน เพื่อให้สามารถปฏิบตั ิเพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ของธุรกิจ และสามารถอยูใ่ นตลาดธุรกิจได้อย่างยังยื ่ น การบริ นารต้นทุน ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อศักยภาพ การประกอบการของภาครัฐและเอกชน 1. ความตกต่าทางศีลธรรม 2. การเมืองและคอร์รปั ชัน่ 3. ความตกต่าและความล้มเหลวของ ระบบทุนนิยม 4. ความตกต่าทางการศึกษา 5. การเปิ ดเสรีทางการค้า 6. ความเสือ่ มโทรมของระบบนิเวศน์ 7. ลักษณะธุรกิจทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับ การเปลีย่ นแปลงของเศรษฐกิจโลก

แนวทางในการบริหารเพื่อเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันไปสู่การแข่งขันอย่างยังยื ่ น 1. 2. 3. 4. 5. 6.

การฟื้นฟูศลี ธรรม หลักธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม องค์การแห่งการเรียนรู้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาทางด้านสารสนเทศต่างๆ โดยเฉพาะทางการบัญชี 7. การออกแบบระบบบัญชี 8. การบริหารต้นทุนทีด่ อ้ ยประสิทธิภาพ

ภาพที่ 2-21 สรุปปจั จัยที่ส่ งผลกระทบต่อศักยภาพการประกอบการและแนวทางในการบริหาร จัดการเพื่อเพิม่ ศักยภาพทางการแข่งขัน ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน)


31 การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศไทยเป็ นไปอย่างล่าช้า เนื่องมาจากความตกต่ าทาง ศีลธรรม การเมืองและคอร์รปั ชัน่ ความตกต่ าและความล้มเหลวของระบบทุนนิยม ความตกต่ า ทางการศึกษา การเปิ ดเสรีทางการค้า ความเสื่อมโทรมของทรัพยากร และลักษณะของธุรกิจที่ไม่ สามารถตอบรับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ได้ ซึง่ ส่งผลต่อการบริหารจัดการองค์กร ในการพัฒนาขีด ความสามารถนัน้ จะต้องอาศัยระยะเวลาในการฟื้ นฟู ความตกต่ าทางด้านศีลธรรม การน าหลัก ธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบต่ อสังคมและสิ่งแวดล้อม องค์การแห่ งการเรียนรู้ หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาทางด้านสารสนเทศและการออกแบบระบบทางการบัญชี และการ บริหารต้นทุนมาประยุกต์ใช้ภายในองค์การ เพื่อลดต้นทุนในการดาเนินงาน นาไปสู่การเป็ นผู้นา ทางด้านต้นทุน สามารถสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันได้ และจะเป็ นแนวทางในการนาองค์กร ไปสู่การพัฒนาอย่างยังยื ่ น 1. ความหมายของต้นทุน ปิยาภรณ์ อาสาทรงธรรม (2552) กล่าวว่า ต้นทุน (cost) หมายถึง มูลค่าของ ทรัพยากรที่กิจการต้องสูญเสียไปเพื่อให้ได้สนิ ค้าหรือบริการกลับมา โดยมูลค่าของ ทรัพยากรนัน้ จะต้องสามารถวัดได้เป็ นหน่ วยเงินตรา เป็ นการลดลงของสินทรัพย์หรือ การเพิม่ ขึน้ ของหนี้สนิ ซึง่ เมื่อต้นทุนใดทีเ่ กิดขึน้ และธุรกิจได้ใช้ประโยชน์ไปทัง้ สิ้นแล้ว ต้นทุนนัน้ จะถือว่าเป็นค่าใช้จา่ ย แต่อย่างไรก็ตามต้นทุนและค่าใช้จา่ ยนัน้ มีวตั ถุประสงค์ ทีแ่ ตกต่างกันในแง่ของการก่อให้เกิดประโยชน์และการบันทึกบัญชี หากธุรกิจใดมีการ บริหารต้นทุนทีด่ แี ล้วก็จะทาให้ธุรกิจนัน้ ได้เปรียบทางการแข่งขันกับคู่แข่งได้ 2. ความสาคัญของต้นทุนทีจ่ ะบ่งบอกความยังยื ่ นในการประกอบการ อนุ ธ ิดา ประเสริฐศักดิ ์ (2554) กล่ าวว่า ธุ รกิจที่แตกต่ างกันมีล กั ษณะของ ต้นทุนที่แตกต่างกัน ผู้บริหารจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับต้นทุนของกิจการ ตนเอง เพื่อให้การนาข้อมูลต้นทุนนามาใช้ในการบริหาร การวางแผนและตัดสินใจ การ ควบคุม และการจัดทางบประมาณมีประสิทธิภาพมากทีส่ ุด ต้นทุนเป็ นปจั จัยสาคัญต่อทุกธุรกิจ เพราะต้นทุนที่เพิม่ ขึ้นหมายถึงก าไรที่ ลดลง แต่ถ้ากิจการสามารถลดต้นทุนลงได้กจ็ ะทาให้กาไรเพิม่ ขึน้ และกิจการสามารถ สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันได้ หากกิจการเป็ นผู้นาทางด้านต้นทุนในตลาด ผูบ้ ริหารสามารถนากลยุทธ์การลดต้นทุนไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับกิจการ ซึง่ จะมี ผลทาให้เกิดความยังยื ่ นของธุรกิจ


32 3. การใช้เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ภาพที่ 2-22 เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน) ั หาจากภาวะ ปิ ยาภรณ์ อาสาทรงธรรม (2552) กล่ าวว่ า ธุ รกิจประสบป ญ เศรษฐกิจที่มคี วามผันผวน ผู้บริหารจึงต้องพยายามหาวิธกี ารต่างๆ ที่จะทาให้ธุรกิจ สามารถอยู่รอดได้ ซึ่งสิ่งแรกที่ผู้บริหารจะค านึงถึงคือ การลดต้นทุน และการจัดทา บัญชีต้นทุน ซึ่งเป็ นข้อมูลที่มคี วามสาคัญ เนื่องจากการบัญชีต้นทุนทาให้รถู้ ึงต้นทุน ของการบริหารกิจกรรมหรือการท างานในฝ่ ายต่ างๆ ซึ่งการจัดทาบัญชีต้นทุนที่ดี สามารถทาให้ผู้บริหารวางแผน คาดการณ์ และตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง อันจะนาไปสู่ การวางแผนในการลดต้นทุนของธุรกิจทีเ่ กิดขึน้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์การธุรกิจต่างๆ ต้องให้ความสาคัญกับการมุ่งเน้นการพึ่งตนเอง และการ บริหารต้นทุนให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด จึงเกิดวิธกี ารต่างๆ ในการบริหารต้นทุนในระบบ การผลิต ซึง่ ประกอบด้วย 5 วิธ ี 3.1 ระบบการบัญชีต้นทุนตามกิจกรรม วรศักดิ ์ ทุมมานนท์ (2544) กล่าวว่า ระบบการบัญชีต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) เป็ นแนวคิดของการบริหารต้นทุน ซึง่ ถือว่าเป็ น กิจกรรมที่ทาให้เกิดต้นทุนจึงต้องมีการคิดต้นทุนและปนั ส่วนค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ เกิดขึ้นเข้าสู่กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง หลังจากนัน้ จึงคิดต้ นทุนของกิจกรรมเข้าเป็ น ผลิตภัณฑ์จะทาให้ผบู้ ริหารได้รบั ข้อมูลทีถ่ ูกต้องยิง่ ขึน้


33 นาตยา ตรีร ัตน์ ดิลกกุ ล (2550) กล่ าวว่ า ประโยชน์ จากการน าระบบ ต้นทุนตามกิจกรรมมาใช้มดี งั นี้ 1. ช่วยให้การคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์มคี วามถูกต้องใกล้เคียงความ เป็นจริง 2. ช่วยในการวัดผลการปฏิบตั งิ านของกิจการ 3. ช่วยในการลดต้นทุนและค่าใช้จา่ ยของกิจการ 4. เชื่อมโยงกลยุทธ์ในการดาเนินงานของกิจการเข้ากับการตัดสินใจ อัน จะเป็ นประโยชน์ต่อผู้บริหารในการพัฒนากิจกรรมทีเ่ ป็ นงานหลักของ องค์การ 5. ใช้เป็ นข้อมูลในการต่อยอดเพื่อการจัดทาการบริหารตามฐานกิจกรรม (Activity Based Management: ABM) เพื่อให้เกิดการบริหารองค์การ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพดียงิ่ ขึน้ 3.2 การจัดการห่วงโซ่อุปทาน ธนิต โสรัตน์ (2551) กล่าวว่า ในการบริหารกลยุทธ์ ผูบ้ ริหารควรเลือกใช้ กลยุทธ์ทเ่ี หมาะสมกับสภาพธุรกิจขององค์การ การนาการจัดการห่วงโซ่อุปทานซึง่ เป็นเครื่องมือการบริหารมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพนัน้ ต้องมีการออกแบบ โครงสร้างและกระบวนการต่ างๆ ภายในห่ ว งโซ่ อุ ปทานอย่ างเหมาะสมและ ครอบคลุม เพื่อการกาหนดกระบวนการทีส่ อดคล้องกับกลยุทธ์ แล้วจึงทาการระบุ ประเภทของเทคโนโลยี ส่งเสริมการดาเนินงานในแต่ละกระบวนการ รวมทัง้ การ พิจารณาบุคลากรให้มลี กั ษณะที่สอดคล้องกับงานในแต่ ละกระบวนการ วิธกี าร ดังกล่ าวนี้จะช่ วยให้ผู้ปฏิบ ัติงานสามารถมองห่ วงโซ่ อุ ปทานได้ท งั ้ ระบบอย่าง แท้จริง 3.3 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (sufficiency economy) เป็ นอีกเครื่องมือทีน่ ามาใช้ ในการบริหารต้นทุน เพื่อความยังยื ่ นในการประกอบการและพร้อมรับมือต่อการ เปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวฒ ั น์จากปญั หาความตกต่ าทางศีลธรรม การเมืองและ คอรัปชัน่ เป็นต้น สุเมธ ตันติเวชกุ ล (2554) กล่าวว่า เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเศรษฐกิจที่ สามารถอุม้ ชูตวั เองได้ ให้มคี วามพอเพียงกับตัวเอง อยู่ได้โดยไม่เดือดร้อน ซึง่ ต้อง สร้างพืน้ ฐานทางด้านเศรษฐกิจของตนเองให้ดกี ่อนคือให้ตนเองสามารถอยู่ได้อย่าง พอกินพอใช้ มิได้มุ่งหวังที่จะสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้เจริญอย่างรวดเร็ว แต่เพียงอย่างเดียว การประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วย ความ พอประมาณคือองค์ การต้ อ งรู้จ ักใช้เทคโนโลยีท่ีเ หมาะสมและสอดคล้อ งกับ


34 สภาพแวดล้อม โดยพัฒนาจากภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ก่อน ไม่คา้ กาไรเกินควร ความมี เหตุผลคือตัดกิจกรรมทีไ่ ม่จาเป็ นเพื่อลดค่าใช้จ่าย และการมีภูมคิ ุม้ กันคือองค์การ ไม่ควรสร้างภาระหนี้สนิ มากจนเกินความสามารถ 3.4 การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (Environmental Management Accounting: EMA) หมายถึง แนวคิดทางการบัญชีทค่ี านึงถึงการจาแนกต้นทุนทีเ่ กี่ยวข้องหรือ มีผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมออกจากค่าใช้จ่ายทัง้ หมดที่เกิดขึน้ จากการผลิตโดยมี พืน้ ฐานในการคานวณที่คล้ายกับการคิดต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) ซึง่ โดยปกติแล้วต้นทุนดังกล่าวจะแฝงตัวอยู่ ทาให้ผปู้ ระกอบการไม่ทราบถึง จานวนทีแ่ ท้จริงของต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อม ซึ่งแนวคิดดังกล่าวจะสามารถช่วย ให้ทาถึงจุดนี้ได้อย่างชัดเจน สิ่งส าคัญเพื่อที่จะได้ทราบถึงต้นทุ นตามแนวคิดของการบัญชีบริหาร สิง่ แวดล้อมนัน่ ก็คอื ศูนย์ต้นทุน (cost centre) ซึง่ จะทาหน้าทีใ่ นการจาแนกต้นทุน ทางด้านสิง่ แวดล้อมที่เกิดขึน้ ให้กบั ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ตามที่ได้ก่อไว้ ตลอดจนการ นาข้อมูลที่ได้นาไปจัดท าเป็ นรายงาน เพื่อการบริหารภายในสาหรับปรับปรุง กระบวนการผลิต และการจัดทาเป็นรายงานเพื่อเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก การที่อ งค์ การต่ างๆ น าหลักการบัญ ชีบ ริห ารสิ่ง แวดล้ อ มเข้ ามาใช้ นอกจากจะเป็ นการนาข้อมูลทีไ่ ด้มาเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและลดต้นทุนแล้ว ยังถือเป็นการแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมอีกด้วย 3.5 ระบบการผลิตแบบลีนและการบัญชีแบบลีน เกียรติขจร โฆมานะสิน (2550) กล่าวว่าลีน (Lean) คือ การบูรณาการ แนวคิด กิจกรรม และวิธกี ารที่เป็ นระบบในการระบุและกาจัดความสูญเปล่า หรือ สิง่ ที่ไม่เพิม่ คุณค่าภายในกระแสคุณค่าของกระบวนการ ซึ่งความสูญเปล่าคือ ทุก สิง่ ทุกอย่างที่เพิม่ ต้นทุนหรือเวลา โดยปราศจากการเพิม่ คุณค่า ทาให้เกิดสภาพ การไหลอย่างต่อเนื่อง และทาการปรับปรุงอย่างต่ อเนื่องเพื่อสร้างคุณค่ าให้แก่ ระบบอยู่เสมอ รวมทัง้ มุ่งผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้ ดียงิ่ ขึ้นโดยใช้ทรัพยากรการผลิตที่น้อยกว่าองค์ก ารสามารถน าวิธ ีการบริหาร ต้นทุนดังกล่าวมาปรับใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการดาเนินงานและจะทาให้ เกิดการพัฒนาอย่างยังยื ่ นตามมา


35 แนวคิ ดการพัฒนาอย่างยังยื ่ น

ภาพที่ 2-23 สรุปองค์ประกอบการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน) 1. การพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น พิพฒ ั น์ นนทนาธรณ์ (2553) ได้กล่าวถึงแผนแม่บทเพื่อพัฒนาอย่างยังยื ่ น ของโลก เพื่อสร้างความสมดุลให้เกิดขึ้น โดยครอบคลุมการพัฒนาที่สมดุลทัง้ 3 ด้าน ประกอบด้วยด้านเศรษฐกิจ สังคม และด้านสิ่งแวดล้อม เรียกว่ า ไตรก าไร (Triple Bottom Line: 3BL) ซึง่ เป็ นการพัฒนาทีต่ ้องคานึงถึงเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม การพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่ไปกับสังคมจะทาให้เกิดความเท่าเทียมกันในการแบ่งสรร ทรัพยากรระหว่างสมาชิกในสังคม การพัฒนาสังคมคู่ไปกับสิง่ แวดล้อมจะทาให้เกิดการ พึ่งพาซึ่งกันและกัน ผู้คนช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมให้ดีก็จะมีความสามารถหา ประโยชน์จากสิง่ แวดล้อมได้นาน การพัฒนาเศรษฐกิจคู่ไปกับสิง่ แวดล้อมจะทาให้เกิด ความสมดุล ถ้าเศรษฐกิจเติบโตบนความเสื่อมของสิง่ แวดล้อมก็จะเกิดความไม่สมดุล ขึน้ สุดท้ายเราก็ต้องทุ่มเงินจานวนมากในการรักษาสิง่ แวดล้อม การพัฒนาอย่างยังยื ่ น จะยืนได้ดว้ ยการพัฒนาทัง้ 3 สาขา คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม ซึ่งทัง้ หมดนี้


36 ต้องอยู่บนพื้นฐานของศีลธรรมอันดีงาม จึงจะทาให้เรามีเศรษฐกิจที่เจริญเติบโต มี สังคมทีเ่ ป็นสุข และมีสงิ่ แวดล้อมทีด่ ี จนสามารถเกิดความสมดุลและยังยื ่ น 1.1 ความหมายของการพัฒนาอย่างยังยื ่ น The UK government’s Department of Environmental Food and Rural Affairs การพัฒนาอย่างยังยื ่ น (sustainable development) หมายถึง “การตอบสนอง ความต้องการของคนรุน่ ปจั จุบนั โดยไม่มผี ลกระทบในทางลบต่อความต้องการของ คนรุน่ ต่อไปในอนาคต” เนื่องจากทุกครัง้ ทีม่ กี ารตอบสนองความต้องการของคนรุ่นปจั จุบนั ต้องมี การทาลายทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ซึ่งส่งผลกระทบต่ ออนาคตในทาง ลบ การพัฒนาอย่างยังยื ่ นจึงเป็ นแนวคิดในการแก้ ปญั หาเหล่านี้ท่เี กิดขึ้น โดยมี กฎเกณฑ์สาหรับการพัฒนาอย่างยังยื ่ นที่ได้รบั การยอมรับจากการดาเนินงานของ ทัง้ ภาครัฐและเอกชน ตลอดจนการวางแผนการดาเนินงานที่จะส่งผลให้เกิดการ พัฒนาอย่างยังยื ่ นแทนทีจ่ ะเน้นถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยแบ่งออกเป็ น 2 ด้านคือ ภาครัฐและภาคเอกชน 1. ภาครัฐเพื่อให้การพัฒนาที่ยงยื ั ่ นสามารถแทรกเข้าไปในทุกส่วนของ สังคมโลก องค์การสหประชาชาติจงึ เสนอให้ประเทศกาลังพัฒนาที่ ประสบความล้มเหลวในการพัฒนาตามที่กล่าวมาข้างต้น เร่งปฏิรูป ระบบเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการปฏิรปู การเมือง การบริหาร การศึกษา การขจัดและลดความยากจน การส่งเสริมให้มกี ารบูรณาการทางการ ผลิต ทางการเกษตร การสร้างาน การรักษาสิง่ แวดล้อม และการลด อัตราการเพิม่ ขึน้ ของประชากร เป็ นต้น ซึง่ ทางภาครัฐจะมีการกาหนด รูปแบบในการประเมินอย่างยังยื ่ นใน 4 ขัน้ ตอน โดยมีการใช้วธิ กี าร ทางบัญชีต้นทุ นเป็ นพื้นฐานในการประเมินผลกิจกรรมต่ างๆ ที่ม ี ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อมและสังคม ซึง่ ประกอบด้วย 1.1 ขัน้ ที่ 1 กาหนดวัตถุ ประสงค์ของต้นทุนกาหนดจุดส าคัญของ การบริหารออกมาเป็ นแนวทางของโครงการต่างๆ โดยทีมงาน โครงการ 1.2 ขัน้ ที่ 2 ระบุ ข อบเขตของการวิ เ คราะห์ ม ีก ารก าหนดอย่ า ง แพร่หลาย ซึ่งการติดตามผลกระทบของโครงการนัน้ มีมากกว่า วงจรทีม่ กี ารแพร่ขยายผลกระทบเหล่านัน้ โดยตรง ทาให้สามารถ ควบคุมได้โดยทีมงานโครงการ


37 1.3 ขัน้ ที่ 3 ระบุผลกระทบของวัตถุประสงค์ต้นทุนทาการพิจารณา ภายใต้หวั ข้อเศรษฐกิจ ทรัพยากรทีใ่ ช้ สิง่ แวดล้อมและสังคม 1.4 ขัน้ ที่ 4 ผลกระทบจากกาไรเกิดขึน้ ผลกระทบของโครงการจะถูก แปลงเป็ นฐานการวัดทัวไปด้ ่ านตัวเงิน ที่มคี วามหลากหลายใน การสร้างรูปแบบการวัดที่ได้ท่อี าจนามาใช้เพียงการเปิ ดเอกสาร เท่าที่จะเป็ นได้เพื่อให้ทราบราคาปจั จุบนั ส าหรับการระบุกลไก ลการสร้างกาไรที่จะเกิดขึ้น เมื่อทาการสร้างแบบจาลองสาหรับ การสร้างโครงการและระบุ การหมุนเวียนที่ส าคัญทัง้ หมด ซึ่ง อาจจะมีการเปลี่ยนเป็ นทางด้านตัวเงิน ซึ่งช่วยให้สามารถสร้าง กราฟได้ เป็ นผลให้ ก ราฟที่ เ ป็ นรู ป แบบพื้นฐานออกมาเป็ น รูปแบบการประเมินการพัฒนาอย่างยังยื ่ น 2. ภาคเอกชน การดาเนินธุรกิจขององค์การจะมีกาหนดแนวทางในการ ปฏิบตั ใิ ห้กบั ตัวขององค์การในการป้องการเกิดขึน้ ของความล้มเหลว ในการพัฒนาอย่างยืนในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นด้านตัวองค์การ ด้าน ดาเนินงาน และด้านการเงิน ซึง่ แนวโน้มของทัง้ 3 ด้าน ทีก่ ล่าวมานัน้ เป็นตัวทีใ่ ช้การประเมินผลการพัฒนาอย่างยังยื ่ นหลักขององค์การ ถึง การประสิทธิภาพในประกอบธุ รกิจขององค์การในภาคเอกชน ซึ่ง หลายองค์ ก ารสามารถด าเนิ น การในเรื่ อ งเหล่ า นี้ ไ ด้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ แต่ในทางกลับกันก็ยงั มีในบางองค์การทีไ่ ม่สามารถทา การพัฒนาอย่างยังยื ่ นได้ โดยสามารถทราบถึงประสิทธิภาพการ ปฏิบตั ขิ ององค์การจากปจั จัยในการประเมินผลดังภาพที่ 2-24


38

ภาพที่ 2-24 หลักการในการบริหารจัดการองค์กร ทีม่ า: Chartered Institute of Management Accountants. www.cgma.org. (21March 2012) 2. การฟื้นฟูค่านิยม หลักคุณธรรม ให้มาเป็นหลักการสาคัญทีส่ ุดสาหรับทุกเรือ่ ง 2.1 หลักธรรมาภิบาล

ภาพที่ 2-25 องค์ประกอบทีส่ าคัญ 6 ประการของหลักธรรมาภิบาล ทีม่ า: ศักดิ ์ชัย ภู่เจริญ. http://www.kruinter.com. (18 มีนาคม 2555)


39 ศักดิ ์ชัย ภู่เจริญ (2553) กล่าวว่า หลักธรรมาภิบาล หมายถึง การบริหาร กิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี เป็ นแนวทางสาคัญในการจัดระเบียบให้สงั คม ซึ่ง เป็นหลักการเพื่อการอยูร่ ว่ มกันในบ้านเมืองและสังคมอย่างมีความสงบสุข องค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาลจากภาพที่ 2-25 มีองค์ประกอบที่ สาคัญ 6 ประการ ดังนี้ 1. หลักนิติธรรม คือ การตรากฎหมาย กฎ ข้อบังคับต่างๆ ให้ทนั สมัย และเป็ นธรรม เป็ นที่ยอมรับของสังคมและสมาชิก ถือปฏิบตั ริ ่วมกัน อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม 2. หลักคุ ณธรรม คือ การยึดถือและเชื่อมันในความถู ่ กต้อง โดยการ รณรงค์เพื่อสร้างค่านิยมทีด่ งี ามให้ผปู้ ฏิบตั งิ านในองค์การหรือสมาชิก ของสังคมถือปฏิบตั ิ 3. หลักความโปร่งใส คือ การทาให้สงั คมไทยเป็ นสังคมทีเ่ ปิดเผยข้อมูล ข่าวสารอย่างตรงไปตรงมา และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ ซึง่ จะเป็ นการสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน และช่วยให้การทางาน ของภาครัฐและภาคเอกชนปลอดจากการทุจริตคอรัปชัน่ 4. หลักความมีส่วนร่วม คือ การทาให้สงั คมไทยเป็ นสังคมทีป่ ระชาชนมี ส่วนร่วมรับรู้ และเสนอความเห็นในการตัดสินใจสาคัญๆ ของสังคม 5. หลักความรับผิดชอบ มีความรับผิดชอบต่อความบกพร่องในหน้ าที่ การงานทีต่ นรับผิดชอบอยู่ และพร้อมทีจ่ ะปรับปรุงแก้ไขได้ทนั ท่วงที 6. หลักความคุ้มค่า การบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากรที่มจี ากัดให้ เกิดประโยชน์คุม้ ค่า เพื่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ส่วนรวม 2.2 จิตสานึกแห่งความรับผิดชอบต่อเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากร บุณิกา จันทร์เกตุ (2555) กล่าวว่า ในปจั จุบนั ธุรกิจที่ไม่มศี ลี ธรรม โดย ดาเนินธุรกิจมุ่งเน้นแต่ผลกาไรแต่ไม่คานึงถึงผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ กับผู้บริโภคมี มากขึน้ ความเจริญรุ่งเรืองทางด้านวัตถุ เป็ นสาเหตุท่ที าให้สงั คมแสวงหาเงินทอง มากกว่าที่จะให้ความส าคัญทางด้านจิตใจ สังคมจึงเสื่อมโทรมลงอย่างเห็นได้ ชัดเจนท่ามกลางการแข่งขันทางธุรกิจ ดังนัน้ การปลูกฝงั ความสานึกให้กบั บุคคล และองค์การเพื่อให้มคี วามรับผิดชอบต่ อตนเองและสังคมจึงควรที่จะเกิดขึ้นใน สังคม ด้วยเหตุน้ีในปจั จุบนั จึงมีการกล่าวถึงคาว่า “จิตสาธารณะ” เพื่อให้องค์การ ธุรกิจได้ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสาธารณะมากกว่าตนเอง โดยในภาพรวม แล้วหากองค์การมีความรับผิดชอบต่ อสังคมจะมีส่ วนช่ วยเหลือเศรษฐกิจของ ประเทศให้มคี วามมันคงเจริ ่ ญรุ่งเรืองได้ เนื่องจากองค์การที่มคี วามรับผิดชอบต่อ สังคมย่อมไม่ทาให้เกิดความเสียหายในเรือ่ งต่างๆ


40 2.3 แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระ ราชด ารัสชี้แนะแนวทางการด าเนิ นชีว ิตแก่ พสกนิ กรชาวไทย ตัง้ แต่ ก่ อนเกิด วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และภายหลังได้ทรงเน้ นย้าแนวทางการแก้ไข เพื่อให้ รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างมันคงและยั ่ งยื ่ นภายใต้กระแสโลกาภิวฒ ั น์และ ความเปลีย่ นแปลงต่างๆ เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบตั ิตนของ ประชาชนในทุกระดับตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการ พัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนิ นไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา เศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่ อโลกยุคโลกาภิวฒ ั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็ นทีจ่ ะต้องมีระบบภูมคิ ุม้ กันในตัวทีด่ ี พอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทัง้ ภายนอกและ ภายใน ทัง้ นี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง่ ในการน าวิชาการต่ างๆ มาใช้ในการวางแผนและด าเนิ นการทุ กขัน้ ตอน และ ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพืน้ ฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าทีข่ อง รัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มสี านึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้ความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ด าเนิ นชีว ิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและกว้างขวางทัง้ ด้านวัตถุ สังคม สิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกได้เป็นอย่างดี1

1

สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ประมวลและกลันกรองจากพระราชด ่ ารัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หวั เรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ พระราชทานในวโรกาสต่างๆ รวมทัง้ พระราชดารัสอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง


41

ภาพที่ 2-26 สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทีม่ า: สุดารัตน์ เสาวโค. www.gotoknow.org. (19 มีนาคม 2555) 2.4 การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านการบริหารจัดการองค์การ ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ (2554) อ้างถึง สุเมธ ตันติ เวชกุล (2554) กล่าวว่า หัวใจของเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักการเหมือนกับศีล 5 คือ นาไปปฏิบตั ิท่ีไหนก็เหมือนกันจะต่ างกันที่ว ิธ ีการกระทาหรือเส้นทางที่จะเดิน เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเพียง “เครื่องมือ” ซึง่ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการบริหาร องค์การได้ทุกองค์การ เป้าหมายก็เพื่อทาให้เกิดความมันคง ่ มีความสุข มีความ ยังยื ่ น โดยอาศัยแนวทางการดาเนินงานที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ 1. ความพอประมาณในทุกด้าน ความพอดีท่ไี ม่น้อยเกินไปและไม่มาก เกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ ่นื 2. ความมีเหตุ มผี ล การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนัน้ จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล 3. การมีภูมคิ ุ้มกันที่ดใี นทุกด้าน หมายถึง องค์การเราต้องมีการเตรียม ตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ โดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ ในอนาคตทัง้ ใกล้และไกล 4. เป็ นองค์การที่ม ีความรู้คู่คุ ณธรรม สมดุ ลและยังยื ่ น การสะสมทุ น มนุ ษย์ ทุนความรู้ การบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management:


42 KM) มีนโยบายโดดเด่นในการพัฒนาพนักงานอย่างต่อเนื่อง เน้ นให้ พนั กงานมีคุ ณธรรมจริยธรรมในการท างานและในการด ารงชีว ิต คุณภาพชีว ิตในการทางานกับดุลยภาพของชีว ิตสุ ขภาพและความ ปลอดภัยในชีวติ 3. การสร้างองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ 3.1 ความหมายขององค์การแห่งการเรียนรู้ แก้ วตา ไทรงาม และคณะ (2548) ได้ให้ความหมายของแนวคิด ซึ่ง สามารถสรุปได้ว่า องค์การที่มุ่งสู่ความเป็ นเลิศด้วยการพัฒนาความสามารถของ คนในองค์การ ทัง้ ในด้านความรู้ ทักษะ ให้เกิดประโยชน์ สูงสุ ดต่ อองค์การ โดย ส่งเสริมการเรียนรูข้ องสมาชิกทุกๆ คน เน้นให้บุคลากรเรียนรูด้ ้วยการปฏิบตั จิ ริง ให้เกิดประสบการณ์ และนามาพัฒนาปรับปรุงเปลีย่ นแปลงองค์การอย่างต่อเนื่อง 3.2 ความสาคัญของการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้

ภาพที่ 2-27 แสดงปจั จัยทีน่ าไปสู่การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ ทีม่ า: เสาวนิต คาจันทา. www.songthai.com. (18 มีนาคม 2555) จากภาพที่ได้แสดงให้เห็นถึงปจั จัยต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปจั จุบนั ซึ่งส่งผล กระทบต่ อองค์การอย่างมาก สามารถอธิบายได้ว่า ในปจั จุบนั ธุรกิจแข่งขันกัน อย่างรุนแรงจากกระแสโลกาภิวฒ ั น์และเศรษฐกิจโลกทาให้ทุกประเทศต้องปรับตัว และพัฒนาความได้เปรียบ ลดข้อด้อยของตนเอง เพื่อท าให้ศ ักยภาพของการ แข่งขันเพิม่ มากขึน้ การแข่งขันในรูปแบบใหม่น้ีองค์การทีจ่ ะอยู่รอดต้องผลิตสินค้า ทีม่ คี ุณภาพดีขน้ึ และเน้นลูกค้าเป็ นสาคัญ นอกจากนี้ยงั มีปญั หาเศรษฐกิจทัวโลก ่ ซบเซาจากความล้มเหลวของระบบทุนนิยมแรงงานคุณภาพขาดแคลน เนื่องจาก เป็นเพราะระบบการศึกษาและการพัฒนาฝีมอื แรงงานผลิตคนได้ชา้ ไม่ทนั กับความ


43 เปลี่ยนแปลงของสภาพธุรกิจในปจั จุบนั ดังนัน้ บุคลากรในองค์การจาเป็ นต้อง ฝึ กฝนตนเองผ่านการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็ นต้นทาให้การสร้างองค์การแห่งการ เรียนรูเ้ ข้ามามีบทบาททีส่ าคัญ เพื่อความอยูร่ อดของธุรกิจในปจั จุบนั 3.3 การสร้างองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ปาริฉั ตต์ ศังขะนันทน์ (2548) ได้กล่ าวว่ า การสร้างองค์การให้เป็ น องค์การแห่งการเรียนรู้ อันดับแรกทาการสารวจสภาพปจั จุบนั ขององค์การและทา การประเมินถึงศักยภาพและบุคลากรรวมทัง้ ประเมินการมีส่วนร่วมในกระบวนการ เรียนรูใ้ นปจั จุบนั จากนัน้ นาข้อมูลที่ได้มากาหนดเป้าหมายกลยุทธ์หรือแนวทางที่ จะใช้เป็ นรูปแบบและกิจกรรมที่จะทาให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันและการ ดาเนินงานตามแผนทีต่ งั ้ ไว้ มีการติดตาม และจัดเกณฑ์การพิจารณาประเมินผลใน ขัน้ ท้ายสุดหลังจากทีด่ าเนินการไปแล้วระยะหนึ่งเพื่อให้ทราบว่าองค์การมีลกั ษณะ เป็นองค์การแห่งการเรียนรูม้ ากน้อยเพียงใด เพื่อทาการปรับปรุงและพัฒนาต่อไป ประกอบกับการนากฎของ Peter Senge มาใช้ในการสร้างองค์การแห่งการ เรียนรูโ้ ดยมีกฎ 5 ประการ ซึง่ เปี่ยมพงศ์ นุ้ยบ้านด่าน (2543) ได้สรุปไว้ว่า 1. การเรียนรูข้ องสมาชิกในองค์การ (personal mastery) เป็ นองค์การ แห่งการเรียนรู้ จะต้องมีลกั ษณะสนใจเรียนรูส้ งิ่ ใหม่อยู่เสมอ เพื่อเพิม่ ศักยภาพของตน 2. แบบอย่างทางความคิด (mental models) มีการศึกษาและรู้เท่าทันการ เปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ โดยมีทศั นคติทด่ี ี 3. การมีวสิ ยั ทัศน์รว่ มกันของคนในองค์การ (shared vision) สมาชิกทุกคน ในองค์การมีการพัฒนาวิสยั ทัศน์ ของตนให้สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ โดยรวม เพื่อไปสู่จดุ มุง่ หมายเดียวกัน 4. การเรียนรูเ้ ป็ นทีม (team learning) ส่งผลให้เกิดความคิดทีห่ ลากหลาย ั หาที่ซบั ซ้อน มีการรับฟ งั ความคิดเห็นของผู้อ่ืน เรียนรู้การแก้ป ญ ร่วมกัน 5. ระบบการคิดของคนในองค์การ (system thinking) มีการคิดอย่างเป็ น ระบบ โดยคิดถึงภาพรวม เพื่อเชื่อมโยงสิง่ ต่างๆ และเข้าใจโครงสร้าง อย่างเป็นขัน้ ตอน 4. การออกแบบระบบการสื่อสารและสารสนเทศ ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อประสิทธิภาพของ องค์การโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในโลกปจั จุบนั ทีม่ กี ารเปลี่ยนแปลงตลอดเวลามีการแข่งขัน ทางธุรกิจสูง องค์การที่มกี ารบริหารงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่าง รวดเร็ว ย่อมทาให้สามารถดาเนินธุรกิจต่อไปได้ ดังนัน้ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศ


44 มาใช้ในองค์การ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ได้นนั ้ องค์การจะต้องสร้างความแข็งแกร่งเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตผลิตภัณฑ์ ทัง้ นี้ เพื่อให้องค์ก ารเกิดความได้เปรียบ ทางการแข่งขัน 4.1 ระบบสารสนเทศปจั จัยสาคัญต่อความสาเร็จในการบริหารองค์การ เสกสิทธิ คูณศรี (2555) กล่าวว่า จากการเปลี่ยนแปลงของโลกปจั จุบนั ที่ มีการแข่งขันกันอย่างสูงขึน้ การตัดสินใจของผูบ้ ริหารจึงมีระยะเวลาทีจ่ ากัดภายใต้ เงื่อนไขต่ างๆ มากมาย ทาให้บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์ก ารมีมากขึ้น ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีทใ่ี ช้กนั ในปจั จุบนั ถือว่าเป็ นตัวขับเคลื่อนทีส่ าคัญที่ จะช่วยให้ผู้บริหารสามารถเก็ บรวบรวมข้อมูล แก้ไขเปลี่ยนแปลง เรียกดูข้อมูล ประมวลผล รวมถึงการวิเคราะห์ขอ้ มูลสามารถทาได้อย่างง่ายขึน้ และมีค่าใช้จ่ายที่ ลดลง ในขณะเดียวกันระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีกย็ งั สามารถช่วยให้เกิดการ พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการในการผลิตและการปฏิบตั งิ านให้มตี ้นทุนที่ต่ าลง ใช้เวลาในการทางานทีล่ ดลงแต่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ทม่ี คี ุณภาพมากยิง่ ขึน้ ดังนั ้น องค์ ก ารทุ ก ๆ องค์ ก ารจึง ควรมีการน าระบบสารสนเทศและ เทคโนโลยีไปใช้เพื่อช่วยในการพัฒนาและสร้างความสาเร็จให้กบั องค์การ เพื่อ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันทีม่ กี ารเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปจั จุบนั และยากต่อการคาดการณ์ อย่างไรก็ตามการนาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีไป ใช้เพื่อพัฒนาองค์การให้ส าเร็จได้นั น้ ขึ้นอยู่ก ับความพร้อมของป จั จัยภายใน องค์การหลายด้าน ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ข้อมูลและสารสนเทศ ฐานข้อมูล ระบบเครือข่ายการสื่อสาร ความซับซ้อนของกระบวนการทางาน บุคลากรทีท่ างาน เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ และที่สาคัญคือผู้ใช้งาน โดยต้องอาศัยการบริหารการ เปลี่ยนแปลงที่ดี เพื่อ ให้ ผู้ ใ ช้ งานยอมรับและใช้ งานเทคโนโลยีได้ อ ย่ างเต็ ม ประสิทธิภาพ 4.2 การออกแบบและวางระบบสารสนเทศทางการบัญชี อนุรกั ษ์ ทองสุโขวงศ์ (2548) กล่าวว่า ปจั จุบนั งานของนักบัญชีมกี ารเปลีย่ นแปลง จากเดิมอย่างมาก เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนั สมัยทาให้มกี ารพัฒนา ชุ ด ค าสัง่ ส าเร็จ รู ปหรือ ชุ ด ค าสัง่ เฉพาะส าหรับ ช่ ว ยในการเก็ บรวบรวมและ ประมวลผลข้อมูล ซึ่งจะช่วยลดระยะเวลาและเพิม่ ความถูกต้องในการทางานแก่ ผูใ้ ช้งาน ทาให้นกั บัญชีมเี วลาในการปฏิบตั งิ านเชิงบริหารมากขึน้ ระบบบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) เป็ นแนวคิด ของระบบการบริหารต้นทุนแบบใหม่ซ่งึ มีจุดมุ่งหมายให้ผู้บริหารหันมาให้ความ สนใจกับการบริหารกิจกรรมและต้นทุนที่เกี่ยวข้อง ดังนัน้ จึงมีการบริหารโดยแบ่ง ออกเป็ นกิจกรรมต่างๆ และถือว่ากิจกรรมเป็ นสิง่ ที่ทาให้เกิดต้นทุนกิจกรรมคือ


45 การกระทาที่เปลี่ยนทรัพยากรของกิจการออกมาเป็ นผลผลิตได้ ดังนัน้ การบัญชี ต้นทุนกิจกรรมนอกจากเน้นการระบุกจิ กรรมแล้วยังระบุต้นทุนของกิจกรรม เพื่อใช้ ในการคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ และเพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการดาเนินงาน ระบบต้นทุนฐานกิจกรรมเป็ นระบบการใช้ทรัพยากรขององค์ก ารไปใน กิจกรรม โดยจะแบ่งการบริหารออกเป็ นกิจกรรมต่างๆ โดยที่ต้นทุนกิจกรรมจะมี การปนั ส่วนเข้าสู่ผลิตภัณฑ์นัน้ ๆ ตามปริมาณการใช้กจิ กรรมของผลิตภัณฑ์เป็ น สาคัญ นอกจากนี้ยงั ถือว่ากิจกรรมสนับสนุ นต่างๆ เกิดขึน้ เพื่อให้การดาเนินงาน ดาเนินไปตามปกติ การใช้ระบบบัญชีต้นทุนตามกิจกรรมเป็ นพื้นฐานในการนาไปใช้ในระบบ บัญชีอ่นื ๆ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงกว่า เช่น ผลลัพธ์ทไ่ี ด้จากการประเมินว่ากิจกรรมใด เป็ นกิจกรรมที่เพิม่ คุณค่าและกิจกรรมไม่เพิม่ คุณค่าสามารถนาข้อมูลทีไ่ ด้ไปใช้ใน การบริหารกิจกรรม (ABM) เป็นต้น นอกจากนี้ การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม ซึ่งมีหน้าที่ในการจาแนกต้นทุน ทางด้านสิง่ แวดล้อมก็ใช้หลักการระบบต้นทุนตามกิจกรรม (ABC) ในการปนั ส่วน ต้นทุน เนื่องจากมีแนวคิดว่า ผลิตภัณฑ์ใดสร้างกิจกรรมมากผลิตภัณฑ์นัน้ ก็จะ ได้รบั ต้นทุนไปมากเช่นกัน ซึ่งเป็ นหลักการเดียวกันกับแนวคิดการบัญชีบริหาร สิง่ แวดล้อม 5. การออกแบบกระบวนการดาเนินงาน 5.1 ความด้อยประสิทธิภาพของต้นทุน การบริหารจัดการต้นทุนในองค์การย่อมมีความด้อยประสิทธิภาพเกิดขึน้ ได้ ซึ่งเป็ นสิง่ ที่องค์การไม่ต้องการให้เกิดขึน้ เนื่องจากจะส่งผลกระทบต่อองค์การ ในระยะยาวทฤษฎีเกี่ยวกับความด้อยประสิทธิภาพจะแตกต่างกันไปขึน้ อยู่กบั วิธที ่ี ใช้ในการบริหารจัดการ ซึง่ ทาให้ช่อื แตกต่างกันไปด้วย บางทฤษฎีเกิดภาวะเหลื่อม ล้ากันคือ อาจมีวธิ กี ารจัดการกับความด้อยประสิทธิภาพทีเ่ หมือนกันหากมองในแง่ ของการบริหารต้นทุนความด้วยประสิทธิภาพก็คอื ของเสีย (waste) นัน่ เอง ซึง่ อาจ แฝงอยู่ในรูปของของดีและของเสีย โดยสามารถแบ่งตามมุมมองของแนวคิดได้ 3 แนวคิด ดังต่อไปนี้


46

ภาพที่ 2-28 ของเสียตามมุมมองตามแนวคิดของ ABC, EMA และ LEAN ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน) จากภาพข้างต้นสามารถอธิบายแนวคิดทัง้ 3 แนวคิด โดยเริม่ จาก 1. ต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) สามารถแบ่ง กิจกรรมได้ทงั ้ หมด 2 กิจกรรม คือ 1.1 กิจกรรมที่เพิม่ มูลค่า (value added) หมายถึง กิจกรรมทีจ่ าเป็ น ต่อการผลิตและเพิม่ มูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์ของเสียอาจแฝงอยู่ใน กิจกรรมทีเ่ พิม่ มูลค่าได้ 1.2 กิจกรรมทีไ่ ม่เพิม่ มูลค่า (non - value added) หมายถึง กิจกรรมทีเ่ พิม่ ค่าใช้จ่ายหรือเวลาทีใ่ ช้ในการผลิตแต่ไม่เพิม่ มูลค่าให้แก่ตวั ผลิตภัณฑ์ และอาจมีความจ าเป็ นในระดับต่ างกัน โดยกิจกรรมที่ไม่เพิ่ม มูลค่าจัดว่าอยูใ่ นกลุ่มของเสีย (waste)


47 2. การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (Environmental Management Accounting: EMA) คือ แนวคิดทางการบัญชีท่คี านึงถึงต้นทุนสิง่ แวดล้อม โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้องค์การคานึงถึงการกาจัดของเสีย (waste) ในทุก ขัน้ ตอนของกระบวนการผลิตก่อนปล่อยออกสู่สงั คม 3. Leanคื อ แนวคิ ด ในการลดความไม่ ส ม่ า เสมอ(Mura)การฝื น ท า (Muri)และความสูญเปล่า (Muda) ที่เกิดขึน้ ในการทางานขององค์การ โดยความสูญเปล่า (wastes) ที่เกิดจากแนวคิดแบบลีนเรียกว่า ความ สูญเปล่า 7 ประการ (7 waste analysis) สามารถจาแนกของเสียได้ 7 อย่าง ประกอบไปด้วย 3.1 ความสูญเปล่ าจากการผลิตเกินความจาเป็ น หากเราผลิตมาก เกินไปจะทาให้มสี นิ ค้าคงคลังเพิม่ มากขึน้ เกิดต้นทุนในการเก็บ รักษาและการขนย้ายสินค้าอีกทัง้ ยังมีความเสี่ยงทีไ่ ม่สามารถขาย สินค้าได้หมด 3.2 ความสูญเปล่าจากการรอคอยเกิดจากการขาดแคลนวัตถุดบิ หรือ ขัน้ ตอนการผลิตใดขัน้ ตอนการผลิตหนึ่งเกิดติดขัดทาให้ขนั ้ ตอน ต่อไปไม่สามารถผลิตต่อไปได้ ทาให้สายการผลิตต้องหยุดชะงัก 3.3 ความสู ญ เปล่ า จากการเคลื่ อ นย้ า ยและขนย้ า ยที่ไ ม่ จ าเป็ น (transportation) ล้วนเป็ นความสูญเปล่ าทัง้ สิ้น เพราะเป็ นการ สิน้ เปลืองทัง้ แรงงานและเวลาโดยไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิม่ ใดๆ 3.4 ความสูญเปล่าจากการมีสนิ ค้าคงคลังเกินความจาเป็ น เกิดจาก การทีอ่ งค์การมีการผลิตของเสียเป็ นจานวนมาก ทาให้ต้องสารอง วัต ถุ ดิบ ไว้ เ พื่อ สต็ อ กสินค้ า เปลี่ย นแทนให้ กับ ลู ก ค้ า อี ก ทัง้ องค์การมักคิดว่ าการซื้อวัตถุ ดิบในปริมาณมากๆ จะทาให้ได้ ราคาวัตถุดบิ ในราคาถูก แต่ไม่ได้คานึงถึงต้นทุนในการเก็บรักษา วัตถุดบิ ว่าคุม้ ค่าหรือไม่ 3.5 ความสูญเปล่าที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของร่างกายที่ไม่จาเป็ น โดยมุ่งเน้นให้องค์การมีการจัดระเบียบการทางาน ณ จุดทางาน ให้เหมาะสม เพื่อทาให้ร่างกายเคลื่อนไหวน้อยที่สุดเกิดความล้า น้ อยที่สุ ด ซึ่งจะท าให้พนักงานสามารถปฏิบ ัติงานได้อย่ างมี ประสิทธิภาพ 3.6 ความสูญเปล่าที่เกิดจากการมีกระบวนการที่ไม่ม ีประสิทธิภาพ ความสูญเปล่าข้อนี้จะไม่เกิดขึ้นหากองค์การมีการพัฒนาอย่าง ต่ อเนื่ อง ซึ่งสิ่งที่ส าคัญที่สุ ดของระบบการผลิตแบบลีนก็ค ือ


48 องค์การต้องไม่กลัวการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสู่กระบวนการที่ม ี ประสิทธิภาพทีด่ ขี น้ึ อย่างต่อเนื่อง 3.7 ความสูญเปล่าจากการผลิตของเสีย องค์การหลายๆ องค์การนัน้ มุ่งเน้นแต่การแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้าโดยที่ไม่ได้ให้ความสาคัญ กับการวิเคราะห์ปญั หาเพื่อหาสาเหตุ ดังนัน้ ผู้บริหารจะต้องให้ ความส าคัญกับการวิเคราะห์ปญั หาการผลิตของเสียอย่างเร็ว ทีส่ ุดเพื่อให้เกิดการผลิตของเสียให้น้อยทีส่ ุด กล่าวโดยสรุปถึงความสัมพันธ์ของความด้อยประสิทธิภาพในเชิงองค์รวม ได้ว่า ของเสียทัง้ 7 ประการสามารถจาแนกออกเป็ น Muri Mudaและ Mura สามารถ อธิบายความหมายของแต่ละตัวได้ดงั นี้ 1. ความสูญเปล่า (Muda) เกิดได้หลายลักษณะ เช่น ความสูญเปล่าที่เกิด จากการรอคอย การเคลื่อนย้าย การปรับเปลีย่ น การทาใหม่ การถกเถียง เป็ นต้น ยกตัวอย่างเช่น การประชุมอาจเกิดความสูญเปล่าได้ หากการ ประชุมนัน้ กลายเป็นการถกเถียงกัน ทาให้เสียเวลาไปกับการประชุมที่ ไม่ได้ขอ้ สรุป หรือในการทากิจกรรมการขาย ถ้าไม่มกี ารวางแผนใน การจัด พื้น ที่ก ารไปพบลู ก ค้ า ก็ จะเสีย เวลาในการเดิน ทางและ สิน้ เปลืองค่าใช้จา่ ยโดยไม่จาเป็น 2. ความไม่สม่ าเสมอ (Mura) งานที่มคี วามไม่สม่ าเสมอไม่ว่าจะเป็ นใน เรื่องของปริมาณ วิธกี ารทางาน หรืออารมณ์ในการทางาน ทาให้เกิด ความไม่สม่าเสมอของผลงานตามไปด้วย นัน่ หมายความว่า ผลงานที่ ออกมาไม่เป็ นไปตามมาตรฐาน หากทุกคนสามารถรักษามาตรฐาน ของงานไว้ได้ก็จะทาให้ประสิทธิภาพของงานสูงขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ในการประชุมไม่เคยมีผู้เข้าร่วมประชุมพร้อมหน้ าเลย ครัง้ นี้ขาดคน นัน้ ครัง้ นัน้ ขาดคนนี้ และในการทากิจกรรมการขายก็เช่นเดียวกัน พนักงานอาจมีความตัง้ ใจในการทางานที่ไม่สม่าเสมอ ถ้าไม่ถงึ ปลาย เดือนก็จะไม่พยายามขาย เป็นต้น 3. การฝื นทา (Muri) การฝื นทาสิง่ ใดๆ ก็ตาม มักทาให้เกิดผลกระทบ บางอย่างในระยะยาว ยกตัวอย่างเช่น การทางานล่วงเวลาเป็ นประจา เป็ นการฝื นร่างกายซึ่งไม่เป็ นผลดีในระยะยาว อาจท าให้ร่างกาย อ่อนเพลีย ประสิทธิภาพในการทางานลดลง ในการประชุมหากยังไม่ มีการปรึกษาหารือที่มากเพียงพอแต่กลับเร่งรัดให้มกี ารลงมติก็จะได้ ข้อสรุปที่ผดิ พลาด ส่วนในด้านการขาย การฝื นลดราคาเพื่อให้ได้รบั ออเดอร์หรือการรับงานทีต่ อ้ งส่งมอบเร็วเกินไปก็ไม่ส่งผลดีเช่นกัน


49

7 Wastes EMA ABC/ABM 1. over production 2. waiting non-value 3. transportation added 4. inventory 5. motion 6. over processing waste 7. defective units ภาพที่ 2-29 เปรียบเทียบของเสียตามมุมมองตามแนวคิดของ ABC, EMA และ Lean ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน)

Lean

Muri Mura

Muda

จากทีก่ ล่าวมาข้างต้นถึงของเสียทัง้ 7 ประเภทนัน้ ตามมุมมองของแนวคิด ABC/ABM เรียกทัง้ หมดว่า กิจกรรมทีไ่ ม่เพิม่ มูลค่า (non-value added) ส่วน ในมุมมองของแนวคิด Lean กลุ่มของเสียตัง้ แต่ขอ้ ที่ 1-6 เรียกว่า Muri และ Mura คือ การหยุดการผลิตโดยทันที (Jidoka) ซึ่งสามารถกาจัดออกไปได้ เพียงบางส่วนเท่านัน้ และเหลือแต่เพียงของดีเอาไว้ และของเสียข้อที่ 7 จะเรียกว่า Muda คือ ความสูญเปล่ าที่ต้องก าจัดทิ้งให้เหลือศู นย์ แต่ ตามแนวคิดของ EMA เรียกของเสียข้อที่ 7 ว่า ของเสีย (waste) ซึง่ เนื่องจาก Muda เป็ นของเสียที่ ต้องกาจัดให้หมดไป แต่ Muri กับ Mura จะแฝงอยู่ในรูปของของดีเพียงบางส่วน ดังนัน้ สามารถกาจัดได้เพียงบางส่วนเท่านัน้ และเหลือไว้เพียงของดีเอาไว้ ส่วนวิธกี ารจัดการมีหลากหลายรูปแบบคือ ขายหรือรีไซเคิล และบางส่วนที่ จัดการไม่ได้จะต้ องพยายามลดของเสียนัน้ จนกระทัง่ เหลือศู นย์ และต้อง พยายามลดความสูญเปล่าหรือความด้อยประสิทธิภาพประเภทต่างๆ ให้ลดลง ดังนัน้ ธุรกิจจึงมีแนวทางในการลดหรือขจัดความด้อยประสิทธิภาพ เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดคือ การขจัดความสูญเปล่าทีเ่ กิดขึน้ ในทุกๆ กิจกรรมให้หมดไป โดยพืน้ ฐานการควบคุมควรเริม่ จากการสังเกตในเรื่องของ สถานทีท่ างานว่าอยูใ่ นสภาพทีป่ กติหรือไม่อาจมีการติดป้ายระบุว่าส่วนใดเป็ น พื้นที่ทางาน ทางเดินหรือที่วางสิง่ ของเพื่อให้เกิดระบบในการใช้พ้นื ที่ภายใน โรงงานให้เป็ นสัดส่วนนัน่ เอง ในส่วนของกระบวนการผลิตควรมีบอร์ดควบคุม การผลิตเพื่อดูว่าผลิตได้แล้วจานวนเท่าไหร่ เกิดความล่าช้าในการผลิตที่จะ


50 ส่งผลกระทบต่อปริมาณสินค้าหรือไม่เครื่องจักรมีการดาเนินงานเป็ นอย่างไร รวมถึงควรเปิ ดเผยข้อมูลทัง้ หมดของหน้างานผลิต สถานการณ์ด้านคุณภาพ เพื่อพนักงานจะได้ร่วมกันทาให้บรรลุเป้าหมาย มีการกาหนดมาตรฐานการ ทางานเพื่อหาความผิดปกติทจ่ี ะก่อให้เกิดความด้อยประสิทธิภาพในระบบ เพื่อ มุ่งค้นหาถึงสาเหตุอย่างจริงจัง วางแผนหามาตรฐานการปรับปรุง ดาเนินการ ปรับปรุง ทบทวนงานตามมาตรฐาน และทาให้สงิ่ เหล่านี้ดาเนินการได้อย่าง ยังยื ่ นตลอดไป 5.2 ระบบการผลิตแบบลีน

วิ ธี ก า ร ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ น ด้ า น ก า ร เ งิ น มี ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ที่ ออกแบบมาเพื่อ เพิ่ม ผลผลิต และผลกาไรอย่างต่อ เนื่อ งและ ผลักดันผลการดาเนินงาน

People Development การเสริม สร้างทักษะ ทัศ นคติ และความเชือ่ ” ซึง่ ช่วยให้การ พัฒ นาของวัฒ นธรรมองค์ ก ร ของคุณและในทีส่ ุดก็กลายเป็ น สภาพแวดล้อมระดับโลก

Implementation of Value Management

The 8 Tools of Total Cost Management

The Road Map to Achieve ‘World Class’ Status Implementation of Lean Manufacturing

การพัฒนาห่วงโซ่อุปทาน เพือ่ การปรับปรุง -คุณภาพ - ต้นทุน - การจัดส่ง

Lean Manufacturing

Supply chain management

Supply chain management

The 8 Quality Tools of Manageme Total Cost nt Manageme The Foundation for nt Success People Development “Skin, Attibrutes& Benefit”

การส่งมอบคนและกระบวนการ ในการผลิตทีม่ คี วามเหมาะสม เพื่ อ สร้ า งความมั น่ ใจว่ า จะ สามารถสร้า งมู ล ค่ า เพิ่ม และ กาจัด ของเสีย ในรูป แบบ 7+1 ได้

Value Management เพื่อ ให้แน่ ใ จว่าผลิตภัณฑ์ข อง คุ ณ ส่ ง ม อ บ คุ ณ ส ม บั ติ ก า ร ทางาน “คุ้มค่าเงิน ” ทีด่ ีทสี่ ุด เพื่อ ลูก ค้าของคุณ ในราคาที่ม ี ประสิทธิภาพคุม้ ค่าทีส่ ดุ

Quality Management กา รด า เนิ น กา รตา มระ บ บ คุ ณ ภาพที่ม ีป ระสิท ธิภ าพจะ ช่ ว ย ล ด ค ว า ม เ สี่ ย ง ข อ ง ผลิต ภั ณ ฑ์ ท ี่บ กพร่ อ งเข้ า ถึ ง ลูกค้าของคุณ

ภาพที่ 2-30 องค์กรแห่งลีน ทีม่ า: XR training & consultancy. http://xrtraining.com/main/showpage. (19 March 2012)


51 องค์กรแบบลีน จะสามารถสาเร็จได้ด้วยการปฏิบตั ิตาม 6 ขัน้ ตอน ดังต่อไปนี้ 1. Value Management การส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้ลูกค้าด้วยประสิทธิภาพ สูงสุดและราคาทีค่ ุม้ ค่ามากทีส่ ุด 2. Quality Management การดาเนินงานตามระบบทีม่ คี ุณภาพลดข้อบกพร่อง ในสินค้าทีจ่ ะส่งมอบ 3. People Development การสร้างทักษะ สร้างทัศนคติ และความเชื่อ เพื่อช่ วยพัฒนาวัฒนธรรมภายในองค์ก ารจนกลายสภาพแวดล้อม ระดับโลก 4. The 8 Tools of Total Cost Management เครื่องมือด้านการเงินทีอ่ อกแบบ มาเพื่อเพิม่ ผลผลิตและผลกาไรอย่างต่อเนื่องให้แก่องค์การ 5. Supply chain management การประสานความร่วมมือขององค์การต่างๆ ภายในห่วงโซ่อุ ปทาน เพื่อนาไปสู่การดาเนินงานที่มปี ระสิทธิภาพ และลดต้นทุนในการดาเนินงาน 6. Lean Manufacturing การผลิตที่จะมุ่งเน้นการขจัดความสูญเปล่าที่ เกิดขึน้ ในกระบวนการ และยังสามารถสร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่องค์การ เมื่อนา 6 ขัน้ ตอนข้างต้นมาดาเนินงานร่วมกัน โดยทุกขัน้ ตอนมีความ เชื่อมโยงซึง่ กันและกัน เริม่ จากส่งมอบผลิตภัณฑ์ทค่ี ุม้ ค่าเงินให้แก่ลูกค้า ตลอดจน มีการควบคุ มคุ ณภาพสินค้าเพื่อลดความบกพร่องในผลิตภัณฑ์ น าเครื่องมือ ทางการเงินที่สร้างมาเพื่อวัดผลผลิตและก าไรมาใช้ และยังพัฒนาการสร้าง วัฒนธรรมภายในองค์การที่ดี นอกจากนัน้ มีการจัดการภายในห่วงโซ่อุปทานเพื่อ เพิม่ ประสิทธิภาพในการดาเนินงาน และสุดท้ายองค์การมีการนาวิธกี ารผลิตแบบ ลีนมาปรับปรุงในขัน้ ตอนการผลิตโดยขจัดความสูญเปล่าในองค์การ ซึ่งจะทาให้ องค์การประสบความสาเร็จได้ตามต้องการ


52

ภาพที่ 2-31 การขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการ ทีม่ า: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ุ่น). www.tpa.or.th. (23 มีนาคม 2555) ภาณุ บูรณจารุกร (2550) กล่าวว่า ความสูญเสียทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ 7 ประการนี้ เป็ นความสูญเสียทีแ่ ฝงอยู่ในกระบวนการผลิต ซึ่งทาให้ต้นทุนการผลิตสูงเกินกว่า ทีค่ วรจะเป็ น หากบริษทั ทาการขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการนี้ออกไปได้กจ็ ะทาให้ บริษทั สามารถลดต้นทุนได้ โดยการขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการสามารถทาได้ ดังนี้ 1. ความสูญเปล่าจากการผลิตเกินกว่าความจาเป็ น มีแนวทางการขจัด ความสูญเปล่าดังนี้ 1.1 ก าจัดจุดคอขวด โดยท าการศึกษาเวลาการท างานของแต่ ละ ขัน้ ตอนในการผลิตว่าทางานสมดุลกันหรือไม่ หากพบว่าขัน้ ตอน ใดมีการผลิตต่ากว่ามาตรฐานก็ทาการแก้ไข 1.2 ผลิตสินค้าเฉพาะปริมาณทีล่ กู ค้าต้องการเท่านัน้ 1.3 พนักงานต้องดูแลเครือ่ งจักรให้อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งานเสมอ 2. ความสูญเปล่าจากการรอคอย มีแนวทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 2.1 บริษัทควรมีการวางแผนการผลิต เพื่อ ให้ กระบวนการผลิต สามารถเป็นไปได้อย่างราบรืน่ 2.2 บริษทั ควรมีการรักษาเครือ่ งจักรให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.3 บริษทั ควรลดเวลาในการตัง้ เครือ่ งจักรให้น้อยลง 2.4 บริษทั ควรมีการจัดสรรพนักงานให้เหมาะสมในแต่ละส่วนงาน 3. ความสูญเปล่าจากการเคลื่อนย้ายและขนย้ายที่ไม่จาเป็ น มีแนวทาง การขจัดความสูญเปล่าดังนี้


53

4.

5.

6.

7.

3.1 วางผังเครือ่ งจักรให้ใกล้กบั คลังสินค้า เพื่อให้สามารถขนส่งสินค้า ได้งา่ ยและสะดวก 3.2 พยายามลดการขนส่งทีซ่ ้าซ้อนกัน 3.3 ใช้อุปกรณ์ในการขนส่งทีเ่ หมาะสม ความสูญเปล่าจากวิธกี ารผลิตมีแนวทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 4.1 บริษัทควรมีมาตรฐานในการผลิต กาหนดไว้ในแผนแม่บทของ บริษทั เพื่อให้ทุกคนปฏิบตั ติ าม 4.2 อบรมพนักงานให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจและสามารถปฏิบตั งิ านได้ ตรงตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ 4.3 ดัดแปลงอุ ปกรณ์ ให้ สามารถป้ องกันความผิดพลาดจากการ ทางานได้ หรือดัดแปลงอุ ปกรณ์ ไม่ให้สามารถทางานได้ หาก ชิน้ งานนัน้ ไม่สมบูรณ์ 4.4 ตัง้ เป้าหมายให้ผลิตของเสียเป็นศูนย์ 4.5 ลดเวลาการติดตัง้ เครื่องจักรให้ใช้เวลาน้อยทีส่ ุด ความสูญเปล่าที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของร่างกายที่ไม่จาเป็ นมีแนว ทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 5.1 ศึกษาการเคลื่อนที่ เพื่อพัฒนาการเคลื่อนย้ายให้เกิดต้นทุนน้อย ทีส่ ุด 5.2 จัดการสภาพแวดล้อมในการทางานให้เหมาะสม 5.3 ปรั บ ปรุ ง เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ใ ห้ ม ี ข นาดเหมาะสมกั บ ผูป้ ฏิบตั งิ าน 5.4 ทาอุปกรณ์ในการจับหยิบชิ้นงาน เพื่อให้สามารถทางานได้อย่าง สะดวกรวดเร็วมากขึน้ ความสูญเปล่าทีเ่ กิดจากการมีกระบวนการที่ไม่มปี ระสิทธิภาพมีแนว ทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 6.1 ปรับปรุงการออกแบบผลิตภัณฑ์และเลือกใช้ว ัสดุ ท่ีเหมาะสม เพื่อให้งา่ ยต่อการผลิตและการใช้งาน 6.2 ลดเวลาการติดตัง้ เครือ่ งจักรให้น้อยลง ความสูญเปล่าจากการผลิตของเสียมีแนวทางการขจัดความสูญเปล่า ดังนี้ 7.1 บริษัทควรมีมาตรฐานในการผลิต กาหนดไว้ในแผนแม่บทของ บริษทั เพื่อให้ทุกคนปฏิบตั ติ าม 7.2 อบรมพนักงานให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้


54 5.3 ระบบห่วงโซ่อุปทาน

ภาพที่ 2-32 ห่วงโซ่อุปทาน ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน) คานาย อภิปรัชญาสกุล (2553) กล่าวว่า โซ่อุปทาน คือ เครือข่ายของ องค์การธุรกิจซึง่ ประกอบด้วย ผูข้ ายปจั จัยการผลิต ผูผ้ ลิต/บริการ ผูก้ ระจายสินค้า ผู้ค้าปลีก ที่ร่วมกันวางแผนและดาเนินงานกิจกรรมต่างๆ ตัง้ แต่การจัดซื้อจัดหา วัตถุดบิ การผลิต การบริหารสินค้าคงคลัง การขนส่งและกระจายผลิตภัณฑ์ไปยัง ผู้บริโภคคนสุดท้าย ซึ่งต้องอาศัยการไหลของสารสนเทศ (เกี่ยวกับวัตถุดบิ การ ผลิตและผลิตภัณฑ์) การไหลของเงิน และการไหลของวัตถุ ดิบและผลิตภัณฑ์ เรียกว่า กระบวนการโลจิสติกส์ดงั ภาพที่ 2-32 โดยณรัฐ หัสชู (2553) อ้างถึง ปวีณา เชาวลิตวงศ์ (2548) ได้แยกกิจกรรมหลักภายในห่วงโซ่อุปทานเป็ น 4 กิจกรรม ได้แก่ 1. การจัดหา (procurement) เป็ นการหาวัตถุดบิ หรือวัสดุ เพื่อทาการ ป้ อนเข้าไปให้ แก่ ห่ วงโซ่ อุ ปทาน กิจกรรมการจัดหาจะส่ งผลต่ อ คุณภาพและต้นทุนในการผลิต 2. การขนส่ง (transportation) เป็ นกิจกรรมที่เพิม่ ให้แก่สนิ ค้าในแง่ของ การโยกย้ายสถานที่ของสินค้า ซึ่งหากการขนส่งไม่ดี เช่น เสียหาย หรือล่าช้า ย่อมทาให้ตน้ ทุนในการผลิตเพิม่ ขึน้ 3. การจัดเก็บ (warehousing) เป็นกิจกรรมทีม่ ไิ ด้เพิม่ คุณค่าให้แก่ตวั สินค้า แต่เป็ นกิจกรรมที่จาเป็ นสาหรับการรองรับความต้องการของลูกค้าที่


55 ไม่คงที่ รวมถึงมีประโยชน์ ทางด้านในการผลิตครัง้ ละมากๆ เพื่อ ต้นทุนรวมทีต่ ่าลง 4. การกระจายสินค้า (distribution) เป็ นกิจกรรมทีช่ ่วยกระจายสินค้าจาก จุดจัดเก็บไปยังร้านค้าปลีก หรือศูนย์กระจายสินค้า หรือตัวลูกค้า โซ่อุปทานที่มปี ระสิทธิภาพสูงย่อมสามารถตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าด้วยต้นทุนที่ต่ าสุดและตรงตามเวลาที่ต้องการ ดังนัน้ จึงจาเป็ นที่ต้องมีการ จัดการโซ่อุปทานให้เกิดประสิทธิภาพ เพื่อประสานองค์กร หน่ วยงาน และกิจกรรม ต่างๆ ในห่วงโซ่อุปทานให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด ซึง่ ต้องอาศัยความร่วมมือของทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลประโยชน์ร่วมกันทัง้ ทางด้านการผลิตคือ ช่วยลดต้นทุนใน การเก็บรักษาสินค้าคงคลัง และต้นทุนอันเกิดจากการขาดแคลนสินค้าที่จะจัดส่ง ให้กบั ลูกค้า ด้านการตลาดคือ ทราบถึงปริมาณความต้องการของสินค้าที่แท้จริง ของผู้บริโภค ทาให้การวางกลยุทธ์ทางการตลาดมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การจัดการการบริหารห่วงโซ่ อุ ปทานเข้ามาช่ วยในการจัดการตัง้ แต่ การสังซื ่ ้อ วัตถุดบิ การผลิต การเก็บรักษาสินค้า การกระจายสินค้า ตลอดจนการบริการหลัง การขายให้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และด้านการเงินก่อให้เกิดสภาพคล่องของ เงินหมุนเวียนในโซ่อุปทาน อุปสรรคทางการเงินในการดาเนินธุรกิจจึงไม่เกิดขึน้ 5.4การจัดการสินค้าคงคลัง คานาย อภิปรัชญาสกุ ล (2549) กล่ าวว่า สินค้าคงคลัง (inventory) คือ สินทรัพย์ชนิดหนึ่งที่กิจการต้องมีไว้เพื่อขายหรือผลิต ซึ่งประกอบด้วย วัตถุดบิ งานระหว่างทาวัสดุซ่อมบารุงสินค้าสาเร็จรูป แรงงาน เงินลงทุนเครื่องมือและ อุปกรณ์ เป็นต้น สินค้าคงคลังมีว ัตถุ ประสงค์ในการสร้างความสมดุ ลในห่ วงโซ่อุ ปทาน เพื่อให้ระดับสินค้าคงคลังต่ าสุดโดยไม่กระทบต่อระดับการให้บริการ นอกจากนัน้ การมีส ินค้าคงคลังที่เพียงพอยังเป็ นการตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้าได้ ทันเวลา จึงเห็นได้ว่าสินค้าคงคลังมีความสาคัญต่อกิจกรรมหลักของธุรกิจเป็ น อย่างมาก ดังนัน้ การจัดการสินค้าคงคลังที่มปี ระสิทธิภาพจึงส่งผลกระทบต่อผล กาไรโดยตรง ระบบการควบคุมสินค้าคงคลัง (inventory control system) มี 3 วิธ ี คือ 1. ระบบสินค้าคงคลังอย่างต่อเนื่อง (continuous inventory system perpetual system) เป็ นระบบที่มกี ารลงบัญชีทุกครัง้ ที่มกี ารรับและจ่าย ทาให้ บัญชีคุมยอดแสดงยอดคงเหลือทีแ่ ท้จริงของสินค้าคงคลังอยู่เสมอ ซึง่ จาเป็ นอย่างยิง่ ในการควบคุมสินค้าคงคลังรายการสาคัญที่ปล่อยให้ ขาดมือไม่ได้


56 2. ระบบสินค้าคงคลังเมื่อสิน้ งวด (periodic inventory system) เป็ นระบบ ทีม่ กี ารลงบัญชีเฉพาะในช่วงเวลาทีก่ าหนดไว้เท่านัน้ เมื่อของถูกเบิก ไปก็จะมีการสังซื ่ อ้ เข้ามาเติมให้เต็มระดับทีต่ งั ้ ไว้ ซึ่งระบบนี้จะเหมาะ กับสินค้าทีม่ กี ารสังซื ่ อ้ และเบิกใช้เป็นช่วงเวลาทีแ่ น่นอน 3. ระบบการจาแนกสินค้าคงคลังเป็ นหมวดเอบีซี (ABC) โดยระบบนี้เป็ น วิธ ีการจ าแนกสินค้าคงคลังออกเป็ นแต่ ละประเภทโดยพิจารณา ปริมาณและมูลค่าของสินค้าคงคลังแต่ละรายการเป็ นเกณฑ์เพื่อลด ภาระในการดูแล ตรวจนับ และควบคุมสินค้าคงคลังที่มอี ยู่มากมาย เพื่อไม่ให้เสียเวลาและค่าใช้จา่ ยมากเกินความจาเป็น ประโยชน์ของสินค้าคงคลัง มีดงั นี้ 1. ทาให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีป่ ระมาณการไว้ใน แต่ละช่วงเวลาทัง้ ในและนอกฤดูกาล 2. รักษาการผลิตให้มอี ตั ราคงทีส่ ม่าเสมอ เพื่อรักษาระดับการว่าจ้าง แรงงาน การเดินเครือ่ งจักรฯลฯ ให้สม่าเสมอได้ โดยจะเก็บสินค้าที่ ขายไม่หมดในช่วงขายไม่ดไี ว้ขายตอนช่วงขายดีซง่ึ ช่วงนัน้ อาจจะ ผลิตไม่ทนั ขาย 3. ทาให้ธุรกิจได้ส่วนลดปริมาณจากการจัดซือ้ จานวนมากต่อครัง้ ป้องกันการเปลีย่ นแปลงราคาและผลกระทบจากเงินเฟ้อเมื่อสินค้าใน ท้องตลาดมีราคาสูงขึน้ 4. ป้องกันของขาดมือด้วยสินค้าเผื่อขาดมือ เมือ่ เวลารอคอยล่าช้าหรือ บังเอิญมีคาสังซื ่ อ้ เพิม่ ขึน้ กะทันหัน 5. ทาให้กระบวนการผลิตสามารถดาเนินการต่อเนื่องอย่างราบรื่น ไม่ม ี การหยุดชะงักเพราะของขาดมือจนเกิดความเสียหายแก่กระบวนการ ผลิต 5.5 การจัดการโลจิสติกส์ โกศล ดีศลี ธรรม (2547) กล่าวว่า การบริหารโลจิสติกส์ (logistics management) ได้ถูกนิยามโดยสภาการจัดการลอจิสติกส์ (Council of Logistics Management: CLM) ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการวางแผน การดาเนินการ และการควบคุ ม เพื่อให้เกิดการไหลของทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและรวมถึงประสิทธิ ผล ต้นทุนการจัดเก็บสินค้าคงคลังและการไหลของสารสนเทศ การบริหารโลจิสติกส์จะ เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (SCM) ธนิต โสรัตน์ (2550) ได้กล่าวไว้ว่า ในประเทศไทยส่วนใหญ่แล้วยังมีความ เข้าใจว่าโลจิสติกส์เป็ นเรื่องที่เกี่ยวข้องเฉพาะกับระบบการขนส่งสินค้าหรือการ


57 เคลื่อนย้ายคนหรือสิง่ ของ ความหมายของโลจิสติกส์ไม่ใช่เรื่องที่เกี่ยวข้องเฉพาะ กับการขนส่ งและก็คลังสินค้า โดยกิจกรรมของโลจิสติกส์ครอบคลุมถึงกิจกรรม ต่างๆ ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยการลดต้นทุนจากการใช้ ประโยชน์ จากอรรถประโยชน์ ของเวลา บทบาทและหน้ าที่ของกิจกรรมต่ างๆ ของโลจิสติกส์จงึ มีพนั ธกิจในการสนับสนุ นและการบูรณาการในการเชื่อมโยงข้อมูล ข่าวสารในทุกหน่ วยของโซ่อุปทาน โดยมีจุดศูนย์กลางในการตอบสนองความพึง พอใจให้กบั ลูกค้า การบริ นารต้นทุนด้วยเครื่องมือลีน 1. ความหมายของการผลิตแบบลีน วิชยั ไชยมี (2551) กล่าวว่า ระบบการผลิตแบบลีน (Lean manufacturing) คือ หลักวิธกี ารผลิตที่เน้ นการใช้ทรัพยากรที่มอี ยู่ทงั ้ หมด รวมทัง้ เวลาในการดาเนิน กิจกรรมต่างๆ ของโรงงานให้น้อยทีส่ ุด เพราะสิง่ เหล่านี้อาจจะส่งผลทาให้ต้องมีการ เพิม่ เวลาและต้นทุนในการผลิต โดยมีความเกี่ยวข้องกับการระบุประเด็นของปญั หา และการก าจัด กิจ กรรมที่ไ ม่เ ป็ น การเพิ่ม มูล ค่ า ทางการผลิต (non-value-adding activities) 2. ความเป็นมาของแนวคิดแบบลีน พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย (2553) กล่าวว่า ระบบการผลิตแบบลีน (Lean manufacturing) เกิด ขึ้น มานานแล้ ว เกือ บหนึ่ ง ศตวรรษ เหตุ ก ารณ์ แ ละบุ ค คลส าคัญ ที่ถือ ว่ า มี ความสาคัญต่อระบบการผลิตแบบลีน มีดงั ต่อไปนี้ 1. Henry Ford ผูก้ ่อตัง้ บริษทั ผลิตรถยนต์ฟอร์ด

ภาพที่ 2-33 Henry Ford ผูก้ ่อตัง้ บริษทั ผลิตรถยนต์ฟอร์ด ทีม่ า: ประดิษฐ์ วงศ์มณี และคณะ. 2552.


58 Henry Ford และ Charles Sorensen ทีเ่ ป็ นมือขวาของเขาได้จดั สายการผลิตซึง่ ประกอบไปด้วยคน เครื่องจักร เครื่องมือ และผลิตภัณฑ์ ให้เป็นระบบแบบต่อเนื่อง (continuous system) สาหรับผลิตรถยนต์ฟอร์ดรุ่น T ในปี ค.ศ. 1910 ซึง่ ตอนนัน้ รถยนต์ FORD เป็ นผูน้ าตลาดรถยนต์ รูปแบบการผลิตของ FORD มุ่งเน้นการผลิตเป็ นจานวนมาก จากความสาเร็จ ของบริษทั Ford, Eiji Toyoda และ Taiichi Ohno ผูบ้ ริหารของบริษทั Toyota พยายามทีจ่ ะนาแนวคิดของ Ford ไปปรับปรุงระบบการผลิตของ บริษทั ตนทีป่ ระเทศญี่ปุ่น แต่พวกเขาพบว่า สภาพของบริษทั ไม่เหมาะ กับ การน าไปใช้ เนื่ อ งจากขณะนั ้น ประเทศญี่ปุ่ น อยู่ใ นสภาพหลัง สงคราม ปจั จัยการผลิต ต่ างๆ และเงินทุนมีจากัด ทาให้ไ ม่ส ามารถ ลงทุนสร้างระบบการผลิตทีเ่ น้นปริมาณตามแบบอย่างของ Ford ได้ นอกจากนัน้ ตลาดรถยนต์ของประเทศญี่ป่นุ ยังมีขนาดเล็ก และความต้องการของ ลูกค้าก็มหี ลากหลาย การผลิตสินค้าเพียงชนิดเดียวจานวนมากๆ จึงไม่ เหมาะ พวกเขาและทีมงานของบริษทั จึงร่วมกันพัฒนาระบบการผลิต ขึน้ จากประสบการณ์ทพ่ี บ โดยเริม่ ต้นจากการค้นหาและแก้ไขปญั หาที่ เกิดขึ้นในระดับปฏิบตั ิการ การนาข้อเสนอแนะการปรับปรุงงานที่ได้ จากพนักงานมาทดลองปฏิบตั ิ 2. Taiichi Ohno และระบบการผลิตแบบโตโยต้า

ภาพที่ 2-34 Taiichi Ohno และระบบการผลิตแบบโตโยต้า ทีม่ า: ประดิษฐ์ วงศ์มณี และคณะ. 2552. Taiichi Ohno อดีตรองประธานบริษทั Toyota Motor Corporation ได้ พัฒนาระบบการผลิตแบบโตโยต้า (Toyota Production System: TPS) หรือระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just In Time: JIT) ขึน้ มาตัง้ แต่ สมัยทีย่ งั เป็ นผูจ้ ดั การฝ่ายขึน้ รูป โดย Taiichi Ohno พยายามปรับปรุง


59 กระบวนการผลิตรถยนต์ เพื่อให้สามารถแข่งขันกับประเทศยักษ์ใหญ่ อย่างสหรัฐอเมริกา 3. James P.Womack และ “The Machine That Changed The World” หนังสือเล่มแรกของวงการลีน

ภาพที่ 2-35 James P.Womack และ “The Machine That Changed The World” ทีม่ า: ประดิษฐ์ วงศ์มณี และคณะ. 2552. James P.Womack ผูเ้ ขียนหนังสือ The Machine That Changed The World ได้กล่าวถึงประวัตกิ ารผลิตรถยนต์ รวมถึงได้ทาศึกษาและ วิเคราะห์โรงงานประกอบรถยนต์ของญี่ปุ่น อเมริกา และยุโรปทาให้เกิด คาว่า “Lean manufacturing” ขึน้ เป็นครัง้ แรก 3. ระบบการผลิตแบบโตโยต้า

ภาพที่ 2-36 โมเดลระบบการผลิตแบบโตโยต้า ทีม่ า: ประดิษฐ์ วงศ์มณี และคณะ. 2552.


60

4.

ศิลปพร ศรีจนเพชร ั่ (2551) กล่าวว่า ระบบการผลิตแบบลีน (Lean manufacturing) ได้มขี น้ึ หลังจากที่ James P. Womack ได้มโี อกาสศึกษาระบบการผลิตแบบโตโยต้า มาเป็ นระยะ เวลาหลายปี แล้ว จึงได้อ อกมาเป็ นแนวคิดและหลักการผลิตแบบลีน โดยมีวตั ถุประสงค์หลักคือลดต้นทุนและเน้นการขจัดหน้ าที่ท่ไี ม่จาเป็ นในโรงงาน ออกไป โดยจะพยายามรักษาการไหลของผลิตภัณฑ์ให้เป็ นไปอย่างต่อเนื่อง และ ทันเวลาพอดี (JIT) คือผลิตเฉพาะสิง่ ที่จาเป็ นในปริมาณที่จาเป็ นและในเวลาที่ จาเป็น ซึง่ ตรงนี้กจ็ ะทาให้วสั ดุคงคลังและแรงงานส่วนเกินถูกขจัดทิง้ ไปโดยอัตโนมัติ โดยระบบการผลิตแบบโตโยต้านัน้ จะมีแนวคิดหลักๆ 4 แนวคิด ได้แก่ 1. just in time หรือระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี 2. autonomation หรือ jidoka เป็ นการควบคุมการผลิตแบบอัตโนมัติ ซึง่ สายการผลิตหรือเครือ่ งจักรจะหยุดทันทีเมื่อตรวจพบของเสีย 3. flexible workforce เป็ นการปรับจานวนพนักงานทีท่ างานให้สอดคล้อง กับระดับการผลิตตามความต้องการของลูกค้า 4. creativity เป็ นการใช้ประโยชน์ จากคาแนะนาหรือข้อเสนอแนะของ พนักงาน แนวคิดหลักในการบริหารจัดการ ศิลปพร ศรีจนเพชร ั่ (2551) กล่าวว่า ลีน (Lean) คือ ปรัชญาในการผลิตทีถ่ อื ว่า ความสูญเปล่า (wastes) เป็ นตัวการทีท่ าให้เวลาทีใ่ ช้ในการผลิตยาวนานขึน้ ดังนัน้ เราจึงควรนาเทคนิคต่างๆ มาใช้เพื่อกาจัดความสูญเปล่าเหล่านัน้ ออกไป

ภาพที่ 2-37 แนวคิดการบริหารจัดการตามแนวคิดแบบลีน ทีม่ า: ประดิษฐ์ วงศ์มณี และคณะ. 2552.


61 หลักการและแนวคิดแบบลีน มีดงั นี้ 1. คุณค่า (value) โดยทัวไปคุ ่ ณค่าจะถูกนิยามด้วยสิง่ ทีส่ อดคล้องกับความต้องการ ของลูกค้าทัง้ ในระดับราคาและเวลาทีส่ ามารถตอบสนอง ซึ่งผูป้ ระกอบการส่วน ใหญ่มกั มองข้ามการระบุคุณค่าในมุมมองของลูกค้าตัง้ แต่ช่วงแรกเมื่อสินค้าและ บริการออกสู่ตลาดแต่ไม่ได้รบั การตอบรับ ก็มกั ใช้กลยุทธ์การลดราคาหรืออาจ เจาะกลุ่ มตลาดใหม่ ซึ่งการดาเนิ นการดังกล่ า วอาจทาให้สูญ เสียลูกค้าและ ภาพพจน์ขององค์การ 2. สายธารแห่งคุณค่า (value stream) คือ การแสดงขัน้ ตอนและกระบวนการทัง้ หมด โดยเริม่ ตัง้ แต่การรับวัตถุดบิ จนกระทังแปรรู ่ ปเป็ นผลิตภัณฑ์และส่งมอบให้กบั ลูกค้า ซึง่ มีการวิเคราะห์การไหลตลอดทัง้ กระบวนการ เพื่อระบุความสูญเปล่า ในกระบวนการหรือ ขัน้ ตอนที่ไ ม่ ส ร้า งมูล ค่ า เพิ่ม และหาแนวทางปรับ ปรุ ง กระบวนการ ดังนัน้ แนวคิดสายธารแห่งคุณค่าจึงมักถูกใช้ในกระบวนการยก เครื่อง (process reengineering) และแสดงการไหลด้วยแผนภูมสิ ายธารแห่งคุณค่า (value stream mapping) 3. การไหล (flow) โดยจะมุ่งลดปจั จัยที่ส่งผลต่อการขัดจังหวะของการไหล เช่น การรอคอยวัสดุ ปญั หาการขัดข้องของเครื่องจักร การเกิดของเสีย เป็ นต้น โดย มุง่ เน้นการลดเวลาทีไ่ ม่สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั กระบวนการและลดปญั หาการเกิด คอขวด (bottleneck) 4. แนวคิดการผลิตแบบดึง (pull system) โดยมุ่งผลิตเฉพาะสิง่ ทีต่ อบสนองต่อความ ต้องการของลูกค้าในปริมาณและเวลาทีต่ ้องใช้งานจริง (customers pull value from the enterprise) ซึง่ แตกต่างจากการผลิตแบบเดิมทีม่ ุ่งการพยากรณ์ ดังนัน้ สารสนเทศ จึงมีบทบาทในการสนับสนุ นให้เกิดการไหลของทรัพยากรทีส่ อดคล้องต่อความ ต้องการของตลาด 5. ความสมบูรณ์แบบ (perfection) เมื่อได้ดาเนินการตัง้ แต่ขนั ้ ตอนที่ 1-4 จนบรรลุผล แล้ว ก็จะส่ ง ผลให้เ กิดรูปแบบการผลิต แบบลีนอย่างสมบูรณ์ แ บบ ซึ่งมีปจั จัย สนั บ สนุ น นั น่ คือ ความมีส่ ว นร่ ว มของบุ ค ลากรทุ ก คนที่มุ่ ง ปรับ ปรุ ง อย่ า ง ต่อเนื่อง เพื่อนาองค์การสู่ความเป็นเลิศ


62

ภาพที่ 2-38 ความสมบูรณ์แบบ (perfection) ทีม่ า: ประดิษฐ์ วงศ์มณี และคณะ. 2552. 4.1 ขัน้ ตอนการสร้างการผลิตแบบลีน

ภาพที่ 2-39 ขัน้ ตอนการสร้างการผลิตแบบลีน ทีม่ า: ณรงค์เกียรติ นักสอน. http://www.tpa.or.th. (18 มีนาคม 2555) มังกร โรจน์ประภากร (2552) กล่าวว่า ขัน้ ตอนหลักของการสร้างระบบ การผลิตแบบลีน แบ่งออกเป็น 5 ขัน้ ตอน ได้แก่


63 1. การระบุคุณค่าของสินค้าและบริการในมุมมองของลูกค้าไม่ว่าจะ เป็นลูกค้าภายในและลูกค้าภายนอก (specified value) 1.1 ระบุคุณค่า (value) ของผลิตภัณฑ์จากมุมมองของลูกค้า 1.2 ไม่ควรกาหนดคุณค่าจากมุมมองของบริษทั องค์การ หน่ วยงาน หน้าที่ หรือเทคโนโลยีทใ่ี ช้ในปจั จุบนั 1.3 ไม่ว่าจะเป็ นสินค้าหรืองานบริการจาไว้ว่า “ลูกค้าต้องการแค่ เพียงสิง่ ทีต่ อบสนองความต้องการหรือแก้ไขปญั หาให้พวกเขา ได้เท่านัน้ ” 2. สร้างกระแสคุณค่า (value stream) ในทุกๆ ขัน้ ตอนการดาเนินงาน เริม่ ตัง้ แต่การออกแบบ การวางแผน และการผลิตสินค้า การจัดจาหน่ าย เพื่อพิจารณาว่ากิจกรรมใดไม่เพิม่ มูลค่าและเป็นความสูญเปล่า 2.1 กระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์ก่อนวางจาหน่าย 2.2 ขัน้ ตอนการสังซื ่ ้อสินค้าของลูกค้าจนกระทังจั ่ ดส่งสินค้าให้แก่ ลูกค้า 2.3 การรับ วัต ถุ ดิบ จากผู้ส่ ง มอบมาผลิต จนกระทัง่ จัด ส่ ง สิน ค้ า สาเร็จรูปถึงมือลูกค้า 3. ทาให้กจิ กรรมต่างๆ ทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ ดาเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง (flow) โดยปราศจากสิง่ ต่างๆ ได้แก่ 3.1 การอ้อม (detours) 3.2 การย้อนกลับ (backflows) 3.3 การคอย (waiting) 3.4 ของเสีย (scrap) 4. ใช้ระบบดึง (pull) โดยให้ความสาคัญเฉพาะสิง่ ทีล่ ูกค้าต้องการเท่านัน้ โดยทาเฉพาะสิง่ ที่มคี วามต้องการ ตามปริมาณที่ต้องการ ภายใน เวลาทีต่ อ้ งการเท่านัน้ 5. สร้างคุณค่าและการกาจัดความสูญเปล่า โดยค้นหาส่วนเกินที่ถูก ซ่ อ นไว้ซ่ึง เป็ น ความสูญ เปล่ า และก าจัด ออกไปอย่า งต่ อ เนื่ อ ง (perfection) โดย 5.1 ทาการกาจัดความสูญเปล่า (wastes/MUDA) ในทุกๆ กิจกรรม และสิน ทรัพ ย์ ที่ใ ช้ง าน โดยพิจารณาความจาเป็ น จากกลุ่ ม ลูกค้าเป้าหมาย 5.2 ดาเนินการโดยใช้เครื่องมือการปรับปรุงงาน (evolution/KAIZEN) และนวัตกรรม (revolution/KAIKAKU)


64

4.2 MURI MUDA MURA

ภาพที่ 2-40 muri muda และ mura ทีม่ า: ณัฐชิด. http://nantachit.exteen.com. (18 มีนาคม 2555) มังกร โรจน์ประภากร (2552) กล่าวว่า muda, muri เป็ นคาภาษาญี่ปุ่น muda คือ ความสูญเปล่า muri คือ ปญั หาทีซ่ ่อนเร้นอยู่เบือ้ งหลังการทางานที่ ไม่ประสบความสาเร็จ ถ้าสามารถกาจัดได้จะสามารถลดเวลาทีไ่ ม่ทาให้เกิดผล งานได้ในทางกลับกันก็สามารถเพิม่ เวลาทีท่ าให้เกิดผลงานได้มากขึน้ muda หรือความสูญเปล่า ซึง่ อาจเกิดขึน้ ได้หลายลักษณะ ได้แก่ ความสูญเปล่าทีเ่ กิด จากการรอ การเคลื่อนย้าย เป็ นต้น เช่น การประชุมอาจเกิดความสูญเปล่าได้ หากการประชุมนัน้ กลายเป็ นการถกเถียงกัน ทาให้เสียเวลาไปกับการประชุมที่ ไม่ได้ขอ้ สรุป เป็นต้น 4.2.1 การค้นพบและกาจัดความสูญเปล่า (muda) มังกร โรจน์ประภากร (2552) กล่าวว่า สิง่ สาคัญคือ การลดต้นทุน การผลิตลงด้วยการใช้ระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just In Time: JIT) ในทุกขัน้ ตอน เพื่อส่งมอบสิง่ ที่ลูกค้าต้องการให้ลูกค้าในเวลาที่ ต้องการและเฉพาะปริมาณที่ต้องการ ทบทวนเวลาการผลิตในแต่ละ ขัน้ ตอน และกาจัดความสูญเปล่า JIT กับการควบคุมด้วยการมอง (visual control) เป็ นการควบคุม เพื่อค้นพบและกาจัดความสูญเปล่า (muda) โดยการควบคุมด้วยการ


65 มองจะช่วยทาให้ทุกสิง่ ที่อยู่หน้างานผลิตทีจ่ าเป็ นต้องถูกควบคุม เช่น สภาพการทางานเดินเครื่องของเครื่องจักรหรือสายการผลิต ปริมาณ สินค้าคงคลัง ความคืบหน้ าของการผลิต สภาพการเกิดของเสีย เป็ น ต้น อยู่ใ นสภาพซึ่งใครก็ต ามมองดูแล้วจะทราบว่าปกติหรือ ผิดปกติ และสามารถค้นพบถึงสาเหตุและสามารถดาเนินการปรับปรุงต่อไปได้ 4.2.2 ความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการทีเ่ กิดจากแนวคิดแบบลีน

ภาพที่ 2-41 ความสูญเปล่า 7 ประการ ทีม่ า: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ นุ่ ). http://www.tpa.or.th. (18 มีนาคม 25 มังกร โรจน์ประภากร (2552) กล่าวว่า ความสูญเปล่าทีเ่ กิดขึน้ จากแนวคิดแบบลีนหรือทีเ่ รียกว่า ความสูญเปล่า 7 ประการ (7 waste analysis) ซึง่ บริษทั โตโยต้าผูผ้ ลิตรถยนต์รายใหญ่ได้ยดึ ถือปฏิบตั มิ าหลายสิบปีจน ประสบความสาเร็จเช่นทุกวันนี้ ได้ทาการจาแนกความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการ ได้ดงั นี้ 1. ความสูญเปล่าจากการผลิตเกินกว่าความจาเป็ น หากเรา ผลิตมากเกินไปจะทาให้เ กิดต้นทุนในการเก็บรักษาและ การขนย้ายสินค้า อีกทัง้ ยังมีความเสี่ยงที่ไม่สามารถขาย สินค้าทีผ่ ลิตเอาไว้ได้ทงั ้ หมด 2. ความสูญเปล่าจากการรอคอย ซึ่งการรอคอยเกิดจากการ ขาดแคลนวัตถุดบิ หรือขัน้ ตอนการผลิตขัน้ ตอนใดขัน้ ตอน หนึ่ ง เกิ ด การติ ด ขัด ท าให้ ข ัน้ ตอนต่ อ ไปไม่ ส ามารถ ดาเนินการผลิตต่อไปได้ ทาให้สายการผลิตต้องหยุดชะงัก


66 3. ความสูญเปล่าจากการเคลื่อนย้ายและขนย้ายที่ไม่จาเป็ น ซึ่งเป็ นความสูญเปล่าที่มาจากการขนย้ายชิ้นงานระหว่าง กระบวนการผลิต จนกระทัง่ การจัด เก็ บ ในคลัง สิน ค้ า สิน้ เปลืองทัง้ แรงงานคนและเวลาโดยเปล่าประโยชน์ 4. ความสูญเปล่ าจากวิธ ีการผลิต เป็ นความสูญเปล่ าที่เกิด จากการมีส ิน ค้ า คงคลัง เกิ น ความจ าเป็ น ซึ่ง เกิ ด จาก องค์การมีการผลิตของเสียออกมาเป็ นจานวนมาก ทาให้ ต้อ งส ารองวัต ถุ ดิบ ไว้เ ป็ น จ านวนมากเพื่อ สต็อ กสิน ค้า เปลีย่ นแทนให้กบั ลูกค้า 5. ความสูญเปล่าที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของร่างกายที่ไม่ จาเป็ น โดยมุ่งเน้นให้องค์การต่างๆ มีการจัดระเบียบการ ท างาน ณ จุ ด ท างานให้ เ หมาะสม เพื่อ ท าให้ ร่ า งกาย เคลื่อนไหวน้อยทีส่ ุด 6. ความสู ญ เปล่ า ที่ เ กิ ด จากการมี ก ระบวนการที่ ไ ม่ ม ี ประสิทธิภาพ ความสูญเปล่านี้ จะไม่เกิดขึน้ หากองค์การ หมันพั ่ ฒนาอย่างต่อเนื่อง 7. ความสู ญ เปล่ า จากการผลิต ของเสีย องค์ก ารหลายๆ องค์การมุ่งเน้นแต่การแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้าโดยที่ไม่ได้ ให้ความสาคัญกับการวิเคราะห์ปญั หาเพื่อหาสาเหตุ ดังนัน้ องค์การจึงควรวิเคราะห์หาสาเหตุของปญั หา เพื่อให้การ ผลิตของเสียลดลง 4.3 พืน้ ฐานและจุดสาคัญของการควบคุมด้วยการมอง มังกร โรจน์ประภากร (2552) กล่าวว่า พืน้ ฐานของการควบคุมด้วยการมอง คือ การดาเนินกิจกรรม 5 ส (สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ และสร้างนิสยั ) กิจกรรม 5 ส นับเป็ นจุดเริม่ ต้นและเป็ นพื้นฐานของการทาให้ใครมองดูก็จะทราบ ได้โดยทันทีว่า สถานทีท่ างานอยู่ในสภาพปกติหรือผิดปกติ รวมถึงการติดป้าย แสดง หรือระบุและจาแนกให้ทราบว่าพืน้ ทีส่ ่วนใดเป็นพืน้ ทีท่ างาน หรือทางเดิน หรือพืน้ ทีว่ างสิง่ ของ จุด ส าคัญ ข้อ แรกคือ การช่ ว ยให้ ท ราบได้ท ัน ทีถึง สภาพการผลิต ว่ า คืบหน้าตามแผนหรือล่าช้ากว่าแผน โดยมีบอร์ดควบคุมการผลิตซึง่ เป็ นวิธกี าร ของการควบคุมด้วยการมอง และทาให้มองดูแล้วจะรูท้ นั ทีว่าผลิตได้แล้วจานวน เท่าไหร่


67 จุดสาคัญข้อสองคือ การทาให้เครื่องจักรและงานดาเนินไปอย่างราบรื่นดี หรือไม่ เกิดความผิดปกติชนิดใดบ้าง จุดสาคัญ ข้อสามคือ การเปิ ดเผยข้อมูลทัง้ หมดของหน้ างานผลิต ซึ่ง รวมถึงสถานการณ์ดา้ นคุณภาพด้วย เพื่อให้พนักงานทุกคนสามารถร่วมกันทา ให้บรรลุเป้าหมายของหน้างานผลิต โดยการแจ้งข้อมูลต่างๆ เช่น สถานการณ์ ข้อร้องเรียนจากภายนอกบริษทั เป้าหมายการลดต้นทุนการผลิต เป้าหมายของ หน้างานผลิต และระดับของการบรรลุเป้าหมาย เป็นต้น 4.4 การพัฒนาอย่างยังยื ่ น (หมุนวงรอบของการปรับปรุง) มังกร โรจน์ประภากร (2552) กล่าวว่า แหล่งสร้างผลกาไรอยู่ท่กี าร กาจัดความสูญเปล่า (muda) ณ หน้างานผลิตให้หมดไป ดังนัน้ จึงจาเป็ นต้อง กาจัดความสูญเปล่า (muda) ของหน้างานผลิตอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เพื่อให้ ได้ตามความต้องการ โดยจะหมุนวงรอบ (cycle) ของการกาหนดมาตรฐานการ ทางาน เพื่อให้คน้ พบความผิดปกติ มุ่งค้นหาถึงสาเหตุอย่างจริงจัง วางแผนหา มาตรฐานการปรับปรุงดาเนินการ ปรับปรุงทบทวนงานตามมาตรฐานและทาให้ สิง่ เหล่านี้ดาเนินการได้อย่างยังยื ่ นตลอดไป ก้าวแรกของการด าเนิ นงานคือ การก าหนดมาตรฐาน (standardization) เงื่อนไขพืน้ ฐานสาคัญที่สุดของการกาจัดความสูญเปล่า (muda) คือ การเฉลี่ย ปริมาณงานผลิตให้ใกล้เคียงกัน (heijunka) กล่าวคือ จะทาการเฉลี่ยทัง้ ชนิด และปริมาณของผลิตภัณฑ์รวมทัง้ คานวณค่าเฉลีย่ ระยะเวลาของ takt time ต่อ การผลิต 1 ชิน้ ของทัง้ ชิน้ ส่วนและผลิตภัณฑ์ โดยกาหนดงานตามมาตรฐาน การกาหนดมาตรฐานของหน้ างานผลิตจะกาหนดกฎเกณฑ์ต่ างๆ ที่ สมควรจะต้องปฏิบตั ิตาม เช่น การเคลื่อนไหวของคนตามลาดับขัน้ ตอนการ ทางาน การระบุจานวนและวิธกี ารจัดการวัตถุดบิ และชิน้ ส่วนทีค่ ลังสินค้า คาสัง่ ปริมาณงานผลิต มาตรฐานด้านความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อม และปฏิบตั ติ าม อย่างเคร่งครัดต่อไป การควบคุมหน้างานผลิตจะพิจารณาว่าสิง่ ที่แตกต่างจากกฎเกณฑ์ท่ี กาหนดไว้ถือเป็ นความผิดปกติ และดาเนินการด้วยวิธกี ารแก้ไขปญั หาอย่าง จริงจัง สรุปเมือ่ EMA การบัญชีเพื่อสิง่ แวดล้อมแยกของดีกบั ของเสียออกจาก กันแล้ว ต่อไปก็เป็ นหน้าที่ของระบบการผลิตแบบลีนที่จะต้องกาจัดของเสียที่ เราเรีย กว่ า muda ออกทัง้ หมดและก าจัด ของเสีย ที่อ ยู่ใ นส่ ว นของของดีท่ี เรียกว่า muri ให้เหลือน้อยทีส่ ุด เนื่องจาก muri จะอยูใ่ นส่วนของของดี แต่ทเ่ี รา ต้องกาจัดออกเพราะมันไม่เกิดประโยชน์อะไร ดังนัน้ จึงทาให้เรากาจัดมันออก


68 ได้เพียงบางส่วนเท่านัน้ เราจึงเลือกทีจ่ ะกาจัดแต่เพียงส่วนทีแ่ ฝงอยู่เท่านัน้ ซึง่ เมื่อนาหลักการแนวคิดแบบลีนมาใช้เราจะสามารถกาจัดได้ทงั ้ muri และmuda นันคื ่ อ เราสามารถกาจัดได้ทงั ้ ของเสียทีแ่ ท้จริงและของเสียทีแ่ ฝงอยู่ในของดีได้ นันเอง ่ 5. การนาเอาแนวคิดแบบลีนมาใช้ในกระบวนการดาเนินงาน ศิลปพร ศรีจนเพชร ั่ (2551) กล่าวว่า เมื่อบริษทั นาระบบการผลิตแบบลีน มาใช้ใ นบริษัทแล้ว สามารถนาระบบการบัญ ชีแบบลีนมาประยุกต์ใ ช้เพื่อ ให้การ ดาเนินงานเป็นไปอย่างสอดคล้องกันและสามารถวัดผลได้ว่า หากบริษทั นาแนวคิด แบบลีนมาใช้แล้วจะมีผลประกอบการที่ดขี น้ึ และสามารถกาจัดของเสียได้จนเหลือ เป็ นศูนย์ได้หรือไม่ โดยสามารถสรุปเหตุผลสนับสนุ นในการเลือกใช้ระบบการผลิต แบบลีน (reasons for Lean manufacturing) ได้ดงั ต่อไปนี้ 1. ความสามารถในการตอบสนองความต้อ งการของลูกค้า (improved response time to customer demand) เนื่องจากโรงงานอุตสาหกรรมแบบลีน เป็ นโรงงานที่ผลิตสินค้าโดยใช้เวลาที่เป็ นไปตามสภาพของความเป็ น จริง จึงมีผลทาให้มกี ารใช้เวลานา (lead time) ในการผลิตทีส่ นั ้ กว่า โดย เวลานาที่สนั ้ กว่านี้จะสามารถตอบสนองใบสังของลู ่ กค้าทีร่ วดเร็ว และ เวลานาในการผลิตที่สนั ้ กว่าจะส่งผลทาให้เป็ นการลดจานวนสินค้าคง คลังที่เป็ นสินค้าสาเร็จรูปหรืองานระหว่างทา ซึ่งถือเป็ นการเริม่ ต้นใน การตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีร่ วดเร็ว 2. การลดสินค้าคงคลัง (reduced inventories) สามารถลดเวลานาทีใ่ ช้ใน การผลิตได้ในสายการผลิตแบบลีน และเป็นเหตุผลทีใ่ ช้ในการสนับสนุ น การลดจานวนของวัสดุทเ่ี ป็ นงานระหว่างทา (work in process parts) ทีม่ ี อยู่เป็ นจานวนมากนัน้ ก็จะถูกลดลงไปด้วยเช่นกัน จานวนของวัสดุท่ี เป็ นงานระหว่างทาเหล่ านี้ โดยปกติจะเป็ นสัดส่วนโดยตรงกับเวลานา (lead time) ทีล่ ูกค้าต้องการ โดยทีต่ ่างก็ถูกกาหนดขึน้ บนพืน้ ฐานของ เวลาที่ ส ัน้ ที่ สุ ด ที่ ลู ก ค้ า ต้ อ งการต่ อ กรรมวิ ธ ี ก ารผลิ ต โดยตลอด กระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม 3. การลดความต้องการในการลงทุน (reduced working capital requirements) ระดับของสินค้าคงคลังนัน้ อาจจะสามารถกลายมาเป็ นความสาคัญที่ ถูกยอมรับและมีความต้องการในการลงทุนได้ เพราะจานวนของสินค้า คงคลั ง เหล่ า นี้ จ ะเกี่ ย วข้ อ งกั บ การลงทุ น ในการด าเนิ น งานที่ ม ี ประสิทธิผ ล สินค้าคงคลังเหล่ านี้ต้อ งการพื้นที่ใ นการจัดเก็บภายใน โรงงานคือ คลังสินค้าและศูนย์การกระจาย


69

6. ประโยชน์ขององค์การธุรกิจเมือ่ นาแนวคิดแบบลีนมาใช้ มังกร โรจน์ประภากร (2552) กล่าวว่า วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการ ผลิ ต แบบลี น คื อ การท าให้ อ งค์ ก ารอยู่ ร อดและเติ บ โตอย่ า งยั ง่ ยื น ในทุ ก สภาพแวดล้อมของการแข่งขัน โดยการลดต้นทุน เพิม่ ผลิตภาพ และสร้างความพึง พอใจให้กบั ลูกค้าทัง้ ในด้านคุณภาพ ราคา และการส่งมอบหรือเพิม่ มูลค่าให้กบั ทัง้ ห่วงโซ่อุปทานเลยนัน่ เอง เมื่อเรานาระบบบัญชีมาประยุกต์ใช้กบั ธุรกิจจะทาให้เกิด ประโยชน์กบั ธุรกิจในระยะยาวดังต่อไปนี้ 1. ระบบการผลิตแบบลีนเป็ นปรัชญา แนวคิด และวิธกี ารของระบบการ ผลิตทีไ่ ด้รบั การยอมรับจากทัวโลกว่ ่ า เป็ นแนวทางในการพัฒนาระบบ การผลิตเพื่อความเป็นเลิศทีด่ ที ส่ี ุดในปจั จุบนั 2. การบัญ ชีแ บบลีน มีจุ ด ประสงค์ เ พื่อ ที่จ ะช่ ว ยให้ เ กิด ความถู ก ต้ อ ง ทันเวลาในการตัดสินใจของผูบ้ ริหาร 3. การใช้เครื่องมือของแนวคิดแบบลีนมาช่วยลดการสูญเสียขององค์การ จากการกระทาทีไ่ ม่ก่อให้เกิดมูลค่าต่อสินค้าและบริการ 4. เป้าหมายในการใช้ลนี มาประยุกต์ใช้กบั งานบัญชีจะต้องช่วยขจัดความ สูญ เสียในกระบวนการปฏิบตั ิงานทางบัญชี การรายงานและวิธ ีการ ทางการบัญชีอ่นื ๆ ขององค์การธุรกิจ 5. รายงานและวิธกี ารของบัญชีแบบลีนจะช่วยสนับสนุนการเปลีย่ นแปลงสู่ ลีน โดยรายงานทางการเงินและรายงานที่ไ ม่ใ ช่ท างการเงินจะช่ว ย สะท้อ นมูล ค่ า ทัง้ หมดของกระแสคุ ณ ค่ า ซึ่ง แตกต่ า งจากการบัญ ชี แบบเดิมที่จะสะท้อนเฉพาะตัวผลิตภัณฑ์ โครงการหรือกระบวนการ ทางานแยกออกจากกัน 6. การวัดผลการปฏิบตั งิ านดังกล่าวจะช่วยลดการติดตามและควบคุมการ ปฏิบตั งิ าน ในพื้นที่ปฏิบตั กิ ารลงได้ จึงเป็ นการช่วยลดหรือขจัดความ สูญเปล่าลงได้จากระบบบัญชีตน้ ทุนแบบดัง้ เดิม 7. ทาให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (continuous improvement) โดยการถูก กระตุน้ และติดตามโดยคณะกรรมการกระแสคุณค่า 8. การบัญชีแบบลีนช่วยในการจัดทารายงานทางการเงินที่เข้าใจได้ง่าย สาหรับทุกคนในองค์การ เนื่องจากข้อมูลทีน่ าเสนอในรายงานทางการ เงิน ทาให้เกิดการสื่อสารข้อมูลทีช่ ดั เจนและทันเวลา (clear and timely communication of informatio


70 6.1 เปรียบเทียบการผลิตแบบดัง้ เดิมและการผลิตแบบลีน

ภาพที่ 2-42 การบัญชีแบบดัง้ เดิมและแบบลีน ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน) มังกร โรจน์ประภากร (2552) กล่าวว่า การบัญชีแบบลีนเป็ นการทา บัญชีตามหลัก แนวคิดของลีน ซึ่งเป็ นส่ว นหนึ่งของการบัญ ชีต้นทุน โดยการ เปลี่ยนจากการบัญชีต้นทุนแบบเดิมมาเป็ นแนวคิดของลีน เพื่อนาระบบบัญชี ไปใช้ก ับระบบการจัดการและการผลิต ตามแนวคิดของลีนอย่างถู กต้อ งและ เหมาะสม โดยจะต้องเข้าใจแนวคิดแบบลีนก่อนและต้องปรับปรุงการปฏิบตั งิ าน ทางบัญ ชีใ ห้ ท ัน กับ การให้ ผ ลิต การบัญ ชีแ บบลีน จะน ามาใช้ ส าหรับ การ เปลี่ยนแปลงทางการบัญชีของบริษทั โดยแต่เดิมบริษทั อาจจะมีการคิดต้นทุน แบบดัง้ เดิมคือ ระบบต้นทุนมาตรฐาน โดยคิดต้นทุนแบบประมาณการ ทาให้ การวัดผลและคิดต้นทุนต่อหน่วยคลาดเคลื่อนจากระบบบัญชีแบบลีน เนื่องจาก วิธกี ารบัญชีแบบดัง้ เดิมถูกออกแบบมาเพื่อใช้กบั ระบบการจัดการและระบบการ ผลิตแบบเดิม ซึ่งขึ้นอยู่กบั แนวคิดของการผลิตสินค้าในจานวนมากๆ (mass production) แต่ระบบบัญชีแบบลีนจะใช้วธิ กี ารคิดต้นทุนแบบต้นทุนกิจกรรมคือ เอาต้นทุนที่เ กี่ยวข้อ งกับกิจกรรมนัน้ ๆ มาคิดเท่านัน้ ทาให้รู้ว่าผลิต ภั ณฑ์ม ี ต้นทุนทีแ่ ท้จริงต่อหน่วยเป็นจานวนเท่าไหร่ จึงส่งผลให้การบัญชีแบบดัง้ เดิมไม่ เหมาะสมทีจ่ ะนามาใช้กบั บริษทั ทีน่ าระบบการจัดการแบบลีนมาใช้


71 โดยการบัญชีลนี จะนามาใช้สาหรับการเปลี่ยนแปลงทางการบัญชีของ บริษัท การควบคุ มมาตรการการวัดมูลค่ าและกระบวนการจัดการ เพื่อ ที่จะ สนับ สนุ น การบริห ารงานโดยใช้ร ะบบการจัด การแบบลีน และการผลิต ตาม แนวคิด ของลีน แต่ การน าระบบบัญ ชีแบบลีน มาใช้ใ นช่ว งแรกๆ อาจจะพบ ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ จากการเปลีย่ นระบบบัญชีแบบดัง้ เดิมมาเป็ นระบบบัญชีแบบลีน โดยปญั หาทีพ่ บมีดงั นี้ 1. ระบบการจัดการแบบลีนและการผลิตตามแนวคิดของลีนจะทาให้ ต้นทุนสูงขึน้ ซึ่งเป็ นผลมาจากต้นทุนมาตรฐานแบบเดิมที่กาหนด ไว้ ระบบการผลิตแบบลีนทาให้ตน้ ทุนค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายการ ผลิตสูงขึน้ 2. มาตรการวัดผลการปฏิบตั ิงานแบบเดิมส่งผลให้พนักงานไม่เห็น ด้วยทีจ่ ะนาระบบ การจัดการแบบลีนและการผลิตตามแนวคิดของ ลีนมาใช้ เนื่องจากทาให้เพิ่มงานในการปฏิบตั ิงานของพนักงาน เพิม่ ขึน้ นอกจากนี้ยงั ถูกกาหนดให้คานึงถึงประสิทธิภาพของการ ผลิตแต่ละครัง้ ตามคาสังซื ่ ้อ ปริมาณวัตถุดบิ และส่วนประกอบใน การผลิ ต อื่ น ๆ ที่ ต้ อ งใช้ ซึ่ง เกิ ด ผลกระทบในการวัด ผลการ ปฏิบตั งิ าน 3. การพัฒนาการผลิต แบบลีนต้องดาเนินการในเชิงกลยุทธ์และทา อย่ า งเป็ น ระบบ ป จั จัย ความส าเร็จ จึง อยู่ท่ีบุ ค ลากรในองค์ก าร ในขณะที่หวั ใจสาคัญในการขับเคลื่อนผลักดันและกาหนดทิศทาง อยูท่ ผ่ี บู้ ริหารระดับสูง ซึง่ ต้องเข้าใจถึงปญั หาอุปสรรค และประโยชน์ท่ี จะได้ ร ับ จากการด าเนิ น การพั ฒ นาระบบการผลิต แบบลีน ใน องค์การ นอกจากนี้การแสดงงบการเงินของการบัญชีแบบดัง้ เดิมและการบัญชี แบบลีนมีความแตกต่างกันดังนี้


72 1. งบกาไรขาดทุนแบบดัง้ เดิม

ภาพที่ 2-43 งบกาไรขาดทุนแบบดัง้ เดิม ทีม่ า: พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย. http://www.utcc.ac.th. (22 กุมภาพันธ์ 2555) รูปแบบข้างต้นเป็นการแสดงข้อมูลในรูปของตัวเงินสาหรับ งบก าไรขาดทุนที่ถู กจัดทาขึ้นโดยอาศัยรูปแบบและค าศัพท์ทาง บัญชีแบบดัง้ เดิม อาจเป็ นที่คุ้นเคยของนักบัญชีโดยทัวไป ่ แต่ใน มุมมองของผูบ้ ริหารอาจไม่งา่ ยอย่างทีค่ ดิ


73 2. งบกาไรขาดทุนแบบ Lean

ภาพที่ 2-44 งบกาไรขาดทุนแบบลีน ทีม่ า: พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย. http://www.utcc.ac.th. (22 กุมภาพันธ์ 2555) แต่หากเปลีย่ นเป็นระบบบัญชีแบบลีนและจัดทางบการเงิน ในแบบการบัญ ชีแ บบลีนที่พยายามลดข้อ จ ากัดในการใช้ข้อ มูล ทางการบัญ ชีท่ีเ กิด จากรายงานทางการเงิน แบบดัง้ เดิม ดัง นัน้ รูปแบบและคาศัพท์ทใ่ี ช้ในการนาเสนอจึงถูกปรับเปลีย่ นให้ง่ายขึน้ ตามตัวอย่างทีน่ าเสนอไว้ขา้ งต้น เพื่อให้บทบาทของการบัญชีแบบ ลีน สนั บ สนุ น การตัด สิน ใจของผู้บ ริห ารได้ดีย ิ่ง ขึ้น นอกจากจะ นาเสนอข้อมูล ทางการบัญชีใ นรูปของตัวเงินแล้วยังเพิม่ เติมการ นาเสนอข้อมูลทีไ่ ม่อยูใ่ นรูปของตัวเงินด้วย


74

ภาพที่ 2-45 การนาเสนอข้อมูลทีเ่ ป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน ทีม่ า: พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย. http://www.utcc.ac.th. (22 กุมภาพันธ์ 2555) จากภาพที่ 2-43 แบบรายงานผลการดาเนินงานข้างต้น นอกจากจะเป็ นการติดตามผลงานในงวดปจั จุบนั เมื่อเปรียบเทียบ กับ งวดที่ผ่ า นมาแล้ว ยัง ระบุ แผนงานที่จะต้ องด าเนิ นการในงวด ถัดไป เพื่อให้เกิดการปรับปรุงและการพัฒนาการดาเนินงานอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง เพื่อ ให้อ งค์ก ารได้ป ระโยชน์ สู ง สุ ด โดยจะเป็ น ข้อ มู ล เพิม่ เติม เพื่ออธิบายการดาเนินงานให้เข้าใจได้มากขึน้ และสามารถ ที่จ ะมองเห็น ข้อ มูล ต่ า งๆ เพิ่ม ขึ้น จากเดิม เพื่อ น ามาใช้ใ นการ พัฒนาระบบให้ดขี น้ึ เรือ่ ยๆ


75 งานวิ จยั ที่เกี่ยวข้อง จากการศึกษางานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้องมีดงั นี้ 1. การศึกษาเรื่อง การเพิม่ ประสิทธิภาพโซ่อุปทานโดยการใช้เทคนิคการผลิตแบบลีน กรณีศกึ ษาของอุตสาหกรรมธุรกิจผลิตรองเท้าในประเทศไทย โดย ศิรเิ กียรติ เจริญ ด้วยศิร ิ (2551) พบว่า 1.1 มีวตั ถุประสงค์เพื่อค้นหาปจั จัยทีม่ ผี ลต่อการลดต้นทุนในระบบการผลิตแบบลีน อุตสาหกรรมธุรกิจรองเท้า 1.2 เครือ่ งมือในการวิจยั โดยการออกแบบสอบถามไปยังกลุ่มพนักงานของ อุตสาหกรรม 1.3 ผลการวิจยั พบว่า ปจั จัยที่ส่งผลต่ อการลดต้นทุนของระบบการผลิต แบบลีน ประกอบด้วย ปจั จัยด้านการบริหารจัดการกาลังคน มีการพัฒนาปรับปรุงขบวน การท างานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ป จั จัย การวางแผนผัง การไหลของชิ้น งานให้ ม ี ประสิทธิภาพเพิม่ มากขึน้ และใช้การผลิตแบบดึงและคัมบัง เพื่อให้เกิดการไหล ของชิ้นงานอย่างเป็ นระบบตามความต้องการของลูกค้า และปจั จัยด้านการลด ขนาดกลุ่มผลิต เพื่อให้เกิดการผลิตทีง่ ่ายและเกิดความยืดหยุ่นในการผลิตให้ดี ขึน้ และช่วยในการบริหารจัดการการสังซื ่ ้อวัตถุดบิ ระบบการผลิตแบบลีนใน ธุรกิจรองเท้าสามารถลดต้นทุนการผลิตโดยรวมได้มากกว่าระบบการผลิตแบบ ครัง้ ละมากๆ 2. การศึกษาเรื่อง การเพิม่ ประสิทธิภาพในห่วงโซ่อุปทานโดยใช้เทคนิคการผลิตแบบ ลีน กรณีศกึ ษาของอุตสาหกรรมผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์ของไทย โดย อภิชาต เปรม ปราชญ์ ช ยัน ต์ (2550) พบว่ า 2.1 มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ ์ทางด้านการลดต้นทุนจากการ ประยุกต์ใช้ระบบการผลิตแบบลีนกับการผลิตคราวละมากๆ เพื่อแนวทางการ ปรับ ปรุ ง การผลิต ให้ ม ีป ระสิท ธิ ภ าพได้ ดีย ิ่ง ขึ้น และเพื่ อ ศึ ก ษาป จั จัย ที่ม ี ผลกระทบกับความสาเร็จในการลดต้นทุนทางด้านการผลิตจากการประยุกต์ใช้ ระบบการผลิตแบบลีน โดยวิธกี ารศึกษาประกอบกับการทบทวนวรรณกรรมที่ เกีย่ วข้อง 2.2 เครือ่ งมือในการวิจยั โดยการออกแบบวิธดี าเนินงานวิจยั ทาการสารวจและเก็บ ข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ประมวลผลและสรุปผลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทาง สถิตมิ าแปรผลและอธิบายผลลัพธ์ทไ่ี ด้ดว้ ยหลักการสถิติ 2.3 ผลการวิจยั พบว่า ระบบผลิตแบบลีนในภาพรวมก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ต่อองค์การและนับเป็นกลยุทธ์ทส่ี าคัญอย่างหนึ่งต่อความสาเร็จขององค์การ ใน


76 การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรกับความสาเร็จในการลดต้นทุนทางด้าน การผลิต พบว่า การวางแผนผังการปรับปรุงให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ และการ ผลิตแบบดึงกับคัมบังไม่มคี วามสัมพันธ์กบั ความสาเร็จในการลดต้นทุนทางด้าน การผลิตจากการประยุกต์ใช้ระบบการผลิตแบบลีน แต่คุณภาพทีต่ ้ นกาเนิดและ การลดขนาดกลุ่ มการผลิต พบว่า มีค วามสัมพันธ์กับความสาเร็จในการลด ต้นทุนทางด้านการผลิตจากการประยุกต์ใช้ระบบการผลิตโดยมีความสัมพันธ์ท่ี ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 3. การศึกษาเรื่อง การลดระยะเวลานาในการผลิตในโรงงานผลิตเลนส์แว่นตา โดยใช้ แนวคิดลีน ซิกซ์ ซิกม่า โดย พิมพ์ชนก ไพศาลภาณุ มาศ และนภัสสวงศ์ โอสถ ศิลป์ (2550) พบว่า 3.1 มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธกี ารในการลดระยะเวลานาในการผลิตเลนส์แว่นตา 3.2 เครือ่ งมือในการวิจยั โดยใช้การจัดการการผลิตแบบดึง การควบคุมด้วยสายตา การฝึกอบรมพนักงานข้ามสายงานการจัดการกับคอขวดของกระบวนการ 3.3 ผลการวิจยั พบว่า การปรับปรุงทาให้โรงงานกรณีศกึ ษามีระบบการไหลของงาน ทีร่ วดเร็วขึน้ ทาให้มผี ลผลิตภาพเฉลีย่ เพิม่ ขึน้ 2.3 เท่า จานวนงานระหว่างทา ลดลง 40% ส่งผลให้ระยะเวลาในการผลิตเลนส์แว่นตาลดลงเหลือ 1.29 วัน หรือ 31.06 ชัวโมง ่ และมีเปอร์เซ็นต์ความสามารถในการส่งสินค้าให้ทนั ลูกค้า ทัน ระยะเวลาเป้าหมาย 91.67 % จากงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องข้างต้น พบว่า การนาการผลิตแบบลีนมาประยุกต์ใช้เพื่อจัดการ กับกระบวนการต่างๆ ทีเ่ กิดความสูญเปล่าในองค์การ ทาให้มกี ารลดกิจกรรมทีไ่ ม่เกิดประโยชน์ และส่งผลให้เกิดการประหยัดต้นทุนตามมา


77 กรอบแนวคิ ดการศึกษา ทฤษฏีเ กี่ยวกับระบบการผลิต และ ระบบบัญชีแบบลีน ั หาการใช้ ร ะบบบัญ ชีแ บบ 1. ป ญ ดัง้ เดิม 2. การนาระบบการผลิตแบบลีนมา ใช้กบั บริษทั 3. แนวทางการประยุก ต์ใ ช้ระบบ การบัญชีแบบลีน

การปฏิบตั ิโดยใช้เ ครื่อ งมือ ระบบการ ผลิตและระบบบัญชีแบบลีน 1. การน าเครื่อ งมือ แบบลีน มาใช้ใ น กิจการโดยเริม่ ทีร่ ะบบการผลิต 2. ขัน้ ตอนการประยุกต์ใช้ระบบการ ผลิตแบบลีน 3. ประโยชน์ ข องการน าระบบการ ผลิตแบบลีนและการบัญชีแบบลีน

ภาพที่ 2-46 กรอบแนวคิดการศึกษา ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน) จากกรอบแนวคิดสามารถอธิบายได้ดงั นี้ 1. ทฤษฏีเกีย่ วกับระบบการผลิตและระบบบัญชีแบบลีน 1.1 ปญั หาการใช้ระบบบัญชีแบบดัง้ เดิม เนื่องจากการบัญชีแบบดัง้ เดิมจะใช้ต้นทุน มาตรฐานในการคานวณต้นทุน ทาให้ต้องประมาณการในทุกเรื่อง ดังนัน้ ต้นทุน ต่อหน่วยทีเ่ กิดขึน้ อาจจะคลาดเคลื่อนไปจากต้นทุนทีค่ ดิ โดยวิธ ี ABC เพราะหาก บริษทั จะทาการเปลี่ยนระบบมาใช้เป็ นระบบการผลิต แบบลีนแล้ว ก็จะต้องใช้ การคานวณต้นทุนแบบ ABC ด้ว ย ซึ่งจะสามารถปนั ส่วนค่าใช้จ่ายที่เกิดกับ ผลิตภัณฑ์นนั ้ ได้ถูกต้องตามสัดส่วนทีแ่ ท้จริง 1.2 การนาระบบการผลิตแบบลีนมาใช้ เมื่อบริษทั เลือกที่จะใช้ระบบการผลิตแบบ ลีน บริษัทจะต้อ งมีการจัดวางผังการทางานของฝ่ายการผลิต ใหม่ เนื่องจาก จะต้องผลิตอย่างไรไม่ให้เกิดความสูญเปล่าขึน้ ในสายการผลิตอีก ดังนัน้ จะต้อง พัฒนาระบบการผลิตให้ดยี งิ่ ขึน้ เรื่อยๆ จนความสูญเปล่าทีเ่ คยเกิดขึน้ เป็ นศูนย์ นันเอง ่ 1.3 แนวทางการประยุกต์ใช้ระบบการบัญชีแ บบลีน เมื่อบริษัทต้องการจะเปลี่ยน ระบบการบัญชีให้เป็ นแบบลีนนัน้ ก็จะต้องทาการปรับปรุงระบบใหม่ทงั ้ ระบบ เนื่องจากระบบการบัญชีแบบลีนจะจัดทาแบบงวดปจั จุบนั เพราะสามารถนา ข้อมูลไปใช้ได้ทนั ที อีกทัง้ ยังเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เป็ นตัวเงินและไม่เป็ นตัว เงินด้วย


78 2. การปฏิบตั โิ ดยใช้เครือ่ งมือระบบการผลิตและระบบบัญชีแบบลีน 2.1 การนาเครื่องมือแบบลีนมาใช้ โดยเครื่องมือของแนวคิดแบบลีนจะมาช่วยใน การลดความสูญ เสียขององค์การจากการกระทาที่ไม่เกิดมูล ค่าต่ อสินค้าและ บริการ โดยเริม่ ปรับปรุงไปทีละขัน้ ตอน และจะต้องอธิบายให้พนักงานเข้ าใจใน การใช้ระบบนี้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพขึน้ ในบริษทั เพื่อไม่ให้พนักงานรูส้ กึ ว่า งานจะเยอะขึน้ กว่าเดิม 2.2 ขัน้ ตอนการประยุกต์ใช้ระบบการผลิตแบบลีน เมื่อนาระบบการผลิตแบบลีนเข้า มาใช้ใ นองค์ก ารแล้ว เราต้องเตรียมความพร้อ มในด้านต่างๆ ได้แก่ สถานที่ เครื่องมืออุปกรณ์ทจ่ี าเป็ นและต้องระบุคุณค่าของสินค้าและบริการ โดยสารวจ สถานะป จั จุ บ ันของกระบวนการรวบรวมข้อ มูล ที่เ กี่ย วข้อ งกับ กระบวนการ ทัง้ หมดมาสรุ ป ลงบนแผนภาพกระแสคุ ณ ค่ า และประเมิน ผลการจัด การ กระบวนการ ในขัน้ ตอนการวางแผนพัฒนากระบวนการสร้างคุณค่าพิจารณา กระแสคุณค่า (value stream) ในทุกขัน้ ตอนการดาเนินงาน และในขัน้ ตอนสุดท้าย คือ การสร้างคุณค่าและกาจัดความสูญเปล่าอย่างต่อเนื่อง ค้นหาส่วนเกิน ที่ถูก ซ่อนไว้ซ่งึ เป็ นความสูญเปล่าและกาจัดออกไปอย่างต่อเนื่อง และขยายผลการ ปรับปรุง กระบวนการด้ว ยระบบลีน ไปสู่บริเ วณอื่น ๆ ตลอดห่ ว งโซ่อุ ปทาน ได้แก่ ลูกค้า ผูส้ ่งมอบ และผูร้ บั เหมาช่วงการผลิต 2.3 ประโยชน์ ของการนาระบบการผลิตแบบลีนและการบัญชีแบบลีน โดยบริษัท สามารถใช้ประโยชน์ในการใช้ลนี มาประยุกต์ใช้กบั งานบัญชี โดยลีนจะช่วยขจัด ความสู ญ เสีย ในกระบวนการปฏิบ ัติง านทางบัญ ชี การรายงานและวิธ ีก าร ทางการบัญ ชีอ่นื ๆ ขององค์การธุ รกิจโดยรายงานทางการเงินและรายงานที่ ไม่ใช่ทางการเงินจะช่วยสะท้อนมูลค่าทัง้ หมดของกระแสคุณค่า ซึง่ แตกต่างจาก การบัญชีแบบเดิมทีจ่ ะสะท้อนเฉพาะตัวผลิตภัณฑ์ โดยนาเรือ่ งของการวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงินมาวิเคราะห์เพิม่ เติมได้ดงั นี้ 1. การวิเคราะห์อตั ราส่วนสภาพคล่อง เป็ นการวัดความสามารถในการชาระหนี้ระยะ สัน้ ของบริษทั ความสามารถในการชาระหนี้ระยะสัน้ ก่อนและหลังนาการผลิตแบบ ลีนมาใช้ 2. การวิเคราะห์อตั ราส่วนทุนหมุนเวียน เป็ นการวัดส่วนของสินทรัพย์ทไ่ี ด้หกั ค่าสินค้า คงเหลือ ซึง่ เป็ นสินทรัพย์ระยะสัน้ ที่มคี วามคล่องตัวในการเปลี่ยนเป็ นเงินสดได้ต่ า ที่สุด ซึ่งจะทาให้ทราบถึงสภาพคล่องที่แท้จริงของบริษทั ก่อนและหลังการนาการ ผลิตแบบลีนมาใช้


79 3. การวิเคราะห์อตั ราการหมุนของลูกหนี้ เป็ นการวัดความสามารถการบริหารลูกหนี้ และความสามารถเปลีย่ นลูกหนี้เป็ นเงินสด ความสามารถในการบริหารลูกหนี้ก่อน นาระบบการผลิตแบบลีนมาใช้และหลังการนาระบบการผลิตแบบลีนมาใช้ 4. ระยะเวลาถัวเฉลีย่ ในการเรียกเก็บหนี้แสดงถึงระยะเวลาในการเก็บหนี้ เพื่อแสดงถึง คุณภาพของลูกหนี้ ประสิทธิภาพในการเรียกเก็บหนี้ และนโยบายในการให้สนิ เชื่อ 5. การวัดยอดขายของบริษทั ก่อนและหลังนาแนวคิดแบบลีนมาใช้ 6. อัตรากาไรสุทธิของบริษทั ก่อนและหลังนาแนวคิดแบบลีนมาใช้ 7. อัตราผลตอบแทนก่อนและหลังนาแนวคิดแบบลีนมาใช้


80

บทที่ 3 กรณี ศึกษาบริ ษทั คราวน์ เซรามิคส์ จากัด ประวัติบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด ก่อตัง้ เลขทะเบียนนิตบิ ุคคล ทุนจดทะเบียน ทีต่ งั ้ สานักงานใหญ่ ทีต่ งั ้ โรงงาน โทร จานวนพนักงานในบริษทั

มิถุนายน 2533 0105533062890 175,000,000 บาท 104 ถ.พัฒนาการ แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 234 หมู่ท่ี 17 ตาบลเขาขลุง อาเภอบ้านโป่ง จังหวัด ราชบุรี 70110 02-7216599 1,063 คน

ความเป็ นมาของบริษทั บริษ ัท คราวน์เซรามิคส์ จากัด เริ่มต้น การดาเนิ นธุร กิจโดยเป็น ธุรกิจแบบครอบครัว โดยนายมนัส ชิดกิตติศกั ดิ ์ ด้วยประสบการณ์ในธุรกิจเซรามิคมากว่า 50 ปี บริษทั ได้เริม่ มีวสิ ยั ทัศน์ ในการรวมบริษทั ทีแ่ ตกต่างกันในธุรกิจอุตสาหกรรมเซรามิค เช่น ดินเหนียว บริษทั คอมพาวด์ เคลย์ จากัด ก่อตัง้ ขึน้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2505 บริการหลักของบริษทั คือ การผสมดินเหนียวและการค้าดิน ทีม่ คี ุณภาพกับผูผ้ ลิตในภูมภิ าค บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด ก่อตัง้ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2533 โดยได้แนวความคิด ทีว่ า่ จะเชื่อมโยงธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับเซรามิคเข้าด้วยกัน ตัง้ แต่การผลิตวัตถุดบิ ที่เป็นดิน สารเคมี สี เพื่อใช้ในการผลิตเป็นสินค้าเซรามิคและต้องการให้ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตสินค้าเซรามิคที่มี ชื่อเสียง ทัง้ หมดทีก่ ล่าวมานี้ได้รบั แรงบันดาลใจหลังจากพบว่า ธุรกิจผลิตสินค้าเซรามิคในประเทศญี่ปุ่น และไต้หวันมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมากในอดีต ทีผ่ ่านมา และประสบความสาเร็จอย่างดี บริษทั ได้ทาการรวมโรงงานผลิตทัง้ สามโรงงานไว้ดว้ ยกัน ทาให้บริษทั มีความสามารถในการ ผลิตมากกว่า 10 ล้านชิน้ ต่อปี ความสาเร็จของบริษทั คือ การแสดงให้เห็นถึงหลักในความสามารถใน การสร้างผลิตภัณฑ์ทม่ี คี วามหลากหลายจริง สาหรับ 20 ปีทผ่ี ่านมา บริษทั ได้ทาการส่งออก 95% โดย ส่งไปยังกลุ่มประเทศทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรปตะวันตก และเอเชีย บริษทั ได้ปรับตัวอย่างต่อเนื่องให้เข้า กับการเปลี่ยนแปลงของตลาดและใช้เทคโนโลยีใ หม่ ซึ่ง ได้รบั การยอมรับไปทั ่วโลกส าหรับ เครื่องใช้บนโต๊ะอาหารมาตรฐานสูงด้วยการออกแบบทีท่ นั สมัย


81 บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด มีสานักงานใหญ่ตงั ้ อยูท่ ่จี งั หวัดกรุงเทพมหานคร และโรงงานผลิต ตัง้ อยูท่ จ่ี งั หวัดราชบุร ี เริม่ ต้นด้วยทุนจดทะเบียน 42 ล้านบาท เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2533 ซึ่งใน ปจั จุบนั บริษทั ได้เพิม่ ทุนจดทะเบียน 175 ล้านบาท มีพนักงานรวมโดยประมาณ 1,300 คน ขนาด ของโรงงานประมาณ 60 ไร่ ซึง่ ประกอบด้วย โรงงานย่อยทัง้ หมด 3 โรงงาน โดยแบ่งเป็นเนื้อดินที่ ใช้ในการผลิตสาหรับขึน้ รูปในแต่ละประเภท อันได้แก่ stone ware, terracotta และ VCB โดย กาลังการผลิตรวม โดยประมาณ 800,000 ชิ้นต่อเดือน ดาเนินธุรกิจผลิตสินค้าเซรามิค สาหรับ เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร เพื่อส่งจาหน่ ายให้กบั บริษทั ชัน้ นา เช่น disney starbuck lexon ที่จดั จาหน่ายสินค้าเซรามิค ทัง้ นี้บริษทั ได้รบั ประกาศนียบัตรรับรองคุณภาพมาตรฐานสากล ISO 9001: 2008 ซึง่ เป็นมาตรฐานทีบ่ ริษทั ในต่างประเทศให้การยอมรับโดยทั ่วไป โดยบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด มีบริษทั ในเครืออีก 2 บริษทั คือ บริษทั คอมพาวด์เคลย์ จากัด (compoundclay Co.,Ltd.) และบริษทั เซรามิค อาร์อสั จากัด (ceramics rus Co.,Ltd.) โดยทัง้ สองบริษทั มีโครงสร้างผูถ้ อื หุน้ กลุ่มเดียวกันกับบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด โดยเจ้าของกิจการ เป็นของคนไทยถือหุน้ 100% โดยมีช่อื เรียกว่า กลุ่ม APA Group 1. บริษทั คอมพาวด์เคลย์ จากัด เป็นบริษทั ผลิตดินผสมสาเร็จรูปรายแรกในประเทศ ไทย เริม่ ก่อตัง้ เมื่อปี พ.ศ. 2520 เพื่อผลิตดินผสมสาหรับอุตสาหกรรมเซรามิค ทุน จดทะเบียนปจั จุบนั 60 ล้านบาท กาลังการผลิตมากกว่า 50,000 ตัน/ปี มีสานักงาน และการผลิตทีก่ รุงเทพและสิงห์บุร ี มีสนิ ค้าคงคลังและศูนย์จาหน่ ายดินและเคลือบ ผสมสาเร็จรูปทีล่ าปาง จึงถือว่าเป็นอุตสาหกรรมต้นน้าทีส่ าคัญในการส่งวัตถุดบิ เข้า สู่สายการผลิตของบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด 2. บริษทั เซรามิค อาร์อสั จากัด เปิดดาเนินกิจการมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2532 โดยมีทุนจด ทะเบียน 10 ล้านบาท โดยเป็นผูจ้ าหน่ายสินค้าเพื่อใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตมากกว่า 1,000 รายการ สาหรับอุตสาหกรรมเซรามิค แก้ว กระจก เหล็ก โลหะ โรงกลั ่นน้ ามัน ปิโตรเคมี ปูนซีเมนต์ ยานยนต์ และพลาสติก โดยลักษณะสินค้าที่จดั จาหน่ ายนัน้ จะนาเข้ามาจากต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ และจัดหาจากแหล่งผลิตในประเทศบางส่วน และเป็นบริษทั ทีจ่ ะส่งวัตถุดบิ สาคัญที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตสินค้าเซรามิค เช่น สารเคมีในการผลิต สี อุปกรณ์ต่างทีใ่ ช้ในเตาการผลิต


82 บริษทั ในเครือ

ภาพที่ 3-1 บริษทั ในเครือของบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด ทีม่ า: บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด. http://www.crownceramics.com. (22 กุมภาพันธ์ 2555) เมื่อกล่าวถึงภาพรวมของผูป้ ระกอบการเซรามิคของไทย บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด เป็นหนึ่งในผูป้ ระกอบการธุรกิจเซรามิคเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร เช่น จาน ชาม ภาชนะใส่อาหาร เพื่ออบ ทีอ่ ยูใ่ นกลุ่มธุรกิจการส่งออกเป็นสาคัญ แต่เนื่องด้วยในปจั จุบนั คู่แข่งในการส่งออกของ บริษทั มีการปรับตัวและมีการแข่งขันด้านราคาค่อนข้างสูง จึงได้รบั ผลกระทบจากประเทศต่างๆ โดยตรงอันได้แก่ ประเทศจีน อินโดนีเซีย ศรีลงั กา และประเทศเวียดนามเป็นอย่างมาก เพราะมี โครงสร้างค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่ากว่า เพราะอุตสาหกรรมเซรามิคนัน้ ยังต้องพึง่ พาแรงงานใน การผลิตค่อนข้างมาก รวมถึงแหล่งของวัตถุดบิ และพลังงานที่ต้องใช้ในการผลิตนอกเหนือจาก การใช้แรงงานในผลิตในอุตสาหกรรมนี้ บริษทั ยังเป็นผู้ผลิตสินค้าเซรามิคที่มยี อดมูลค่าส่งออก ติดอันดับ 1 ใน 10 ของประเทศไทย ลักษณะโดยทั ่วไปของสินค้าและบริการของบริษทั นัน้ คือ การรับจ้างผลิตสินค้าตามรูปแบบและความต้องการของลูกค้าทัง้ ในและต่างประเทศ ขันตอนการ ้ ผลิตทีส่ ามารถดึงเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตจากต่างประเทศ ตัง้ แต่การพัฒนาวัตถุดบิ ต้นน้ า อันได้แก่ ดินสาเร็จรูป ทีม่ สี ่วนสาคัญอย่างมากในอุตสาหกรรมเซรามิค ซึง่ เป็นส่วนผลักดันให้สนิ ค้าเซรามิค ของบริษทั ได้พฒ ั นาอย่างโดดเด่น สารเคมีและสีต่างๆ ที่ใช้ บริษทั ในเครือก็จะนาเข้าโดยตรง ยิง่ ทา ให้การควบคุมเป็นไปได้อย่างราบรื่น การพัฒนาสินค้าและการผลิตของบริษทั จะเน้นเรื่องคุณภาพของตัวสินค้าและการบริการ ลูกค้าเป็นหลัก ซึง่ มีความสาคัญอย่างมากในระบบอุตสาหกรรมที่เป็นผู้รบั จ้างผลิต (Original Equipment Manufacturer: OEM) สินค้าทีผ่ ลิตจากบริษทั จาเป็นต้องผ่านการทดสอบด้านคุณภาพและความ


83 ปลอดภัยสาหรับผูบ้ ริโภค เนื่องจากเป็นสินค้าทีต่ อ้ งสัมผัสกับอาหารโดยตรง ดังนัน้ ขัน้ ตอนใน การผลิตสินค้าทุกขันตอนจึ ้ งมีความสาคัญที่จะช่วยควบคุมปริมาณสารอันตรายที่จะปนเปื้อนสู่ สินค้า และช่วยในการกาจัดสารตกค้างทีเ่ ป็นอันตรายสู่ผบู้ ริโภคได้ โครงสร้างองค์การและคาอธิ บายลักษณะงาน โครงสร้างองค์การ

ภาพที่ 3-2 โครงสร้างองค์การในส่วนงานต่างๆ ทีม่ า: ธนิต ปวีณวงศ์ชยั . http://dataverse.dvn.utcc.ac.th. (22 กุมภาพันธ์ 2555)


84 คาอธิ บายลักษณะงาน รูปแบบการบริหารจัดการของบริษทั แบ่งเป็นโครงสร้างหลักๆ ได้ 2 ส่วน ได้แก่ 1. ฝา่ ยบริหารการผลิต ดูแลและจัดการด้านการผลิตเป็นหลัก 2. ฝา่ ยงานสนับสนุ น ประกอบไปด้วยส่วนงานต่างๆ ดังนี้ 2.1 ด้านการตลาดและขาย 2.2 ด้านการเงินและบัญชี 2.3 ด้านธุรการทั ่วไป คณะผู้บริหาร

นายอรรณพ เชิดเกียรติศักดิ์ กรรมการผู้จดั การ

นางสาวณัทฐานันท์ พูลไพบูลย์

นางพร เสถียรมิตร

นายสมยศ เจริญผล

รองกรรมการผู้จดั การ

รองกรรมการผู้จดั การ

รองกรรมการผู้จดั การ

ภาพที่ 3-3 ผูบ้ ริหารบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด ทีม่ า: บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด. http://www.crownceramics.com. (22 กุมภาพันธ์ 2555)


85 รายชื่อคณะทางานในโครงการลีน

ภาพที่ 3-4 รายชื่อคณะทางานในโครงการลีน ทีม่ า: บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด. http://www.crownceramics.com. (22 กุมภาพันธ์ 2555) คาอธิ บายลักษณะงาน 1. ประธานกรรมการโครงการลีน (Lean executive) ซึง่ เป็นผูน้ าแนวคิดแบบลีนเข้ามา ใช้ในบริษทั ได้แก่ นายทรงพล หนูคง 2. ทีป่ รึกษาโครงการลีน (Lean consultants) เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญในการวางระบบการผลิต แบบลีนจากภายนอก ได้แก่ นายสุทธิรกั ษ์ ทองอรัญญิก และนายอนันต์ ดีโรจนวงศ์ 3. ผู้จ ัดการโครงการลีน (Lean manager) เป็ นผู้ควบคุ มกระบวนการการผลิตแบบลี น ภายในบริษทั 4. สมาชิกในโครงการลีน (Lean member) เป็นผู้ร่วมปฏิบตั งิ านตามแนวทางของลีน โดยปฏิบตั ติ ามแผนทีท่ างบริษทั ได้วางไว้ ซึง่ สมาชิกในโครงการลีนนัน้ ได้แก่ นาย วัฒนสิทธิ ์ คณะคาดี นายสุรยิ พงษ์ พลเล็ก นายจิรยุทธ โชติกะ และนายวีรชัย ฑีฆะ วาทิน


86 กลุ่มผลิ ตภัณฑ์ของบริษทั ผลิตภัณฑ์ของบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด แบ่งกลุ่มผลิตภัณฑ์เป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. ชุดอาหารใช้สาหรับโรงแรม 2. ชุดอาหารสาหรับมือ้ เย็น 3. ชุดแก้วเซรามิค 4. ชุดเซรามิคสาหรับลูกค้าออกแบบเอง

ภาพที่ 3-5 ชุดอาหารใช้สาหรับโรงแรม ทีม่ า: บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด. http://www.crownceramics.com. (22 กุมภาพันธ์ 2555)

ภาพที่ 3-6 ชุดอาหารสาหรับมือ้ เย็น ทีม่ า: บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด. http://www.crownceramics.com. (22 กุมภาพันธ์ 2555)


87

ภาพที่ 3-7 ชุดแก้วเซรามิค ทีม่ า: บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด. http://www.crownceramics.com. (22 กุมภาพันธ์ 2555)

ภาพที่ 3-8 ชุดเซรามิคสาหรับลูกค้าออกแบบเอง ทีม่ า: บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด. http://www.crownceramics.com. (22 กุมภาพันธ์ 2555) ทางบริษทั รับจ้างผลิตตามความต้องการของลูกค้าซึง่ มีลกู ค้าทัง้ ในและนอกประเทศ เช่น Iitala disney store, starbucks และ mark & spencer เป็น ต้น รูปแบบของผลิตภัณ ฑ์ไ ม่มี ความหลากหลายมากนักตามแต่ลูกค้ากาหนด เช่น ถ้วยเซรามิค จานเซรามิค และกระถาง เซรามิค โดยแต่ละผลิตภัณฑ์จะมีหลากหลายรูปแบบ เช่น แก้วเซรามิคจะมีทงั ้ ทรงสูง กลาง ต่า และลวดลายจะแยกต่างกัน โดยวัตถุดบิ หลักจะเป็นดินและสีเคลือบ


88 ตัวอย่างผลิ ตภัณฑ์

ภาพที่ 3-9 ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ทีม่ า: บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด. http://www.crownceramics.com. (22กุมภาพันธ์ 2555) ขัน้ ตอนกระบวนการดาเนิ นงาน Mold Making

Sorting Decoration

Clay Preparation

Glost Firing Packing

Forming Process

Glazing

Biscuit Firing

Glaze Preparation

Delivery

ภาพที่ 3-10 ขันตอนการด ้ าเนินงานในการผลิตเซรามิค ทีม่ า: ธนิต ปวีณวงศ์ชยั . http://dataverse.dvn.utcc.ac.th. (22 กุมภาพันธ์ 2555) ขันตอนในกระบวนการผลิ ้ ตเซรามิค ของบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด มีขนั ้ ตอนการ ผลิตดังนี้ 1. การผลิตโมล (mold making: PFC.การเตรียมโมล) เป็นขัน้ ตอนการทาโมเดล การทา เคสโมล และการทาโมลใช้งาน 2. การเตรียมดิน (clay preparation: PFC.การเตรียมดิน) เป็นขัน้ ตอนการผลิตดิน เพื่อ แก้ไขงานใหม่ การเตรียมดินปนั ้ การเตรียมน้าดิน


89 ั ้ วยดินรีดดูดอากาศ 3. การขึน้ รูป (forming process: PFC.การขึน้ รูป) เป็นขัน้ ตอนการปนด้ การหล่อแบบโดยการหยอดน้ าดิน การอัดแบบด้วยดินรีดดูดอากาศ การอบแห้ง และขัดแต่งชิน้ งานดินสาเร็จรูป และการควบคุมบิสกิต 4. การเผาบิสกิต (biscuit firing: PFC.การผลิตบิสกิต) เป็นขัน้ ตอนการเรียงและเก็บชิ้นงาน เข้าเผาเตาบิสกิต วิธกี ารเผาเตาบิสกิต การตรวจสอบบิสกิต และการควบคุมบิสกิต 5. การเตรียมน้าเคลือบ (glaze preparation: PFC.การผลิตเคลือบ) เป็นขัน้ ตอนการผลิต น้าเคลือบสีเดียว หรือ 2 สี การราดเคลือบ 6. การเคลือบชิ้นงาน (glazing: PFC.การเคลือบ) เป็นขัน้ ตอนการชุบเคลือบสีเดียว หรือ การเคลือบ 2 สี และการราดเคลือบ 7. การเผาเคลือบ (glost Firing: PFC.การเผาเตาเคลือบ) เป็น ขัน้ ตอนการเรียงและ เก็บชิน้ งานเข้าเผาเคลือบ 8. การคัดชิน้ งานหลังเผาเคลือบ (sorting: PFC.การคัดเกรดและซ่อมโป๊ว) เป็นขัน้ ตอนการ คัดเกรด และการซ่อมเคลือบชิน้ งาน 9. การตกแต่งชิน้ งาน (decoration: PFC.การทางานรูปลอกไฟสูง & PFC. การทางาน รูปลอกไฟต่า) เป็นขันตอนการติ ้ ดรูปลอก การตกแต่งสี และการเผาเตารูปลอก 10. การบรรจุสนิ ค้า (packing: PFC.การบรรจุ) เป็นขันตอนการประกอบอุ ้ ปกรณ์และการ บรรจุกล่อง 11. การจัดส่งสินค้า (delivery: PFC.การจัดส่งสินค้า) เป็นขัน้ ตอนการจัดทาเอกสารส่งออก และการจัดเตรียมรถบรรทุกสินค้า กลุ่มลูกค้าหลัก ส่วนแบ่งการตลาดของบริษทั กลุ่มตลาดหลักของบริษทั คราวน์เซรามิคส์ เป็นลูกค้าทีม่ ชี ่อื เสียงและขายสินค้าเซรามิค ในตราสินค้าของลูกค้าที่ครองตลาดอยู่แล้วในต่างประเทศ เช่น disney, world kitchen Inc., Iittala, mary mekko, noritake เป็นต้น ซึง่ ลูกค้าจะจ้างทางบริษทั ทาการผลิตสินค้าที่ทางลูกค้า ออกแบบและมีความต้องการอยูเ่ พื่อจะนาไปขายในแต่ละประเทศ หรือทีเ่ รียกโดยทั ่วไปว่าลูกค้า แบบ OEM โดยสามารถแบ่งสัดส่วนทางการตลาดของลูกค้าได้ โดยกลุ่มลูกค้าของบริษทั โดยมากจะ อยูใ่ นกลุ่มประเทศแถบยุโรปและอเมริกาเป็นหลัก โดยมีสดั ส่วนการขายในต่างประเทศถึง 95% และเป็นการขายในประเทศ 5% โดยลูกค้าต่างประเทศสามารถแบ่งเป็นโซนได้โดย 75% เป็นลูกค้าใน โซนยุโรป 20% เป็นโซนอเมริกา และ 5% เป็นส่วนลูกค้าเอเชียและอื่นๆ โดยใช้มลู ค่าของสินค้า ในการแบ่งสัดส่วน ดังในแสดงในรูปที่ 3-11 และ 3-12


90

ภาพที่ 3-11 สัดส่วนการขายของลูกค้าต่างประเทศและในประเทศ ทีม่ า: ธนิต ปวีณวงศ์ชยั . http://dataverse.dvn.utcc.ac.th. (22 กุมภาพันธ์ 2555)

ภาพที่ 3-12 สัดส่วนของการขายของลูกค้าในโซนต่างๆ บนโลก ทีม่ า: ธนิต ปวีณวงศ์ชยั . http://dataverse.dvn.utcc.ac.th. (22 กุมภาพันธ์ 2555) โดยลักษณะของตาแหน่ ง ของสินค้าของบริษ ัทเมื่อเทียบกับของบริษทั อื่นๆ ในตลาด ค่อนข้างจะชัดเจนนั ่นคือ เป็นสินค้าที่มคี ุณภาพที่ค่อนข้างสูงกว่าระดับมาตรฐานปกติประกอบ กับระดับราคาขายของบริษทั สูงกว่าเช่นกัน อันเนื่องมาจากความพิถพี ถิ นั ในการเลือกใช้วตั ถุดบิ และวิธกี ารผลิตทีม่ คี ุณภาพสูงและความระมัดระวังในการผลิตแต่ละขันตอน ้ ดังแสดงไว้ดงั รูปภาพที่ 3-10 เรื่องตาแหน่งของตัวสินค้าของบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด เมื่อเทียบกับสินค้าของบริษทั เซรามิค ในระดับเดียวกัน จากเหตุผลทีไ่ ด้กล่าวมาในขันต้ ้ นทาให้บริษทั มีโครงสร้างต้นทุนทีค่ ่อนข้างสูง ทาให้กลุ่ม ลูกค้าในปจั จุบนั ค่อนข้างจะไปอยูใ่ นกลุ่มลูกค้าในระดับบน และทาให้ฐานลูกค้าค่อนข้างแคบลง อันเนื่องมาจากสินค้าของบริษทั มีตน้ ทุนทีค่ ่อนข้างสูง ลูกค้าของบริษทั ส่วนใหญ่เป็ นลูกค้าที่ตดิ ต่อซื้อขายกันมาต่อเนื่ องเป็ นระยะเวลานาน บางรายเป็นลูกค้าตัง้ แต่เปิดบริษทั ซึ่งบริษทั มีความสัมพันธ์อนั ดีกบั ลูกค้าเหล่านี้มาโดยตลอด


91 นอกจากนี้บริษทั ยังเน้นการขยายฐานลูกค้าไปยังประเทศแถบยุโรปในกลุ่มสแกนดิเนียร์เวียร์ ซึ่งเป็นฐาน ลูกค้าที่สาคัญ ในการใช้เนื้ อดิน (Vitreous China Body: VCB) ของลูกค้าปจั จุบนั ควบคู่ไป กับการติดต่อลูกค้ารายใหม่ๆ ลูกค้าส่วนใหญ่ของกลุ่มบริษทั สามารถแบ่งได้ดงั นี้ 1. กลุ่มผูป้ ระกอบการสินค้าเซรามิคเดิม: Iiitala, hogasness ฯ 2. กลุ่มผูท้ ม่ี ตี ราสินค้าทีม่ ชี ่อื เสียง: disney, starbuck ฯ 3. กลุ่มผูล้ กู ค้านาเข้าอิสระ: li-fung, siam karat, macy ฯ 4. กลุ่มผูล้ กู ค้าทั ่วไป: unilever, nestle ฯ ส่วนประเภทของสิน ค้าเซรามิคที่ส าคัญ ของบริษ ัท ซึ่ง แบ่ง ตามหน้าที่การใช้ง านและ คุณประโยชน์สามารถแบ่งได้ดงั นี้ 1. สินค้าเครื่องใช้ในบ้านและโต๊ะอาหาร เช่น แก้วน้า จาน ชาม เป็นต้น 2. สินค้าเครื่องใช้ในห้องครัว เช่น ถาดอบอาหาร หม้อ โถอาหาร เป็นต้น 3. สินค้าเครื่องใช้ในกลุ่มโรงแรมและร้านอาหาร เช่น ชุดอาหาร เป็นต้น 4. สินค้าสาหรับของทีร่ ะลึกหรือของชาร่วย เช่น เหรียญทีร่ ะลึก เป็นต้น 5. สินค้าสาหรับประดับและตกแต่ง เช่น กรอบรูป โถ แจกัน เป็นต้น กลุ่มลูกค้าทีเ่ ป็นเป้าหมายหลักในปจั จุบนั คือ กลุ่มผูป้ ระกอบการสินค้าเซรามิคเดิม ทีอ่ ยูใ่ น ต่างประเทศ และมีแนวโน้มทีจ่ ะย้ายฐานการผลิตมายังทวีปเอเชีย ส่วนอีก 3 กลุ่ม ที่เหลือนัน้ จะแข่งขันด้าน ราคาเป็นหลัก ดังนัน้ จะสะท้อนให้เห็นภาพว่าการดาเนินกิจการของ บริษทั นัน้ จะมุ่งเน้นไปยัง ทวีปยุโรปและอเมริกาเป็นหลัก โดยบริษทั มีรายได้จากการดาเนินธุรกิจผลิตชิน้ สินค้าเซรามิคในกลุ่ม ลูกค้าทีเ่ ป็นผูป้ ระกอบการเดิมทีอ่ ยูใ่ นต่างประเทศคิดเป็นอัตราส่วนกว่า ร้อยละ 80 ของรายได้รวมทัง้ ปี เป้าหมายของบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด คือการเป็นผู้ผลิตสินค้าเซรามิครายใหญ่ท่สี ุดของ ประเทศ การจัดจาหน่ ายและช่องทางการจัดจาหน่ าย การจาหน่ ายสินค้าเซรามิคส่วนใหญ่เป็นการจาหน่ ายแก่ผู้ส ั ่งสินค้าโดยตรง (first tier) และผู้ส ั ่งสิน ค้าเซรามิคนัน้ ก็จ ะน าไปใช้ใ นแผนการตลาดหรือแผนการขายของลูกค้าต่อไป หรือจะนาไปเป็นส่วนประกอบ เพื่อจาหน่ายให้แก่รา้ นค้าซึง่ มีสนิ ค้าเซรามิคต่างๆ (second tier) ในการวางขาย เช่น ห้างในต่างประเทศ เช่น cosco, disney store หรือ private shop ต่างๆ ในลักษณะ OEM ซึง่ เป็นการผลิตตามคาสั ่งซือ้ และส่งมอบสินค้าเซรามิคในระยะเวลาที่กาหนด โดยมีการกาหนดจานวนคาสั ่งซือ้ ในเบือ้ งต้นล่วงหน้า และมีการยืนยันเป็นรายเดือน ส่วนการจาหน่ายสินค้าบางประเภท เช่น สินค้าของทีร่ ะลึกหรือสินค้าของแถมจะเป็น การสั ่งซื้อ สินค้าโดยตรงจากเจ้าของตราสินค้านัน้ ๆ เป็นการจาหน่ ายแบบครัง้ ต่อครัง้ (ไม่มสี ญ ั ญาระยะยาว)


92 ให้กบั ตัวกลางศูนย์กระจายสินค้าของสินค้าเซรามิคประเภทต่างๆ และผูซ้ อ้ื สินค้าลักษณะนี้จะกระจาย สินค้าเองทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ส่วนการจาหน่ายให้ผนู้ าเข้า โดยปกติแล้วผูน้ าเข้าจะทาการสั ่งซือ้ สินค้าดังกล่าว โดยจะ ทาการกระจายสินค้าให้กบั ศูนย์กระจายสินค้าย่อยในแต่ละประเทศของสินค้าเซรามิคและผู้ค้า ปลีกในประเทศนัน้ ๆ ดังนัน้ อาจจะกล่าวได้วา่ ช่องทางการจัดจาหน่ ายของสินค้าเซรามิคของบริษทั นัน้ จะขึน้ อยู่ กับผูส้ ั ่งซือ้ สินค้าเป็นหลัก และทัง้ นี้การกาหนดราคาขายปลีกของสินค้าเซรามิคของบริษทั ยังไม่ ขึน้ กับนโยบายบริษทั แต่ขน้ึ กับผูส้ ั ่งซือ้ สินค้านัน้ ๆ เพราะบริษทั ยังคงการผลิตสินค้าที่เป็นแบบ OEM จึงไม่สามารถรับรูเ้ รื่องช่องทางการจัดจาหน่ายได้อย่างเป็นระบบ


93 งบแสดงฐานะการเงินและงบกาไรขาดทุนของบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด

แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 และ 2551 2553

2552

2551

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน ลูกหนี้การค้า-สุทธิ เงินให้กยู้ มื ระยะสันแก่ ้ กจิ การที่ เกีย่ วข้องกัน สินค้าคงเหลือ-สุทธิ เงินลงทุน สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

134,905,868.45 13,317,801.40 237,602,168.73

49,870,056.96 135,522,208.14 29,749,958.35 152,699,212.11 14,802,787.88 19,444,682.86 254,326,060.19 312,744,155.92

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารทีต่ ดิ ภาระค้า ประกัน เงินลงทุนระยะยาว ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ -สุทธิ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน-สุทธิ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

4,315,766.60 147,603,958.21 1,869,745.01 153,789,469.82 391,391,638.55

4,283,307.72 4,227,237.79 49,999,930.00 172,259,389.58 98,034,555.13 2,419,612.56 3,768,794.22 178,962,309.86 156,030,517.14 433,288,370.05 468,774,673.06

1,792,289.20 87,586,209.68

955,470.81 73,295,635.01

ทีม่ า: กรมพัฒนาธุรกิจการค้าฯ. 2555. (17 กุมภาพันธ์ 2555)

515,512.23 90,214,691.76


94 บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด

แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 และ 2551

2553 หนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ หนี้สนิ หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน ลูกหนี้การค้า-สุทธิ เงินกูย้ มื ระยะสันจากบุ ้ คคล และกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกัน หนี้สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน ทีค่ รบกาหนดชาระในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวทีถ่ งึ กาหนด ชาระภายในหนึ่งปี หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สนิ หมุนเวียน หนี้สนิ ไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาวสถาบัน การเงิน รวมหนี้สนิ ไม่หมุนเวียน รวมหนี้สนิ

2552

2551

39,023,322.49 56,149,819.07

83,675,326.26 89,050,799.13

273,156,688.19 62,283,620.20

7,000,000.00

5,500,000.00

19,751,578.28

487,692.33

20,708.06

529,656.60

35,807,488.10 14,317,497.09 152,785,819.08

9,408,331.14 11,415,083.71 199,570,248.30

339,908.31

628,172.97

41,976.10

207,082,611.78 207,422,520.09 360,208,339.17

219,470,107.88 220,098,280.85 419,668,529.15

51,122,235.85 51,164,211.95 439,726,467.67

ทีม่ า: กรมพัฒนาธุรกิจการค้าฯ. 2555. (17 กุมภาพันธ์ 2555)

21,825,000.00 35,807,488.10 9,408,331. 11,015,712.45 388,562,255.72


95 บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด

แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 และ 2551 2553

2552

2551

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน-หุน้ สามัญ 17,500,000 หุน้ มูลค่า หุน้ ละ 10 บาท เป็นเงิน 175,000,000 บาท ทุนทีช่ าระแล้ว หุน้ สามัญจานวน 17,500,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 10 บาท เป็นเงิน กาไร(ขาดทุน)สะสม กาไรสะสมจัดสรรแล้ว สารองตามกฎหมาย ขาดทุนสะสมยังไม่ได้จดั สรร รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมหนี้สนิ และ ส่วนของผูถ้ อื หุน้

175,000,000.00

175,000,000.00

175,000,000.00

9,000,000.00 -152,816,700.62 31,183,299.38

9,000,000.00 -170,380,159.10 13,619,840.90

9,000,000.00 -154,951,794.61 35,807,488.10 9,408,331.14 29,048,205.39

391,391,638.55

433,288,370.05

468,774,673.06

ทีม่ า: กรมพัฒนาธุรกิจการค้าฯ. 2555. (17 กุมภาพันธ์ 2555)

2


96 บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด งบกาไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 และ 2551 2553

2552

2551

รายได้ รายได้จากการขาย รายได้อ่นื รวมรายได้

532,162,584.00 6,355,544.38 538,518,128.38

419,965,871.30 583,486,443.62 19,579,743.07 34,539,027.96 439,545,614.37 618,025,471.58

ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ขาดทุนจากค่าเงินลงทุน รวมค่าใช้จ่าย

447,843,718.38 55,677,471.12 503,521,189.50

356,503,349.74 504,929,716.68 57,998,761.41 75,085,274.90 20,249,971.65 434,752,082.80 580,014,991.58

กาไรก่อนต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน

34,996,938.88 -17,433,480.40

4,793,531.57 -20,221,896.06

38,010,480.00 -25,512,950.69

กาไร(ขาดทุน)สุทธิ

17,563,458.48

-15,428,364.49

12,497,529.31

ค่าใช้จ่าย

ทีม่ า: กรมพัฒนาธุรกิจการค้าฯ. 2555. (17 กุมภาพันธ์ 2555)


97

บทที่ 4 ผลการศึกษา สาเหตุเกี่ยวกับการนาแนวคิ ดแบบลีนมาประยุกต์ใช้ใน กรณี ศึกษาบริ ษทั คราวน์เซรามิ คส์ จากัด เนื่องจากการผลิตของบริษทั มีการค้นพบข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น โดยมีของเสียลักษณะ ต่างๆ เป็นจานวนมาก ในการศึกษาครัง้ นี้คอื การผลิตกลุ่มชนิดของผลิตภัณฑ์ (product family) เป็ นแก้วเซรามิคประเภท SDB 2-tone, taika plate และteema Mug โดยเกิดปญั หาชนิดรูตวั P และเบีย้ วรูปทรงไม่ได้มาตรฐานเกิดมากทีส่ ุด และในการผลิตของทุกๆ ผลิตภัณฑ์ มีค่ายิวส์ทต่ี ่ า มาก คือประมาณ 50-60 % ดังนัน้ บริษทั จึงนาแนวคิดแบบลีนเข้ามาช่วยในขจัดความสูญเปล่า ที่เกิดขึน้ จากกระบวนการผลิตที่เป็ นของเสียจากกระบวนการดาเนินงาน รวมถึงกระบวนการ ดาเนินงานทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ เนื่องมาจากการดาเนินงานทีไ่ ม่รดั กุม แนวคิ ดแบบลีนในการบริ หารเพื่อนามาประยุกต์ใช้ใน กรณี ศึกษาบริ ษทั คราวน์เซรามิ คส์ จากัด บริษทั ได้นาแนวคิดแบบลีนมาประยุกต์ใช้ในการขจัดความสูญเปล่าทีเ่ กิดขึน้ ในกิจกรรม ต่างๆ โดยสร้างสิง่ ที่เพิม่ มูลค่าด้านการผลิตหรือด้านเวลาในการทางานหรือเป็ นขัน้ ตอนที่เกิน ความจาเป็น ถ้าระบุให้ชดั เจนจะเป็นดังต่อไปนี้ ความสูญเปล่า 7 ชนิด สามารถแบ่งออกได้เป็น 1. ความสูญเปล่าของการผลิตทีม่ ากเกินความจาเป็ น (over production) เกิดจากการทางาน เร็วเกินไป การใช้วตั ถุดบิ ล่วงหน้าด้วยจานวนพนักงานทีม่ ากเกินไปและเครื่องจักร ทีม่ มี ากเกินไป เป็ นการผลิตทีไ่ ม่สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า ซึง่ การผลิต ทีม่ ากเกินไปจะต้องควบคุมโดยให้ความสาคัญสูงสุดในฐานทีเ่ ป็ นความสูญเปล่าซึ่ง เลวร้ายทีส่ ุด 2. ความสูญเปล่าของการรอ งานสภาพการรอ การรอคอย (waiting time, idle time) เกิด จากการไม่สามารถทางานได้เนื่องจากเครื่องจักรเสียหาย การรอชิ้นส่วนการผลิต หรือการรอทางานเนื่องจากของไม่ครบ 3. ความสูญเปล่าของการเคลื่อนย้ายและขนย้ายทีไ่ ม่จาเป็ น (unnecessary transportation) เกิดจากระยะทางการเคลื่อนย้ายเกินความจาเป็ น การวางของชัวคราวระหว่ ่ าง


98 กระบวนการผลิต ความยุง่ ยากของการเคลื่อนย้ายซ้าๆ และการจัดวางเรียงซ้อนซ้า อีกครัง้ 4. ความสูญเปล่าของการมีกระบวนการทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ (inefficient process) เกิด จากการผลิต เองสภาพการทางานจึงไม่คงที่ หรือการไม่สามารถผลิตด้วยความเร็ว ทีเ่ หมาะสมได้เนื่องจากพนักงานยังไม่ชานาญงาน 5. ความสูญเปล่าของสินค้าคงคลังเกินความจาเป็ น (unnecessary stock)เกิดจากค่าใช้จ่าย การบริหารจัดการกับสินค้าคงคลัง 6. ความสูญเปล่าของการเคลื่อนไหวของร่างกายทีไ่ ม่จาเป็ น (unnecessary motion) เกิด จากการเดิน การหยิบ /วางวัต ถุ ดิบ และเครื่อ งมือ การท างานด้ว ยท่ า ทางที่ฝื น ธรรมชาติ และการตัดสินใจผิดพลาด 7. ความสูญเปล่าจากการผลิตของเสีย (defect) ของการใช้วตั ถุดบิ และชิน้ ส่วน รวมทัง้ ขัน้ ตอนการทางานเนื่องจากเกิดของเสียขึน้ การเลือกใช้วธิ กี ารขจัดความสูญเปล่าในแต่ละกระบวนการจะขึน้ อยู่กบั ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ กับผลิตภัณฑ์นัน้ ๆ อาจเลือกใช้วธิ กี ารที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละขัน้ ตอน โดยเริม่ จากการ เลือกหัวข้อในการปรับปรุง หาความเป็ นไปได้ของสาเหตุทงั ้ หมดจากแผนภูมกิ ้างปลา ตามด้วย การหาสาเหตุทแ่ี ท้จริงทีน่ ่ าจะทาให้เกิดปญั หาด้วยการวิเคราะห์รปู แบบของผลเสียและผลกระทบ (Failure Mode and Effect Analysis: FMEA)และการทดสอบสมมติฐานว่าสาเหตุนนั ้ เป็ นสาเหตุ แท้จริงของปญั หา และนาวิธกี ารขจัดความสูญเปล่ามาประยุกต์ใช้กบั กิจกรรมตามหัวข้อที่ได้ เลือกไว้และแก้ไขปญั หาต่อไป การเลือกหัวข้อในการปรับปรุง การผลิตของบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด เป็ นแบบผลิตภัณฑ์ทม่ี หี ลายชนิดและมีการ ผลิตต่อครัง้ จานวนไม่มาก เนื่องจากการผลิตจะมีการปรับเปลี่ยนตลอดเวลาตามคาสังซื ่ ้อของ ลูกค้าซึง่ ในหนึ่งวันอาจมีการผลิตในสายการผลิตเดียวกันถึง 24 ผลิตภัณฑ์ ดังนัน้ จึงเลือกผลิตภัณฑ์ ทีท่ าโครงการเป็ นแบบกลุ่มชนิดของผลิตภัณฑ์ (product family) ได้แก่ SDB 2-tone, taika plate และteema mugโดยผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ นตัวแทนของทัง้ 3 กลุ่ม ได้แก่ SDB 2-tone == JMF42, taika plate == JRLA49 และteema mug == JMSC76 และหลังจากทาสายธารแห่ง คุณค่าจะพบว่า จุดทีส่ าคัญทีน่ ่ าจะทาการปรับปรุงได้แก่ การเพิม่ ยิวส์ของการผลิต เพราะพบว่า การผลิตของทุกๆ ผลิตภัณฑ์มคี ่ายิวส์ต่ามาก ซึง่ มีค่าประมาณ 50-60% เท่านัน้


99

ภาพที่ 4-1 ผลิตภัณฑ์ของบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด ทีม่ า: พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย. http://www.utcc.ac.th. (22 กุมภาพันธ์ 2555) ขัน้ ตอนการแก้ปัญหา หลังจากพิจารณาข้อมูลตัง้ แต่วนั ที่ 1 ม.ค. 2553 ถึง 15 พ.ค. 2553 ของเสียแยกตาม ชนิดของผลิตภัณฑ์ JMSC76 เมือ่ นามาเขียนกราฟจะได้ดงั นี้

ภาพที่ 4-2 ของเสียของผลิตภัณฑ์ JMSC76 ทีม่ า: พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย. http://www.utcc.ac.th. (22 กุมภาพันธ์ 2555) จากกราฟข้างต้นพบว่า ของเสียชนิดรูตวั P และเบีย้ วรูปทรงไม่ได้มาตรฐานเกิดมากทีส่ ุด ดังนัน้ จึงเลือกของเสียทัง้ สองชนิดเป็นตัวเริม่ ต้นในการทาการปรับปรุง โดย base lineของของเสียทัง้ สองชนิดเท่ากับ 9.1% และ 8.3% ตามลาดับ


100

ภาพที่ 4-3 ของเสียชนิดรู และเบีย้ วไม่ได้มาตรฐาน ทีม่ า: พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย. http://www.utcc.ac.th. (22 กุมภาพันธ์ 2555) ั หาของรู ต ัว มาหาต้ น เหตุ ข องป ญ ั หาว่ า สามารถเกิ ด ได้ จ ากสิ่ง ใด และเมื่อ น าป ญ บ้าง โดยใช้แผนภูมกิ า้ งปลา (fish bone diagram) จะได้ตามภาพที่ 4-4

ภาพที่ 4-4 ความสัมพันธ์ของสาเหตุของปญั หาและปญั หาทีเ่ กิด ทีม่ า: พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย. http://www.utcc.ac.th. (22 กุมภาพันธ์ 2555) หลังจากที่ได้แผนภูมกิ ้างปลามาแล้ว เราได้นาข้อมูลจากแผนภูมกิ ้างปลามาวิเคราะห์ รูปแบบของผลเสียและผลกระทบ (FMEA) เพื่อหาลาดับการแก้ปญั หาทีแ่ ท้จริงน่าจะมาจากสิง่ ใด


101

ภาพที่ 4-5 ลาดับการแก้ปญั หาทีแ่ ท้จริง ทีม่ า: พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย. http://www.utcc.ac.th. (22 กุมภาพันธ์ 2555) และจาก FMEA เราได้สมมติฐานทีว่ ่า การเกิดของเสียชนิดรูตวั น่ าจะเกิดจากคุณภาพของ น้ าเคลือบและน้ าเทียนหยดใส่ช้นิ งาน และเพื่อทาการทดสอบสมมติฐานในเรื่องคุณภาพของน้ า เคลือบ ทางทีมงานได้ทาการทดลองเปลีย่ นขนาดของถังกวนน้ าเคลือบจากถังเดิมทีม่ ขี นาดใหญ่ ให้เป็นถังขนาดเล็กลงเพื่อให้น้าเคลือบเป็นเนื้อเดียวกันมากยิง่ ขึน้ ในขณะทีท่ าการกวนน้ าเคลือบ ทัง้ ยังทาให้ไม่มตี ะกอนตกค้างที่ก้นถังอีกด้วย ซึง่ เป็ นการขจัดความสูญเปล่าในการผลิตที่มาก เกินความจาเป็น (over production) เนื่องจากเครือ่ งจักรมีขนาดใหญ่เกินความจาเป็น

ภาพที่ 4-6 ถังกวนน้าเคลือบ ทีม่ า: พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย. http://www.utcc.ac.th. (22 กุมภาพันธ์ 2555)


102 หลังการทดลองพบว่า ของเสียชนิดรูตวั มีจานวนลดลง และเมื่อนาไปใช้จริง (ข้อมูลเดือน มิถุนายน 2553 จานวนการผลิต 109,911 ชิน้ ) ในสายการผลิตพบว่า ของเสียชนิดรูตวั ลดลงจาก 9.1% เป็น 3.88% ซึง่ ลดลงถึง 5.22% หลังจากทาการลดของเสียจากของเสียชนิดรูตวั แล้ว เราได้ทาการลดของเสียชนิดเบีย้ ว ไม่ได้มาตรฐานของผลิตภัณฑ์เดียวกัน โดยใช้ลาดับขัน้ ตอนเดียวกันกับการลดของเสียชนิดรูตวั พบว่ าความหนาแน่ นของดินเป็ นสาเหตุ ท่แี ท้จริงของปญั หาการเกิดของเสียชนิดเบี้ยวไม่ได้ มาตรฐาน จึงใช้วธิ ีขจัดความสูญเปล่าของการมีกระบวนการที่ไม่มปี ระสิทธิภาพ (inefficient process) ซึง่ หลังจากทาการแก้เรือ่ งความหนาแน่นของดินโดยการปรับขนาดปากรีดดินจากเดิม 3 ปากเป็น 2 ปาก ทาให้ของเสียชนิดนี้ลดลงจาก 8.3% เป็น 5.47% ซึง่ ลดลง 2.83% นอกจากผลิตภัณฑ์ JMSC76 แล้วยังใช้วธิ เี ดียวกันในการลดของเสียของผลิตภัณฑ์ JRLA49 และ JMF42 และสิง่ ทีส่ าคัญทีเ่ ราเริม่ ทาก่อนการเพิม่ ยิวส์การผลิตคือ การได้มาของความถูกต้อง ของข้อมูล โดยทางทีมงานลีนพบว่า พนักงานตรวจสอบชิน้ งาน (QC) มีการตรวจงานชิน้ งานผิดพลาด สูงถึงประมาณ 30% โดยมีทงั ้ การบอกว่าชิน้ งานดีเป็ นชิน้ งานเสียและการบอกว่าชิน้ งานเสียเป็ นชิน้ งาน ดี จึงต้องขจัดความสูญเปล่าของการมีกระบวนการทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ (inefficient process) เนื่องจาก พนักงานยังไม่ชานาญงาน ดังนัน้ เราจึงเริม่ จากการทาการสอนพนักงานตรวจสอบชิน้ งานใหม่ เสียก่อน เพื่ออบรมพนักงานให้การทางานมีประสิทธิภาพตัง้ แต่เริม่ ดาเนินการผลิต แนวทางการประยุกต์ใช้แนวคิ ดแบบลีนในกรณี ศึกษาบริ ษทั คราวน์ เซรามิ คส์ จากัด นายทรงพล หนู คง ซึ่งเป็ นผู้นาแนวคิดแบบลีนเข้ามาใช้ในบริษัท มีการจัดการตาม แนวคิดแบบลีนและผูร้ บั ผิดชอบโครงการตามโครงสร้าง (ภาพที่ 3-8) รวมถึงมีทป่ี รึกษาโครงการ ลีน (Lean consultants) เป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญจากภายนอกมาคอยให้คาปรึกษาและวางแผนการจัดทา หลังจาก จัดตัง้ โครงการแล้วได้ทาการอบรมพนักงานเกี่ยวกับแนวคิดแบบลีนเพื่อเพิม่ ความรูค้ วามเข้าใจ รวมถึงแนวทางการปฏิบตั ิ เพื่อให้บรรลุถึงแนวทางการบริหารต้นทุน โดยมีการเลือกหัวหน้ า แผนกเพื่อควบคุมและประสานการทางานในแต่ละส่วนงาน บริษทั จะดูถงึ วิธกี ารในการทางาน ของแต่ละคนทีท่ างานได้รวดเร็วและตรงตามวัตถุประสงค์ของบริษทั เพราะเนื่องจากทุกคนจะมี ความชานาญเฉพาะทางและเทคนิคการทางานที่รวดเร็วไม่เหมือนกัน ทางบริษัทจะมีการนา ั หาไหม เทคนิ ค ไหนมี เทคนิ ค มาปรับ ใช้ เพื่อ ตรวจสอบว่ า แต่ ล ะเทคนิ ค ที่ น ามาใช้เ กิด ป ญ ประสิทธิภาพมากกว่ากัน ตรวจสอบว่าแต่ละเทคนิคมีขอ้ บกพร่องเกิดขึน้ ไหม ถ้าไม่มกี จ็ ะนามา ประยุกต์ใช้ได้ต่อไป ดังนัน้ จะเห็นได้ว่าการนาแนวคิดแบบลีนเข้ามาใช้ในบริษทั สามารถทาให้การจัดการ ส่วนงานต่างๆ เป็ นระบบและเป็ นระเบียบมากขึน้ อีก ทัง้ สามารถพัฒนาการจัดการได้ในหลาย


103 ส่วนงาน สามารถลดความสูญเปล่าในเรื่องที่ไม่จาเป็ นได้ และสามารถสานต่อการพัฒนาต่อไป ได้ในอนาคต การเปรียบเที ยบกลยุทธ์บริ ษัท รอยัลเปอร์ซเลน จากัด (มหาชน) กับกรณี ศึกษาบริ ษัท คราวน์ เซรามิ คส์ จากัด ตารางที่ 4-1 เปรียบเทียบกลยุทธ์บริษทั รอยัลเปอร์ซเลน จากัด (มหาชน) กับบริษทั คราวน์ เซรามิคส์ จากัด ระดับ บริ ษทั รอยัลเปอร์ซเลน จากัด บริ ษทั คราวน์เซรามิ ค จากัด กลยุทธ์/ (มหาชน) บริ ษทั กรณี ศึกษา บริ ษทั บริ ษทั ผู้นาทางการตลาด กลยุทธ์ 1.ก ล ยุ ท ธ์ ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต 1.กลยุ ท ธ์ ก ารคงที่บ ริษัท จะคงขนาดของ บริษัท สร้า งการเจริญ เติบ โต องค์ ก ารแต่ ล ดต้ น ทุ น ค่ า ใช้ จ่ า ยในการ ระดับ เพื่อ ด ารงต าแหน่ ง ความเป็ น ด าเนิ น การเป็ น การปรับ ลดต้ น ทุ น และ องค์การ (corporate ผู้นาทางการตลาด และรักษา ค่าใช้จ่ายต่างๆ เพื่อเพิม่ ความสามารถใน strategy) ความได้เปรียบทางการแข่งขัน การแข่งขันได้โดยพิจารณาต้นทุนหลักๆ ที่ ทีก่ จิ การมีอยู่ มีมูลค่าเช่นต้นทุนวัตถุดบิ ที่ใช้ในการผลิต 2.ก ล ยุ ท ธ์ ก า ร พั ฒ น า ต้นทุนด้านค่าแรงทางตรงเป็นต้น ผลิต ภัณ ฑ์ เน้ น การปรับ ปรุ ง 2.กลยุทธ์การฟื้ นฟูเป็ นกลยุทธ์ท่มี ุ่งปรับปรุง และพัฒ นาผลิต ภัณ ฑ์ เพื่อ ให้ การด าเนิ น งานให้ก ลับ สู่ ส ภาพปกติโ ดย ั หาต้อ งพยายามลดค่ า ใช้จ่า ย ดึงดูดใจลูกค้าในตลาดปจั จุบนั การแก้ป ญ และตลาดในอนาคต เพื่อ ให้ ต่ า งๆและท าการปรับโครงสร้า งองค์การ เกิดความต้องการและจดจาใน โดยการปรับ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพในการ ผลิต ภัณ ฑ์ด้ว ยรูป แบบใหม่ ๆ ดาเนินงานให้สอดคล้องในสภาวะที่มกี าร คุณ ภาพผลิต ภัณฑ์ท่ดี ขี ้นึ และ แข่งขันสูง รักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ได้ มาตรฐานทีด่ ี ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน)


104 ตารางที่ 4-1 (ต่อ) ระดับ บริ ษทั รอยัลเปอร์ซเลน จากัด บริ ษทั คราวน์เซรามิ ค จากัด กลยุทธ์ (มหาชน) บริ ษทั กรณี ศึกษา บริ ษทั บริ ษทั ผู้นาทางการตลาด กลยุทธ์ 1.กลยุทธ์ในการสร้างความแตกต่าง 1.กลยุ ท ธ์ ค วามแตกต่ า งเฉพาะกลุ่ ม ในผลิตภัณฑ์ บริษทั มีรูปแบบของ บริ ษั ท มี ก า ร ผลิ ต สิ น ค้ า ที่ ม ี ค ว า ม ระดับ ผลิต ภัณ ฑ์ท่ีห ลากหลาย เพื่อ ให้ แตกต่างและเน้นกลุ่มลูกค้ากลุ่มบน มี ธุรกิ จ (business ลูกค้าสามารถเลือกสรรได้มากมาย ราคาและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และ strategy) มีการสร้างผลิตภัณฑ์ให้เหมาะกับ มุ่งสร้างความแตกต่างนวัตกรรมต่างๆ ชนิ ด และประเภทของผลิต ภัณ ฑ์ เริม่ เข้ามามีบทบาท องค์การจึงมุ่งเน้น เพื่อ ให้ ก ลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้ าหมายเกิ ด การออกแบบการวิจยั และพัฒนาด้ว ย ความพึงพอใจ ตนเองและเน้นการออกแบบสินค้าที่ม ี 2.กล ยุ ท ธ์ ก า ร ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ความแตกต่ า งอย่า งเห็น ได้ช ัด ให้กับ ต้องการของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว ลู ก ค้ า โดยออกแบบผลิต ภัณ ฑ์ แ ล้ ว จ า ก ก า ร เ พิ่ ม ช่ อ ง ท า ง ก า ร จั ด นาไปเสนอให้กบั ลูกค้า จ า ห น่ า ย ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ท่ี ม ี ค ว า ม หลากหลายรูป แบบ ไม่ว่า จะเป็ น การขายตรงโดยพนั ก งานของ บริษัท หรือ การขายผ่ า นตัว แทน อิสระก็ตาม ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน)


105 ตารางที่ 4-1 (ต่อ) ระดับ บริ ษทั รอยัลเปอร์ซเลน จากัด บริ ษทั คราวน์เซรามิ ค จากัด กลยุทธ์ (มหาชน) บริ ษทั กรณี ศึกษา บริ ษทั บริ ษทั ผู้นาทางการตลาด 1.ด้านการตลาด กลยุทธ์ 1.ด้านการตลาด ระดับหน้ าที่ กลยุ ท ธ์ ร าคาการตั ้ง ราคาสู ง กลยุ ท ธ์ร าคาการตัง้ ราคาที่สู ง โดยที่ (functional เนื่ อ งจากการเน้ น ภาพลัก ษณ์ ท่ี รัก ษาคุ ณ ภาพไว้ใ นระดับ มาตรฐานกล strategy) ดีก ว่ า คู่ แ ข่ ง ขยายตลาดและเพิ่ม ยุทธ์การจัดจาหน่ ายเลือกใช้กลยุทธ์ผสม ช่ อ ง ท า ง ก า ร จั ด จ า ห น่ า ย ทั ้ ง คือ เลือกระบบ pull strategy ทัง้ การรอ ภายในประเทศและต่างประเทศให้ คาสังซื ่ ้อจากลูกค้าและ push strategy มีความครอบคลุม เริ่ม ให้ม ีการออกแบบสินค้า ไปน าเสนอ 2.ด้านการผลิต ลูกค้า มีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต 2.ด้านการผลิต โดยนาเตาเผาจากประเทศชัน้ นา ปรั บ ปรุ ง ระบบการผลิ ต สิ น ค้ า ให้ ม ี ด้านเซรามิคเข้ามาใช้ ประสิทธิภาพมากขึ้นมีการนานวัตกรรม เข้ามาช่วยในการผลิต 3.ด้านการเงิน การหาแหล่งเงินทุน มีต้นทุนต่ า 3.ด้านการเงิน เพื่อใช้ในการสนับสนุ นกลยุทธ์การ การลดต้นทุนค่าใช้จ่ายมีการปรับเรื่อง โครงสร้างทางการเงิน เติบโตของบริษทั 4.ด้ า น ก า ร จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร 4.ด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ มนุษย์ การฝึ กอบรมเพื่อ เพิ่มทักษะพนักงาน ฝึ ก อบรมเพื่อ เพิม่ พูนความรู้แก่ ทัง้ ในเรื่อ งเทคนิ ค การท างานและการ พนั ก งานเสมอๆ และคัด เลื อ ก บริหารจัดการ ผูเ้ ชีย่ วชาญในการผลิต เพื่อให้การ 5.ด้านการวิจยั และพัฒนา ผลิตมีคุณภาพ เน้นการวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ 5.ด้านการวิจยั และพัฒนา วิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ตอบสนองความต้ อ งการของ ผู้ บ ริ โ ภ ค แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร เจริญเติบโตของบริษทั ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน)


106 การประยุกต์ใช้แนวคิ ดแบบลีนโดยวงจร PDCA

ภาพที่ 4-7 วงจร PDCA ทีม่ า: well being group. 2555. https://sites.google.com/site/ wellbeinggroupubu/home/wngcr-pdca. (22 February 2555) 1. การวางแผน (plan) 1.1 มีการวางแผนให้ผเู้ ชีย่ วชาญด้านแนวคิดลีนเข้ามาฝึกอบรมพนักงานในบริษทั 1.2 มีการวางแผนการจัดการวัตถุดบิ ตลอดจนสินค้าคงคลังจากบริษทั ในเครือให้ม ี ประสิทธิภาพสูงสุด 1.3 มีการวางแผนการกาจัดและการจัดการกับปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ก่อนนาแนวคิดลีนเข้า มาใช้ โดยมีการจัดทาแผนภูมกิ ้างปลา และการวิเคราะห์รปู แบบของผลเสียและ ผลกระทบ (FMEA) เพื่อหาถึงสาเหตุทท่ี าให้เกิดปญั หาขึน้ อย่างแท้จริง 1.4 มีก ารวางแผนการด าเนิ น งานภายในห่ ว งโซ่ อุ ป ทานของบริษั ท ตั ง้ แต่ กระบวนการจัดซื้อวัตถุดบิ กระบวนการผลิต ตลอดจนการส่งมอบถึงมือลูกค้า ให้มปี ระสิทธิภาพ 2. การปฏิบตั ิ (do) 2.1 บริษัท มีก ารใช้ แ นวคิด แบบลีน ในการเพิ่ม ยิว ส์ ใ นจุ ด คัด แยกงานในแต่ ล ะ ผลิตภัณฑ์ โดยวิธกี ารแก้ไขขึน้ อยูก่ บั ปญั หาในแต่ละผลิตภัณฑ์ เช่น ปญั หารูตวั แก้ไ ขโดยวิธ ีท าให้น้ า เคลือ บเป็ น เนื้ อ เดีย วกัน โดยลดขนาดของถัง กวนน้ า เคลือบ


107 2.2 บริษัทมีการจัดให้พนักงานเข้าอบรมและเรียนรู้เ กี่ยวกับแนวคิดแบบลีนก่อ น นามาปฏิบตั ติ ามแผนงานทีว่ างไว้เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพของการปฏิบตั งิ าน ให้มปี ระสิทธิภาพ มากขึ้น ซึ่งสามารถขจัดความสูญเปล่ าของการมีกระบวนการ ที่ไม่มปี ระสิทธิภาพ (inefficient process) ได้ 2.3 บริษัทมีก ารจัด การซื้อ วัต ถุ ดิบ หลัก ที่ส าคัญ จากบริษัท ในเครือ เพื่อ ป้อ งกัน ปญั หาสินค้าขาดสต็อก/ตลาด และเพื่อ ช่วยให้สามารถหาวัต ถุดบิ ได้ในราคา ต่ าสุด อีกทัง้ ยังสามารถควบคุมคุณภาพได้ซ่งึ เป็ นการขจัดความสูญเปล่าของ สินค้าคงคลังเกินความจาเป็น (unnecessary stock) 2.4 การเพิม่ ประสิทธิภาพของการแก้ไข้งานให้งานเสร็จเร็วขึน้ โดยวิธกี ารนาเครื่องจักร เก่าทีไ่ ม่ได้ใช้มาดัดแปลงใหม่ ทาให้สามารถแก้ไข้งานได้เร็วมากขึน้ ซึง่ เป็ นการ ขจัดความสูญเปล่าของการมีกระบวนการทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ (inefficient process) 2.5 ทาการลดระยะทางการทางานของเครื่องประทับตราไปยังจุดบรรจุภณ ั ฑ์โดย ย้ายเครื่องประทับตราไปยังจุดบรรจุภณ ั ฑ์ ทาให้ใช้คนในการขนย้ายลดลงช่วย ขจัดความสูญเปล่าของการเคลื่อนไหวของร่างกายที่ไม่จาเป็ น (unnecessary motion) และช่วยขจัดความสูญเปล่าของการเคลื่อนย้ายและขนย้ายทีไ่ ม่จาเป็ น (unnecessary transportation) 2.6 มีการเพิม่ ประสิทธิภาพของการตรวจสอบงานให้มคี วามผิดพลาดลดลงโดยมีการ อบรมพนักงาน QC ใหม่ และให้ใช้หลักเกณฑ์การตรวจสอบอย่างมีระบบโดย นาหลักการวิเคราะห์ระดับการวัด (MSA) ในส่วนของคุณสมบัตทิ ส่ี มั พันธ์กบั ความ เทีย่ งตรง (attributes) ประกอบด้วย การมีความสามารถในการใช้วดั ซ้า (repeatability) และความสามารถในการให้ผลซ้า (reproducibility) มาช่วยในการอบรม เพื่อ ขจัด ความสูญ เปล่ า ของการมีก ระบวนการที่ไ ม่ ม ีป ระสิท ธิภ าพ (inefficient process) และความสูญเปล่าจากการผลิตของเสีย (defect) 3. การตรวจสอบ (check) 3.1 บริษทั มีการเปรียบเทียบผลการดาเนินงานก่อนและหลังการใช้ลนี แต่ละขัน้ ตอน ของการปฏิบตั งิ านเพื่อตรวจสอบการปฎิบตั งิ านทีเ่ กิดขึน้ 3.2 มีการตรวจสอบและสรุปแผนการดาเนินงานของแต่ละแผนกทุกๆ 6 เดือน เพื่อให้ ทราบถึงข้อบกพร่องทีเ่ กิดขึน้ และสามารถนามาปรับปรุงแก้ไขต่อไป 3.3 มีการวัดความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดแบบลีนกับพนักงานทีร่ บั ผิดชอบใน การแก้ไขปญั หาใหม่ทเ่ี กิดขึน้ ทุกๆ ครัง้ เมือ่ มีการแก้ปญั หาใหม่ทเ่ี กิดขึน้ 4. การปรับปรุง (action) 4.1 มีการฝึกอบรมทบทวนความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดแบบลีนของพนักงาน ทีร่ บั ผิดชอบในการปฏิบตั ทิ ุกครัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขปญั หาใหม่ทเ่ี กิดขึน้


108 4.2 นาแผนการตรวจสอบทีส่ รุปได้มาปรับปรุงตามปญั หาทีพ่ บ 4.3 พยายามค้นหาสาเหตุความผิดพลาดทีพ่ บอย่างต่อเนื่อง เพื่อขจัดความสูญเปล่าให้ ลดลง และเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพแก่องค์การ การจัดการความด้อยประสิ ทธิ ภาพ การจัดการสาหรับสิง่ ทีด่ อ้ ยประสิทธิภาพขององค์การจะสามารถจัดการได้ดงั นี้ ตารางที่ 4-2 วิธกี ารจัดการของเสีย ของเสีย ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ม่ได้มาตรฐาน เศษเซรามิคจากการผลิต

การจัดการของเสีย ขายในราคาต่ากว่าปกติ ขายให้กบั ผูซ้ อ้ื สัมปทานกับบริษทั เพื่อเอาไป ประยุกต์ใช้ในกระบวนการถมทีด่ นิ ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน) ประสิ ทธิ ภาพการบริ หารต้นทุนโดยใช้แนวคิ ดแบบลีนใน กรณี ศึกษาบริ ษทั คราวน์เซรามิ คส์ จากัด หลัง จากการน าแนวคิด แบบลีน มาใช้ ท าให้ ต้ น ทุ น ของกิจ การลดลง ช่ ว ยให้ เ กิด การประหยัดต้นทุนทัง้ สามกิจกรรมทีเ่ กิดปญั หาทีส่ าคัญต่อบริษทั ดังนี้ ตารางที่ 4-3 ผลลัพธ์ทเ่ี กิดจากการปรับปรุงหลังนาแนวคิดแบบลีนมาใช้ กิ จกรรมการปรับปรุง 1. การเพิม่ yield การผลิตทีจ่ ุดคัดแยกงาน 2. การลดสินค้าคงคลัง และงานที่รอแก้ไข ใหม่ 3. การเพิม่ ประสิทธิภาพของการตรวจสอบ งานให้มคี วามผิดพลาดลดลง รวม

ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้ 8,235,523 1,742,523

ค่าใช้จ่ายที่อาจ ประหยัดได้ 30,513,515 -

14,565,915

-

24,543,961

30,513,515

ทีม่ า: พิเชษฐ์สทิ ธิโชคสกุลชัย. 2553.http://www.utcc.ac.th/public_ content/files/001/30_2-7.pdf. (22 กุมภาพันธ์ 2555)


109 การคานวณผลของค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้ในตารางเป็ นการคิดค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้ ต่อหนึ่งปีว่ามีจานวนเท่าไร และในส่วนของค่าใช้ จ่ายทีอ่ าจประหยัดได้เกิดจากการคานวณทีค่ ดิ จากกลุ่มของผลิตภัณฑ์ เนื่องจากตอนเริม่ ต้นเลือกหัวข้อการปรับปรุงได้เลือกทาเป็ นกลุ่มของ ผลิตภัณฑ์ โดยใช้ผลิตภัณฑ์หนึ่งชนิดเป็นตัวแทนของผลิตภัณฑ์ทงั ้ หมดของกิจการ ดังนัน้ จึงสามารถสรุปได้ว่าหลังจากการนาแนวคิดแบบลีน มาประยุกต์ใช้ ทาให้กจิ การ สามารถประหยัดต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ ได้ 24,543,961 บาท สาหรับการผลิตกลุ่มชนิดของผลิตภัณฑ์ (product family) ในส่วนของค่าใช้จ่ายทีอ่ าจประหยัดได้เกิดจากการคานวณทีค่ ดิ จากกลุ่มของ ผลิตภัณฑ์ 30,513,515 บาท และยังทาให้กจิ การมีการปรับปรุงกระบวนการในการผลิตต่างๆทีเ่ กิดความ ไม่มปี ระสิทธิภาพให้ดยี งิ่ ขึ้น เช่น การปรับปรุงเครื่องจักรเก่านามาดัดแปลงใหม่การจัด การด้าน พนักงานให้มปี ระสิทธิภาพในการตรวจสอบคุณภาพของสินค้ามากยิง่ ขึน้ เป็นต้น งบแสดงฐานะการเงินและงบกาไรขาดทุนของบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด งบกาไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 และ 2551 2553

%

2552

%

2551

%

532,162,584.00 6,355,544.38 538,518,128.38

98.820 1.180 100.00

419,965,871.30 19,579,743.07 439,545,614.37

95.545 4.455 100.00

583,486,443.62 34,539,027.96 618,025,471.58

94.411 5.589 100.00

447,843,718.38

83.162

356,503,349.74

81.107

504,929,716.68

81.700

55,677,471.12 503,521,189.50

10.339 93.501

57,998,761.41 20,249,971.65 434,752,082.80

13.195 4.610 98.910

75,085,274.90 580,014,991.58

12.149 93.850

กาไรก่อนต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน

34,996,938.88 -17,433,480.40

6.499 3.237

4,793,531.57 -20,221,896.06

1.091 - 4.601

38,010,480.00 -25,512,950.69

6.150 - 4.128

กาไร(ขาดทุน)สุทธิ

17,563,458.48

3.261

-15,428,364.49

- 3.510

12,497,529.31

2.022

รายได้ รายได้จากการขาย รายได้อ่นื รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและ บริหาร ขาดทุนจากค่าเงินลงทุน รวมค่าใช้จ่าย

ทีม่ า: กรมพัฒนาธุรกิจการค้าฯ. 2555. (17 กุมภาพันธ์ 2555)


110 บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 และ 2551 2553 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและเงินฝาก สถาบันการเงิน ลูกหนี้การค้า-สุทธิ เงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ แก่ กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน สินค้าคงเหลือ-สุทธิ เงินลงทุน สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพย์ หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารทีต่ ดิ ภาระค้าประกัน เงินลงทุนระยะยาว ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์สุทธิ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน-สุทธิ รวมสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

%

2552

%

955,470.81 0.221 73,295,635.01 16.916

2551

%

515,512.23 90,214,691.76

0.100 19.245

1,792,289.20 87,586,209.68

0.458 22.378

134,905,868.45 13,317,801.40

34.468 3.403

- 49,870,056.96 135,522,208.14 31.278 29,749,958.35 6.866 152,699,212.11 14,802,787.88 3.416 19,444,682.86

10.638 32.547 4.148

237,602,168.73

60.707

254,326,060.19 58.697 312,744,155.92

66.715

4,315,766.60 -

1.103 -

147,603,958.21 1,869,745.01 153,789,469.82 391,391,638.55

4,283,307.72 -

0.989 -

4,227,237.79 49,999,930.00

0.902 10.666

37.713 0.478

172,259,389.58 39.756 2,419,612.56 0.558

98,034,555.13 3,768,794.22

20.913 0.804

39.293 100.00

178,962,309.86 41.303 156,030,517.14 433,288,370.05 100.00 468,774,673.06

33.285 100.00

ทีม่ า: กรมพัฒนาธุรกิจการค้าฯ. 2555. (17 กุมภาพันธ์ 2555)


111 บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 และ 2551 2552 % 2552 % หนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ หนี้สนิ หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกูย้ มื จาก 39,023,322.49 9.970 83,675,326.26 19.312 สถาบันการเงิน ลูกหนี้การค้า-สุทธิ 56,149,819.07 14.346 89,050,799.13 20.522 เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จาก บุคคลและกิจกรรมที่ เกีย่ วข้องกัน 7,000,000.00 1.788 5,500,000.00 1.269 หนี้สนิ ตามสัญญา เช่าการเงินทีค่ รบ กาหนดชาระในหนึ่ง 487,692.33 0.125 20,708.06 0.120 ปี เงินกูย้ มื ระยะยาวที่ 35,807,488.10 35,807,488.10 ถึงกาหนดชาระ 9.149 9,408,331.14 2.171 ภายในหนึ่งปี หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น 14,317,497.09 3.658 11,415,083.71 2.635 รวมหนี้สนิ 152,785,819.08 39.037 199,570,248.30 46.059 หมุนเวียน หนี้สนิ ไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ตามสัญญา เช่าการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาว สถาบันการเงิน รวมหนี้สนิ ไม่ หมุนเวียน รวมหนี้สนิ

2551

%

273,156,688.19

58.270

62,283,620.20

13.286

19,751,578.28

4.213

529,656.60

0.113

9,408,331.14 21,825,000.00 21,825,000.00 4.565 11,015,712.45 388,562,255.72

2.350 82.889

0.145

41,976.10

0.009

207,082,611.78 52.909 219,470,107.88 50.652

51,122,235.85

10.906

207,422,520.09 52.996 220,098,280.85 50.797 360,208,339.17 92.033 419,668,529.15 96.857

51,164,211.95 439,726,467.67

10.914 93.803

339,908.31

0.087

628,172.97

ทีม่ า: กรมพัฒนาธุรกิจการค้าฯ. 2555. (17 กุมภาพันธ์ 2555)


112 บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 และ 2551 2553 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน-หุน้ สามัญ 17,500,000 หุน้ มูลค่า หุน้ ละ 10 บาท เป็นเงิน 175,000,000 บาท ทุนทีช่ าระแล้ว หุน้ สามัญจานวน 17,500,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 10 บาท เป็นเงิน กาไร(ขาดทุน)สะสม กาไรสะสมจัดสรรแล้ว สารองตามกฏหมาย ขาดทุนสะสมยังไม่ได้จดั สรร รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมหนี้สนิ และ ส่วนของผูถ้ อื หุน้

175,000,000.00

%

2552

%

2551

%

44.712

175,000,000.00

40.389

175,000,000.00

37.331

9,000,000.00 2.299 - 152,816,700.62 - 39.044 31,183,299.38 7.967

391,391,638.55

100.00

9,000,000.00 2.077 9,000,000.00 1.920 -170,380,159.10 35,807,488.10-39.3239,408,331.14 -154,951,794.61 21,825,000.00 -33.055 13,619,840.90 3.143 29,048,205.39 6.197

433,288,370.05

ทีม่ า: กรมพัฒนาธุรกิจการค้าฯ. 2555. (17 กุมภาพันธ์ 2555)

100.00

468,774,673.06

100.00


113 การวิ เคราะห์ผลการดาเนิ นงาน 1. รายได้ บริษัท มีร ายได้จ ากการประกอบกิจ การเซรามิค โดยมีร ายได้ห ลัก คือ การจาหน่ ายผลิตภัณฑ์เซรามิคคือ ชุดอาหารใช้สาหรับโรงแรม ชุดอาหารสาหรับ มื้อเย็น ชุดแก้วเซรามิค และรายได้อ่นื ๆ มาจากการจาหน่ ายชุดเซรามิคสาหรับ ลูกค้าออกแบบเอง ซึง่ มีสดั ส่วนรายได้รวมของบริษทั เปรียบเทียบระหว่างปี 2551, 2552 และ 2553 สามารถสรุปได้ดงั นี้ ตารางที่ 4-4 โครงสร้างรายได้ของปี 2551-2553 รายได้ (บาท) ปี 2552

โครงสร้าง ปี 2551 ( 2553-2551) ( 2553-2552) ปี 2553 รายได้ 1. รายได้ 583,486,443.62 -51,323,859.62 419,965,871.30 112,196,712.70 532,162,584.00 จากการขาย (94.41%) (-8.80%) (95.54%) (26.72%) (98.82%) 2. รายได้อ่นื 34,539,027.96 -28,183,483.58 19,579,743.07 -13,224,198.69 6,355,544.38 (5.58%) (-81.60) (4.45%) (-67.54%) (1.18%) รายได้รวม 618,025,471.58 -79,507,343.20 439,545,614.37 98,972,514.01 538,518,128.38 (100%) (-12.86) (100%) (22.52%) (100%)

ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน) 2. ค่าใช้จา่ ย บริษทั มีค่าใช้จ่ายจากการประกอบกิจการเซรามิค ค่าใช้จ่ายรวมของบริษทั ในปี 51 คิดเป็ น 93.85% ซึง่ ในปี 52 มีสดั ส่วนค่าใช้จ่ายเพิม่ ขึน้ เป็ น 98.91% และ ในปี 53 มีค่าใช้จ่ายเพิม่ ขึน้ จากปี 52 เนื่องจากมีการผลิตมากขึน้ จึงทาให้มกี ารใช้ วัตถุดบิ เพิม่ ขึน้ แต่เมื่อจาแนกย่อยออกมาจะพบว่า ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ทีเ่ กิดขึน้ ในปี 53 มีจานวนลดลง เนื่องมาจากการนาระบบการผลิตแบบลีนเข้ามาใช้ โดยมีสดั ส่วนของค่าใช้จ่ายรวมของบริษทั เปรียบเทียบระหว่างปี 2551, 2552 และ 2553 สามารถสรุปได้ดงั นี้


114 ตารางที่ 4-5 โครงสร้างค่าใช้จา่ ยของปี 2551-2553 โครงสร้าง ค่าใช้จา่ ย (บาท) ค่าใช้จ่าย ปี 2551 ( 2553-2551) ปี 2552 ( 2553-2552) ปี 2553 1. ต้นทุน 504,929,716.68 -57,085,998.30 356,503,349.74 91,340,368.64 447,843,718.38 ขาย (81.70%) (-11.31%) (81.10%) (25.62%) (83.16%) 2.ค่าใช้จ่าย 75,085,274.90 -19,407,803.78 57,998,761.41 -2,321,290.29 55,677,471.12 ในการขาย (12.14%) (-25.85%) (13.19%) (-4.00%) (10.33%) และบริหาร 3.ขาดทุนจาก 0.00 0.00 20,249,971.65 -20,249,971.65 0.00 ค่าเงินลงทุน (0.00%) (0.00%) (4.61%) (-100.00%) (0.00%) ค่าใช้จ่าย 580,247,991.58 -76,726,802.08 434,752,082.80 68,769,106.70 503,521,189.50 รวม (93.85%) (-0.13%) (98.91%) (15.82%) (93.50%)

ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน) 3. กาไรสุทธิ บริษทั มีกาไรสุทธิจากการประกอบกิจการเซรามิค เมื่อนาระบบลีนเข้ามาใช้ ในปี 53 พบว่า กาไรสุทธิในปี 53 เพิม่ ขึน้ เมื่อเทียบกับปี 51 และ 52 คิดเป็ น 0.41% และ 213.84% เนื่องมาจากระบบการบริหารต้นทุนมีประสิทธิภาพมากขึน้ ซึง่ สามารถเพิม่ ยอดขายให้กบั บริษทั ได้ ทาให้กาไรสุทธิเพิม่ ขึน้ โดยมีสดั ส่วนเปรียบเทียบระหว่างปี 2551, 2552 และ 2553 สามารถสรุปได้ดงั นี้ ตารางที่ 4-6 โครงสร้างกาไรสุทธิของปี 2551-2553 โครงสร้าง กาไรสุทธิ กาไรสุทธิ

กาไรสุทธิ (บาท) ปี 2551

( 2553-2551)

ปี 2552

( 2553-2552)

ปี 2553

12,497,529.31 5,065,929.17 -15,428,364.49 32,991,822.97 17,563,458.48 (2.02%) (0.41%) (-3.51%) (213.84%) (3.26%)

ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน)


115 การวิ เคราะห์ฐานะการเงิ น 1. สินทรัพย์ 1.1 เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน บริษทั มีเงินสดและเงินฝากสถาบันการเงินจากการประกอบกิจการเซรามิค เมื่อนาระบบลีนเข้ามาใช้ในปี 53 พบว่า เงินสดและเงินฝากสถานบันการเงินในปี 2553 เพิม่ ขึน้ เมื่อเทียบกับปี 2551 และ 2552 คิดเป็ น 247.67% และ 87.58% ตามลาดับ เป็ นผลมาจากยอดขายที่เพิม่ ขึ้น ลูกหนี้การค้ามีการชาระเงินเร็วขึ้น และทาง บริษัท มีก ารบริหารงานที่ดีข้นึ ทาให้เ งินสดและเงิน ฝากสถาบันการเงิน ของ บริษทั มีจานวนเพิม่ ขึน้ ตามไปด้วย โดยมีเปรียบเทียบระหว่างปี 2551, 2552 และ 2553 สามารถสรุปได้ดงั นี้ ตารางที่ 4-7 เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงินของปี 2551-2553 เงิ นสดและเงิ น ฝากสถานบัน การเงิ น

ปี 2551 515,512.23 (0.11%)

เงิ นสดและเงิ นฝากสถาบันการเงิ น (บาท) ( 2553-2551) ปี 2552 ( 2553-2552) 1,276,776.97 955,470.81 836,818.39 (247.67%) (0.22%) (87.58%)

ปี 2553 1,792,289.20 (0.45%)

ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน) 1.2 ลูกหนี้การค้า บริษทั มีลูกหนี้การค้าจากการประกอบกิจการเซรามิค เมื่อนาระบบลีน เข้ามาใช้ในปี 53 พบว่า ลูกหนี้การค้าในปี 2553 เพิม่ ขึน้ เมื่อเทียบกับปี 2552 คิดเป็ น 19.50% เนื่องจากมียอดขายในปี 2552 เพิม่ ขึน้ โดยเปรียบเทียบระหว่างปี 2551, 2552 และ 2553 สามารถสรุปได้ดงั นี้ ตารางที่ 4-8 ลูกหนี้การค้าของปี 2551-2553 ลูกหนี้ การค้า

ปี 2551 90,214,691.76 (19.24%)

ลูกหนี้ การค้า (บาท) ( 2553-2551) ปี 2552 ( 2553-2552) ปี 2553 -2,628,482.08 73,295,653.01 14,290,556.67 87,586,209.68 (-2.91%) (16.91%) (19.50%) (22.37%)

ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน)


116 1.3

สินค้าคงเหลือ บริษทั มีสนิ ค้าคงเหลือจากการประกอบกิจการเซรามิค เมื่อนาระบบลีน เข้ามาใช้ในปี 53 พบว่า สินค้าคงเหลือในปี 2553 ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2551 และ 2552 คิดเป็ น -11.65% และ -0.46% ตามลาดับเนื่องจากการทีบ่ ริษทั ได้นาระบบการ ผลิต แบบลีน เข้า มาใช้ ท าให้ ร ะบบการบริห ารจัด เก็ บ สิน ค้ า คงเหลือ ไว้ ใ น คลัง สิน ค้ า มีป ระสิท ธิภ าพมากขึ้น ซึ่ง ท าให้ ส ิน ค้ า คงเหลือ มีจ านวนลดลง ตามไปด้วย โดยเปรียบเทียบระหว่างปี 2551, 2552 และ 2553 สามารถสรุปได้ ดังนี้

ตารางที่ 4-9 สินค้าคงเหลือของปี 2551-2553 สิ นค้า คงเหลือ

สิ นค้าคงเหลือ (บาท) ปี 2551 ( 2553-2551) ปี 2552 ( 2553-2552) ปี 2553 152,699,212.11 (17,793,343.66) 135,522,208.14 (616,339.69) 134,905,868.45 (32.57%) (-11.65%) (31.27%) (-0.46%) (34.46%)

ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน) 2. หนี้สนิ 2.1 เจ้าหนี้การค้า บริษทั มีเจ้าหนี้การค้าจากการประกอบกิจการเซรามิค เมื่อนาระบบลีน เข้ามาใช้ในปี 53 พบว่า เจ้าหนี้การค้าในปี 2553 ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2551 และ 2552 คิดเป็ น -9.85% และ -36.95% ตามลาดับ เนื่องจากมีการบริหารการสังซื ่ อ้ วัตถุดบิ เพื่อ ใช้ใ นการผลิต ดีข้นึ จึง ทาให้เ จ้า หนี้ การค้าลดลง โดยเปรีย บเทีย บระหว่า งปี 2551, 2552 และ 2553 สามารถสรุปได้ดงั นี้ ตารางที่ 4-10 เจ้าหนี้การค้าของปี 2551-2553 เจ้าหนี้ การค้า

เจ้าหนี้ การค้า (บาท) ปี 2551 ( 2553-2551) ปี 2552 ( 2553-2552) ปี 2553 62,283,620.20 -6,133,801.13 89,050,799.13 (32,900,980.06) 56,149,819.07 (13.28%) (-9.85%) (20.55%) (-36.95%) (14.34%)

ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน)


117 ตารางที่ 4-11 การวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงินของบริษทั ปี 2551-2553 อัตราส่วนทางการเงิ น/ปี 2551 อัตราส่วนวิเคราะห์ความคล่องตัวทางการเงิน อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (เท่า) 0.80 อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (เท่า) 0.41 อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้(ครัง้ ) 6.78 ระยะเวลาถัวเฉลีย่ ในการเรียกเก็บหนี้(วัน) 53.83 อัตราการหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ(ครัง้ ) 3.30 อัตราส่วนวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ความสามารถในการทากาไร(%) 12.33 อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์การดาเนินงาน(เท่า) 16.26 อัตรากาไรสุทธิ (%) 2.06 อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการทากาไร ผลตอบแทนสินทรัพย์ทงั ้ หมด 22.28 ผลตอบแทนผูถ้ อื หุน้ สามัญ 43.02 อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน อัตราส่วนของหนี้ต่อทรัพย์สนิ รวม (เท่า) 0.94 อัตราส่วนของหนี้สน้ิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (เท่า) 15.14 ความสามารถในการจ่ายดอกเบีย้ (ครัง้ ) 2.01 ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน)

2552

2553

1.27 0.60 5.38 67.84 2.47

1.56 0.67 6.69 54.56 3.31

90.39 91.70 -3.51

11.18 15.39 3.26

-28.08 -113.28

37.51 56.32

0.97 30.81 0.24

0.92 11.55 1.49


118 ตารางที่ 4-11 (ต่อ) อัตราส่วนวิ เคราะห์ความคล่องตัวทางการเงิ น อัตราส่วนเงินทุน การวิเคราะห์อตั ราส่วนสภาพคล่องเป็ นการวัดความสามารถในการชาระหนี้ หมุนเวียน (เท่า) ระยะสัน้ ของบริษทั จากตารางดังกล่าวพบว่า ความสามารถในการชาระหนี้ ระยะสัน้ ก่อนและหลังนาการผลิตแบบลีนมาใช้อยู่ในระดับต่ า เนื่องจากมี สัดส่วนหนี้สนิ หมุนเวียนมากกว่าสินทรัพย์หมุนเวียนทัง้ 3 ปี ในปี 2553 การ นาลีนมาปรับใช้บริษทั มีอตั ราส่วนสภาพคล่องสูงทีส่ ุดคือ 0.80 1.27 และ 1.56 ตามลาดับ อัตราส่วนทุน การวิเคราะห์อตั ราส่วนทุนหมุนเวียนเป็นการวัดส่วนของสินทรัพย์ทไ่ี ด้หกั ค่า หมุนเวียนเร็ว (เท่า) สินค้าคงเหลือซึ่งเป็ นสินทรัพย์ระยะสัน้ ที่มคี วามคล่องตัวในการเปลี่ยนเป็ น เงินสดได้ต่ าที่สุด ซึ่งจะทาให้ทราบถึงสภาพคล่องที่แท้จริงของบริษทั จาก ตารางพบว่า ก่อนและหลังการนาการผลิตแบบลีนมาใช้ บริษทั มีอตั ราส่วน ทุนหมุนเวียนเร็วอยูใ่ นระดับต่าทัง้ 3 ปี แต่หลังจากการนาการผลิตแบบลีนมาใช้ บริษทั มีอตั ราส่วนสูงสุดเมื่อเทียบก่อนการนาลีนมาปรับใช้คอื 0.41 0.60 และ 0.67 ตามลาดับ อัตราการหมุนเวียน การวิเคราะห์อตั ราการหมุนของลูกหนี้เป็นการวัดความสามารถบริหารลูกหนี้ ของลูกหนี้(ครัง้ ) และสามารถเปลีย่ นลูกหนี้เป็ นเงินสดได้ จากตารางพบว่า ความสามารถใน การบริหารลูกหนี้ก่อนนาการผลิตแบบลีนมาใช้มอี ตั ราส่วนลดลง 1.4 แต่หลัง การนาผลิตแบบลีนมาใช้มอี ตั ราส่ว นเพิม่ ขึ้น 1.3 เนื่องจากมียอดขายเพิ่ม มากขึ้นและลูกหนี้ลดลง จึงทาให้การบริหารลูกหนี้ดขี น้ึ โดยมีอตั ราส่วนคือ 6.78 5.38 และ 6.69 ตามลาดับ ระยะเวลาถัวเฉลีย่ ใน ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้แสดงถึงระยะเวลาในการเก็บหนี้ เพื่อ การเรียกเก็บหนี้(วัน) แสดงถึงคุณภาพของลูกหนี้ ประสิทธิภาพในการเรียกเก็บหนี้ และนโยบาย ในการให้สนิ เชื่อ โดยพบว่า บริษทั มีการเก็บหนี้ค่อนข้างดีก่อนการนาลีนมา ใช้ ระยะเวลาการเก็บหนี้เพิม่ ขึน้ 14 วัน แต่หลังจากการนาระบบลีนมาใช้พบว่า มี ระยะเวลาการเก็บหนี้ทล่ี ดลง 13 วัน มีการจัดการทีด่ ขี น้ึ เมือ่ นาลีนมาใช้ อัตราการหมุนเวียน บริษทั มียอดขายเพิม่ ขึน้ ในปี 2552 และ 2553 ทาให้บริษทั มีต้นทุนขาย ของสินค้าคงเหลือ เพิม่ ขึน้ นอกจากนี้ยงั พบว่า บริษัทนัน้ มีความสามารถในการขายสินค้าคง (ครัง้ ) คลังมากขึ้นหลังจากที่นาระบบการผลิต แบบลีนมาใช้ในปี 2553 โดยในปี 2553 มีความสามารถในการขายสินค้าคงคลัง 3.31 เท่า ซึ่งดีกว่าปี 2551 และ 2552 ก่อนนาระบบการผลิตแบบลีนมาใช้คดิ เป็น 3.30 และ 2.47 เท่า ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน)


119 ตารางที่ 4-11 (ต่อ) อัตราส่วนวิ เคราะห์ประสิ ทธิ ภาพในการดาเนิ นงาน ความสามารถในการ บริษทั มีความสามารถในการทากาไรเป็นอัตราส่วน 12.3390.39 และ 11.18 ทากาไร(%) ตามลาดับ อัตราการหมุนเวียน บริษทั มีอตั ราการหมุนเวียนของสินทรัพย์การดาเนินงานเป็นอัตราส่วน ของสินทรัพย์การ 16.2691.70 และ 15.39 ตามลาดับ ดาเนินงาน(เท่า) อัตรากาไรสุทธิ (%) อัตราส่วนวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการดาเนินงานนัน้ เพิม่ ขึน้ หลังจากที่นา ระบบการผลิตแบบลีนมาใช้ในปี 2553 โดยในปี 2553 มีความสามารถในทา กาไร3.26% ซึง่ ดีกว่าปี 2551 และ 2552 ก่อนนาระบบการผลิตแบบลีนมาใช้คดิ เป็น 2.06% และ -3.51% ตามลาดับ อัตราส่วนวิ เคราะห์ความสามารถในการทากาไร ผลตอบแทนสินทรัพย์ บริษทั มีผลตอบแทนสินทรัพย์ทงั ้ หมดดีขน้ึ เนื่องจากเมือ่ นาระบบการผลิต ทัง้ หมด แบบลีนมาใช้เนื่องจากมีการบริหารสินทรัพย์ทด่ี ขี น้ึ ในทุกปีตามอัตรา 22.2828.08 และ 37.51 ตามลาดับ ผลตอบแทนผูถ้ อื หุน้ บริษทั มีอตั ราผลตอบแทนในการทากาไรเพิม่ ขึน้ หลังจากทีน่ าระบบการผลิต สามัญ แบบลีนมาใช้ในปี 2553 โดยในปี 2553 มีอตั ราผลตอบแทน 56.32% ซึ่ง ดีกว่าในปี 2551 และ 2552 ก่อนนาระบบการผลิตแบบลีนมาใช้คดิ เป็ น 43.02% และ -113.28% อัตราส่วนวิ เคราะห์นโยบายทางการเงิ น อัตราส่วนของหนี้ต่อ บริษทั มีอตั ราส่วนของหนี้ต่อสินทรัพย์รวมลดลงจากปีก่อน เนื่องจากมีการ ทรัพย์สนิ รวม (เท่า) บริหารจัดการทีด่ เี มือ่ นาระบบการผลิตแบบลีนมาใช้แสดงให้เห็นถึง อัตราส่วน ปี 2551 2552 และ 2553 คิดเป็น 0.940.97 และ 0.92 อัตราส่วนของหนี้สน้ิ บริษทั มีอตั ราส่วนของหนี้สน้ิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ลดลงจากปีก่อน เนื่องจากมี ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ การบริหารจัดการทีด่ เี มือ่ นาระบบการผลิตแบบลีนมาใช้แสดงให้เห็นถึง (เท่า) อัตราส่วน ปี 2551 2552 และ 2553 คิดเป็น15.1430.81 และ11.55 ความสามารถในการ บริษทั มีอตั ราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงินเพิม่ ขึน้ 1.25% จากปีก่อน จ่ายดอกเบีย้ (ครัง้ ) โดยมีอตั ราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงินในปี 2551 2552 และ 2553 เป็น 2.01 0.24 และ 1.49 ตามลาดับ ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน)


120 ดังนัน้ จึงสามารถสรุปการวิเคราะห์งบการเงินของบริษัทหลังจากที่นาระบบการผลิต แบบลีนมาใช้ได้ว่าบริษทั มีรายได้เพิม่ ขึน้ ส่วนต้นทุนการผลิตลดลง ทาให้กาไรสุทธิของบริษทั เพิม่ ขึน้ ซึง่ ต้นทุนทีล่ ดลงนัน้ เกิดจากทีบ่ ริษทั นาระบบบัญชีแบบลีนและระบบการผลิตแบบลีนมา ใช้ โดยจากการสัมภาษณ์ทางบริษทั พบว่า มีการจัดการงานส่วนต่างๆ ให้เป็ นระบบมากขึน้ เพื่อ ความสะดวก อีกทัง้ การจัดซือ้ และกระบวนการผลิตเป็นระบบมากขึน้ การประเมิ น เปรียบเทียบการทางานของบริ ษทั คราวน์ เซรามิ คส์จากัด กับแนวทางการ พัฒนาอย่างยังยื ่ น ตารางที่ 4-12 เปรียบเทียบการทางานของบริษัท คราวน์ เซรามิคส์ จากัด กับแนวทางการ พัฒนาอย่างยังยื ่ น ด้านการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงด้านการบริ หารจัดการองค์การ 1.ความพอประมาณในทุกด้าน 2.ความมีเหตุมผี ล 3.การมีภมู คิ ุม้ กันทีด่ ี ในทุกด้าน 4.มีนโยบายการพัฒนาพนักงานอย่างต่อเนื่อง

X  X 

5.การเน้ นให้พนักงานมีคุณธรรมจริยธรรมใน การทางานและในการดารงชีวติ  6.คุณภาพชีวติ ในการทางานกับดุลยภาพของ ชีวติ สุขภาพและความปลอดภัยในชีวติ  7.การสะสมทุ น มนุ ษ ย์ทุ น ความรู้ก ารบริห าร จัดการความรู้  ด้านภาวะผู้นาในการผลักดันองค์การในการนาปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงมาใช้ให้ ประสบความสาเร็จ 1.มีจติ วิญญาณในการบริหารคน  2.การให้ ค วามส าคั ญ กั บ พนั ก งานในการ ตัดสินใจในเรือ่ งต่างๆ X 3.มีต ัว แทนของพนัก งานเข้าไปมีส่ว นร่ว มใน การประชุมและตัดสินใจด้วยทุกครัง้ X ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน)


121 ตารางที่ 4-12 (ต่อ) ด้านภาวะผู้นาในการผลักดันองค์การในการนาปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงมาใช้ให้ ประสบความสาเร็จ 4.พัฒ นาองค์ ค วามรู้ แ ละทัก ษะเฉพาะของ องค์ ก าร โดยหัว หน้ า จะต้ อ งเป็ น ผู้ อ บรม  ให้กบั ลูกน้องเอง 5.การกระจายอานาจและการตัดสินใจออกไป ทุกส่วนงาน  6.ค านึ ง ถึ ง การท าแผนก ารอ นา คต ด้ า น บุคลากรไว้ล่วงหน้า X 7.ให้ ค ว ามส าคั ญ ต่ อ การ เลื่ อ นต าแหน่ ง พนักงานจากคนในองค์การก่อนที่จะมองหา  คนนอกเข้ามา 8.หลี ก เลี่ ย งการแก้ ป ัญ หาโดยการปล ด พนักงานออก X 9.ต้องไม่ละเลยเรือ่ งวัฒนธรรมองค์การ  ด้านองค์ประกอบสาคัญขององค์การแห่งการเรียนรู้ 1.การมุ่ง สู่ค วามรอบรู้แ ห่ งตนโดยอาศัยการ เรียนรูข้ องคนแต่ละคนในองค์การ X 2.การใช้ตวั แบบความคิด  3.การสร้างวิสยั ทัศน์รว่ มกัน  4.การเรียนรูร้ ว่ มกันเป็นทีม  5.การคิดอย่างเป็นระบบ  ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (ลีน) การนาแนวคิ ดแบบลีนมาใช้เพื่อการพัฒนาไปสู่ความยังยื ่ นทางธุรกิ จ สภาวะอุ ต สาหกรรมเซรามิค ของประเทศไทยในป จั จุบ ัน อยู่ใ นสภาวะเจริญ เติบ โต เนื่องจากปญั หาอุทกภัยทีเ่ กิดขึน้ เมื่อปี 2554 ทีผ่ ่านมาทาให้อุตสาหกรรมเซรามิคกลับมาขายดี อีก ครัง้ แนวโน้ มของธุ รกิจในอนาคตทัง้ ในประเทศและต่ างประเทศจะมีการแข่งขันที่สูงขึ้น องค์การจึงควรมีวธิ กี ารทีจ่ ะทากลยุทธ์ดา้ น "คุณภาพ" (quality) และ"ผลิตภาพ" (productivity) เพื่อให้ประสบความสาเร็จทัง้ ในมุมมองของลูกค้ าและของบริษทั เอง เพราะการประกอบธุรกิจ


122 อย่างยังยื ่ นนัน้ จะยึดถือตัวบุคคลอย่างเดียวไม่ได้ หากแต่จะต้องมีระบบบริหารทีด่ นี ามาเป็ นหลัก ในการพัฒนาระบบบริหารของบริษทั ซึ่งจะนาพาบริษทั ไปสู่การพัฒนาอย่างยังยื ่ น เพื่อให้ได้ ผลิตภัณฑ์ทต่ี รงกับความต้องการของลูกค้าและมีผลตอบแทนทีเ่ หมาะสม บริษทั มีเป้าหมายเพื่อความอยู่รอดและเพื่อขยายการเติบโต จากผลของวิกฤตการณ์ ทางเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ ทัวโลกได้ ่ สร้างความตระหนักให้กบั ผูน้ าซึง่ ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของ การพัฒนาศักยภาพและความสามารถในการดาเนินธุรกิจขององค์การให้สามารถตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าและมีประสิทธิภาพด้านต้นทุนไปพร้อมๆ กัน เพื่อให้องค์การมุ่งสู่การ เติบโตอย่างยังยื ่ น บริษทั มีผนู้ าองค์การทีเ่ ปี่ ยมวิสยั ทัศน์และมีการปลูกฝงั แนวคิดแบบลีนและความรูค้ วาม เข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคเครื่องมือการปรับปรุงแบบลีนให้กบั พนักงานทุกระดับชัน้ เพื่อ ให้สามารถ ตระหนักและรับรู้ได้ด้วยตนเองถึงภัยเงียบที่กาลังบันทอนองค์ ่ การ เช่น ต้นทุนแฝงที่เกิดจาก ความสูญเปล่าต่างๆ ทีไ่ ม่สามารถสังเกตเห็นได้โดยง่าย เป็ นต้น ซึง่ อาจดูได้จาก ปริมาณลูกค้า ลดลงทัง้ ในเชิงปริมาณและมูลค่าทางธุรกิจ ความพึงพอใจของลูกค้าลดลง สินค้าคงคลั งเพิ่ม สูงขึน้ อัตราการลาออกของพนักงานเพิม่ สูงขึน้ การส่งมอบทีล่ ่าช้า และปญั หาด้านคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์และบริการ เป็ นต้น และยังช่วยให้องค์การมีการประเมินตนเองอยู่เสมอ เพื่อให้การ ดาเนินงานและกระบวนการต่าง ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีระดับผลิต ภาพสูง การวางยุทธศาสตร์องค์การและการนากลยุทธ์ไปสู่การปฏิบตั กิ ารเป็ นไปอย่างสัมฤทธิ ์ ผลและสอดประสานไปในทิศทางเดียวกัน ทาให้ต้นทุนการดาเนินงานของบริษทั อยู่ในระดับที่ สามารถแข่งขันได้อย่างดีเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน ในขณะเดียวกันบริษทั ก็สามารถส่งมอบ คุณค่าต่างๆ ทีล่ ูกค้าคาดหวังได้ ส่งผลให้บุคลากรต่างๆ ในบริษทั มีขวัญและกาลังใจทีด่ ใี นการ ทางาน มีการคานึงถึงการดารงรักษาผลิตภาพสูงสุดอยูต่ ลอดเวลา ซึง่ ผลลัพธ์ของการนาแนวคิด แบบลีนมาใช้คอื ผลกาไรทีบ่ ริษทั ได้รบั อีกทัง้ บริษทั ได้นาแนวคิดแบบลีนมาเป็ นเครื่องมือในการ พัฒนาองค์การ โดยมุ่งเน้นการกาจัดความสูญเสีย (waste) ในกระบวนการผลิตและขัน้ ตอนการ ปฏิบตั ิงาน คือ ทุก สิ่งทุก อย่างที่เ พิ่มต้นทุนหรือ เวลา โดยปราศจากการเพิ่มคุ ณค่ า เพื่อ เพิ่ม ประสิทธิภาพในกระบวนการ ดังนัน้ แนวคิดแบบลีนและการปรับปรุงการดาเนินงานแบบลีน จึงเป็ นแนวคิดหนึ่งของ การบริหารจัดการสมัยใหม่ท่มี ปี ระสิทธิผลที่สามารถช่วยให้บริษทั สามารถอยู่รอด เติบโตและ ก้าวหน้าต่อไปได้อย่างยังยื ่ น


123

บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ ข้อสรุปผลการศึกษา การศึกษาปญั หาพิเศษ เรื่องการบริหารต้นทุนโดยระบบการผลิตและระบบบัญชีแบบลีน กรณีศกึ ษาบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด ซึ่ง มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสาเหตุการน า แนวคิดแบบลีนมาประยุกต์ใช้ในกรณีศกึ ษาบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ แนวคิดแบบลีนในการบริหารเพื่อนามาประยุกต์ใช้ในกรณีศกึ ษาบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด เพื่อศึกษาเกี่ยวกับแนวคิด แบบลีน ในการบริห ารเพื่อน ามาประยุกต์ ใ ช้ใ นกรณีศึกษาบริษ ัท คราวน์ เซรามิคส์ จากัด เพื่อศึกษาประสิท ธิภาพการบริห ารต้น ทุน โดยใช้แนวคิดแบบลีน ใน กรณีศกึ ษาบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด และเพื่อศึกษาการนาแนวคิดแบบลีนมาใช้เพื่อการ พัฒนาไปสู่ความยั ่งยืน ทางธุร กิจ รวมถึง ประโยชน์ ท่ไี ด้ร บั จากการใช้ระบบการผลิตแบบลีน นอกจากนี้ยงั ศึกษาถึงปญั หาและอุปสรรคทีเ่ กิดขึน้ จากกระบวนการผลิตและการบัญชีแบบลีนที่ นามาใช้ในกระบวนการดาเนินงานพบว่า การนาระบบการผลิตและการบัญชีแบบเดิมมาใช้นนั ้ ไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการขององค์การได้ บริษทั จึงได้เลือกระบบการผลิตและการ บัญชีแบบลีนมาใช้ จึงทาให้บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด มีการบริหารต้นทุนที่มปี ระสิทธิภาพ มีความสามารถในการทีจ่ ะกาจัดความสูญเปล่าในกระบวนการผลิตได้ตรงตามที่ได้ตงั ้ เป้าหมาย ไว้ โดยระบบการผลิตและการบัญชีแบบลีน นัน้ สามารถจาแนกต้นทุนที่เกิดขึน้ ในกระบวนการ ผลิตแยกออกจากความสูญเปล่าได้อย่างชัดเจน แต่อย่างไรก็ตามการนาระบบการผลิตและการ บัญชีแบบลีนมาใช้นนั ้ ก็ส่งผลกระทบต่อองค์การเช่นเดียวกัน เนื่องจากพนักงานของบริษทั นัน้ ยังขาดความชานาญทาให้การดาเนินงานอาจช้า ไม่คล่องตัวในช่วงแรกๆ โดยเฉพาะการบัญชี แบบลีนทีเ่ ป็นการบัญชีในรูปแบบใหม่ท่เี กิดขึน้ ได้ไม่นาน เป็นสิง่ ที่ใหม่มากสาหรับพนักงานจึง ทาให้เกิดข้อผิดพลาดได้ ข้อเสนอแนะสาหรับบริษทั 1. จากผลการศึกษาปญั หาพิเศษเรื่อง การบริหารต้นทุนโดยระบบการผลิตและระบบ บัญชีแบบลีน กรณีศกึ ษาบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัดนัน้ แม้วา่ มองในภาพรวมจะ ส่งผลดีต่อบริษทั แต่บริษทั ควรทีจ่ ะมีการฝึกอบรมพนักงานในเรื่องของการผลิตและ


124

2.

3.

4.

5.

6. 7.

8.

ระบบการบัญชีแบบลีนให้มากกว่านี้ เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารต้นทุนให้ บริษทั ดียงิ่ ๆ ขึน้ ไป จากผลการศึกษาปญั หาพิเศษเรื่อง การบริหารต้นทุนโดยระบบการผลิตและระบบ บัญชีแบบลีน กรณีศกึ ษาบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด นัน้ บริษทั ไม่ควรมองแต่ การบริหารต้นทุนในเรื่องของการกาจัดความสูญเปล่าแต่เพียงอย่างเดียว แต่ควร สนใจในการเพิม่ ประสิทธิภาพของสินค้าและบริการควบคู่กนั ไปด้วย จากผลการศึกษาปญั หาพิเศษเรื่อง การบริหารต้นทุนโดยระบบการผลิตและระบบ บัญชีแบบลีน กรณีศกึ ษาบริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัดนัน้ บริษทั ควรใช้ระบบการ บัญชีแบบลีนทัง้ ระบบ เพื่อทีจ่ ะสามารถตอบสนองวัตถุประสงค์ของบริษทั ได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึน้ และยังสามารถตอบสนองวัตถุ ประสงค์ของการบัญชีแบบลีน ส่งผลให้เกิดความยั ่งยืนของบริษทั ในอนาคต บริษทั ควรนาแนวคิด Lean & green หรือ Lean management for environment มาใช้ใ นบริษ ัท เพื่อเพิ่มประสิท ธิภาพในกระบวนการผลิตควบคู่กบั การจัด การ สิง่ แวดล้อม ซึ่งบริษทั ควรดาเนิ นธุรกิจที่เป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อมพร้อมไปกับการ ดาเนินธุรกิจทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อสังคม โดยการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรอย่าง มีประสิทธิภาพ การปรับปรุงหรือเปลีย่ นกระบวนการผลิตเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพใน การผลิตการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิต การลดการเกิด ของเสียหรือ มลพิษ ให้น้ อยที่สุ ดในทุ กขัน้ ตอน และมีการน าของเสีย กลับมาใช้ ประโยชน์ ใ หม่ ใ นกระบวนการผลิต ซึ่ง จะช่ วยให้บริษ ัท สร้างโอกาสและรายได้ เพิม่ ขึน้ ในทางธุรกิจ และในขณะเดียวกันยังช่วยในการปกป้องสิง่ แวดล้อมและสร้าง ภาพลักษณ์ทด่ี แี ละความยั ่งยืนให้แก่บริษทั ด้วย บริษทั ควรมีการวางแผนในทุกขัน้ ตอนของกระบวนการ เพื่อที่จะสามารถจัดสรร ทรัพยากรให้เพียงพอต่อการดาเนิ น งาน เพื่อไม่ใ ห้เกิดค่าใช้จ่ ายในการจัดเก็บ วัตถุดบิ ทีม่ ากเกินไป บริษ ัท ควรมีการสร้า งพัน ธมิต รในการกระจายสิน ค้า เพื่อ ให้บริษ ัท สามารถลด ค่าใช้จ่ายในการกระจายสินค้าได้ บริษทั ควรให้ความสาคัญกับพนักงานในการมีส่วนร่วมในการแสดงความเห็น เพื่อที่ บริษทั จะนาความคิดเห็นดังกล่าวมาพัฒนาบริษทั เนื่องจากพนักงานเป็นผูท้ ใ่ี กล้ชดิ กับลูกค้ามากทีส่ ุด บริษ ัทควรคานึงถึงการทาแผนการอนาคตด้านบุคลากรไว้ล่วงหน้ า (succession plan) เพื่อทีจ่ ะสามารถใช้เป็นแม่บทในการบริหารจัดการได้ในอนาคต


125 ข้อเสนอแนะสาหรับผู้อื่นที่ มาศึกษางานนี้ และต้องการศึกษาเพิ่ มเติ ม 1. กรณีการศึกษาดังกล่าว เป็นเพียงการนาระบบการผลิตและการบัญชีแบบลีนมาใช้ เพียงบางส่วน จึงควรศึกษาแหล่งข้อมูลภายนอกเพิม่ เติม 2. กรณีการศึกษาดังกล่าว เน้นการแสดงให้เห็นถึงการนาระบบการผลิตแบบลีนมาใช้ ในการบริหารต้นทุน และยังนามาใช้เป็นข้อมูลในการบัญชีแบบลีนได้อกี ด้วย


(11)

บรรณานุกรม Chartered Institute of Management Accountants. 2011. HOWMANAGEMENT ACCOUNTING DRIVES SUSTAINABLE SUCCESS [Available]. http://www.cgma.org/BecomeACGMA/WhyCGMA/Pages/CGMA-aspx., (21 March 2012). Docstoc. [Available]. www.docstoc.com., (19 March 2012) Gladstone Thurston. 2010. Bahamas World Trade Organisation (WTO) accession talks start [Available]. http://www.thebahamasweekly.com/publish/bis-newsupdates/World_Trade_Organisation_WTO12423.shtml., (23 March 2012) XR training & consultancy. 2012. The Lean Enterprise [Available]. http://xrtraining.com/main/showpage.php?tier1=lean+enterprise&path =leanenterpriseoverview&page=gtwp_section_leader.htm., (19 March 2012) กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. 2552. เขตการค้าเสรี [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thaifta.com., (19 มีนาคม 2555) กรมพัฒนาธุรกิจการค้าฯ. 2555. (17 กุมภาพันธ์ 2555) กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. 2555. น้าท่วมครังใหญ่ ้ ในประเทศไทย [เข้าถึงได้จาก]. http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/finance/foreign/20111013/413525/ น้ าท่วมไทยกระเทือนถึงตลาดหุน้ ญี่ปนุ่ ..html., (19 มีนาคม 2555) กองติดตามประเมินผล. 2554. สถานการณ์พิบตั ิ ภยั ทางธรรมชาติ [เข้าถึงได้จาก]. http://www.onep.go.th/images/stories/seksit/New/Diaster_2554.pdf., (21 มีนาคม 2555)


(12) เกรียงศักดิ ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ ์. 2546. ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุน้ ส่วนจากัด วี. ที. ซี. คอมมิวนิเคชั ่น. เกียรติขจร โฆมานะสิน. 2550. LEAN: วิ ถีแห่งการสร้างคุณค่าสู่องค์กรที่เป็ นเลิ ศ. 2000 เล่ม. กรุงเทพมหานคร: บริษทั อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์พบั ลิชชิง่ จากัด (มหาชน). แก้วตา ไทรงาม และคณะ. 2548. ผู้นาเชิ งกลยุทธ์เพื่ อสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาผูบ้ ริหารการศึกษา. โกศล ดีศลี ธรรม. 2547. เทคนิ คการจัดการโลจิสติ กส์ และซัพพลายเชนในโลกธุรกิ จยุค ใหม่. กรุงเทพมหานคร: อินฟอร์มเี ดีย บุ๊คส์. คานาย อภิปรัชญาสกุล. 2549. โลจิสติ กส์เพื่อการผลิ ต และการจัดการดาเนิ นงาน. กรุงเทพมหานคร: ซี.วาย.ซิซเทิม พริน้ ติง้ จากัด. จุฑามาศ ปญั ญพรสุข. 2552. การเสวนาวิ กฤติ โลก [เข้าถึงได้จาก]. http://www.chulaalumni.com/scripts/ViewAllPublicNews.asp?ID=1898., (23 มีนาคม 2555) ณรงค์เกียรติ นักสอน. 2555. Lean Production [เข้าถึงได้จาก]. http://www.tpa.or.th/shindan/detail.php?page=lean., (18 มีนาคม 2555) ณรัฐ หัสชู. 2553. การศึ กษาประสิ ทธิ ภาพห่วงโซ่อปุ ทานของผู้ส่งออกผลไม้สดไปยัง ตลาดประเทศญี่ ปุ่น. บริห ารธุร กิจมหาบัณ ฑิต . สาขาวิช าการจัดการโลจิส ติก ส์ และซัพพลายเชน, มหาวิทยาลัยฟ้าหลวง. ณัฐชิด. 2555. ลีน แมนูแฟคเจอริ่ง [เข้าถึงได้จาก]. http://nantachit.exteen.com/20120131/muda-muri-mura., (18 มีนาคม 2555) ดอกไม้ปลายปืน. 2553. ผลกระทบของการเมืองต่อเศรษฐกิ จไทย [เข้าถึงได้จาก]. http://www.manager.co.th., (18 มีนาคม 2555)


(13) ไทยพับลิกา้ . 2554. การควบคุมมลพิ ษเผยสถานการณ์มลพิ ษปี 2554 ขยะน่ าห่วงทัง้ ปี 16 ล้านตัน [เข้าถึงได้จาก]. http://thaipublica.org/2011/12/report-pollution-2554., (19 มีนาคม 2555) ธนาคารแห่งประเทศไทย. 2554. ภาวะเศรษฐกิ จไทย 2554 [เข้าถึงได้จาก]. http://www.bot.or.th., (19 มีนาคม 2555) ธนิต โสรัตน์. 2551. การประยุกต์ใช้โลจิสติ กส์และโซ่อปุ ทาน. กรุงเทพมหานคร: ประชุม ทอง พริน้ ติง้ กรุ๊ป. นาตยา ตรีรตั น์ดลิ กกุล. 2550. หลักการบัญชีเพื่อการจัดการ. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. นิฐนิ นั ท์. 2553. พีระมิด แห่งระบบ 'ทุนนิ ยม' [เข้าถึงได้จาก]. http://nithinannote.exteen.com/20100308/entry-1., (21 มีนาคม 2555) บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด. 2555. ข้อมูลบริษทั [เข้าถึงได้จาก]. http://lean.bsiddip.org/moodle/file.php/1/Crown_ceramics.pdf., (22 กุมภาพันธ์ 2555) บุณิกา จันทร์เกตุ. 2555. การสร้างจิตสาธารณะในสังคมไทย [เข้าถึงได้จาก]. http://www.stou.ac.th/study/sumrit/8-54(500)/page1-8-54(500).html., (17 มีนาคม 2555) ประดิษฐ์ วงศ์มณี และคณะ. 2552. 1-2-3 ก้าวสู่ลีน. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ ส.ส.ท. ปาริฉตั ต์ ศังขะนันทน์. 2548. องค์กรอัจฉริยะ: องค์กรแห่งการเรียนรู้ [เข้าถึงได้จาก]. http://www.km.kmutt.ac.th., (21 มีนาคม 2555) ปิยาภรณ์ อาสาทรงธรรม. 2552. “การลดต้นทุนเพื่อความยั ่งยืนของธุรกิจ .” วารสารนัก บริหาร มหาวิ ทยาลัยกรุงเทพ 29 (1).


(14) เปี่ยมพงศ์ นุ้ยบ้านด่าน. 2543. องค์การแห่งการเรียนรู้, [เข้าถึงได้จาก]. http://www.natres.psu.ac.th., (22 มีนาคม 2555) พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย. 2553. “การผลิตแบบลีน สู่...การบัญชีแบบลีน Lean Manufacturing to Lean Accounting.” วารสารวิชาการ มหาวิ ทยาลัยหอการค้าไทย 30 (2): 84-98. พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย. 2553. การผลิ ตสู่การบัญชีแบบลีน [เข้าถึงได้จาก]. http://www.utcc.ac.th/public_content/files/001/30_2-7.pdf., (22 กุมภาพันธ์ 2555) พิพฒ ั น์ นนทนาธรณ์. 2553. การจัดการความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร การสร้าง ข้อได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั ่งยืน. กรุงเทพมหานคร: บริษทั ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์ จากัด. พิมพ์ชนก ไพศาลภาณุมาศ และนภัสสวงศ์ โอสถศิลป์ . 2550. การลดระยะเวลานาในการ ผลิ ต ในโรงงานผลิ ต เลนส์ แว่ น ตา โดยใช้ แ นวคิด ลี น ซิก ซ์ ซิก ม่ า . วิ ศ วกรรม อุตสาหการ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาณุ บูรณจารุกร. 2550. 7 waste [เข้าถึงได้จาก]. http://www.nubi.nu.ac.th/webie/7waste.html., (23 มีนาคม 2555) มังกร โรจน์ประภากร. 2552. ระบบการผลิ ตแบบโตโยต้า (TOYOTA Production System). พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปนุ่ ). แปลจาก Toyota Seisan Houshiki wo Kangaeru Kai. n.d. Tokoton Yasashii Toyota Seisan Houshiki no Hon. Japan: THE NIKKAN KOGYO SHIMBUN LTD. มายเฟิรส์ อินโฟ. 2552. GM สัญญาณการล่มสลายของระบบทุนนิ ยมสหรัฐ?? [เข้าถึงได้ จาก]. https://politic.myfirstinfo.com/viewnews.asp?newsid=119116., (19 มีนาคม 2555) ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ . 2554. ค่าสถิ ติภาวะสังคม. [เข้าถึงได้จาก]. http://social.nesdb.go.th/social/., (18 มีนาคม 2555)


(15) วรศักดิ ์ ทุมมานนท์. 2544. ระบบการบริหารต้นทุนกิ จกรรม. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ไอโอนิค. วิชยั ไชยมี. 2547. การบริหารการผลิ ตและควบคุมสิ นค้าคงคลัง. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั ่น. ศักดิ ์ชัย ภู่เจริญ. 2553. หลักธรรมาภิ บาล [เข้าถึงได้จาก]. http://www.ocn.ubu.ac.th., (18 มีนาคม 2555) ศิรเิ กียรติ เจริญด้วยศิร.ิ 2551. การเพิ่ มประสิ ทธิภาพโซ่อปุ ทานโดยการใช้เทคนิ คการ ผลิ ตแบบลีน กรณี ศึกษาของอุสาหกรรมธุรกิ จผลิ ตรองเท้าในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์วทิ ยาศาสตร์บณ ั ฑิตสาขาวิชาการจัดการขนส่งและโลจิสติกส์. บัณฑิต วิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปนุ่ ). 2555. โครงการให้คาปรึกษาเพื่อลดความสูญ เปล่าด้วยระบบการผลิ ตแบบลีน (Waste Reduction by Lean Production). [เข้าถึงได้จาก]. http://www.tpa.or.th/tpanew/news/news.php?id=448., (19 มีนาคม 2555) สมาพันธ์โลจิสติกส์ไทย. 2555. ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซียน (AEC) [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thailog.org/wikilog/home.html., (19 มีนาคม 2555) สยามอินเทลลิเจนท์ยนู ิต. 2554. องค์กรเพื่อความโปร่งใสจัดอันดับไทยโกงกระฉูดจาก 78 สู่ 80ของโลก. [เข้าถึงได้จาก]. www.siamintelligence.com., (18 มีนาคม 2555) สรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล. 2549. Contract Manufacturing ความท้าทายใหม่ของการ แข่งขันและความอยู่รอดของธุรกิ จ [เข้าถึงได้จาก]. http://www.brandage.com/Modules/DesktopModules/Article/ArticleDetail.aspx? tabID=2&ArticleID =1277&ModuleID=21&GroupID=567., (21 มีนาคม 2555)


(16) สฤณี อาชวานันทกุล. 2554. ความตกตา่ ของการศึกษาไทย: O-NET และ PISA บอก อะไรกับเรา [เข้าถึงได้จาก]. http://www.tcijthai.com/column-article/721., (21 มีนาคม 2555) สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2544. "แผนพัฒนา เศรษฐกิ จและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11." [เข้าถึงได้จาก]. http://www.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555). สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2555. “ภาวะสังคมไทยไตร มาสสี่และภาพรวมปี 2555.” [เข้าถึงได้จาก]. http://social.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555). สานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2554. รายงานสรุปสภาวะของ ประเทศ [เข้าถึงได้จาก]. http://www.nesdb.go.th/Portals/0/home/ interest/11/data_0344110811.pdf., (22 มีนาคม 2555) สานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2555. แผนพัฒนาเศรษฐกิ จและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559 [เข้าถึงได้จาก]. http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=395., (23 มีนาคม 2555) สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม. 2553. รายงานสถานการณ์ คุณภาพสิ่ งแวดล้อม พ.ศ.2553 [เข้าถึงได้จาก]. http://www.onep.go.th., (21 มีนาคม 2555) สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2554. “ตารางแสดงผลการเจรจาเกษตร.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.oae.go.th. (19 มีนาคม 2555). สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. 2553. การมีใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน [เข้าถึงได้จาก]. http://www.service.nso.go.th., (19 มีนาคม 2555) สุดารัตน์ เสาวโค. 2551. เพียงนี้ กพ็ อ [เข้าถึงได้จาก]. http://www.gotoknow.org/ blogs/posts/157476., (19 มีนาคม 2555)


(17) สุเมธ ตันติเวชกุล. 2554. ประสบการณ์ การประยุกต์ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงด้าน การบริหารองค์กร [เข้าถึงได้จาก]. http://www.social.nesdb.th., (19 มีนาคม 2555) เสกสิทธิ คูณศรี. 2555. ความสาคัญของการพัฒนาองค์กรด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ [เข้าถึงได้จาก]. http://www.chanthaburi.go.th/redcross/article/IT.htm., (21 มีนาคม 2555) เสาวนิต คาจันทา. 2549. องค์การแห่งการเรียนรู้ [เข้าถึงได้จาก]. http://www.songthai. com., (18 มีนาคม 2555) หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ. 2554. ธุรกิ จไทยพร้อมแค่ไหนสู่ประชาคมอาเซียน [เข้าถึงได้ จาก]. http://www.thanonline.com., (19 มีนาคม 2555) อนุธดิ า ประเสริฐศักดิ ์. 2554. การลดต้นทุนเพื่อความยั ่งยืนของธุรกิ จ [เข้าถึงได้จาก]. http://kmctuaccounting.wordpress.com., (18 มีนาคม 2555) อนุรกั ษ์ ทองสุโขวงศ์. 2548. การบัญชีต้นทุน [เข้าถึงได้จาก]. http://home.kku.ac.th., (19 มีนาคม 2555) อภิชาต เปรมปราชญ์ชยันต์. 2550. การเพิ่ มประสิ ทธิภาพในห่วงโซ่อปุ ทานโดยใช้เทคนิ ค การผลิ ตแบบลีน กรณี ศึกษาของอุตสาหกรรมผลิ ตชิ้นส่วนยายนต์ไทย. วิทยานิพนธ์วทิ ยาศาสตร์บณ ั ฑิตสาขาวิชาการจัดการขนส่งและโลจิสติกส์. บัณฑิต วิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.


rtflHu'tn


[AflI1YIflErr

E TE E

E

E EEEEE

E]

IIUU fl.UU -3

n53tnwH16TflOn1:n1

tw

$uuri,r*,ririn1r(,J^$

;ur:ud

2 9 lll,fl,

3t #u'r,]ou 255{

xo

Iriqirrudo{iorfi1lr"ruJr:trnrr-rxrJ:r,irflrddi'xil 30tlJ!*1ut{2552' ..1

- - rrn: \lrlr!'jr.lrh:1r4fi (r!u rluu1ilRriUnltfi -,1 uilhUlfol,rl:ln

I d.rlriollunr:riu ! I

fl

rir

ruutrI'-fi" U I .

rl"urirustiex fi6r1nn

3ri)

@ fl

L llllltluFlUlrnC

n

f

u tlel1u1t l%1ll I n o

ll I rn!n1lt I Ll

n u.d

ii,ralror.tirvilrJ:lrr,a}ru rdoriqd

iffrlnnnrir.rd::rrr

u-ru'nirn-o

firnr:irr:o*rnu r;r'roirrSrnr

n rln.iYr1rrY$l'nUt:!r?l

urrnl n1,Jq6l

rarn:riur @

dr,Ja -

r.di r .. . - l {ot'nrfai

]ioo,ru/1,',rn.1,it1r;

{!

t a,ifinsl

on

{ou

fr -

riBtlt1fl1t

,

i',r:,!.r,1,d

r)1x

l3[glEgtrE]EtrtrtrtrEjEl

{1$r1rrin (u"tx)

',11,1R'['l]t]t u

69

,lud11,:!1nnri

468.774.673.06

i11r1uftq (L'llt)

rruruti

618,025,47'1.58

llror;ruu.......125,-0..99'-0..Q9,-0..Q.....urnriundrru{r

f^trr

*4n 1

(6

-t)

o't,'' 'B:Dor.t\

\--JJJi L

.f!t[.)..1 /^ ur,:ai

dnurluq!

ind lC..I.lly.n1Fl

?ss2

(

rrru!,nst

liotnuto6nn )

1ix iil1.lH",i'o

olzao:'rayl : 916s

n11,1t{o

f.rv,rrJv,t

t )" : PATCHA,RAT -tuytvnJt'{

16/02l2666 11:33

(

lr1uE)r$rn r8orfitr6rind I

nlrhrrtn,tinE 6tnlta"il i or.l ouci-lirrn-r trlttrfft n.tl i1r4..........t.S

ol rtfl 0 t:1fi

avld't

nqun.)a$

2552


nr:ti-rri'o'iLtnrn,drtri rrir.f,r.nialv-r [-J "^rf']!uio

f

nr:rJt"ar

@

nr:r,6e

nrtdrr*n:rilllinur

I

n.r:rianirl

f

,n,rrrnrrr

lru

{..-l nr:rrudr

f_l

I f [] E I

6n

nr:r-rud.r

nrrnrurJin

Ilnr airnirio [ 6arnlr{rlni f

ri...iflrr

i}d'. [;,"o=mndo f

rlr,r,Tulor+r

Idu1

nrrdoruo:ir:rinur

lr',urrnu"r,'or.o,: o"rn u..l',",

nrruin,

,t

rT

n.rri u

rrnr: uornrrionfur.]rilnfi nlr!rtrtnl:looon-tlls-tor nTflltnTMv rlnl!6t.ta

[n31non8u1

ai.ntl1i1, 1. ll:t,rrnrd:u,tFr-, 1r,,r1',r:r e'lLl L!:dr rnt

i

9lito 011llt1u flJ aan H nE|flt]["] ts:1&l^a flfl

trtr[t]n

L ] rrlrxr

Ttrtrt]tJ

2

@

ri.loon

trtrtlUt] o,1

tt,ll!*1n11n14 fli1u fll

t

g4i1[g1 urru6r inrn:Li

rLrfl irnnndror;riuvlsir"rmlnu rarJrrii,rq-ra"rfuneriornrldlynrriilii,or"r,i,ui6ronnit.,rt;Liuih::Ltrqlnrdrkilri -

iBnHnluDr!

ifi!onnsirll:rrlr irntrfi rn'rnt:dT :rra::v4rnr rtdtlllflilLl9[J.1[! lntrEJulr

Ll,l1t04t}]FCr1 d lu11,r

rlrtrnnr'rildrj:rnou lri::urr;rrrr:ilC

rrro!Annrt6ult-ilinuit"ni!dlrYunlurho-n lorr'i,,oio,urnu y' srlr,iol

!!h!tt:qful::l Crarrirrnnlr

1 ,ll.rrlo

[n:r:onirun:t6r,ol,"ri-:rio

f-'l

lrtti4!ry

o''nrr{ouo:lor:ru1d:rrur:rr6rn,iiimiiounrurJ,l:rnrlrir]::rnrunr:o'q:rr,:uLfluiaoo:to.lttfitttrialrlr:u"y,

rrkt6lno lr110nlllnrlrilnL0:.rn0Ln rn.rulEonrr.r0 M.dbdso,r $a ntnS!?1na!1 1!Nufl 11tn$

r.

lr11l.rrrr.aur.rnr 1;juurli.qr

3 ou_r

riou,!1.!r'irr z.lfl

lu,irninrn lridur.ur-*T d.r r oir, rnfonrur nLiu 3 ac nl trllnn n,1t'v1!'- n1t6 ovru::uirrrl:;rrnlriiur::r r.r-,.1:l drvr, z.

ll nrrGyi i.r'lull 2

f

ryrvr

uT unrt: froriducl-ld ri<orl-qin,r

56 mttlTrll-iti?ltdrJoun!lLn:oD.r!LrEJrllu

It l\LlJltU')

lrYl

!1no l$1:rl L

_

ar

t .to

oi adori'ruu"nn

D

U'r.,lio

u l n6

ilunin

tn ii'r Auqliu DrhJfs u

Mq0J lnuHt0lu rnrlnrrLlnunin ,I

"\"

JLo.l'lf illa^'l.JuLlt-tldli

6n invlUt:'t!lvtUmUrU

nrrvllnrl: rh:.r10)Utt0 (llt[fin!loiOiJ

!l'trrr'tvrtNrnnr:!r:rurriorru nrrriu

dlfro* nnr

riririlu ri s oroi

nrv

2

rirru"urhuronrriiuu i6ronncirrJ:;Lfllr

3

L5Eflrrncic1!n!vr.1r lYruqdinc

n r o

m

rluur r

1

rlT

n

lriol

ruri.rnr'rl Lit

r4

aLdrru-n

lrrtdllJllr:l]lnnlnfi

irnr:ir!o'rnrrrhrl:niuprnr n'oodllum:rirtnrEh

lr\imruril

ua'UJr g 16ou rluu,ir_ulloriqs

lnrylyrD0r,!or!11tLrlrn1uln{rnaqrtullo)11u0!Qtl,+:rl n:r.luur]r!LrLfn20000lr1n

nilr'i r:r).luri t.fri tu4ltu,tllulal1dnt!U.1,50.0@ ulvr Lrcro0Jr lHlrrlrLrLn !tr, lroDuul4L$)unterxEu,.lr t !r:lridrN!n"riit$iodu.!nr:GuHrt'rilvrurjiufirnrllrrfir5o,o0ourrrs:;uriidrrrrl11-rnirLrrluirnrrEn\rjrir50,0m!rn ,nu.r.rrnlrrn r'lunr:dlrln,:Liu 1a:.:it.,ff s1t.a z*s r,txlsr$a [1]r.l lnnnlln-rlr,i 1ln,rnrorq!)Jrin]ani!

.

i

a

)-

4

orzag:'ra?r : 9163 mv{lJl'{ : PATCHARAT'tu 1'{tJ1l 16/02l2666 11:33


u-tdn srf,t{

AT}P

4211-2 unn"s 26 qTrifi

l2ul-:

63

PoINT co.,LTD.

fr60.!f,r$riD ioru1 nTlrM '1

10110

ELlsinsi 26 sulihutlail 63 KloncFa-nur vrdhms BttlSlo& 101I0

T?) (662) 1115339-40 Ftrx (662) 7llJ722

AUDTI POINT CO. LTD.

crE'l IIjlltD }trBLIc accouN'l

xauf rftd'n / luorr

aN l s

atoAo

r1u{1sll!{$d0xr rqJuilaqqlo

rfluo ryoaIuuTrrll

- a.v llno nfl)t L{:]}lfla

rlyt6't'tdn:rqaau.!1]En

il

Sqii g1

ffl|,)rn

26E1 !!au 2580

{1ldrlflmlxttsv,r]lrflo.ln1?L

6uultr.]a.t

druta.ridall'udrriuidlqo{urdarrirla,rusiayiro.rl:idfl onzti r{rrifld ,irrio do{riur:ta,lfitnr':riu {il fiorolcianrunnsialuarnrufirurosia4alulunrrtiunltdrd druirnr{llflu{5ufiotal'[umrttaol nrurfi usio.rmraiudlnrinqrnHant:vnlqda io,u'llitil

irnr{rldr.lfirY6nuonraflg!ellx}nmTlrnllaa:r:lqJ#iltol}iiLl d.rrirr41olfi{mr{roio

i'1

1{rrHurrnt

:lfiri6.ruriio1fi1cilnll.tri0riuad1{fir$EHa'ji.unrttSuuaol{a,Jaii{ocio{aLfiaqi.ld$riu<rtvdrfirguiatil q

6

"_i!,, nt10:mflauil Sintft6i6nrtnoAouudn5luihyfla!l"lUfl1r'fi$1t:lualuluL$tllBXn')1l!OtilU10{fl tlNLnltL.lu

nr: tyfiunrrurrau:araarufinnt:r)ryidfiqnt{{L.nv :clrrgnHrdulfiununtrxl{n1lLiudtflu611gdldru q ) -^ - .l . - ".,.f ^r fi.:riuSrar':rflufro'oririq ocaottntfllic,fiu6rnrr tu rcnrta{nrntdnnrrunltft llo alu.lun1rliuL0ur1 ,Je b L; , L , qpv {rvr lir ria'i rnr:cmaaa!d.Jnail1[ iaf,fll11liu,nTlJ'/la

!

urtl4lJlvd]i lunlllldo.!fnltJLrua0{t1T{M

^ " ", {ufr t'ru,,i'rrfir'iro:nr:iiur1.:6'ufluaolStwnt:rtu

31

itrror'

255t mu 2550 Nanlldllqu.ll

.j".".-a!.-.!LT

.rnCnrt. 6uut!:Jnldtu!0{{fia{udl 5Ui]AUqoriUtOUlnutAntlqlnYutD.lllilflr n:T]u t{r1uflfl alflfi lflu .) '1 , ) ..50nfl fl .tfl uaql1 LudllYd roryolrJIAnfl 15!rudvlTul0.rvl1 LU

{rfl

15110

,)-I fi mnualannfi

lxd.lLnqruxrurl4sl!finolN!nrl'n$a

1tul+nula{nqflTl

Arz+,Qpan (u1.rv{'r.rruQ

flrulnl)

{aou1q6fuar.grgrn

tar

mntwllJ14111fE

iud g nuru

rimasr':rofi: gre s

fifi vi:

zosz

PATCHARA,T iufl'lirJ

fr

tsrczrzaso tt:ss

cri uu 62z

w^


lif,n mnri rtaiad,l'rrie rlilin nr {ud er

iumer zsst

$ac

eEEo

Sqrirrd ',llt 1550

2551

ilunindurprrluu r{udfl

r,rutJlnfl nluunlTLiu

LLflJ

qnufinr:dr - q{^r (ilNlutxq 2.2 rrnr

3)

I i,l "' - n,,a 'rfr m{alriu Gu1fi{6rnvu:duurifionr:fr

fu.rdrmrfia - qfl-fi (utJrutrq 2.3 [av

(lnuul q

4)

5)

vt A -fiul1tll EnlrJutl^ uuoll

516,512.23

s20,n4.73

90,214,69176

s3,420,217.52

49,870,056.96

16,889,619.12

152,699,272.17

153,349,228.05

19,444,682 86

'1,029,722u

372,74J,l5532

r'lrldlr?ll9lu$llul? ll$

271,609,061.86

f;uniudtrlvil$riuu rtwhntutot:fifiornrr:rir :vfl'u riun.:r1u:vuvu

n (v

1u$rq

(uMULllE 6)

2.4)

l-,.

fi6u arot:unvq nrni - qu6 (uuut',,lq

2.5 uav 7)

.rl

^dufl11ru

ul'duoletu - ii?r[

4,227 ,257.75

2,585,152.10

49,999,930.00

49,999,930 00

98,034,555.13

110,261,042.68

3,?W,794.22

2,024,923.20

rtriuuinrilriu4rriuu

156,030,517.14

164,871,047.98

rrrrR*tivr6

458,774,673.06

436,480,109.&1

wnuruql :snalN!m:riurfudruufl.rto.lu$rrirf, ,:i\t

q

.J ,

.,r

".. arifi6rrnfi:J:uqr'traqi{6or{uarriq ni-rfr wqnfiloifu

l1*0,

SIGN SIGN .'!J-,'IL" $;,f,,iddd;. r ! r, ,

;;;r;

N::8JN1T ,

a

)-

4

" o]zogt:ta : 9163 nll,[rJl'{ : PATCHARAT ']uml,{lJr,ll

16 /O2

\sst/ '}g

/2654 17:33

uJalu?l

tu

N"lilt

ffiil"

NT'

iit'^";dsK NTT


lBsrr onrrl rmrfin$

iitkr

!q8 nr i$d sr ir$rn asSt Ba! zEEo

#a*uraruuffirfu

2560

255t 115$1r{1rr?Un rir+rfi nrfi urlrgiusililoiiuarnannhtnr:liu

rdndmrrir (eulut q

lumltuq

e1

9)

x ^ ); m{orfiu {r,rr.iruruq t11 riu{du:vutduornqnnnuavfitnrdrfi inrurirvuotwlur*i

radRuorrlfi rgqrrdrnr:rilf

fturj lruvur, fifilril,ruofntnruluudd

(

tutl4q

10)

!^f.l

ulldwl{uI.)$r8u

,12ruuf,trl,{$r2uu

rldflulrhqtrla* "! x6{ruru r rdrmfl'rl.r tauuol riur]Erur;wur'lanrtiunli riu (u lutxol

10)

"rr#a*ldr,*1*rtuu

,! .-

.:!qn loTualfleialn

).

i

q

64,Zgt ,260 .29

-0"

19,751,578.28 529,656.60

549,102.60

21,826,000.00

7,200,000.00

I1,016,712.45

9,42,278.23

388,662,266.n

409,1t7 ,247.06

-

"-A

,l*,,

srGN

10,200,000.00

51,164,211.S5

10,752,186

p-ntcnnna.t r'um'firr,i

76 /O2

/2668 77:33

r0

419,S29,433.76

Do...y*.., UJA1 T

$"ld{ Err ml

n'E

552,186.70

61,122,235.85

lr,;a,;d# ;.G,...

nfi :

e

',a o1'!v1..,. ruqrJ Ll4fucn8r{uFlNru

.....,..-?J{tS

,";;fi;

{firri

62,283,620.20

439,7 ,&7.67

trrrrrdtlu

*l'rzao::ovrr : eros

327,688,605.94

41.976.10

r

srcN

273,156,688.19

vo b.\Jfttu a5,54

"r-

; tf,(.Y.l.y'"'t


a

e

t.

,.J:$ fYn?$ l{t'lltfif, !]nn

nr

iuC

llloi firrrar zEEt Bs! x56o

dfu*au{rurrr ths+.

rgiol

mfl 2551

2550

drui6{atflet

mu6o*fu 1'arnuuq

tz1

4noruriur-riunrirg rz,soo,ooo r{u Xarirriuau ri*riu tzg,ooo,ooo.- lrn

).

{udrl]ruarul{ Xarir{uar to.- uvr riuriu

lUvlBOnrlnur]1v|'l6?

17,500,000

r0.-

urr

tlu 175,000,000.00

175,000,000.00

9,000,000.00

9,000,000.00

rirlt 1l'n1*y armr ridravarq'on:*dr dna.:mrxn6mrru (u rurxsl

l

rfruudYdlru.r

t,.r

13)

lolo dls

(16?,449,323.92)

(164,961,794.81)

:':uCt&srfi6afrr

t-

:2u ttfulLg:f,t[nat ott

29.M8.205.s9

16,550,676.08

468,774,673.06

436,480,109.84

vrruruqrl:tnouurmliuliudruradqrar.runr:riud ,5r

--

,.,

.

q ,k

{lroRu r,orua1r0rr1ryrurr.{rJ r14rlJHfla{unrfiq

SIGIJ q,

1--.'

J-$q

c v

?

tt

rirzao:r1,r': sre s tili&vf : PATCHARAT iufifixrd

n+{O t h f{l

l-

,(...t-:.'..:....;:,....,...,,.,..,,.,..,,,.,:..,.,......,,1 Aead,S , dl k/, r,rtAol- \

/

I

SIGN ,..

o ffiwnqlz*L

diriuii

eo

ldu|tcJu

Wz

0"1ilr

a;;;.,,,"

I

a,x"lnJoyrr


tr6:fu

n:rrrl r.mfini rirfio .l!tfl1ll$1ciltl

druiufliuqni*fi

31

dlniFr

2ssr $a! 2Es0

r.t1fl

2550

2551

nu16 lr,rlruwrq z.t) r, r't6ornnrru u

flu

683,486,44i].62

Loau

rrrnal6 rirkiru

[sa1u lun

ll1]

u Ltsut

iTt4,]1

trloirldriru

g

.r ,

,

hl Hi!au6anluutlU

vn

oonl]JunTu

rirtteri

.t

nl

, - ! I Eoox$firfl$tl$

fv.,

618,025,471.58

657,498,44S.00

504,929,716.68

55t,757 ,822.68

75,085,274.90

62,388,031.64

590,014,991,58

620,145,854.22

vl.,n

uruor

37,352,593.78

(25,512,S50.69)

(u.022,178.08)

12,497,529.31

13,330,415.70

.

q

,,1

flTt nl: u )-

?uytil

ttua o

!-

nr',?r..

nlrut,

r

Blaluvl

hs

|A.^r?tru

b65'z

fu'l/K

+riffi.?-

1'{

D**tr**

*nar.runr:ft urfl udruvf, rta.xunrrriufi

{ .n

rJl/'r:rl'{ : PATCHARAT

38,010,480.00

0.71

uJ-rtu

)

33,058,534.6S

(xrJlu[140] 2.6)

,:LqnuLofua l.srilry'luls'{ txr!{nar,ludl- ru

" o'rzo0:'tny : I163

34,539,027.96

{urrunaq z.r1

durptru n1

624339,913.31

k.".--g

lE /O2/2666 71:33

y,?: t !. #.1.........1.1:..

Ifu ' ql"% X


lJft

(.e

?1

a hflllla ttl'lllas {lfln

!!udo{mrrdduu$dn :druruffi afpr

druilif,lqni*i

sr frr:rou

2EE1

ufrc 2660

ttl&t8u$ll

tlll

n1ofiI(ifl

0snuaig1lsrlf,2

llDaun$

1 fli16

150,000,000.00

2550

(171,779,',135.62:t Q1J79,739.62)

13,330,415.70

m L5d?rfll 2550

;.i

n1:r1\lrlrulloi$rfl

r

furY141'r.rl?o

(urtatuq rzl

uoomru6o st

25,000,000.00

2s,000,000.00

fr*nnr

zsso

175,000,000.00

(168,449,323.92)

16,5s0,676.08

12,497.529.31

12,4W,529.31

(145,961,794.61)

29,048,205.39

nttrdTmI255'l

aoemrqf,a st

13,330,415.70

t*rrnu

2sE1

178,000,000.00

o I

)

14 1url4qlTUna:Jn!nt?r.iuH}{d1ux1Nto.tilln

SIGN

LrJ-fiL

, ;;tir" ia,ifrj#r;iij,. s.csl nlt

ei-rzoor:rafi : sree

{fird: parcuanar

n,l5

ium'fird 16/O2/2666 71i33

SIGN (..,

-.,',

/4na-/1fr/J/4L-

^t llNuu

fi^ldt n>/.,A$HN

8?.te,#lt^(

nTr n1l


rflifl nfi1ll t n&fl,

11Rfl

fl&lurl49rhinrtN!n'l?fill

i*d

I.

sr

firzre

2EEr

us!

25Eo

JA

Ollolt$udlunor lxllttslno{ao

n:rrd rsnfin{ rirfio qqrvriuulfiuuhi drfloorun6rrrultardoiud + fiquruu zsls loafidrrinoulrlqjd.:a{ratii tol iout{aurnr: 09 u'tt'luJ:ttro tl$ rclrfl n1.ilwlu141ufl'! traclr$lru r3:ivr

!.

-i

xt

d,roqrnryr 234

17 sriunE'Bqn

otnafirulrl.: 't'rur-otuqi Ioufiinqilrua':riudndardarl::nalpfil

qmdrllnr:l a:6otnvirvrir u26s6'$?irqTriiod

,iv,t

a)-

!-.X

,

'runr,liufl{oi1,nu01r]vdnn1fllqliriur0{r'l hllounaorJlad ol5lulmen]lnvfllluun.llflatua.l !t,r

)

.

-.^

I

dq.

[oufrai]n1fi3loouril6,Irtu Eelquffrnrlglr:r4UA:LuU

31 fiulrfi 2551

ltl6l

^ lNun9n0{q'tnl

-i,

91.:yl!11n0

I

tu.$nlfl.ru

.; 1r?l

ltau zsso rirfrrfir.ralrorlurua*:a{ :umu 154.s6 {]uulyr [av 167.45 tiluulYl ,l rt lvra D rr.l

25

mr,.Jdro'u rlrur'flr:kirirriunr:ufilaanrum:rflorurar.raLi{fiar{lldrfirtlutovr:riuudn

'[ui

,,i,-

drulrvr

zsso 4'oriruruunlinodu4uuarcirlidrulunr:ra6fl:rer6{nr:aorr1{qirufirfionrrqrgr,frulun:urrr"

rr:2fin nr:rJiurJltfiu+irfil rn6out,rrunru^rn',.r4',r,{io.n$rnrrdruriruiuirdrnairrl ronro6u ru"a:erarorrrulurl:clvrfi

fiaoorunrtq:ar iulor.rs{r.l,rdriuanrrJunr:t3u odr'lbfinu

nr

Tufiuflrifn

filn-rfitro4unrarlu,irurufiXr nrrrarm:nhnr:oirrfiuurriar{io,uo.r:.:irhduo{fliuNu.rrurrar

Rl flr rnrarslruu? r:lunrrsitfiu.rrlr'lfirfiorunrirrfiu.:rufi6arh$iorfio.ttLa"mtuntm:nlunrdout ,l

^ N1rYr1{r1,'l0

2.

q., ',t

L{

!

n1to'tlu1.t{11.t1aillTltYl

mnrdmrtuuarmrtrium:lrluuumrlq6iidrortl .1 {.Jqa --v,.1lovrll1-ler1Nrf,nnlflrrulYllu?D,r1l'r - -).s n rl Lrrqno{uluyr L{ l,rr

t

i.

I

i

!

r

a,

!

v.

lvtYrfll ulnYrJl0lrJlunrru[ud Y

' 'a fldruuo lorranr&nim1q1i nru-ldur:nrrYqdfrnrdrgi u.o.zsae ua'nnr:rirgid.rnrirrarolr]r

-

- -.i,{l1Jrtul.llyryrfi ,,iau

tt,

ul

qru

rnnn r?r.lruEvtl

ornirrinirgd tdaonrJrnrdarfud zuzsso

nm-uii 20

- -ri a, -n]TurunaluluLluoallunut:nnn B.J

Ldusu.l1lll.l1{unlno

'!umrtnllla.tu i?l

SIGN

LJJJTL-

( anor6{ ?r,t a;,$ el'.l?lao':rlfi :

srs:

rlrirLd : parculna'r

iun'firlvi rslozlzsos rr:sa

nrnltou

zsso unriunrnY.rdulfurn:5ru


r , x!,: - r,,1. $tux1sfllrxfut f 'rrlqf,fli tno{n

z.r nr:firfna1fi*mrn:riuinrirldd, ! ,

.

{}

a .J rr,

I

;

uiEll'1 5uiru tdralflfllrnruulaLodr$ol laufl2r tdu'rlrat aflau.rYlu'll0,iFl'l')SltllLlalta.J scu- LA t -duot lvnllaldaltf,l

Y-l

-.

.

,qr,

lr:t+Yt'1 t!t?:]B Loa$ttauol l{a

tuqt Lltm.ltfl,ifll',

z.z drrdsuds.rfflrr{rll 1-

Z;

r

.! 3.15

.{l!,

--!t,) ]u71.l1ruvta1o?1lYiT0nrnu H l6rl1nQn!4u 1lnutorr qlrru'l rFEflfririllfiaxga$duQt(rur{1frud a lh

2.3

,-

-

Jo.

mnlr.runmuuuLu06rnmutnxm"lrnTrvt4xrLcn'nrlul]n11jutalqnlrutuuln

n

.'l

fuftoiluao rr5rlvdroriudrnrrvdo r* iu#uildrunnqx (16rfiriau-aanriou) uiaryanlrqnif4nro'ir {k

!

,

I

I

av losltLLa']tLoTlfr1 loaYgnn?1

2.4

rh*sfl{$rsusa1l e

-

a

I

NUA{IUIUUYU11Lilllr{Un.UtlUollfiT{Ufl

'it,

?r? t1J$f{0r.J

uiq

' afr]n1NT1fr1{1{ rraulY!]L11n

ol'

,i OA{nlrlon0nlo ll.tYlnluUt.tUfl!4u l 0qlUfll

i.v . ) llN!n]Llllo?lurrJa nTtll}rulutiufli{}r u:at,,l0

4orir(iunrqunozuorir.mnr )2.5 n6ll gmlt.qUfi?r*

r .

.J

llBifrlr{iuflar

fifiursoflulorr,iu alnrrBgq nmlr6o,:1unnr4und.:findldarnotvarsdr 01o1Tunvq nflr1udol1unalylxuff'.rfinnirrdo*rnnrac*r.Jrfi'r cirrdou:rordrurruqir,lii rduor:.rorruorqnr:li.srr. ou

::murowirrlRu liunnr

s

-

zo

i

z.t 6rtr rrropr sisfr#ufrrr$u , r ! !

.Y .

2.7

,

r

^,Ja nrLl (11o{ ) oaluluvi J'r}r nlulnrloul- r:14r?n1o1sqyirl{Lll1.td11.rfla{dflo4 druT ufirrqdurhuirurlnta.rirururjlmfirgd6alo't r1ooon",uuan

fllfuoltl

r ..i.1 . flllnfiIqifiul Llirfi"] l$.hlrfid

,w- a a

--)a^ 1Llur.rueltl611.!ljlurx

rl lJfr1r1lflllh

a

) - t.r:6fu flwls]Jtcclrl: )

fl?81r2'rn LLun{ft1[lurnu!lYrrl4f,nIUu

rnnuJfiuu ru rudrfionunrr u0ga,rrx6aro,r$ifiudrturiusrfleir.: turflo

oi@3tr$/ggs1

,,,i

I .Y ,i tlua.iffrriiur{uulllflluonflttflnt fiUll m 'l- l$ nt lfl4mllfr4ulrn8srTuffnrlnuuuu ntuu

s.ri ^^^' PIGN

rulduiocitdn'rulunr:sirrfirr

rirzon:rrfi:sro:{fiarr(:pofilBl$'-Y""-i":""r

""

O h:-7*^

" i-K'';og:ff;:K[;i'd* "o^ ou *' f"N*

-)M

F


O!.

2.8 m?]{rEirflsmfi1trlqI

lunr:{or{r'unr:liuIirflr.r't or v{nnl ir!6dro,*ln'rh ghuuimr:dol'L{ !-,,

a.tflafl stslurnlu rtnll 2-

:vl1 n1lrflt

) -

.,i J L Y, ,nl, ^ i u?ltn ulnut'l!] lo nl L{n1u {.:lJi.lnniy l.,clE4ll.t? [.r1r141'lu.i-

)...-. l^) -l A J-.t dlstrflarnJrludu mcnrL'uolituflar6nmnrdllllt?tu.|ail4udu?la lamonu qn aYtLnftluat.: ,Y,

fl1Arlfl r]fi1.r

3.

L!

IAlnA

.l .

lulUtll

{e

l5l1U10l Lt

0010+rl1ih1 qn1rdfl1rn'1 ru

g1 frurrnr.r 2551 tlav 2550

{ufi

tjr:na

d1r]

lJ1il 2551

!v

87.882,430,43

87,129,665.19

" affAun'rrfl 1fr4fl 1r,1|fl tnsa{nu

10,499,798.79

14,458.089.79

llI

98,382,229.22

101,587,754.99

nnrum.Ifl1

!

*-

))

,) \ - tu - fr]tiror4ua.rdrh8fl tn pr.dnrza'r

4.

- .trra

L.!ll

3

- 6ri ,-

90,274,69t.76

))

t

*

?,

s.

7.25 qiot

[eyiauav

b.4o

93,420 ,217 .52

E.rnu

,^

))

u 2561 rra: 2660 uluyt L.JllLunL llu r,dulnn 1r11r]tnu?,! -

(8,167,537.46)

(8,167,537.46)

tllollllggtdllrtnnr nllflraurl

5.11

2550

-

7.40 sia

a{f

! q

tu oooantlULu09l:1T0uB!

s]i drd!

Rua'rorrqdo

tu

{ufi gt ffurro

2551 lrsy

25to ftnoLrilu u1

3fln0u

23,479,668,13

20,183,567,58

f,urirdrr9rnl

123.1473W.77

120,s96,877.41

n1uft,t411{?l.l

16,200,S15.13

18,039,696.10

zdf)f,uHlRB,r

2,0s7,968.96

2,729,143.03

164,925,939.99

161,549,283.12

t2lt

) - .* - h'1lhaduolald:Ju vf\

(12,226,727.88].

itfiralruf,o - afr

1,52,699,212.11

SIGN

rirz oo:rofl' :

e16

3

{rird, pir&ana{a;i{d^t.=u .

^^.-

r.*/,,#-J:

ro

r,

uu

u

rsJfi{

^,ha tfulfr{rru@,r.rrt,t . s^


6-

t{ul1nflllaTfl oo,lllcfi lt :!ntl

riu rn rvi'worouror:ntflr'tiaa.ttwivituru(3u:rx nlr

- )'.,

Btuulvr L{Lllu$snIlunur afl rllTYltu

2.59

-

trL! L5

l1'{}11UnVI'llqUr.l

J-t.

't. tin$ 01011[B3qxftmr

- qrff

iufi gr fiurro

ru

2bb1

ffiv 2sso rvna!frlu r:rrirr

:rernrlriql m tt ilcrru zgot

r.tmrlrr1rXi

t1lIJ!$

antl

-0"

-0-

u

lt

fir::eu

zrEj

noq$

)-

17,100,054.55

110U

orntsrnvdru:Jir

laror:

17,100,064.66

128,834,753.s7

2,719,856.00

140,000,00

131,414,609,57

236,210,tl.6.27

5,069,010.07

173,380.00

241,106,176.28

lnTa{}Jatn50.r L{

6,5n,?76.47

185,345,00

qunTonllrn{1u

13,839,413.69

35,728.88

484,823.07

13,390,319.50

tn5B.1olflllql.,

5,496,235.05

an.7w.7o

4,008,41

5,970,007.34

UlU?{l'1,'lLli

7,946,164.86

9,072.76

20.000.00

)to5a,iatfi[f,vqunfiIl I

{

o

,i ..u

tultit4'tl{nadTtn

.0'

606,617.00

1')N

416,461,461.80

-0-

6,713,727.{7

7

,935,257.02

-0-

506,517.00

8,496,792.81

1,328,728.48

423,629,526.13

81,M2,803.28

6,202,267.73

115,206.17

r,129,858.84

1S3,635,943.03

r2,683,918.14

171,566.23

206,748,294.9

6,166,706,09

166,352.18

nlrrl8 flnlgrd8t arnr:rnsdru idlsaror:

)tFrm'lammYq )

nt$ lt

.l a-

-

t0lair0ril5D.t

qrJnrnidrrin.nl

12,999,327.08

572,033.48

4M,799.W

13,086,561.4S

5,000,084.52

301,139.31

4,m6.41

5,297 ,217 .42

ulut{11,tuc

7.355.555.12

264,423.92

19,999.00

7,59S,S80.04

306,200319.12

20,190,128.76

795.576.88

325,594,971.00

zs,ag6,ffi.zz fr

umn rnfi

31

#u'r'rn

2b51

[nv

2bs0

fid1u1

20,190,128.26 rJry]

mv

lrnflr dro!

Gurriarfu rlanair'i

uff

!roiai{nrd1u

, A ofl un t:tnu fl rlrl{ tit'tluunn!':tnurnutur]lDnu:u?lBaurtunuu.l

SIGN "'

s&03{,665,13

u0,e01,042.Gs

rirrftol:rnidrrairflfiudoiuft

:0fi .

6,333,068,27

t, toltN6tfltLsl{

qn?

rirz as,r

-0-

iq'd,

L

#ffi#{.ffi lf,^A l#;

srGN ^r 'lXduuu *

".ffi,tdJtt'w ,rtPo4'dJJ

-Frrur'r*nt" /,_, n -r/ , ,ati*/W4 at'

I 8O 1 4


8. aou[unrn

1.. uq' ltfiillll0tlfllllllglrl]niflllun]ll{il f,urrn:r 2551 [nY

riurinrfi urirytunrriuri'6r::ur*uornflntriunr:tiu nr r'ufi sr

2550

fivnoudru

ultl

r'tut!n tnuuruff Dr{ r6l1t

c!

r.tutull tty{on{tFrloo

z^.,J fl rlJrUrqall uNusrrrst1.!!1t17161

uiidun'fl

53,880,617,57

18,419.605.94

206,825.000.00

309,269,000,00

-0-

12,451 ,070 .62

l'lll

273,158,688,19

., A

tu't" n

3l

iu116r 2551

l.rLiuviadqvralnruro Y

t[n3

nriludru

269 ,.t!c

-

v d

a

a

a

!

2550 Ui11 ]i')iiiuL:-ln[nLu

f,luulr rnl a

4

{

327,688,605.94

!

.."

" l[6Y f i l']Ullvi€rl'1t61001

402 druurflstt,lrir6'u riurinrfiurirgtrrnuiiu i ,^ ! Y,. a ! Lln ]xulu

rjth.wuvdunrnanrriuD nrludNnall LfrLilui.Suvlux\1.1t'i utunanllttnJnlanmd{dl.lfl10an d,rslr,r

. Ai - r ;- " ; , :rrro B,lrir iydntou96Lv{fu}]d'rle

.

tr

-

u

r .r

ndfl{Rniton8.iinrfiuL!1r!fl0.r1]l1{vl

4 , f r 1'l nitia rylutll

, <^ .

) .

a'rnn]fll'l]lufl l,fl ud.rlJQnflr.J rnra,lanr f,u€rTtraYlvlafllla0l s.

[e1!nm1lal

rirradnr:pir {ufi

31

finrnr

2551 rms 2550

llrrnoud?d

it'ttl

ta'Mun15n

l

. !

))

- rn]fi untloTnamrYlrnu'21lo.inu t?ll

slGN Lr

nr rl,fd

/

fi

J-lt\ , /^

py,ld,{ "';{rD

/,tDr*Wr) dt .,t,':r" \sscl

&'* *.....o-9 "

"j : 9163 H1'!

1'\

. ,i- , :PATCHARAT Jull$rlll'{ t5/O2l2566 1l:33

2550

23,066.394.70

34,S05,870.59

39,217 ,225.afr

29,391,389.70

62,283,620,20

64,297,260.29

slGN

f$-"EHaG 0]?1091)'1111

2661

S)

r-f'\/

,filfir;;a'f

' J-/


r

o.

riurifl ut;g rarmr

nso'uiuntliu

rtufiflrftu;urrdu

ru

{ufi st

i

'tro

255t rav 2550 t-tvnau6'lEr u111

I']UNE] TVE]YEJI?

72,947,235.85

17,400,000.00

q Jd, ., , Jr. . un d1uYr0{n uogll"Jlltl lu14u.l1l

(21,825,000.00)

(7,200,000,00)

riuri6l:cu;ut ru

{ufi et

fi.rx

drai

rn

51

2551 mu 2550

,122,235 .85

10,200,000.00

xB&1fi6u{6utwurrornanr:iurl:ttudruru

3

r':tiu

o.l1.t

-i.

ludqir! MLR -,r.rl3u 30 61u1nvt 6or6lnnLilu 600,000 t.llvr

-

3

nD

)^ I

nlfluo{rrY6lUl.:U0]ULlJLl1UlO0U IOAUAI

$r:0 oonL!t]rrnoru

- r,rriu 18.42 druurvr fiooonrnuluoq:r

raSodulurdau

i.n.

l,[,It

qiofl

fidrflofi:c6ur,iuduriaNoanriul#

esss

b !. ) ^ .!r + ' A oo - 't.ti{-L 51.25 drUl]lA .r.!rnOAln1lfl]drurul rX Lnr.:fiT]{XUn!fltl1Lunlf tlull14.l14u.l

oanrf,trluii'qrn

tvr.n

! qv c .!

,,

qiafl ,

lou6)rriruru,fi.:usii# r

t

wial:oanriu,riraiafiuriauraianrulurfiau

,

ff

J^

-r

17 {1.a. 2557

rflufi'u'lrl firirrauorh:c6ufiueiu

.u. zssa

.

,

;

".i flmr.lfl{uonf,x.1 rTul:lii oinatl?r,lsr1.lol1hvauLourot

A

L

tnloilntfllu

q

t1,l[Ul8{1l11rYl ttfl:?lou .ii i'! ra.rnmunr: mt'trilnr{iltlrvfluflsnnfiNnrrLnuRlnrrfrfiurna':tluuavnr uld qqt{0rd'.:nrirr .i { , )" Yu u -;, x5r+vtrJInl:tfl vluyroo.t!0:Jslfl rr] tilou L10r'r':1Yln1u14o t? t1lfl ruq l

))

o

.

in1mflrmurEtm

I

))

lc , - r t,d - , - 60fion[utuaoll

^ lr.l l4sn$vnu Lnu[.rUlJij lyuydun lnlflnnLRrRqn]TflrnuxlaiRu[ou MOR+1

rz.

Iurtautr, flqtnrnu

&Rl u6firrnr1fr'rffmpooyrcLiuul,o.rlifiyrqrnd1 1u 160,000,000 un r{unv to urrr) rflu tzs,ooo,ooo uvr (rul.rrflu 1?,500,000 {u Xnrirr{uvirr6rt lftirrff#ffi,$"| 'L'-::=lunnrlxqrimeTrgffio{u rdor'u{i 26 uJuruu zsso uaciud

18

zbso

(tuj.uf,u 15000,00y1!+$-.--

rfirrpfrrn*r:'xvnrflnririaiuii 30 rplmnlr

2550

1t,-rF*-H;Amf,;diTdJ.

rirzoo:rrfi:sros {rirdt6.itâ‚Źr/i,ixat 7**,t1u,7,t?'{,i's;6

-

/-

)

tu*',T*

,y* Ih tr{_,;mf


13,

d$|tqlsoauuu ?? lnnatllluurituavnrfirri Grlvnqvdoli'od"rriudr:arozitfiau{aunv 5 talrir'l: qr6:J:u.ir,:rartldlarnfinrno'4udvdranm (tirfi) qun'jrdrmld,lnairrfiriruruMrriliolav 10 ta'!

oll

Iuqolyrvtiuu dr,:o.lstlil.rAvlrtuoiindldtlimMlnd{lldrildluLiuiluHnloi re..

nllrdsrrrndefl$luldttu

cirl: lrvryro

auY! ' ' 0 'L{"rfluroia.rfialunrlSrtr r-i*fl 16qnaiIldUtlJ'l11ut.luq]llfi 1.r!1ctrfl fr ')'lyu1tfl

".'''urda.t

uooolm6orardqtguruLtusl:1oit'r :vuYlorirllrir r* t'ufi 31 fm1fitJ zsst ti:vnaldru

f,n8N

15.

enruanul6us

q1$lu$utftr0

rxruruflx:ru'l

531,625.03

nriuqar,riryr

391,487.66

naiuqauirgr

1,W3J73.28

rl4rutufl lru'1

536,553.06

1trrffiun1uutl

t5 vr.u, 2551 - 17 n,11,

2551

5 D,R.

(ulCurhu

dns6uoarirrrjtctro) 2552

q f,.a. ZsSZ

35-0824

i5

082_4

zs r.o. zssl - zs fi.n. zssa

35,0824

-

35.0824

31

[.f].

2551

30 rJ.R. 2552

i-.i -I rlri {flt{IgEiuafl ffDqmgl$ ru

iufi sr r'utou

zEEr uav zoso

uifirfiradauiisrorfirdu 6.d

r nr:va.lnviuarnnrrtimrormarmrilfl !

arlr:l:rfi*nr:1#tdfl r

r I

-t r a'r BFir rio airlqtr}.tfirlJrUt mrt Hnr{ufrqc6'a j ,. nrrc4nfuqrnnr:ritdrgrgrfiotruriuolqir$JrvrYlfl

r

n r:vtnri'ufiqcoiordrurirflt8vr{mrrdrgrgrfiuffir.viludtorrr'rSoninruJiludrgrgr

.

n,rr.lnn",rf;lrlrvdu:cudtfiu1unriui:]rrf[fiut{olfi'udrr,rYla':rtu8urdi(fu$iiu

,

6h{vfil

.,6c-"."il -rr...ar.

240 fi1uuYr

,

tq=:/ re. f;ryqruariraonal

Seal

1ur6aufiurnu east . u?rin'ldririoonn'Jdo6.rlalraurilrirrasnr:u'hdfiueo.:tliffl

ffi,rri

mrfiaflarl,irfio dr.iru'alvrlurtrlo 6a'to'lnrirro{1u:na'rr.rcirtfiunr: SIGN

ttvttttdt

4JJ-Ilt1*{*":R"1rd

f; /t"r-r*fr*

rirzasr:ro' : s r o s {fiuvf : p*ucHrrnar iufirir

q:)

SIGN "**cccruriulrcccdr*dd*d..

0"1ilr'

yi tstozrzsss Lt:Brto4r,\S]t/^

*

L-fr^r lfqtnl_S r]ffinf


ra?rn:rfrsu

E-EIE_E _EEEI_EEEEE E tluu .uo.3

(!!U1ii{n!n1tr'51ilhr,1tro.ln1n.lta.J'}rut:r.i1Jrlr:1fi

! drxiorurn-:tir. E r___t

-

r (urx fi !n

- . - nIno L l r,\1,rr^urt lf fia!"n".i*,r,=lnn

-

T___l

rrlnr',1 l-

[] fl

":+,t.,,i'. rnrrl?rlriitr!!r:rroiunrn:

fi

nnnlrf!n1)n,rnu1:uirJlJr:rnfl

I Ll

tsxn:(iuu

unn.nr-r-r; r?t:'rfi,rJ tlr4

firino uuri.r1llnl ir o d rarii Jt*t1tl rirus/Lllr]r /

3,1)

lirrrr1n.r,wirrlr:ryrnlyu,i,;"#

-- )fad - - I ;a{n

lia lrrurutru

('li

arry

roU

?'{ft

ii1$o/!!ql .'

qn'r-t

qi !

og ouu n?0t?l?{', Iy:

rtry*T nTr

tlr:11d

--

r-,rulih nis,6?d

t o2-721-6599

EElElrgtrEEtrtr@AAA

raa, qn J]uurn1fiDnlut-u, o:anrrau I drrnoalo

n11ln.Jrlr l :llnr:iu r i

fqi

1toufrytiuoltrgra

I

th:

r.rr"..:r"l,-,

,r1,rrf;q

fli!,rnr

|

*""-fr"

i'rs1u!31(!1Y,)

sr

622

rirl:rrr

n

yru

391,391.63A.55

tlLion:,n!x'125.0.0Q.0Q9.04.

.rrr

,ilulsrir

(urn)

53a-51A.12A.38

6cn*rr:rra':

vhrr/il{ rr-rua.lrrirn rrnlnr.lglnnfi

I

(

}iilhuniorrrD:!?niq'iiiru,1r/n-irAo,surhriiqn.1rqyrfi

i"i.... i

P-...

L-qll']

?

rni:

1..?I91...

4-.I]!I!g lunrAiiHAMthfifrllv-t-xilijlrFor1rfin1in!ntr::si1{ r:,narali'lii"R.iJ(uue.rr.rrtuiarirrrnrrriulnirro.rirldi-eri.:udrlnuiiju f,ruS6;!6nrsan

rirzoo:rqfl': 9163 {lild : PATCHARAT iufifi $i lslo2l28s5 r1:18


rltrtnnrrfir

I rnunm::r nrrriei'or'us:nr:r]r1f E mrn..$no,ri,Lft:,trn,rn'. I

nrtarrir rrrrl6n

fl

I n-r::J::l: fl n.,*;,

nlrdnlrn:d.1rirvl

f]

-.-:nr*r

D nrrrrrjEn fl l urot'rlnfi. f];(ilsftrIni ! m:dorua:rJr1.:inur

nr:riaa.irr

n a'tffi-nd. n n".,,,1ndo [;"rnulo.:t

Iiu.;

I:lrr:lte:n-nernr:

d:ner{r,lr,rnr:riu nr:lr3,r,rrrnrnr: un:nr:Ja.rn_,ulj::rnanrrariunt sooa-!1irs-tnr mmryr ua:e1

r.

rrxntfl ullttr']lta:o1Lul]n1:r1Jrrnlt nr:6n:*r millin1rn! !r :.J3n1ra"t nl ua"uo na dl .1 orrinrrr:rir,rrl::rrsun:o:rinr:eirrrJ::r,madl1 Lra:arLrin oKrv

alal tn,rr:r,i

Hdo o'lull']U tlitOAfl l{nnnnratltt.lL,6al lhia,rrluti$1r11

ss

o0

Yr

[*,*:

ral5ltolmm

[]

trtrDtrD T]nnnn

2.

riraan

,a

3.

i-ru*:rir nttntan.rr lnr:

tatn:rirt rms6r

Lnrm;lnounaunniirn :!n!u1sfi:.h.1nu rotdE{rirrirignrEarnr ln1un'nidUnrs1llr:,nsLi;uqonirrnyrnu*1r,rr:,ro1flui - 6tunnn'i1r r!!I7 " irnrilrn-1e1u,l.r:!1Ei!'6.rnt

rlii,!n1not lf nrDnrr'r.u{rl!11'-nn',:y-ii!t",ii!"r"ri

J'rrnrqiAiiJ'!tra!

ru'

r1s-u,i

n

1-.r=qrJ::rnn+nrirl,:na!nrm'odhirtf$n1t]61n-um11]fid.q In!rr-,'i4o!,!r,

u{rrurontn::l irotnrrnrir

"' rul,rlo fl

r u-rrjo un:n:enru6rr6un1{i'r-1ria ern1,:na, d',nip ua:! or,]uln'r1u $!iu6r nr dd tr{rfirv n1!l:l,imr1lli, r:!1oni1o-rr ihuiluio !ln;x

da5:rA! linronrti,66'irliun11,uoui1r'idrinnio

*.o*.s"'r,

0

r

I,Aruin:rlr:mn

qn-nrnorttrn:i;dHuar:lir

r

lunt{rrxerrum luirrurr!-nr c oriu riorlunr)Gn 2 p Lrfiu4in1o lrii*lr,ruf i.i a slj! xr-.!.!nl,L!s 3 !o n'fi(nuiiai:di1i:R.!mu::r'irsrir:Lnalndruuu I

rln 3/!

ilu.)u i ,s

:. :rntisrdrirun},m!$ruirr='r-orno-x -!ildr.!fq+i.ir!iaioi-luqn,,orii,,rfEs 1.{n {1 nlirlnnriuaniradlJna! 2 to fi!tr1;rildrrr.o!ixouiu!: io.irrorfi'al nn da rlr ltlidruli,h ml rnrnt nr 3. n,'d!iul]ilr:'l1riol!a-':11ur4a;r "rrnr:Liudt;i,"'.'ii..id)t'..{d!1qim!"q nii;!fi1' uRaioiurlo. rratr.ir:ldin{i! ft

!nrrrrrxn'1:rhr1!,i rL!!nnijL rirl6a*

1_

mjnronnunl:luu!,rr1iiir, ..i. o,rCn1!Ae:iuur'.n,).rJ!;r*olnlyrr-nJ1ui1! r:x1en41,1!1rro1ru-l ,-1Jtu'hur'r:rirq i6:lnn6ii{J):(nn 6idrir!nFr! *ords,unl,flrulula s r6a! iuujtuflifqi

'!!riiu0ln' riJnino;ri1!nr!r!rlrtru*olr-eLinnrr a L6ofiurli1-u1ifq6 nnlfuuitnuJilrlrriu ':qdsdLiooqn-ir:rnrr3uarulu so,ooo rnr us;iardHUnuiuniulx 1 r{os tr-uurtr-uil6:-uaurlnlrniJ::gulrni

2o.ooo u1h

ra:ni.rn:rrnr,rStrninlrlri*

nlr1,Eui,rnilriult-roaurun1:Ouilrrilt

rm

}'rl:-! Arn,lrlr]lAu jo.ooo

:rinrs:ljr-!i-idiu.{{ini:u}1uir

uuurlai{{umn]ldrt lrtcu !:n,ran:ufnu1trrnrn1'o'r riai ufin'n

rirzas:rafi : er63 f,rfi d:

PATCHARAT

iufili vi rszozzzsss rr:rs

a{ua

n.115n1!raB 50,ooo r,l|a

=tinr:llnrriur:nrrrit

(ou-r,ri st n.a. zs.rg


rffr.rD

HnalulTbh nTnu t{TlrJftfl itno

iufi st ifurnl zss: rmv 2Es2 o-rirltrrorultai{uudo,ln.rlr dluLnls.l drura.r{6a{udrril 6uqoiur6u:fiuaalurinviroru3rin narri l.r:rfioH .irfio 4.r{rirr:la.:fionr:rflu q "Y. 4TUr.rOSOUnOn?lUQnflO.rllniOlUn?ula.rla{ff tuiunl:t,rutl,tallr d2ur1flrilr u{5ufrorau [unltltdo.r {rnr{rloismcdarJuqa nr

nrrrt lfi usio JUnr:(3xd'.rnair:arnHnnr:o:tqdaulalfrirrt.tl e e!{t,ae. -r,.1 - -)- tula$4? llvttor tou0uo.r'ruslr:a(auenrrJt0rrllunl:fla urun trJ i.:ritr4uo h,lrllrtalna{11.r$.tu[fiv

.i.',r.

)

:,

m::J:*i n?M.

'l:ara

a,rr

e

t

firifrrrurfialf16'nr'titLAoliiuod't.lfityqRa,jrlunrrGu*ao,:i"aa;afrioeia{arfinoi.r6'urflurr:vdrdrguialri n ]rslfla f,aufl:J6,: nt:1{i6nrrno rorvrdn5rurJrnaun u nrrfirfr liudrururiu.ra:nr:rio rw u{aX a'luumr:liu

i'nnrrfrgifi fio nr:ldunvrJ::;;r'rnrn r:rdrn fiu:r unr:mrlnr{ir.rfi rfluar:vdr drrfu3ur:rflr.r{t'orirtueaanrunrr.:vrfiu6.rnrruryuvd*ta.lnrrua.or,r,,,#.[.rfir.,a1uunr:r3*1oa:rrr

nw

t

)

,

.ee

ia

rllrYa2lnT:g}rAf,AitO.:n6],t LuflaflTlfl,llLtnulauNu4tJ lyd}l

.

l

6'rg

q

n15lL6lo.tfi?1xri1{lanityir{.t

., ', tllyrirrfrua l.JUn'lliiu{rtdufiuso.rgruvnr:liu ot i1.ti g1 n'u?TlrJ z5s3 trav 2ssz Hanr:rirrfiu,:ru rusvm:ul6uuu:ln.rdrura,r{6a{udr.uiriiuqniurdurriuaalusiacilra.r e .i r . .t! -)- rlJ{YirUTanm qnglA{n'lrlT.l11 !Ufl11v.fl nlusl-ttJxFnnt L:l

B}fl nnerl rrnfiod .i.rfio Iou

,%** nNrYl11ll14lun: 1U?t

.

.j

o1zafl5'laYr

:9163

7 t:]lJ]All 2554

a

ir1.,rrJv,r

)-

" : PATCHARAT luavt8Jl,t

16/02l2556 11:18


r'r:]n atrtrl lstriad irfra {r6n

tlt]flll

$r 'lult 31

2553 rrs: 2552

euufud

t,t 2553

Sun$rdnryxriau Gudottnvfl unr:rfr urMr riuao

gnudnr:dr - qnt luenumq 2.2 *az 3l ?urirnrry6a - qr6 {r,rlruruq 2.3 llny riun:rpr {uJ]rul.laq 2.4 llay a{l-lyl)-l^l

.: t114}JuL?8uau

4)

1,792,289.20

955,470.81

87,586,209.68

73,295,636.01

134,905,868.45

135,522,m4.14

-0-

14)

29,749,958.36

13,317,801.40

22lIdillttYtlllflruL1!

237.602,t68.?3

14,802,787.88 254,326,060.19

lunhtllriuurrilu ;! - (14:JtuL,nE 5) tJu tnrutf)'r'?isront:yn11ltytiu iylou 01n1:[rnyq nrni - qyrt (y lulual 2.5 Ltav 6) fl1-tYl:T,/U lliJrJol?mu

!.tl' fixslllryIt{g

4,315,766.60

747,603,95A.27 172,2593A9.A

1,869,745.01

- {Yls

ulr{r{?un

'rzrEuniuri vrJl

u

l!!qurvna!i!

178,962,309.86

391,391,638.55

433,288,370.05

)

^! m1.t}llLlu6t1u'I4t+{1a.!nLnTJ rnuu

e

J

\

rJ

/ulr.roJJ[\lv [folncrsE1r(^fl \. ..... ... ..... .......,.,,.,...,...,...,,....,.-.,,,.,/

(.........................,...............................)

nT: n]?

,

,,,,Rffi,-

ETtr.} k",..,^*..+e

!tu,ldq

{rird

2,479,612.56

153,789,2169,82

orqoftoi5uopifio,nfir]:ryiraqjri"6o4'ucrlr-ry oYsi. 1. 1159.+-.... riar;ufi

g'rzao:r'nm' : sros

4,283,307.72

pafcuztn,f.| -r-rrfifiui rszozzzsss

Nlr,,JNT

rr:rs


rrifi

n:r, rt rsnfind drfie .!u0a

ot 2ttfi 31

flr,r]a

2553 ttng 2552

2552

r,tflSunrngi!u (iurinrfi uriryduaurturj'fillarnao-ulunr:r3u

(14rJr

urxcl z)

LqT4 nr:fl"r (14:J1u$4sl B tlny 15)

l'!u{61'::avduarnqnnntmvfi anrtfr r6u':{arfis (M ruruol

J^ ^; lntdunllJ fl rurur Lfi nl: r{u1lnTUn'lrllotf ;a.

r,I{|urJ1;ugul11.nnnluuof'tlynIr lu}

J-^)

v1-tf,1-tl,tlruLl

)^ 113 Lu}ll.t.tlj

)^

N

(Mrlur1rE 9)

uuBu

I

0)

39,O23,322,49

83,675,326.26

56,14S,819.07

89,050.799.13

7.000,000.00

5,500,000.00

447,692.33

520,708.06

35,807,,188.10

9,408,331.14

14,317,497.09

,!2tlt,$st$rlllulslr

152,785,819.08

11.416,083.71 1

99,570,248.30

*if,ulllrr*irt t

i'rufi orrfl rgrp rd.rnlrriu

339,908 31

t:ulu'rJUJUl?dn1llun]?t:u

:- {, t2t|it uf, tl lt|utJttt2ull

(l4tJluly91 9)

It'lrull(tt

r4afi"1ffiapr'firrnfir.t:vq uqi{6ar.iua

r:ru o{m.L

624,772.97 219,470,707

207,422,520.O9

220,094,280.Ab

360,208,339.17

419,668,529.15

lt-q.?-q. rija;ui

lg.

..i

\htufrr^r

,x*g:; iirl{rliirri r]:l

;

" olzao5lar : 9163 ,.lv,llJy{

a

)-

nl't

" : PATCHARAT 'iumY{lll,'{

(.,...........,...................................,...,...)

m:r.lnlT

16/02l2666 11:18

-8

207 ,042,611 .75


uf:f,i1 ltt'|.]$ tdilrlli( e-rna

{ll94 nr ?$tl 31 t1l21ar 2553 rrn: 2552

#ftrue:dr*aov{fi oriu

(eia)

2662

d:ure.r{6ori*

nuria*Sr Iua9lruriuu-tuffirYru

E uiu

17,soo,oo0

,{u

{adr{uay

:na

tzs,ooo,ooo.- rlryr

.

m.ryrfr:yrral yudl+lqalulu t7,600,000 .,1

10.-

ryaeirriuav 10.-

rrr

1aH

rfluriu

175,000,000.00

175,000,000.00

rirl: tuctlul tt:sl rir't:arar6'oa::u{r

dr:awrungullu (T iunlcl tloyrl.rf,yd:J

rJ

i

lrJ

9,000,000.00

12)

(152,816,700.62)

lonoflT:

:1r61tlg5{ onuu nlrudS*unr&uro.r{6oriu

xr.Jl u $t

(170,380,1s9.10)

31.183,299.38

13,619.840.90

391,391,638.55

433,288,370.05

Dr^

,t a.J.fl glutvn a:J,:!n1lr,:ut:.lqd1ur.1u.:r ^2 nmr,,1-tu

.uqudldH,opY6o',ndil:uquhdq'6ar.fua.,,:ru

9,000,000.00

oYod 1 1115-1.. .uiia{ud

zo

INJ'rJ\.| L55y

\th,rtfu'

,i,le.{*} ...i".:ir$.{"'\:; nt:-r{nr:

"s cirzao:rofi : sras

r:ifisJd : PATCHARAT

ium'firld rszoz.zzsss rr:ts

(.........................................................)

n::rrJnl:


llT[ll ftin?[ LqtlltFq !1na ,tunl lr!19r1r . --l J d'lu1r!J:J($da2Br1 31 !u21i'l 2553 ttE3 2552

2553

rrald lramaruq z.r) :tu}iornnrmru

532,162.584.00

flu toau

6,355,5,14.38

l:rttrrrld

419,965,871.30 19,579,7

43_O7

638,618,128.38

439,545,614.37

47,843,718.38

356,603,349.74

55,677,477.12

57.994.761.41

irldd, :r (vlrarvsl rs) du4u,rtu

eirl{drulqnrfl rarta:

3fi

r:

-0-

morluorneir Gua*1u (ul'tutyql 14)

m:rir'tdiru .l

n1 Lln

,

Dllallrllt1t!n]f tnu

#urprrrlnrrriu

rirlt

prar,lul

{ni

vrJ'laL},lsll

503,521,189.50

434,752,0A2.80

34,996,938.88

4,793,531.57

(77,433,480.40)

(20 ,221 ,896 .06)

17,563,458 4B

(15,428,364.49)

;

^i l:3nalJ{un1:r{uuJudlu14lNria.!,1un11ti].iu

orqo,itdi:rapl6n',nillrrq*,1uq1d6ariuarr:rg oitfi.

i

20,249,571.65

ll?:Y..... . rdoiufi 30

D

/4-421-t-Lq/ez14

/Y,.r'q

'i-1-1-'

0*ld*

,r.rsi; ii*di*it'l i

6nB\ '<l==:*Z-

nfi:Jnlr

.j -_l- , " 012dollnYl : 9163 t.v,r l^ :PATCHARA1 -rU?lv,rlrlr 15/o212665 l l:rA

(......-....-.................................-...........)

fl::r]n]'t

LgSr+

y'


-l

uiin nnzri rsmfie{ r'rfrn luumn'nt da*urJsldrulol{6ofr drnir'rlf,*qfiid 31 hmls 2sss !!as zo&r

'lutlau

u

fialud3dx

#dr:;ufre

tlaillflul I movudvrii

uonhrtluao

nltrflrnl

utYnâ‚Źu 2552

175,000,000.00

2552

3t rlrfia!

2552

175,000,000,00

2563

goefi{t$ao 3, trtl?lar

2553

175.000,000.00

)

(145,951,794.61)

29,048,205.39

(15,428,364.49)

(15,428,3M.49)

(161.380,159.10)

13,619.840.90

17,563,458.44

17,563,458.48

(143,816,700,62)

31,183,299.38

^t

D**r

14 1ULyClUTyna!.SUnlTNqu.lUd?U14U{1a.t$Jn11rnl-lU

'.;.;-'

5;raGh\ \::=:P/

t .r......-

$,*ldh-(

ffiii;;

'r"id;i'ilr::; n::irJnla

ri1asr:rofi : sre s

rlfirrf: pLrcllAnLr iufifir:li rsrozzzsss rr:ra

I

(.........................................................)

nt:tJnl:


ufltlt hllllt tdtlrid

Q1fl6

xtnl,$BtJrifl orJ{!mr!i1l

dr$i!fliurailC sr i*lrnr

2553 ua: zooz

,)

1, mriltur$ltnEfllnl mllrHeall uSrlvr

n'lni tsttfln{ .irio

aon

vtiuurfi uuirivrirfioorrnnrurtirutiaiud a iqurau zs::

Iouiddn.nuluqjefuaqjLarfi toa taa.iorurnri 69 !!'ir?{ 5cr'r., rlorl:vnfl flinlyrvr l !

)

l7 oi'ruarlmqr fl]urflarulllJ :iruaontr\l (9lu

xt

rl.raHralt 234

qod]ynrflinGam!{1r,11truHhcrr'nrsTlxnd

Jq.r

i-.a

- - -).!un].Il,iutriolilruqt]rJ14 I Lll lq anaql]&n annrtltaui'}1iuio.i11 j

louSaa

a

) -.^ . a{, tnfliw tdau:Jfi lrrflraullR:n]5'iliil,lun:uutuf]r!!rnnai

3f illr?ro:r

2s53

rLBc 2552

.

lqq!:ldlfl

, )

- .,.1 , - ,,1 :1.ln o{vlulrfll Lunun'll t.!u ol 1!l?l

r6l}nfia{4l1l]o1ua*a]aq)rJ:tlrru rsz.gz 6'ruur1r l!a! 170.38 6']uuu n]&drqt'! q,jfiu,rr,.ru: ,urrir t

rsiariia,! uavot,lr

nr rrnlun]:is'ur

lfiwru'[fi.fi

o

lEnauElnl

d! }]el]1r1'l nanlal volluun,):q oll0n

orrr n rrr:ntunr':o,i rrfiu.trr.sia tda!1a rui tiaiua qir

iun: rnvL:.t.tu

) -a anqolvla

r soi lfiu.r- uff

6adr

n'r'trtflrr t:nt ti

a roi

ru:.rir',',r1ur

t:

urrutri aml#lun t:ci- tiit-urrula.:

uii?r

r

.l .

rd a{!fl1ll{tlll .unr:Gutoruirido'rirduoruud'nnr:rJqfidirraolir't i1i1url:ctvrfllyru

2. lmllrn1l

u

s

vNrq rr.rBnr:rlru 6

firirr,ruoloaaarimfivriryi nru'16'nr:rrrlqrflo^nrrirud u.tt.2543 r.ri'nnr:r]qfdrndrrar ., .l - -J,x tu^LlllllulYlfTau unnn'mjql!11'r

anrinrtnrirui ldaan rs roqriud 2tl2550

-- ). .,l'lu'tul'ullm5un'1fl n1'uqlgalu?uuJaqr.run:Jqrrlill auiufr

z un:yrraGuao

errrt

a.!5Lfi 20 nm1lnrJ zsro u.,riu'r:rirn=uliNterrrru

o

UJ

(i;u ll

+jriul

2552)

,')rfi 14 nrrlduaiaHav]!nltriu,ir!!unq'r!dlu.:'ru

fl1i1

o . o

oriufi

za

nr:l

orrun'a1arfirnfirunnnraiafitm#rfiu

ri'mfi ( iJ

qIJufr 27 lunlri.ru::rtnv.runr:l.iuraurviqnr: (J5!i:.r .

l.r

2552)

2652)

l iJ T.! 2552) . +u"ufr 31 druldrfiulunrrhrir i ilJlIr 2552) .,1

arl:rfi ze ri1ra.r4uluuiririr:. ._l

r

..) qfii,fr

. qri# run

so nr:daad ri,a.rBuvrilrrl

(

i!

i.i

2552)

toz n-nuao.nunr:larmr orauioXad-laiira6alionrlnrr(.r-u f i

( 5ilT _

' l1!-Iuiaiui:lrl}i[6n4 ft]dolMiadltlllr8lll]lsrrlunliJruar4lLtuoqurJsll

H

^r \ilwffi.{

v-sc,/ '7r

o'rzasr:rqr' : graa fr14&v{: PATCHARAT

iufitixl,i rszozzzsso rr:ra

2550)

llr:nlfl1'lloru


+

r-i.

.r--

-!

$t!l!n!nlfir4ixd1firu6?J L6a{u

2.1 flUllltl]!l 16ua!n1tr]utln61 tnt']ll r r a !l51r7l y n rrf]ll lonlnnlll't![ua-lr^. Lo6lJ]J01] lal,lfl'']'luralr.J.iL.ayrJaslourrylula.ln'tl ..b-

tuu.a'l1a!

e

,,

nu6] tMltlltllla [h'] -

. ql

u^:lirl 'r iui:ralqi6urnldrl{.iruou nrurl,r o6r.r

ax.lul.(sl i{ql : v if ii 3 , ,,i : -rnunluxuMullolol'llllltJn[f]l ul Loltrlnqnuu Yliulouyiamnrl ualj hrFlr(au flrHuivf,rull1 . ,r< iq - e lnnl:Lirjnmr lna l1roo,rfl2Lnn! nr11râ‚Źrt]w!{lll:n]:N'l-lu l1uufl o{E q t'1rtuluntu7 LtJ

?u6rearu6a

- &r .udut]o1urro1lu -l -: -{'lEr1llnaL-aannDu) 14ta{afl'lf,l1Evln]o2]lY u5*rof]alduarq.rrr4aa lo-1 rrtaa

2.t

tton

6]1

.:. Loa:ro]ft11

lult

Lau6lt{ttalu

auFn'yir.llvusu'rltilui{i,a.:4uLuqfld -,_ q

fl

hlrtdon{a

Xneh

2.5

F191)rJrt

riuarlnmoa.la

l^

xc!. nrnf

Fr

tir.:

.ta,. qj tuo'r'r&e

tt4

)Iu t.nu!iuu,

x lNa n

tu.run

a.ln'rr9a tqa'to )

a

lfi'lorlutrla

r

fl

ltilxul

uxrn ur.iua.irlr a

i

tJr:un!4u trllauJa

mr:

, ) qunr ltarBlt{illlal

,t-, ,.i . fr6ulLdo.! iu']c ttu a ln ltuavQUnloittdo.l Lu1rlo'l4u!1n.ivnrllLdarJalolaluflrlIa'] . aint:ttaiq rnniBdo.tlurto-tquud'lfindrLduu.lot*ralrrn'r rirtdol:rorrirurruoui6 r#uorrorua-qnr:Bl,utou :ruortarviuitu tiuLrar s - zo

- -,ia rlunlirlqli?lrllrllarl9rlcl,rlrrtrl11t

:ranr:riq4firfruriuozrcir.,:rvrfl:rv'j'rJflrrlalrirtflutiuttrrrfianr:iufin:irgiorrtdolr-r -)

rlanujauu

I],[

)

!^.ia

lufrrhorrunla uaonnltrdolaiuuilu?it ...1

rulalfil! u._ixurvrd?uiiclrt[RnlrdLu r1fl Lolu5nft t lta 2-7

n

]

u [un]1ql-t

:

^ l"tjuo'nrl!

Jq

rYrvrrl lu':ui4 [lnuqd

- d e ri r lrx r.rn l9lY!uQ]na m11(fin [u auuuur.r luu tu ']uuu .{

,.,i

tuut-nru anlj

rr'tfi J*lrrrrnrrtrlri{i

'lr.rn

rriorirrunr:r3ulirfluUcrrua6'nnr:rirgifi:ariri'r'trl r.l.tauEvr:fr'a'r'l{rltprornrrttav ,,i,i i.,,, )r t! ^,l tJ RnrvYtuqailu')uLlllYl t u{'lu,l']lnu?nur'l u ltri fl'ltio'lu alu t:,n)l inlJ

"-. 6t1af,&]lqtStu

I

.,1 - ^ - t l^ ) J- J -.1 .l euv!irriLLa:r'vliidu !16:n t Li:lo!HunarJarflulnudur1?fluJnvMuduTlililnoiu.dnn]av.fo1u111 " . t t ) ,. a)a[enei].!i, qlnirurufrrlly r Li \./\--\--' !-

\gs.-cl

dy,ld*. " ora?tfti rf;ldriif;=:

(.......................................................)

nrlln tl

.

.t

o lzdml'l{vl : I I 6 3

,.Jv,t

tuvt : PATCHARAT

)-

.

luYlTt:Jlt t5lo2l2665 l1:la


2-

3. $lirrmrml qmdnr:6r r* {r.rd ar fflrrnp zss3 uai 2sE2

nnM$mlnl anv1lm'fl 1nafl 1'rmu']1rE.!fl

1l

w,462,33A.?9

70,356.362:77

8,291,408.35

11,106,80S.76

95,753,747 .t4

SaLl

rln

rynauqr-ru

nirrdarada.rfl

efltft-nllfil - a

B7

(8,167.537.46)

rn:qtg

(8.167.537.46)

87,586,209.68

fi

,463,t72.47

73,295.635.01

?*dra.rlu6a ru

i#

cr

iur

e:.r 2sE3 uau 2s62

:hcrauoiru

16tnou

25,096,957.74

dufl'r6{rrrnt1l

1',l3,039,S07.92

105,426,453.51

,l'rurv1411n?11

-:.- aan 1a{oduL tizI .- . i - -- xn olrnaduolalfixu Sudra.rru$e

22.601 ,970 .39

- qri

13,423,6?5 64

10,455,O87.00

3,185,469.44

1.651 970 71

147,132,596.33

147.748 536 02

(72.226.72?.881

(12,226 ,727 .BB)

134,S05.868.45

135.5U.m4.74

J-2,5. l{lu,nn!1lln1tfi g|an.rlEarlur!fltl

lirrltn

:vii ttasnuror:vrrfirJao.ruvi+iru:uGu:tr 4 32 Alt-llt11!

:- rYnunlt L{ tv{t'i-,ltlaitnun!.lr.l nl

.aa-

N,,'ldk n.,:,.lnTa

J

)^

.

" otzost:'Javl : 9163 ffv,tuYt : PATCHARAT ')uYlvtril,'{ 15/o2l2555 11:1a

n15!1n]1

a--)

Llfll

lu,lant lSYnllLvla


6. J^61r OlnlrUAllJrrIor - q iud

6

31 D-ulrnrJ 2553 *aa 2552 r.l:ynaroiru *rcro*r-r:4d Rr 31

hr1ra

rcn_irlil

arn-urrTrxi

lrr

tlJl!n

2552

;$rcrJ

nr 31

255i

f.1Brrlr

)^

Tlou

-0-

"0-

17,100,054.55

arnr:lravdru ird:rarort

197,709,099.15

1,356,028_55

LO5atAnSttaYA!]n50r

35?,7 4t ,255 .26

5,450,909 36

)-

^ - , \,,[{ rnto!&atflmi orln:nififiruru

.i,

tflto.Jgln

lltN

0 d,882,599 82

17,100,054.55 799,465,12?.70 353,309,564.80

7,563,455 25

438.524 09

27,'730.71

13,698,008.82

73S,165.85

4tn,645.76

12,489 .27

393,248.23

33,461.68

a

7 ,7

7

,97 4.248 .63

13,986,528.S1 ,072,275 .42

t.l-1u11-r14ut

8,621,203.0s

138,?57.m

34,500 00

8,725,460 05

.:-ru:::ra'itdaahl

4,253,494.50

4,981,610.O4

7,188,S59_67

2,046,104.47

12,61?,937 .64

610,27S,365.33

609,399ps9.85

13,494,243

_12

itdurte"6*g, aroralatdru:JirrJlarnrr

118,216,312_44

rnta!nnSrlaYaunlT[

284,305,371.55

)-

lata{!atn'ta:

q

9.561.33S 0B 20

'0-

3A2,076.51

4,475 ,',tOC .14

tg

'7,742,228.71

168.508.74

12,e75.49

nmid.rfin.r.ru

127 ;t?7,65',\ .52

299,72A,747 34 7

,297,a61 56

13,361,214.08

266.800.6-l

450,591.76

rfiianq fl[c1.:

? n7,462.91

1S9,858.10

30,349.68

7

u]ltulltuJ

6,836,080.58

423,954.71

1B,282.91

7,2&,752.39

l?,r

437 ,139 ,670 27

3D,927,537.A7

5,39r,801.02

462,6?5,407 12

sri

172,259,389.58

i^

:

-

)

-

.,

13 .L77

,422.99

,Mp71.33

1a7,603,958.21

vloul^rlarJd.l nn dTr.!Lrayrn).tnan1a{'tut14ttt L?lLlluu6n IYnL[,lu.unLnn!ru1llld:it.!unur:iiuu

u11!'lnflnlllunt:!!u

Wld* nTrr.inr:

.

i

olza0:'lay :s16s

tuy,l v,l : PATCH^RAT

q

-l'luyllil

?

t/,1

16/0212656 11:18


riurinrfi*:iqiua:riurjiarr;uv#uo rnanr:lun":riu

nr

iud 31 fiu'r]o,] 2553 \ax

2552

:nardrr

mrulu{trllto-t:

l.:l,uun

3A,574,762.49

46,8A4,326.26

448,560.00

tnuflutJ L$,{anitoiocl

-0

,ierrornH.grg.,#aaluriusrlsir.r :crfla

39.023,322.49

u

ilfi sr

36.791,000.00

-O83.675.326.26

fiu1rnrl 2553 tray 2552 ui]iri?.JrirrrinrffurTrgd r.lriuufini.rrn:6o uay

rriiuniaciirlrnrtrnr, rflu'irulu

333.66 {.tu 'lyt unu 2s4.30 {ruuryror riro':.r riurinrfiurirgi Z i ,-. rtnyrflrn0rJ:yuyEfiraln{otuurtll:uoinat2 L!t:Jutnxlut44utluu Luhlflr !rav[1^ta'"1]ld tdu6la0n Ltl ) i , - 1 :^ - ; , ' , e a.ll4u'trU.lfl"l.lllluryrfl +.rfl rltynulo UytoulrlaldnUa n dt tntlnytntanlnt d'tu Lurut D.tu5Er l?Noi ; , f r -, -,1 ^ ,Jatl:t.lulr1{11nn trYl't:lt3''tunud.llqndTt J tfl:a{nnl 6{ufllLLaytwatutla5

telulln1lft1 i

.,)

r6'rufim:dr nr r-ufr:t

tBtl4

r]

furrnr

2553 ttau 2552 rl:cnauo"?r

t:nl

It'114 n't:fl

lnnnTvrmurga.snu

,tt

)

n:iNnlt

,

o

.i

r?rdgr5

J{Yr

:9t63

q

4v{}J?{

)-

27,801,815.66

56,149,819.O7

89.050,709.13

6'r,24A,9A3.47

4:.,,-*.a.,=-:\ (::."....'3\ \<3*^ry

Wld,t (#.rrr*r.. ..,r".IH;;fr ,I"tr

32.83S,141.33 23,310,677.74

" :PATCHARAT'tuYll'{Iy,J r5l0212666 Ir:18

(

. . . . . . . . . . .

.

. . . .. . .

. ..............

ml n]l

.

......... . ..)


riudf rt:!r: gmmndorr'nrnrltu

)

.,)

L.lunl]rliYH:jlrrrnu ar 1ui4 3l

frnrnr

ZSSS

rrni 2552 :ynauoi2u

t{unurivuvgrz yn

,

)r.

fl ?ur4n

242.890,099.88 q

.

-J-

riufdrrarurz -

-)

1"ufr

sti

3t iu?lfm

207,082,671.7A 2553

228,A7A,439.O2

(35,e07,48810)

tnluuotrl:vflru luuuilj

(s,408.33r.14)

219,470,70?.aB

rfirirfiriutj'dl::*mmrrdnrriunr:fiulrarur,ryi.rii ruzurtr

q

xfiu6'o"r

- 'r.!riu 24.32 #rquryr 1u.ru.l'ir.r 25s3 10iinrfliliasrna.:nrrs.iardl:yyi fioroanriul MLR

.z

aa

-:.

iriuuolfi6r.h:y6uriuoiuuioloanrdudr,,sir6au

-

l4ur.dra du Ll-Rfla$

r udd! ua:'[filir::

t/t')utulr 2566

tua.rirsi

- ?ntiu r8.Eo irurrn

tvtuR

fiuurau zss:

io:r

'triin.l:rh;{rlrur r"uIr:rair.:r.rd 6ooranrdulljq:.l cio ririrruodrE6ufiusi'uriauonnririlidiq#u1urfidu u.u zssa ) . !. , ) - 1tL.Jlr 1 59 56 n'ru!'r14 StLn o n'tnn11r1d rUrUr:l-U lnI iFi l.txfrri! dn ttun lr t-5ulrvinuii!

2":

2ss2

Z

' lcur! a.Jufir!fiafr rLn:6vr *nvdrgrgriatnuriuo:rqir{ :vr?ldiir.:rafir frrfruriruuodr:vrrrflur,3uri

rr

.ir - MLR ^ yrr'r) ooo'antlJuLltaqlT] 2

a. - :

oofll.lJ u L14!d:n d1ln]u Lltr,9l0x

. rir,ru

uSou

LotulruqlJllslloau n.fl. 2s52 Nri yuoti.]Ty6t !'iufltvrSorJ

tJ.u.2559

v

)

52.96 aluu^yl S.lLnoa1nn'tr

6ooanr.du1u6'srr1 Nrrn qia

D

,1;.tl oa

!r _' , .] 'tderut ,u iu ln.t.:di't.lullnud nllun ltiurlliJyr;i

lou6uo'ru:rufriuciilrii

17 n.

X.-

- 2 oanri uli'"aiaRunauraian ra'lurdau ff.r. zss+

n.2s51liiurlu'tll firirrauo.,ir:v6uriud'u

lu:w,jrri

zbsz

ldfinillirdruzu. iu

Inr.r,riordarlulyri6ooanriduo'o:r MLR ra6r:si,rfl 4+iru:ruarnrirrqdurarSorroanrdu .ra.rsnrriunnr3u z Lwir r* rr*:rirfitgrpr

i'ufi to a.n.

naLn

do:roanriu tutn ra6uwirdu5auar ,4,;r^;-!-.;6.Ub OaU lln:a:(Uauu[1.Jfl.:tl,,r 40] [1n14[7laqr:]oan!UU MLR 1,t.I f,or1:un15 fiul.l 16llur.L1 laiii X-:.n)uuo{'tyo}tl{uf u.yt:aNoanr!uql]rJdzuzu1all1- LyrJ Lrtd:adun.lu lu t.n. 2559 u

!

LJunu1]ornn]'rg1.!cruo

?

t

..r

;.

:unulouytouHaa

{,

di

zbbz

!

j

,

r

,

)-

Qnflat! LnSaJdn:ahultrfdia.:uifn rLavfi6u

1a.!nll!nrr:rr,i.:nr:#rrJ:vniura.:n::xnr:t.o;firnr:dLduriarfiuLra-,nru1diffrururridua-.rnrirr !:urlrJn

" o't?I

,.j

- .i,

.---

; yIactl.i-l}t\egry , !.1 t.*

r:ijr.JDv{ursra.!u0u9rol'lrJt.!au

a

)-

aot]nfl : 9163 EllJ:JV{ : PATCHARAT 'ruyrl'{

r

V,/

16/02l2666 11:18

-

tudr-rr(-x^


1o.M i r nufifi ruur.rlnitrJliuvflua

a

lla

,. ;) 3. yn0nl:flrnu?l|an nu Lo u IrJNuanu:ynu o0rqanrl-L luafl11

MOR+1

11.

C'}rs.:q, flAlr -rs

snl:J:vrianguu

ruLu

i,:!!avy\lol{ri tlB#ylrnrsiaii'od:rLiudi:a{adr.nla uiauar s ta..rrir't'i

dr-o'rh:o'r.tror,r rornfinuo'r-ruayarrnrr 1firi) oun'jrdr:a.roi.rnairridrururviliuiDUay

luror;,fiuu 12. 9111!

d

n o.:n r r n4ur:r

u fi.:

nrir':\r-jar

lr:mirl:}jr

u

10.[aJ

rfluiiurlru.r a'id

)-,;

rdtllr'rn E ofl udnll3tlll

i. - - ; J ) : - llrBnru ,:F L1-rYr6l u:lrfl 6r?rN.aurqrnaclT flruaurn ul11"Jia'l r n r:{au1a1'r uFufl'tL]l1{tnufl1qir.r r;rra uirlnldona uirdg cprrt r u riuqr:rr r.r :rr1,r oeir rurir rfialtrflutni a : fi aLun )i uiu'r: A

fl't1utflEl.!

aann.lt 6oqa{d+rylmuriusr:rcir.i :;r'r'rdrielrarir nr

.

6ndtat! ooRal't

oan6l't

oanalt

iufi

31

.;

11lt?$tsll]l

'ltlt4ctStln'tu1!n

!to

300,000.00 400.000.00 500,000.00

20 el.n. 2553

-

fiu?rn

2553 lhvnoufi?u

-,) 60l'.lllSnt auu, (u111iol,u?a *4sGuozrtitrJ::rtcl1

77 n.vt.2554

30.2963

19 n.ft. 2553 - 18 rr.l.u. 2554

30.2963

\.a.2554

30.2963

19 rl.u. 2553

-

23

tr*ldkr

(,*r,m{ll

rf"idril/;:

n55!n-r5

.

J

o r2!rgl5 J.il1 :

9t63

hvrJ&l^

.._l. :PATCHARAT tu?l}',!ul'{ t6102./2665 1t:18

(.-.................................................

nStlJn-tl

.....)


r:. nr:stn*-r.l.urrrierrCa.r"r.ioir. ru

iufi :r flular

o

nr:vr"rnrduernn.r:lisuro'naanr,rfilfl add::riunr:'litv{fi r

.

nlrytnfiue.lnnmfirfrnlqriaaruriun:roirl :anefdr.luri.t

2b53 ttay 2bb2

ui:inftidRudaraifiodu n'.ri

,-aL

2 ) -, -) ,rty{nnuylayma.:ijrufir6tATr6or {ryqpn'luE:ivtuvfurfi,.ror:ra'orfr::qh"ludrgqn

.o

nrr:ar nnr:6r:J:;rirr:vr.r.Jrrfiu1rn riuuErlnfiri #'ruulr

ue,fi a

:r-lrdr

uil:tGufturf;oirr<l'rurr.r

240

14.

Guanrlu 1m$4

f]lt'tu tflLuafla atfot r,.l.uuu)uyuat-lMtl4u.l

uitylliiun:$15':.!1,ildird rnolru

.)6d- fr) 28 ffulnr

2552

lo

r,:.0lran!5ltyttta:

|.o n

uirinloiir.rf:.r unr:aronro rn riun

o11itflUurfrn

ulululurirl:

2552

r5. iLuluruariaooEr

1ui t

zssz uifvrloi*riaonn,rilTauRuvririJrr,acnr:cudauL'uruo.ra.rr,'r-r+r v

|

.

a'rno Naal6qrMu:uiloann'tU{liY1tnntlfllLau ^)

^e

awtM

o:r,ri rrriarlarl

a-u,t1l 29.76 6tLL]fl

\ffi /6CE;". Q;;:-;"i Y,,

-,,,,,,-.,.,,,.,-]...,1c:,

S v -r+ /'rlcl,otdff}l lT o 1n9 tE4n oa !:........-:..........,....,..,....-.........,...........1 nfil]nlt

"J-.i-. o)24fi1?aI :9163

r,Jv,rlJl'{

: PATCHARA1 JuYlv'r}Jv{ 16,02126s6

rr:18

( ,...,...,,.........-............. .... ,....,..........)

n:.rlJn]:


16.

6'.1

1d8llln'lunntrarr:

l]ul

rr Fi r

.

.--:-J lf,rjrudlui! a floiufr 3t iurrnl

nlu'lflnr!l $ (:t1oIU)

n1nn,l:o1,111.$'tltd

.)

r

- --nr:r:Jhuurt aslufiudrdttia: uun:rru:cy'irl -L-.d 2nqsl!ttnv?dOdU

an.r ltL1-l

rirl{iirur^rlin.lru fl

'rl.aar.lttnttlacalnoa ruulu

::udrldiru

WldN

rlPIlt.r.I

s J

l-

t

", !f9ln'-l:1d11

ntl!n-t5

rirzas,:ron' : sres

fifi v[: PATCHARAT iufirixvi

t

tlai 2ss2

rszozzzose

tt:te

u N:

runr:fr:,:to rJlunr:

t-.-! a-rtr{uy loo-.tu

4,644,465.77

15.853,317.98

195 ,209 .AO1 .21

158,868,129.92

745,601 ,121 .?1.

110,533,820.94

31.196,191.3S

20,235.503.03

-0-

ltlnylualnn15naufl 'rLsuat u

r

2sE3

trl-lntitN ltLUnol

20.245,W7.65

126,869,209.42

109,011,339.28

503,521.189.50

434;t 52,042.40



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.