สั ญญาณเตือนภัยรายงานทางการเงิน : กรณีศึกษา บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (จํากัด)
โดย นางสาวบุญญกาญจน์ นางสาวปณิธาน นางสาวดิษยา นางสาวณิชา
สังกัดกลาง หอวงศ์ รัตนะ จิตรสมควร พวงพิมาย
ปัญหาพิเศษนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554
ปั ญหาพิเศษ ของ นางสาวบุญญกาญจน์ นางสาวปณิ ธาน นางสาวดิษยา นางสาวณิ ชา
สังกัดกลาง หอวงศ์รัตนะ จิตรสมควร พวงพิมาย
เรื่ อง สัญญาณเตือนภัยรายงานทางการเงิน : กรณี ศึกษา บริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) 1
1
1
1
ได้รับการตรวจสอบและอนุมตั ิ ให้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริ หาร เมื่อ วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2555 อาจารย์ที่ปรึ กษาปั ญหาพิเศษ
อาจารย์ผปู ้ ระสานงานสาขาวิชา
สัญญาณเตือนภัยรายงานทางการเงิน : กรณี ศึกษา บริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) 1
1
1
1
THE ANALYSIS OF WARNING IN FINANCIAL STATEMENT : A CASE STUDY OF ITALIAN-THAI DEVELOPMENT PUBLIC COMPANY LIMITED
บุญญกาญจน์ ปณิ ธาน ดิษยา ณิ ชา
โดย สังกัดกลาง หอวงศ์รัตนะ จิตรสมควร พวงพิมาย
51234003 51234011 51236446 51238897
ปั ญหาพิเศษฉบับนี้ เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริ หารธุรกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554
(1) สารบัญ
หน้ า
บทคัดย่ อ
(5)
กิตติกรรมประกาศ
(6)
สารบัญภาพ
(3)
สารบัญตาราง
(4)
บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษา ขอบเขตการศึกษา วิธีการศึกษา นิยามศัพท์
1 2 2 2 3 3
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง แนวคิด ทางการบัญชี แนวคิด และทฤษฎีเครื่ องมือสําหรับใช้ในการวิเคราะห์รายงานทางการเงิน ทฤษฎีการตัดสินใจ ผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
6 27 37 42
บทที่ 3กรณีศึกษาบริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊ อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) ประวัติความเป็ นมาของบริ ษทั การดําเนินงาน ผลการดําเนินงานที่ผา่ นมา
46 47 55
(2) สารบัญ(ต่ อ)
หน้ า
บทที่ 4 ผลการศึกษา ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ตามแนวนอน (Horizontal Analysis) ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ตามแนวตั้ง (Vertical Analysis) ตอนที่ 3 การวิเคราะห์ดว้ ยอัตราส่วนทางการเงิน (Financial Ratio Analysis )
66 74 83
บทที่ 5 สรุปและข้ อเสนอแนะ สรุ ปผลการศึกษา ข้อเสนอแนะการนําผลการศึกษาไปใช้ ข้อเสนอแนะการศึกษาครั้งต่อไป
86 87 87
บรรณานุกรม
88
(3) หน้ า ภาพที่
สารบัญภาพ
2-1
แสดงโมเดลแสดงการตัดสินใจของผูบ้ ริ โภค/พฤติกรรมการซื้อของผูบ้ ริ โภค (Model of Consumer Decision Making)
39
2-2
ขั้นตอนของกระบวนการตัดสินใจซื้ อของตลาดธุรกิจแอร์
42
(4) หน้ า ตารางที่
สารบัญตาราง
3-1
ข้อมูลพื้นฐานงบแสดงฐานะการเงินประจําปี 2552-2553
59
3-2
ข้อมูลพื้นฐานงบแสดงผลการดําเนินงาน (งบรายรับ – รายจ่าย) ประจําปี 2552-2553
64
4-1
งบแสดงฐานะทางการเงินเปรี ยบเทียบตามแนวนอนปี 2552-2553
67
4-2
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเปรี ยบเทียบตามแนวนอนปี 2552-2553
72
4-3
งบแสดงฐานะทางการเงินเปรี ยบเทียบตามแนวตั้งปี 2552-2553
75
4-4
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเปรี ยบเทียบตามแนวตั้ง ปี 2552-2553
80
4-5
การวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิน ปี 2552-2553
84
(5) บุญญกาญจน์ สังกัดกลาง และคณะ 2554: สัญญาณเตือนภัยรายงานทางการเงิน กรณี ศึกษา กรณี ศึกษาบริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) ปริ ญญาบริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร อาจารย์ที่ปรึ กษาปั ญหาพิเศษ: อาจารย์ธิญาดา พิชญาศุภกุล, บธ.ม. 99 หน้า
การศึกษาเรื่ องสัญญาณเตือนภัยจากงบการเงิน กรณี ศึกษาบริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อป เมนต์ จํากัด (มหาชน) มีวตั ถุประสงค์ในการศึกษาเพือ่ วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการ ดําเนินงาน ข้อมูลที่นาํ มาศึกษาเป็ นการศึกษาข้อมูลงบการเงินย้อนหลัง โดยใช้ขอ้ มูล พ .ศ. 25522553 ซึ่งประกอบไปด้วยงบแสดงฐานะทางการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เครื่ องมือที่ใช้ใน การวิเคราะห์งบการเงินได้แก่ การวิเคราะห์งบการเงินตามแนวนอน การวิเคราะห์งบการเงินตาม แนวตั้ง และการวิเคราะห์งบการเงินด้วยอัตราส่วนทางการเงิน ผลการศึกษาพบว่าในปี 2553 ในการวิเคราะห์ตามแนวนอน สินทรัพย์ลดลงจากปี ก่อนร้อย ละ 0.06 หนี้สินนั้นลดลงจากปี ก่อนร้อยละ 0.08 ส่วนของผูถ้ ือหุน้ เพิม่ ขึ้นจากปี ก่อนหน้าร้อยละ 0.03 รายได้ลดลงจากปี ก่อนร้อยละ 0.10 แต่บริ ษทั ยังมีความสามารถในการลดต้นทุนด้วยเช่นกัน โดยต้นทุนลดลงร้อยละ 0.12 การวิเคราะห์ตามแนวตั้ง สินทรัพย์หมุนเวียนส่วนให้เกิดจาก ลูกหนี้ การค้า -ไม่เกี่ยวข้องกับกิจการร้อยละ 16.51 และรายได้ที่ยงั ไม่เรี ยกชําระร้อยละ 20.66 การจัดหา เงินทุนนั้น บริ ษทั จัดหาเงินจากการกูย้ มื มากกว่าการจัดหาเงินจากส่วนของทุน บริ ษทั มีหนี้ สินรวม ร้อยละ 77.07 แต่ส่วนของผูถ้ ือหุน้ มีเพียงร้อยละ 22.93รายได้ส่วนใหญ่จาก รายได้จากการให้ บริ หารรับเหมาก่อสร้างมีค่าร้อยละ 87.92 และรายจ่ายส่วนใหญ่เกิดจาก ต้นทุนการให้บริ การ รับเหมาก่อสร้างร้อยละ 82.34 การวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงินบริ ษทั มีสภาพคล่อง ความสามารถในการ ประสิทธิภาพในการดําเนินงานในปี 2553 ดีกว่าในปี 2552 เนื่องจากค่าจาก การคํานวณอัตราส่วนนั้นเป็ นไปในทิศทางที่ดีข้ ึน ส่วนนโยบายทางการเงินเหมือนเดิมเนื่องจาก ค่า อัตราส่วนที่ได้ในปี 2553 มีความใกล้เคียงกับ ปี 2552 การวิเคราะห์งบการเงินทั้งสามวิธีน้ นั ไม่มีวธิ ี ไหนที่ดีที่สุด ต้องใช้ท้งั สามวิธีประกอบการวิเคราะห์เพือ่ การตัดสินใจ หากเลือกวิเคราะห์แค่เพียง บางตัวอาจทําให้มองไม่เห็นภาพรวมทั้งหมดของกิจการ
(นางสาวบุญญกาญจน์ สังกัดกลาง)
1/มี.ค./55
(6)
กิตติกรรมประกาศ การศึกษาอิสระเรื่ องสัญญาณการเตือนภัยทางการเงิน กรณี ศึกษาการศึกษาอิสระเรื่ องการ ประเมินฐานะทางการเงิน และผลการดําเนินงานโดยวิธีวเิ คราะห์งบการเงิน : กรณี ศึกษาบริ ษทั อิตา เลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) ฉบับนี้สาํ เร็จลุล่วงได้ดว้ ยความช่วยเหลือของอาจารย์ที่ ปรึ กษาการศึกษาอิสระได้แก่ อาจารย์ธิญาดา พิชญาศุภกุล ที่ได้ให้คาํ แนะนําข้อคิดเห็นต่างๆ ตลอดจนตรวจแก้ไขการศึกษาอิสระให้เสร็จสมบูรณ์และดียงิ่ ขึ้น ผูว้ จิ ยั ขอกราบขอบพระคุณเป็ น อย่างสูงไว้ ณ ที่น้ ี ขอขอบพระคุณบริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) ที่ให้ความร่ วมมือใน การเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการศึกษาเป็ นอย่างยิง่ สุดท้ายนี้ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านที่กรุ ณาประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู ้และ ประสบการณ์อนั มีคุณค่าแก่ผวู ้ จิ ยั ด้วยความกรุ ณาตลอดระยะเวลาการศึกษาหลักสูตรบริ หารธุรกิจ บัณฑิต สาขาการบัญชีบริ หาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตลอดจนพีๆ่ น้องๆและเพือ่ นที่มีส่วน เกี่ยวข้องที่ไม่อาจกล่าวนามได้ท้งั หมดในที่น้ ีที่เป็ นกําลังใจในการศึกษามาตลอด
คณะผูจ้ ดั ทํา 2554
บทนํา ทีม่ าและความสํ าคัญ จากสภาวะความถดถอยทางเศรษฐกิจในปั จจุบนั ปั ญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับนักลงทุนในตลาด หลักทรัพย์เนื่องจากได้รับข้อมูลจากงบการเงินที่ผดิ ไปจากความเป็ นจริ งเนื่องจากงบการเงินที่แต่ละ ธุรกิจได้จดั ทําขึ้นไม่ได้สะท้อนให้เห็นถึงผลการดําเนินงานและฐานะทางการเงินที่แท้จริ งของ กิจการอันจะเป็ นผลทําให้ผอู ้ ่านงบการเงินหรื อผูใ้ ช้ประโยชน์จากงบการเงินตัดสินใจในการลงทุน ผิดพลาด ผูบ้ ริ หารของกิจการมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทํางบการเงิน เพือ่ แสดงฐานะทางการเงิน และผลการดําเนินงานของกิจการในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งงบการเงินดังกล่าวจะเป็ น ประโยชน์ต่อบุคคลต่างๆ ทั้งบุคคลภายในและบุคคลภายนอก เช่น เพือ่ ใช้ในการตัดสินใจของ ผูบ้ ริ หารเพือ่ ให้ผถู ้ ือหุน้ ทราบถึงเงินปั นผลที่จะได้รับเพือ่ ให้ธนาคารทราบว่ากิจการจะมี ความสามารถใช้คืนเงินกูแ้ ละดอกเบี้ยได้เพียงไร และใช้เพือ่ การตัดสินใจในการลงทุนของผูล้ งทุน โดยปกติผบู ้ ริ หารบริ ษทั จดทะเบียนต่างๆ จะมีแรงกดดันในการสร้างผลกําไร เพือ่ เพิม่ กําไรต่อหุน้ และเพือ่ ให้ราคาหุน้ ตอบสนองในทางบวก การใช้หลักการบัญชีสามารถเปลี่ยนแปลงตามที่ผบู ้ ริ หาร อยากจะให้ผลออกมาเป็ นสิ่งที่ตอ้ งการ เช่น การใช้หลักการบัญชีที่ไม่สอดคล้องกับหลักความ ระมัดระวัง เช่น การเลือกใช้วธิ ีการการบัญชีที่แสดงกําไรโดยเร็ว หรื อการตั้งสํารองเผือ่ ความ เสียหายแต่เพียงบางส่วนเท่านั้น โดยอาศัยจุดอ่อนของหลักประมาณการช่วย หรื ออีกวิธีหนึ่งที่พบ อยูเ่ สมอๆ คือ การดําเนินการโดยการสร้างรายการทางธุรกิจให้มีภาพลักษณ์ของการประกอบการที่ ดี จากการที่คน้ พบการทุจริ ตด้านการเงิน หรื อด้านบริ หาร มักจะทําได้ยากและอาจไม่ทนั การ เนื่องจากนักลงทุนจะรู ้ตวั เลขหรื องบการเงินช้ากว่าผูบ้ ริ หาร เพราะฉะนั้นเราจะต้องให้ความสําคัญ กับการวิเคราะห์ และค้นหาสัญญาณเตือนภัย ซึ่งจะเป็ นตัวบ่งชี้การเปลี่ยนแปลงต่างๆของกิจการที่ จะเกิดขึ้นตามมา ซึ่งอาจจะยังไม่ได้มีการสะท้อนเข้าไปในราคาหลักทรัพย์ของกิจการนั้นๆ หรื ออาจ ไม่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนจากตัววัดผลการดําเนินงาน หรื อตัววัดฐานะการเงินที่สาํ คัญๆ จากปั ญหาดังกล่าวข้างต้นทําให้นกั ลงทุนตระหนักถึงความความสําคัญของรายงานทางการ เงินที่ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูลด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงสนใจศึกษารายงานทางการเงินของ บริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) ปี พ.ศ. 2552-2553
2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพือ่ ศึกษาข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการ 1
2. เพือ่ ศึกษา ข้อมูลประกอบการวินิจฉัยปั ญหาในการบริ หารงาน ฐานะการเงินและ ปั ญหาอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้น และ ผูบ้ ริ หารสามารถนําข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์งบการเงินถึง สัญญาณเตือนต่างๆ มาใช้ในการปรับปรุ งองค์กรได้ 1
1
3. การศึกษานําข้อมูลมาวิเคราะห์จะเป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้งบการเงิน ไม่วา่ จะเป็ นนัก ลงทุนและสถาบันทางการเงิน ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ 1. ได้ทราบข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับฐานะทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการ 2. ได้ทราบถึงปั ญหาด้านการบริ หารงานและการบริ หารทางการเงินของกิจการ 3. ได้เปิ ดเผยผลการวิเคราะห์ให้ผใู ้ ช้งบการเงินทราบถึงผลการดําเนินงานของกิจการ ขอบเขตการศึกษา การศึกษาการวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิน ได้แก่ การวิเคราะห์สภาพคล่องทางการเงิน การวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการดําเนินงาน การวิเคราะห์ความสามารถในการหากําไรของเงินทุน และการวิเคราะห์นโยบายทางการเงินของบริ ษทั รวมถึงการวิเคราะห์ความเห็นของผูส้ อบบัญชี ทั้งนี้ได้ทาํ การศึกษารายงานทางการเงินของบริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) ปี พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2553 ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวของทางการวิเคราะห์รายงานทางการเงิน ได้แก่ แบบรายงาน 56-1 ประจําปี 2553
3 วิธีการศึกษา ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเว็บไซด์สภาวิชาชีพ เว็บไซด์สาํ นักงานบัญชี รวมทั้งศึกษาจาก เอกสาร บทความทางวิชาการ หนังสือ วารสาร วิทยานิพนธ์ งานวิจยั และข่าวสารที่มีความเกี่ยวข้อง กับการวิเคราะห์รายงานทางเงิน และมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการสอบบัญชี ฉบับปรับปรุ ง ใหม่ปี 2554 นิยามศัพท์ งบการเงิน หมายถึง รายงานข้อมูลทางการเงินที่ได้จดั ทําขึ้นจากข้อมูลทางการเงินที่กิจการ ได้จดบันทึกไว้ในรอบระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นถึงผลการดําเนินการ ฐานะการเงิน หรื อการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการในรอบระยะเวลานั้นๆ งบ แสดงฐานะของกิจการ หมายถึง เป็ น งบการเงิน แสดงฐานะของกิจการ ณ วัดสิ้นรอบ ระยะเวลาบัญชี(วันสิ้นงวดบัญชี) โดยจัดทําขึ้นทุก ๆรอบระยะเวลาที่กาํ หนดไว้ เช่น 3 เดือน, 6 เดือน, 1 ปี โดยในส่วนของงบดุลนั้นจะแสดงความสัมพันธ์ของทรัพย์สิน หนี้ สินและส่วนของ เจ้าของ 2
0
0
1
2
งบกําไรขาดทุน หมายถึง บัญชี ที่แสดงความแตกต่างของรายได้ และ รายจ่ายในการ ดําเนินงาน โดยแสดงเป็ นรายรอบระยะเวลาบัญชี เพือ่ ประโยชน์ในการคํานวณภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยบริ ษทั หรื อหุน้ ส่วนนิติบุคคลจะต้องจัดทําตามมาตรา 68 แห่งประมวลรัษฎากร และ แนบไป พร้อมกับแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด. 50 ตามมาตรา 69 ภายใน 150 วันนับแต่วนั สุดท้ายของรอบ ระยะเวลาบัญชี 3
0
1
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ หมายถึง ชื่อเรี ยกงบที่ใช้แทนงบกําไรขาดทุน ประกอบด้วยกําไร สําหรับปี และกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นๆ ทั้งนี้ต้งั แต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 เป็ นต้นไป 1
งบกระแสเงินสด หมายถึง เป็ น งบการเงิน ที่แสดงการเปลี่ยนแปลง เงินสด ของกิจการใน ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น รอบปี บัญชี โดยจะแสดงการได้มาและใช้ไปของเงินสดและรายการ 1
1
2
1
2
4 เทียบเท่าเงินสดของ 3 กิจกรรมหลักคือ กิจกรรมดําเนินงาน กิจกรรมลงทุน และ กิจกรรมจัดหาเงิน ช่วยให้ผใู ้ ช้สามารถประเมิน สภาพคล่องของกิจการ โดยเฉพาะความสามารถในการชําระหนี้ 1
2
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผูถ้ ือหุน้ หมายถึง งบที่แสดงข้อมูลการเปลี่ยนแปลงที่ กระทบยอดจากรายการต้นงวดในส่วนของทุนเรื อนหุน้ กําไรสะสม และส่วนเกินทุน มาเป็ นยอด สิ้นงวดบัญชี ซึ่งบริ ษทั จํากัดจะต้องจัดทํา 1
บริ ษทั มหาชนจํากัด หมายถึง บริ ษทั ประเภทซึ่งตั้งขึ้นด้วยประสงค์ที่จะเสนอขายหุน้ ต่อ ประชาชน โดยผูถ้ ือหุน้ มีความรับผิดจํากัดไม่เกินจํานวนเงินค่าหุน้ ที่ตอ้ งชําระ และบริ ษทั ดังกล่าว ได้ระบุความ ประสงค์เช่นนั้นไว้ในหนังสือบริ คณห์สนธิ 1
รายงานประจําปี หมายถึง รายงานประจําปี คือ รายงานผลการดําเนินงานและฐานะการเงิน ขององค์การธุรกิจประจําปี ที่ฝ่ายบริ หาร จะต้องจัดทํา และนําเปิ ดเผยข้อมูลตามสิ้นสุดรอบ ระยะเวลาบัญชีรายงานประจําปี ตามเกณฑ์การเปิ ดเผยข้อมูลของบริ ษทั จดทะเบียน ที่ตลท. กําหนด นั้น จะต้องนําส่งภายใน 110 วันนับแต่วนั สิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งเป็ นเวลาเดียวกับที่บริ ษทั จด ทะเบียนได้นาํ ส่งให้กบั ผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั เพือ่ ใช้ประกอบการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี อัตรากําไรขั้นต้น หมายถึง จํานวนเงินของบัญชีข้นั ต้นคิดเป็ นอัตราร้อยละต่อยอดขายสุทธิ อัตรา กําไรขึ้นต้นสามารถคํานวณได้ท้งั แบบ ประเภทพิจารณาผลทั้งธุรกิจองค์กร , ประเภทพิจารณาแยก แต่ละแผนกขาย และ ประเภทพิจารณาแยกสินค้าแต่ละอย่างก็ได้ 1
1
ROA (Return On Assets) หมายถึง เป็ นค่าที่บ่งบอกถึงความสามารถในการทํากําไรจาก สินทรัพย์ของบริ ษทั โดยคํานวณจาก Net Income/Total Assets โดยสินทรัพย์สุทธิ ( Total Assets) ของบริ ษทั นั้นประกอบด้วยส่วนของผูถ้ ือหุน้ และส่วนของหนี้สิน ค่า ROA นี้ยง่ิ สูงยิง่ ดี เพราะแสดง ว่าบริ ษทั มีความสามารถในการทํากําไรสูงเมื่อเทียบกับมูลค่าสินทรัพย์ที่ลงทุน หากค่า ROA ของ บริ ษทั ตํ่ากว่า 5% นักลงทุนมืออาชีพมักจะไม่ให้ความสนใจกับบริ ษทั นั้น ROE (Return on Equity) หมายถึง เป็ นตัวที่บ่งบอกถึงความสามารถของบริ ษทั ในการนํา เงินลงทุนของผูถ้ ือหุน้ ไปทําให้งอกเงยได้ในอัตราผลตอบแทนเท่าไหร่ ซึ่งคํานวณจาก Net Income/Equity ค่า ROE นี้ยงิ่ สูงยิง่ ดี โดยนักลงทุนมืออาชีพจะมองหาหุน้ ที่มีค่า ROE สูงกว่า 1215% อย่างต่อเนื่องหลายๆปี 0
5 P/BV (Price/Book Value) หมายถึง โดย Book Value คิดมาจาก Equity/Number of Shares โดยทัว่ ๆไปแล้วค่า P/BV นี้ยง่ิ ตํ่ายิง่ ดี ตัวเลขมาตราฐานที่มกั จะใช้เป็ นฐานก็คือ 1 เท่า หากสามารถ ซื้อหุน้ ที่มีค่า P/BV น้อยกว่า 1 ได้ก็หมายความว่าเราสามารถซื้อหุน้ ได้ในราคาตํ่ากว่ามูลค่าทางบัญชี ของบริ ษทั 0
P/E (Price/Earning per Share) หมายถึง หรื ออัตราส่วนระหว่างราคาหุน้ และกําไรต่อหุน้ ถ้าสมมติให้กาํ ไรของบริ ษทั คงที่ตลอดหรื อไม่มีการเติบโตเลย ค่า P/E จะหมายถึงระยะเวลาที่ใช้ใน การคืนทุน เช่น ถ้าเราซื้อหุน้ ราคา 10 บาท โดยหุน้ นั้นมีค่า P/E อยูท่ ี่ 5 เท่า หมายความว่ากําไรต่อ หุน้ เท่ากับ 2 บาท เมื่อเราถือหุน้ นี้ ไป 5 ปี กําไรต่อหุน้ จะเท่ากับ 2 x 5 คือ 10 บาท ซึ่งเท่ากับราคา ต้นทุนที่เราซื้อนัน่ เอง ค่า P/E นี้ยงิ่ ตํ่ายิง่ ดีครับ เพราะผูล้ งทุนสามารถคืนทุนได้เร็ว การลงทุน หมายถึง การใช้สอย ทรัพยากร ในลักษณะต่างๆ โดยหวังจะได้รับผลตอบแทน กลับมา มากกว่าที่ลงไปในอัตราที่พอใจภายใต้ความเสี่ยงที่เหมาะสม โดยทัว่ ไปหมายถึงการใช้เงิน ลงทุน เช่น การลงทุนใน ตลาดหลักทรัพย์ การลงทุนในบ้านและที่ดิน การลงทุนทองคํา 0
1
2
1
1
2
2
0
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฏีและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง การศึกษาสัญญาณเตือนภัยรายงานทางการเงิน : กรณี ศึกษา บริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อป เมนต์ จํากัด (มหาชน) ครั้งนี้ผศู ้ ึกษาได้ใช้แนวคิดทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องเพือ่ เป็ นแนวทาง สําหรับการวิเคราะห์ให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์การศึกษา ดังนี้ 1. แนวคิดทางการบัญชี 2. เครื่ องมือสําหรับใช้ในการวิเคราะห์รายงานทางการเงิน 3. ทฤษฎีการตัดสินใจ 4. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง แนวคิดทางการบัญชี ความหมายของการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชี (2549) การบัญชีคือศิลปะของการเก็บรวบรวมบันทึกจําแนกและทําสรุ ป ข้อมูลอันเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรู ปตัวเงินผลงานขั้นสุดท้ายของการบัญชีก็คือการให้ ข้อมูลทางการเงินซึ่งเป็ นประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่ ายและผูท้ ี่สนใจในกิจกรรมของกิจการซึ่งได้ให้ ความหมายไปในทิศทางเดียวกันกับนิตยางามแดน (2550: 4) ได้ให้ความหมายของการบัญชีตามที่ The American Institute of Certified Public Accountants (AICPA) กล่าวไว้คือบัญชีเป็ นศิลปะของ การจดบันทึกการจําแนกและสรุ ปผลและการรายงานเหตุการณ์เกี่ยวกับการเงินโดยใช้หน่วยเงินตรา ซึ่งรายการหรื อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นเป็ นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วในอดีตรวมทั้งการแปลความหมาย ของผลการปฏิบตั ิงาน เช่น เดียวกับศศิวมิ ลมีอาํ พล (2551: 1) บัญชีเป็ นศิลปะของการจดบันทึก จําแนกและสรุ ปทางการเงินการทําธุรกรรมและเหตุการณ์ใดๆที่เกี่ยวข้องกับการเงินแล้วนําเสนอผล ตามหลักการทางบัญชีที่ยอมรับโดยทัว่ ไป
7 ในขณะที่ปาริ ชาติมณี มยั (2551: 2) ได้ให้ความหมายการบัญชีวา่ เป็ นการเก็บรวบรวมการ วิเคราะห์และจดบันทึกการจําแนกและจัดประเภทรายการค้าออกเป็ นหมวดหมู่รวมทั้งสรุ ปผล รายการและเหตุการณ์ทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจมีหลักเกณฑ์เพือ่ จัดทําเป็ นรายงานทางการเงิน โดยแสดงข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินผลการดําเนินงานและการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของ กิจการในรู ปของหน่วยเงินตราเสนอต่อผูใ้ ช้งบการเงินทุกประเภททั้งภายในและภายนอกกิจการเพือ่ ประโยชน์ในการนําข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ในการตัดสินใจทางเศรษฐกิจจากความหมายของการบัญชี ดังกล่าวข้างต้นสรุ ปได้วา่ การบัญชีคือการเก็บรวบรวมการจดบันทึกการจําแนกและสรุ ปผลรายงาน เหตุการณ์เกี่ยวกับการเงินที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจตามหลักการบัญชีที่ยอมรับโดยทัว่ ไปเพือ่ จัดทําเป็ น รายงานทางการเงินโดยแสดงข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินผลการดําเนินงานและการเปลี่ยนแปลง ฐานะการเงินของกิจการในรู ปของหน่วยเงินตราและนําเสนอต่อผูใ้ ช้งบการเงินทั้งภายในกิจการ และภายนอกกิจการ มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการบัญชี (Accounting standard) หมายถึงเป็ นแนวทางที่แนะนําให้นกั บัญชีใช้ ยึดถือเป็ นหลักปฏิบตั ิในการรวบรวมจดบันทึกจําแนกสรุ ปผลและรายงานเหตุการณ์เกี่ยวกับการเงิน หลักการบัญชีและวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปหรื อมาตรฐานการบัญชีที่กาํ หนดตาม กฎหมายโดยในระหว่างที่ยงั ไม่มีมาตรฐานการบัญชีที่กฎหมายกําหนดให้ถือว่ามาตรฐานการบัญชี ที่กาํ หนดโดยสมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยซึ่งคณะกรรมการควบคุม การประกอบวิชาชีพสอบบัญชีได้มีมติให้ประกาศใช้แล้วเป็ นมาตรฐานการบัญชีท้งั นี้อธิบดีมีอาํ นาจ ประกาศกําหนดข้อยกเว้นให้ผมู ้ ีหน้าที่จดั ทําบัญชีไม่ตอ้ งปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีในเรื่ องใด เรื่ องหนึ่งหรื อส่วนใดส่วนหนึ่ง (สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ,2552) การบัญชีเป็ นกิจกรรมทางด้านการให้บริ การโดยเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการเงินของหน่วยงาน อันจะเป็ นประโยชน์แก่บุคคลต่างๆหลายฝ่ ายซึ่งเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสียในหน่วยงานนั้นบุคคลเหล่านี้ ได้แก่
8 1. เจ้าของใช้ขอ้ มูลเพือ่ ประกอบการตัดสินใจดําเนินธุรกิจ 2. ผูท้ ี่จะลงทุนใช้ขอ้ มูลเพือ่ พิจารณาประสิทธิภาพในการดําเนินงานของฝ่ ายบริ หารและ ตัดสินใจว่าสมควรจะลงทุนหรื อไม่ 3. เจ้าหนี้ใช้ขอ้ มูลเพือ่ พิจารณาสินเชื่อหรื อเร่ งรัดหนี้สิน 4. ผูบ้ ริ หารใช้ขอ้ มูลเพือ่ การตัดสินใจในการกําหนดนโยบายการดําเนินงานและประเมิน ประสิทธิภาพ 5. พนักงานเจ้าหน้าที่ใช้ขอ้ มูลเพือ่ พิจารณาถึงความเจริ ญรุ่ งเรื องของกิจการของตนและ เมื่อเปรี ยบเทียบกับธุรกิจอื่นควรจะทํางานต่อไปหรื อเปลี่ยนงานใหม่ 6. หน่วยงานของรัฐบางหน่วยงานเช่นกระทรวงพาณิ ชย์กรมสรรพากรฯลฯต้องการข้อมูล เพือ่ พิสูจน์ความถูกต้องในการปฏิบตั ิตามบทบัญญัติของกฎหมาย 7. ลูกค้าใช้ขอ้ มูลเพือ่ พิจารณาถึงความมัน่ คงของแหล่งธุรกิจที่ติดต่ออยูน่ ้ นั 8. นักวิเคราะห์ใช้ขอ้ มูลเพือ่ ศึกษาวิเคราะห์ถึงสภาพการดําเนินงานและฐานะทางการเงิน ของธุรกิจและให้คาํ แนะนําปรึ กษาแก่ผทู ้ ี่เกี่ยวข้อง 9. หน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องใช้ขอ้ มูลตามจุดมุ่งหมายของหน่วยงานนั้นๆ ดังจะเห็นได้วา่ ข้อมูลทางการบัญชีจะให้ประโยชน์แตกต่างกันแก่ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องหากว่าข้อมูล ที่จดบันทึกนั้นไม่มีหลักเกณฑ์หรื อไม่ได้จดั ทําเป็ นมาตรฐานแล้วจะทําให้เกิดความเข้าใจผิดใน ทางตรงข้ามหากมีมาตรฐานการบัญชีแล้วก็จะทําให้บุคคลที่ประกอบวิชาชีพนี้ ได้ยดึ ถือปฏิบตั ิเป็ น แนวเดียวกันนอกจากจะทําให้เกิดความเป็ นธรรมต่อบุคคลทุกฝ่ ายแล้วยังทําให้ผลงานมีคุณภาพ น่าเชื่อถือและเป็ นที่ไว้วางใจของทุกฝ่ าย
9 สมมติฐานทางการบัญชี สมมติฐานทางการบัญชีหมายถึงข้อกําหนดทางการบัญชีที่เป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไปของ ผูจ้ ดั ทํางบการเงินและผูใ้ ช้งบการเงินเพือ่ ความเข้าใจที่ตรงกันข้อสมมติฐานทางการบัญชีไม่มีการ พิสูจน์โดยปกติมกั กําหนดขึ้นจากการประมวลผลจากหลักและวิธีการปฏิบตั ิต่างๆทางการบัญชีและ สมมติฐานทางการบัญชีเป็ นหลักเกณฑ์ที่สาํ คัญในการจัดทํางบการเงิน (สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบ บัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ,2552) สมมติฐานทางการบัญชีเปรี ยบเสมือนหนึ่งเป็ นเงื่อนไขอันสําคัญที่ใช้ในการผลิตตัวเลข ต่างๆทางการบัญชีสมมติฐานทางการบัญชีที่นกั บัญชีควรจะทราบประกอบด้วยดังนี้ 1.1 หลักการใช้หน่วยเงินตราในการบัญชี 1.2 หลักความเป็ นหน่วยงานของกิจการ 1.3 หลักการใช้หลักฐานอันเที่ยงธรรม 1.4 หลักรอบเวลา 1.5 หลักความดํารงอยูข่ องกิจการ 1.6 หลักราคาทุน 1.7 หลักการเกิดขึ้นของรายได้ 1.8 หลักการจับคู่ค่าใช้จ่ายกับรายได้ 1.9 หลักเงินค้าง 1.10 หลักโดยประมาณ
10 1.11 หลักความสมํ่าเสมอ 1.12 หลักการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ วัตถุประสงค์ของงบการเงินคือการนําข้อมูลที่ได้ไปใช้ประกอบในการตัดสินใจเชิง เศรษฐกิจดังนั้นงบการเงินที่จะจัดทําขึ้นจําเป็ นต้องมีหลักเกณฑ์และข้อสมมติฐานทางการบัญชีใน การจัดทําอันจะทําให้งบการเงินแสดงข้อมูลที่ถูกต้องยุติธรรมต่อผูใ้ ช้งบการเงินและเป็ นไปตาม มาตรฐานเดียวกัน สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยจึงได้ออกแม่บทบัญชี (Accounting framework) เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2542 เพือ่ นํามาเป็ นเกณฑ์ในการจัดทําและ นําเสนองบการเงินโดยยกเลิกมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 เรื่ องข้อสมมติฐานมูลฐานทางการบัญชี ซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีมีความประสงค์จะใช้แม่บทบัญชีที่ออกมาใหม่น้ ีเป็ นเกณฑ์ใน การปรับปรุ งมาตรฐานการบัญชีที่ใช้อยูใ่ นปั จจุบนั และพัฒนามาตรฐานการบัญชีที่จะใช้ในอนาคต ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (International accounting standard หรื อ IAS) ข้ อสมมติ
ต่อเนื่อง
ข้อสมมติทางการบัญชีประกอบด้วย 2 ส่วนคือเกณฑ์พงึ รับพึงจ่ายและการดําเนินงาน
1. เกณฑ์พงึ รับพึงจ่าย (Accrual basis) ตามเกณฑ์พงึ รับพึงจ่ายรายการและเหตุการณ์ทางการบัญชีจะรับรู ้เมื่อรายการนั้นเกิดขึ้น โดยไม่คาํ นึงว่ารายการดังกล่าวมีการรับหรื อจ่ายเงินสดหรื อรายการเทียบเท่าเงินสดหรื อไม่ซ่ ึง รายการต่างๆดังกล่าวจะถูกบันทึกและแสดงในงบการเงินในงวดที่เกี่ยวข้องโดยงบการเงินที่จดั ขึ้น ตามเกณฑ์พงึ รับพึงจ่ายนั้นจะสะท้อนให้เห็นถึงรายการค้าในอดีตที่ได้รับและจ่ายเงินสดตลอดจน รายการที่จะต้องรับและจ่ายเงินสดในอนาคตเช่นลูกหนี้การค้าจะสะท้อนเงินสดที่คาดว่าจะได้รับใน อนาคตในขณะที่เจ้าหนี้การค้าจะสะท้อนถึงการจ่ายเงินสดในอนาคตเป็ นต้นการใช้เกณฑ์พงึ รับพึง
11 จ่ายในการจัดทํางบการเงินต้องระมัดระวังในการตีความหมายของตัวเลขโดยเฉพาะอย่างยิง่ ตัวเลข กําไรสุทธิที่ไม่ได้สะท้อนถึงกําไรที่เป็ นตัวเงินสดที่ได้รับสุทธิในงวดการดําเนินงานนั้นจริ ง 2. การดําเนินงานต่อเนื่อง (Going-concern concept) งบการเงินของกิจการจะจัดทําขึ้นภายใต้ขอ้ สมมติที่วา่ กิจการจะดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง และดํารงอยูต่ ่อไปในอนาคตดังนั้นสินทรัพย์ประเภทที่ดินอาคารและอุปกรณ์จึงไม่มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ การขายแต่มีไว้เพือ่ การดําเนินงานเป็ นต้น ข้ อจํากัดของข้ อมูลที่มีความเกี่ยวข้ องกับการตัดสิ นใจและความเชื่อถือได้ 1. ความทันเวลา (Tumnimeliness) ผูใ้ ช้งบการเงินต้องการข้อมูลไปใช้ในการตัดสินใจเชิง เศรษฐกิจดังนั้นข้อมูลที่จะใช้ในการตัดสินใจต้องเป็ นข้อมูลที่มีความเชื่อถือได้และทันต่อเวลา ดังนั้นผูบ้ ริ หารต้องพิจารณาเปรี ยบเทียบระหว่างประโยชน์ที่จะได้รับจากการรายงานที่ทนั ต่อเวลา กับความเชื่อถือได้ของข้อมูลนั้นๆ 2. ความสมดุลระหว่างประโยชน์ที่ได้รับกับต้นทุนที่เสียไป (Balance between benefit and cost) ในการจัดทํางบการเงินกิจการต้องใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาถึงประโยชน์ที่ได้รับจาก ข้อมูลกับต้นทุนที่เสียไปในการจัดทําซึ่งประโยชน์ที่จะได้รับควรมีมากกว่าต้นทุนที่เสียไปและผูใ้ ช้ งบการเงินควรทําความเข้าใจด้วยว่าเนื่องจากข้อมูลในงบการเงินมีขอ้ จํากัดประเภทนี้ในการจัดทํา และนําเสนองบการเงินจึงไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้งบการเงินได้ทุกกรณี 3. ความสมดุลของลักษณะเชิงคุณภาพ (Balance in qualitative characteristics) ลักษณะ เชิงคุณภาพได้แก่ความเข้าใจความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจดังนั้นในการจัดทํางบการเงินผูจ้ ดั ทําจึง จําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจเลือกความสมดุลระหว่างลักษณะเชิงคุณภาพต่างๆเพือ่ ให้ ผูใ้ ช้งบการเงินนําไปประกอบการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจได้อย่างสัมฤทธิผลลักษณะเชิงคุณภาพของ งบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพคือคุณสมบัติที่ทาํ ให้ขอ้ มูลในงบการเงินมีประโยชน์ต่อผูใ้ ช้งบการเงิน ซึ่งมีองค์ประกอบหลัก 4 ประการคือ
12 1. ความเข้าใจได้ (Understandability) งบการเงินที่จดั ทําขึ้นต้องสามารถเข้าใจได้ทนั ทีที่ ผูใ้ ช้งบการเงินใช้ขอ้ มูลจากงบการเงินดังกล่าวซึ่งมีขอ้ สมมติวา่ ผูใ้ ช้งบการเงินมีความรู ้ตามสมควร เกี่ยวกับธุรกิจกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและการบัญชีแม้วา่ ข้อมูลทางการบัญชีจะมีความสลับซับซ้อน ยากต่อการทําความเข้าใจแต่หากเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผูใ้ ช้งบการเงินก็ควร นํามาแสดงในงบการเงินนั้นด้วย 2. ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ (Relevance) ข้อมูลที่มีประโยชน์ตอ่ การตัดสินใจคือ ข้อมูลที่ช่วยให้ผใู ้ ช้งบการเงินสามารถประเมินเหตุการณ์ในอดีตปั จจุบนั และอนาคตรวมทั้งยืนยัน ข้อผิดพลาดของผลการประเมินที่ผา่ นมาของผูใ้ ช้งบการเงินได้เช่นข้อมูลเกี่ยวกับปริ มาณและ โครงสร้างของสินทรัพย์ที่กิจการมีอยูใ่ นปั จจุบนั จะช่วยให้ผใู ้ ช้งบการเงินสามารถคาดคะเนถึง ความสามารถของกิจการในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ดงั กล่าวในการดําเนินงานในอนาคต รวมถึงข้อมูลดังกล่าวยังเป็ นตัวยืนยันความถูกต้องของการคาดคะเนในอดีตได้วา่ ผลการดําเนินงาน และโครงสร้างของสินทรัพย์ที่ปรากฏในปั จจุบนั เป็ นไปตามที่ได้วางแผนไว้ในอดีตหรื อไม่ ทั้งนี้ความสามารถในการคาดคะเนจะเพิม่ ขึ้นตามลักษณะการแสดงข้อมูลในงบการเงิน ของรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีที่เกิดขึ้นในอดีตเช่นในการคาดคะเนผลการดําเนินงานใน อนาคตจากงบกําไรขาดทุนจะชัดเจนยิง่ ขึ้นถ้างบกําไรขาดทุนงวดปั จจุบนั ที่ใช้เป็ นข้อมูลนั้นแยก แสดงรายการที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงานปกติและรายการที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงานที่ไม่ปกติออก จากกันเช่นรายได้จากการขายแยกจากกําไรจากการขายสินทรัพย์หรื อค่าใช้จ่ายในการขายและการ บริ การแยกจากค่าใช้จ่ายพิเศษที่เกิดขึ้นในการฟ้ องร้องค่าเสียหายเป็ นต้น ในการพิจารณาความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของข้อมูลนั้นจะขึ้นอยูก่ บั ลักษณะและความ มีนยั สําคัญ (Materiality) ของข้อมูลนั้นด้วยซึ่งความมีนยั สําคัญจะถือเป็ นข้อพิจารณามากกว่า เป็ น ลักษณะเชิงคุณภาพที่ขอ้ มูลจะต้องมี 2.1 ความมีนยั สําคัญ (Materiality) ข้อมูลจะถือว่ามีนยั สําคัญก็ตอ่ เมื่อหากไม่แสดง ข้อมูลดังกล่าวหรื อการแสดงข้อมูลดังกล่าวผิดจะมีผลกระทบต่อผูใ้ ช้งบการเงินในการตัดสินใจเชิง เศรษฐกิจโดยความมีนยั สําคัญขึ้นอยูก่ บั ขนาดของรายงานหรื อขนาดของความผิดที่เกิดขึ้นภายใต้ สภาพการณ์เฉพาะซึ่งต้องพิจารณาเป็ นกรณี ๆไป
13 3. ความเชื่อถือได้ (Reliability) การที่ขอ้ มูลจะมีความเชื่อถือได้จะต้องปราศจากความ ผิดพลาดที่มีนยั สําคัญและความลําเอียงจึงจะนับได้วา่ ข้อมูลนั้นเป็ นตัวแทนอันเที่ยงธรรมของข้อมูล ที่ตอ้ งการให้แสดงหรื อควรแสดงในกรณี ที่ขอ้ มูลอาจมีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและทําให้ ผูใ้ ช้งบการเงินเข้าใจผิดได้หากมีการรับรู ้เนื่องจากข้อมูลนั้นขาดความน่าเชื่อถือกรณี น้ ีไม่ควรรับรู ้ เหตุการณ์หรื อรายการดังกล่าวในงบการเงินหากแต่ควรเปิ ดเผยให้ทราบถึงสิ่งที่เกิดขึ้นเช่นประมาณ การค่าเสียหายจากการฟ้ องร้องที่อยูใ่ นระหว่างการพิจารณาคดีอาจขาดความน่าเชื่อถือเนื่องจาก จํานวนค่าเสียหายและผลการพิจารณาคดียงั ไม่เป็ นที่แน่นอนและไม่สามารถคาดเดาได้อย่าง สมเหตุสมผลกิจการไม่ควรรับรู ้ผลเสียหายดังกล่าวในงบการเงินแต่ควรเปิ ดเผยจํานวนค่าเสียหายที่ มีการเรี ยกร้องและเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการฟ้ องร้องดังกล่าวสําหรับองค์ประกอบเชิงคุณภาพหลักใน เรื่ องของความเชื่อถือได้ประกอบด้วย 3.1 การเป็ นตัวอย่างอันเที่ยงธรรม (Representational faithfulness) เพือ่ ให้ขอ้ มูลได้เป็ น ตัวแทนอันเที่ยงธรรมซึ่งจะทําให้ขอ้ มูลน่าเชื่อถืองบดุลจึงควรแสดงสินทรัพย์หนี้ สินและส่วนของ เจ้าของเฉพาะรายการและเหตุการณ์ทางการบัญชีที่เข้าเกณฑ์การับรู ้รายการณวันที่เสนอรายการ 3.2 เนื้อหาสําคัญกว่ารู ปแบบ (Substance over form) ในการบันทึกรายการและ เหตุการณ์ทางบัญชีจะต้องบันทึกตามเนื้ อหาและความเป็ นจริ งเชิงเศรษฐกิจมิใช่ตามรู ปแบบทาง กฎหมายเพียงอย่างเดียวเพราะในบางกรณี เนื้ อหาของรายการและเหตุการณ์ทางการบัญชีอาจไม่ตรง กับรู ปแบบทางกฎหมายหรื อรู ปแบบที่ทาํ ขึ้นเช่นกิจการอาจโอนสินทรัพย์ให้แก่บุคคลอื่นโดยมี เอกสารยืนยันได้วา่ มีการโอนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายให้แก่บุคคลนั้นแล้วแต่ในสัญญาระบุให้ กิจการยังคงได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากสินทรัพย์น้ นั ต่อในกรณี เช่นนี้วา่ การที่ กิจการได้รายงานว่าตนเองได้ขายสินทรัพย์ดงั กล่าวไปจึงไม่ เป็ นตัวแทนอันเที่ยงธรรมของรายการ ที่เกิดขึ้น 3.3 ความเป็ นกลาง (Neutrality) ความน่าเชื่อถือของงบการเงินจะเกิดขึ้นได้ถา้ ข้อมูลที่ ปรากฏในงบการเงินมีความเป็ นกลางและปราศจากความลําเอียงซึ่งงบการเงินจะขาดความเป็ นกลาง หรื อการเลือกหรื อกลางแสดงข้อมูลในงบการเงินมีผลทําให้ผใู ้ ช้งบการเงินตัดสินใจหรื อใช้ดุลย พินิจไปตามที่กิจการต้องการหรื อเป็ นไปตามเจตนาของกิจการ
14 3.4 ความระมัดระวัง (Prudence) เนื่องจากมีความไม่แน่นอนเกิดขึ้นกับรายการหรื อ เหตุการณ์ต่างๆอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นความสามารถในการเรี ยกเก็บหนี้การประมาณอายุใช้งาน ของสินทรัพย์จาํ นวนการเรี ยกร้องค่าเสียหายที่อาจเกิดขึ้นตามสัญญารับประกันเป็ นต้นกิจการจะ แสดงถึงความไม่แน่นอนดังกล่าวที่เกิดขึ้นนั้นโดยการเปิ ดเผยถึงลักษณะผลกระทบและหลักความ ระมัดระวังที่กิจการใช้ในการจัดทํางบการเงินซึ่งหลักความระมัดระวังที่วา่ จะรวมถึงการใช้ดุลย พินิจที่จาํ เป็ นในการประมาณการภายใต้ความไม่แน่นอนเพือ่ มิให้สินทรัพย์หรื อรายได้แสดงจํานวน สูงเกินไปและหนี้สินหรื อค่าใช้จ่ายแสดงจํานวนตํ่าเกินไปในการใช้หลักความระมัดระวังสิ่งที่ควร คํานึงถึงคือหากมีการใช้หลักดังกล่าวมากจนเกินไปเช่นกิจการอาจตั้งสํารองลับหรื อค่าเผือ่ ไว้สูง เกินไปกิจการแสดงสินทรัพย์หรื อรายได้ต่าํ เกินไปกิจการแสดงหนี้สินหรื อค่าใช้จ่ายสูงเกินไปเป็ น ต้นการกระทําดังกล่าวถือได้วา่ กิจการเจตนาจะทําให้งบการเงินขาดความเป็ นกลางและทําให้ขาด ความน่าเชื่อถือในที่สุด 3.5 ความครบถ้วน (Completeness)การบันทึกรายการและเหตุการณ์ให้ครบถ้วนโดย คํานึงถึงข้อจํากัดของความมีนยั สําคัญและต้นทุนในการจัดทําย่อมทําให้ขอ้ มูลดังกล่าวมีความ เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและน่าเชื่อถือมากขึ้นในทางตรงกันข้ามหากกิจการไม่แสดงรายการบาง รายการในงบการเงินจะทําให้ขอ้ มูลในงบการเงินผิดพลาดทําให้ผใู ้ ช้งบการเงินเข้าใจผิดได้ 4. การเปรี ยบเทียบกันได้ (Comparability) ในการใช้ขอ้ มูลจากงบการเงินผูใ้ ช้งบการเงิน อาจต้องการข้อมูลจากงบการเงินของกิจการหลายรอบระยะเวลาบัญชีของหลายกิจการมาประกอบ การตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจด้วยเหตุน้ ีผใู ้ ช้งบการเงินจึงต้องการงบการเงินที่สามารถนํามาเปรี ยบเทียบ กันได้ในรอบระยะเวลาของกิจการที่ต่างกันของกิจการเดียวกันเพือ่ ประโยชน์ในการคาดคะเนถึง แนวโน้มของฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการนั้นและผูใ้ ช้งบการเงินยังอาจ ต้องการงบการเงินที่สามารถนํามาเปรี ยบเทียบระหว่างกิจการภายใต้ระยะเวลาบัญชีเดียวกันได้เพือ่ ประเมินฐานะทางการเงินผลการดําเนินงานและการเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงินระหว่างกิจการ ผู้ใช้ ประโยชน์ จากการบัญชี เนื่องจากการบัญชีมีบทบาทสําคัญในการดําเนินธุรกิจดังนั้นผูใ้ ช้ประโยชน์จากข้อมูล ทางการบัญชีจึงมีท้งั ผูท้ ี่อยูภ่ ายนอกและภายในองค์กรที่จดั ทําบัญชีอนั ได้แก่การบัญชีการเงินและ การบัญชีบริ หารซึ่งการบัญชีการเงินเป็ นการบัญชีที่ตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้ประโยชน์จาก
15 ข้อมูลทางการบัญชีที่อยูภ่ ายนอกองค์กรในขณะที่การบัญชีบริ หารจะเอื้อประโยชน์ให้แก่ผทู ้ ี่อยูใ่ น องค์กรและการนําข้อมูลทางการบัญชีมาใช้ประโยชน์ไม่วา่ จะเป็ นทางการเงินหรื อการบริ หารจะมี ความแตกต่างกันขึ้นอยูก่ บั วัตถุประสงค์ของการนําไปใช้โดยสามารถจัดประเภทผูใ้ ช้ประโยชน์จาก การบัญชีได้ดงั นี้หนึ่ง (สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย,2552) 1. เจ้าของหรื อผูถ้ ือหุน้ เจ้าของกิจการหรื อผูถ้ ือหุน้ จะสนใจถึงฐานะทางการเงินของ กิจการที่ตนเองมีส่วนได้เสียตลอดจนผลตอบแทนที่จะได้รับซึ่งการที่จะทราบถึงฐานะทางการเงิน ของกิจการตลอดจนผลการดําเนินงานของกิจการได้ตอ้ งอาศัยข้อมูลทางการบัญชีในการวิเคราะห์ และตีความหมาย 2. เจ้าหนี้การค้าและผูใ้ ห้เงินกูย้ มื ในการดําเนินธุรกิจการซื้อขายเป็ นเงินเชื่อตลอดจนการ กูย้ มื เงินจากเจ้าหนี้ เช่นธนาคารและสถาบันการเงินในฐานะของผูท้ ี่เป็ นเจ้าหนี้ ยอ่ มสนใจในฐานะ ทางการเงินและผลการดําเนินงานของลูกหนี้ ดงั นั้นการพิจารณาการให้สินเชื่อการติดตามทวงถาม ลูกหนี้ตลอดจนความสามารถในการชําระหนี้ จะพิจารณาได้จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลทางการเงินที่ได้ จากข้อมูลทางการบัญชี 3. นักลงทุนนักลงทุนจะเพิม่ ความมัน่ ใจในการลงทุนบริ ษทั ย่อมต้องมีฐานะทางการเงิน และผลการดําเนินงานที่ดีนกั ลงทุนจึงจะพอใจที่จะลงทุนในบริ ษทั นั้นๆซึ่งข้อมูลที่ได้จากบัญชีจะ เป็ นส่วนสําคัญในการพิจารณาฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของบริ ษทั 4. หน่วยงานรัฐบาลเช่นสรรพากรสนใจในผลการดําเนินงานของภาคธุรกิจเพือ่ ประโยชน์ ในการจัดเก็บภาษีอากรไปพัฒนาประเทศซึ่งการจัดเก็บภาษีมาจากกําไรสุทธิของธุรกิจดังนั้นการที่ ธุรกิจเสนอผลการดําเนินงานที่ถูกต้องชัดเจนประกอบการยืน่ เสียภาษีอากรให้แก่ภาครัฐจึงนับเป็ น สิ่งสําคัญในการพัฒนาประเทศซึ่งข้อมูลทางการบัญชีที่นาํ มาเสนอแก่สรรพากรประกอบการเสีย ภาษีน้ นั ต้องได้รับการรับรองจากผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต 5. บุคคลทัว่ ไปเช่นพนักงานของบริ ษทั ลูกค้าของบริ ษทั เป็ นต้นพนักงานบริ ษทั ย่อมสนใจ ในความมัน่ คงของกิจการที่ตนสังกัดอยูซ่ ่ ึงสะท้อนให้เห็นถึงความมัน่ คงในหน้าที่การงานในขณะที่ ลูกค้าของบริ ษทั ย่อมต้องการบริ ษทั คู่คา้ ที่มีความมัน่ คงเจริ ญก้าวหน้าเป็ นการเพิม่ ความมัน่ ใจให้แก่ บริ ษทั ที่ซ้ือสินค้าของตนว่าบริ ษทั ผูข้ ายสามารถรับประกันสินค้าที่ขายได้ตลอดอายุของบริ ษทั
16 6. บุคคลภายในองค์กรได้แก่ผบู ้ ริ หารระดับสูงผูจ้ ดั การฝ่ ายต่างๆเช่นผูจ้ ดั การฝ่ ายผลิตฝ่ าย ขายฝ่ ายจัดการฯลฯซึ่งจะนําข้อมูลทางการบัญชีไปใช้ในการบริ หารได้หลายกรณี คือ 6.1 เพือ่ การตัดสินใจทางการเงินในการพิจารณาจัดหาแหล่งเงินทุนเข้ามาสนับสนุน การดําเนินงานของกิจการให้คล่องตัวยิง่ ขึ้นจําเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องพิจารณาถึงความสามารถของ กิจการในการบริ หารสินทรัพย์ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดเพือ่ ให้คุม้ กับเงินลงทุนในกิจการโดย อาศัยข้อมูลทางการบัญชีเป็ นพื้นฐานในการวิเคราะห์เพือ่ การตัดสินใจ 6.2 เพือ่ ประโยชน์ในการจัดสรรทรัพยากรขององค์กรผูบ้ ริ หารจะนําข้อมูลที่ได้ไปใช้ ในการจัดสรรเงินลงทุนที่ได้รับจากเจ้าหนี้ และผูถ้ ือหุน้ ในการลงทุนซื้ อสินทรัพย์ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด 6.3 เพือ่ ประโยชน์ในการตัดสินใจผลิตสินค้าผูบ้ ริ หารจะนําข้อมูลด้านค้าขายต้นทุน ขายและกําไรขั้นต้นของแต่ละผลิตภัณฑ์ไปวิเคราะห์วา่ สินค้าชนิดใดควรผลิตต่อและถ้าผลิตต่อ กิจการจะสามารถลดต้นทุนลงได้หรื อไม่ซ่ ึงจะทําให้กิจการสามารถดําเนินการต่อไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 6.4 เพือ่ ประโยชน์ในการตัดสินใจด้านการตลาดข้อมูลทางการบัญชีนอกจากจะใช้ใน ด้านต้นทุนแล้วในด้านการตลาดข้อมูลทางการบัญชียงั ช่วยผูบ้ ริ หารในการวิเคราะห์เพือ่ ตั้งราคาขาย ของสินค้าและส่งผลกระทบถึงนโยบายการส่งเสริ มการขายซึ่งจะกระทบต่อตัวเลขทางการบัญชีวา่ คุม้ ค่าหรื อไม่กบั การโฆษณาสินค้าแต่ละประเภทเป็ นต้น สรุปความตามแม่ บทบัญชี หลักการใช้หน่วยเงินตราในการบัญชีคือหน่วยเงินตราและอํานาจซื้ อหลักความเป็ น หน่วยงานของกิจการในแม่บทบัญชีไม่ได้กล่าวถึงเป็ นการเฉพาะหลักการใช้หลักฐานอันเที่ยงธรรม การเป็ นตัวแทนอันเที่ยงธรรมข้อมูลจะมีความเชื่อถือได้เมื่อรายการและเหตุการณ์ทางการ บัญชีได้แสดงอย่างเที่ยงธรรมตามที่ตอ้ งการให้แสดงหรื อควรจะแสดงหลักรอบเวลาแม่บทบัญชีได้
17 กล่าวถึงการจัดทํางบการเงินที่จดั ทําขึ้นเพือ่ สนองความต้องการของผูใ้ ช้งบการเงินทุกประเภทเป็ น ส่วนใหญ่ซ่ ึงโดยปกติจดั ทําและนําเสนองบการเงินอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้งหลักการดํารงอยูข่ องกิจการ ใช้การดําเนินงานอย่างต่อเนื่องโดยทัว่ ไปงบการเงินจัดทําขึ้นตามข้อสมมติที่วา่ กิจการจะ ดําเนินงานอย่างต่อเนื่องและดํารงอยูต่ ่อไปในอนาคตดังนั้นจึงสมมติวา่ กิจการไม่มีเจตนาหรื อมี ความจําเป็ นที่จะเลิกกิจการหรื อลดขนาดของการดําเนินงานอย่างมีสาระสําคัญหลักการเกิดขึ้นของ รายได้ กิจการควรรับรู ้รายได้ในงบกําไรขาดทุนเมื่อประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตเพิม่ ขึ้น เนื่องจากการเพิม่ ขึ้นของสินทรัพย์หรื อการลดลงของหนี้ สินเมื่อกิจการสามารถวัดค่าของประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจในอนาคตได้อย่างน่าเชื่อถือ
หลักการจับคู่ค่าใช้ จ่ายกับรายได้ ให้รับรู ้ค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนโดยใช้เกณฑ์ความเกี่ยวพันระหว่างต้นทุนที่เกิดขึ้นกับ รายได้ที่ได้มาจากรายการเดียวกัน หลักเงินคงค้าง รายการและเหตุการณ์ทางการบัญชีจะรับรู ้เมื่อเกิดขึ้นมิใช่เมื่อมีการรับหรื อจ่ายเงินสดหรื อ รายการเทียบเท่าเงินสดโดยรายการต่างๆจะบันทึกบัญชีและแสดงในงบการเงินตามงวดที่เกี่ยวข้อง หลักโดยประมาณ จากหลักเกณฑ์การรับรู ้รายการรายการนั้นควรมีราคาทุนหรื อมูลค่าที่สามารถวัดได้อย่าง น่าเชื่อถือในบางกรณี ราคาทุนหรื อมูลค่านั้นได้มาจากการประมาณการที่สมเหตุสมผลเป็ นส่วน สําคัญในการจัดทํางบการเงินและไม่ให้งบการเงินขาดความน่าเชื่อถือหลักความสมํ่าเสมอ การวัดมูลค่าและการแสดงผลกรทบทางการเงินของรายการและเหตุการณ์ทางการบัญชีที่มี ลักษณะคล้ายคลึงกันจําเป็ นต้องปฏิบตั ิอย่างสมํ่าเสมอเพือ่ ให้ผใู ้ ช้งบการเงินสามารถเปรี ยบเทียบงบ
18 การเงินของกิจการในรอบระยะเวลาต่างกันเพือ่ คาดคะเนถึงแนวโน้มของฐานะการเงินและผลการ ดําเนินงานของกิจการนั้นและสามารถเปรี ยบเทียบงบการเงินระหว่างกิจการได้ หลักการเปิ ดเผยข้ อมูลอย่ างเพียงพอ ความครบถ้วนข้อมูลในงบการเงินที่เชื่อถือได้ตอ้ งครบถ้วนภายใต้ขอ้ จํากัดของความมี นัยสําคัญและต้นทุนในการจัดทํารายการบางรายการหากไม่แสดงในงบการเงินจะทําให้ขอ้ มูลมี ความผิดพลาดหรื อทําให้ผใู ้ ช้งบการเงินเข้าใจผิดดังนั้นข้อมูลดังกล่าวจะมีความเกี่ยวข้องกับการ ตัดสินใจน้อยลงและขาดความน่าเชื่อถือได้ หลักความระมัดระวัง การใช้ดุลยพินิจที่จาํ เป็ นในการประมาณการภายใต้ความไม่แน่นอนเพือ่ มิให้สินทรัพย์หรื อ รายได้แสดงจํานวนสูงเกินไปและหนี้สินหรื อค่าใช้จ่ายแสดงจํานวนตํ่าเกินไปแต่มิได้อนุญาตให้ กิจการตั้งสํารองลับหรื อค่าเผือ่ ไว้สูงเกินไป หลักเนื้อหาสํ าคัญกว่ ารู ปแบบ ข้อมูลต้องบันทึกและแสดงตามเนื้ อหาและความเป็ นจริ งเชิงเศรษฐกิจมิใช่ตามรู ปแบบทาง กฎหมายเพียงอย่างเดียวเนื้อหาของรายการและเหตุการณ์ทางการบัญชีอาจไม่ตรงกับรู ปแบบทาง กฎหมายหรื อรู ปแบบที่ทาํ ขึ้น หลักการมีนัยสํ าคัญ หากการไม่แสดงข้อมูลหรื อการแสดงข้อมูลผิดพลาดมีผลกระทบต่อผูใ้ ช้งบการเงินในการ ตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจความมีนยั สําคัญขึ้นอยูก่ บั ขนาดของรายการหรื อขนาดของความผิดพลาดที่ เกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์เฉพาะซึ่งต้องพิจารณาเป็ นกรณี ๆไป หลักการวัดมูลค่า
19 เกณฑ์ในการวัดค่าต่างๆตามแม่บทบัญชีมีดงั นี้ ราคาทุนเดิมการบันทึกสินทรัพย์ดว้ ยจํานวนเงินสดหรื อรายการเทียบเท่าเงินสดที่จ่ายไป หรื อบันทึกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ่งที่นาํ ไปแลกสินทรัพย์มาณเวลาที่ได้มาซึ่งสินทรัพย์น้ นั และ การบันทึกหนี้สินด้วยจํานวนเงินที่ได้รับจากการก่อภาระผูกพันหรื อบันทึกด้วยจํานวนเงินสดหรื อ รายการเทียบเท่าเงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่ายเพือ่ ชําระหนี้ สินที่เกิดจากการดําเนินงานตามปกติของ กิจการ ราคาทุนปั จจุบนั การแสดงสินทรัพย์ดว้ ยจํานวนเงินสดหรื อรายการเทียบเท่าเงินสดที่ตอ้ ง จ่ายในขณะนั้นเพือ่ ให้ได้มาซึ่งสินทรัพย์ชนิดเดียวกันหรื อสินทรัพย์ที่เท่าเทียวกันและการแสดง หนี้สินด้วยจํานวนเงินสดหรื อรายการเทียบเท่าเงินสดที่ตอ้ งใช้ชาํ ระภาระผูกพันในขณะนั้น มูลค่าที่จะได้รับการแสดงสินทรัพย์ดว้ ยจํานวนเงินสดหรื อรายการเทียบเท่าเงินสดที่อาจ ได้มาในขณะนั้นหากกิจการขายสินทรัพย์โดยมิใช่การบังคับขายและการแสดงหนี้ สินด้วยมูลค่าที่ ต้องจ่ายคืนหรื อด้วยจํานวนเงินสดหรื อรายการเทียบเท่าเงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่ายเพือ่ ชําระหนี้ ที่ เกิดจากการดําเนินงานตามปกติของกิจการ มูลค่าปั จจุบนั การแสดงสินทรัพย์ดว้ ยมูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงินสดรับสุทธิในอนาคตซึ่ง คาดว่าจะได้รับในการดําเนินงานตามปกติของกิจการและการแสดงหนี้สินด้วยมูลค่าปั จจุบนั ของ กระแสเงินสดจ่ายสุทธิซ่ ึงคาดว่าจะต้องจ่ายในการชําระหนี้ สินภายใต้การดําเนินงานตามปกติของ กิจการ
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนําเสนองบการเงิน
20 งบการเงิน จุดมุ่งหมายของงบการเงิน งบการเงินเป็ นการนําเสนอฐานะการเงินและผลการดําเนินงานทางการเงินของกิจการอย่าง มีแบบแผน โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ใช้ขอ้ มูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแส เงินสดของกิจการ ซึ่งเป็ นประโยชน์ต่อการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผูใ้ ช้งบการเงินกลุ่มต่างๆ นอกจากนี้ งบการเงินยังแสดงถึงผลการบริ หารงานของฝ่ ายบริ หารซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแล ทรัพยากรของกิจการ เพือ่ ที่จะบรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าว งบการเงินต้องให้ขอ้ มูลทุกข้อดังต่อไปนี้ เกี่ยวกับกิจการ(สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ,2552) 1. สินทรัพย์ 2. หนี้สิน 3. ส่วนของเจ้าของ 4. รายได้และค่าใช้จ่ายรวมถึงผลกําไรและขาดทุน 5. เงินทุนที่ได้รับจากผูเ้ ป็ นเจ้าของและการจัดสรรส่วนทุนให้ผเู ้ ป็ นเจ้าของจาก ความสามารถในการเป็ นเจ้า 6. กระแสเงินสด ข้อมูลเหล่านี้และข้อมูลอื่นที่เปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินช่วยผูใ้ ช้งบการเงินใน การคาดการณ์เกี่ยวกับจังหวะเวลาและความแน่นอนที่กิจการจะก่อให้เกิดกระแสเงินสดในอนาคต ของกิจการ งบการเงินฉบับสมบูรณ์
21 งบการเงินฉบับสมบูรณ์ประกอบไปด้วย 1. งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันสิ้นงวด 2. งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับงวด 3. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของสําหรับงวด 4. งบกระแสเงินสดสําหรับงวด 5. หมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งประกอบด้วยสรุ ปนโยบายการบัญชีที่สาํ คัญ ข้อมูลที่ ให้คาํ อธิบายอื่น และ 6. งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันต้นงวดของงวดที่นาํ มาเปรี ยบเทียบงวดแรกสุดเมื่อกิจการ ได้นาํ นโยบายการบัญชีใหม่มาถือปฏิบตั ิยอ้ นหลังหรื อการปรับงบการเงินย้อนหลัง หรื อเมื่อกิจการมีการจัดประเภทรายการในงบการเงินใหม่ กิจการอาจจะใช้ชื่ออื่นสําหรับงบการเงิน นอกเหนือจากที่ระบุในมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ กิจการต้องนําเสนองบการเงินทั้งหมดในงบการเงินฉบับสมบูรณ์โดยให้ความสําคัญอย่างเท่าเทียม ข้อพิจารณาโดยทัว่ ไป การนําเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรและเป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน งบการเงินต้องแสดงฐานะการเงิน ผลการดําเนินงานทางการเงิน และกะแสเงินสดของ กิจการโดยถูกต้องตามที่ควร การแสดงข้อมูลโดยถูกต้องตามที่ควรคือการเป็ นตัวแทนอันเที่ยงธรรม ของผลกระทบของรายการ เหตุการณ์อื่น ๆ และเงื่อนไขต่าง ๆ ตามคํานิยามและเกณฑ์การรับรู ้ รายการสินทรัพย์ หนี้ สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ที่กาํ หนดไว้ในแม่บทการบัญชี การนําเสนองบ การเงินซึ่งได้ถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการายงานทางการเงินและมีการเปิ ดเผยข้อมูลเพิม่ เติมให้ เหมาะสมแก่กรณี ถือว่างบการเงินนั้นนําเสนอข้อมูลโดยถูกต้องตามที่ควร
22 ในสถานการณ์เกือบทั้งหมด งบการเงินจะแสดงข้อมูลโดยถูกต้องตามที่ควรก็ต่อเมื่องบ การเงินนั้นถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินและกิจการยังต้องถือปฏิบตั ิในเรื่ องต่าง ๆ ดังนี้ 1. เลือกและนํานโยบายการบัญชีไปถือปฏิบตั ิตามที่กาํ หนดในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและ ข้อผิดพลาด ซึ่งได้กาํ หนดลําดับขั้นของแนวทางปฏิบตั ิที่บงั คับใช้ในการพิจารณา เลือกใช้นโยบายการบัญชีของฝ่ ายบริ หารในกรณี ที่ไม่มีมาตรฐานการรายงานทาง การเงินกําหนดไว้เป็ นการเฉพาะสําหรับรายการนั้น 2. นําเสนอข้อมูลตลอดจนนโยบายการบัญชีในลักษณะที่มีความเกี่ยวข้องกับการ ตัดสินใจ เชื่อถือได้ เปรี ยบเทียบได้ และเข้าใจได้ 3. เปิ ดเผยข้อมูลเพิม่ เติมในกรณี ที่การปฏิบตั ิตามข้อกําหนดเฉพาะของมาตรฐานการ รายงานทางการเงินไม่เพียงพอที่จะทําให้ผใู ้ ช้งบการเงินเข้าใจถึงผลกระทบของรายการ เหตุการณ์และเงื่อนไขอื่นที่มีผลต่อฐานะการเงินและผลการดําเนินงานทางการเงินของ กิจการ การเปิ ดเผยนโยบายการบัญชี การเปิ ดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน หรื อการ จัดทําคําอธิบายเกี่ยวกับนโยบายการบัญชีที่ไม่เหมาะสมที่กิจการใช้ ไม่ทาํ ให้นโยบายการบัญชีน้ นั เหมาะสมขึ้นมาได้ ในสถานการณ์ซ่ ึงยากที่จะเกิดขึ้น หากฝ่ ายบริ หารของกิจการมีขอ้ สรุ ปว่าการปฏิบตั ิตาม ข้อกําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งจะทําให้ผใู ้ ช้งบการเงินเกิดความ เข้าใจผิดอย่างมากจนเป็ นเหตุให้งบการเงินขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ของงบการเงินตามที่กาํ หนดใน แม่บทการบัญชี กิจการต้องไม่ปฏิบตั ิตามข้อกําหนดนั้น และต้องปฏิบตั ิตามข้อกําหนดที่ระบุในย่อ หน้าที่ 20 ในกรณี ที่แม่บทการบัญชีบงั คับใช้ที่เกี่ยวข้องกําหนดหรื อไม่มีขอ้ ห้ามการไม่ปฏิบตั ิตาม ดังกล่าว ในกรณี ที่กิจการไม่ปฏิบตั ิตามที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินกําหนด ตามที่ระบุไว้ใน ย่อหน้าที่ 19 กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูลทุกข้อดังต่อไปนี้
23 1. ข้อสรุ ปของฝ่ ายบริ หารที่วา่ งบการเงินได้แสดงฐานะการเงิน ผลการดําเนินงานและ กระแสเงินสดโดยถูกต้องตามที่ควร 2. ข้อความที่แสดงว่ากิจการได้ปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการถือ ปฏิบตั ิ ยกเว้นเรื่ องที่กิจการจําต้องไม่ปฏิบตั ิตามข้อกําหนดในมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน เพือ่ ให้งบการเงินแสดงข้อมูลถูกต้องตามที่ควร 3. ชื่อของมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่กิจการไม่ปฏิบตั ิตาม ลักษณะของการ ไม่ถือปฏิบตั ิ รวมถึงการปฏิบตั ิที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินกําหนดสําหรับการ ไม่ปฏิบตั ิตาม เหตุผลที่หากปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวแล้ว จะทําให้เกิดความเข้าใจผิดอย่างมากมากในสถานการณ์ต่าง ๆ จนเป็ นเหตุให้งบการเงิน ขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ที่กาํ หนดในแม่บทการบัญชี และวิธีปฏิบตั ิที่กิจการเลือกใช้ 4. ผลกระทบทางการเงินของการไม่ปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีต่อ รายการแต่ละรายการในงบการเงินของกิจการ หากกิจการถือปฏิบตั ิตามข้อกําหนดของ มาตรฐานการรายงานทางเงินสําหรับแต่ละงวดที่มีการนําเสนอนั้น ในสถานการณ์ซ่ ึงยากที่จะเกิดขึ้น หากฝ่ ายบริ หารของกิจการมีความเห็นว่าการปฏิบตั ิตาม ข้อกําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งจะทําให้ผใู ้ ช้งบการเงินเกิดความ เข้าใจผิดอย่างมากจนเป็ นเหตุให้งบการเงินขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ของแม่บทการบัญชีแต่แม่บท การบัญชีที่บงั คับใช้ที่เกี่ยวข้องไม่อนุญาตให้มีการไม่ถือปฏิบตั ิตามข้อกําหนดดังกล่าว ถ้าเป็ น เช่นนั้น กิจการต้องใช้ความพยายามอย่างดีที่สุดเพือ่ ลดความเข้าใจผิดซึ่งเกิดจากการปฏิบตั ิตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินนั้นโดยการเปิ ดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนี้ 1. ชื่อของมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่มีปัญหา ลักษณะของข้อกําหนดใน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และเหตุผลที่ฝ่ายบริ หารของกิจการเห็นว่าการปฏิบตั ิ ตามข้อกําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินจะทําให้เกิดความเข้าใจผิดอย่าง มาก จนเป็ นเหตุให้งบการเงินขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ของแม่บทการบัญชี
24 2. การปรับปรุ งแต่ละรายการในงบการเงินสําหรับแต่ละงวดที่มีการนําเสนอซึ่งฝ่ าย บริ หารของกิจการเห็นว่าจําเป็ นเพือ่ ให้งบการเงินนําเสนอข้อมูลถูกต้องการที่ควร เพือ่ ให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของย่อหน้าที่ 19 ถึง 23 การแสดงข้อมูลในงบการเงินจะถือ ว่าขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ของบการเงินเมื่อข้อมูลที่แสดงนั้นมิได้เป็ นตัวแทนอันเที่ยงธรรมของ รายการ เหตุการณ์ และสภาพการณ์อื่นที่ขอ้ มูลนั้นนําเสนอหรื อคาดได้อย่างสมเหตุสมผลว่าจะ นําเสนอ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผูใ้ ช้งบการเงิน ในการพิจารณาว่าการ ปฏิบตั ิตมข้อกําหนดเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งในมาตรฐานการรายงานทางการเงินจะทําให้ผใู ้ ช้งบการเงิน เกิดความเข้าใจผิดอย่างมากจนเป็ นเหตุให้งบการเงินขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ของงบการเงินที่ กําหนดไว้ในแม่บทการบัญชี ฝ่ ายบริ หารของกิจการต้องพิจารณาทุกเรื่ องดังต่อไปนี้ 1. สาเหตุที่กิจการไม่สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ของงบการเงินได้ภายใต้สถานการณ์ นั้น ๆ 2. สถานการณ์ของกิจการมีความแตกต่างอย่างไรจากสถานการณ์ของกิจการอื่นที่ สามารถปฏิบตั ิตามข้อกําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินนั้นได้ หากกิจการ อื่นซึ่งอยูภ่ ายใต้สถานการณ์ที่คล้ายคลึงกับสถานการณ์ของกิจการสามารถปฏิบตั ิตม ข้อกําหนดดังกล่าวได้ ต้องตั้งข้อสันนิษฐานไว้ก่อนว่าการที่กิจการถือปฏิบตั ิตาม ข้อกําหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงินบ่อมจะไม่ทาํ ให้ผใู ้ ช้งบการเงินเกิด ความเข้าใจผิดมากจนเป็ นเหตุให้การปฏิบตั ิตามข้อกําหนดตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ของแม่บทการบัญชี งบแสดงฐานะการเงิน ข้อมูลที่ตอ้ งนําเสนอในงบแสดงฐานะการเงิน งบแสดงฐานะการเงินต้องมีรายการที่แสดงจํานวนเงินทุกข้อดังต่อไปนี้ เป็ นอย่างน้อย 1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 2. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ อื่น
25 3. สินค้าคงเหลือ 4. สินทรัพย์ชีวภาพ (ดูมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ ประกาศใช้))
41 เรื่ อง เกษตรกรรม (เมื่อมีการ
5. เงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยใช้วธิ ีส่วนได้เสีย 6. สินทรัพย์ทางการเงิน 7. สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน 8. อสังหาริ มทรัพย์เพือ่ การลงทุน 9. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 10. ยอดรวมของสินทรัพย์ที่จดั ประเภทเป็ นสินทรัพย์ที่ถือไว้เพือ่ ขายและสินทรัพย์ที่ รวมอยูใ่ นกลุ่มสินทรัพย์ที่ยกเลิกซึ่งจัดประเภทเป็ นสินทรัพย์ที่ถือไว้เพือ่ ขายตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ อง สินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนที่ถือไว้ขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก 11. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้ อื่น 12. ประมาณการหนี้สิน 13. หนี้สินทางการเงิน 14. หนี้สินและสินทรัพย์ภาษีเงินได้สาํ หรับงวดปั จจุบนั ที่กาํ หนดในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่ อง ภาษีเงินได้
26 15. หนี้สินภาษีได้รอการตัดบัญชีและสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามที่กาํ หนดใน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่ อง ภาษีเงินได้ 16. หนี้สินที่รวมในกลุ่มสินทรัพย์ที่ยกเลิกที่จดั ประเภทเป็ นสินทรัพย์ที่ถือไว้เพือ่ ขายตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ อง สินทรัพย์ไม่ หมุนเวียนที่ถือไว้เพือ่ ขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก 17. ส่วนได้เสียที่ไม่มีอาํ นาจควบคุมที่แสดงในส่วนของเจ้าของ 18. ทุนที่ออกจําหน่าย และสํารองต่าง ๆ ที่จดั สรรให้แก่ผเู ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ต้องแสดงรายการแต่ละบรรทัดพร้อมจํานวนเงินสําหรับงวด สําหรับรายการดังต่อไปนี้เป็ น อย่างน้อย 1. รายได้ 2. ต้นทุนทางการเงิน 3. ส่วนแบ่งกําไรหรื อขาดทุนของบริ ษทั ร่ วมและบริ ษทั ร่ วมค้าที่ใช้วธิ ีส่วนได้เสีย 4. ค่าใช้จ่ายภาษี 5. ยอดรวมของ 5.1 กําไรหรื อขาดทุนหลังภาษีเงินได้จากการดําเนินงานที่ยกเลิก และ 5.2 ผลกําไรหรื อขาดทุนหลังภาษีเงินได้ที่รับรู ้จากการวัดมูลค่ายุติธรรมสุทธิหกั จาก ต้นทุนในการขายหรื อจากการจําหน่ายกลุ่มสินทรัพย์ที่ยกเลิกที่เกี่ยวข้องกับการ ดําเนินงานที่ยกเลิก
27 6. กําไรหรื อขาดทุน 7. องค์ประกอบแต่ละรายการของกําไรขากทุนเบ็ดเสร็จอื่นที่จดั ประเภทตามลักษณะ 8. ส่วนแบ่งกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของบริ ษทั ร่ วมหรื อกิจการร่ วมค้าที่ใช้วสี ่วนได้เสีย และ 9. กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม เครื่องมือสํ าหรับวิเคราะห์ รายงานทางการเงิน จากการค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องนักวิชาการหลายท่านมีเครื่ องมือสําหรับวิเคราะห์งบ การเงินดังนี้ สุพาดา สิริกุตตา และคณะ ( 2552: 49-57) ได้กล่าวว่าการวิเคราะห์งบการเงิน ( Financial statement analysis) เป็ นการวิเคราะห์ธุรกิจว่ามีสภาพคล่องทางการเงินประสิทธิภาพในการบริ หาร สินทรัพย์ ความสามารถในการทํากําไร และความสามารถในการชําระหนี้ ของกิจการเป็ นอย่างไร โดยผูจ้ ดั การการเงินต้องนําข้อมูลทางบัญชีจากงบการเงินมาวิเคราะห์โดยวิเคราะห์อตั ราส่วนทาง การเงิน เพือ่ เป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้งบการเงินที่จะนํามาใช้ในการพิจารณาหรื อตัดสินใจเกี่ยวกับ ธุรกิจในด้านต่างๆ และประเมินผลการดําเนินงานที่ผา่ นมาเพือ่ จะได้ทราบจุดแข็ง ( Strengths) และ จุดอ่อน ( Weaknesses) ในการดําเนินงานของกิจการ โดยการเปรี ยบเทียบผลการดําเนินงานของ กิจการกับกิจการที่อยูใ่ นอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน และสามารถประเมินแนวโน้มฐานะการเงิน ของกิจการได้เป็ นอย่างดี เครื่ องมือที่สาํ คัญในการวิเคราะห์งบการเงิน มีดงั นี้ 1. การวิเคราะห์งบการเงินขั้นพื้นฐาน ( Basic financial statement analysis) แบ่งเป็ น 2 วิธี ดังนี้ 1.1 การวิเคราะห์ตามแนวนอน ( Horizontal analysis) 1.2 การวิเคราะห์ตามแนวตั้ง ( Vertical analysis )
28 1.3 การวิเคราะห์ยอ่ ส่วน ( Common size analysis ) 2. การวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิน ( Ratio analysis ) การวิเคราะห์ ตามแนวนอน การวิเคราะห์ตามแนวนอน ( Horizontal analysis) เป็ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลในงบการเงิน โดยวิเคราะห์เป็ นจํานวนหรื อเปอร์เซ็นที่เพิม่ ขึ้นหรื อลดลงตามแนวนอนของรายการในงบการเงินปี ปั จจุบนั หรื องบการเงินปี ที่ผา่ นมาเพียงปี เดียวหรื อมากกว่าหนึ่งปี โดยเปรี ยบเทียบกับงบการเงินปี ใด ปี หนึ่งเป็ นฐาน การวิเคราะห์ตามแนวนอนอาจเรี ยกว่า การวิเคราะห์เปอร์เซ็นแนวโน้ม ( Trend percentages) การวิเคราะห์ ตามแนวตั้ง การวิเคราะห์ตามแนวตั้ง ( Vertical analysis)เป็ นการประเมินข้อมูลในงบการเงินทุกรายการ ในรู ปของเปอร์เซ็น โดยมียอดรวมเป็ นปี ฐานกับจํานวนเงินของทุกรายการ เช่น สินทรัพย์แต่ละ รายการจะคิดเป็ นเปอร์เซ็นของสินทรัพย์รวม หนี้ สินและส่วนของผูถ้ ือหุน้ แต่ละรายการจะคิดเป็ น เปอร์เซ็นของหนี้สินรวมและส่วนของผูถ้ ือหุน้ รวม การวิเคราะห์งบการเงินตามแนวตั้งจะใช้งบ การเงินเพียงปี เดียวในการวิเคราะห์ หลังจากนั้นจึงนํางบการเงินที่วเิ คราะห์แล้วมาเปรี ยบเทียบกัน การวิเคราะห์งบการเงินทั้งแนวนอนและแนวตั้งนั้นจะแสดงจํานวนเงินและเปอร์เซ็น ซึ่งจะ เป็ นประโยชน์ในการประเมินความสัมพันธ์และแนวโน้มของสภาพทางการเงินและการดําเนินงาน ของธุรกิจ การวิเคราะห์ตามแนวตั้งจะแสดงทั้งจํานวนและเปอร์เซ็นซึ่งจะเป็ นประโยชน์ในการ เปรี ยบเทียบบริ ษทั หนึ่งกับบริ ษทั อื่นๆหรื อเปรี ยบเทียบกับค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม ในการเปรี ยบเทียบ จะเปรี ยบเทียบได้ง่ายโดยวิธีการย่อส่วนงบการเงิน (Common size analysis) 3. การย่อส่วนงบการเงิน (Common size analysis) เป็ นการวิเคราะห์รายการทุกรายการใน งบการเงินโดยแสดงเป็ นเปอร์เซ็นของยอดรวมโดยยอดรวมหนึ่งที่กาํ หนดเป็ นปี ฐาน
29 ทําให้สามารถเปรี ยบเทียบกันได้ง่าย เช่น งบกําไรขาดทุนแสดงรายการต่าง เป็ น เปอร์เซ็นของยอดขาย หรื องบดุลแสดงรายการต่างๆเป็ นเปอร์เซ็นของสินทรัพย์รวม การย่อส่วนงบการเงินจะเป็ นประโยชน์ในการเปรี ยบเทียบรายการปี ปั จจุบนั กับปี ที่ผา่ นมา หรื อรายการปี ปั จจุบนั เปรี ยบเทียบกับเปอร์เซ็นของอุตสาหกรรม ( Industry percentages) ของธุรกิจ ประเภทเดียวกัน การวิเคราะห์ อัตราส่ วนทางการเงิน อัตราส่วนทางการเงิน ( Financial ratios) เป็ นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลตัวเลข 2 รายการจากงบการเงินของธุรกิจ ข้อมูลที่นาํ มาใช้อตั ราส่วนทางการเงินมาจากข้อมูลในงบดุลและ งบกําไรขาดทุน โดยใช้ขอ้ มูลจากงบการเงินปี ปั จจุบนั ในการวิเคราะห์ปีเดียว หรื อใช้งบการเงินปี ปั จจุบนั เปรี ยบเทียบกับงบการเงินปี ที่ผา่ นมาหรื องบการเงินปี ปั จจุบนั กับงบการเงินที่พยากรณ์ไว้ อัตราส่วนทางการเงินที่ธุรกิจคํานวณได้สามารถนําไปวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ของธุรกิจ ทางด้านสภาพคล่องทางการเงิน ประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ ความสามารถในการก่อหนี้ และ ความสามารถในการสร้างกําไร ซึ่งผลการวิเคราะห์จะทําให้ทราบจุดแข็งหรื อจุดอ่อนของธุรกิจได้ เช่น ความสามารถในการชําระหนี้ และความสามารถในการทํากําไรจะมีความสัมพันธ์กนั ธุรกิจที่ ไม่มีความสามารถในการจ่ายชําระหนี้ก็เป็ นการยากที่จะได้รับเครดิต ถ้าธุรกิจไม่ได้รับเครดิตอาจทํา ให้ขาดสภาพคล่องหรื ออาจจะล้มละลาย เป็ นต้น นอกจากนี้ ธุรกิจที่มีผลกําไรน้อยกว่าคู่แข่งจะขอ เครดิต หรื อออกหุน้ ทุนใหม่จากผูถ้ ือหุน้ ได้ยากกว่าคู่แข่งขัน อัตราส่วนทางการเงินอาจจะคํานวณและจะสรุ ปได้
2 แบบดังนี้
1. การวิเคราะห์แนวโน้ม ( Time series analysis หรื อ Tend analysis)เป็ นการวิเคราะห์ อัตราส่วนทางการเงินของธุรกิจหนึ่งมากกว่า 1ช่วงระยะเวลา จะทําให้รู้สึกถึงแนวโน้ม ของธุรกิจเกี่ยวกับสภาพคล่องทางการเงินความสามารถในการใช้สินทรัพย์ ความสามารถในการก่อหนี้และความสามารถในการสร้างกําไรเช่น วิเคราะห์ อัตราส่วนทางการเงินของบริ ษทั ปี ปั จจุบนั กับปี ที่ผา่ นมาหรื อกับปี ที่พยากรณ์ไว้ หรื อ วิเคราะห์เปรี ยบเทียบระหว่างรายไตรมาสก็ได้ การวิเคราะห์แบบนี้ เป็ นการวิเคราะห์ เปรี ยบเทียบภายในบริ ษทั (Intracompany comparison )
30 2. การวิเคราะห์ขา้ มธุรกิจ ( Cross-sectional analysis )เป็ นการวิเคราะห์อตั ราส่วนทาง การเงินของธุรกิจเปรี ยบเทียบกับธุรกิจในอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน ในช่วงเวลา เดียวกันทําให้สามารถประเมินสถานการณ์ของบริ ษทั เปรี ยบเทียบกับคู่แข่งได้ เช่น เปรี ยบเทียบอัตราส่วนทางการเงินของบริ ษทั กับค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม ( Industry average )ของธุรกิจประเภทเดียวกัน หรื อเปรี ยบเทียบอัตราส่วนทางการเงินของบริ ษทั กับธุรกิจประเภทเดียวกัน เช่น บริ ษมั โตโยต้าเปรี ยบเทียบอัตราส่วนทางการเงินกับ บริ ษทั นิสสัน การวิเคราะห์อตั ราส่วนอาจวิเคราะห์ท้งั แนวโน้มและข้ามธุรกิจ และอัตราส่วนทางการเงิน ที่วเิ คราะห์มาจะเป็ นตัวชี้ทิศทางละการเคลื่อนไหวของบริ ษทั จะเป็ นอย่างไร หรื อเมื่อเปรี ยบเทียบ กับธุรกิจในอุตสาหกรรมประเภทเดียวกันเป็ นอย่างไร อภิชาติ พงศ์สุพฒั น์ ( 2551: 114) กล่าวว่าวิธีการวิเคราะห์งบการเงินที่นิยมใช้มี ด้วยกันคือ
3 วิธี
1. การวิเคราะห์ร้อยละของขนาดร่ วม ( Common Size Analysis)เป็ นการเปรี ยบเทียบ รายการในงบต่างๆกับตัวฐาน ว่าเป็ นสัดส่วนเท่าใดหรื อกี่เปอร์เซ็น ( %) ของตัวฐาน โดยงบกําไรขาดทุนใช้ยอดขายเป็ นตัวฐาน ส่วนงบดุลใช้สินทรัพย์รวมเป็ นตัวฐาน 2. การวิเคราะห์ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงหรื อแนวโน้ม ( Percentage Change Analysis) เป็ นการเปรี ยบเทียบแต่ละรายการในงบต่างๆว่ามีการเปลี่ยนแปลงจากปี ก่อนๆอย่างไร บ้าง โดยการเปรี ยบเทียบจะใช้ขอ้ มูลของปี ก่อนเป็ นฐานในการเปรี ยบเทียบ ว่ารายการ ในงบนี้เพิม่ ขึ้นหรื อลดลงจากปี ที่แล้วเท่าใดหรื อกี่เปอร์เซ็น (%) 3. การวิเคราะห์อตั ราส่วน ( Ratio analysis)เป็ นการนําข้อมูลที่ตอ้ งพิจารณา 2 รายการมา เปรี ยบเทียบกันว่าเป็ นสัดส่วนต่อกันเท่าใด การวิเคราะห์น้ นั จะได้ผลออกมาเป็ นตัวเลข ซึ่งจะไม่เกิดประโยชน์ใดๆเลย หากผูว้ เิ คราะห์ไม่สามารถอ่านค่าความหมายที่ได้จาก ตัวเลขนั้น การที่จะอ่านค่าหรื อตีความหมายได้ดีน้ นั ต้องมีการเปรี ยบเทียบ ซึ่งสามารถ ทําได้ดงั นี้
31 - เปรี ยบเทียบกับตัวเองโดยนําตัวเขที่ได้ไปเปรี ยบเทียบกับปี ก่อนๆหรื อปี ฐาน เพือ่ ดู ว่ากิจการมีผลการดําเนินงานแตกต่างไปจากเดิมอย่างไร - เปรี ยบเทียบกับคู่แข่งขันหรื ออุตสาหกรรมเป็ นการเปรี ยบเทียบว่ากิจการ ดําเนินงานอยูใ่ นระดับใด เมื่อเทียบกับบริ ษทั คู่แข่ง หรื อ อุตสาหกรรม งบการเงินเป็ นการนําเสนอข้อมูลทางการเงินที่มีแบบแผน เพือ่ แสดงฐานะทาง การเงินและรายการทางบัญชีของกิจการ ทีเป้ าหมายให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับฐานะทางการเงิน ผล การดําเนินงาน และกระแสเงินสดของกิจการซึ่งเป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้งบการเงินในการ ตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ งบการเงินที่สาํ คัญมี 3 งบ คือ 1. งบกําไรขาดทุน 2. งบดุล 3. งบกระแสเงินสด เพชรี ขุมทรัพย์ ( 2546: 200-201) กล่าวว่าการจัดแบ่งประเภทอัตราส่วนทางการเงิน ย่อมขึ้นอยูก่ บั วัตถุประสงค์การใช้ประโยชน์ แต่ส่วนใหญ่แล้วจะอยูใ่ นลักษณะเดียวกันหรื อ คล้ายๆกัน เพียงแต่จดั กลุ่มที่ผดิ แปลกออกไปตามเป้ าหมายที่ตอ้ งการ ในที่น้ ี จะได้ยกตัวอย่างการ แบ่งกลุ่มอัตราส่วนตามวัตถุประสงค์ให้ทราบเป็ นแนวทาง อย่างไรก็ตามการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับการจัด ประเภทอัตราส่วนที่เป็ น หลักในการบริ หารงบการเงิน และเป็ นจุดเริ่ มต้นของการเรี ยนรู ้เรื่ อง อัตราส่วนทางการเงิน มีอยู่ 4 ประเภท คือ 1. อัตราส่วนวิเคราะห์ความคล่องตัว (Liquidity ratios) 2. อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการใช้สินทรัพย์(Activity ratios) 3. อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการก่อหนี้(Leverage ratios)
32 4. อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการหากําไร หรื อ ประสิทธิภาพในการบริ หารงาน ของฝ่ ายบริ หาร(Profitability ratios) ส่วนการจัดกลุ่มอัตราส่วนตาม วัตถุประสงค์เพือ่ การลงทุนในหลักทรัพย์ แบ่งเป็ น 4 ประเภทเช่นเดียวกัน แต่จะมีขอ้ แตกต่างกันบ้างเกี่ยวกับรายการแบ่งเงินปั นผล และราคาหุน้ ซึ่งแบ่ง ตามรายการดังนี้ คือ 1. อัตราส่วนวิเคราะห์ความคล่องตัว 2. อัตราส่วนวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการดําเนินงาน 3. อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการหากําไรของเงินทุน 4. อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายการเงิน ในที่น้ ีจะได้แสดงการเปรี ยบเทียบให้เห็นทั้งสิ่งที่เหมือนกันและสิ่งที่แตกต่างกัน ระหว่าง อัตราส่วนทางการเงินตามวัตถุประสงค์ท้งั ทางด้านบริ หารการเงิน และการลงทุนในหลักทรัพย์ วันเพ็ญ วศินารมณ์ (2553: 7-16) กล่าวว่าการวิเคราะห์รายการการเงิน เป็ นการนําเครื่ องมือ ต่างๆที่เหามะสมมาวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้รับจากบริ ษทั เพือ่ นําไปตัดสินใจ ซึ่งอาจใช้เครื่ องมือ ดังต่อไปนี้ 1. การวิเคราะห์แนวนอน (Horizontal analysis) 2. การวิเคราะห์ตามแนวดิ่ง (Common-Size หรื อ Vertical analysis) 3. การวิเคราะห์โดยใช้อตั ราส่วน (Ratio analysis)
33 1) การวิเคราะห์แนวนอน ( Horizontal analysis)เป็ นการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง ของรายการใดรายการหนึ่งโดยการเปรี ยบเทียบ การเปรี ยบเทียบอาจทําได้ 2 วิธี คือ 1.1 เปรี ยบเทียบรายการระหว่าง 2 ปี ทําให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของรายการ ดังกล่าว ทั้งจํานวนเงิน และร้อยละโดยใช้ปีแรกเป็ นปี ฐาน 1.2 เปรี ยบเทียบรายการระหว่างหลายๆปี ทําให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของ รายการดังกล่าว โดยมักจะแสดงเป็ นร้อยละ โดยให้ปีแรกเป็ นปี ฐาน เพือ่ แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงของรายการดังกล่าว 2) การวิเคราะห์ตามแนวดิ่ง ( Common-Size หรื อ Vertical analysis)การวิเคราะห์งบ ดุลตามแนวดิ่งจะคํานวณว่ารายการแต่ละรายการในงบดุลเป็ นร้อยละเท่าใดของ สินทรัพย์รวม หรื อหนี้ สินและทุนรวม เป็ นการศึกษาองค์ประกอบและโครงสร้าง ของสินทรัพย์และแหล่งเงินทุนที่ใช้ ถ้ามีขอ้ มูลหลายๆปี จะแสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงในส่วนประกอบของสินทรัพย์และหนี้ สิน และส่วนของผูถ้ ือหุน้ 3) การวิเคราะห์โดยใช้อตั ราส่วน (Ratio analysis)เป็ นการนําตัวเลขจากงบการเงินมา เปรี ยบเทียบ เพือ่ หาความสัมพันธ์ ซึ่งการเปรี ยบเทียบอาจนําตัวเลขในงบเดียวกัน หรื อต่างงบกันก็ได้ อัตราส่วนที่หามักจะแบ่งเป็ น 2 ประเภท ตามวัตถุประสงค์ของ การวิเคราะห์ ดังนี้ 1. อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการหากําไร (Profitability ratios)
2. อัตราส่วนวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk ratios) 2.1 อัตราส่วนวิเคราะห์ความคล่อง (Liquidity ratios)
34 2.2 อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในชําระหนี้ ระยะยาว( Term Debt-Paying Ability)
Long-
3. อัตราส่วนวิเคราะห์ความสามารถในการบริ หารสินทรัพย์(Activity ratios) ฉันทนาศรี นวกุล (2552: 55-59) ได้กล่าวสรุ ปอัตราส่วนขั้นพื้นฐาน 1. อัตราส่วนแสดงสภาพคล่องหรื อ ความสามารถในจ่ายชําระหนี้ระยะสั้น อัตราส่วนทุนหมุนเวียน
=
สิ นทรัพย์หมุนเวียนหนี้สินหมุนเวียน
อัตราส่วนทุนหมุนเร็ว
=
สิ นทรัพย์หมุนเวียน−สิ นค้าคงเหลือหนี้สินหมุนเวียน
อัตราส่วนเงินสด
=
เงินสดหนี้สินหมุนเวียน
2. อัตราส่วนแสดงความสามารถในการก่อหนี้ สิ นทรัพย์ท้ งั หมด−ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ สิ นทรัพย์ท้ งั หมด
อัตราส่วนหนี้สินทั้งหมด
=
อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน
= หนี้สินทั้งหมด /ส่วนของผูถ้ ือหุน้ ทั้งหมด
อัตราส่วนทวีคูณของทุน
= สินทรัพย์ท้งั หมด /ส่วนของผูถ้ ือหุน้ ทั้งหมด
อัตราส่วนกําไรต่อดอกเบี้ยจ่าย
=
กําไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษีดอกเบี้ยจ่าย
อัตราส่วนกระแสเงินสดต่อดอกเบี้ยจ่าย =
กําไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี−ค่าเสื่ อมราคาดอกเบี้ยจ่าย
35 3. อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์หรื ออัตราส่วนแสดงการหมุนเวียน ของสินทรัพย์ สินค้าคงเหลือ
=
ระยะเวลาในการขายสินค้า
=
หมุนเวียนของลูกหนี้ การค้า
=
ต้นทุนขายสิ นค้าคงเหลือ
365 วันอัตราหมุนเวียนของสิ นค้า ค่าขายลูกหนี้การค้า
365 วันอัตราหมุนเวียนของลูกหนี้
ระยะเวลาในการเก็บเงินจากลูกหนี้การค้า
=
อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม
=
อัตราการใช้เงินลงทุนต่อยอดขาย
=
สิ นทรัพย์รวมค่าขาย
=
กําไรสุ ทธิค่าขาย
ค่าขายสิ นทรัพย์รวม
4. อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหากําไร ผลตอบแทนจากกําไรสุทธิ ผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม
(ROA)
=
ผลตอบแทนจากส่วนของผูถ้ ือหุน้ (ROE) = ROE
=
กําไรสุ ทธิสินทรัพย์รวม
กําไรสุ ทธิส่วนของผูถ้ ือหุน้ ทั้งหมด
กําไรสุ ทธิค่าขาย ค่าขายสิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ส่วนของผูถ้ ือหุน้
×
×
36 5. อัตราส่วนมูลค่าตลาด ราคาต่อกําไรสุทธิ มูลค่าตลาดต่อมูลค่าตามบัญชี
=
ราคาต่อหุน้ กําไรสุ ทธิต่อหุน้
=
มูลค่าตลาดต่อหุน้ มูลค่าตามบัญชีต่อหุน้
การวิเคราะห์ ในแบบของดูปองท์ (The DuPont Identity) จากที่ได้กล่าวมาว่า ROA และ ROE เป็ นอัตราส่วนที่ใช้วดั ความสามารถในการหากําไร ของธุรกิจที่แตกต่างกันอันเป็ นผลมาจากการก่อหนี้ของธุรกิจ อันดับต่อไปจะกล่าวถึงความสัมพันธ์ ระหว่าง 2 อัตราส่วนนี้ ด้วยการวิเคราะห์ให้ลึกซึ้ งถึงตัวประกอบที่สาํ คัญของอัตราส่วน ROE จาก สูตรเดิมของ ROE ผลตอบแทนจากส่วนของผูถ้ ือหุน้ (ROE) =
กําไรสุ ทธิส่วนของผูถ้ ือหุน้
อาจขยายสูตรข้างต้นด้วยการคูณอัตราส่วนดังกล่าวด้วยสินทรัพย์/สินทรัพย์ โดยให้อย่าง อื่นคงเดิม ผลตอบแทนจากส่วนของผูถ้ ือหุน้
= =
กําไรสุ ทธิส่วนของผูถ้ ือกํหุาน้ไรสุ ทธิส่วนของผูสิถ้ นือทรั หุน้ พย์สินทรัพย์
×
×
กําไรสุ ทธิสินทรัพย์สิ นทรัพย์ส่วนของผูถ้ ือหุน้
×
37 ทฤษฎีการตัดสิ นใจ ทิพยรัตน์ คงสนทรกิจกุลและคณะ ( 2552:14-15)กล่าวว่า การตัดสินใจรับบริ การ (Farle and others., 1975, unpaged อ้างอิงในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช , 2539,หน้า 338) ได้พฒั นาทฤษฎี ขึ้นจากการวิเคราะห์งานวิจยั และเรี ยกว่าทฤษฏีการตัดสินใจรับบริ การซึ่งมีองค์ประกอบที่สมั พันธ์ ซึ่งกันและกัน 6 องค์ประกอบดังนี้ องค์ประกอบที่ 1ข้อเท็จจริ งหรื อข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับบริ การเป็ นสิ่งที่ผรู ้ ับบริ การรับรู ้ เกี่ยวกับบริ การได้ 2 วิธีคือ 1. จากประสบการณ์ทางตรงหมายถึงผูร้ ับบริ การได้ใช้อวัยวะของตนสัมผัสกับ บริ การนั้นโดยตรงแล้วเกิดการรับรู ้วา่ สิ่งนั้นตรงกับความต้องการของตนหรื อไม่และพอใจกับการ บริ การนั้นมากน้อยเพียงใด 2. จากประสบการณ์ทางอ้อมหมายถึงผูร้ ับบริ การได้รับข้อมูลข่าวสารจากคําบอกเล่า ของผูอ้ ื่นแล้วทําให้เกิดการรับรู ้วา่ สิ่งนั้นตรงกับความต้องการของตนหรื อไม่และพอใจกับบริ การ นั้นมากน้อยเพียงใดข้อมูลข่าวสารเป็ นสิ่งกระตุน้ ให้ผรู ้ ับบริ การนึกถึงเครื่ องหมายการค้านั้นและเกิด ความรู ้สึกชอบหรื อไม่ชอบเกิดความเชื่อมัน่ ในบริ การนั้น องค์ประกอบที่ 2เครื่ องหมายการค้าทําให้ผรู ้ ับบริ การนึกถึงคุณภาพของบริ การเครื่ องหมาย การค้ามีอิทธิพลต่อความรู ้สึกและความเชื่อมัน่ ในบริ การนั้นในปั จจุบนั การโฆษณาบริ การจะมุ่งให้ ผูร้ ับบริ การศรัทธาต่อเครื่ องหมายการค้าจนทําให้ผรู ้ ับบริ การนึกถึงเช่นนํ้ามันที่มีคุณภาพดีท้งั ต่อ การใช้งานและสิ่งแวดล้อมต้องมีเครื่ องหมายการค้าของบางจากเป็ นต้น องค์ประกอบที่ 3เจตคติที่ดีต่อเครื่ องหมายการค้าเป็ นความรู ้สึกชอบไม่ชอบต่อบริ การเจต คติที่มีต่อเครื่ องหมายการค้าจะมีอิทธิพลต่อความมุ่งมัน่ ที่จะใช้บริ การนั้นต่อไป องค์ประกอบที่ 4ความเชื่อมัน่ ในบริ การเป็ นการประเมินและตัดสินใจว่าบริ การนั้นตรงกับ ความต้องการของผูร้ ับบริ การหรื อไม่ความเชื่อมัน่ ในบริ การเกิดจากได้รับข่าวสารเกี่ยวกับบริ การ และความศรัทธาที่มีต่อเครื่ องหมายการค้านั้นร่ วมกันซึ่งมีอิทธิพลให้ใช้หรื อไม่ใช้บริ การนั้นต่อไป
38 องค์ประกอบที่ 5ความมุ่งมัน่ หรื อตัดสินใจใช้บริ การนั้นซึ่งมีอิทธิพลมาจากเจตคติที่ดีต่อ เครื่ องหมายการค้าและความมุ่งมัน่ ในการใช้ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้บริ การในที่สุด องค์ประกอบที่ 6การใช้บริ การเป็ นขั้นตอนสุดท้ายที่ผรู ้ ับบริ การตัดสินใจใช้บริ การทฤษฎี การตัดสินจใช้บริ การของฟาร์เลย์สามารถอธิบายว่าผูร้ ับบริ การได้นาํ ข้อมูลต่างๆมาวิเคราะห์เพือ่ ตัดสินใจในการใช้บริ การ ทิพยรัตน์ คงสนทรกิจกุลและคณะ ( 2552:16-18)Blackwell and Miniard (1993, p. 5) กล่าว ว่าพฤติกรรมผูบ้ ริ โภค (Consumer Behavior)หมายถึง “กระบวนการตัดสินใจและลักษณะกิจกรรม ของแต่ละบุคคลเมื่อทําการประเมินผล(Evaluating) การจัดหา (Acquiring) การใช้ (Using) และการ ใช้จ่าย (Disposing) เกี่ยวกับสินค้าและบริ การ” รู ้เฟื่ องเรื่ องศัพท์การบริ หารธุรกิจ/การบริ หารรัฐกิจ (ศิริวรรณเสรี รัตน์, 2542, หน้า 138) ได้ให้ความหมายของ Consumer Behavior หรื อพฤติกรรมผูบ้ ริ โภคหมายถึงพฤติกรรมของมนุษย์ ในลักษณะบทบาทของผูบ้ ริ โภคซึ่งเป็ นพฤติกรรมซึ่งผูบ้ ริ โภคต้องทําการค้นหาการซื้ อการใช้การ ประเมินผลการใช้สอยผลิตภัณฑ์และบริ การซึ่งคาดว่าจะสนองความต้องการของเขาโดยมี กระบวนการตัดสินใจและการกระทําของบุคคลที่เกี่ยวกับการซื้อและการใช้ของสินค้านักการตลาด จะต้องศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรมผูบ้ ริ โภคด้วยเหตุผลหลายประการคือ 1. กพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภคมีผลต่อกลยุทธ์การตลาดของธุรกิจมีผลทําให้ธุรกิจประสบ ผลสําเร็จ 2. กเพือ่ ให้สอดคล้องกับแนวคิดทางการตลาดที่วา่ การค้นหาถึงความต้องการของ ลูกค้าแล้วใช้เครื่ องมือการตลาดร่ วมกันเพือ่ ตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้า
39 โมเดลแสดงการตัดสินใจของผูบ้ ริ โภค (Model of Consumer Decision Making) External Influences Input
Firm’s Marketing Effort 1.Product 2.Promotion 3.Price 4.Channels of distribution
Sociocultural Environment 1.Family 2.Informal sources 3.Other noncommercial sources 4.Social class 5.Subculture and culture
Consummer Decision Making
Process
Need Recognition Purchase search Evaluation of Alternatives
Psychological Field 1. Motivation 2. Perception 3. Learning 4. Personality 5. Attitudes
Postdecision Behavior Experience
Output Purchase 1. Trial 2. Repeat purchase Postpurchase Evaluation
ภาพที่ 2-1 แสดงโมเดลแสดงการตัดสินใจของผูบ้ ริ โภค/พฤติกรรมการซื้อของผูบ้ ริ โภค(Model of Consumer Decision Making ที่มา: (Schiffman, Leon G. &Kanuk, Leslie Lazar., 2000)
40 สิริวฒ ุ บูรณพิร (2540:11-13) กล่าวว่า กระบวนการตัดสินใจ การตัดสินในมีหลายชนิด ทั้ง ที่เป็ นเรื่ องส่วนตัวและเรื่ องขององค์การ ไม่วา่ จะเป็ นการตัดสินใจเรื่ องสําคัญและการตัดสินใจ ทัว่ ๆไปที่ทาํ อยูเ่ ป็ นประจํา บางอย่างมีผลต่อกิจกรรมประจําวันหรื อต่อชีวติ ของเราเอง หรื อต่อผูท้ ี่ เกี่ยวข้องกับเราในด้านธุรกิจ เราต้องตัดสินใจหน้าที่การงานรับผิดชอบอยูห่ รื่ อเพือ่ ผลประโยชน์ ของบริ ษทั ผูจ้ ดั การหลายคนสามารถมองการตัดสินใจเรื่ องส่วนตัวและเรื่ องงานออกจากกันได้ บาง คนสามารถตัดสินใจในสิ่งที่ขดั แย้งกับความเชื่อส่วนตัวยกตัวอย่างเช่น ผูจ้ ดั การระดับสูงคนหนึ่ง ต้องคัดเลือกผูส้ มัครสําหรับตําแหน่งการบริ หารระดับกลาง ปรากฏว่าผูส้ มัครที่เหมาะสมที่สุดเป็ น มารดาที่มีลูกเล็กๆ ยังไม่เข้าโรงเรี ยนสองคน โดยส่วนตัวแล้ว ผูจ้ ดั การรู ้วา่ ผูห้ ญิงคนนี้ควรที่จะใช้ เวลาอยูก่ บั บ้านมากกว่าที่จะมาทํางาน แต่ในที่สุดเขาก็เลื่อกสตรี ผนู ้ ้ ีเพราะเธอเป็ นผูท้ ี่มีคุณสมบัติ เหมาะสมที่สุด การตัดสินใจของเขาเป็ นการตัดสินใจในแง่ธุรกิจ ซึ่งเขาคํานึงถึงผลประโยชน์ของ บริ ษทั กอนเรื่ องอื่น บางคนต้องตัดสินใจในสิงที่เกี่ยวพันกันอย่างมากทั้งในด้านส่วนตัวและในด้านงานบางคน ใช้ความรู ้สึกส่วนตัวเข้าไปเกี่ยวมากเกินไปจนทําให้เกิดความขัดแย้ง ซึ่งเป็ นสิ่งที่ตอ้ งหาทางแก้ไข การตัดสินใจเรื่ องสําคัญการตัดสินใจเรื่ องปกติธรรมดาเป็ นสิ่งที่อยูก่ นั คนละขั้วการ ตัดสินใจที่สาํ คัญเป็ นกรณี เฉพาะที่เกิดขึ้นเพียงครั้งคราวและเป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบ หรื ออาจเป็ นเรื่ องของการลงทุนที่มกั มีผลกระทบสําคัญต่อชีวติ หรื อองค์กร หรื อย่ากจะเปลี่ยนแปลง เป็ นอย่างอื่นการตัดสินที่สาํ คัญจึงต้องทําอย่างพินิจพิเคราะห์มีการตรวจสอบค้นคว้าอย่างถี่ถว้ น นก ตัวอย่างเช่น การตัดสินใจว่าจะเปลี่ยนสูตรของสินค้าที่ผลิตดีหรื อไม่ ควรจะเปิ ดตลาดใหม่หรื อ แนะนําสินค้าใหม่หรื อไม่ ควจจะเปิ ดหรื อปิ ดโรงงานดีควรจะเปลี่ยนชื่อบริ ษทั ให้ดูทนั สมัยดีหรื อไม่ ควรจัดรู ้แบบโครงสร้างฝ่ ายการขายหรื อจ่ายเงินเพือ่ ปลดคนงานออกเพือ่ ลดจํานวนพนักงานดี หรื อไม่ การตัดสินใจเรื่ องปกติอาจเป็ นเรื่ องที่มีผลกระทบต่อชีวติ หรื อองค์หรเพียงเล็กน้อย จึงเป็ น การตัดสินใจที่ทาํ ได้ง่าย รวดเร็ว และใช้เวลาน้อย เช่น การตัดสินใจว่าจะทานอาหารกลางวันที่ไหน จะสัง่ อะไร จะดูภาพยนต์เรื่ องใด จะจัดห้องทํางานใหม่อย่างไร หรื อจะใส่ชุดอะไรไปทํางาน ผูม้ ี
41 หน้าที่ตดั สินใจไม่วา่ จะเป็ นผูจ้ ดั การหรื อลุกจ้างต้องสามารถจําแนกความแตกต่างของการตัดสินใจ สองลักษณะนี้และใช้วธิ ีที่เหมาะสมเพือ่ การดําเนินการ ความลําบากอยูท่ ี่บางเรื่ องมีลกั ษณะกํ้ากึ่งกันทั้งสองอย่างจนจําแนกออกได้ยาก ยกตัวอย่าง เช่น การตัดสินใจว่าจะจ้างผูช้ ่วยเพิม่ หรื อจ้างคนมาช่วยงานเพียงชัง่ ระยะเวลาหนึ่ง ควรโทรศัพย์ กลับไปติดต่อเรื่ องใดก่อนดี หรื องานรออยูช่ ิ้นใดควรจัดการก่อน เป็ นต้น จําแนกประเภทของงานดังกล่าว ต้องขึ้นอยูก่ บั บริ ษทั นั้นๆ เช่น การให้พนักงานขายของ บริ ษทั มีคอมพิวเตอร์ แบบพกพา ไปเมื่อไปพบลูกค้า ซึ่งอาจเป็ นเรื่ องธรรมดาสําหรับบริ ษทั ที่มี ฐานะทางการเงินที่มนั่ คงและมุ่งสร้างความก้าวหน้าจากเทคโนโลยีใหม่ๆ แต่สาํ หรับบริ ษทั ที่มีส ถาพทางการเงินไม่ค่อยดี จะลงทุนเรื่ องใดต้องรู ้แน่นอนว่าผลตอบแทนคุม้ ค่า การตัดสินใจซื้อเครื่ อง คอมพิวเตอร์พกพา อาจจะเป็ นเรื่ องใหญ่ ดร.เชาว์ โรจนแสงและคณะ ( 2544: 280) กล่าวว่า กระบวนการตัดสินใจซื้ อของตลาดธุรกิจ ในตลาดธุนกิจมีกระบวนการหรื อขั้นตอนการตัดสินใจซื้อสินค้าเหมือนกับในตลาดผูบ้ ริ โภคจะ แตกต่างกันในรายละเอียดบางประเด็น ขั้นตอนในกระบวนการตัดสินใจซื้ อในตลาดธุรกิจจะ ประกอบไปด้วยขั้นตอน ดังนี้
42 การตระหนักถึงความจําเป็ น
การระบุลกั ษณะเฉพาะ
การค้นหาแหล่งเสนอขาย
การคัดเลือกแหล่งเสนอขาย
การทําสัญญาซื้อขาย
การติดตามผล
ภาพที่ 2-2 ขั้นตอนของกระบวนการตัดสินใจซื้ อของตลาดธุรกิจแอร์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง รัญชิดา การขยัน ( 2546) ศึกษา การวิเคราะห์งบการเงินเปรี ยบเทียบบริ ษทั ในกลุ่มธุรกิจ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ กรณี ศึกษา บริ ษทั ควอลิต้ ีเฮ้าส์ จํากัด (มหาชน) บริ ษทั แลนด์ แอนด์เฮ้าส์ จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั เอเซียน พร็อพเพอร์ต้ ี ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด (มหาชน) เป็ นการวิเคราะห์ งบการเงินเปรี ยบเทียบในด้าน ความคล่องตัวทางการเงินระยะสั้น ความสามารถในการหากําไร ประสิทธิภาพในการดําเนินงาน โครงสร้างเงินทุนและนโยบายทางการเงิน ผลการศึกษาพบว่า บริ ษทั แลนด์ แอนด์เฮ้าส์ จํากัด (มหาชน) เป็ นบริ ษทั ที่มีความคล่องตัวทางการเงินระยะสั้นดีที่สุด เนื่องจากมีประสิทธิภาพในการบริ หารสินทรัพย์ ส่วนบริ ษทั เอเซียน พร็อพเพอร์ต้ ี ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด (มหาชน) มีอตั ราส่วนสภาพคล่องตํ่าที่สุด แต่มีแนวโน้มในด้านความสามารถในการหากําไร ได้สูงสุดและให้ประโยชน์แก่ผถู ้ ือหุน้ มากที่สุด และมีประสิทธิภาพสูงในการดําเนินงานและบริ หาร
43 สินทรัพย์ และบริ ษทั ควอลิต้ ีเฮ้าส์ จํากัด (มหาชน) มีแนวโน้มในการชําระหนี้ ระยะสั้นดีข้ ึนใน อนาคต โดยมีประสิทธิภาพในการดําเนินงานตํ่า เมื่อพิจารณาจากอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ รวม อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ และมีความเสี่ยงทางการเงินมากกว่าบริ ษทั อื่นเนื่องจากมี สัดส่วนของหนี้ที่สูงมากในโครงสร้างหนี้ สงกรานต์ ทองน่วม ( 2543) ศึกษาการวิเคราะห์งบการเงินของบริ ษทั ในอุตสาหกรรม ปูนซีเมนต์ของประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2537-2541 โดยแบ่งการศึกษาออกเป็ นสองส่วน ส่สน แรกจะเป็ นการศึกษาฐานะทางการเงินอันมีผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจ ซึ่งเป็ นการศึกษาถึงสภาพ คล่องทางการเงินและกระแสเงินสดหมุนเวียน ตลอดจนอัตราส่วนทางการเงิน ส่วนที่สองเป็ น การศึกษาการวิเคราะห์โครงสร้างเงินทุนและความอยูร่ อดระยะยาว ผลการศึกษาฐานะทางการเงิน ของกิจการที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยดีกว่าบริ ษทั ที่ไม่ได้จดทะเบียน โดย ก่อนเกิดวิกฤตการณ์บริ ษทั ปูนซีเมนต์ของไทย มีแนวโน้มการเจริ ญเติบโตเพิม่ ขึ้น แต่เมื่อเกิด วิกฤตการณ์มีการหยุดชะหงัก เนื่องจากการชะลอลงทุน และโครงการก่อสร้างการลงทุนทั้งภาครัฐ และเอกชนลดลง จากการศึกษษโครงสร้างเงินทุนและความอยูร่ อดระยะยาวพบว่า บริ ษทั ปูนซีเมนต์ของไทยมีการใช้เงินทุนจากหนี้ สินเป็ นหลัก จึงทําให้สดั ส่วนหนี้สินที่สูง ส่วนการ วิเคราะห์โดยใช้ดชั นี Z-Score Model พบว่า 4 บริ ษทั มีฐานะทางการเงินที่มนั่ คงในการดําเนินธุรกิจ และ 6 บริ ษทั อยูใ่ นระดับที่มีความเสี่ยงต่อการดําเนินธุรกิจ มีแนวโน้มที่จะล้มละลายสูง ปิ่ นเพชร เทพสมบัติ ( 2551) ศึกษาการประเมินฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานโดย วิเคราะห์งบการเงิน กรณี ศึกษาองค์การบริ หารส่วนตําบลแม่ต๋าํ อําเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย โดยใช้ขอ้ มูลระหว่างปี งบประมาณ พ.ศ. 2548 – 2550 เครื่ องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์งบการเงิน ได้แก่ การวิเคราะห์งบการเงินตามแนวนอน ( Horizontal Analysis) การวิเคราะห์งบการเงินตาม แนวโน้ม (Trend Analysis) และการวิเคราะห์งบการเงินตามอัตราส่วนทางการเงิน ( FinancialRatio Analysis) ผลการศึกษาพบว่าในรอบระยะเวลา 3 ปี องค์การบริ หารส่วนตําบลแม่ต๋าํ มีฐานะทาง การเงินอยูใ่ นเกณฑ์ดี มีสภาพคล่องทางการเงินสูง ไม่มีความเสี่ยงในการชําระหนี้ เนื่องจากเงินทุน ส่วนใหญ่ขององค์การบริ หารส่วนตําบลแม่ต๋าํ มาจากสินทรัพย์โดยเฉพาะเงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสดและมีรายรับมากกว่ารายจ่ายทุกปี ทําให้มีงบประมาณเพียงพอในการบริ หาร สุจินต์ ดวงดี ( 2553) ศึกษาการวิเคราะห์งบการเงินของบริ ษทั ไปรษณี ยไ์ ทย จํากัด พ.ศ. 2547-2551 จากการศึกษาพบว่า บริ ษทั ไปรษณี ยไ์ ทย จํากัด มีสภาพคล่องอยูใ่ นเกณฑ์ค่อนข้างดีและ
44 มีแนวโน้มปรับเพิม่ ขึ้นทุกปี อย่างต่อเนื่อง และความสามารถในการทํากําไรไปในทิศทางเดียวกันแต่ ปรับขึ้นไม่มากนัก ความเสี่ยงจากผลประกอบการอาจไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย ซึ่งสาเหตุที่สาํ คัญเกิด จาก สภาวะเศรษฐกิจ การเมือง และการพัฒนาเทคโนโลยีดา้ นการสื่สารและขนส่งที่เข้ามาทดแทน ธุรกิจไปรษณี ยอ์ ย่างเดิม จักริ น เพชรสังหาร ( 2549) ได้ศึกษาการวิเคราะห์งบการเงิน ของศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัย มหาสารคาม โดยทําการเก็บรวบรวมข้อมูลจากงบการเงินของศูนย์หนังสือฯ ที่เกิดขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2545-2547 ผลการศึกษาพบว่า ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีอตั ราหมุนเวียนเฉลี่ย เพิม่ ขึ้นและมีความคล่องตัวทางการเงินระยะสั้นสูงขึ้น การบริ หารสินทรัพย์หมุนเวียนอยูใ่ นเกณฑ์ที่ ดีมาก ไม่วา่ จะเปรี ยบเทียบกับอัตราเฉลี่ยอุตสาหกรรม แต่ยงั ประสบปั ญหาในการบริ หารสินค้า คงเหลือ เนื่องจากสินค้าคงเหลือมีจาํ นวนมาก ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยมหาสารคามไม่มีความ เสี่ยงในการชําระหนี้ ในอนาคต มีอตั ราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ลดลง แสดงให้เห็นว่า ความสามารถในการบริ หารสินทรัพย์ให้เกิดรายได้ไม่ดีเท่าที่ควร วิลาวัลย์ ตุม้ เฟี้ ยม ( 2551) ศึกษาการวิเคราะห์งบการเงินเปรี ยบเทียบบริ ษทั ที่จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอโดยการนํางบการเงินเฉพาะกิจการรายไตรมาสของบริ ษทั ตั้งแต่เริ่ มซื้อ ขายหลักทรัพย์ในตลาดฯ ถึงไตรมาสที่ 2 ปี พ.ศ.2551 ที่มี 6 ไตรมาสขึ้นไปจํานวน 41 บริ ษทั มา วิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงินเฑาะหัวข้อที่น่าสนใจ จากการศึกษาพบว่า อัตราส่วนวัด ความสามารถในการทํากําไร บริ ษทั ที่เจริ ญเติบโตขึ้นมีจาํ นวน 25 บริ ษทั มีแนวโน้มลดลง 16 บริ ษทั เกิดจากต้นทุนขายและต้นทุนดําเนินงานมีสูง อัตราส่วนวัดสภาพคล่องของตลาดทั้งตลาด ส่วนใหญ่ สามารถจ่ายหยี้ระยะสั้นได้ดี อัตราวัดภาระหนี้ สินจํานวน 20 บริ ษทั มีอตั ราเพิม่ ขึ้นของ หนี้สินมากกว่าการเพิม่ ขึ้นของทุนและความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ยเป็ นไปในทิศทางเดียวกับ ผลการดําเนินงาน อัตราวัดมูลค่าตลาด ไม่สามารถนํามาวิเคราะห์ทิศทางการดําเนินงานได้ เนื่องจาก มูลค่าทางบัญชีที่เกิดจากการบันทึกตัวเลข ตามมาตรฐานของบัญชีไม่สามารถกําหนดทิศทางราคา ตลาดได้ อนิรุทธ บุญลอย ( 2553) ศึกษาการวิเคราะห์งบการเงินของธุรกิจสกัดนํ้ามันปาล์ม ใน ประเทศไทย เพือ่ วิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงินของธุรกิจสกัดนํ้ามันปาล์มในประเทศไทยและเพือ่ วิเคราะห์หาอัตราส่วนเฉลี่ย รวมถึงจุดแข็งจุดอ่อนทางการเงิน โดยใช้บริ ษทั ในกาศึกษาทั้งสิน 63 แห่ง ผลการศึกษาพบว่า ธุรกิจสกัดนํ้ามันปาล์มในประเทศไทย มีอตั ราส่วนวัดความสามารถในการ
45 ทํากําไร อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง อัตราส่วนวัดประสิทธิภาพในการทํางาน และวัดภาระหนี้ สินอยู่ ในเกณฑ์ที่ดีข้ ึนเรื่ อยๆ แต่ปัญหาด้านภัยแล้งทําให้เกิดการขาดแคลนวัตถุดิบส่งผลให้การผลิตนํ้ามัน ปาล์มลดลง ยอดขายลดลง และกําไรลดลงในที่สุด
บทที่ 3 กรณีศึกษาบริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) ประวัติความเป็ นมาของบริษัท จากความสําเร็จในการได้รับสัมปทานการกูเ้ รื อเดินทะเลในปี พ.ศ. 2497 ของดร.ชัยยุทธ กรรณสูต (หุน้ ส่วนชาวไทย) และมิสเตอร์ จิโอจิโอ เบลลินเจียรี่ (หุน้ ส่วนวิศวกร ชาวอิตาลี) ได้ทาํ การกูเ้ รื อจนประสบความสําเร็จ ซึ่งจุดนี้ เองได้นาํ ไปสู่การก่อตั้งเป็ น บริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อป เมนต์ จํากัด (ไอทีดี ) ในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2501 โดยเริ่ มต้นทุนจดทะเบียนด้วยเงิน 2 ล้านบาท ต่อมาในปี พ.ศ. 2537 บริ ษทั ฯ ได้เข้า จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ประเทศไทยด้วยทุนจด ทะเบียน 2,500ล้านบาท และด้วยผลประกอบ การของ บริ ษทั ฯ ที่เจริ ญเติบโตเรื่ อยมาจนกระทัง่ ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ มีทุนจดทะเบียนเพิม่ เป็ น 4,921.68 ล้านบาทและ มีทุนชําระแล้ว 4,193.68 ล้าน บาท หลังจากเสียชีวติ ของ มิสเตอร์ จิโอจิโอ เบลลินเจียรี่ ในเดือนธันวาคมพ.ศ. 2524 บริ ษทั อิตา เลียนไทยฯได้ดาํ เนินการบริ หารงานต่อโดยหุน้ ส่วนคนไทยและสมาชิกครอบครัวกรรณสูตนัก บริ หารและวิศวกรที่ลว้ นแต่เป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ความสามารถปี พ.ศ.2540 บริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อป เมนต์ จํากัด(มหาชน) ได้ประสบกับมรสุมทางเศรษฐกิจทําให้บริ ษทั ฯต้องทําการปรับปรุ ง โครงสร้างหนี้ และสิ้นสุดกระบวนการดังกล่าวในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2545 จากวิกฤตการณ์ ดังกล่าวทําให้บริ ษทั ฯเริ่ มมีรากฐาน ที่แข็งแกร่ งพร้อมสําหรับการเติบโตอย่างต่อเนื่องในอนาคต ผล ประกอบการประจําปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546บริ ษทั ฯ มีรายได้ เท่ากับ 18,330 ล้านบาท จน ทําให้บริ ษทั ฯ เป็ นผูน้ าํ ใน การดําเนินงานโครงการก่อสร้าง ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานอันดับ หนึ่ง ใน ประเทศไทย และเป็ นหนึ่งในบริ ษทั ผูร้ ับเหมางานด้านวิศวกรรมโยธาที่ใหญ่ที่สุดใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอด ช่วงปี พ.ศ.2546 บริ ษทั ฯ ได้รับงานใหม่หลายโครงการ ซึ่งมี มูลค่างาน 7,896 ล้านบาท ทําให้มูลค่างานในมือ ณ เวลานั้น ของบริ ษทั ฯ มีมากกว่า 39,971 ล้าน บาทโครงการสําคัญที่เป็ น ความภาคภูมิใจ ของบริ ษทั ฯ ที่ผา่ นมา คือโครงการก่อสร้างท่าอากาศยาน นานาชาติสุวรรณภูมิ ซึ่งอยูห่ ่างจาก กรุ งเทพมหานครไปทางทิศตะวันออกประมาณ 25 กิโลเมตร โครงการดังกล่าวได้มีการดําเนินการอย่างต่อ เนื่องมาหลายปี และบริ ษทั ฯ ได้ดาํ เนินงานเสร็จสิ้น เรี ยบร้อยแล้วหลายปี ที่ผา่ นมาจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั อิตาเลียนไทยฯ ประสบความสําเร็จในงาน
47 ก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนหลายโครงการ อาทิ โครงการรถไฟฟ้ าบีทีเอส ระยะทาง 23.5 ก.ม. โครงการรถไฟใต้ดิน ซึ่งบริ ษทั ฯ ได้ร่วมกับบริ ษทั ญี่ปุ่น อีก 2 บริ ษทั จัดตั้งขึ้นในรู ปแบบของ กิจการร่ วมค้า ขึ้นมารับผิดชอบงานทางส่วนสายเหนือ ซึ่งเป็ นงานครึ่ งหนึ่งของโครงการ มี ระยะทาง 10.50 ก.ม. ที่ประกอบด้วย งานก่อสร้างอุโมงค์รถไฟคู่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5.7 ม. ระยะทาง 10.5 กม. สถานีรถไฟฟ้ าใต้ดินจํานวน 9 สถานีและอาคารอํานวยความสะดวก (อาคาร จอดรถ ) และ โครงการอื่น เช่น โครงการก่อสร้างบ้านเอื้ออาทรของ การเคหะ แห่งชาติโครงการ ก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงหัวหมาก และบ้านภาชี - ลพบุรี ของการรถไฟแห่งประเทศไทย โครงการ ก่อสร้าง ท่อร้อยสายไฟฟ้ าใต้ดินของสถานียอ่ ย ลาดพร้าว - วิภาวดี ของการไฟฟ้ านครหลวง โครงการเหมืองแม่เมาะ โครงการสะพานพระราม 5 และโครงการรถไฟ ความเร็วสูงไต้หวัน ระยะทาง 27.3 ก.ม. ด้วยความพร้อมของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ฯยังได้ขยายงานไปยังประเทศเพือ่ นบ้าน อาทิ ใน ประเทศ อินเดีย บังคลาเทศ กัมพูชา สปป.ลาวอินโดนีเซีย ลาว มัลดีฟส์ สภาพพม่า ฟิ ลิปปิ นส์ และ ไต้หวัน เป็ นต้น ในฐานะที่บริ ษทั ฯ เป็ นผูร้ ับเหมาก่อสร้างสาธารณูปโภคขนาดใหญ่ของประเทศไทย เป็ น เวลานาน กว่า 50 ปี บริ ษทั อิตาเลียนไทยฯวันนี้ มีความภาคภูมิใจเมื่อได้มองย้อนอดีตที่ผา่ นมา และ หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า บริ ษทั ฯ จะพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ให้กา้ วหน้า และก้าวไกลต่อไปในอนาคตที่ สดใส การดําเนินงาน ประเภทกลุ่มงานอุตสาหกรรมรับเหมาก่ อสร้ าง ปี 2553 ที่ผา่ นมา นับว่าเป็ นอีกปี ที่ธุรกิจอุตสาหกรรมรับเหมาก่อสร้างในประเทศยังมีการ ขยายตัวไม่มากนัก แม้วา่ ในภาคเอกชนจะมีการลงทุนเพิม่ มากขึ้น แต่ในภาครัฐยังมีการลงทุนใน โครงการพื้นฐานขนาดใหญ่ค่อนข้างน้อย ความล่าช้าส่วนใหญ่เกิดจากขั้นตอนและกระบวนการ ตรวจสอบต่างๆเพือ่ ความโปร่ งใสของโครงการบางโครงการที่เคยอนุมตั ิโครงการแล้ว ต้อง ย้อนกลับไปสู่กระบวนการตรวจสอบใหม่ท้งั หมด ส่งผลให้มีการเปิ ดประมูลและเซ็นสัญญา โครงการขนาดใหญ่เป็ นไปได้อย่างช้าๆ มีเพียงโครงการในแผนปฏิบตั ิการไทยเข้มแข็งของรัฐบาล เท่านั้นที่ในช่วงครึ่ งปี แรกสามารถดําเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการที่เป็ นโครงการ
48 ขนาดเล็กและกระจายไปทัว่ ประเทศ กระบวนการตรวจสอบและเสียงคัดค้านจึงไม่รุนแรงเหมือน โครงการขนาดใหญ่ ส่งผลบวกต่อผูร้ ับเหมารายย่อยทัว่ ประเทศ แต่เมื่อเกิดปั ญหานํ้าท่วมใหญ่ ส่งผลกระทบแทบทุกจังหวัดทัว่ ประเทศ รัฐบาลจึงต้องลดงบไทยเข้มแข็งลง เพือ่ นําเงินมาช่วยเหลือ ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนจากอุทกภัยครั้งใหญ่น้ ีเป็ นอันดับแรก นอกจากนี้สภาวะความผัน ผวนของเงินดอลล่าร์และราคานํ้ามันที่มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นก็เป็ นปั จจัยที่ส่งผลต่อความมัน่ ใจ ของนักลงทุน ทําให้เน้นการลงทุนอย่างค่อยเป็ นค่อยไป ยิง่ มีการเพิม่ ข้อจํากัดเกี่ยวกับ ภาคอุตสาหกรรมที่ตอ้ งทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ( EIA) ให้ครอบคลุมไป ถึงการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA)ด้วย ยิง่ ส่งผลกระทบเกี่ยวกับเงินลงทุนของทั้งภาครัฐ และเอกชนที่ตอ้ งพิจารณาให้รอบคอบ จากข้อจํากัดต่างๆ ที่กล่าวมา ส่งผลให้การแข่งขันด้านราคา ยิง่ รุ นแรงขึ้น เนื่องจากโครงการที่ออกมามีนอ้ ยกว่าความต้องการ ดังนั้นการที่จะทํากําไรให้ได้มาก จากโครงการในประเทศจึงเป็ นเรื่ องที่ทาํ ได้ลาํ บาก ส่วนโครงการในต่างประเทศ ในช่วงปลายปี 2553 และต้นปี 2554 ถือว่าเป็ นสัญญาณที่ดีมาก ของ บริ ษทั ฯ ที่ได้รับสัมปทาน 75 ปี จากรัฐบาลพม่าในโครงการก่อสร้างนิคมอุตสาหกรรมและ สาธารณูปโภค ทวาย ซึ่งประกอบด้วย โครงการก่อสร้างท่าเรื อนํ้าลึก ถนน ทางรถไฟ นิคม อุตสาหกรรมโรงไฟฟ้ าและโรงงานต่างๆ และได้รับสัมปทาน 25 ปี สําหรับโครงการทางด่วน ยกระดับที่กรุ งธากา ประเทศบังคลาเทศ งานประกอบด้วย ทางด่วนสาย กลุ่มงานก่ อสร้ างสนามบิน โครงการก่อสร้างสนามบินในต่างประเทศ ที่แล้วเสร็จในรอบปี ที่ผา่ นมาได้แก่ โครงการ ขยายปรับปรุ งสนามบินปากเซ ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มูลค่า 317 ล้านบาท ส่วนโครงการก่อสร้างสนามบินในต่างประเทศ ที่ยงั ดําเนินการอยู่ ได้แก่ งานก่อสร้างอาคาร ผูโ้ ดยสารของสนามบินเอส.วี.พี.ไอ ที่เมืองอะมีดาบัด ซึ่งบริ ษทั ฯ ได้ร่วมมือกับบริ ษทั ก่อสร้างใน อินเดีย คือบริ ษทั Pratibhaเข้าดําเนินการในโครงการดังกล่าวมูลค่า 1,220 ล้านรู ปีดําเนินการแล้ว เสร็จไปกว่าร้อยละ 99 คาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ในช่วงต้นปี 2554 นี้และงานก่อสร้างอาคารผูโ้ ดยสาร ที่สนามบินโกลกาตา มูลค่า 15,348 ล้านรู ปีโครงการนี้ บริ ษทั ฯ ได้ร่วมมือกับ บริ ษทั ไอทีดีซีเมน เตชัน่ จํากัด ซึ่งเป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ของประเทศอินเดีย เข้าไปดําเนินการ ปั จจุบนั ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 45 ส่วนงานก่อสร้างสนามบินภายในประเทศ ในรอบปี ที่ผา่ นมา มีเพียงโครงการซ่อมแซมพื้นผิวทางขับ T8 และ T12 ของสนามบินสุวรรณภูมิมูลค่า 37.84 ล้านบาท ส่วนเป้ าหมายหลัก คือ โครงการพัฒนาสนามบินสุวรรณภูมิในเฟสที่ 2 ยังต้องรอการตัดสินใจของ
49 รัฐบาลว่าจะเริ่ มเมื่อใด ซึ่งบริ ษทั ฯ มีความมัน่ ใจเสมอว่า ด้วยศักยภาพและผลงานที่ผา่ นมาจะ สามารถชนะในการประมูลงานดังกล่าวและเข้าไปสานต่อภาระดังกล่าวต่อไปหลักขนาด 4 ช่อง จราจร ยาวประมาณ 20 กม. ทางเชื่อม 2 แห่ง ทางขึ้น-ลงพร้อมด่านเก็บค่าผ่านทาง 11 จุด รวมทั้ง ศูนย์ควบคุมระบบทางด่วน ซึ่งงานทั้งสองโครงการดังกล่าวจะก่อให้เกิดเงินทุนหมุนเวียนเข้ามาใน บริ ษทั ฯ เป็ นเวลาหลายสิบปี ตลอดอายุโครงการ กลุ่มงานก่ อสร้ างอาคาร โครงการก่อสร้างอาคารที่แล้วเสร็จในรอบปี ที่ผา่ นมา ได้แก่ โครงการบันยันทรี รีสอร์ท แอนด์สปาสมุย มูลค่า 1,292 ล้านบาท โครงการอาคารศูนย์ควบคุมการจ่ายไฟฟ้ าระยะที่ 2 ในพื้นที่ 7 จังหวัด ของการไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค มูลค่า 913 ล้านบาท โครงการดิไอริ ส คอนโดมิเนียม (พระราม 9–ศรี นคริ นทร์) มูลค่า 730 ล้านบาท โครงการเดอะ ดับบลิวรี ทรี ทแอนด์เรสิเดนซ์สมุย มูลค่า 525 ล้านบาท โครงการก่อสร้างอาคารเฉลิมพระเกียรติ80 พรรษา โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่ นเกล้ามูลค่า 432 ล้านบาท โครงการคอนโดมิเนียม IDEO รัชดา-ห้วยขวาง มูลค่า 374 ล้านบาท โครงการอมารี เรสซิเดนซ์ซอยศูนย์วจิ ยั มูลค่า 219 ล้านบาท และโครงการอาคาร 96 ปี หลวงตามหาบัว ญาณสัมปั น โน มูลค่า 177 ล้านบาท สําหรับโครงการต่างๆ ที่ยงั ดําเนินการอย่างต่อเนื่องอยู่ ได้แก่ โครงการ ก่อสร้างอาคารรักษาพยาบาลรวมและศูนย์ความเป็ นเลิศทางการแพทย์ ของสภากาชาดไท ยมูลค่า 6,373 ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 16 โครงการศูนย์ความเป็ นเลิศทางการวิจยั โรงพยาบาลศิริ ราช มูลค่า 5,794 ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 56 โครงการก่อสร้างห้างสรรพสินค้าและ โรงแรมเซ็นทรัลเฟสติวลั พัทยาบีช มูลค่า 1,976 ล้านบาท ดําเนินการไปเกือบร้อยละ 100คาดว่าจะ แล้วเสร็จในไตรมาสแรกของปี 2554 นี้โครงการเมโทรปาร์ค สาธร เฟส 3 มูลค่า 1,329 ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 73 โครงการก่อสร้างอาคารเฉลิมพระเกียรติ50 พรรษา (สมเด็จพระเทพฯ) ระยะที่ 1-2-3 มูลค่ารวม 1,571 ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 47 โครงการเซ็นทรัลพลาซ่า พระราม 9 มูลค่า 1,516 ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 46 และโครงการไอเกีย เซ็นเตอร์-เมกะ บางนา มูลค่า 1,302 ล้านบาทดําเนินการไปแล้วร้อยละ 25 เป็ นต้น นอกจากนี้ในช่วงปลายปี ที่ผา่ น มา บริ ษทั ฯ ได้เริ่ มเข้าไปดําเนินการ โครงการ D’Rapportซึ่งเป็ นการก่อสร้างที่พกั อาศัยและอาคาร พาณิ ชย์ในประเทศมาเลเซีย มูลค่า 5,140 ล้านบาท
50 กลุ่มงานก่ อสร้ างทางด่ วนยกระดับ ทางหลวง ทางรถไฟ และ สะพาน โครงการก่อสร้างถนนในประเทศที่ดาํ เนินการแล้วเสร็จในรอบปี ที่ผา่ นมา ได้แก่ โครงข่าย ถนนภายในโครงการศูนย์ราชการ กทม. สัญญา 9กลุ่มงานก่อสร้างทางด่วนยกระดับ ทางหลวง ทาง รถไฟ และ สะพานโครงการก่อสร้างถนนในประเทศที่ดาํ เนินการแล้วเสร็จในรอบปี ที่ผา่ นมา ได้แก่ โครงข่ายถนนภายในโครงการศูนย์ราชการ กทม. สัญญา 9มูลค่า 225 ล้านบาท โครงการปรับปรุ ง ถนนคูบ้ อนช่วงที่ 2 รวมระบบสาธารณูปโภค มูลค่า 467 ล้านบาท โครงการปรับปรุ งถนนบางบอน 3 รวมระบบสาธารณูปโภค มูลค่า 255 ล้านบาท ส่วนโครงการในประเทศที่ยงั ดําเนินการต่อเนื่องอยู่ ได้แก่ โครงการงานสะพานมิตรภาพไทย-ลาวข้ามแม่น้ าํ โขงแห่งที่ 3 ที่ จ.นครพนม มูลค่า 1,623 ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 76 โครงการก่อสร้างสะพานสารสิน 2 ที่ จ.ภูเก็ต มูลค่า 347ล้าน บาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 78 และโครงการงานจัดซ่อมเสริ มกําลังสะพานข้ามคลองพื้นที่ กทม. กลุ่ม 1 และ 2 มูลค่า 258 ล้านบาทดําเนินการไปแล้วร้อยละ 26 ส่วนงานก่อสร้างทางรถไฟที่แล้ว เสร็จไปในปี ที่ผา่ นมา คือ งานติดตั้งสะพานเหล็ก สถานีคลองมะพลับ-สถานีสวรรคโลกมูลค่า 54 ล้านบาท และงานปรับปรุ งทางรถไฟสถานีพษิ ณุโลก-สถานีบา้ นบุ่งมูลค่า 114 ล้านบาท ส่วน โครงการที่ดาํ เนินการอยู่ ได้แก่ โครงการซ่อมบํารุ งทางรถไฟปี 2554 ซึ่งงบประมาณเบื้องต้นที่ อนุมตั ิแล้ว 8 ล้านบาท ส่วนที่เหลือทางการรถไฟจะประเมินและทยอยส่งมอบงานให้ตามแผนการ ซ่อมที่เห็นสมควร นอกจากนี้ยงั มีงานปรับปรุ งทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือระยะที่ 5 และ 6 รวมระยะทาง 586 กิโลเมตร มูลค่า 14,688ล้านบาท ซึ่งกําลังจะเปิ ดประมูลในไตรมาสแรกของปี 2554 จากประสบการณ์บวกความพร้อมของบุคลากรและเครื่ องจักรที่มีอยู่ บริ ษทั ฯ มัน่ ใจว่าจะชนะ การประมูลอย่างน้อย 1 โครงการโครงการในต่างประเทศที่ยงั ดําเนินการอยู่ ได้แก่ งานติดตั้งวางราง รถไฟที่บงั กาลอร์ของประเทศอินเดีย มูลค่า 3,164 ล้านรู ปีมีความคืบหน้าร้อยละ 32 โครงการ ก่อสร้างทางหลวงเส้นทาง NH-31 C รัฐเวสท์เบงกอล ในประเทศอินเดีย มูลค่า 2,468 ล้านรู ปี ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 67นอกจากนี้เพิง่ เข้าไปดําเนินการโครงทางยกระดับ Jaipur Metro Package No.C-2 ในอินเดียมูลค่า 1,526 ล้านบาท และ เพิง่ ได้รับสัมปทาน 25 ปี สําหรับโครงการ ทางด่วนยกระดับ มูลค่า 38,095 ล้านบาท ที่กรุ งธากา ประเทศบังคลาเทศ
51 กลุ่มงานก่ อสร้ างโรงงานอุตสาหกรรม งานก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมที่ดาํ เนินการแล้วเสร็จในปี ที่ผา่ นมา ได้แก่ โครงการ ก่อสร้างโรงไฟฟ้ าพระนครเหนือ ของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย ซึ่งบริ ษทั ฯ ได้ร่วมมือกับ บริ ษทั ฮิตาชิจาํ กัดและบริ ษทั สุมิโตโมคอร์ปอเรชัน่ เข้าดําเนินการ มีมูลค่างานเฉพาะส่วนที่บริ ษทั ฯ รับดําเนินการ คือ 4,107 ล้านบาท และโครงการผลิตไฟฟ้ า-พลังงานร่ วมศูนย์ราชการกรุ งเทพฯ มูลค่า 692 ล้านบาท ซึ่งงานทั้งสองโครงการเหลือเพียงงานทดสอบระบบให้สมบูรณ์เท่านั้น ส่วน โครงการที่กาํ ลังดําเนินการอยู่ ได้แก่ งานก่อสร้างงานโครงสร้างและงานสถาปั ตย์โรงไฟฟ้ าเก็คโค่วัน ซึ่งเป็ นโรงไฟฟ้ าขนาด 660 เมกกะวัตต์ มูลค่า 956 ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 95 โครงการโรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์มูลค่า 1,301 ล้านบาทดําเนินการไปแล้วร้อยละ 22 งาน ปรับปรุ งคุณภาพดินของบริ ษทั ระยองเทอร์มินลั จํากัด มูลค่า 243 ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อย ละ 97 และโครงการขยายการผลิตนํ้า โรงงานมหาสวัสดิ์ระยะที่ 4 มูลค่า 449 ล้านบาท ดําเนินการ ไปแล้วร้อยละ 52 กลุ่มงานด้ านการพัฒนาเหมืองแร่ และ ถ่ านหิน โครงการที่ดาํ เนินการแล้วเสร็จในปี ที่ผา่ นมา ได้แก่ โครงการเหมืองถ่านหินแม่เมาะ เฟสที่ 5 มีมูลค่าโครงการ 11,968 ล้านบาท โดยเป็ นโครงการที่บริ ษทั ฯ เข้าไปพัฒนาเหมืองถ่านหินเพือ่ การผลิตพลังงานไฟฟ้ าอย่างต่อเนื่อง เป็ นเวลาเกือบ 10 ปี แต่ก็ยงั มีงานที่บริ ษทั ฯ เข้าไปทําอย่าง ต่อเนื่องในพืน้ ที่ถดั ไป โดยร่ วมมือกับบริ ษทั สหกลอิควิปเมนท์จาํ กัด ในนามกิจการร่ วมค้า ไอทีดีเอสคิว เข้าไปดําเนินการในเฟสที่ 7 ซึ่งมีมูลค่า 21,833ล้านบาท ขณะนี้ดาํ เนินการไปแล้วร้อยละ 18 สามารถดําเนินการต่อเนื่องไปจนถึงปี 2563 โครงการผลิตและจัดส่งหินปูนให้การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิต แห่งประเทศไทยเพือ่ ใช้สาํ หรับกําจัดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซค์ที่ได้จากขบวนการผลิตไฟฟ้ าด้วยถ่าน หินของโรงไฟฟ้ าแม่เมาะ มูลค่า 1,006 ล้านบาท ดําเนินกาไปแล้วร้อยละ 47 นอกจากนี้ยงั มี โครงการผลิตและจัดส่งหินปูนเพือ่ เป็ นวัตถุดิบในการผลิตซิเมนต์ให้บริ ษทั ภูมิใจไทยซิเมนต์จาํ กัด ที่ จ.สระบุรีมูลค่า686 ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 55 ส่วนโครงการในต่างประเทศที่ บริ ษทั ฯ ดําเนินการอยู่ ได้แก่ งานพัฒนาเหมืองถ่านหิน ที่ประเทศอินโดนีเซีย30,398 ล้านบาท ดําเนินการ ไปแล้วร้อยละ 6 ซึ่งในต่างประเทศยังมีโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินที่บริ ษทั ฯ วางแผนจะเข้าไป ดําเนินการอีก 2 แห่งคือ เหมืองถ่านหินไมก๊ก ในประเทศพม่าและเหมืองถ่านหินซาโกอาใน ประเทศมาดากัสการ
52 กลุ่มงานวางท่ อ และ งานอื่นๆ โครงการที่แล้วเสร็จในรอบปี ที่ผา่ นมา ได้แก่ โครงการระบายนํ้าบริ เวณสนามบินสุวรรณ ภูมิส่วนที่ 3 มูลค่า 2,764 ล้านบาท โครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติไปยังโรงไฟฟ้ าพระนครเหนือ มูลค่า 824 ล้านบาท โครงการบ่อพัก ท่อร้อยสายไฟฟ้ าใต้ดินถนนพระบรมราชชนนีถนนราชพฤกษ์ มูลค่า 96ล้านบาท และโครงการวางท่อส่งก๊าซธรรมชาติ NGV และ City Gas มูลค่า 105 ล้านบาท ส่วนโครงการที่ยงั ดําเนินการอยูใ่ นขณะนี้ได้แก่ โครงการท่อก๊าซธรรมชาติของ ปตท. สําหรับศูนย์ ราชการแจ้งวัฒนะและศูนย์พลังงานแห่งชาติจากรังสิตถึงพญาไท มูลค่า 1,288 ล้านบาท ดําเนินการ ไปแล้วกว่าร้อยละ 99.9 เหลือเพียงงานเพิม่ เติมที่ทางเจ้าของงานกําลังพิจารณา โครงการก่อสร้าง สถานีสูบนํ้า ท่อส่งนํ้าโครงการผันนํ้าจากจันทบุรีไประยองมูลค่า 1,615 ล้านบาท เป็ นโครงการผัน นํ้าจากพื้นที่ จ.จันทบุรีไปยังแหล่งเก็บกักนํ้า จ.ระยองเพือ่ บรรเทาการขาดแคลนนํ้าในฤดูแล้ง งาน ส่วนใหญ่อยูใ่ นช่วงการเตรี ยมพื้นที่และการจัดหาวัสดุ และโครงการปรับปรุ งอุโมงค์ส่งนํ้า จํานวน 4 เส้นทาง ของการประปานครหลวง มูลค่า 762 ล้านบาท ซึ่งเป็ นการปรับปรุ งอุโมงค์ส่งนํ้าเดิมใช้ งานมานานจนมีปัญหาเรื่ องการรั่วซึมของนํ้าประปาดําเนินการไปแล้วประมาณร้อยละ 1 นอกจากนี้ ยังมีงานวางท่อก๊าซธรรมชาตินวนคร-รังสิต มูลค่า 1,860 ล้านบาท ซึ่งบริ ษทั ฯ เพิง่ ชนะการประมูล และรอการเซ็นสัญญาอย่างเป็ นทางการในช่วงต้นปี 2554 นี้ สาํ หรับโครงการในต่างประเทศที่แล้ว เสร็จในรอบปี ที่ผา่ นมา ได้แก่ โครงการออกแบบ จัดหา ติดตั้งท่อประปาขนาด 1500 มิลลิเมตรลอด แม่น้ าํ ไซ่ง่อน ในประเทศเวียดนาม มูลค่า 64 ล้านบาท ส่วนโครงการที่กาํ ลังดําเนินการอยู่ ได้แก่ โครงการวางท่อส่งนํ้าประปาที่เมืองโกลกาตา ในประเทศอินเดีย มูลค่า 1,874 ล้านรู ปีดําเนินการไป แล้วร้อยละ 39 กลุ่มงานก่ อสร้ างท่ าเรือ ท่ าเทียบเรือ งานป้ องกันตลิ่ง งานขุดลอกและถมชายฝั่ง และ งาน ทางนํ้าอื่นๆ โครงการที่ดาํ เนินการแล้วเสร็จในรอบปี ที่ผา่ นมาได้แก่โครงการท่าเทียบเรื อใหม่หมายเลข 3 ของ บริ ษทั มาบตาพุด แทงค์เทอร์มินอล จํากัดมูลค่า 596 ล้านบาท ระบบป้ องกันนํ้าท่วมบางหญ้า แพรก ระยะที่ 1 มูลค่า 448 ล้านบาท โครงการประตูระบายนํ้าและสถานีสูบนํ้าคลองอ้อมนนท์จ.น นทบุรีมูลค่า 100 ล้านบาท โครงการก่อสร้างเขื่อนริ มแม่น้ าํ เจ้าพระยาบริ เวณธนาคารแห่งประเทศ ไทย มูลค่า 39 ล้านบาท และโครงการป้ องกันการทรุ ดตัวเขื่อนริ มตลิ่งท่าเรื อ 18 B-18F มูลค่า 37 ล้านบาท ส่วนโครงการที่ดาํ เนินอยูใ่ นปั จจุบนั ได้แก่ ป้ องกันนํ้าท่วมริ มแม่น้ าํ เจ้าพระยา(บางเขน-
53 เทเวศน์) มูลค่า 550 ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 95 เขื่อนป้ องกันตลิ่งคลองบางไผ่-คลองบาง สีทอง มูลค่า 59 ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 98 ส่วนอีกโครงการที่กาํ ลังจะเข้าไปดําเนินการ คือ เขื่อนป้ องกันนํ้าท่วมสะพานพระราม 6 ถึง กรมสรรพาวุธทหารเรื อ มูลค่า 253ล้านบาท โครงการปรับปรุ งท่าเทียบเรื อปากบารา ที่ จ.สตูล มูลค่า 348 ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 79 และโครงการขยายท่าเรื อศรี ราชาฮาเบอร์มูลค่า 356 ล้านบาท กําลังอยูใ่ นช่วงเตรี ยมการเพือ่ เข้าไป ดําเนินการ กลุ่มงานก่ อสร้ างโรงไฟฟ้าพลังนํ้า และ เขื่อน งานก่อสร้างเขื่อนในต่างประเทศที่แล้วเสร็จในรอบปี ที่ผา่ นมาคือ โครงการก่อสร้างเขื่อน นํ้าเทิน 2 ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็ นความร่ วมมือกันระหว่างอิตาเลียนไทย กับ บริ ษทั นิชิมตั สุ คอนสตรั๊คชัน่ จํากัด เข้าร่ วมกันดําเนินการมาตั้งแต่ปี2548 รวมมูลค่าโครงการ ทั้งสิ้น 16,138 ล้านบาท ส่วนโครงการที่ยงั ดําเนินการอยู่ คือ งานก่อสร้างเขื่อนโคล ในประเทศ อินเดีย มูลค่า 9,492 ล้านรู ปี ซึ่งเป็ นเขื่อนพลังนํ้าขนาด 800 เมกกะวัตต์ปัจจุบนั ดําเนินการไปแล้ว ร้อยละ 70 สําหรับโครงการภายในประเทศที่กาํ ลังดําเนินการอยู่ มี2 โครงการ คือ โครงการก่อสร้าง โรงไฟฟ้ าพลังนํ้าขนาด 12 เมกะวัตต์ ที่เขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท มีมูลค่าในส่วนที่บริ ษทั ฯ ดําเนินการ 480 ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 99และการก่อสร้างโรงไฟฟ้ าพลังนํ้าขนาด 8.4 เมกะวัตต์ ที่เขื่อนนเรศวร จ.พิษณุโลก มีมูลค่าในส่วนที่บริ ษทั ฯ ดําเนินการ 468 ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 78 ซึ่งทั้งสองโครงการ บริ ษทั ฯ ได้ร่วมมือกับบริ ษทั ซิโนไฮโดรเข้าร่ วม ดําเนินการ ในนาม Consortium โดยรับงานจากการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย กลุ่มงานระบบขนส่ งมวลชน โครงการระบบขนส่งมวลชนในต่างประเทศ ที่บริ ษทั ฯ ดําเนินการแล้วเสร็จในปี ที่ผา่ นมา ได้แก่ โครงการเดลลีเมโทร ในประเทศอินเดีย สัญญาBC-21 มูลค่า 3,208 ล้านรู ปีและโครงการเดล ลีเมโทร สัญญา BC-24 มูลค่า 9,801 ล้านรู ปีซึ่งในประเทศอินเดียนี้ บริ ษทั ฯ ได้รับงานเข้ามาทดแทน งานที่เสร็จไป คือ โครงการ โกลกาตา เมโทร สัญญา UG 2 มูลค่า 9,086 ล้านรู ปีดําเนินการไปแล้ว ร้อยละ 4 ส่วนในประเทศไต้หวัน บริ ษทั ฯ ยังคงดําเนินโครงการก่อสร้างสถานีต่อเชื่อมรถไฟ รถไฟ ความเร็วสูงและสถานีรถไฟฟ้ าใต้ดิน มูลค่า 13,573 ล้านดอลล่าร์ไต้หวัน ซึ่งโครงการนี้ บริ ษทั ฯได้
54 ร่ วมกับ เอเวอร์กรี น คอนสตรั๊คชัน่ ในการดําเนินงาน โดยโครงการดําเนินการก่อสร้างไปแล้วร้อย ละ 85 สําหรับโครงการระบบขนส่งมวลชนในประเทศ ที่ดาํ เนินการอยู่ คือ งานติดตั้งระบบการ เดินรถบีทีเอส ส่วนต่อขยายสายสุขมุ วิท มูลค่า 1,472ล้านบาท ดําเนินการไปแล้วร้อยละ 56 และ ในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2553 บริ ษทั ฯได้ชนะการประมูลงานก่อสร้างรถไฟฟ้ าใต้ดินส่วนต่อ ยายสายสีน้ าํ เงินสัญญาที่ 1 ช่วงหัวลําโพงถึงสนามชัย มูลค่า 10,693 ล้านบาท ซึ่งได้มีการเซ็นสัญญา อย่างเป็ นทางการในช่วงต้นปี 2554โดยยังมีงานก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนในประเทศอีกหลาย โครงการ ที่รัฐบาลมีแผนจะเร่ งผลักดันโครงการออกมาในวาระอันใกล้น้ ี ไม่วา่ จะเป็ นรถไฟฟ้ าใต้ ดินสายสีต่างๆของการรถไฟฟ้ ามหานคร หรื อโครงการรถไฟฟ้ าลอยฟ้ าส่วนต่อขยายสายอื่นๆ เพือ่ แก้ไขปั ญหาการจราจรในระยะยาวภายในกรุ งเทพมหานครและเขตปริ มณฑลให้บรรเทาบางเบาลง ซึ่งส่งผลต่อการจ้างงานในประเทศและกระตุน้ ภาพรวมของเศรษฐกิจเจริ ญเติบโตตามไปด้วย กลุ่มงานโครงสร้ างเหล็ก โรงงานที่วหิ ารแดงจะทําหน้าที่สนับสนุนโครงการอื่นๆ ของบริ ษทั ฯ ที่มีพื้นที่หน้างาน ค่อนข้างจํากัด ส่งผลให้การเตรี ยมงานหน้างานทําได้ยากเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการทํางานและลด เวลาการทํางานที่หน้างานลง ทางโรงงานจะช่วยผลิตชิ้นงาน โดยนําวัตถุดิบมาผลิตชิ้นส่วนที่ โรงงานให้เสร็จสมบูรณ์แล้วค่อยนําไปติดตั้งที่หน่วยงาน การสนับสนุนของโรงงานประกอบ ชิ้นส่วนเหล็กนี้จะช่วยทําให้หน่วยงานสามารถทํางานได้ตามแผนงานที่ต้งั ไว้โดยโครงการที่ได้รับ การสนับสนุน ได้แก่ งานโครงสร้างสะพานเหล็กรถไฟ งานไอเกีย เซ็นเตอร์–เมกะบางนา งานโครง เหล็กของโครงการโรงไฟฟ้ าเก็คโค่ –วัน และงานโครงเหล็กของอาคารมูลนิธิชยั พัฒนาและ สํานักงาน กปร. เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั มีงานที่รับตรงจากบุคคลภายนอก คือ งานโครงสร้างเหล็ก ของ BC Place ในเมืองแวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดา และ งานแอร์พอร์ทลิ้งค์ของประเทศ ออสเตรเลีย เป็ นต้น จากปริ มาณงานโครงสร้างเหล็กทั้งในประเทศและต่างประเทศที่ลดลง ส่งผล ให้ทาํ ให้ปริ มาณงานในส่วนโรงงานที่วหิ ารแดงลดลงเหลือเพียง 4,566 ตัน/ปี
55 การดําเนินงานที่ผ่านมา ความเป็ นมา การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญ จดทะเบียนก่อตั้งเป็ นบริ ษทั จํากัด เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2501 ในนามบริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์คอร์ปอเรชัน่ จํากัด ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่ มแรก 2 ล้านบาท โดยมีผเู ้ ริ่ มก่อตั้งบริ ษทั 2 กลุ่ม คือ กลุ่มนายแพทย์ชยั ยุทธ กรรณสูต ชาวไทย และ Mr. Giorgio Berlingieriชาวอิตาเลียน มี วัตถุประสงค์เพือ่ ดําเนินธุรกิจรับจ้างก่อสร้างทัว่ ไป เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2528 บริ ษทั ฯ ได้รับพระมหากรุ ณาธิคุณโปรดเกล้าพระราชทาน พระบรมราชานุญาต ให้เป็ นบริ ษทั ภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์( Royal Patronage by the King) และ โปรดเกล้าพระราชทานครุ ฑพ่าห์ให้เป็ นศักดิ์และศรี จวบจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ จดทะเบียนเป็ นบริ ษทั มหาชนเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2537 และเข้าตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยในวันที่ 9 สิงหาคม 2537บริ ษทั ฯ ให้ความสําคัญกับการบริ หารงานโครงการ ก่อสร้างให้เสร็จทันเวลา และได้คุณภาพสูง จนปรากฏเป็ นที่ยอมรับของเจ้าของงานทั้งภาคเอกชน และภาครัฐบาล ในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนั้นบริ ษทั ฯ ยังได้รับการรับรองมาตรฐาน คุณภาพ ISO 1400 ISO 14001 ISO 9001 และISO 9002 ในโครงการสําคัญๆ ดังนี้ • ศูนย์อุตสาหกรรมอิตาเลียนไทย อ.วิหารแดง จ.สระบุรี • โรงงานประกอบโครงเหล็ก จ.สมุทรปราการ • โรงงานประกอบโครงเหล็ก จ.สระบุรี • โครงการรถไฟฟ้ า บีทีเอส ของกรุ งเทพมหานคร • โครงการรถไฟฟ้ ามหานครของการรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนแห่งประเทศ ไทย • โครงการก่อสร้างท่าเรื อแหลมฉบัง ขั้นที่ 2 ระยะที่ 1
56 • โครงการก่อสร้างทางรถไฟรางคู่ ช่วงภาชี– มาบกะเบา และช่วงบ้านภาชี – ลพบุรี • โครงการจ้างเหมาฯ ขุด-ขนดิน และถ่านหินลิกไนต์อ.แม่เมาะ จ.ลําปาง ของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย ในระหว่างวันที่ 4 กันยายน 2544 ถึงเดือนธันวาคม 2545 บริ ษทั ฯ อยูใ่ นกระบวนการฟื้ นฟู กิจการโดยศาลฯ ได้มีคาํ สัง่ ยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการของบริ ษทั ฯ ตั้งแต่วนั ที่ 16 ธันวาคม 2545 วันที่ 2 เมษายน 2547 ที่ประชุมใหญ่สามัญผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 1/2547 ได้มีมติให้บริ ษทั ฯ เพิม่ ทุนจดทะเบียนจาก 3,738,678,180บาท เป็ น 4,593,678,180 บาท และมีมติให้เปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ ตราไว้ของหุน้ สามัญจากเดิม 10 บาทเป็ น 1 บาท วันที่ 8 เมษายน 2547 บริ ษทั ฯดําเนินการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุน้ สามัญจากเดิม 10 บาทเป็ น 1 บาท วันที่ 9 เมษายน 2547 บริ ษทั ฯดําเนินการเพิม่ ทุนจดทะเบียน จากเดิม 3,738,678,180 บาท เป็ น 4,593,678,180 บาท วันที่ 17-19 มกราคม 2548 บริ ษทั ฯได้ดาํ เนินการเสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจํานวน 455 ล้านหุน้ ให้กบั ประชาชนทัว่ ไปทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ วันที่ 24 มกราคม 2548บริ ษทั ฯได้ดาํ เนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชําระแล้วหลังจาก ได้ดาํ เนินการเสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจํานวน 400,000,000 หุน้ ให้กบั ประชาชนในราคาหุน้ ละ 9.80 บาท จาก 3,738,678,180 บาทเป็ น 4,138,678,180 บาท วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2548 บริ ษทั ฯได้ดาํ เนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชําระแล้ว หลังจากได้ดาํ เนินการจัดสรรหุน้ ส่วนเกินจํานวน 55,000,000 หุน้ ให้แก่ผไู ้ ด้รับจัดสรรหุน้ ตาม ดุลพินิจร่ วมกันของผูจ้ ดั การการจัดจําหน่ายและรับประกันจาก 4,138,678,180 บาท เป็ น 4,193,678,180 บาท
57 วันที่ 14 มกราคม 2551 ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 1/2551 ได้มีมติอนุมตั ิในเรื่ อง สําคัญดังนี้ 1. มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั ฯ ออก และเสนอขายหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ จํานวน 728 ล้านหุน้ 2. มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั ฯ เพิม่ ทุนจดทะเบียน จํานวน 728 ล้านบาท จากทุนจดทะเบียน เดิม 4,193,978,180 บาท เป็ น 4,921,678,180 บาท เพือ่ รองรับการออกและเสนอขายหุน้ กูแ้ ปลง สภาพ 3. มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั ฯ จัดสรรหุน้ สามัญเพิม่ ทุน จํานวน 728 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้ หุน้ ละ 1 บาท วันที่ 22 มกราคม 2551 บริ ษทั ฯ ดําเนินการเพิม่ ทุนจดทะเบียน จากเดิม 4,193,678,180 บาท เป็ น 4,921,678,180 บาทในระหว่างปี 2553 มีรายการเปลี่ยนแปลงที่สาํ คัญดังต่อไปนี้ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้ซ้ือหุน้ จากผูถ้ ือหุน้ อื่นของบริ ษทั อิตลั ไทย เทรวี่ จํากัด จํานวน 3.50 ล้านบาท ซึ่งส่งผลให้อตั ราส่วนการถือหุน้ ในบริ ษทั ย่อยดังกล่าวเพิม่ ขึ้นจากร้อย ละ 86.56 เป็ นร้อยละ 90.94 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้ชาํ ระค่าหุน้ เพิม่ ทุนของบริ ษทั สยามผลิตภัณฑ์ คอนกรี ตและอิฐ จํากัด จํานวน 42.00 ล้านบาทซึ่งส่งผลให้อตั ราส่วนการถือหุน้ ในบริ ษทั ย่อย ดังกล่าวเพิม่ ขึ้นจากร้อยละ 99.70 เป็ นร้อยละ 99.80 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2553 บริ ษทั ฯ ได้ชาํ ระค่าหุน้ เพิม่ ทุนของบริ ษทั โรงโม่หน้าพระลาน จํากัด จํานวน 10.00 ล้านบาท ซึ่งส่งผลให้อตั ราส่วนการถือหุน้ ในบริ ษทั ย่อยดังกล่าวเพิม่ ขึ้นจาก ร้อยละ 99.91 เป็ นร้อยละ 99.99 เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้ลงทุนในบริ ษทั Italian-Thai International SDN. BHD. (ประกอบธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในประเทศมาเลเซีย) เป็ นจํานวนเงิน 1 ล้านริ งกิตมาเลเซีย คิดเป็ นสัดส่วนการถือหุน้ ในอัตราส่วนร้อยละ 99.99
58 เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้ยกเลิกการจดทะเบียนกิจการร่ วมค้า Contracting (L.L.C)
QINA
เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้ซ้ือบริ ษทั ไวดีเมียร์จาํ กัด จากบริ ษทั สินแร่ เมืองไทย จํากัด โดยถือหุน้ ในอัตราส่วนร้อยละ99.99 เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้ลงทุนในบริ ษทั ITD Construction SDN. BHD. (ประกอบธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในประเทศมาเลเซีย) เป็ นจํานวนเงิน 0.7 ล้านริ งกิตมาเลเซีย คิดเป็ น สัดส่วนการถือหุน้ ในอัตราส่วนร้อยละ 99.99 เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้เลิกกิจการร่ วมค้าของบริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อป เมนต์จาํ กัด (มหาชน) และ สแกนสกา ลุนด์บีอคั ติโบลัก ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ฯ เชื่อว่า การลงทุนในกิจการร่ วมค้าและบริ ษทั ย่อยดังกล่าวข้างต้น จะทําให้บริ ษทั ฯ ได้รับผลประโยชน์อย่างมากในอนาคตอันใกล้
59 ตารางที่ 3-1 ข้อมูลพื้นฐานงบแสดงฐานะการเงินของ บริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน)ประจําปี 2552-2553 (หน่วย : พันบาท) รายการ สิ นทรัพย์
สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากประจํามากกว่า 3 เดือน เงินฝากธนาคารที่ติดภาระคํ้าประกัน เงินลงทุนชัว่ คราว ตัว๋ เงินรับที่ถึงกําหนดชําระถายในหนึ่งปี ลูกหนี้การค้า -กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน -สุทธิ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี เงินให้กูย้ มื ระยะสั้นและเงินทดรองแก่บริ ษทั ย่อยและกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ รายได้ที่ยงั ไม่เรี ยกชําระ ลูกหนี้เงินประกันผลงานตามสัญญาก่อสร้างที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งปี สินค้าคงเหลือและงานระหว่างทํา - สุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย ภาษีมูลค่าเพิม่ รอเรี ยกคืน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อเครื่ องจักรและวัสดุก่อสร้าง เงินจ่ายล่วงหน้าผูร้ ับเหมา สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน
2552 (ปรับปรุงใหม่ )
2553
2,345,518 25,373 328,994 483 751,882 8,047,496 1,266,405 -
2,045,493 26,377 184,584 270,689 8,389,191 1,006,233 17,081
90,108
130,508
9,985,610
10,501,128
995,469
942,026
3,361,100
3,368,404
1,975,191 386,395 497,181 447,068 295,209 30,799,482
1,007,806 360,438 347,505 563,732 682,488 29,843,683
60 ตารางที่ 3-1 (ต่ อ) รายการ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ตัว๋ เงินรับ - สุทธิ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินกิจการที่เกี่ยวข้องกัน-สุทธิ เงินประกันเพือ่ สิ่งแวดล้อม และอื่นๆ ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้เงินประกันผลงานที่ครบกําหนดเกินหนึ่งปี เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยบริ ษทั ร่ วมและกิจการร่ วมค้า - สุ ทธิ
เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ สิทธิการเช่าที่ดิน สิทธิในเหมืองแร่ โปแตช เงินให้กูย้ มื ระยะยาวและเงินทดรองแก่บริ ษทั ย่อยและกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ เงินให้กูย้ มื และเงินทดรองแก่บุคคลและกิจการที่ไม่เกี่ยวข้อง กัน -สุทธิ ที่ดินรอการขายและรอการพัฒนา - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ รายจ่ายในการสํารวจและพัฒนาแหล่งแร่ ต้งั พัก ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ค่าความนิยม - สุทธิ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
2552 (ปรับปรุงใหม่ )
2553
174,983 209,754 339,329 2,729,802 2,293,489
167,173 30,490 652,732 203,087 512,761 1,061,972 30,198 2,293,489
124,209
-
88,610
-
769,187 14,695,900 738,725 1,179 500,086 321,185 22,986,438 53,785,920
770,346 13,726,928 741,041 483,413 308,537 20,982,167 50,825,850
61 ตารางที่ 3-1 (ต่ อ) รายการ หนี้สินและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้ตามสัญญาทรัสต์รีซีทที่ถึงกําหนดชําระในหนึ่งปี เจ้าหนี้การค้า -กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินรับล่วงหน้าส่วนที่เกินงานระหว่างทํา เงินกูย้ มื ระยะสั้นและเงินทดรองจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าตามสัญญาก่อสร้างที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งปี ส่วนของเจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งปี ส่วนของเจ้าหนี้เช่าซื้อที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ส่วนของเงินกูย้ มื ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ที่มีตวั๋ เงินรับ คํ้าประกัน ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ส่วนของหุน้ กูท้ ี่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย ภาษีมูลค่าเพิม่ ค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย สํารองค่าใช้จ่ายโครงการ สํารองเผือ่ ภาระหนี้ สินของนิติบุคคลเฉพาะกิจ เงินรับล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน เจ้าหนี้ค่าเงินลงทุน-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน เงินกูย้ มื จากกรรมการ
2552 (ปรับปรุงใหม่ )
2553
9,144,057 435,818 6,161,951 1,693,112 238,189 65,833
8,394,915 272,148 5,924,715 1,226,092 210,190 96,752
3,170,366
3,059,179
-
87,599
314,910
352,482
751,882
-
1,048,181 1,996,423 16,348 146,208 2,200,818 306,411 6,506 62,484 445,582 146,876
443,528 49,066 169,840 2,054,401 115 62,484 394,082 146,876
62 ตารางที่ 3-1 (ต่ อ) รายการ หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ตามสัญญาทรัสต์รีซีท-สุทธิ เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าตามสัญญาก่อสร้าง - สุทธิ เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน -กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ เจ้าหนี้เช่าซื้อ - สุทธิ เงินกูย้ มื ระยะยาวที่มีตวั๋ เงินรับคํ้าประกัน - สุทธิ เงินกูย้ มื ระยะยาว - สุทธิ หุน้ กู้ - สุทธิ หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ - สุทธิ ดอกเบี้ยค้างจ่ายหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ สํารองเผือ่ ภาระหนี้ สินของนิติบุคคลเฉพาะกิจ - สุทธิ สํารองเผือ่ ขาดทุนสําหรับโครงการก่อสร้าง หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนของผูถ้ ือหุน้ ทุนเรื อนหุน้ - หุน้ สามัญ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ทุนจดทะเบียน - 4,921,678,180 หุน้ (2007 : 4,193,678,180 หุน้ ) ทุนออกจําหน่ายและชําระเต็มมูลค่าแล้ว 4,193,678,180 หุ ้น
ส่วนเกินมูลค่าหุน้ กําไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งจากการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าเงิน ลงทุน ตารางที่ 3-1 (ต่ อ)
2552 (ปรับปรุงใหม่ ) 647,217 28,999,172
2553 313,266 23,257,730
100 1,405,900 1,711,569 427,655 782,593 455,213 1,904,306 2,258,308 4,930,537 7,433,082 3,593,042 2,878,160 213,543 270,845 490,774 295,506 182,914 186,364 13,503,709 15,916,702 42,502,881 39,174,432
4,921,678
4,921,678
4,193,678 5,515,363
4,193,678 5,515,363.0
220,433
541,772
63 รายการ ส่วนปรับปรุ งจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็ นเงินตรา ต่างประเทศ ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย
2552 (ปรับปรุงใหม่ )
2553
(497,543)
(710,458)
149,586
158,429
กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร รวมส่วนของผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ส่วนของผูถ้ ือหุน้ ส่วนน้อยของบริ ษทั ย่อย รวมส่วนของผูถ้ ือหุน้ รวมหนี้สินและส่วนของผูถ้ ือหุน้
427,373 442,118 10,451,008 832,031 11,283,039 53,785,920
459,026 708,388 10,866,198 785,220 11,651,418 50,825,850
ตารางที่ 3-2 ข้อมูลพืน้ ฐานงบแสดงผลการดําเนินงาน (งบรายรับ – รายจ่าย)ประจําปี 2552-2553
64 ของบริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) รายการ
(หน่วย : พันบาท)
2552 (ปรับปรุงใหม่ )
2553
รายได้ รายได้จากการให้บริ การรับเหมาก่อสร้าง รายได้จากการขายและให้บริ การ รวมรายได้ ต้ นทุน ต้นทุนในการให้บริ การรับเหมาก่อสร้าง ต้นทุนในการขายและให้บริ การ สํารองขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการก่อสร้างของกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน รวมต้นทุน กําไรขั้นต้น เงินปั นผลรับและส่วนแบ่งกําไรจากกิจการร่ วมค้า ดอกเบี้ยรับ กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน กําไรจากการซื้อคืนและยกเลิกหุน้ กูแ้ ปลงสภาพ กําไรจากการขายเงินลงทุน กลับรายการค่าเผือ่ การด้อยค่าของสินทรัพย์ รายได้อื่น กําไรก่อนค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผือ่ สินค้าเสื่อมสภาพ ตารางที่ 3-2(ต่ อ)
38,840,616 1,456,183 40,296,799
34,418,863 1,657,443 36,076,306
36,539,073 1,259,735
32,232,116 1,445,749
-
-
37,798,808 2,497,991 29,624 229,919 385,459 503,383 635,451 4,281,827 (27,756) (2,530,941) (59,327) (194,284) -
33,677,865 2,398,441 23,441 134,735 127,633 135,068 1,618,957 216,168 811,186 5,465,629 (20,289) (2,459,141) (60,687) (293,690) (7,790)
65 รายการ ขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน กําไร (ขาดทุน) จากการจําหน่ายเงินลงทุน ขาดทุนจากการตัดจําหน่ายเงินทดรองจ่ายโครงการ สํารองขาดทุนโครงการของกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สํารองขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์และภาระหนี้ สินที่ อาจเกิดขึ้นในอนาคต รวมค่าใช้ จ่าย กําไรจากการดําเนินงาน ส่ วนแบ่งกําไร (ขาดทุน)จากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ย - สุ ทธิ
กําไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน กําไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กําไรขาดทุนสุทธิ การแบ่งปั นกําไร(ขาดทุน) ส่วนที่เป็ นผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ส่วนที่เป็ นผูถ้ ือหุน้ ส่วนน้อยในบริ ษทั ย่อย
กําไรต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน กําไร (ขาดทุน) สุทธิ (บาทต่อหุน้ )
2552 (ปรับปรุงใหม่ ) (519,051) (16,502) (112,700) (253,564) -
2553 (29,345) -
(48,259)
(4,343)
(3,762,384) 519,443 (95,519) 423,924 (2,065,436) (1,641,512) (198,529) (1,840,041)
(2,875,285) 2,590,344 3,893 2,594,237 (2,058,407) 535,830 (217,978) 317,852
(1,820,943) (19,098) (1,840,041)
297,923 19,929 317,852
(0.43)
0.07
บทที่ 4 ผลการศึกษา การศึกษาเรื่ องสัญญาณเตือนภัยจากงบการเงิน โดยวิเคราะห์งบการเงิน : กรณี ศึกษาของ บริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน)ตั้งแต่ ปี 2552-2553 การศึกษาครั้งนี้ ได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกข้อมูลพืน้ ฐานที่ได้จดั ทําขึ้นผล การศึกษาแบ่งออกเป็ น 3 ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่
1 การวิเคราะห์ตามแนวนอน (Horizontal Analysis) 2 การวิเคราะห์ตามแนวตั้ง (Vertical Analysis) 3การวิเคราะห์ดว้ ยอัตราส่วนทางการเงิน (Financial Ratio Analysis)
ตอนที่ 1 วิเคราะห์ ตามแนวนอน (Horizontal analysis) การวิเคราะห์ตามแนวนอนเป็ นการเปรี ยบเทียบเพือ่ หาการเปลี่ยนแปลงของรายการในงบ การเงินแต่ละรายการ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะแสดงรู ปของจํานวนเงินและอัตราร้อยละคํานวณ ได้โดยใช้ปี เป็ นฐานการคํานวณเลขในปี ตั้งแล้วลบด้วยฐานนั้นคือปี ถ้าได้ผลลัพธ์ออกมาติดลบ แสดงว่าการลดลง แต่ถา้ ได้ผลลัพธ์ออกมาเป็ นบวกแสดงว่าการเพิม่ ขึ้นและคํานวณเป็ นร้อยละโดย นําตัวเลขที่เป็ นผลลัพธ์คูณ 100 และหารด้วยปี ฐานจะได้ค่าที่เป็ นร้อยละ ผลการวิเคราะห์แนวนอนสามารถแสดงรายละเอียดได้ ดังนี้
67 ตารางที่4-1 งบแสดงฐานะทางการเงินเปรี ยบเทียบตามแนวนอน ปี 2552-2553 รายการ
2552 (ปรับปรุงใหม่)
เพิ่มขึน้ /ลดลง (พันบาท)
2,045,493
2,345,518
300,025
0.13
26,377 184,584 270,689 -
25,373 328,994 483 751,882
(1,004) 144,410 (270,206) 751,882
-0.04 0.44 -559.43
8,389,191
8,047,496
(341,695)
-0.04
1,006,233
1,266,405
260,172
0.21
17,081
-
(17,081)
-
130,508
90,108
(40,400)
-0.45
10,501,128
9,985,610
(515,518)
-0.05
942,026
995,469
53,443
0.05
3,368,404
3,361,100
(7,304)
0.00
1,007,806 360,438
1,975,191 386,395
967,385 25,957
0.49 0.07
347,505
497,181
149,676
0.30
563,732 682,488 29,843,683
447,068 295,209 30,799,482
(116,664) (387,279) 955,799
-0.26 -1.31 0.03
2553
ร้ อยละ
สิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากประจํามากกว่า 3 เดือน เงินฝากธนาคารที่ติดภาระคํ้าประกัน เงินลงทุนชัว่ คราว ตัว๋ เงินรับที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ลูกหนี้การค้า -กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน สุ ทธิ ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน -สุ ทธิ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งปี เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นและเงินทดรองแก่บริ ษทั ย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - สุ ทธิ รายได้ที่ยงั ไม่เรี ยกชําระ ลูกหนี้เงินประกันผลงานตามสัญญาก่อสร้าง ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี สิ นค้าคงเหลือและงานระหว่างทํา - สุ ทธิ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย ภาษีมลู ค่าเพิ่มรอเรี ยกคืน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อเครื่ องจักรและวัสดุ ก่อสร้าง เงินจ่ายล่วงหน้าผูร้ ับเหมา สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน
68 ตารางที4่ -1(ต่อ) รายการ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน ตัว๋ เงินรับ - สุ ทธิ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน-สุ ทธิ เงินประกันเพื่อสิ่ งแวดล้อม และอื่นๆ ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้เงินประกันผลงานที่ครบกําหนดเกิน หนึ่งปี เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยบริ ษทั ร่ วมและกิจการ ร่ วมค้า - สุ ทธิ เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุ ทธิ สิ ทธิการเช่าที่ดิน สิ ทธิในเหมืองแร่ โปแตช เงินให้กยู้ มื ระยะยาวและเงินทดรองแก่บริ ษทั ย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - สุ ทธิ เงินให้กยู้ มื และเงินทดรองแก่บุคคลและ กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน -สุ ทธิ ที่ดินรอการขายและรอการพัฒนา - สุ ทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ รายจ่ายในการสํารวจและพัฒนาแหล่งแร่ ต้ งั พัก ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ค่าความนิยม - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์
2552 (ปรับปรุงใหม่)
2553
เพิ่มขึน้ /ลดลง (พันบาท)
ร้ อยละ
-
-
-
-
167,173
-
(167,173)
0.00
30,490 652,732
174,983 -
144,493 (652,732)
0.83
203,087
209,754
6,667
0.03
512,761
339,329
(173,432)
-0.51
1,061,972 30,198 2,293,489
2,729,802 2,293,489
1,667,830 (30,198) 0
0.61
-
124,209
124,209
-
88,610
88,610
770,346 13,726,928
769,187 14,695,900
(1,159) 968,972
0.00 0.07
741,041
738,725
(2,316)
0.00
483,413 308,537 20,982,167 50,825,850
1,179 500,086 321,185 22,986,438 53,785,920
1,179 16,673 12,648 2,004,271 2,960,070
0.03 0.04 0.09 0.06
0
69 ตารางที4่ -1(ต่อ) รายการ หนี้สินและส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น หนีส้ ินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจาก สถาบันการเงิน เจ้าหนี้ตามสัญญาทรัสต์รีซีทที่ถึงกําหนด ชําระในหนึ่งปี เจ้าหนี้การค้า -กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินรับล่วงหน้าส่ วนที่เกินงานระหว่างทํา เงินกูย้ มื ระยะสั้นและเงินทดรองจากกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าตามสัญญาก่อสร้าง ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ส่ วนของเจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งปี ส่ วนของเจ้าหนี้เช่าซื้อที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งปี ส่ วนของเงินกูย้ มื ที่ถึงกําหนดชําระภายใน หนึ่งปี ที่มีตวั๋ เงินรับคํ้าประกัน ส่ วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งปี ส่ วนของหุ ้นกูท้ ี่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย ภาษีมลู ค่าเพิ่มค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย สํารองค่าใช้จ่ายโครงการ สํารองเผือ่ ภาระหนี้สินของนิติบุคคลเฉพาะ กิจ เงินรับล่วงหน้าค่าซื้อที่ดิน เจ้าหนี้ค่าเงินลงทุน-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
2552 (ปรับปรุงใหม่)
เพิ่มขึน้ /ลดลง (พันบาท)
8,394,915
9,144,057
749,142
0.08
272,148
435,818
163,670
0.38
5,924,715 1,226,092 210,190
6,161,951 1,693,112 238,189
237,236 467,020 27,999
0.04 0.28 0.12
96,752
65,833
(30,919)
-0.47
3,059,179
3,170,366
111,187
87,599
-
(87,599)
352,482
314,910
(37,572)
-
751,882
751,882
443,528
1,048,181
604,653
49,066 169,840 2,054,401 -
1,996,423 16,348 146,208 2,200,818 -
1,996,423 (32,718) (23,632) 146,417 -
-
306,411
306,411
115 62,484
6,506 62,484
6,391 0
2553
ร้ อยละ
0.04
-0.12
0.58
-2.00 -0.16 0.07
0.98 0
70 ตารางที4่ -1(ต่อ) รายการ เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน เงินกูย้ มื จากกรรมการ หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ตามสัญญาทรัสต์รีซีท-สุ ทธิ เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าตามสัญญาก่อสร้าง - สุ ทธิ เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน -กิจการที่ เกี่ยวข้องกัน - สุ ทธิ เจ้าหนี้เช่าซื้อ - สุ ทธิ เงินกูย้ มื ระยะยาวที่มีตวั๋ เงินรับคํ้าประกัน สุ ทธิ เงินกูย้ มื ระยะยาว - สุ ทธิ หุ ้นกู้ - สุ ทธิ หุ ้นกูแ้ ปลงสภาพ - สุ ทธิ ดอกเบี้ยค้างจ่ายหุ ้นกูแ้ ปลงสภาพ สํารองเผือ่ ภาระหนี้สินของนิติบุคคลเฉพาะ กิจ - สุ ทธิ สํารองเผือ่ ขาดทุนสําหรับโครงการก่อสร้าง หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ทุนเรื อนหุ ้น - หุ ้นสามัญ มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท ทุนจดทะเบียน - 4,921,678,180 หุ ้น (2007 : 4,193,678,180 หุ ้น)
2552 เพิ่มขึน้ /ลดลง (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 394,082 445,582 51,500 146,876 146,876 0 313,266 647,217 333,951 23,257,730 28,999,172 5,741,442 2553
-
100
100
1,711,569
1,405,900
(305,669)
427,655
-
(427,655)
455,213
782,593
327,380
-
-
-
2,258,308 7,433,082 2,878,160 270,845
1,904,306 4,930,537 3,593,042 213,543
(354,002) (2,502,545) 714,882 (57,302)
-
-
-
ร้ อยละ 0.12 0 0.52 0.20
-0.22
0.42
-0.19 -0.51 0.20 -0.27
295,506 186,364 15,916,702 39,174,432
490,774
195,268
0.40
182,914 13,503,709 42,502,881
(3,450) (2,412,993) 3,328,449
-0.02 -0.18 0.08
4,921,678
4,921,678
0
0
71 ตารางที4่ -1(ต่อ) รายการ ทุนออกจําหน่ายและชําระเต็มมูลค่าแล้ว 4,193,678,180 หุ ้น ส่ วนเกินมูลค่าหุ ้น กําไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งจากการเปลี่ยนแปลง ของมูลค่าเงินลงทุน ส่ วนปรับปรุ งจากการแปลงค่างบการเงินที่ เป็ นเงินตราต่างประเทศ ส่ วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงสัดส่ วนเงิน ลงทุนในบริ ษทั ย่อย กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร รวมส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นบริ ษทั ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นส่ วนน้อยของบริ ษทั ย่อย รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น
2552 (ปรับปรุงใหม่)
เพิ่มขึน้ /ลดลง (พันบาท)
4,193,678
4,193,678
0
0
5,515,363.0
5,515,363
0
0
541,772
220,433
(321,339)
-1.46
(710,458)
(497,543)
212,915
-0.43
158,429
149,586
(8,843)
-0.06
459,026
427,373
(31,653)
-0.07
708,388 10,866,198 785,220 11,651,418 50,825,850
442,118 10,451,008 832,031 11,283,039 53,785,920
(266,270) (415,190) 46,811 (368,379) 2,960,070
-0.60 -0.04 0.06 -0.03 0.06
2553
ร้ อยละ
การวิเคราะห์งบแสดงฐานะการเงินตามวิธีแนวนอนทําให้ทราบว่า ในปี 2553 บริ ษทั อิตา เลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) มีสินทรัพย์ลดลงจากปี ก่อนร้อยละ 0.06 ทั้ง สินทรัพย์ หมุนเวียนและสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน และในส่วนของของหนี้สินนั้นลดลงจากปี ก่อนร้อยละ 0.08 เป็ นผลมาจากการลดลงของหนี้ สินหมุนเวียนร้อยละ 0.20 ที่ลดลงมากกว่าการเพิม่ ขึ้นของหนี้ไม่ หมุนเวียน ส่วนของผูถ้ ือหุน้ เพิม่ ขึ้นจากปี ก่อนหน้าร้อยละ 0.03 แต่เมื่อรวมกับหนี้สินแล้ว ลดลงจาก ปี ก่อนร้อยละ 0.06
72 ตารางที่ 4-2 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเปรี ยบเทียบตามแนวนอน ปี 2552-2553
รายการ รายได้ รายได้จากการให้บริ การรับเหมาก่อสร้าง รายได้จากการขายและให้บริ การ รวมรายได้ ต้นทุน ต้นทุนในการให้บริ การรับเหมาก่อสร้าง ต้นทุนในการขายและให้บริ การ สํารองขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ ก่อสร้างของกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวมต้นทุน กําไรขั้นต้น เงินปันผลรับและส่ วนแบ่งกําไรจากกิจการร่ วม ค้า ดอกเบี้ยรับ กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน กําไรจากการซื้อคืนและยกเลิกหุ ้นกูแ้ ปลงสภาพ กําไรจากการขายเงินลงทุน กลับรายการค่าเผือ่ การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ รายได้อื่น กําไรก่อนค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผือ่ สิ นค้าเสื่ อมสภาพ ขาดทุนจากการขายสิ นทรัพย์
2552
2553
(ปรั บปรุ งใหม่ )
เพิ่มขึน้ / ลดลง (พันบาท)
ร้ อยละ
39,147,387 34,418,863 1,657,443 36,076,306
42,080,635 38,840,616 1,456,183 40,296,799
4,421,753 (201,260) 4,220,493
0.11 -0.14 0.10
32,232,116 1,445,749
36,539,073 1,259,735
4,306,957 (186,014)
0.12 -0.15
-
-
-
-
33,677,865 2,398,441
37,798,808 2,497,991
4,120,943 99,550
0.11 0.04
23,441
29,624
134,735 127,633 135,068 1,618,957
229,919 385,459 503,383 -
6,183 95,184 257,826 368,315 1,618,957
0.21 0.41 0.67 0.73
216,168 811,186 5,465,629 (20,289) (2,459,141) (60,687) (293,690) (7,790)
635,451 4,281,827 (27,756) (2,530,941) (59,327) (194,284) -
216,168 (175,735) (1,183,802) (7,467) (71,800) 1,360 99,406
-0.28 -0.28 0.27 0.03 -0.02 -0.51
7,790
-
-
(519,051)
(519,051)
-
73 ตารางที่ 4-2(ต่อ)
ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์
(29,345)
-
เพิ่มขึน้ / ลดลง (พันบาท) (29,345)
ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน
-
(16,502)
(16,502)
-
กําไร (ขาดทุน) จากการจําหน่ายเงินลงทุน ขาดทุนจากการตัดจําหน่ายเงินทดรองจ่าย โครงการ สํารองขาดทุนโครงการของกิจการที่เกี่ยวข้อง กัน สํารองขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์และ ภาระหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต รวมค่าใช้ จ่าย กําไรจากการดําเนินงาน ส่ วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนตามวิธี ส่ วนได้เสี ย - สุ ทธิ กําไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน กําไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กําไรขาดทุนสุ ทธิ การแบ่งปันกําไร(ขาดทุน) ส่ วนที่เป็ นผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ส่ วนที่เป็ นผูถ้ ือหุ ้นส่ วนน้อยในบริ ษทั ย่อย
-
(112,700)
(112,700)
-
-
(253,564)
(253,564)
-
-
-
-
-
(4,343)
(48,259)
(43,916)
0.91
(2,875,285) 2,590,344
(3,762,384) 519,443
(887,099) (2,070,901)
0.24 -3.99
3,893
(95,519)
(99,412)
1.04
2,594,237 (2,058,407) 535,830 (217,978) 317,852
423,924 (2,065,436) (1,641,512) (198,529) (1,840,041)
(2,170,313) (7,029) (2,177,342) 19,449 (2,157,893)
-5.12 0.00 1.33 -0.10 1.17
297,923 19,929 317,852
(1,820,943) (19,098) (1,840,041)
(2,118,866) (39,027) (2,157,893)
1.16 2.04 1.17
0.07
(0.43)
(1)
1.16
4,193,678
4,193,678
0
0.00
รายการ
กําไรต่อหุ ้นขั้นพื้นฐาน กําไร (ขาดทุน) สุ ทธิ (บาทต่อหุ ้น) จํานวนหุ ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก (หน่วย : พันหุ ้น)
2552
2553
(ปรั บปรุ งใหม่ )
ร้ อยละ -
74 การวิเคราะห์งบกําไรขาดทุนตามวิธีแนวนอนทําให้ทราบว่า ในปี 2553 บริ ษทั อิตาเลียน ไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) มีรายได้ลดลงจากปี ก่อนร้อยละ 0.10 แต่บริ ษทั ยังมี ความสามารถในการลดต้นทุนด้วยเช่นกันโดยต้นทุนลดลงร้อยละ 0.12 ทําให้ในปี 2553 นี้ บริ ษทั ยังคงมีกาํ ไร ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ แนวตั้ง (Vertical Analysis) การวิเคราะห์ตามแนวตั้งมีวธิ ีคาํ นวณโดยนํางบแสดงฐานะทางการเงินมากําหนดให้ยอด รวมเท่ากับ 100 แล้วรวมรายการได้ต่างๆ ทั้งสินทรัพย์หนี้สินและส่วนผูถ้ ือหุน้ ให้อยูใ่ นรู ปร้อยละ ยอดสินทรัพย์ท้งั หมด ส่วนงบแสดงผลการดําเนินงาน (งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ) มีวธิ ีทาํ คือ กําหนดรายรับ ทั้งหมดเท่ากับ 100 และคํานวณรายการต่างๆ ทั้งรายรับและรายจ่ายให้อยูใ่ นรู ปร้อยละของรายรับ ทั้งหมด ผลการวิเคราะห์ตามแนวตั้งสามารถแสดงรายละเอียดได้ดงั นี้
75 ตารางที่ 4-3 งบแสดงฐานะทางการเงินเปรี ยบเทียบตามแนวตั้ง ปี 2552-2553 รายการ
2552 (ปรับปรุงใหม่)
2553
%
%
2,045,493 26,377 184,584 270,689 8,389,191 1,006,233
4.02 0.05 0.36 0.53 16.51 1.98
2,345,518 25,373 328,994 483 751,882 8,047,496 1,266,405
4.36 0.05 0.61 1.40 14.96 2.35
17,081
0.03
-
-
130,508
0.26
90,108
0.17
10,501,128
20.66
9,985,610
18.57
942,026
1.85
995,469
1.85
3,368,404
6.63
3,361,100
6.25
1,007,806 360,438 347,505 563,732 682,488 29,843,683
1.98 0.71 0.68 1.11 1.34 58.70
1,975,191 386,395 497,181 447,068 295,209 30,799,482
3.67 0.72 0.92 0.83 0.55 57.26
สินทรัพย์
สิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากประจํามากกว่า 3 เดือน เงินฝากธนาคารที่ติดภาระคํ้าประกัน เงินลงทุนชัว่ คราว ตัว๋ เงินรับที่ถึงกําหนดชําระถายในหนึ่งปี ลูกหนี้การค้า -กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน - สุ ทธิ ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน -สุ ทธิ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินถึงกําหนดชําระภายใน หนึ่งปี เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นและเงินทดรองแก่บริ ษทั ย่อยและ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - สุ ทธิ รายได้ที่ยงั ไม่เรี ยกชําระ ลูกหนี้เงินประกันผลงานตามสัญญาก่อสร้างที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งปี สิ นค้าคงเหลือและงานระหว่างทํา - สุ ทธิ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย ภาษีมลู ค่าเพิ่มรอเรี ยกคืน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อเครื่ องจักรและวัสดุก่อสร้าง เงินจ่ายล่วงหน้าผูร้ ับเหมา สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน
76 ตารางที่ 4-3 (ต่อ) รายการ
2552 (ปรับปรุงใหม่)
%
2553
%
167,173 30,490 652,732 203,087
0.33 0.06 1.28 0.40
174,983 209,754
0.33 0.39
สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน ตัว๋ เงินรับ - สุ ทธิ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินกิจการที่เกี่ยวข้องกัน-สุ ทธิ เงินประกันเพื่อสิ่ งแวดล้อม และอื่นๆ ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้เงินประกันผลงานที่ครบกําหนดเกินหนึ่งปี เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยบริ ษทั ร่ วมและกิจการร่ วมค้า สุ ทธิ เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุ ทธิ สิ ทธิการเช่าที่ดิน
512,761
1.01
339,329
0.63
1,061,972 30,198
2.09 0.06
2,729,802 -
5.08 -
สิ ทธิในเหมืองแร่ โปแตช
2,293,489
4.51
2,293,489
4.26
เงินให้กยู้ มื ระยะยาวและเงินทดรองแก่บริ ษทั ย่อยและ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - สุ ทธิ เงินให้กยู้ มื และเงินทดรองแก่บุคคลและกิจการที่ไม่ เกี่ยวข้องกัน -สุ ทธิ ที่ดินรอการขายและรอการพัฒนา - สุ ทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ รายจ่ายในการสํารวจและพัฒนาแหล่งแร่ ต้ งั พัก ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ค่าความนิยม - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์
-
124,209
-
-
88,610
0.23
770,346 13,726,928 741,041 483,413 308,537 20,982,167 50,825,850
1.52 27.01 1.46 0.95 0.62 41.30
769,187 14,695,900 738,725 1,179 500,086 321,185 22,986,438 53,785,920
0.16 1.43 27.32 1.37 0.93 0.61 42.74
77 ตารางที่ 4-3 (ต่อ) รายการ หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ ินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบัน การเงิน เจ้าหนี้ตามสัญญาทรัสต์รีซีทที่ถึงกําหนดชําระในหนึ่ง ปี เจ้าหนี้การค้า -กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินรับล่วงหน้าส่ วนที่เกินงานระหว่างทํา เงินกูย้ มื ระยะสั้นและเงินทดรองจากกิจการที่เกี่ยวข้อง กัน เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าตามสัญญาก่อสร้างที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งปี ส่ วนของเจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งปี ส่ วนของเจ้าหนี้เช่าซื้อที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ส่ วนของเงินกูย้ มื ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ที่มีตวั๋ เงินรับคํ้าประกัน ส่ วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายใน หนึ่งปี ส่ วนของหุ ้นกูท้ ี่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย ภาษีมลู ค่าเพิ่มค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย สํารองค่าใช้จ่ายโครงการ สํารองเผือ่ ภาระหนี้สินของนิติบุคคลเฉพาะกิจ เงินรับล่วงหน้าค่าซื้ อที่ดิน เจ้าหนี้ค่าเงินลงทุน-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน เงินกูย้ มื จากกรรมการ
2552 (ปรับปรุงใหม่)
%
2553
%
8,394,915
16.52
9,144,057
17.00
272,148
0.54
435,818
0.81
5,924,715 1,226,092 210,190
11.66 2.41 0.41
6,161,951 1,693,112 238,189
11.46 3.15 0.44
96,752
0.19
65,833
0.12
3,059,179
3,170,366
87,599
6.02
-
5.89
352,482
0.17
314,910
-
-
0.69
751,882
0.59
443,528
-
1,048,181
1.40
49,066 169,840 2,054,401 115 62,484 394,082 146,876
0.87 0.10 0.33 0.12 0.78 0.29
1,996,423 16,348 146,208 2,200,818 306,411 6,506 62,484 445,582 146,876
1.95 3.71 0.03 0.27 0.57 0.01 0.12 0.83 0.27
78 ตารางที่ 4-3 (ต่อ) รายการ
2553
หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้ตามสัญญาทรัสต์รีซีท-สุ ทธิ เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าตามสัญญาก่อสร้าง - สุ ทธิ เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน -กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สุ ทธิ เจ้าหนี้เช่าซื้อ - สุ ทธิ เงินกูย้ มื ระยะยาวที่มีตวั๋ เงินรับคํ้าประกัน - สุ ทธิ เงินกูย้ มื ระยะยาว - สุ ทธิ หุ ้นกู้ - สุ ทธิ หุ ้นกูแ้ ปลงสภาพ - สุ ทธิ ดอกเบี้ยค้างจ่ายหุ ้นกูแ้ ปลงสภาพ สํารองเผือ่ ภาระหนี้สินของนิติบุคคลเฉพาะกิจ - สุ ทธิ
313,266 23,257,730
สํารองเผือ่ ขาดทุนสําหรับโครงการก่อสร้าง หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ทุนเรื อนหุ ้น - หุ ้นสามัญ มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท ทุนจดทะเบียน - 4,921,678,180 หุ ้น ( 2007 : 4,193,678,180 หุ ้น) ทุนออกจําหน่ายและชําระเต็มมูลค่าแล้ว 4,193,678,180 หุ ้น ส่ วนเกินมูลค่าหุ ้น กําไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งจากการเปลี่ยนแปลงของมูลค่า เงินลงทุน ส่ วนปรับปรุ งจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็ นเงินตรา ต่างประเทศ
2552 (ปรับปรุงใหม่) 0.62 647,217 45.76 28,999,172 %
% 1.20 53.91
1,711,569
3.37
100 1,405,900
2.61
427,655
0.84
-
-
455,213 2,258,308 7,433,082 2,878,160 270,845 -
0.90 4.44 14.62 5.66 0.53 -
782,593 1,904,306 4,930,537 3,593,042 213,543 -
1.46 3.54 9.17 6.68 0.40 -
295,506 186,364 15,916,702 39,174,432
0.58 0.37 31.31 77.07
4,921,678
490,774 182,914 13,503,709 42,502,881
0.91 0.34 25.11 79.02
4,921,678
4,193,678
8.25
4,193,678
7.80
5,515,363.0
10.85
5,515,363
10.25
541,772
1.07
220,433
0.41
(710,458)
(1.40)
(497,543)
(0.93)
79 ตารางที่ 4-3 (ต่อ) รายการ ส่ วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงสัดส่ วนเงินลงทุนใน บริ ษทั ย่อย กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร รวมส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นบริ ษทั ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นส่ วนน้อยของบริ ษทั ย่อย รวมส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น รวมหนี้สินและส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น
2552 (ปรับปรุงใหม่)
%
2553
%
158,429
0.31
149,586
0.28
459,026 708,388 10,866,198 785,220 11,651,418 50,825,850
0.90 1.41 21.39 1.54 22.93 100.00
427,373 442,118 10,451,008 832,031 11,283,039 53,785,920
0.79 0.83 19.43 1.55 20.98 100.00
การวิเคราะห์งบแสดงฐานะการเงินตามวิธีแนวตั้งทําให้ทราบว่า ในปี 2553 บริ ษทั อิตา เลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) สินทรัพย์หมุนเวียนส่วนให้เกิดจาก ลูกหนี้การค้า -ไม่ เกี่ยวข้องกับกิจการร้อยละ 16.51 และรายได้ที่ยงั ไม่เรี ยกชําระร้อยละ 20.66 จากสินทรัพย์หมุนเวียน ร้อยละ 58.70 ในส่วนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนนั้น รายการที่ควรให้ความสนใจคือ รายจ่ายในการ สํารวจและพัฒนาแหล่งแร่ ต้งั พักคิดเป็ นร้อยละ 27.01และการจัดหาเงินทุนนั้น บริ ษทั จัดหาเงินจาก การกูย้ มื มากกว่าการจัดหาเงินจากส่วนของทุน ซึ่งเราจะสังเกตเห็นว่า บริ ษทั มีหนี้สินรวม ร้อยละ 77.07 แต่ส่วนของผูถ้ ือหุน้ มีเพียงร้อยละ 22.93 เมื่อเทียบกับรวมหนี้สินและส่วนของผูถ้ ือหุน้ ที่ทีค่า ร้อยละ 100 ในปี 2553 เราจะเห็นว่า การจัดหาเงินจากการกูย้ มื นั้นลดลงจากปี ก่อนหน้าร้อยละ 2.05 แต่มีการเพิม่ ทุนจากเดิมร้อยละ 22.98 เป็ นร้อยละ 22.93
80 ตารางที่ 4-4 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเปรี ยบเทียบตามแนวตั้ง ปี 2552-2553 รายการ
2553
2552 (ปรับปรุงใหม่) 42,080,635
%
%
รายได้
39,147,387
รายได้จากการให้บริ การรับเหมาก่อสร้าง
34,418,863
87.92
38,840,616
92.30
1,657,443
4.23
1,456,183
3.46
36,076,306
92.15
40,296,799
95.76
32,232,116
82.34
36,539,073
86.83
1,445,749
3.69
1,259,735
2.99
-
-
-
-
รวมต้นทุน
33,677,865
86.03
37,798,808
89.82
กําไรขั้นต้น
2,398,441
6.12
2,497,991
5.94
23,441
0.06
29,624
0.07
ดอกเบี้ยรับ
134,735
0.34
229,919
0.55
กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน
127,633
0.33
385,459
0.92
กําไรจากการซื้อคืนและยกเลิกหุ ้นกูแ้ ปลง สภาพ
135,068
0.35
503,383
1.20
1,618,957
4.14
-
-
กลับรายการค่าเผือ่ การด้อยค่าของสิ นทรัพย์
216,168
0.55
-
-
รายได้อื่น
811,186
2.07
635,451
1.51
รายได้จากการขายและให้บริ การ รวมรายได้ ต้นทุน ต้นทุนในการให้บริ การรับเหมาก่อสร้าง ต้นทุนในการขายและให้บริ การ สํารองขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ ก่อสร้างของกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
เงินปันผลรับและส่ วนแบ่งกําไรจากกิจการ ร่ วมค้า
กําไรจากการขายเงินลงทุน
81 ตารางที่ 4-4(ต่อ) รายการ
2552 (ปรับปรุงใหม่)
2553
%
กําไรก่อนค่าใช้จ่าย
5,465,629
13.96
4,281,827
10.19
ค่าใช้จ่ายในการขาย
(20,289)
(0.05)
(27,756)
(0.07)
(2,459,141)
(6.28)
(2,530,941)
(6.01)
ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร
(60,687)
(0.16)
(59,327)
(0.14)
ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ
(293,690)
(0.75)
(194,284)
(0.46)
(7,790)
(0.02)
-
-
-
-
(519,051)
(1.23)
ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์
(29,345)
(0.07)
-
-
ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน
-
-
(16,502)
(0.04)
กําไร (ขาดทุน) จากการจําหน่ายเงินลงทุน
-
-
(112,700)
(0.27)
-
-
(253,564)
(0.60)
-
-
-
-
(4,343)
(0.01)
(48,259)
(0.11)
(2,875,285)
(7.34)
(3,762,384)
(8.93)
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
ค่าเผือ่ สิ นค้าเสื่ อมสภาพ ขาดทุนจากการขายสิ นทรัพย์
ขาดทุนจากการตัดจําหน่ายเงินทดรองจ่าย โครงการ สํารองขาดทุนโครงการของกิจการที่เกี่ยวข้อง กัน สํารองขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ และภาระหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต รวมค่าใช้ จ่าย
%
82 ตารางที่ 4-4 (ต่อ) รายการ กําไรจากการดําเนินงาน ส่ วนแบ่งกําไร (ขาดทุน)จากเงินลงทุนตามวิธี ส่ วนได้เสี ย - สุ ทธิ กําไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน กําไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กําไรขาดทุนสุ ทธิ
2553
%
2,590,344
6.62
2552 (ปรับปรุงใหม่) 519,443
% 1.26
3,893
0.01
(95,519)
(0.23)
2,594,237
6.63
423,924
1.03
(2,058,407)
(5.26)
(2,065,436)
(4.91)
535,830
1.37
(1,641,512)
(3.88)
(217,978)
(0.56)
(198,529)
(0.47)
317,852
0.81
(1,840,041)
(4.35)
297,923
0.76
(1,820,943)
(4.30)
19,929
0.05
(19,098)
(0.05)
317,852
0.81
(1,840,041)
(4.35)
การแบ่งปันกําไร(ขาดทุน) ส่ วนที่เป็ นผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ส่ วนที่เป็ นผูถ้ ือหุ ้นส่ วนน้อยในบริ ษทั ย่อย
กําไรต่อหุ ้นขั้นพื้นฐาน กําไร (ขาดทุน) สุ ทธิ (บาทต่อหุ ้น) จํานวนหุ ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก (หน่วย : พันหุ ้น)
0.07
(0.43)
4,193,678
4,193,678
การวิเคราะห์งบกําไรขาดทุนตามวิธีแนวตั้งทําให้ทราบว่า ในปี 2553 บริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน)มีรายได้ส่วนใหญ่จาก รายได้จากการให้บริ หารรับเหมาก่อสร้างมีค่า ร้อยละ 87.92 และรายจ่ายส่วนใหญ่เกิดจาก ต้นทุนการให้บริ การรับเหมาก่อสร้างร้อยละ 82.34
83 ตอนที่ 3 การวิเคราะห์ ด้วยอัตราส่ วนทางการเงิน ( Financial Ratio) การวิเคราะห์ดว้ ยอัตราส่วนทางการเงินเป็ นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลตัวเลข 2 รายการจากงบการเงินของธุรกิจ ข้อมูลที่นาํ มาใช้อตั ราส่วนทางการเงินมาจากข้อมูลในงบดุลและ งบกําไรขาดทุน โดยใช้ขอ้ มูลจากงบการเงินปี ปั จจุบนั ในการวิเคราะห์ปีเดียว หรื อใช้งบการเงินปี ปั จจุบนั เปรี ยบเทียบกับงบการเงินปี ที่ผา่ นมาหรื องบการเงินปี ปั จจุบนั กับงบการเงินที่พยากรณ์ไว้ อัตราส่วนทางการเงินที่ธุรกิจคํานวณได้สามารถนําไปวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ของธุรกิจ ทางด้านสภาพคล่องทางการเงิน ประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ ความสามารถในการก่อหนี้ และ ความสามารถในการสร้างกําไร ซึ่งผลการวิเคราะห์จะทําให้ทราบจุดแข็งหรื อจุดอ่อนของธุรกิจได้ ผลการวิเคราะห์ดว้ ยอัตราส่วนทางการเงินสามารถแสดงรายละเอียดได้ดงั นี้
84
ตารางที่ 4-5 การวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิน ปี 2552 - 2553 รายการ อัตราส่ วนสภาพคล่ อง อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้ การค้า ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ ระยะเวลาชําระหนี้ (วัน) Cash Cycle (วัน) อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากําไร อัตรากําไรขั้นต้น อัตรากําไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุน้ อัตราส่ วนแสดงประสิ ทธิภาพในการดําเนินงาน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร อัตราการหมุนของสินทรัพย์ อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผูถ้ ือหุน้ อัตราส่วนความสามารถชําระดอกเบี้ย อัตราการจ่ายเงินปั นผล* อัตราส่วนความสามารถชําระภาระผูกพัน อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู ้ ถือหุน้
2553 อัตราส่ วน
2552 อัตราส่ วน
1.28 0.51 3.33 108.23 10.01 35.97 4.49 80.20 64.00
1.07 0.42 3.64 98.82 9.86 36.52 4.31 83.46 51.88
6.65% 0.76% 2.58%
5.41% (4.28%) (14.68%)
0.57% 17.55% 0.75
(3.19%) 4.58% 0.75
3.36 1.47 70.38% 0.52
3.70 2.17 0.00% 0.52
1.76
1.87
85
การวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิน บริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) มี สภาพคล่องในปี 2553 ดีกว่า ในปี 2552 โดยดูได้จากตัวเลขในอัตราส่วนที่มีค่าสูงขึ้นจากปี ก่อนและ สภาพคล่องที่ดีข้ ึนนั้นเกิดจากการใช้สินทรัพย์ ไม่ได้เกิดจากการดําเนิน เนื่องจาก บริ ษทั อิตาเลียน ไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) มี Cash Cycle ที่เพิม่ ขึ้นจากปี ก่อน ความสามารถในการทํากําไร ประสิทธิภาพในการดําเนินงานในปี 2553 ดีกว่าในปี 2552 เนื่องจากค่าจากการคํานวณเป็ นไปใน ทิศทางที่ดีข้ ึน บริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) มีนโยบายทางการเงินเหมือนเดิม เนื่องจาก ค่าอัตราส่วนที่ได้ในปี 2553 มีความใกล้เคียงกับ ปี 2552
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา การศึกษาเรื่ องสัญญาณเตือนภัยจากงบการเงินโดวิธีวเิ คราะห์งบการเงิน มีวตั ถุประสงค์เพือ่ วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานขององค์การ ในรอบระยะเวลา 3 ไตรมาส ปี 2554 โดยเครื่ องที่ใช้ในการวิเคราะห์งบการเงิน คือ การวิเคราะห์ตามแนวนอน การวิเคราะห์ตามแนวตั้ง การวิเคราะห์แนวโน้มและการวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิน ผลการศึกษาทําให้ทราบฐานะทาง การเงิน รายรับ รายจ่ายและการดําเนินงานขององค์การ เพือ่ ให้ผบู ้ ริ หารสามารถใช้ขอ้ มูลจากการ วิเคราะห์งบการเงินนําไปวางแผน และปรับปรุ งผลการดําเนินงานให้ดีข้ ึนและใช้ควบคุมผลการ ดําเนินงานในรอบปี ปั จจุบนั ให้เป็ นไปตามเป้ าหมาย ตลอดจนเป็ นการเปิ ดเผยข้อมูลการวิเคราะห์ ให้กบั ผูใ้ ช้งบการเงินได้ทราบถึงผลการดําเนินงานขององค์การ ข้อมูลที่นาํ มาทําการศึกษาครั้งนี้เป็ น ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิโดยการศึกษาจากงบการเงินของบริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) เป็ นการศึกษาจากข้อมูลย้อนหลังโดยใช้ขอ้ มูลระหว่างไตรมาส 1-3 ปี พ.ศ. 2554 ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินและงบแสดงผลการดําเนินงาน (งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ) ผลการศึกษาโดยสรุ ปได้ดงั นี้ ในการวิเคราะห์ตามแนวนอน บริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) สินทรัพย์ ลดลงจากปี ก่อนร้อยละ 0.06 หนี้สินนั้นลดลงจากปี ก่อนร้อยละ 0.08 ส่วนของผูถ้ ือหุน้ เพิม่ ขึ้น จากปี ก่อนหน้าร้อยละ 0.03 รายได้ลดลงจากปี ก่อนร้อยละ 0.10 แต่บริ ษทั ยังมีความสามารถในการ ลดต้นทุนด้วยเช่นกันโดยต้นทุนลดลงร้อยละ 0.12 การวิเคราะห์ตามแนวตั้ง สินทรัพย์หมุนเวียน ส่วนให้เกิดจาก ลูกหนี้การค้า-ไม่เกี่ยวข้องกับกิจการร้อยละ 16.51 และรายได้ที่ยงั ไม่เรี ยกชําระร้อย ละ 20.66 การจัดหาเงินทุนนั้น บริ ษทั จัดหาเงินจากการกูย้ มื มากกว่าการจัดหาเงินจากส่วนของทุน ซึ่งเราจะสังเกตเห็นว่า บริ ษทั มีหนี้สินรวม ร้อยละ 77.07 แต่ส่วนของผูถ้ ือหุน้ มีเพียงร้อยละ 22.93 รายได้ส่วนใหญ่จาก รายได้จากการให้บริ หารรับเหมาก่อสร้างมีค่าร้อยละ 87.92 และรายจ่ายส่วน ใหญ่เกิดจาก ต้นทุนการให้บริ การรับเหมาก่อสร้างร้อยละ 82.34 การวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิน บริ ษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) มีสภาพคล่อง ความสามารถในการ ประสิทธิภาพในการดําเนินงานในปี 2553 ดีกว่าในปี 2552 เนื่องจากค่าจากการคํานวณอัตราส่วน
87 นั้นเป็ นไปในทิศทางที่ดีข้ ึน ส่วนนโยบายทางการเงินเหมือนเดิมเนื่องจาก ค่าอัตราส่วนที่ได้ในปี 2553 มีความใกล้คียงกับ ปี 2552 ข้ อเสนอแนะการนําผลการศึกษาไปใช้ 1. ผลจากการศึกษาครั้งนี้ ผูบ้ ริ หารสามารถใช้ขอ้ มูลจากการวิเคราะห์งบการเงินนําไปวาง แผนการปฏิบตั ิงาน และจัดทําข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายในปี ต่อ ๆ ไปโดยนําผลการวิเคราะห์ ตามแนวนอนมาประกอบการตัดสินใจ 2. เพือ่ ใช้ผลการวิเคราะห์ตามแนวตั้งเป็ นข้อมูลในการปรับปรุ งผลการดําเนินงานให้ดีข้ ึน เนื่องจากผลของการวิเคราะห์ขอ้ มูลทีละด้านทําให้เห็นถึงผลการดําเนินงานของปี ต่าง ๆ อย่าง ชัดเจน 3. ใช้ควบคุมผลของการดําเนินงานโดยดูได้จากการวิเคราะห์งบการเงินตามแนวโน้มและ การวิเคราะห์ดว้ ยอัตราส่วนทางการเงินเพือ่ ทราบแนวโน้มของการดําเนินงานขององค์การว่ามี แนวโน้มเพิม่ ขึ้น คงที่หรื อลดลง ข้ อเสนอแนะการศึกษาครั้งต่ อไป 1. การวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยวิธีศึกษาแบบย้อนหลัง (Retrospective Study) และใช้ขอ้ มูล ทุติยภูมิซ่ ึงมีการบันทึกไว้หากมีปัญหาด้านข้อมูล เช่น ข้อมูลหายหรื อข้อมูลไม่ครบถ้วนอาจทํา ให้ผลการวิเคราะห์ที่ได้ไม่ถูกต้อง ฉะนั้นควรมีการศึกษาโดยศึกษาไปข้างหน้า (Prospective Study) เช่น การวางแผนทางการเงิน เป็ นต้น 2. การศึกษาความคุม้ ค่าของการใช้จา่ ยงบประมาณขององค์การและความสามารถในการ บริ หารสินทรัพย์วา่ ได้มีสินทรัพย์มากเกินความจําเป็ นหรื อไม่และการบันทึกบัญชี ณ วันที่ได้รับ สินทรัพย์มาโดยไม่ได้มีการหักค่าเสื่อมราคาในการบันทึกบัญชีปัจจุบนั มีผลต่องบการเงินอย่างไร บ้าง
บรรณานุกรม ฉันทนา ศรี นวกุล. 2552. การเงินธุรกิจ. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั สํานักพิมพ์ทอ้ ป จํากัด เพชรี ขุมทรัพย์. 2546. วิเคราะห์ งบการเงิน. ม.ป.ท. ทิพยรัตน์ คงสุนทรกิจกุล ,เภานริ นทร์ กุลเสวต และศิวพันธ์ จันทร์ผอ่ ง. 2552. ปัจจัยการตัดสิ นใจ เลือกโรงแรมที่พักของนักท่ องเที่ยวชาวยุโรปวัยเกษียณอายุ. มหาวิทยาลัยนเรศวร. นิตยา งามแดน. 2550. การบัญชีการเงิน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ปาริ ชาติ มณี มยั . 2551. หลักการบัญชีข้ันต้ น. กรุ งเทพมหานคร: โอ.เอส. พริ้ นติ้ง เฮาส์. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2544. การจัดการการตลาด. 8,000เล่ม. นนทบุรี: สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. วันเพ็ญ วศินารมณ์. 2553. การวิเคราะห์ รายงานทางการเงิน. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุ งเทพมหานคร: ห้างหุน้ ส่วนจํากัด ทีพเี อ็น เพรส ศศิวมิ ล มีอาํ พล. 2548. หลักการบัญชีข้ันต้ น. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพมหานคร: อินโฟไมนิ่งเพรส. สิริวฒ ุ ิ บูรณพิร. 2540. กลยุทธ์ การตัดสิ นใจ. กรุ งเทพฯ: บริ ษทั ซีเอ็ดยูเคชัน่ จํากัด(มหาชน). สุพาดา สิริกุตตา และคณะ. 2552. การเงินธุรกิจ. 1,000 เล่ม. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั ธรรมสาร สภาวิชาชีพบัญชี . 2552. มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนําเสนองบ การเงิน . กรุ งเทพมหานคร: สภาวิชาชีพบัญชี . อภิชาติ พงศ์สุพฒั น์. 2551. การเงินธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 9. ม.ป.ท.
89 จักริ น เพชรสังหาร. 2549. การวิเคราะห์ งบการเงินของศูนย์ หนังสื อมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. การ ค้นคว้าแบบอิสระหลักสูตรปริ ญญาบัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วิลาวัลย์ ตุม้ เฟี้ ยม. 2551. การวิเคราะห์ งบการเงินเปรียบเทียบบริษัทที่จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ. สารนิพนธ์หลักสูตรปริ ญญาเศษฐศาสตรมหาบัณฑิต , มหาวิทยาลัย รามคําแหง. ปิ่ นเพชร เทพสมบัติ. 2552. การประเมินฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน โดยวิธีวิเคราะห์ งบการเงิน กรณีศึกษาองค์การบริหารส่ วนตําบลแม่ ตํ๋า อําเภอพญาเม็งราย จังหวัด เชียงใหม่. การศึกษาอิสระบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทัว่ ไป, มหาวิทยาลัยเชียงราย. รัญชิดา การขยัน. 2546. การวิเคราะห์ งบการเงินเปรียบเทียบบริษัทในกลุ่มธุรกิจพัฒนา อสั งหาริมทรัพย์ กรณีศึกษาบริษัทควอลิตเี้ ฮ้ าส์ จํากัด (มหาชน) บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ จํากัด (มหาชน) และ บริษัท เอเซียน พร็อพเพอร์ ตี้ ดีเวลลอปเม้ นท์ จํากัด (มหาชน). การ ค้นคว้าแบบอิสระหลักสูตรปริ ญญาบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . สงกรานต์ ทองน่วม. 2543. การวิเคราะห์ งบการเงินของบริษัทในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ ของ ประเทศไทยระหว่ าง พ.ศ. 2537-2541. การค้นคว้าแบบอิสระหลักสูตรปริ ญญาบัญชี มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . สุจินต์ ดวงดี. 2553. การวิเคราะห์ งบการเงินบริษัท ไปรษณีย์ไทย จํากัด พ.ศ. 2547-2551. การ ค้นคว้าแบบอิสระหลักสูตรปริ ญญาบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริ หารธุรกิจ สาขา วิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. อนิรุทธ บุญลอย. 2553. การวิเคราะห์ งบการเงินของธุรกิจนํ้ามันปาล์ ม ในประเทศไทย. การ ค้นคว้าแบบอิสระหลักสูตรปริ ญญาบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริ หารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.