(1)
คณะผู้จัดทา นางสาวสุ ภลักษณ์ นางสาวกษมา นางสาวพวงเพชร นางสาวพัชราภรณ์ นางสาวพิมพ์ภทั ร นางสาวภัคจิรา นางสาวภาสุ รี นางสาวภัทรา นางสาวลลิตา นางสาววรภรณ์ นางสาวฐิติยา นางสาวนฤมล นางสาวปิ ยวรรณ นางสาววาสิ นี นางสาวอาภาพร นายยศกร นางสาวพณิ ชยา นายธนกฤต นายเศรษฐภักค์ นางสาวอุษา
ฝักแคเล็ก ตั้งจารุ วฒั นชัย ธนะสมบูรณ์ พูนชัย คลุมดวง ก้อนพร ศรี ปราช หมัน่ สระเกษ ศิริแสง ศุภประเสริ ฐ คูณขาว ยอดพิกุล เล้าเจริ ญพานิชย์ เสถียรกาล จ่ายพอควร ตั้งตระกูลสมบัติ แหละหมัน ฉัตรธัญญากมล จันทร์ เพชร สุ ขสวัสดิ์
49209240 51205367 51205854 51205862 51205896 51205912 51205946 51205920 51206001 51206019 51233864 51233963 51234045 51234284 51234474 51236545 51239044 51239200 51239276 51239374
(2)
กิตติกรรมประกาศ ในการประชุ มสัมมนาวิชาการ การสัมมนาเครื อข่ายองค์ความรู ้ ทางบัญชี เรื่ อง มาตรฐาน การบัญชี (Book of Standards) สามารถประสบความสาเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี เนื่ องจากได้รับความ อนุเคราะห์ ความกรุ ณา และการสนับสนุ นเป็ นอย่างดีจากอาจารย์นิตยา งามแดน ที่ได้ให้คาแนะนา ที่เป็ นประโยชน์ในการศึกษา ตลอดทั้งให้ความเมตตาและเสี ยสละเวลาแก่คณะผูจ้ ดั ทามาโดยตลอด จนทาให้การสัมมนาครั้งนี้สาเร็ จลุล่วงได้ดี ขอขอบพระคุณสาหรับผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน รวมทั้งแหล่งที่ศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆ อาทิเช่น หนังสื อ วารสาร บทความ วิทยานิพนธ์ และสื่ อทางอินเตอร์ เน็ตที่ให้คณะผูจ้ ดั ทาได้ใช้เป็ น แนวทางในการศึ ก ษาและจัด งานสั ม มนาในครั้ งนี้ ขึ้ น ตลอดจนเพื่ อ นร่ ว มกลุ่ ม เพื่ อ นร่ ว มรุ่ น ผูเ้ ข้าร่ วมสัมมนาที่ ให้ความร่ วมมือ ความช่ วยเหลื อในทุ กๆเรื่ อง อี กทั้งยังคอยเป็ นกาลังใจให้ทาง คณะผูจ้ ดั ทาตลอดมา สุ ดท้ายนี้ ทางคณะผูจ้ ดั ทาขอขอบพระคุ ณและระลึ กอยู่เสมอว่าจะไม่มีความสาเร็ จใดๆใน ชีวติ ของคณะผูจ้ ดั ทา หากปราศจากความรัก ความเข้าใจ และกาลังใจจากบุคคลที่มีพระคุณที่คอยให้ การสนับ สนุ น การศึ ก ษาของคณะผู้จ ัด ท ามาโดยตลอด ขอขอบคุ ณ คณาจารย์ทุ ก ท่ า น และ สถาบันการศึกษาอันทรงเกียรติที่มอบโอกาสในการศึกษาแก่คณะผูจ้ ดั ทา ที ม ผูจ้ ัดท าหวัง ว่า การสั ม มนาครั้ งนี้ คงมี ป ระโยชน์ เ ป็ นอย่า งมากส าหรั บ หน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้อง ตลอดจนผูท้ ี่ สนใจเกี่ ยวกับ มาตรฐานการบัญชี เพื่อสามารถปฏิ บ ตั ิ ได้ถูกต้องตามหลัก มาตรฐานการบัญชี คณะผูจ้ ดั ทา กุมภาพันธ์ 2555
(3)
สารบัญ หน้ า คณะผูจ้ ดั ทา
(1)
กิตติกรรมประกาศ
(2)
สารบัญ
(3)
สารบัญตาราง
(4)
บทที่ 1 บทนา หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1 2 3
บทที่ 2 เครื่องมือในการศึกษามาตรฐานการบัญชี แนวคิดเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน แนวคิดเกี่ยวกับการนาเสนองบการเงิน แนวคิดเกี่ยวกับธุ รกิจขนาดเล็กและขนาดย่อม งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานการบัญชี เรื่ อง การรับรู ้รายได้ การประมาณการหนี้สิน หนี้ สินที่อาจเกิดขึ้นและสิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น
4 19 21 34 57
บทที่ 3 สรุ ปการสั งเคราะห์ องค์ ความรู้ สรุ ปการสังเคราะห์องค์ความรู้รวมทางด้านมาตรฐานการบัญชี
69
ภาพบรรยากาศ เอกสารอ้างอิง
74 78
(4)
สารบัญตาราง หน้ า ตารางที่ 1
กรณี ผฝู้ ากขายบันทึกบัญชีฝากขายแยกจากการขายปกติ
39
2
กรณี ผฝู ้ ากขายบันทึกบัญชีฝากขายรวมกับการขายปกติ
40
3
แสดงการคานวณดอกเบี้ยรับและ ยอดคงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อในแต่ละงวด
47
4
แสดงการคานวณค่านายหน้าตัดจ่ายตลอดอายุสัญญาเช่า
49
5
แสดงการคานวณดอกเบี้ยรับและยอดคงเหลือลูกหนี้ ตามสัญญาเช่าซื้ อ
53
6
ตารางปั จจัยดอกเบี้ยมูลค่าปั จจุบนั ของเงินรายงวด (FVIFA)
54
7
แสดงหลักเกณฑ์การจัดชั้นลูกหนี้ตามแนวทางของสมาคมธุ รกิจเช่าซื้ อไทย
55
8
แสดงอัตราร้อยละการกันเงินสารองตามลูกหนี้ จัดชั้นตามแนวทางของสมาคมธุ รกิจเช่าซื้ อไทย
56
แสดงมูลค่าหลักประกันที่จะนามาหักออกจากราคาตามบัญชีของลูกหนี้ ก่อนกันเงินสารองตามแนวทางของสมาคมธุ รกิจเช่าซื้ อไทย
57
9
บทที่ 1 บทนา หลักการและเหตุผล ในปั จ จุ บ ัน คณะกรรมการมาตรฐานการบัญ ชี สมาคมนัก บัญ ชี และผูส้ อบบัญ ชี รั บ อนุ ญ าตแห่ ง ประเทศไทย ได้ป รั บ ปรุ ง แก้ไ ขมาตรฐานการบัญ ชี ห ลายฉบับ และมี ก ารกํา หนด มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับใหม่ข้ ึน โดยมีมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย (Thai Financial Reporting Standards - TFRSs) ชุดเดียว ที่อา้ งอิงจากมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ระหว่างประเทศ (International Financial Reporting Standards - IFRSs) เพื่อให้เป็ นที่ยอมรับในระดับ สากล มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นดังกล่ า วใช้ก ับนิ ติบุ คคลที่ มี หน้า ที่ จดั ทําบัญชี ตาม พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543ไม่วา่ จะเป็ นบริ ษทั จดทะเบียนที่มีหุ้นซื้ อขายในตลาดหลักทรัพย์ หรื อนิ ติบุคคลทัว่ ไปที่อยูน่ อกตลาดหลักทรัพย์ เนื่องจากสภาวิชาชีพบัญชีฯ ตระหนักถึงความสําคัญ ของกิ จการที่ไม่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะ (Non-Publicly Accountable Entities- NPAEs) ซึ่ งเป็ น แรงผลักดันระบบเศรษฐกิจของประเทศ และตระหนักว่า กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะนี้ มีความ แตกต่างจากกิจการที่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะ (Publicly Accountable Entities- PAEs) มาตรฐานการ บัญชีของไทยนั้นได้มีการปรับปรุ งให้ทนั สมัยและสอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ในหลายๆ ด้าน ซึ่ งมีผลกระทบโดยตรงต่อการนําไปใช้ในการจัดทําบัญชี ของบริ ษทั ต่างๆ ดังนั้น ผูท้ าํ บัญชี ตลอดจนผูป้ ระกอบวิช าชี พ บัญ ชี ค วรที่ จ ะได้รั บความรู้ ใ นเรื่ องมาตรฐานการบัญ ชี ที่ เปลี่ยนแปลงไปอย่างทันเวลาเพื่อที่จะสามารถนําความรู้ที่ได้มาปรับปรุ ง ในการจัดทําบัญชีที่ปฏิบตั ิ อยูใ่ นปั จจุบนั และถ่ายทอดความรู ้ให้กบั ผูอ้ ื่นที่เกี่ยวข้อง สามารถนําความรู ้ไปใช้ได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสมนอกจากนี้แล้ว การแสวงหาองค์ความรู ้ใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับสภาวะทางสังคมและธุ รกิจ ที่เปลี่ยนแปลงไป อันจะเป็ นประโยชน์แก่สังคมในการนําไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจําวัน จากประเด็ น ความสํ า คั ญ ดั ง กล่ า ว สาขาการบัญ ชี บริ หาร คณะวิ ท ยาการจัด การ มหาวิท ยาลัย เกษตรศาสตร์ จึ ง เล็ ง เห็ น ความจํา เป็ นในการที่ จะนํา ความรู ้ ที่ ท นั ต่ อเหตุ ก ารณ์ ม า เผยแพร่ ได้มีการจัดสัมมนาเครื อข่ายองค์ความรู ้ทางบัญชี เรื่ อง มาตรฐานการบัญชี โดยมีการศึกษา มาตรฐานที่น่าสนใจ ได้แก่ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 เรื่ อง การนําเสนองบการเงิ น (ปรับปรุ ง
2 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นสําหรับกิ จการที่ไม่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะ มาตรฐานการ บัญชี ฉบับที่ 18 เรื่ อง รายได้ (ปรับปรุ ง2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 เรื่ อง สัญญาก่อสร้ าง (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 เรื่ อง เกษตรกรรม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่ อง สัญญาเช่า (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 เรื่ องประมาณการกนี้ สิน หนี้ สินที่ อาจเกิดขึ้นและสิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น (ปรับปรุ ง 2552) ให้แก่นิสิตและผูท้ ี่สนใจ เพื่อผูจ้ ดั ทําบัญชีมี ความรู ้ ความเข้าใจในประเด็นสําคัญต่างๆ ของมาตรฐานการบัญชี การถื อปฏิบตั ิตลอดจนประเด็น หรื อปั ญหาในทางปฏิบตั ิก่อนการทําบัญชี มากยิ่งขึ้น ช่วยเป็ นมีแนวทางในการรายงานการเงิน เพื่อ นําเสนอข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจของผูป้ ระกอบการและผูใ้ ช้งบการเงินของ กิ จการ อี กทั้งยังช่ วยเสริ มสร้ างความรู ้ ความเข้าใจ และการนําไปใช้เกี่ ยวกับมาตรฐานการบัญชี ให้แก่ผปู ้ ระกอบวิชาชีพบัญชีได้นาํ ไปปฏิบตั ิได้จริ ง และถูกต้อง วัตถุประสงค์ การจัดสัมมนาเครื อข่ายองค์ความรู ้ ทางบัญชี เรื่ อง มาตรฐานการบัญชี มีวตั ถุ ประสงค์ใน การจัด เพื่อถ่ายทอดและนําเสนอผลของการศึกษาเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 เรื่ อง การนําเสนองบการเงิน (ปรับปรุ ง 2552) เปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการ บัญชีฉบับปรับปรุ ง 2552 กับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 35 (ปรับปรุ ง 2550) เรื่ อง การนําเสนองบ การเงิ น ของเดิ ม รวมทั้ง รู ป แบบการนํา เสนองบการเงิ นรวมของบริ ษ ัท ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาด หลักทรัพย์ แห่ ง ประเทศไทย ของบริ ษทั การบินไทย จํากัด (มหาชน) ในไตรมาสที่ 3 ปี 2554 ว่า เป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 เรื่ อง การนําเสนองบการเงิน (ปรับปรุ ง 2552) หรื อไม่ เพื่อให้เกิ ดความเข้าใจในการนําเสนองบการเงิ นได้มากขึ้ น การศึกษามาตรฐานการรายงานทาง การเงินสําหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะ เพื่อศึกษาประเด็นต่างๆ ที่สําคัญ ของมาตรฐาน การรายงานทางการเงินสําหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะ (TFRSs for NPAEs) เปรี ยบเทียบ ความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นสําหรับกิจการที่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะกับ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นสําหรับกิ จการที่ไม่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะ ลักษณะรู ปแบบของ การนําเสนอรายงานการเงิ นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นสําหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสี ย สาธารณะ มาตรฐานเกี่ ยวกับการรับรู ้ รายได้ของธุ รกิ จรู ปแบบต่างๆ และปั ญหาเกี่ ยวกับการรั บรู ้ รายได้ที่ ไ ม่เป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชี ที่รับ รองทัว่ ไป เพื่ อให้เข้า ใจวิธีก ารรั บ รู ้ รายได้ ตาม มาตรฐานการบัญชีเรื่ องการรับรู ้รายได้อย่างลึกซึ้ งมากขึ้น การเจาะประเด็นมาตรฐานการบัญชีฉบับ ที่ 37 (ปรับปรุ ง 2552) เพื่อศึกษาเกณฑ์การรับรู ้รายการ การวัดมูลค่า บันทึกบัญชี การนําเสนอในงบ
3 การเงิน เพื่อช่วยให้ผใู ้ ช้งบการเงินเข้าใจถึงลักษณะ จังหวะเวลา และจํานวนที่แสดงอยูใ่ นงบการเงิน นั้นโดยใช้กรณี ศึกษา : ธุ รกิ จจําหน่ ายเครื่ องมือสื่ อสาร การถือปฏิบตั ิมาตรฐานตลอดจนประเด็น หรื อปั ญหาในทางปฏิบตั ิก่อนการทําบัญชีมากยิง่ ขึ้น ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ การจัด สั ม มนาเครื อ ข่ า ยองค์ ค วามรู ้ ท างบัญ ชี เรื่ อ ง มาตรฐานการบัญ ชี ในการศึ ก ษา มาตรฐานการบัญชี ดงั กล่าวมาข้างต้น เพื่อเป็ นแนวทางในการนําเสนอข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการ ตัด สิ น ใจเชิ ง เศรษฐกิ จ ของผู ้ป ระกอบการและผู ้ใ ช้ ง บการเงิ น เพื่ อ ที่ กิ จ การจะสามารถเพิ่ ม ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล และช่วยลดต้นทุนของเงินทุนในการจัดทํารายงานการเงิน อีกทั้ง ยังช่วยเสริ มสร้างความรู ้ ความเข้าใจ และการนําไปใช้ในการประกอบวิชาชีพบัญชี เพื่อนําไปปฏิบตั ิ ได้จริ ง และถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี
4
บทที่ 2 เครื่องมือในการศึกษามาตรฐานการบัญชี แนวคิดเกีย่ วกับมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ความหมายของมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน นุชจรี พิเชฐกุล ได้กล่าวถึง งบการเงินและรายงานการเงิน โดยการอ้างจากพระราชบัญญัติ การบัญชี พ.ศ.2543 มาตรา4 ได้กาํ หนดความหมายไว้ว่า “งบการเงิ น หมายถึ ง รายงานผลการ ดําเนินงาน ฐานะการเงินหรื อการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน ไม่วา่ จะเป็ นรายงานโดยงบดุล งบกําไร ขาดทุน งบกําไรสะสม งบกระแสเงินสด งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น งบประกอบ หรื อหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น หรื อคําอธิ บายอื่ นซึ่ งระบุ ไว้ว่าเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงิ น” ดังนั้น งบการเงิ นจึงเป็ นสื่ อกลางที่สําคัญในการสื่ อสารข้อมูลทางการเงิ นและงบการเงิ นนี้ ถือเป็ น ส่ ว นหนึ่ งของรายงานทางการเงิ น และได้อ้า งจากสภาวิ ช าชี พ ในพระบรมราชู ป ถัม ภ์ไ ด้ใ ห้ ความหมายของรายงานการเงิ นในศัพท์บญ ั ชี ไว้ว่า การรายงานทางการเงิ น กระบวนการสื่ อสาร ข้อมูลทางการเงิ นซึ่ งได้มาจากระบบบัญชี โดยมีงบการเงิ นเป็ นส่ วนประกอบที่สําคัญของรายงาน ทางการเงิน ทั้งนี้ อาจจะทําในรู ปแบบของรายงานประจําปี หนังสื อชี้ ชวน เอกสารแจ้งข่าวหรื อการ พยากรณ์ กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิ ชย์ (2544: 265) มาตรฐานการบัญชี หมายถึง หลักการ โดยเฉพาะ หลัก เกณฑ์ ประเพณี ป ฏิ บ ตั ิ กฎเกณฑ์ หรื อวิ ธี ป ฏิ บ ตั ิ ที่ กิ จ การใช้ใ นการจัด ทํา และ นําเสนองบการเงิ น กิ จการต้องเลื อกใช้นโยบายการบัญชี ที่ทาํ ให้งบการเงิ นเป็ นไปตามหลักการ บัญชีที่รับรองทัว่ ไป ในกรณี ที่มาตรฐานการบัญชีไม่ได้ระบุถึงข้อกําหนดที่เป็ นเฉพาะไว้ ให้กาํ หนด นโยบายการบัญชีที่ทาํ ให้งบการเงินให้ขอ้ มูล ดังต่อไปนี้ 1. เกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจของผูใ้ ช้งบการเงิน 2. เชื่อถือได้ โดยข้อมูล
5 2.1 แสดงผลการดําเนินงาน และฐานะทางการเงินของกิจการอย่างเที่ยงธรรม 2.2 สะท้อนให้เห็นถึงเนื้อหาเชิงเศรษฐกิจมากกว่ารู ปแบบทางกฎหมายของ รายการและเหตุการณ์ทางบัญชี 2.3 มีความเป็ นกลางและปราศจากความลําเอียง 2.4 มีความระมัดระวัง 2.5 มีความครบถ้วนในทุกกรณี ที่มีนยั สําคัญ สมเดช โรจน์คุรีเสถียรและคณะ (2552: 109) ได้กล่าวถึงมาตรฐานการบัญชี วา่ หมายถึ ง หลักการบัญชี และวิธี ปฏิ บตั ิ ทางการบัญชี ที่ รับรองทัว่ ไป หรื อมาตรฐานการบัญชี ที่ก าํ หนดตาม กฎหมายว่าด้วยการนั้น ทั้งนี้รวมถึงการตีความมาตรฐานการบัญชีดว้ ย ศศิวมิ ล มีอาํ พล (2544: 3) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน หมายถึง มาตรฐานการบัญชี และการตีความที่ออกโดยคณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการบัญชี ซึ่ งประกอบด้วย 1. มาตรฐานการรายงานทางการเงิน 2. มาตรฐานการบัญชี 3. การตีความมาตรฐานการบัญชี และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน วัตถุประสงค์ ของรายงานทางการเงิน แม่บทการบัญชีได้กล่าวถึงเฉพาะวัตถุประสงค์ของงบการเงินซึ่ งถือได้วา่ เป็ นวัตถุประสงค์ ของรายงานการเงิ นด้วย นอกจากนี้ งบการเงิ นที่กล่าวถึ งในแม่บทการบัญชี และในมาตรฐานการ บัญชี ฉบับที่ 1 การนําเสนอ งบการเงิน ถือเป็ น “งบการเงิ นที่ จดั ทําขึ้ นเพื่อวัตถุ ประสงค์ทวั่ ไป” (General-purpose Financial Statement) หมายถึง งบการเงินที่จดั ทําขึ้นเพื่อสนองความต้องการของ
6 ผูใ้ ช้งบการเงินที่ไม่อยูใ่ นฐานะที่จะเรี ยกร้องเพื่อให้ได้รับรายงานตามรู ปแบบที่ตนเองต้องการได้งบ การเงินที่จดั ขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทวั่ ไปหมายถึ งงบการเงิ นที่นาํ เสนอโดยเอกเทศ หรื องบการเงินที่ แสดงรวมในเอกสารเผยแพร่ เช่ น รายงานประจําปี หรื อหนังสื อชี้ ชวน งบการเงิ นจัดทําขึ้นโดยมี วัตถุ ประสงค์ทวั่ ไป เพื่อให้ขอ้ มูลเกี่ ยวกับฐานะการเงิ น ผลการดําเนิ นและการเปลี่ ยนแปลงฐานะ การเงิ น อัน เป็ นประโยชน์ ต่ อ ผูใ้ ช้ง บการเงิ น ทุ ก ประเภทในการนํา ไปใช้ใ นการตัด สิ น ใจเชิ ง เศรษฐกิจ ซึ่ งผูใ้ ช้งบการเงินจะต้องประเมินความสามารถของกิจการในการก่อให้เกิดเงินสดนั้นจาก ข้อมูลที่ได้จากงบการเงิน ความจําเป็ นที่จะต้องมีการพัฒนามาตรฐานการบัญชี ในการจัดทํางบการเงิ นของกิ จการ หากไม่มีมาตรฐานการบัญชี แต่ละกิจการต่างพัฒนามาตรฐานการบัญชี ของตนขึ้นมาเอง ทําให้ผใู ้ ช้ งบการเงินต้องศึกษาวิธีปฏิบตั ิทางบัญชี ที่เป็ นเอกลักษณ์ เฉพาะของกิจการและทําให้งบการเงินไม่ สามารถเปรี ยบเทียบได้กบั งบการเงิ นของกิ จการอื่น นอกจากนี้ อาจจะมีปัญหาทําให้ขอ้ มูลมีความ ลําเอียง ความคลุมเครื อ ความไม่ถูกต้องและมีการตีความหมายผิด ดังนั้นสถาบันวิชาชีพจึงได้พฒั นา มาตรฐานการบัญชี ข้ ึนเรี ยกว่า “หลักการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไป”(Generally Accepted Accounting Principles=GAAP) หรื อมาตรฐานการบัญชี (Accounting Standards) พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ได้กาํ หนดความหมายของมาตรฐานการบัญชี ไว้ว่า “มาตรฐานการบัญชี หมายถึง หลักการ บัญชี และวิธีปฏิ บตั ิทางการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไป หรื อมาตรฐานการบัญชี ที่กาํ หนดตามกฎหมายว่า ด้วยการนั้น” นอกจากนี้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 เรื่ องการนําเสนองบการเงิน กําหนดความหมาย ของมาตรฐานการรายงานทางการเงินไว้ว่า “มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี และการตีความที่ออกโดยคณะกรรมการการกําหนดมาตรฐานการบัญชี ซึ่ งประกอบด้วย ก.) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ข.) มาตรฐานการบัญชี ค.) การตีความมาตรฐานการบัญชี และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน”
7 สถาบันพัฒนาความรู้ ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย (2548: 11-12) ได้ให้ วัตถุประสงค์ของงบการเงิน ดังนี้ 1. ให้ขอ้ มูลที่ เป็ นประโยชน์ต่อการตัดสิ นใจทางด้านการลงทุ นและการให้สินเชื่ อ งบ การเงิ นให้ขอ้ มูล ที่ จะช่ วยให้ผูล้ งทุ นและผูท้ ี่ ส นใจจะลงทุ น ตลอดจนเจ้า หนี้ สามารถตัดสิ นใจ ทางด้านการลงทุนและการพิจารณาสิ นเชื่ออย่างสมเหตุสมผล 2. ให้ขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์ในการคาดคะเนกระแสเงินสดในอนาคต งบการเงินควรให้ ข้อมูลที่ช่วยให้ผลู ้ งทุนและผูท้ ี่สนใจจะลงทุน ตลอดจนเจ้าหนี้ ประเมินความสามารถของกิจการใน การก่อให้เกิดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 3. ให้ขอ้ มูล เกี่ ยวกับทรั พยากรทางธุ รกิ จ สิ ทธิ เรี ยกร้ องที่ มีอยู่เหนื อทรั พยากรเหล่ านั้น และการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรเหล่านั้น งบการเงินควรให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับสิ นทรัพย์ หนี้ สิน และ ส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นของกิ จการ ตลอดจนผลกระทบของรายการค้าที่มีต่อสิ นทรัพย์ หนี้ สิน และส่ วน ของผูถ้ ือหุ ้นของกิ จการ ทรัพยากรทางเศรษฐกิจที่กิจการควบคุ มอยู่ โครงสร้ างทางการเงิ น สภาพ คล่ อง ความสามารถในการชํา ระหนี้ และความสามารถในการปรั บ ตัวเข้ากับ สภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนไป ศศิวมิ ล มีอาํ พล (2544: 3) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของงบการเงินว่า งบการเงินจัดทําขึ้นโดย มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ขอ้ มูลเกี่ ยวกับฐานะการเงิ น ผลการดําเนิ นงานและการเปลี่ ยนแปลงฐานะ การเงินของกิจการอันเป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้งบการเงินทุกประเภทในการนําไปใช้ในการตัดสิ นใจ เชิงเศรษฐกิจ สภาวิชาชีพบัญชี (2546: 23) กล่าวถึ งวัตถุ ประสงค์ของงบการเงินว่า วัตถุประสงค์เพื่อให้ ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงานและการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการ อันเป็ น ประโยชน์ต่อผูใ้ ช้งบการเงินทุกประเภทในการนําไปใช้ตดั สิ นใจเชิงเศรษฐกิจ เฉลิมขวัญ ครุ ธบุญยงค์ (2554: 16-17) กล่าวถึ งวัตถุ ประสงค์ของการจัดทําบัญชี การเงิ น และการจัดทํางบการเงิ นว่า มีวตั ถุ ประสงค์เดี ยวกันคือ เพื่อให้ขอ้ มูลทางการเงิ นในเชิ งตัวเลขอัน เกี่ ยวข้องกับธุ รกิ จ ซึ่ งจะเป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อเจ้าหนี้ และเจ้าของเพื่อการ
8 ตัดสิ นใจทางเศรษฐกิ จ วัตถุ ป ระสงค์ดังกล่ า วนี้ ย่อมรวมถึ ง การให้ข ้อมู ลที่ สามารถนํา มาใช้เพื่ อ ประเมินประสิ ทธิ ภาพในการบริ หารงานของฝ่ ายจัดการและหน้าที่ความรับผิดชอบในการบริ หาร อื่นๆ ด้วย โดยวัตถุประสงค์ทวั่ ไปมีดงั นี้ 1. เพื่อให้ขอ้ มูลที่สามารถประเมินฐานะความมัน่ คงของธุ รกิจ 2. เพื่อทราบถึงการเปลี่ยนแปลงในทรัพยากรสุ ทธิ 3. เพื่อช่วยประมาณการแนวโน้มการหารายได้ 4. เพื่อให้ทราบการเปลี่ยนแปลงของภาระหนี้สิน กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิ ชย์ (2544: 260) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของงบการเงิน งบ การเงิ นจัดทําขึ้ น โดยมี วตั ถุ ป ระสงค์เพื่อให้ข ้อมูลเกี่ ยวกับฐานะการเงิ น ผลการดําเนิ นงาน การ เปลี่ยนแปลงฐานะการเงิ นของกิ จการ ซึ่ งแสดงไว้ในงบดุ ล งบกําไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด ตามลําดับ รวมถึง หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายละเอียดประกอบ และข้อมูลอื่นๆ ซึ่ งระบุไว้วา่ เป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินโดยฝ่ ายบริ หารของกิจการมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทําและนําเสนอ งบการเงินของกิจการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี (2553: 22-23) วัตถุ ประสงค์ของงบ การเงิน คือ 1. งบการเงินจัดทําขึ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ขอ้ มูลเกี่ ยวกับฐานะทางการเงิน ผลการ ดําเนินงานและการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการ 2. งบการเงิ นให้ประโยชน์ต่อผูใ้ ช้งบการเงินทุกประเภทเนื่ องจากผูใ้ ช้งบการเงินมีหลาย กลุ่ม ดังนั้น จึ งสามารถตอบสนองความต้องความต้องการได้โดยรวม ซึ่ งแม่บทการบัญชี ได้ระบุ ผูใ้ ช้งบการเงิ นไว้ คือ ผูล้ งทุน ลูกจ้าง ผูใ้ ห้กู้ ผูข้ ายสิ นค้าเป็ นเงินเชื่ อ เจ้าหนี้ อื่น ลูกค้า รัฐบาล และ สาธารณชน
9 3. การนําไปใช้ตดั สิ นใจเชิ ง เศรษฐกิ จ ข้อมู ลในงบการเงิ นส่ วนใหญ่เป็ นการแสดงผล กระทบทางการเงิ น จากเหตุ ก ารณ์ ใ นอดี ต แสดงผลการบริ ห ารของฝ่ ายบริ ห ารในการบริ ห าร ทรัพยากรของกิจการ ทําให้สามารถนําข้อมูลไปตัดสิ นใจขายหรื อถือเงินลงทุนต่อไป หรื อตัดสิ นใจ โยกย้ายหรื อเปลี่ยนผูบ้ ริ หาร ภาคภูมิ วณิ ชธนานนท์ (2551: 6) เสนี ย ์ (อํ่าเจริ ญ) พวงยาณี (2551: 5) และวาณี คําดี (2551: 5) ได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของงบการเงินไว้วา่ การจัดทํางบการเงินมีวตั ถุประสงค์ เพื่อให้ ข้อมูลเกี่ ยวกับฐานะการเงิ น ผลการดําเนิ นงาน และการเปลี่ ยนแปลงฐานะการเงิ นของกิ จการ อัน เป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้งบการเงินทุกประเภทในการนําไปใช้ในการตัดสิ นใจเชิ งเศรษฐกิจ แม้วา่ งบ การเงิ นที่ จดั ทําขึ้นมี วตั ถุ ประสงค์ เพื่อตอบสนองความต้องการร่ วมของผูใ้ ช้งบการเงิ น แม้ว่างบ การเงิ นจะไม่ สามารถให้ข ้อมูล ทั้ง หมดที่ ผูใ้ ช้งบการเงิ นต้องการ รวมทั้ง งบการเงิ นไม่ ส ามารถ ตอบสนองความต้องการของข้อมูลสําหรับผูใ้ ช้งบการเงินเฉพาะกลุ่มได้ก็ตาม เพราะเหตุวา่ ผูใ้ ช้งบ การเงินแต่ละกลุ่มอาจมีความต้องการข้อมูลที่แตกต่างกัน วัตถุประสงค์ ของมาตรฐานการบัญชี ไทย สภาวิชาชีพในพระบรมราชูปถัมภ์ (Federation of Accounting Professions under the Royal Patronage of His Majesty the King) เป็ นหน่วยงานที่ดาํ เนิ นการพัฒนาและกําหนดมาตรฐานการ บัญชี ของประเทศไทย โดยมีวตั ถุ ประสงค์เพื่อให้มาตรฐานการบัญชี ไทยมีความเป็ นสากล และ สนองตอบต่อสภาพแวดล้อมและความก้าวหน้าของธุ รกิจของประเทศและของโลกที่เปลี่ยนแปลง อย่า งรวดเร็ ว อันจะมี ผ ลให้รายงานการเงิ นของกิ จการในประเทศไทยเป็ นที่ น่า เชื่ อถื อและเป็ น ประโยชน์ ต่ อ ผูใ้ ช้ง บการเงิ นทุ ก กลุ่ ม ในปั จจุ บ ันสภาวิ ช าชี พ บัญชี ฯ มี น โยบายในการกํา หนด มาตรฐานการบัญชี ไทยโดยกําหนดให้ใช้มาตรฐานการบัญชี ระหว่างประเทศ หรื อมาตรฐานการ รายงานทางการเงินระหว่างประเทศ เป็ นเกณฑ์ในการกําหนดมาตรฐานการบัญชีไทย แม่บทการบัญชี ประกอบด้วยวัตถุประสงค์ของงบการเงิ น ข้อสมมติ ลักษณะเชิ งคุณภาพที่ กํา หนดลัก ษณะของข้อมู ล ในงบการเงิ นที่ มี ป ระโยชน์ คํา นิ ย าม การรั บ รู ้ และการวัดมู ล ค่ า ของ องค์ประกอบขึ้นเป็ นงบการเงิน ตลอดจนแนวคิดเกี่ยวกับทุนและการรักษาระดับทุน ซึ่ งจะนําไปสู่ การกําหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่สอดคล้องกัน
10 ความจํา เป็ นที่ ต้ อ งมี แ ม่ บ ทการบัญ ชี เนื่ อ งจากแม่ บ ทการบัญ ชี เ ป็ นเกณฑ์ สํ า หรั บ คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการบัญชี ในการปรับปรุ งมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่มีใน ปั จจุบนั และพัฒนามาตรฐานการรายงานทางการเงิ นให้สอดคล้องกัน เนื่ องจากกําหนดจากกรอบ ของแม่บทการบัญชีเดียวกัน แม่บทการบัญชียงั ช่วยให้ผใู ้ ช้งบการเงินมีความเข้าใจและเชื่ อมัน่ ในงบ การเงินและทําให้งบการเงินของกิจการต่างๆ สามารถเปรี ยบเทียบกันได้มากขึ้น เมื่อมีปัญหาในทาง ปฏิบตั ิทางการบัญชีสาํ หรับเรื่ องที่ยงั ไม่มีมาตรฐานกําหนด นักบัญชี สามารถใช้แม่บทการบัญชี เป็ น กรอบในการอ้างอิงและแก้ปัญหานั้น เช่น การรับรู ้และการวัดมูลค่าตราสารทางการเงินใหม่ๆ ได้แก่ หุ ้นกูท้ ี่ไถ่ถอนด้วยสิ นค้า (Commodity-backed Bonds) นักบัญชี ตอ้ งใช้วิจารณญาณโดยมีเหตุผล สนับสนุนจากแม่บทการบัญชีในการพิจารณาว่าจะรับรู ้รายการนี้อย่างไรและวัดมูลค่าด้วยวิธีใด ประเภทของรายงานทางการเงิน อัจฉรา มานะอริ ยกุล (2548: 3) สอดคล้องกับ อัมพร เที่ยงตระกูล (2546: 14) ซึ่ งให้ คําอธิ บายของประเภทของงบการเงิ นว่า รายงานการเงิ นจัดเป็ นผลงานขั้นสุ ดท้ายหรื ออาจเรี ยกว่า งบการเงิน ซึ่งประกอบด้วย 1. งบดุล ปั จจุบนั เรี ยกว่า งบแสดงฐานะทางการเงิน เป็ นงบแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่งที่ระบุ 2. งบกําไรขาดทุน เป็ นงบแสดงผลการดําเนินงานของกิจการสําหรับงวดเวลาหนึ่ง 3. งบกระแสเงินสด เป็ นงบแสดงการเปลี่ยนแปลงหรื อการจัดหาเงินสดที่ใช้หมุนเวียนใน กิจการสําหรับงวดเวลาหนึ่ง นภาพร ณ เชียงใหม่ (2547: 9) กล่าวถึงองค์ประกอบของงบการเงินว่า งบการเงินแสดงถึง ผลกระทบทางการเงิ นโดยการจัดประเภทของรายการและเหตุ การณ์ ทางบัญชี ตามลัก ษณะเชิ ง เศรษฐกิจ ประเภทของรายการดังกล่าวเรี ยกว่า องค์ประกอบของงบการเงิน องค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง โดยตรงกั บ การวัด ฐานะการเงิ น ในงบดุ ล ได้ แ ก่ สิ นทรั พ ย์ หนี้ สิ น และส่ ว นของเจ้ า ของ องค์ประกอบที่เกี่ ยวข้องโดยตรงกับการวัดผลการดําเนิ นงานในงบกําไรขาดทุนได้แก่ รายได้และ ค่าใช้จ่าย โดยทัว่ ไปงบแสดงการเปลี่ ยนแปลงฐานะการเงิ นสะท้อนถึ งองค์ประกอบในงบกําไร
11 ขาดทุนและการเปลี่ ยนแปลงองค์ประกอบในงบดุ ล จากข้อมูลข้างต้นจึงสรุ ปองค์ประกอบเพิ่มเติม จากข้างต้น คือ 1. งบใดงบหนึ่งดังต่อไปนี้ 3.1 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่ วนของเจ้าของ 3.2 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ 2. นโยบายบัญชีและหมายเหตุประกอบงบการเงิน 3. กิ จการบางกิ จการอาจแสดงข้อมลเพิ่มเติ ม เช่ น รายงานเกี่ ยวกับสิ่ งแวดล้อมหรื องบ มูลค่าเพิ่ม วาณี คําดี (2551: 6-7) ได้แบ่งประเภทของงบการเงินธุ รกิจได้เป็ น 2 ประเภท คือ 1. งบการเงิ นที่เสนอต่อบุคคลภายนอก เป็ นงบการเงินที่ธุรกิจจัดทําขึ้นเพื่อเสนอต่อผูถ้ ื อ หุ น้ เจ้าหนี้ ส่ วนราชการ และบุคคลหรื อหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมพัฒนาธุ รกิจการค้า (กรมทะเบียนการค้า) กรมสรรพากร ธนาคารแห่ งประเทศไทย คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ เป็ นต้น งบการเงินส่ วนใหญ่เป็ นงบที่ตอ้ งจดทําตามระเบียบหรื อกฎหมาย เช่น งบ กําไรขาดทุน งบดุล งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ งบกระแส เงิ นสด และหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น เป็ นต้น รอบระยะเวลาการจัดทํางบการเงิ นที่เสนอต่อ บุคคลภายนอกมักจะมีช่วงยาวกว่างบการเงินที่เสนอต่อฝ่ ายบริ หารภายในธุ รกิ จ เช่ น ช่วงเวลา 1 ปี และรายไตรมาส เป็ นต้น นอกจากนี้ กฎหมายพระราชบัญญัติการบัญชี กาํ หนดให้ธุรกิ จที่เป็ นนิ ติ บุคคลต้องมีผสู ้ อบบัญชี รับอนุ ญาตตรวจสอบรับรองงบการเงิน เมื่อสิ้ นรอบปี ทางบัญชี ดว้ ย ยกเว้น ห้างหุ น้ ส่ วนจดทะเบียนที่มีทุน สิ นทรัพย์รวมหรื อรายได้รวมไม่เกินที่กาํ หนด 2. งบการเงินที่เสนอต่อฝ่ ายบริ หารภายในธุ รกิจ เป็ นงบการเงินที่ให้ขอ้ มูลทางการเงินแก่ ฝ่ ายบริ หาร เพื่อใช้ขอ้ มูลเป็ นประโยชน์ในการวางแผนการบริ หารงาน วัดผลการดําเนินงาน ควบคุม การปฏิ บตั ิ งานและการตัดสิ นใจต่างๆ ทางธุ รกิ จ ดังนั้น การที่ จะให้ขอ้ มูลกับฝ่ ายบริ หารด้วยงบ
12 การเงิ นเช่ นที่ให้แก่บุคคลภายนอกตามกฎหมายย่อมมีขอ้ มูลไม่เพียงพอ งบการเงิ นที่เสนอต่อฝ่ าย บริ หารของธุ รกิ จจึ ง มี ขอ้ มู ลรายละเอี ย ดมากกว่างบการเงิ นที่ เสนอต่อบุ คคลภายนอก การแสดง รายการในงบการเงิ น อาจแตกต่ า งจากงบการเงิ น ที่ เสนอต่ อ บุ ค คลภายนอก โดยไม่ ต้อ งอยู่ใ น ข้อบังคับของกฎหมายรายการที่แสดงขึ้นอยูก่ บั ข้อมูลที่ฝ่ายบริ หารต้องการ เช่น งบกําไรขาดทุนอาจ ทําแยกเป็ นแผนกให้เห็นกําไรขาดทุนของแต่ละแผนก และระยะเวลาที่รายงานต่อฝ่ ายบริ หารจะต้อง รวดเร็ วทันต่อความต้องการเพื่อการตัดสิ นใจ ระยะเวลาของงบการเงินที่รายงานอาจเป็ นช่ วงสั้นๆ เช่น รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน เป็ นต้น รายละเอียดและระยะเวลาของงบการเงินเพื่อเสนอต่อฝ่ าย บริ หารของธุ รกิ จขึ้นอยู่กบั ความต้องการของฝ่ ายบริ หาร เพื่อนําข้อมูลในงบการเงิ นไปใช้สําหรับ วัตถุประสงค์ต่างๆ ผูศ้ ึกษาสามารถสรุ ปประเภทของรายงานทางการเงินได้ 5 ประเภท ประกอบด้วย งบแสดง ฐานะการเงิ น งบกําไรขาดทุนหรื องบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ งบกระแสเงินสด งบแสดงการเปลี่ยน แปลงในส่ วนของเจ้าของ และหมายเหตุประกอบงบการเงิน ลักษณะเชิ งคุณภาพของรายงานทางการเงิน ภาคภูมิ วณิ ชธนานนท์ (2551: 7-8) และสมเดช โรจน์คุรีเสถียร และคณะ (2552: 44-46) ได้ให้ลกั ษณะเชิ งคุ ณภาพของงบการเงิ นว่า งบการเงิ นที่ แสดงข้อมูลที่เป็ นจริ งและยุติธรรมหรื อ ถู กต้องตามควร ถื อว่าเป็ นงบการเงิ นที่ มี ประโยชน์ในการตัดสิ นใจเชิ งเศรษฐกิ จสําหรั บ ผูใ้ ช้ง บ การเงินนั้นเป็ นอย่างมาก ซึ่ งงบการเงินนั้นจะต้องมีลกั ษณะเชิงคุณภาพหลัก 4 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. ความเข้า ใจได้ ฝ่ ายบริ หารของกิ จการจะต้องเสนอข้อมูล ในงบการเงิ น หากเห็ นว่า ข้อมู ลนั้นจะเป็ นประโยชน์ ต่อการตัดสิ นใจสําหรั บผูใ้ ช้ง บการเงิ นที่ มี ความรู ้ และความตั้งใจใน การศึ ก ษาความรู ้ เ กี่ ย วกับ ธุ ร กิ จ ทั้ง นี้ กิ จ การไม่ ส ามารถอ้า งว่า กิ จการจะไม่ นํา เสนอข้อ มู ล ที่ มี ประโยชน์ในการตัดสิ นใจแก่ ผใู ้ ช้งบการเงิ น เนื่ องจากข้อมูลนั้นยากเกิ นกว่าที่ ผูใ้ ช้งบการเงิ นจะ เข้าใจได้ 2. ความเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจ ข้อมูลในงบการเงินจะมีประโยชน์ต่อผูใ้ ช้งบการเงินก็ ต่อเมื่ อข้อมูลนั้นสามารถช่ วยให้ผใู ้ ช้งบการเงิ นสามารถประเมิ นเหตุ การณ์ ในอดี ต ปั จจุบนั และ
13 อนาคตได้ นอกจากนี้ ข ้อมู ล นั้นยัง ต้องสามารถยืนยัน หรื อชี้ ให้เห็ น ข้อผิด พลาดสํ า หรั บ ผลการ ประเมินในอดีตของผูใ้ ช้งบการเงินได้เป็ นอย่างดี 3. ความเชื่อถือได้ ข้อมูลในงบการเงินจะมีความเชื่ อถือได้ก็ต่อเมื่อข้อมูลนั้นไม่มีความ ผิดพลาดอย่างมีสาระสําคัญตลอดจนไม่มีความลําอียงในการนําเสนอข้อมูล 3.1 การเป็ นตัวแทนอันเที่ยงธรรม 3.2 เนื้อหาสําคัญกว่ารู ปแบบ 3.3 ความเป็ นกลาง 3.4 ความระมัดระวัง 3.5 ความครบถ้วน 4. การเปรี ยบเทียบกันได้ ผูจ้ ดั ทํางบการเงิ นจะต้องแสดงงบการเงิ นเปรี ยบเทียบเพื่อให้ ผูใ้ ช้งบการเงิ นสามารถนําข้อมูลในงบการเงิ นมาเปรี ยบเทียบกันภายใต้ระยะเวลาที่ต่างกันสําหรับ กิจการเดียวกันหรื อเปรี ยบเทียบระหว่างกิจการแต่ภายใต้ระยะเวลาเดียวกัน เนื่ องจากความสามารถ เปรี ยบเทียบกันได้ของงบการเงิ นจะทําให้ผใู ้ ช้งบการเงิ นสามารถคาดการณ์ ฐานะการเงิ น ผลการ ดํา เนิ นงาน ตลอดจนการเปลี่ ย นแปลงฐานะการเงิ นของกิ จการได้ ซึ่ งจะเป็ นประโยชน์ ต่ อการ ตัดสิ นใจสําหรับผูใ้ ช้งบการเงินเป็ นอันมาก วรศักดิ์ ทุมมานนท์ (2547: 28-32) กล่าวถึงความสมดุลของลักษณะเชิ งคุณภาพว่า งบ การเงินจะมีประโยชน์ต่อผูใ้ ช้งบการเงินตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ก็ต่อเมื่องบการเงินนั้นมีลกั ษณะ เชิ งคุ ณภาพตามที่แม่บทการบัญชี กาํ หนดไว้ ลักษณะเชิ งคุณภาพ (Qualitative Characteristics) ที่ สําคัญของงบการเงินคือ การแสดงข้อมูลที่ถูกต้องตามที่ควร (True and Fair นุชจรี พิเชฐกุล (2547: 23-25) กล่าวสอดคล้องกับเสนี ย ์ (อํ่าเจริ ญ) พวงยาณี (2551: 6-8) ได้กล่าวถึง ลักษณะเชิงคุณภาพหลักของงบการเงิน ได้แก่
14 1. ความเข้า ใจได้ (Understandability) ข้อมูล ที่ มี ป ระโยชน์ จะต้องเป็ นข้อมูล ที่ ผูใ้ ช้ง บ การเงินสามารถเข้าใจข้อมูลนั้นได้ ลักษณะเชิ งคุณภาพข้อนี้ มีความสําคัญเนื่ องจากเป็ นตัวเชื่ อมโยง ระหว่างผูใ้ ช้งบการเงิ นกับการตัดสิ นใจทําให้ผใู ้ ช้งบการเงิ นสามารถนําข้อมูลไปใช้ตดั สิ นในเชิ ง เศรษฐกิจได้ 2. ความเกี่ ย วข้องกับ การตัดสิ นใจ (Relevance) ข้อมูล ที่ เป็ นประโยชน์จะเป็ นข้อมูล ที่ เกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจ กล่าวคือ เมื่อผูใ้ ช้งบการเงินได้รับข้อมูลนี้ แล้วจะช่วยให้ตดั สิ นใจแตกต่าง ไปจากกรณี ที่ไม่ได้รับข้อมูลนี้ ข้อมูลที่ เกี่ ยวข้องกับการตัดสิ นใจช่ วยให้ผูใ้ ช้งบการเงิ นสามารถ คาดคะเนผลของเหตุก ารณ์ ในอดี ต ปั จจุบนั และอนาคต (Predictive value) ช่ วยยืนยันและชี้ ข้อผิดพลาดของการคาดคะเนที่ผา่ นมา (Feedback Value) 3. ความเชื่ อถือได้ (Reliability) ข้อมูลที่มีประโยชน์จะต้องเป็ นข้อมูลที่เชื่ อถือได้ ข้อมูล เชื่อถือได้จะต้องเป็ นข้อมูลที่ไม่มีขอ้ ผิดพลาดที่มีนยั สําคัญ ไม่มีความลําเอียงและข้อมูลนั้นต้องเป็ น ตัวแทนอันเที่ยงธรรมของข้อมูลที่ตอ้ งการให้แสดงหรื อควรแสดง ข้อมูลที่เชื่ อถือได้ไม่จาํ เป็ นต้องมี ความถูกต้องแม่นยํา 4. การเปรี ยบเที ยบกันได้ (Comparability) ข้อมูล จะมี ประโยชน์ม ากขึ้ นถ้า ข้อมู ลนั้น สามารถนํามาเปรี ยบเทียบได้กบั ข้อมูลที่ มีลกั ษณะคล้ายคลึ งกันของกิ จการอื่นๆ (Comparability) และเปรี ยบเทียบข้อมูลที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกันของกิจการเดียวกันในรอบระยะเวลาบัญชี ที่ต่างกัน (Consistency) ผูศ้ ึกษาสามารถสรุ ปลักษณะเชิ งคุณภาพของรายงานทางการเงินได้วา่ ลักษณะเชิ งคุณภาพ ของรายงานทางการเงินมี 4 ประการ คือ 1) ความเข้าใจ 2) ความเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจ 3) ความ เชื่ อถื อได้ประกอบด้วย ตัวแทนอันเที่ยงธรรม เนื้ อหาสําคัญกว่ารู ปแบบ ความเป็ นกลางและความ ระมัดระวัง และ4) ความเปรี ยบเทียบกันได้ หลักเกณฑ์ ในการจัดทารายงานทางการเงิน เฉลิมขวัญ ครุ ธบุญยงค์ (2554: 26-30) ได้กล่าวถึงหลักเกณฑ์ในการจัดทํางบการเงินหาก ผูใ้ ช้งบการเงินไม่เข้าใจถึงข้อสมมติฐานทางการบัญชี ก็เป็ นการยากที่จะเข้าใจถึ งเหตุผลที่นกั บัญชี
15 เสนอข้อมูลทางการบัญชี น้ นั ข้อสมมติข้ นั พื้นฐานทางการบัญชี ที่จะพูดถึงต่อไปนี้ ได้จดั ทําขึ้นโดย กรรมการของสมาคมวิชาชีพการบัญชีและนักวิชาการต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. หลักเกณฑ์ราคาทุน (Cost Principle) ราคาทุนถือเป็ นราคาที่เกิดขึ้นจริ ง เชื่ อถือได้ และ สามารถพิสูจน์ได้ การบันทึ กรายการตามราคาทุนจะเป็ นราคานั้นตลอดไป ธุ รกิ จมีวตั ถุ ประสงค์ ที่ต้ งั ขึ้นมาและดํารงอยู่โดยไม่มีกาํ หนด ดังนั้น ราคาของสิ นทรัพย์ไม่ควรจะเปลี่ ยนแปลงไปตาม ราคาตลาด 2. หลัก เกณฑ์ก ารเกิ ดขึ้ นของรายได้ (Revenue Realization Principle) ถื อว่า เป็ น หลักเกณฑ์ที่สามารถให้คาํ ตอบได้วา่ ควรบันทึกบัญชีเมื่อใด หลักเกณฑ์การรับรู ้รายได้ที่เกิดจากการ ขายสิ นค้าหรื อการให้บริ การ กล่ าวคื อ รายได้จากการให้บริ การจะเกิ ดขึ้ นเมื่ อธุ รกิ จได้ให้บริ การ เสร็ จสิ้ นแล้ว หรื อรายได้จากการขายสิ นค้าเกิดขึ้นเมื่อมีการส่ งมอบสิ นค้าให้แก่ลูกค้าแล้ว ถึงแม้ว่า ธุ รกิจจะได้รับหรื อไม่ได้เงินจากการขายหรื อการให้บริ การในรอบระยะเวลานั้นหรื อยังก็ตาม 3. หลักเกณฑ์การใช้หน่วยเงินตรา (Monetary Unit Assumption) การที่ให้ขอ้ มูลทางบัญชี ที่เป็ นประโยชน์แก่ผทู ้ ี่ใช้งบการเงิ นนั้น ข้อมูลทางการบัญชี อาจเป็ นการอ้างถึ งแบบบรรยายความ แต่ขอ้ มูลดังกล่าวจะให้ความหมายไม่ชดั เจนเท่าข้อมูลที่เป็ นตัวเลข เนื่ องจากหน่ วยเงิ นตราใช้เป็ น สื่ อในการแลกเปลี่ ยนและทําหน้าที่ เป็ นหน่ วยจัดราคา ดังนั้น นักบัญชี จึงใช้หน่ วยเงิ นตราในการ วัดผลการดําเนินงาน ฐานะการเงิน และการแลกเปลี่ยนฐานะการเงินของธุ รกิจ ดังนั้น ในการบันทึก บัญชีหรื อการจัดทํางบการเงิน จะมีการระบุเงินตราทุกครั้งและทุกรายการ 4. หลักเกณฑ์การเป็ นหน่ วยงานของธุ รกิ จ (Entity Concept) ข้อมูลทางการบัญชี เป็ น ข้อมูลเกี่ยวกับหน่ วยงานหนึ่ งซึ่ งแยกต่างหากจากเจ้าของ กล่าวคือ การดําเนิ นธุ รกิ จการค้าไม่ว่าจะ อยู่ในรู ปของกิจการเจ้าของคนเดียว ห้างหุ ้นส่ วน หรื อบริ ษทั จํากัด การดําเนิ นงานจะแยกต่างหาก จากผูเ้ ป็ นเจ้าของ โดยแยกเป็ นเป็ นหน่ วยงานอิสระ สิ นทรั พย์ส่วนที่ เป็ นของเจ้าของจะต้องแยก ต่างหากจากผูเ้ ป็ นเจ้าของ 5. หลักเกณฑ์การใช้หลักฐานอันเที่ยงธรรม (Objectivity Principle) นักบัญชีที่จดั ทํางบ การเงิ นอยู่ในสถานะที่ตอ้ งใช้ประโยชน์จากงบการเงิ น ดังนั้น เพื่อให้บุคคลที่ เกี่ ยวข้องเข้าใจงบ
16 การเงินได้ถูกต้องใกล้เคียงกับความเป็ นจริ งมากที่สุด การบันทึกรายการบัญชี และการทํางบการเงิน จึงต้องจัดทําโดยอาศัยหลักฐานและข้อเท็จจริ งอันเที่ยงธรรมที่บุคคลต่างๆ ยอมรับและเชื่อถือได้ 6. หลักเกณฑ์รอบเวลา (Time Period Assumption) ธุ รกิจเริ่ มดําเนิ นกิจการมีวตั ถุประสงค์ เพื่อต้องการอยู่รอดและดําเนิ นงานต่อไปไม่มีกาํ หนดที่จะเลิ กกิ จการ นักบัญชี จึงมี ความจําเป็ นที่ จะต้อ งกํา หนดรอบเวลาขึ้ น เพื่ อ จะได้ มี ก ารจัด ทํา งบการเงิ น เพื่ อ วัด ผลกํา ไรและแสดงการ เปลี่ยนแปลงฐานะการเงินสําหรับรอบระยะเวลานั้น เพื่อจะได้แบ่งและนําข้อมูลทางบัญชี ออกเป็ น รอบเวลา 7. หลักเกณฑ์ความดํารงอยู่ (Going Concern Assumption) การประกอบธุ รกิจย่อมต้องมี วัตถุ ประสงค์ที่จะดํารงอยู่โดยไม่ มีก าํ หนดที่ จะเลิ ก กิ จการ หากไม่มี ปัญหาในเรื่ องการทําธุ รกิ จ หรื อไม่มีเหตุ ช้ ี เป็ นอย่างอื่นแล้ว ธุ รกิ จที่ก่อตั้งขึ้ นมาก็จะดําเนิ นการต่อไปเรื่ อยๆ อย่างน้อยก็นาน เท่ากับเวลาที่ได้วางแผนไว้ 8. หลักเกณฑ์การเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายกับรายได้ (Matching Principle) ในรอบระยะเวลา ที่มีการบันทึ กรั บรู ้ ค่าใช้จ่ายที่ เกิ ดขึ้นจะต้องบันทึ กการรับรู ้ รายได้ที่เกิ ดจากรายจ่ายนั้น ค่าใช้จ่าย หมายถึ งประโยชน์ที่กิจการได้รับ โดยกิ จการจะต้องจ่ายเงิ น อาจจะจ่ายเงิ นในรอบระยะเวลานั้น หรื อยังไม่จ่ายก็ตาม ค่าใช้จ่ายบางอย่างจะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับรายได้ที่เกิดขึ้น กล่าวคือจะมี การบันทึกรายได้ตามหลักการเกิดรายได้ก่อน หลังจากนั้นจึงเอาค่าใช้จ่ายไปจับคู่กบั รายได้ 9. หลักเกณฑ์เงินค้าง (Accrual Principle) รายได้จะเกิดขึ้นเมื่อได้ให้บริ การเสร็ จสิ้ นแล้ว หรื อมีการส่ งมอบสิ นค้าแล้ว โดยไม่คาํ นึ งว่าจะได้รับเงิ นจากการให้บริ การหรื อจากการขายสิ นค้า ในรอบระยะเวลานี้ หรื อยัง บางครั้งอาจจะต้องรอไปรับเงิ นในรอบระยะเวลาหน้าก็ได้ ค่าใช้จ่ายที่ เกิดขึ้นก็เช่นเดียวกันถือหลักว่าค่าใช้จ่ายจะเกิดขึ้นเมื่อได้รับบริ การแล้ว โดยไม่คาํ นึงว่าจะได้จ่ายเงิน สดหรื อยังไม่ได้จ่าย 10. หลักเกณฑ์โดยประมาณ (Approximation Assumption) การดําเนินงานจะมีรายได้และ ค่าใช้จ่ายที่ไม่แน่นอนและลักษณะที่ได้ร่วมสัมพันธ์กนั ทําให้นกั บัญชี ไม่สามารถคํานวณกําไรและ ขาดทุนได้ถูกต้องแน่นอน จึงต้องใช้วธิ ี การประมาณการ
17 11. หลักเกณฑ์ความสมํ่าเสมอ (Consistency Principle) คือ เมื่อนักบัญชีได้ใช้การบันทึก บัญชี อย่างไรก็ สมควรจะต้องใช้วิธี ก ารบัญชี น้ ันโดยตลอด รายงานทางการบัญชี แต่ ละปี ย่อมมี ประโยชน์ หลักความสมํ่าเสมอกําหนดให้หน่วยงานยึดถือปฏิบตั ิ บัญชี สําหรับรายการที่เหมือนกัน ของแต่ละปี ต้องทําด้วยวิธีการอย่างเดียวกัน 12. หลักเกณฑ์การเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ (Full Disclosure Principle) การบันทึกบัญชี นักบัญชีจะต้องเปิ ดเผยข้อมูลทางการเงินที่สําคัญเพื่อผูท้ ี่ใช้ประโยชน์จากงบการเงินจะได้ไม่เข้าใจ ผิด การเปิ ดเผยข้อมูลนี้ ไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน โดยทัว่ ไปจะถือหลักว่า ถ้าไม่เปิ ดเผยข้อมูล จะเป็ น เหตุให้ผใู้ ช้งบการเงินเข้าใจผิด 13. หลักเกณฑ์ความระมัดระวัง (Conservation) กรณี ที่มีวิธีปฏิ บตั ิทางการบัญชี ให้เลือก หลายวิธี อาจทําให้เกิ ดความไม่แน่ นอนขึ้น การทํางบการเงิ นจึงต้องใช้ความระมัดระวัง และรับรู ้ เรื่ องความไม่แน่ นอนนี้ ไว้ด้วย หลักความระมัดระวังหมายถึ ง กรณี ที่อาจเลื อกวิธีปฏิ บตั ิ ทางการ บัญชี ได้มากกว่าหนึ่ งวิธี นักบัญชี ควรเลื อกวิธีที่จะแสดงสิ นทรัพย์และกําไรในเชิ งที่ต่ าํ กว่าไว้ก่อน หลักโดยย่อคือ ไม่คาดการณ์วา่ จะได้กาํ ไร แต่จะรับรู ้การขาดทุนไว้เต็มที่ ในกรณี ที่สงสัยให้ตดั เป็ น ค่าใช้จ่ายทันที 14. หลักเกณฑ์เนื้ อหาสําคัญกว่ารู ปแบบ (Substance Over Form) บางกรณี รูปแบบการ บันทึกบัญชีกบั เนื้อหาทางเศรษฐกิจต่างกัน แม้รูปแบบทางเศรษฐกิจนั้นอาจจะแตกต่างจากรู ปแบบ ทางกฎหมาย อย่างไรก็ตาม ในบางครั้งเนื้ อหากับรู ปแบบทางกฎหมายอาจแตกต่างกัน นักบัญชี จึง ควรเสนอในงบการเงิ น ซึ่ งรายการและเหตุ การณ์ ที่เกิ ดขึ้ นตามเนื้ อหาและตามความเป็ นจริ งทาง การเงิน ไม่ใช่รูปแบบทางกฎหมายเท่านั้น 15. หลักเกณฑ์การมีนยั สําคัญ (Materiality) การเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงิน ควรมีความ เป็ นนัยสําคัญที่เพียงพอต่อการตัดสิ นใจ เพื่อให้ผใู ้ ช้งบการเงินเข้าใจอย่างถูกต้องถึ งผลกระทบต่อ ฐานะทางการเงินและการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของธุ รกิจ วาณี คําดี (2551: 6-7) กล่ าวถึ งหลักสําคัญของการเขียนรายงานทางการเงิ นที่ดี ควร ประกอบด้วย
18 1. ความถูกต้อง (Accuracy) รายงานทางการเงินต้องมีความถูกต้องทั้งตัวเลขและภาษา ซึ่ ง จะต้องมาจากหลักฐานที่น่าเชื่อถือ เพื่อให้ผใู ้ ช้รายงานตัดสิ นใจหรื อสั่งการใดๆ อย่างถูกต้อง 2. ความชัดเจน (Clear) หมายถึ ง ความสามารถในการสื่ อข้อความหรื อข้อมูลที่ตอ้ งการ เสนอไปสู่ ผอู ้ ่านรายงานให้เข้าง่ายและชัดเจน หากมีความคลุ มเครื ออาจทําให้ผูอ้ ่านเข้าใจผิด ซึ่ ง นําไปสู่ การปรับปรุ งแก้ไขในแนวทางที่ไม่ถูกต้อง 3. ความสมบูรณ์ครบถ้วน (Complete) ตามที่ผใู้ ช้รายงานต้องการข้อมูลบางข้อมูล หากไม่ แสดงไว้อาจทําให้เกิดการเข้าใจผิด และทําให้รายงานนั้นขาดประโยชน์ต่อผูใ้ ช้บางรายงาน 4. ความกะทัดรัด (Conciseness) การเขียนรายงานทางการเงินที่ดีควรเขียนให้กระชับ ตรง ประเด็น ปราศจากคําฟุ่ มเฟื อย แต่อาจแล้วให้ได้ใจความครบถ้วน 5. ทันต่อเวลา (Timeliness) การเสนอรายงานต้องทันเวลาข้อมูลที่เป็ นปั จจุบนั (Up-todate) เพื่อให้เกิดการปรับปรุ งแก้ไขได้ทนั ท่วงที 6. ความสร้ างสรรค์ (Constructive) การเสนอรายงานควรทําในลักษณะสร้างสรรค์ มี ความเป็ นกลางตามความจริ ง หากมีจุดบกพร่ องควรมีขอ้ เสนอแนะเพื่อปรับปรุ งการปฏิบตั ิงาน แทน การตํานิการปฏิบตั ิงาน จะทําให้รายงานเป็ นที่ยอมรับมากขึ้น 7. รายงานผูส้ มควรได้รับ รายงาน (Distribution) ตามความเหมาะสม ให้ข้อมู ล ที่ มี ประโยชน์ต่อการตัดสิ นใจของผูร้ ับรายงาน 8. สามารถเปรี ยบเทียบได้ (Comparison) โดยเฉพาะรายงานที่เป็ นงบการเงิน 9. หลักความระมัดระวัง (Conservatism) เช่ น ไม่แสดงสิ นทรั พย์หรื อรายได้สูงเกิ นไป หนี้สินหรื อรายจ่ายตํ่าเกินไป 10. มี ค วามสมํ่า เสมอ (Consistency) รายงานแต่ ล ะชนิ ด มี ก าํ หนดเวลาที่ จ ัด ทํา อย่า ง สมํ่าเสมอ รวมทั้งมีนโยบายวิธีคาํ นวณ หรื อวิธีการบัญชีที่ใช้หลักเดียวกันทุกงวด
19 11. มีการตรวจสอบและกระบวนการควบคุม (Audit and Control Process) รายงานทาง การเงินที่มีความสําคัญ ควรผ่านการตรวจสอบหรื อสอบทานก่อนส่ งให้ผรู ้ ับรายงาน 12. คํานึงถึงต้นทุนและประโยชน์ที่ได้รับ (Cost and Benefit) การจัดทํารายงานต่างๆ ควร คํานึงถึงความจําเป็ นและประโยชน์ที่ได้รับคุม้ กับต้นทุนที่เสี ยไป ผูศ้ ึกษาสามารถสรุ ปหลักเกณฑ์ในการจัดทํารายงานทางการเงินประกอบด้วย หลักเกณฑ์ ราคาทุน หลักเกณฑ์การเป็ นหน่วยงานของธุ รกิจ หลักเกณฑ์การเกิดขึ้นของรายได้ หลักเกณฑ์การ ใช้หน่ วยเงิ นตรา หลักเกณฑ์การใช้หลักฐานอันเที่ยงธรรม หลักเกณฑ์รอบเวลา หลักเกณฑ์ความ ดํารงอยู่ หลักเกณฑ์การเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายกับรายได้ หลักเกณฑ์เงินค้าง หลักเกณฑ์โดยประมาณ หลักเกณฑ์ความสมํ่าเสมอ หลักเกณฑ์การเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ หลักเกณฑ์ความระมัดระวัง หลักเกณฑ์เนื้ อหาสําคัญกว่ารู ปแบบ หลักเกณฑ์การมีนัยสําคัญ และความครบถ้วนสมบูรณ์ของ รายงาน แนวคิดเกีย่ วกับการนาเสนองบการเงิน ส่ วนประกอบของงบการเงิน ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 เรื่ อง การนําเสนองบการเงิน งบการเงินที่สมบูรณ์ ตอ้ ง ประกอบด้วย 6 ส่ วนประกอบ คือ 1. งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันสิ้ นงวด 2. งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสําหรับงวด 3. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของเจ้าของสําหรับงวด 4. งบกระแสเงินสดสําหรับงวด
20 5. หมายเหตุป ระกอบงบการเงิ น ซึ่ งประกอบด้วยสรุ ปนโยบายการบัญชี ที่สําคัญและ ข้อมูลที่ให้คาํ อธิบายอื่น 6. งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันต้นงวดของงวดที่นาํ มาเปรี ยบเทียบที่ใกล้ที่สุด เมื่อกิจการ ได้นาํ นโยบายการบัญชี ใหม่มาถือปฏิบตั ิยอ้ นหลังหรื อการปรับงบการเงินย้อนหลัง หรื อเมื่อกิจการ มีการจัดประเภทรายการในงบการเงินใหม่ ข้ อพิจารณาโดยทัว่ ไปในการนาเสนองบการเงิน ในการนําเสนองบการเงิน ผูบ้ ริ หารหรื อผูจ้ ดั ทํางบการเงินควรคํานึงถึงข้อพิจารณา โดยทัว่ ไป (General Features) 7 ประการต่อไปนี้ 1. การนําเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรและเป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน 2. การดําเนิ นงานต่อเนื่อง 3. ความมีสาระสําคัญและการนําเสนอด้วยยอดรวม 4. การหักกลบ 5. ความถี่ในการรายงาน 6. ข้อมูลเปรี ยบเทียบ 7. ความสมํ่าเสมอในการนําเสนอ เฉลิมขวัญ ครุ ธบุญยงค์ ได้ให้ความหมายของงบการเงินเหมือนกับนุชจรี พิเชฐกุล แต่ได้ให้ ข้อมูลเพิ่มเติ มในความหมายงบการเงิ นไว้ว่า การจัดทํางบการเงิ นจําเป็ นต้องอาศัยหลักการและ
21 วิธี ก ารรวบรวมข้อ มู ล ที่ ถู ก ต้อ ง ครบถ้วน และเชื่ อถื อ ได้ การให้ ข ้อ มู ล ทางการเงิ น แก่ บุ คคลที่ เกี่ยวข้องแบ่งได้ 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการบริ หารธุ รกิจโดยตรง ได้แก่ ผูบ้ ริ หาร 2. กลุ่มที่ไม่เกี่ยวข้องกับการบริ หารธุ รกิจโดยตรง ได้แก่ นักลงทุน หน่วยงานของรัฐบาล เจ้าหนี้ พนักงานลูกจ้าง และบุคคลที่สนใจทัว่ ไป จุดมุ่งหมายของงบการเงิน เพื่อแสดงรายงานฐานะทางการเงิ น แสดงผลการดําเนิ นงานและการเปลี่ ยนแปลงฐานะ ทางการเงินของธุ รกิจ โดยข้อมูลจะแสดงไว้ในรู ปของงบดุล งบกําไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด ตามลําดับ ผูใ้ ช้งบการเงิ นต้องการข้อมูลที่แสดงในงบดุ ล เพื่อทราบถึ งทรั พยากรทางเศรษฐกิ จที่ ธุ รกิจควบคุมอยู่ รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างทางการเงิน สภาพคล่อง และความสามารถในการ ชําระหนี้ ผูใ้ ช้งบการเงิ นต้องการข้อมูลที่ ปรากฏในงบกําไรขาดทุนเพื่อทราบถึ งความสามารถใน การดําเนิ นงานของธุ รกิ จ ความสามารถในการทํากําไร และการหาทรั พยากรมาเพิ่มเติ ม ผูใ้ ช้งบ การเงินต้องการข้อมูลในงบกระแสเงินสด เพื่อทราบถึงกิจกรรมต่างๆ ที่ทาํ ให้ธุรกิ จได้เงินสดหรื อ ต้องการจ่ายเงินสดในระหว่างปี ข้อมูลในงบการเงิ นต้องมีประโยชน์ต่อผูใ้ ช้งบการเงิ นได้ ผูใ้ ช้งบ การเงิ นหมายรวมถึ ง ผูล้ งทุ น ลู ก จ้า ง ผูใ้ ห้กู้ ผูข้ ายสิ นค้า เจ้า หนี้ อื่นๆ ลู ก ค้า รั ฐบาล หน่ วยงาน ราชการ และสาธารณชน การจัดทําและนําเสนองบการเงิ นเป็ นหน้าที่ของฝ่ ายบริ หารของกิ จการ ดังนั้นฝ่ ายบริ หารมีหน้าที่รับผิดชอบในการกําหนดว่าข้อมูลใดควรแสดงในงบการเงิ น และจะปั ด ความรับผิดชอบดังกล่าวไปให้บุคคลอื่นไม่ได้ แนวคิดเกีย่ วกับธุรกิจขนาดเล็กและขนาดย่ อม ความหมายของธุรกิจขนาดเล็กและขนาดย่อม วิพุธ อ่องสกุล และ ธัชวรรณ กนิ ษฐ์พงศ์ (2550: 3) กล่าวถึงธุ รกิจขนาดเล็กว่า เปรี ยบเสมือน ตัวขับเคลื่อนในระบบธุ รกิจเสรี ซึ่ งก่อให้เกิดการประดิษฐ์คิดค้นสิ่ งใหม่
22 ไว จามรมาน (2543: 15) กล่าวว่า การให้คาํ จํากัดความ “ธุ รกิจขนาดกลางย่อม” ในธุ รกิจ ญี่ปุ่นนั้นส่ วนใหญ่ใช้ดชั นีทางด้านปริ มาณตามนโยบายธุ รกิจขนาดกลางย่อม กฎหมายหลักเกี่ยวกับ ธุ รกิจขนาดกลางย่อม ปี 1963 ได้ให้คาํ จํากัดความธุ รกิจขนาดกลางย่อมไว้ ดังนี้ 1. ประเภทอุตสาหกรรมโรงงาน: ธุ รกิจที่มีจาํ นวนพนักงานน้อยกว่า 300 คน หรื อเงินทุน จดทะเบียนตํ่ากว่า 100 ล้านเยน ต่อมาได้ปรับปรุ งคําจํากัดความขึ้นใหม่ในปี 1973 เป็ นพนักงาน น้อยกว่า 300 คน หรื อเงินทุนจดทะเบียนตํ่ากว่า 50 ล้านเยน 2. ประเภทการค้าส่ ง: ธุ รกิจที่มีจาํ นวนพนักงานน้อยกว่า 100 คน หรื อเงินทุนจดทะเบียน ตํ่ากว่า 10 ล้านเยน ต่อมาได้ปรับปรุ งคําจํากัดความขึ้นใหม่ในปี 1973 เป็ นพนักงานน้อยกว่า 50 คน หรื อเงินทุนจดทะเบียนตํ่ากว่า 10 ล้านเยน ประเทศซึ่ งใช้คาํ จํากัดความโดยยึดเอาดัช นี เชิ งปริ มาณเช่ นเดี ยวกับ ประเทศญี่ ปุ่ นได้แก่ ประเทศอังกฤษ กตัญญู หิ รัญญสมบูรณ์ (2545: 1) กล่าวว่า โดยทัว่ ไปแล้วธุ รกิจขนาดย่อมหมายถึง ธุ รกิจ เล็กๆ ที่ก่อตั้งโดยบุคคลคนเดี ยวหรื อกลุ่มบุคคลไม่กี่คน มีสินทรัพย์ของกิจการค่อนข้างจํากัด และ บริ หารงานอย่างอิสระด้วยตัวเจ้าของเอง ซึ่ งอาจมีลูกจ้างพนักงานจํานวนหนึ่ งมาช่วยดําเนิ นงานบ้าง เล็กน้อย โชติรัส ชวนิชย์, ก่อเกี ยรติ พานิ ชกุล, และ ปริ ญ ลักษิตานนท์ (2538: 16) อุตสาหกรรม ขนาดย่อม หมายความถึ ง อุตสาหกรรมทั้งที่มีลกั ษณะเป็ นโรงงาน (Factory) และไม่เป็ นโรงงาน (Non Factory) ซึ่ งดําเนินการผลิตสิ นค้าและครุ ภณั ฑ์ ใช้คนงานไม่เกิน 100 คน อุตสาหกรรมขนาดย่อม คือ อุตสาหกรรมที่มีลกั ษณะเฉพาะตัว หมายความว่ามีการบริ หาร ที่เป็ นอิสระ มีทฤษฎีเป็ นตัวเอง มีแหล่งอุตสาหกรรมอยูใ่ นท้องถิ่น และขนาดของการดําเนิ นการถูก จํากัดอยูใ่ นขอบเขตใดขอบเขตหนึ่ง
23 ผุสดี รุ มาคม (2540: 3) ให้ความหมายของธุ รกิจขนาดย่อมว่า เป็ นธุ รกิจที่มีพนักงานไม่มาก นัก มียอดขายน้อย และมีทรัพย์สินจํากัด เจ้าของเป็ นผูบ้ ริ หารงานด้วยตนเองและไม่ค่อยจะได้รับ การฝึ กอบรม หรื อมีประสบการณ์ทางธุ รกิจมากนัก ผูศ้ ึกษาสรุ ปความหมายของธุ รกิจขนาดเล็กและขนาดย่อม คือ ธุ รกิจที่มีจาํ นวนพนักงานไม่ มาก มีลกั ษณะเฉพาะตัว การบริ หารงานเป็ นอิสระ ขนาดของธุ รกิจและสิ นทรัพย์ค่อนข้างมีจาํ กัด ลักษณะของธุรกิจเล็กและขนาดย่ อม กตัญญู หิ รัญญสมบูรณ์ (2545: 1-3) กล่าวถึง คณะกรรมการพัฒนาระบบเศรษฐกิ จ (The Committee for Economic Development หรื อ CED) แห่ งสหรัฐอเมริ กาได้ให้การจํากัดความ ลักษณะของธุ รกิ จขนาดย่อมว่า ธุ รกิ จขนาดย่อมจะต้องมีลกั ษณะอย่างน้อยที่ สุด 2 ประการจาก 4 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. การบริ ห ารงานเป็ นไปอย่า งมี อิ ส ระ ส่ ว นใหญ่ แ ล้ว ผูป้ ระกอบการหรื อ เจ้า ของจะ บริ หารงานเอง 2. เงินทุนในการดําเนินงานค่อนข้างจํากัด เพราะมาจากเงินทุนของผูป้ ระกอบการเองหรื อ เกิดจากการระดมทุนจากกลุ่มบุคคลเล็กๆ 3. ขอบเขตการดําเนินงานของธุ รกิจขนาดย่อมอยูใ่ นพื้นที่ทอ้ งถิ่นหนึ่งเท่านั้น 4. ธุ รกิจมีขนาดเล็กจนมีผลกระทบต่อธุ รกิจอุตสาหกรรมส่ วนใหญ่นอ้ ยมาก ผุสดี รุ มาคม (2540: 3-11) กล่าวถึง The Committee for Economic Development (CED) ของสหรัฐอเมริ กา CED ได้ให้ความหมายของธุ รกิจขนาดย่อมไว้วา่ เป็ นธุ รกิจที่มีลกั ษณะอย่างน้อย ที่สุด 2 ประการจาก 4 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. การบริ หารงานเป็ นอิสระ เจ้าของเป็ นผูบ้ ริ หารงานเอง
24 2. บุคคลคนเดียวหรื อกลุ่มคนเพียงไม่กี่คนเป็ นผูจ้ ดั หาเงินทุนและเป็ นเจ้าของธุ รกิจ 3. ขอบเขตการดําเนิ นงานอยูใ่ นท้องถิ่นเป็ นส่ วนมาก พนักงานและเจ้าของอาศัยอยูใ่ นที่ เดียวกัน แต่ตลาดของสิ นค้าหรื อบริ การไม่จาํ เป็ นต้องอยูใ่ นท้องถิ่นนั้นก็ได้ 4. ธุ ร กิ จ มี ข นาดเล็ ก เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกับ ธุ ร กิ จ ขนาดใหญ่ ที่ สุ ด ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ประเภท เดียวกัน หลักเกณฑ์ที่ใช้วดั อาจจะเป็ นจํานวนพนักงาน ยอดขาย หรื อทรัพย์สิน อีกทั้งยังกล่าวถึงลักษณะเฉพาะที่แตกต่างไปจากธุ รกิจขนาดใหญ่ ดังนี้ 1. ยอดขายน้อย ธุ รกิ จขนาดใหญ่ไม่ตอ้ งการที่ จะแข่งขันกับธุ รกิ จขนาดย่อม เนื่ องจาก ยอดขายไม่มากพอ การค้าปลีกในเมืองเล็กๆ หลายแห่งถูกครอบครองโดยพ่อค้าปลีกรายย่อย เพราะ ยอดขายมีนอ้ ยจนไม่เป็ นที่ยอมรับของร้านสรรพสิ นค้า 2. ใช้ฝีมือบริ การลูกค้า ช่างตัดเสื้ อ นักออกแบบภายใน และร้านซ่ อมแซมต่างๆ สามารถ แข่งขันกับธุ รกิจขนาดใหญ่ได้อย่างประสบความสําเร็ จ เนื่ องจากเจ้าของซึ่ งเป็ นผูบ้ ริ หารงานเองใช้ ความสามารถส่ วนตัวในการดําเนินงาน 3. บริ ก ารที่ ให้เป็ นการส่ วนตัว ธุ รกิ จที่ ใ ห้บริ ก ารเป็ นการส่ วนตัวนั้นจะต้องขึ้ นอยู่ก ับ ความสามารถและบุคลิกภาพของผูป้ ระกอบธุ รกิ จเป็ นสําคัญซึ่ งส่ วนใหญ่แล้วจะหาได้จากบุคคลที่ ประกอบธุ รกิจขนาดย่อม 4. ความสะดวกสบาย ธุ รกิ จขนาดย่อมสามารถแข่งขันกับธุ รกิ จขนาดใหญ่ได้โดยการ เสนอความสะดวกสบายที่ธุรกิจขนาดใหญ่ซ่ ึ งคู่แข่งไม่สามารถให้ได้ 5. สามารถปรับตัวให้เข้ากับความต้องการของท้องถิ่ น ธุ รกิ จขนาดใหญ่มกั จะตัดสิ นใจ เกี่ยวกับนโยบาย ณ สํานักงานใหญ่ ผูป้ ระกอบธุ รกิจขนาดย่อมในท้องถิ่นที่ตดั สิ นใจด้วยตัวเองโดย ใช้ความรู ้เรื่ องความต้องการและความพอใจของท้องถิ่นจึงได้เปรี ยบกว่า
25 6. แรงจูงใจสู ง แรงจูงใจและความปรารถนาของบุคคลที่จะเป็ นเจ้าของธุ รกิจเป็ นผลทําให้ มีการดําเนินธุ รกิจของตนเอง และเมื่อประกอบธุ รกิจของตนเองแล้ว เจ้าของจะต้องทํางานหนักและ เสี ยสละมากกว่าการทํางานให้กบั ผูอ้ ื่น 7. ความคล่องตัวทางการบริ หาร ธุ รกิจยิ่งมีขนาดเล็กเท่าใดก็ยิ่งสามารถปรับตัวเองให้เข้า กับความเปลี่ยนแปลงได้เร็ วขึ้นเท่านั้น 8. ต้นทุ นดําเนิ นงานตํ่ากว่า ธุ รกิ จขนาดย่อมมี ตน้ ทุนดําเนิ นงานตํ่ากว่า เนื่ องจากธุ รกิ จ ขนาดย่อมใช้แรงงานของสมาชิ กในครอบครั วที่ สามารถให้ผลผลิ ตมากกว่าจึ งช่ วยให้ธุรกิ จจ่า ย ค่าจ้างในอัตราตํ่ากว่าค่าจ้างที่จ่ายให้กบั แรงงานอื่น ผูศ้ ึกษาสรุ ปลักษณะของธุ รกิจขนาดเล็กและขนาดย่อมได้วา่ ธุ รกิจขนาดเล็กและขนาดย่อม มีขนาดธุ รกิ จที่เล็ก บริ หารงานโดยบุคคลคนเดี ยวหรื อกลุ่มบุคคลจํานวนไม่มาก พนักงานจํานวน น้ อ ย การบริ หารงานเป็ นไปอย่ า งอิ ส ระ มี ค วามคล่ อ งตัว สู ง และสามารถปรั บ ตัว ให้ เ ข้า กับ สถานการณ์ต่างๆ ได้ง่าย ประเภทของธุรกิจขนาดเล็กและขนาดย่ อม ไว จามรมาน (2543: 25) จําแนกธุ รกิจขนาดกลางและขนาดย่อมออกเป็ น 4 กลุ่ม กล่าวคือ 1. บริ ษทั นิติบุคคล 2. ธุ รกิจส่ วนตัวในรู ปบริ ษทั (เป็ นรู ปแบบการบริ หารโดยครอบครัว) 3. ธุ รกิจส่ วนตัวแบบยังชีพ (การดําเนินกิจการ เพื่อสามารถเลี้ยงชีพ) 4. ธุ รกิจส่ วนตัวแบบงานเสริ มในครัวเรื อน กตัญญู หิ รัญญสมบูรณ์ (2545: 3-4) จําแนกประเภทของธุ รกิ จขนาดย่อมออกได้เป็ น ดังต่อไปนี้
26 1. ธุ รกิ จการผลิ ต เป็ นธุ รกิ จที่นาํ เอาวัตถุ ดิบ ชิ้ นส่ วน อะไหล่ และปั จจัยนําเข้าต่างๆ มา ผ่า นกระบวนการแปรสภาพจนกลายเป็ นสิ นค้า สําเร็ จรู ป เพื่อนําไปจําหน่ ายต่ อไป ลัก ษณะการ ประกอบการของธุ รกิจการผลิตที่เป็ นธุ รกิจขนาดย่อมจะเป็ นโรงงานขนาดเล็ก 2. ธุ รกิจการจําหน่าย เป็ นธุ รกิจที่ทาํ หน้าที่ของคนกลางที่อยูใ่ นช่องทางจําหน่ายทั้งที่เป็ น การค้าส่ งและการค้าปลีก เช่น ร้านขายของชํา ร้านขายหนังสื อ ร้านขายเสื้ อผ้า 3. ธุ รกิ จให้บ ริ ก าร เป็ นธุ รกิ จที่ ใ ช้พ นัก งานเสนอบริ ก ารตอบสนองความต้องการของ ลูกค้า ธุ รกิจขนาดย่อมที่เป็ นธุ รกิจให้บริ การมีอยูม่ ากมายหลากหลายชนิ ด เพราะเป็ นธุ รกิจที่ใช้เงิ น ลงทุนไม่มาก แต่ตอ้ งอาศัยแรงงานและฝี มือของบุคลากร โชติรัส ชวนิชย์ และคณะ (2538: 49-50) กล่าวสอดคล้องกับ ผุสดี รุ มาคม (2540: 12-13) ซึ่ งได้จาํ แนกประเภทของธุ รกิจขนาดย่อมที่สําคัญเป็ น ธุ รกิจการผลิต ธุ รกิจการจําหน่าย และธุ รกิ จ ให้บริ การ ธุ รกิ จการผลิ ต เป็ นธุ รกิ จที่ ไ ด้รับทรั พยากรวัตถุ ดิบ และหลังจากการแปรสภาพวัตถุ ดิบ เหล่ านั้นแล้ว ธุ รกิ จจะจําหน่ ายเป็ นสิ นค้าในลักษณะที่ เปลี่ ยนแปลงไป ถึ งแม้ว่าธุ รกิ จขนาดใหญ่ ครอบครองการผลิต แต่ยงั คงมีช่องว่างที่ธุรกิจขนาดย่อมสามารถแทรกเข้าไปได้ ธุ รกิจการจําหน่าย พ่อค้า คื อ ผูค้ า้ คนกลางที่ อยู่ในช่ องทางการจําหน่ า ย ที่ จาํ หน่ ายสิ นค้าไปยังผูบ้ ริ โภคคน สุ ดท้ายซึ่ งเรี ยกว่าพ่อค้าปลีก หรื อผูท้ ี่ซ้ื อสิ นค้าเพื่อขายต่อไปยังพ่อค้าปลีก ซึ่ งเรี ยกว่าพ่อค้าส่ ง ร้ า นค้า ปลี ก เป็ นองค์ ก ารธุ ร กิ จ ที่ มี เ ป็ นจํา นวนมากกว่ า องค์ ก ารธุ ร กิ จ ประเภทอื่ น ๆ นอกจากนั้น ร้ านค้าปลี กใหม่มีขนาดเล็ก ซึ่ งจากการประมาณปรากฏว่า ร้ านค้าปลี ก 7 ร้านใน 10 ร้านมีพนักงานน้อยกว่า 5 คน หรื อไม่มีเลย และร้ านค้าปลี กมากกว่า 90% ว่าจ้างพนักงานน้อยกว่า 20 คน ถึงแม้วา่ เมื่อไม่นานมานี้หา้ งสรรพสิ นค้าขนาดใหญ่ ร้านค้าแบบลูกโซ่ และการขายสิ นค้าทาง ไปรษณี ยจ์ ะรุ กลํ้าเข้ามาในตลาด การค้าปลีกยังคงเป็ นการประกอบธุ รกิจอิสระขนาดเล็กที่มีอยูเ่ ป็ น จํานวนมาก (โชติรัส ชวนิชย์ และคณะ, 2538: 49-50 อ้างถึง ผุสดีและเกศินี, 2529)
27 ผูศ้ ึกษาสรุ ปประเภทของธุ รกิจขนาดเล็กและขนาดย่อมได้วา่ ธุ รกิจขนาดเล็กและขนาดย่อม สามารถแบ่งได้เป็ น ธุ รกิจผลิต ธุ รกิจจําหน่ายและธุ รกิจให้บริ การ บทบาทและความสาคัญของธุรกิจขนาดเล็กและขนาดย่ อม กตัญญู หิ รัญญสมบูรณ์ (2545: 4-5) กล่าวถึงบทบาทของธุ รกิจขนาดย่อมในระบบสังคม และเศรษฐกิจโดยรวม ดังนี้ 1. ธุ ร กิ จ ขนาดย่อ มเพิ่ ม การว่า จ้า งงานในระบบเศรษฐกิ จ โดยช่ ว ยสร้ า งงานใหม่ ใ ห้ พนักงานตามกลยุทธ์การเข้าสู่ ธุรกิจแบบเลือกตอบสนองความต้องการของลูกค้าเฉพาะกลุ่ม 2. เป็ นแหล่งที่มาของประดิ ษฐ์กรรมใหม่ของตลาดจํานวนมาก ถึงแม้ว่าธุ รกิจขนาดย่อม ไม่มีการใช้เทคโนโลยีในระดับสู ง ก็อาจสร้างงานที่เป็ นนวัตกรรมได้ 3. ส่ งเสริ มการแข่งขันเสรี กระตุน้ ให้เกิดการแข่งขันระหว่างผูผ้ ลิตซึ่ งทําให้ผบู้ ริ โภคได้ ประโยชน์มากที่สุด 4. ธุ รกิ จขนาดย่อมมักที ความสั มพันธ์ ในเชิ งสนับสนุ นการดําเนิ นการของธุ รกิ จขนาด ใหญ่ดา้ นการกระจายสิ นค้าและการป้ อนวัตถุ ดิบและการบริ การ โดยอยู่ในวงจรของธุ รกิ จขนาด ใหญ่ในลักษณะพึ่งพาอาศัยกัน 5. สร้างสรรค์สินค้าและบริ การต่อชนทุกชั้นในสังคม ทําให้ความต้องการที่แตกต่างกัน ของคนทุกกลุ่มได้รับการตอบสนองโดยทัว่ ถึง 6. ช่ ว ยพัฒ นาศัก ยภาพในด้า นสติ ปั ญ ญาและความมานะพยายามของบุ ค คล ทั้ง ตัว ผูป้ ระกอบการและพนักงานที่จะต่อสู ้ให้ได้มาซึ่ งความสําเร็ จของธุ รกิจ ผุสดี รุ มาคม (2540: 14-15) กล่าวว่าบทบาทและความสําคัญของธุ รกิ จขนาดย่อมในการ พัฒนาประเทศแตกต่างกันไปตามวัตถุ ประสงค์ของการพัฒนาและสภาพแวดล้อมของประเทศใด
28 ประเทศหนึ่ง อย่างไรก็ตาม เป็ นที่ยอมรับกันว่าธุ รกิจขนาดย่อมมีส่วนช่วยในการพัฒนาประเทศอยู่ หลายประการ ซึ่ งแตกต่างจาก กตัญญู หิ รัญญสมบูรณ์ คือ 1. การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ในทุกประเทศมีปัญหาสําคัญประการหนึ่ ง คือ ทรั พยากรที่ มีอยู่อย่างจํากัดนั้นจะถู ก นํามาใช้ใ นการผลิ ตสิ นค้า และบริ การเพื่อตอบสนองความ ต้องการของสังคมให้มีประสิ ทธิ ภาพได้อย่างไร 2. การระดมทุ น ธุ รกิ จขนาดย่อมเป็ นช่ องทางหนึ่ งในการรวบรวมเงิ นทุ นทั้งที่ เป็ นของ เจ้าของ ญาติมิตร เพื่อน ตลอดจนแหล่งเงินทุนต่างๆ 3. การประหยัดเงิ นทุน ธุ รกิ จขนาดย่อมมีโอกาสประหยัดเงิ นทุนได้ เช่ น อุ ตสาหกรรม ขนาดย่อมให้ผลผลิตเร็ วกว่าอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ 4. การกระจายการพัฒนาออกไปสู่ ภูมิภาค ในประเทศที่กาํ ลังพัฒนานั้น การพัฒนามักจะ รวมตัวกันอยู่ในพื้นที่แห่ งเดี ยวหรื อน้อยแห่ ง ไม่ได้กระจายออกไปอย่างทัว่ ถึ ง โดยเฉพาะในเขต ชนบทที่ห่างไกล 5. การพัฒนาทางการเมืองและสังคม ธุ รกิ จขนาดย่อมช่ วยกระจายอํานาจทางเศรษฐกิ จ ออกไปสู่ กลุ่มชนต่างๆ แทนที่จะให้ความมัน่ คัง่ ตกอยูใ่ นมือของคนกลุ่มน้อย ผูศ้ ึกษาสรุ ปบทบาทและความสําคัญของธุ รกิ จขนาดเล็กและขนาดย่อมได้วา่ ธุ รกิจขนาด เล็กและขนาดย่อมช่วยเพิ่มอัตราการจ้างงานมากขึ้น ส่ งเสริ มการแข่งขันเสรี สร้ างสรรค์สินค้าและ บริ การเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าทุกชนชั้น ซึ่ งเป็ นการกระจายสิ นค้าและบริ การให้ทวั่ ภูมิภาคมากขึ้น และใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ข้ อดีและข้ อเสี ยในการประกอบธุรกิจ กตัญญู หิ รัญญสมบูรณ์ (2545: 7-8) ได้กล่าวถึ งความสําเร็ จและความล้มเหลวของธุ รกิ จ ขนาดย่อม โดยกล่าวถึง ปั จจัยแห่งความสําเร็ จของธุ รกิจขนาดย่อมและปั จจัยแห่ งความล้มเหลวของ ธุ รกิจขนาดย่อม
29 ปั จจัยแห่งความสําเร็ จของธุ รกิจขนาดย่อม 1. ความเป็ นอิ สระและคล่ องตัวของธุ รกิ จขนาดย่อม อันมี สาเหตุ มาจากผูป้ ระกอบการ สามารถตัดสิ นใจตามลําพัง โครงสร้ างขององค์การที่เรี ยบง่ าย การติ ดต่อสื่ อสารทําได้รวดเร็ วไม่ ซับซ้อน 2. ความเอาใจใส่ ใกล้ชิดลูกค้า โดยเสนอสิ นค้าหรื อบริ การที่ถูกใจลูกค้าเฉพาะรายได้อย่าง ทัว่ ถึง ธุ รกิจขนาดย่อมมีจาํ นวนลูกค้าน้อยรายแต่มกั เป็ นลูกค้าประจําที่มีปริ มาณการซื้ อหรื อการใช้ บริ การสมํ่าเสมอ 3. ความเปลี่ ยนแปลงและการสร้ า งนวัตกรรมให้แก่ สินค้า และบริ ก าร เนื่ องจากธุ รกิ จ ขนาดใหญ่ตอ้ งลงทุนสู งในด้านเครื่ องมือเครื่ องจักรอุปกรณ์เพื่อผลิตสิ นค้าออกมาขาย ธุ รกิจขนาด ใหญ่จึงต้องการให้รูปแบบของสิ นค้าคงเดิมอยูน่ านที่สุด 4. แรงจูงใจจากผลกําไรของธุ รกิ จ ผูป้ ระกอบการย่อมจะทุ่มเททรั พยากรและแรงกาย แรงใจอย่างเต็มที่เพื่อผลักดันให้ธุรกิจของตนประสบความสําเร็ จ เพราะกําไรที่ได้มาย่อมเป็ นของ ผูป้ ระกอบการทั้งหมด 5. สายการติดต่อสื่ อสารสั้นทําให้เข้าใจกันได้ง่าย ดังนั้นการถ่ายทอดคําสั่งจากฝ่ ายบริ หาร หรื อผูป้ ระกอบการมาสู่ พนักงานทําได้อย่างรวดเร็ ว แก้ไขปั ญหาได้ฉับไว การสั่งการชัดเจน การ รับรู ้คาํ ติชมของลูกค้าก็เช่นกัน ปั จจัยแห่งความล้มเหลวของธุ รกิจ 1. เงินทุนดําเนินการไม่พอเพียง ธุ รกิจย่อมใช้ทุนดําเนิ นการของเจ้าของซึ่ งมีอยูจ่ าํ กัด การ กูย้ มื จากแหล่งภายนอก เช่น กูธ้ นาคารหรื อออกหุ น้ กู้ ทําได้ยากหรื อทําไม่ได้เลย 2. การจัดการที่ไร้ประสิ ทธิ ภาพ ไม่วา่ จะเป็ นการจัดการด้านคน เวลา เงินทุน ลูกค้า สิ นค้า คงคลัง ฯลฯ ธุ รกิ จย่อมมักจะดําเนิ นการบริ หารโดยผูป้ ระกอบการที่อาจเป็ นผูผ้ ลิ ตที่เก่งกาจ หรื อ เป็ นนักขายยอดเยีย่ มแต่บริ หารธุ รกิจโดยรวมไม่เป็ น
30 3. ปั จจัยอื่นๆ เช่น การแรงงานฝี มือ การเปลี่ยนแปลงทําเลที่ต้ งั ซึ่ งสร้างความไม่สะดวกแก่ ลูกค้า การไม่สามารถควบคุ มต้นทุนเนื่ องจากอัตราการแลกเปลี่ ยนเงิ นตราต่างประเทศมีความผัน ผวน การวิเคราะห์โอกาสทางการค้าผิดพลาด ผุสดี รุ มาคม (2540: 15-21) กล่าวถึงข้อได้เปรี ยบของธุ รกิจขนาดย่อมที่สาํ คัญ คือ 1. ความเป็ นอิ ส ระ การประกอบธุ รกิ จของตนเองนั้นมี ค วามเป็ นอิ ส ระ เจ้า ของธุ รกิ จ สามารถกระทําสิ่ งที่เขาคิดว่าดีที่สุดเมื่อเผชิญกับปั ญหาทางธุ รกิจ 2. การตัดสิ นใจ เจ้า ของธุ รกิ จขนาดย่อมเป็ นผูต้ ดั สิ นใจเรื่ องทุ ก เรื่ องที่ มีผ ลกระทบต่ อ ธุ รกิ จ ในขณะที่ ผูบ้ ริ หารของธุ รกิ จขนาดใหญ่ ม กั จะต้องเสนอเรื่ องต่ า งๆ ให้ผูบ้ ริ หารระดับ สู ง ตัดสิ นใจ 3. กําไรเปรี ยบเสมือนเงินเดือน สิ่ งจูงใจที่สําคัญอย่างหนึ่ งของผูป้ ระกอบธุ รกิจขนาดย่อม คือ การเป็ นนายของตัวเองและทํางานเพื่อตัวของเขาเอง ดังนั้น กําไรที่ ได้รับจากการดําเนิ นงาน ธุ รกิจจึงเปรี ยบเสมือนรางวัลอย่างหนึ่ง 4. ความคล่ องตัวและความไม่เป็ นทางการ ผูป้ ระกอบธุ รกิ จขนาดย่อมมี ความคล่องตัว มากกว่าการเป็ นพนักงานของธุ รกิจขนาดใหญ่ เจ้าของธุ รกิจขนาดย่อมสามารถทํางานในบรรยากาศ ที่ไม่เป็ นทางการ 5. สายการติ ด ต่ อ สื่ อ สารสั้ น ธุ ร กิ จ ขนาดย่ อ มมัก จะมี ร ะดับ บริ ห ารเพี ย งระดับ เดี ย ว ความสัมพันธ์ของการติดต่อสื่ อสารแบบหนึ่ งต่อหนึ่ งช่วยลดหรื อกําจัดปั ญหาด้านการติดต่อสื่ อสาร ที่ธุรกิจขนาดใหญ่ประสบอยูไ่ ด้อย่างมาก 6. การติ ด ต่ อ ที่ ใ กล้ชิ ด กับ พนัก งานและลู ก ค้า เจ้า ของธุ ร กิ จ ขนาดย่อ มมี โ อกาสที่ จ ะ สร้ างสรรค์และรั กษาความสัมพันธ์ ในการทํางานที่ สามัคคี กลมเกลี ยวกันกับพนักงาน เนื่ องจาก ธุ รกิ จมักจะมี ระดับการบริ หารเพียงระดับเดี ยว ธุ รกิ จขนาดย่อมมีสภาพแวดล้อมที่ สามารถสร้ าง ความสัมพันธ์กบั ลูกค้าเป็ นการเฉพาะตัวได้อย่างใกล้ชิด
31 7. การเข้าไปประกอบธุ รกิ จได้ง่าย ลักษณะที่ ดึงดู ดอีกประการหนึ่ งคือ การที่ บุคคลคน หนึ่งสามารถเข้าไปประกอบธุ รกิจได้ง่าย 8. ประกอบการอยูใ่ นตลาดขนาดเล็กได้ ธุ รกิจขนาดย่อมสามารถประกอบการอยูใ่ นตลาด ขนาดเล็ก และธุ รกิจขนาดย่อมสามารถผูกขาดตลาดที่มีอยูไ่ ด้โดยใช้ความสัมพันธ์เป็ นการส่ วนตัว กับลูกค้าซึ่ งช่วยให้ทราบความต้องการของท้องถิ่นนั้นเป็ นอย่างดี 9. ความยืดหยุ่นด้านการผลิ ต การตลาด และการให้บริ การ ผูป้ ระกอบธุ รกิ จขนาดย่อม หากตัดสิ นใจที่จะกระทําสิ่ งใดแล้วจะเปลี่ ยนแปลงได้ง่ายกว่าธุ รกิจขนาดใหญ่และสามารถแนะนํา สิ นค้าหรื อบริ การใหม่ๆ ออกสู่ ตลาดได้ดีกว่า ข้อเสี ยเปรี ยบของธุ รกิจขนาดย่อม ธุ รกิจขนาดย่อมมีขอ้ เสี ยที่สาํ คัญ คือ 1. การจัดหาเงิ นทุน ในขณะที่มีขอ้ ได้เปรี ยบจากการทํากําไรได้ ธุ รกิ จขนาดย่อมมีความ เสี่ ยงภัยจากการสู ญเสี ยเงิ นทุน ผูป้ ระกอบธุ รกิ จขนาดย่อมเป็ นจํานวนมากรู ้สึกว่าธุ รกิ จจะประสบ ผลสําเร็ จได้ ถ้าหากว่ามีการจัดหาเงินทุนที่เพียงพอ 2. การขาดความสามารถและความลึ ก ซึ้ งทางการบริ หาร ผูป้ ระกอบธุ รกิ จขนาดย่อม จะต้องเป็ นผูเ้ ชี่ ยวชาญในเรื่ องต่างๆ ทุกเรื่ อง เจ้าของจะต้องทํางานตั้งแต่ระดับคนงานจนถึ งระดับ ผูบ้ ริ หาร ทําให้ขาดความชํานาญเฉพาะด้าน 3. ความยากลําบากในการได้และรักษากําลังคน บุคคลเป็ นจํานวนมากพอใจที่จะทํางาน ในธุ รกิจขนาดใหญ่ที่เสนอค่าผลตอบแทนให้สูงกว่ามีประโยชน์และบริ การมากกว่า 4. ปั ญหาส่ วนตัวอื่นๆ ประสบกับความยากลําบากในการได้รับความช่ วยเหลื อและการ จัดหาเงินทุนที่เพียงพอ ทําให้ตอ้ งใช้ความพยายามเป็ นอย่างมากและมีความวิตกกังวลอยูต่ ลอดเวลา 5. การจํา กัดตัวเองและชั่วโมงการทํา งานที่ ย าวนาน ผูบ้ ริ หารธุ รกิ จขนาดย่อมจะต้อง ปฏิบตั ิงานส่ วนใหญ่ดว้ ยตัวเอง ต้องทํางานหนัก ไม่ค่อยมีเวลาพักผ่อนและเวลาที่เป็ นส่ วนตัว
32 6. ธุ รกิจขนาดย่อมขาดเงินทุนในการทําวิจยั ทางธุ รกิจด้านต่างๆ 7. ธุ รกิจขนาดย่อมมีความเสี่ ยงและต้นทุนการผลิตต่อหน่วยสู งกว่าธุ รกิจขนาดใหญ่ ผูศ้ ึ ก ษาสรุ ปข้อดี และข้อเสี ยของการประกอบธุ รกิ จขนาดเล็ก และขนาดย่อมได้ว่า การ ประกอบธุ ร กิ จ มี ข ้อ ดี คื อ มี ค วามเป็ นอิ ส ระในการทํา งาน การตัด สิ น ใจที่ ท ัน เวลา สามารถ ติดต่อสื่ อสารกับพนักงานและลูกค้าได้อย่างใกล้ชิด มีความยืดหยุ่นในการผลิ ตและการให้บริ การ และยังสามารถเปลี่ยนแปลงหรื อสร้างนวัตกรรมใหม่มาใช้ได้ง่าย ส่ วนข้อเสี ยคือ ธุ รกิ จขนาดเล็กมี เงินทุนที่จาํ กัด การบริ หารจัดการไม่ค่อยมีประสิ ทธิ ภาพเท่าที่ควร การดูแลพนักงานไม่ทวั่ ถึ ง และ การผลิตมีตน้ ทุนต่อหน่วยที่สูงกว่าธุ รกิจขนาดใหญ่ ปัญหาและอุปสรรคในการประกอบธุรกิจ วิพุธ อ่องสกุล และ ธัชวรรณ กนิ ษฐ์พงศ์ (2550: 15-17) ได้กล่ าวถึ งสาเหตุ ของความ ล้ม เหลวในธุ รกิ จว่า อัตราการล้ม เหลวในธุ รกิ จมี ค วามแตกต่ างกันอย่า งมากในอุ ตสาหกรรมที่ แตกต่างกันและมีผลกระทบจากปั จจัยต่างๆ เช่น ชนิ ดของธุ รกิจส่ วนตัว ขนาดของธุ รกิจ และความ เชี่ ย วชาญของผูป้ ระกอบการ แต่ ส าเหตุ โดยส่ วนใหญ่ แล้วเกิ ดจากการจัดการและระบบจัดการ การเงินไม่ดีเพียงพอ 1. การจัดการที่ ไม่มีประสิ ทธิ ภาพ การจัดการทางธุ รกิ จ คือ การใช้ทรัพยากรได้อย่างมี ประสิ ทธิ ผลและประสิ ทธิ ภาพ สําหรับเจ้าของธุ รกิจขนาดเล็กจะต้องมีทกั ษะพิเศษในการจัดการ ซึ่ ง ทักษะพิเศษนั้นยากต่อการได้มา การขาดประสบการณ์เป็ นแรงกดดันและปั ญหามากที่สุดอย่างหนึ่ ง เจ้าของธุ รกิ จจะต้องเป็ นผูท้ ี่รอบรู ้ ซึ่ งเจ้าของธุ รกิ จขนาดเล็กอาจไม่สามารถจ้างผูเ้ ชี่ ยวชาญเพื่อมา ช่วยแก้ปัญหาได้ตลอดเวลา นั้นเป็ นเพราะทรัพยากรที่มีจาํ กัด 2. ระบบการเงินที่ไม่เพียงพอ ความล้มเหลวของธุ รกิจเนื่ องจากระบบการเงินไม่เพียงพอ สามารถเกิ ดจากการควบคุ มจัดการที่ไม่เหมาะสมและ/ หรื อเงิ นทุนที่ขาดแคลน ถ้าไม่มีเงิ นทุนที่ เพี ย งพอในระยะเริ่ ม ต้น ธุ รกิ จก็ จะไม่ ส ามารถจัด หาสถานที่ สิ่ ง ที่ เป็ นเครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ หรื อ บุคลากรที่ ตอ้ งการในการเริ่ มต้นธุ รกิ จได้ นั้นคื อถ้าไม่มีเงิ นทุนที่ เพียงพอก็จะไม่สามารถจัดการ ทรัพยากรได้อย่างเฉลียวฉลาด
33 ผุสดี รุ มาคม (2540: 21-24) กล่าวถึงปั ญหาโดยทัว่ ไปของธุ รกิจขนาดย่อมว่า มากกว่า 90 เปอร์ เซ็ นต์ของความล้มเหลวของธุ รกิ จขนาดย่อมมีส่วนโดยตรงจากการที่ เจ้าของขาดทักษะการ บริ หาร บริ หารงานไม่มีประสิ ทธิ ภาพซึ่ งเกิ ดขึ้นจากการขาดประสบการณ์ ทางธุ รกิ จและการไม่มี ความสามารถของเจ้าของความล้มเหลวทางธุ รกิจเพียงส่ วนน้อยเท่านั้นที่มีส่วนมาจากการขาดความ เอาใจใส่ การทุจริ ต หรื อภัยพิบตั ิ 1. การบริ หารไม่มีประสิ ทธิ ภาพ จํานวนปั ญหาที่เกิดจากการบริ หารไม่มีประสิ ทธิ ภาพที่ผู ้ บริ หารธุ รกิจขนาดย่อมต้องเผชิญมี ดังนี้ 1.1 การขาดประสบการณ์ในสายธุ รกิจที่ประกอบการ 1.2 การขาดประสบการณ์ทางการบริ หาร 1.3 การให้ความสําคัญกับประสบการณ์มากเกินไป 1.4 การไม่มีความสามารถในการบริ หาร 1.5 สภาพการแข่งขันอ่อนแอ 1.6 การขาดการควบคุมสิ นค้าคงเหลือที่เหมาะสม 1.7 การควบคุมสิ นเชื่อไม่เพียงพอ 1.8 ยอดขายน้อย 1.9 ทําเลที่ต้ งั ไม่เหมาะสม 2. ความไม่เอาใจใส่ เหตุผลโดยทัว่ ไปที่ทาํ ให้เจ้าของขาดความเอาใจใส่ ธุรกิ จได้แก่ การ ใช้เวลาไม่เหมาะสม สุ ขภาพไม่ดี ความเกียจคร้าน ปั ญหาทางครอบครัว และความเฉื่ อยชา
34 3. การทุจริ ต คือ การหลอกลวงโดยเจตนาเกี่ ยวกับสถานภาพของธุ รกิจโดยเจ้าของที่เป็ น ผูบ้ ริ หารเพื่อที่จะตบตาผูอ้ ื่น 4. ภัย พิ บตั ิ ภัย พิ บ ตั ิ ที่ เกิ ดจากธรรมชาติ เช่ น วาตภัย อุ ทกภัย ไฟไหม้ ก่ อให้เกิ ดความ เสี ยหายแก่เจ้าของธุ รกิจขนาดย่อม ผูศ้ ึ กษาสรุ ปปั ญหาและอุปสรรคในการประกอบธุ รกิ จได้ว่า ปั ญหาและอุ ปสรรคในการ ประกอบธุ รกิจนั้น เกิดจากการบริ หารงานที่ไม่มีประสิ ทธิ ภาพของฝ่ ายบริ หาร เงินทุนในการบริ หาร ไม่เพียงพอ ความไม่เอาใจใส่ ต่องานและการทุจริ ตต่อธุ รกิจ ทําให้การประกอบธุ รกิจล้มเหลวได้ งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ องกับมาตรฐานการบัญชี เรื่องการรับรู้ รายได้ กรณีศึกษา: ธุรกิจฝากขาย ธุรกิจรับเหมาก่ อสร้ าง ธุรกิจเกษตร และธุรกิจสั ญญาเช่ า กวิน สิ งหโกวินท์ (2550: ง, จ) ทําการศึกษาเปรี ยบเทียบแนวปฏิ บตั ิการบัญชี ของธุ รกิ จ เกษตรทัว่ ไป กับร่ างมาตรฐานการบัญชี ไทยเรื่ อง การบัญชี เกษตรกรรม มีวตั ถุ ประสงค์เพื่อศึกษา เปรี ยบเที ยบแนวปฏิ บตั ิการบัญชี ของธุ รกิ จเกษตรทัว่ ไป กับร่ างมาตรฐานการบัญชี ไทย เรื่ องการ บัญ ชี เ กษตรกรรม วิ ธี ก ารศึ ก ษาใช้ วิ ธี ก ารเก็ บ ข้อ มู ล จากการสั ม ภาษณ์ แ บบเจาะลึ ก และเข้า สัง เกตการณ์ ผูม้ ี หน้า ที่ เกี่ ย วข้องกับ การทําบัญชี รวมทั้ง การค้นคว้า จากรายงานทางการเงิ นและ เอกสารอื่ นที่ เ กี่ ย วข้อง ผลการศึ ก ษาพบว่า แนวปฏิ บ ตั ิ ก ารบัญ ชี ข องธุ รกิ จเกษตรทัว่ ไป จะรั บ รู ้ รายการในวันแรกที่มีการรับรู ้และทุกวันสิ้ นงวด โดยแสดงรายการในงบการเงินเป็ นสิ นค้าคงเหลือ ทุ ก กรณี ใ ช้ร าคาทุ นในอดี ต ในการวัด มู ล ค่ า รั บ รู ้ ก ํา ไรหรื อ ขาดทุ น เมื่ อ มี ก ารขาย สํ า หรั บ แนว ปฏิ บ ตั ิ การบัญชี ตามร่ า งมาตรฐานการบัญชี ไ ทย เรื่ อ งการบัญชี เกษตรกรรม จะรับรู้ รายการเป็ น สิ นทรัพย์ชีวภาพและสิ นค้าคงเหลือรับรู ้เมื่อมีการได้มาครั้งแรกโดยใช้มูลค่ายุติธรรมในวันที่ได้มา โดยรับรู ้เป็ นรายได้จากมูลค่ายุติธรรมของสิ นค้าที่ผลิตได้ และทุกวันที่ในงบดุลต้องมีการวัดมูลค่า ยุติธรรม ผลต่างของราคาทุ นในอดี ตและมูลค่ายุติธรรมอาจก่ อให้เกิ ดกําไรหรื อขาดทุ นจากการ เปลี่ ยนแปลงทางราคากําไรหรื อขาดทุนจากปริ มาณที่เพิ่มขึ้นหรื อลดลงของสิ นทรัพย์ชีวภาพและ ผลผลิ ต กําไรจากการเปลี่ ยนแปลงทางกายภาพของสิ นทรัพย์ชีวภาพและผลผลิ ต ซึ่ งผลต่างของ ราคาทุนในอดี ตและมูลค่ายุติธรรมนอกจากก่อให้เกิ ดผลกําไรหรื อขาดทุนในกรณี ต่างๆ ดังกล่าว แล้ว และยังมีผลกระทบต่อกําไรสะสมในงบดุลอีกด้วย
35 หนึ่งฤทัย อุดมความสุ ข (2543: ข) ศึกษาการบัญชีสวนส้ม: กรณี ศึกษาของสวนส้มธนาธร โดยมีวตั ถุ ประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับระบบการจัดทําบัญชี ของธุ รกิ จสวนส้มธนาธร ตลอดจนการ นําเสนอข้อมูลในรู ปของรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิ จ รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ผูบ้ ริ หารระดับประธานกรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การ สมุห์บญั ชี และพนักงานฝ่ ายบัญชี ตลอดจน สังเกตจากขั้นตอนและวิธีการปฏิบตั ิเกี่ ยวกับระบบการจัดทําบัญชี ของบริ ษทั ฯ พบว่า มีการจัดทํา บัญชีในลักษณะของบัญชี เดี่ยวโดยใช้เกณฑ์เงินสด คือ รับรู ้รายได้และรายจ่ายเฉพาะส่ วนที่กิจการ ได้รับหรื อจ่ายเงิ นสดไปแล้วเท่านั้น ซึ่ งมี การจดบันทึ กข้อมูลและจัดทําบัญชี โดยใช้สมุ ดเงิ นสด บันทึกการรับจ่าย แล้วนําข้อมูลจากระบบบัญชี เดี่ยวมาจัดทํารายงานการเงินตามระบบบัญชี คู่ โดย ใช้เกณฑ์คงค้างตามหลักการบัญชีที่ยอมรับทัว่ ไป วรลักษณ์ วรรณโล (2544) ได้ศึกษาเรื่ อง การศึกษาเปรี ยบเทียบมาตรฐานการบัญชี และ กฎหมายภาษีอากรเกี่ยวกับกิ จการเช่าซื้ อรถยนต์ได้พบว่า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 กําหนดให้ รับรู ้ กาํ ไรที่เกิ ดจากการขายเป็ นรายได้ท้ งั จํานวนในรอบระยะเวลาบัญชี ที่มีการให้เช่ าซื้ อหรื ออาจ รับรู ้ กาํ ไรเป็ นรายได้ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี ตามงวดที่ถึงกําหนดชําระก็ได้ ส่ วนดอกผลของ เช่ าซื้ อนั้นให้รับรู ้ เป็ นรายได้ตามงวดที่ถึงกําหนดชําระ ในกรณี ที่ไม่ได้รับเงิ นค่างวดตามงวดที่ถึง กําหนดชําระหรื อไม่ได้รับเงินค่างวดที่ถึงกําหนด ผูข้ ายสามารถเลื่อนการรับรู ้รายได้ออกไป หากไม่ มีเหตุผลสนับสนุนได้วา่ จะสามารถเรี ยกเก็บเงินได้ ส่ วนหลักเกณฑ์การรับรู ้รายได้ตามกฎหมาย การจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลยึดหลักเกณฑ์ เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ทางบัญชี ข้อแตกต่างที่สาํ คัญได้แก่หลักเกณฑ์ทางด้านการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ในการกําหนดให้ผูข้ ายยังต้องเสี ยภาษี มูลค่าเพิ่มจากค่างวดที่ ถึงกําหนดจนกว่าจะมี การบอกเลิ ก สัญญาเช่าซื้ อตามกฎหมายแท้จริ ง ทั้งนี้ กฎหมายจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม จึงทําให้ผปู ้ ระกอบการต้องมี ความรับผิดชอบในการชําระภาษีมูลค่าเพิ่มในขณะที่ยงั ไม่มีการรับชําระเงิ นค่างวดจึงถือเป็ นภาระ ของผูข้ าย ฐิติพร ฐิติจาํ เริ ญพร (2545) ได้ศึกษาเรื่ อง แนวปฏิบตั ิของการบัญชีและการรับรู้รายได้ของ กิจการลิสซิ่ งในเขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า กิจการลิสซิ่ งซึ่ งได้มีวธิ ี การบันทึกบัญชี และ การรับรู ้ รายได้ในลักษณะของสัญญาเช่ าดําเนิ นงานมากกว่าสัญญาเช่ าการเงิ น ซึ่ งเป็ นส่ วนสําคัญ สําหรับกิ จการลิ สซิ่ งที่พึงปฏิบตั ิ อีกทั้งยังได้นาํ หลักการของการบันทึกบัญชี เกี่ ยวกับการให้เช่ าซื้ อ และการให้กยู้ มื เงินมาใช้ในการบันทึกบัญชี และการรับรู ้รายได้อีกด้วย ส่ วนในเรื่ องการรับรู ้รายได้
36 ของกิจการลิสซิ่ งที่ใช้ในปั จจุบนั ได้มีการรับรู ้รายได้ดอกเบี้ยเป็ นไปตามเกณฑ์เงินค้าง กล่าวคือ จะ รั บ รู ้ รายได้ที่ เกิ ดขึ้ นในงวดบัญชี น้ ันทัน ที โดยไม่ ค าํ นึ ง ว่า จะได้รับ เงิ นจากการเช่ า นั้นแล้วหรื อ ไม่ก็ตาม กิ จการลิ สซิ่ งส่ วนใหญ่มกั จะมีปัญหาเรื่ องของเงิ นมัดจําและราคาซากของสิ นทรัพย์ที่เช่ า เมื่ อสิ้ นสุ ดสั ญญาเช่ า เนื่ องจากเงิ นมัดจําที่ เก็ บจากลู กค้านั้น กิ จการจะถื อเป็ นหนี้ สินของกิ จการ เนื่ องจากจะต้องมีการชําระคืนให้กบั ลูกค้าเมื่อสิ้ นสุ ดสัญญาเช่ า แต่มีการโอนไปเป็ นส่ วนหนึ่ งของ ราคาสิ นทรัพย์ ณ วันสิ้ นสุ ดสัญญาเช่าได้ ถ้าหากผูเ้ ช่าเลือกที่จะซื้ อสิ นทรัพย์น้ นั เป็ นของตน ส่ วนใน เรื่ องราคาซากของสิ นทรัพย์ จะเห็ นได้ว่ามีราคาค่อนข้างสู งซึ่ งถื อได้ว่าสู งกว่าราคาในท้องตลาด กิจการลิสซิ่ งส่ วนใหญ่มกั จะมีปัญหาในเรื่ องของการหาผูซ้ ้ื อสิ นทรัพย์น้ นั เมื่อสิ้ นสุ ดสัญญา ดังนั้น ควรมีการกําหนดอย่างแน่ ชดั ในสัญญาว่า ผูเ้ ช่ าควรจะรั บประกันราคาซากของสิ นทรั พย์น้ นั เพื่อ ไม่ให้เกิดปั ญหานี้ข้ ึน วชิ ราภรณ์ ขันแก้วผาบ (2546) ได้ศึกษาเรื่ อง ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อผูป้ ระกอบการธุ รกิจค้า รถยนต์มือสองในการเลือกใช้บริ การสิ นเชื่ อเพื่อการเช่าซื้ อของบริ ษทั ลิสซิ่ ง ในอําเภอเมืองจังหวัด เชียงใหม่ พบว่า ปั จจัยที่มีอิทธิ พลมากที่สุด 3 อันดับแรก ซึ่ งเป็ นปั จจัยภายในองค์การ ได้แก่ อันดับ หนึ่ง คือ กระบวนการให้บริ การ ในเรื่ องการให้บริ การที่รวดเร็ ว ทันเวลาและตรงตามความต้องการ อันดับสองคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ซึ่ งเป็ นเรื่ องการอนุมตั ิวงเงินสิ นเชื่อหรื อยอดจัดไฟแนนซ์ที่เหมาะสม และตรงตามความต้องการ และอันดับสาม คือ ด้านราคา ซึ่ งเกี่ยวกับเรื่ องอัตราดอกเบี้ยในการผ่อน ชําระตํ่า สําหรับปั ญหาที่ผปู ้ ระกอบการธุ รกิจค้ารถยนต์มือสองพบ 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับหนึ่ ง คือ ปั ญหาสิ่ งแวดล้อม เรื่ อง อัตราดอกเบี้ยเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงินต่าง ๆ ที่สามารถส่ งผลต่อการ ขึ้น-ลงของอัตราดอกเบี้ยเช่าซื้ อ อันดับสอง คือปั ญหาภายในองค์การด้านราคาเรื่ องอัตราดอกเบี้ยใน การผ่อนชําระสู ง และอันดับสาม คือ ปั ญหาภายในองค์การผลิตภัณฑ์ เรื่ องการอนุ มตั ิวงเงินสิ นเชื่ อ หรื อยอดจัดไฟแนนซ์ที่ไม่เหมาะสม และไม่ตรงตามต้องการ สุ ธาสิ นี พรหมบุตร (2549) ได้ศึกษาเรื่ อง ปั จจัยที่มีผลต่อความเสี่ ยงด้านสิ นเชื่ อของธุ รกิ จ เช่าซื้ อรถยนต์ พบว่า ปั จจัยต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อความเสี่ ยงด้านสิ นเชื่ อของธุ รกิจเช่าซื้ อรถยนต์ที่ สําคัญได้แก่ ปริ มาณเงินให้สินเชื่อเช่าซื้ อรถยนต์ของบริ ษทั เงินทุน (credit loans) และอัตราดอกเบี้ย
37 เงินกู้ (lending rate) โดยปริ มาณเงินให้สินเชื่ อเช่าซื้ อรถยนต์มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับ ปริ มาณหนี้ ที่ไม่ก่อให้เกิ ดรายได้ของบริ ษทั เงิ นทุน จากปั จจัยดังกล่าว บริ ษทั เงิ นทุนสามารถนําไป เป็ นแนวทางในการควบคุม และลดความเสี่ ยงในการให้สินเชื่อ เพื่อลดปั ญหาหนี้ ดอ้ ยคุ ณภาพของ บริ ษทั เงินทุนได้ กฤษณะ แสนวาสน์ (2551) ได้ศึกษาเรื่ อง ความพึงพอใจของผูป้ ระกอบการค้ารถยนต์มือ สองต่อการใช้บริ การด้านสิ นเชื่ อเช่าซื้ อรถยนต์ของธนาคารธนชาต จํากัด (มหาชน) ในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ความพึงพอใจต่อปั จจัยส่ วนประสมทางการตลาดบริ การ ในระดับมากเรี ยง ตามลําดับค่าเฉลี่ ยคือ ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการ ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านราคา ด้านการ จัด จํา หน่ า ย ด้ า นผลิ ต ภัณ ฑ์ ห รื อบริ การ และด้า นการส่ ง เสริ ม การตลาด ปั จ จัย ย่ อ ยที่ ผู ้ต อบ แบบสอบถามพึงพอใจสู งสุ ดลําดับแรกของปั จจัยหลักแต่ละด้านปรากฏผลดังนี้ 1. ปั จจัยด้านผลิ ตภัณฑ์ คือ มี ระยะเวลาหรื อจํานวนงวดในการผ่อนชําระตรงตามความ ต้องการ 2. ปั จจัยด้านราคา คือ ธนาคารให้ค่านําจัดไฟแนนซ์ (ค่ารี เบท) แก่ผปู ้ ระกอบการในอัตรา ที่สูง เช่น 8% ของดอกเบี้ยทั้งหมด 3. ปั จจัยด้านการจัดจําหน่าย คือ มีการให้บริ การสิ นเชื่อและทําสัญญานอกสถานที่ 4. ปั จจัยด้านการส่ งเสริ มการตลาด คือ การมีพนักงานของธนาคารไปแนะนําให้บริ การถึง สถานประกอบการ 5. ปั จจัยด้านบุคลากร คือ พนักงานมีมนุษย์สัมพันธ์ดี และเป็ นกันเอง 6. ปั จจัยด้านกระบวนการ คือ ความสะดวกในการติดต่อขอใช้บริ การด้านสิ นเชื่อ 7. ปัจจัยด้านลักษณะทางกายภาพ คือ สถานที่สะอาดและเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย
38 สําหรั บปั ญหาที่พบในการเลื อกให้บริ การด้านสิ นเชื่ อเช่ าซื้ อรถยนต์ ปรากฏผลดังนี้ ด้าน การจัดจําหน่ าย ได้แก่ การติดต่อโทรศัพท์กบั ธนาคารช่ วงเช่ าคู่สายเต็มไม่สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่ ได้เมื่อมีเรื่ องด่วน เช่น การขอปิ ดบัญชีสินเชื่อเช่าซื้ อรถยนต์ สถานที่จอดรถไม่เพียงพอสําหรับลูกค้า ด้านบุคลากร ได้แก่ เจ้าหน้าที่มาไม่ตรงเวลานัดและบางครั้งไม่สามารถติดต่อได้ ด้านกระบวนการ ได้แก่ ขั้นตอนในการดําเนินการขอคืนค่าโอนกรรมสิ ทธิ์ รถมีความล่าช้า กรณีศึกษา: ธุรกิจฝากขาย ตัวอย่างการฝากขาย 25X1 มิ.ย. 1 บริ ษทั ดุสิตจํากัด ส่ งโทรทัศน์ 10 เครื่ อง ราคาทุนเครื่ องละ 500 บาท ไปให้บริ ษทั จิงจัง จํากัด ขายในราคาเครื่ องละ 1,000 บาท เสี ยค่าขนส่ งสิ นค้าฝากขาย 750 บาท 4 บริ ษทั จิงจังจํากัด จ่ายค่าประกันภัยสําหรับสิ นค้าฝากขาย 1,000 บาท 8 บริ ษทั จิ งจังจํากัด ขายโทรทัศน์เป็ นเงิ นสด 4 เครื่ อง และเสี ยค่าขนส่ งในการขายให้ ลูกค้า 250 บาท 12 บริ ษทั จิงจังจํากัด ส่ งเงินล่วงหน้าให้บริ ษทั ดุสิตจํากัด จํานวน 1,000 บาท 22 บริ ษทั จิงจังจํากัด ขายโทรทัศน์เป็ นเงิ นสด 6 เครื่ อง เสี ยค่าขนส่ งในการขายให้ลูกค้า 650 บาท แต่ยงั ไม่ได้จ่ายเงิน 30 บริ ษทั จิงจังจํากัด ส่ งรายงานการขายและเงินคงค้างแก่บริ ษทั ดุสิตจํากัด
39 ตารางที่ 1 กรณี ผฝู้ ากขายบันทึกบัญชีฝากขายแยกจากการขายปกติ ว/ด/ป วิธีบญั ชีสินค้าแบบต่อเนื่อง 25X1 มิ.ย. 1 ฝากขาย – บ.จิงจัง 5,000 สิ นค้า 5,000 ส่ งโทรทัศน์ไปฝากขาย ฝากขาย – บ.จิงจัง 750 สิ นค้า 750 จ่ายค่าขนส่ งสิ นค้าไปยังผูร้ ับฝากขาย ว/ด/ป วิธีบญั ชีสินค้าแบบต่อเนื่อง 25X1 มิ.ย. 4 ไม่บนั ทึกบัญชี 8 ไม่บนั ทึกบัญชี 12 เงินสด 1,000 เงินล่วงหน้าค่าสิ นค้า 1,000 22 ไม่บนั ทึกบัญชี 30 เงินสด 6,100 ฝากขาย – บ.จิงจัง 1,000 ค่านายหน้า 1,000 เงินล่วงหน้าค่าสิ นค้า 1,000 ค่าขนส่ งออก 900 ขายโดยการฝากขาย 10,000 บันทึกการขายสิ นค้าฝากขายตามรายงาน การขาย ต้นทุนขายโดยการฝากขาย 5,000 ค่าใช้จ่ายในการฝากขาย 1,750 ฝากขาย – บ.จิงจัง 6,750 บันทึกต้นทุนสิ นค้าฝากขายและค่าใช้จ่าย ในการฝากขาย
วิธีบญั ชีสินค้าสิ้ นงวด ฝากขาย – บ.จิงจัง 5,000 สิ นค้าส่ งฝากขาย 5,000 ส่ งโทรทัศน์ไปฝากขาย ฝากขาย – บ.จิงจัง 750 สิ นค้า 750 จ่ายค่าขนส่ งสิ นค้าไปยังผูร้ ับฝากขาย วิธีบญั ชีสินค้าสิ้ นงวด ไม่บนั ทึกบัญชี ไม่บนั ทึกบัญชี เงินสด 1,000 เงินล่วงหน้าค่าสิ นค้า 1,000 ไม่บนั ทึกบัญชี เงินสด 6,100 ฝากขาย – บ.จิงจัง 1,000 ค่านายหน้า 1,000 เงินล่วงหน้าค่าสิ นค้า 1,000 ค่าขนส่ งออก 900 ขายโดยการฝากขาย 10,000 บันทึกการขายสิ นค้าฝากขายตามรายงาน การขาย ต้นทุนขายโดยการฝากขาย 5,000 ค่าใช้จ่ายในการฝากขาย 1,750 ฝากขาย – บ.จิงจัง 6,750 บันทึกต้นทุนสิ นค้าฝากขายและค่าใช้จ่าย ในการฝากขาย
40 30 ขายโดยการฝากขาย 10,000 ขายโดยการฝากขาย 10,000 ต้นทุนขายโดยการฝากขาย 5,000 ต้นทุนขายโดยการฝากขาย 5,000 ค่าใช้จ่ายในการฝากขาย 1,750 ค่าใช้จ่ายในการฝากขาย 1,750 ค่านายหน้า 1,000 ค่านายหน้า 1,000 ค่าขนส่ งออก 900 ค่าขนส่ งออก 900 กําไรจากการฝากขาย 1,350 กําไรจากการฝากขาย 1,350 ปิ ดบัญชีเกี่ยวกับการฝากขาย ปิ ดบัญชีเกี่ยวกับการฝากขาย 30 ไม่บนั ทึกบัญชี
สิ นค้าส่ งไปฝากขาย 5,000 กําไรขาดทุน 5,000 ปิ ดบัญชีสินค้าส่ งฝากขายทั้งหมด
ตารางที่ 2 กรณี ผฝู ้ ากขายบันทึกบัญชีฝากขายรวมกับการขายปกติ ว/ด/ป วิธีบญั ชีสินค้าแบบต่อเนื่อง 25X1 มิ.ย. 1 ฝากขาย – บ.จิงจัง 5,000 สิ นค้า 5,000 ส่ งโทรทัศน์ไปฝากขาย 1 ค่าขนส่ งออก 750 เงินสด 750 จ่ายค่าขนส่ งสิ นค้าไปยังผูร้ ับฝากขาย 4 ไม่บนั ทึกบัญชี 8 ไม่บนั ทึกบัญชี 12
วิธีบญั ชีสินค้าสิ้ นงวด ฝากขาย – บ.จิงจัง 5,000 สิ นค้าส่ งไปฝากขาย 5,000 ส่ งโทรทัศน์ไปฝากขาย ค่าขนส่ งออก 750 เงินสด 750 จ่ายค่าขนส่ งสิ นค้าไปยังผูร้ ับฝากขาย ไม่บนั ทึกบัญชี ไม่บนั ทึกบัญชี
เงินสด 1,000 เงินล่วงหน้าค่าสิ นค้า 1,000 บ.จิงจังส่ งเงินล่วงหน้าให้บ.ดุสิต
เงินสด 1,000 เงินล่วงหน้าค่าสิ นค้า 1,000 บ.จิงจังส่ งเงินล่วงหน้าให้บ.ดุสิต
ไม่บนั ทึกบัญชี
ไม่บนั ทึกบัญชี
22
41 30 เงินสด 6,100 ค่าประกันภัย 1,000 ค่านายหน้า 1,000 เงินล่วงหน้าค่าสิ นค้า 1,000 ค่าขนส่ งออก 900 ขาย 10,000 บันทึกการขายสิ นค้าฝากขายตามรายงาน การขาย 30 ต้นทุนขาย 5,000 ฝากขาย – บ.จิงจัง 5,000 บันทึกต้นทุนสิ นค้าฝากขาย
เงินสด 6,100 ค่าประกันภัย 1,000 ค่านายหน้า 1,000 เงินล่วงหน้าค่าสิ นค้า 1,000 ค่าขนส่ งออก 900 ขาย 10,000 บันทึกการขายสิ นค้าฝากขายตามรายงาน การขาย ไม่บนั ทึกบัญชี
กรณีศึกษา: ธุรกิจก่ อสร้ าง ตัวอย่าง (วิธีการคานวณตามวิธี Cost-to-cost method เนื่องจากเป็ นวิธีที่นิยมใช้ ในปัจจุบัน) บริ ษ ัท ทํา สั ญ ญาก่ อ สร้ า งอาคารหลัง หนึ่ งในวัน ที่ 1 เมษายน 25X1 ราคาตามสั ญ ญา 1,200,000 บาท คาดว่าจะสร้างเสร็ จภายในวันที่ 31 ธันวาคม 25X3 ณ วันทําสัญญาได้ประมาณการ ต้นทุนค่าก่อสร้างทั้งสิ้ น 800,000 บาท ข้อมูลการก่อสร้างมีดงั นี้
ต้นทุนค่าก่อสร้างเกิดขึ้นถึงวันสิ้ นปี ปั จจุบนั ต้นทุนที่ประมาณว่าจะจ่ายอีกจนงานเสร็ จ ค่าก่อสร้างที่ออกบิลเรี ยกเก็บเงิน เงินสดที่ได้รับจากผูว้ า่ จ้างในแต่ละปี
ปี 25X1 240,000 560,000 300,000 250,000
ปี 25X2 576,000 324,000 480,000 350,000
ปี 25X3 900,000 420,000 600,000
แสดงการคํานวณรายได้ และกําไรขั้นต้นจากการก่อสร้ าง ตามวิธีอตั ราส่ วนของงานที่ทาํ เสร็ จ และการประมาณขั้นความสําเร็ จของงานตามวิธี Cost-to-Cost Method ปี 25X1
ปี 25X2
ปี 25X3
42 ต้นทุนก่อสร้างเกิดขึ้นถึงสิ้ นปี
240,000 ปี 25X1 560,000 800,000
ต้นทุนที่ประมาณว่าจะจ่ายอีกจนงานเสร็ จ ต้นทุนทั้งหมดโดยประมาณ อัตราส่ วนของงานที่ทาํ เสร็ จ สะสมถึงสิ้ นปี = 240,000/800,000 x100 = 30% = 576,000/900,000 x100 = 900,000/900,000 x100 รายได้ค่าก่อสร้างสะสมถึงสิ้ นปี = 1,200,000×30% = 1,200,000×64% = 1,200,000×100% หัก รายได้ที่รับรู้แล้วสะสมถึงสิ้ นปี ก่อน รายได้จากการก่อสร้างในแต่ละปี ต้นทุนค่าก่อสร้างในแต่ละปี กําไรขั้นต้นในแต่ละปี
576,000 ปี 25X2 324,000 900,000
900,000 ปี 25X3 900,000
= 64% = 100%
= 360,000 = 768,000 = 1,200,000 360,000 240,000 120,000
360,000 408,000 336,000 72,000
768,000 432,000 324,000 108,000
แสดงการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับงานก่อสร้างตามสัญญา (หน่วย: บาท) ปี 25X1
ปี 25X2
ปี 25X3
บันทึกต้นทุนเกี่ยวกับงานก่อสร้าง งานระหว่างก่อสร้าง 240,000 วัตถุดิบ ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายก่อสร้าง 240,000
336,000 336,000
324,000 324,000
บันทึกการออกบิลเรี ยกเก็บเงินจากผูว้ า่ จ้าง ลูกหนี้ – ผูว้ า่ จ้าง งานระหว่างก่อสร้างที่ออกบิลแล้ว
480,000 480,000
420,000 420,000
300,000 300,000
43 ปี 25X1
ปี 25X2
ปี 25X3
บันทึกการได้รับเงินสดจากผูว้ า่ จ้าง เงินสด ลูกหนี้ – ผูว้ า่ จ้าง
250,000 250,000
350,000 350,000
600,000 600,000
บันทึกรายได้ ต้นทุน และกําไรขั้นต้น ต้นทุนค่าก่อสร้าง งานระหว่างก่อสร้าง รายได้ค่าก่อสร้าง
240,000 120,000 360,000
336,000 72,000 408,000
324,000 108,000 432,000
-
-
1,200,000 1,200,000
บันทึกการส่ งมอบงานก่อสร้างที่ทาํ เสร็ จ งานระหว่างก่อสร้างที่ออกบิลแล้ว งานระหว่างก่อสร้าง
กรณีที่ 2 เมื่อกิจการไม่ สามารถประมาณผลของงานก่อสร้ างตามสั ญญาได้ อย่างน่ าเชื่อถือ ตัว อย่า ง ในปี 25X1 บริ ษ ัท รั บ ก่ อ สร้ า งอาคารหลัง หนึ่ ง และสิ้ น ปี 25X1 บริ ษ ทั ไม่ สามารถประมาณผลของงานก่อสร้างได้อย่างน่าเชื่ อถือ ต้นทุนค่าก่อสร้างที่เกิดขึ้นในปี นี้ มีจาํ นวน 500,000 บาท แต่ มี ค วามเป็ นไปได้ค่ อนข้า งแน่ ว่า กิ จการจะได้รั บ ต้น ทุ นคื นเพี ย ง 400,000 บาท เท่านั้น การบันทึกงานระหว่างก่อสร้าง ต้นทุนค่าก่อสร้าง รายได้ค่าก่อสร้าง ดังนี้ เดบิต งานระหว่างก่อสร้าง 500,000 เครดิต วัตถุดิบ ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายการก่อสร้าง บันทึกต้นทุนเกี่ยวกับการก่อสร้าง
500,000
เดบิต ต้นทุนค่าก่อสร้าง เครดิต งานระหว่างก่อสร้าง รายได้จากการก่อสร้าง บันทึกรายได้จากการก่อสร้าง และต้นทุนค่าก่อสร้าง
100,000 400,000
500,000
44 กรณีศึกษา: ธุรกิจเกษตร กิจการโคนม (ตาม IAS #41) 1. 1 ม.ค. 25X1 ซื้ อโคนม 2 ตัว อายุ 2 ปี ราคา 1,000 บาท อายุ 3 ปี ราคา 2,000 บาท รวม 3,000 บาท 2. ตลอดปี ใช้อาหารและยาไปในการเลี้ ยงโคนม 1,500 บาท จ่ายค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร 1,000 บาท ค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์ 500 บาท 3. 30 มิ.ย. 25X1 (วันที่เริ่ มผลิตนํ้านม) โคนมอายุ 3.5 ปี ให้น้ าํ นม 200 กก. มีราคามูลค่า ยุติธ รรมของนํ้านม ณ วันที่ ให้ผ ลผลิ ต กก.ละ 3 บาท และมี มู ลค่า ยุติธรรมของโคนมอายุ 3.5 ปี เท่ากับ 4,500 บาท (ราคามูลค่ายุติธรรมหักด้วยประมาณการค่าใช้จ่าย ณ จุดขาย) 4. 31 ส.ค. 25X1 ขายนํ้านม 100 กก. ราคา 500 บาท มีค่าใช้จ่าย ณ จุดขาย 100 บาท 5. 31 ธ.ค. 25X1 (วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน) มูลค่ายุติธรรมหักด้วยประมาณค่าใช้จ่าย ณ จุดขายของโคนมอายุ 2 ปี ราคา 1,200 บาท อายุ 3 ปี ราคา 2,500 บาท อายุ 4 ปี ราคา 4,000 บาท วิธีการบันทึกบัญชี 1. 1 ม.ค. 25X1 (วันที่รับรู ้ ครั้งแรก) ซื้ อโคนม 2 ตัว อายุ 2 ปี ราคา 1,000 บาท อายุ 3 ปี ราคา 2,000 บาท รวม 3,000 บาท เดบิต โคนม เครดิต เงินสด บันทึกซื้ อโคนม
3,000 3,000
2. ตลอดปี ใช้อาหารและยาไปในการเลี้ ยงโคนม 1,500 บาท จ่ายค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร 1,000 บาท ค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์ 500 บาท
45 เดบิต อาหารและยาใช้ไป ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ค่าเสื่ อมราคา-อุปกรณ์ เครดิต อาหารและยา เงินสด ค่าเสื่ อมราคาสะสม-อุปกรณ์ บันทึกค่าใช้จ่ายต่างๆ
1,500 1,000 500 1,500 1,000 500
3. 30 มิ.ย. 25X1 (วันที่เริ่ มผลิตนํ้านม) โคนมอายุ 3.5 ปี ให้น้ าํ นม 200 กก. มีราคามูลค่า ยุติธ รรมของนํ้านม ณ วันที่ ให้ผ ลผลิ ต กก.ละ 3 บาท และมี มู ลค่า ยุติธรรมของโคนมอายุ 3.5 ปี เท่ากับ 4,500 บาท (ราคามูลค่ายุติธรรมหักด้วยประมาณการค่าใช้จ่าย ณ จุดขาย) เดบิต นํ้านม 600 เครดิต รายได้จากมูลค่ายุติธรรมของนํ้านมที่ผลิตได้ บันทึกรายได้จากมูลค่ายุติธรรมของนํ้านมที่ผลิตได้
600
4. 31 ก.ค. 25X1 ขายนํ้านม 100 กก. ราคา 500 บาท มีค่าใช้จ่าย ณ จุดขาย 100 บาท เดบิต เงินสด ค่าใช้จ่ายขายนํ้านม เครดิต ขายนํ้านม บันทึกการขายนํ้านม
400 100
เดบิต รายได้จากมูลค่ายุติธรรมของนํ้านมที่ผลิตได้ เครดิต นํ้านม บันทึกต้นทุนขาย
300
500
300
5. 31 ธ.ค. 25X1 (วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน) มูลค่ายุติธรรมหักด้วยประมาณค่าใช้จ่าย ณ จุดขายของโคนมอายุ 2 ปี ราคา 1,200 บาท อายุ 3 ปี ราคา 2,500 บาท อายุ 4 ปี ราคา 4,000 บาท
46 เดบิต โคนม 3,500 เครดิต กําไรจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรม (ด้านกายภาพ) (อายุ 3 ปี ไป 4 ปี = 4,000-2,500+อายุ 2 ปี ไป 3 ปี = 2,500-1,200) กําไรจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรม (ด้านราคา) (ราคาเพิ่มขึ้นของอายุ 3 ปี = 2,500-2,000 + ของ 2 ปี = 1,200-1,000) บันทึกกําไรจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรม
2,800 700
กรณีศึกษา: ธุรกิจสั ญญาเช่ า ตัวอย่ างที่ 1 บริ ษทั สยามมอเตอร์ จํากัด เป็ นตัวแทนจําหน่ายรถยนต์ วันที่ 1 มกราคม 25X1 ได้ จําหน่ายรถยนต์ในราคาเงินสด คันละ 700,000 บาทราคาทุนคันละ 490,000 บาท บริ ษทั กําหนดให้ ลูกค้าวางเงินเริ่ มแรก 100,000 บาท ส่ วนที่เหลือทําสัญญาเช่าซื้ อ 5 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 10 ต่อปี โดยจ่ายชําระทุกสิ้ นปี (PVIFA 10%, 5 = 3.7908) ในการชําระค่างวดเกินกว่าวันครบกําหนด 7 วัน บริ ษทั ฯ จะคิดค่าปรับล่าช้าในอัตราร้อยละ 12 ต่อปี นับจากวันครบกําหนด ราคาขายรถยนต์เงินสด 700,000.00 หัก เงินวางเริ่ มแรก 100,000.00 คงเหลือเช่าซื้ อ 600,000.00 ชําระค่างวดๆละ (600,000.00 / 3.7908) 158,278.00
47 ตารางที่ 3 แสดงการคํานวณดอกเบี้ยรับและยอดคงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อในแต่ละงวด
ช่องที่ 1 วันครบกําหนด
(1)
ช่องที่ 2 เงินค่างวด
ช่องที่ 3 ดอกเบี้ยรับ
(2)
(3)=(5) x10/100
31 ธันวาคม 25X1 31 ธันวาคม 25X2 31 ธันวาคม 25X3 31 ธันวาคม 25X4 31 ธันวาคม 25X5
ช่องที่ 4 ส่ วนที่นาํ ไปลด ช่องที่ 5 ยอดสุ ทธิของ ยอดสุ ทธิ ของลูกหนี้ ลูกหนี้ตามสัญญา ตามสัญญาเช่าคงเหลือ เช่าการเงิน (เงินต้นคงเหลือ) (เงินต้นที่ชาํ ระ)
158,278.00 60,000.00 158,278.00 50,172.00 158,278.00 39,362.00 158,278.00 27,470.00 158,278.00 14,386.00* 791,390.00 191,390.00 (* ดอกเบี้ยงวดสุ ดท้ายปั ดจาก 14,389.00 เป็ น 14,386.00 )
(4) = (2) – (3) 98,278.00 108,106.00 118,916.00 130,808.00 143,892.00 600,000.00
(5) 600,000.00 501,722.00 393,616.00 274,700.00 143,892.00 -
การบันทึกบัญชี (เป็ นลักษณะการขาย) กรณีที่ 1 กิจการผู้แทนจาหน่ ายรถยนต์ เป็ นผู้ให้ เช่ าซื้อ ข้ อมูลเพิม่ เติม : บริ ษทั ฯ มีค่าใช้จ่ายคือค่าประกันภัยที่จ่ายให้กบั ลูกค้า จํานวน 10,000 บาท 1. บันทึก ณ.วันทําสัญญาและรับเงินวางเริ่ มแรก (เงินดาวน์) 1 ม.ค. 25X1 เดบิต ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อ เงินสด/ธนาคาร เครดิต ขายตามสัญญาเช่าซื้ อ
791,390.00 100,000.00 700,000.00
48 รายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้
191,390.00
2. บันทึกต้นทุนขาย กรณี ที่กิจการใช้ระบบสิ นค้าคงเหลือแบบต่อเนื่ อง (Perpetual inventory system) 1 ม.ค. 25X1 เดบิต ต้นทุนขาย 490,000.00 เครดิต สิ นค้า ( รถยนต์)
490,000.00
3. บันทึกค่าใช้จ่ายเมื่อจ่ายค่าประกันภัย 1 ม.ค. 25X1 เดบิต ค่าประกันภัยตามสัญญาให้เช่าซื้ อ 10,000.00 เครดิต เงินสด / เจ้าหนี้
10,000.00
4. บันทึกเมื่อรับเงินค่างวดแต่ละงวด และบันทึกตัดรายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้ไปสู่ บญั ชี ดอกเบี้ยรับ (ตามตารางที่ 1) 31 ธ.ค.25X1 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาซื้ อ 158,278.00 เดบิต รายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้ 60,000.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ 60,000.00 31 ธ.ค.25X2 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อ เดบิต รายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้ เครดิต ดอกเบี้ยรับ
158,278.00
50,172.00
31ธ.ค.25X3 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อ เดบิต รายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้ 39,362.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ 31ธ.ค.25X4 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อ
50,172.00
158,278.00 39,362.00
158,278.00
49 เดบิต รายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู้ เครดิต ดอกเบี้ยรับ
27,470.00 27,470.00
5. กรณี ที่เงินค่างวดวันที่ 31 ธันวาคม 25X5 ได้รับชําระในวันที่ 10 มกราคม 25X6 การบันทึกบัญชี ณ วันที่ 31 ธ.ค. 25X5 จะบันทึกตัดรายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้ไปสู่ บญั ชีดอกเบี้ยรับ และในวันที่ 1 ม.ค. 25X6 จะการบันทึกรับชําระค่างวดและค่าปรับชําระล่าช้า 31ธ.ค.25X5 เดบิต รายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้ 14,386.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ 14,386.00 10 ม.ค.25X6 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,798.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อ 158,278.00 รายได้ค่าปรับ (158,278.00 * 12/100 * 10/365) 520.00 กรณีที่ 2 บริษัทการเงินเป็ นผู้ให้ เช่ าซื้อ (เป็ นลักษณะการให้ ก้ ยู มื ทางตรง) ข้ อมูลเพิม่ เติม : บริ ษทั ฯ มีค่าใช้จ่ายคือค่าประกันภัยที่จ่ายให้กบั ลูกค้า จํานวน 10,000 บาท และมี ค่าใช้จ่ายค่านายหน้าซึ่ งเกิดขึ้นโดยตรงจากการต่อรองและการทําให้ได้มาซึ่ งข้อตกลงเกี่ยวกับ สัญญาเช่าซื้ อ จํานวน 60,000 บาท ตารางที่ 4 แสดงการคํานวณค่านายหน้าตัดจ่ายตลอดอายุสัญญาเช่า
ช่องที่ 1 วันครบกําหนด
31 ธันวาคม 25X1 31 ธันวาคม 25X2
ช่องที่ 2 ดอกเบี้ยรับ
60,000.00 50,172.00
ช่องที่ 3 สัดส่ วนการรับรู ้ ดอกเบี้ย (ร้อยละ) [(2) / 191,390.00] x 100 31 26
ช่องที่ 4 ค่านายหน้า
18,600.00 15,600.00
ช่องที่ 5 ค่านายหน้ารอ ตัดจ่าย
60,000.00 41,400.00 25,800.00
50 31 ธันวาคม 25X3 31 ธันวาคม 25X4 31 ธันวาคม 25X5
39,362.00 27,470.00 14,386.00 191,390.00
21 14 8 100
12,600.00 8,400.00 4,800.00 60,000.00
13,200.00 4,800.00 -
1. บันทึก ณ วันทําสัญญา ผูเ้ ช่ าซื้ อจ่ายเงิ นดาวน์ให้กบั บริ ษทั ตัวแทนจําหน่ ายรถยนต์ ดังนั้น บริ ษทั การเงินจะบันทึกเฉพาะยอดจัดเช่าซื้ อ 1 ม.ค. 25X1 เดบิต ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อ 791,390.00 เครดิต เจ้าหนี้การค้า 600,000.00 รายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้ 191,390.00 2. บันทึกต้นทุนขาย ไม่มีการบันทึกบัญชีเนื่องจากไม่ได้ประกอบกิจการขายรถยนต์ 3. บันทึกค่าใช้จ่าย 1 ม.ค. 25X1 เดบิต ค่าประกันภัย เครดิต เงินสด / เจ้าหนี้
10,000.00
4. บันทึกค่านายหน้ารอตัดจ่าย 1 ม.ค. 25X1 เดบิต ค่านายหน้ารอตัดจ่าย 60,000.00 เครดิต เงินสด / ค่านายหน้าค้างจ่าย
10,000.00
60,000.00
5. บันทึกเมื่อรับเงิ นค่างวดเช่ าซื้ อแต่ละงวด และบันทึกตัดรายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้ ไปสู่ บญั ชี ดอกเบี้ยรับเมื่อถึงงวดชําระ และบันทึกตัดค่านายหน้ารอตัดจ่ายไปสู่ บญั ชีค่านายหน้า (ตามตารางที่ 2) 31 ธ.ค.25X1 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อ 158,278.00 เดบิต รายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้ 60,000.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ 60,000.00 เดบิต ค่านายหน้า 18,600.00
51 เครดิต ค่านายหน้ารอตัดจ่าย 31 ธ.ค.25X2 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อ เดบิต รายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้ 50,172.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ เดบิต ค่านายหน้า 15,600.00 เครดิต ค่านายหน้ารอตัดจ่าย 31ธ.ค.25X3 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อ เดบิต รายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้ 39,362.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ เดบิต ค่านายหน้า เครดิต ค่านายหน้ารอตัดจ่าย
18,600.00 158,278.00 50,172.00 15,600.00
158,278.00 39,362.00
12,600.00
31ธ.ค.25X4 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อ เดบิต รายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้ 27,470.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ เดบิต ค่านายหน้า 8,400.00 เครดิต ค่านายหน้ารอตัดจ่าย
12,600.00
158,278.00 27,470.00 8,400.00
6. กรณี ที่เงินค่างวดวันที่ 31 ธันวาคม 25X5 ได้รับชําระในวันที่ 10 มกราคม 25X6 การบันทึกบัญชี ณ วันที่ 31 ธ.ค. 25X5 จะบันทึกตัดรายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้ไปสู่ บญั ชีดอกเบี้ยรับ และในวันที่ 1 ม.ค. 25X6 จะการบันทึกรับชําระค่างวดและค่าปรับชําระล่าช้า 31ธ.ค.25X5 เดบิต รายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู ้ 14,386.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ 14,386.00 เดบิต ค่านายหน้า 4,800.00 เครดิต ค่านายหน้ารอตัดจ่าย 4,800.00
52 10 ม.ค.25X6 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,798.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อ 158,278.00 รายได้ค่าปรับ (158,278.00 * 12% * 10/365) 520.00 การคานวณดอกเบีย้ ทีเ่ กิดจากการให้ เช่ าซื้อ การคํานวณดอกเบี้ยรับจะใช้ตารางเงินรายปี (Annuity) ในการคํานวณจํานวนเงินงวดที่ตอ้ ง ชําระในแต่ละงวด การคํานวณมีหลักเกณฑ์ ดังนี้ (1) คํานวณหาเงินค่างวดในแต่ละงวด เงินค่างวด = เงินต้นยอดเช่าซื้ อ / มูลค่าปั จจุบนั ของเงินรายงวด จากตารางเงินรายปี (PVIFA) (2) คํานวณดอกเบี้ยรับในแต่ละงวด ดอกเบี้ยรับ = อัตราดอกเบี้ย X เงินต้นคงค้าง ณ ต้นงวดของแต่ละงวด (3) คํานวณเงินต้นที่ชาํ ระในแต่ละงวด เงินต้นที่ ชําระสําหรับงวด = เงินค่างวด – ดอกเบี้ยจ่ายสําหรับงวด (4) คํานวณเงินต้นคงเหลือในวันสิ้ นงวด เงินต้นคงเหลือ = เงินต้นคงค้าง ณ ต้นงวด – เงินต้นที่ชาํ ระสําหรับงวด ตัวอย่างที่ 2 ใช้ขอ้ มูลจากตัวอย่างที่ 1 บริ ษทั สยามมอเตอร์ จํากัด เป็ นตัวแทนจําหน่ายรถยนต์ วันที่ 1 มกราคม 25X1 ได้จาํ หน่ายรถยนต์ในราคาเงินสด คันละ 700,000 บาทราคาทุนคันละ 490,000 บาท บริ ษทั กําหนดให้ลูกค้าวางเงินเริ่ มแรก 100,000 บาท ส่ วนที่เหลือทําสัญญาเช่าซื้ อ 5 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 10 ต่อปี โดยจ่ายชําระทุกสิ้ นปี (PVIFA 10%, 5 = 3.7908)
53 ตารางที่ 5 แสดงการคํานวณดอกเบี้ยรับและยอดคงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อ
ช่องที่ 1 วันครบกําหนด
ช่องที่ 2 เงินค่างวด
ช่องที่ 3 ชําระดอกเบี้ย
(1)
(2)
(3)=(5) x10/100
31 ธันวาคม 25X1 31 ธันวาคม 25X2 31 ธันวาคม 25X3 31 ธันวาคม 25X4 31 ธันวาคม 25X5
158,278.00 158,278.00 158,278.00 158,278.00 158,278.00 791,390.00
60,000.00 50,172.00 39,362.00 27,470.00 14,386.00 191,390.00
ช่องที่ 4 ช่องที่ 5 ส่ วนที่นาํ ไปลดยอด ยอดสุ ทธิของ สุ ทธิ ของลูกหนี้ตาม ลูกหนี้ตามสัญญา สัญญาเช่าการเงิน เช่าคงเหลือ (เงินต้นที่ชาํ ระ) (เงินต้นคงเหลือ) (4) = (2) – (3) (5) 600,000.00 98,278.00 501,722.00 108,106.00 393,616.00 118,916.00 274,700.00 130,808.00 143,892.00 143,892.00 600,000.00
คาอธิบายประกอบตารางที่ 3 ช่องที่ 1 กําหนดเวลา ช่องที่ 2
เงินค่างวดที่ลูกค้าต้องจ่ายในแต่ละงวด = 600,000.00 / 3.7908 = 158,278.00 บาท 3.7908 คือค่าปั จจัยส่ วนลดที่ตอ้ งเปิ ดตารางปั จจัยดอกเบี้ยมูลค่าปั จจุบนั ของเงิ นรายงวด (PVIFA) เมื่ออัตราส่ วนลดเท่ากับร้อยละ 10 จํานวน 5 ปี (ตามตารางที่ 9)
ช่องที่ 3 คํานวณโดยใช้อตั ราดอกเบี้ยร้อยละ10 คูณกับช่องที่ 5 เงินต้นคงเหลือ จะได้จาํ นวนเงิน ดอกเบี้ยจ่ายชําระในแต่ละงวด ช่องที่ 4 เอาจํานวนเงินงวดในช่องที่ 2 หักด้วย ดอกเบี้ยจ่ายชําระในแต่ละงวดในช่องที่ 3 ผลลัพธ์ คือ จํานวนเงินชําระเงินต้น
54 ช่องที่ 5
เอาจํานวนเงินต้นคงเหลืองวดก่อนหักด้วยจํานวนเงินชําระเงินต้นช่องที่ 4 จะได้ยอด เงิ นต้น คงเหลื อส่ วนจํานวนเงิ นดอกเบี้ยในงวดสุ ดท้ายได้จากผลต่างระหว่างเงินงวดกับ เงินต้นค้างชําระ
ตารางที่ 6 ตารางปั จจัยดอกเบี้ยมูลค่าปั จจุบนั ของเงินรายงวด (FVIFA) งวดที่ / ร้อยละ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
1
2
3
4
5
0.990 1 1.970 4 2.941 0 3.902 0 4.853 4 5.795 5 6.728 2 7.651 7 8.566 0 9.471 3
0.980 4 1.941 6 2.883 9 3.807 7 4.713 5 5.601 4 6.472 0 7.325 5 8.162 2 8.982 6
0.970 9 1.913 5 2.828 6 3.717 1 4.579 7 5.417 2 6.230 3 7.019 7 7.786 1 8.530 2
0.9615
0.952 4 1.859 4 2.723 2 3.546 0 4.329 5 5.073 7 5.786 4 6.463 2 7.107 8 7.721 7
1.8861 2.7751 3.6299 4.4518 5.2421 6.0021 6.7327 7.4353 8.1109
6
7
8
9
10
0.9434 0.9346 0.9259 0.9174 0.9091 1.8334 1.8080 1.7833 1.7591 1.7355 2.6760 2.6243 2.5771 2.5313 2.4869 3.4651 3.3872 3.3121 3.2397 3.1699 4.2124 4.1002 3.9927 3.8897 3.7908 4.9173 4.7665 4.6229 4.4859 4.3553 5.5824 5.3893 5.2064 5.0330 4.8684 6.2098 5.9713 5.7466 5.5348 5.3349 6.8017 6.5152 6.5152 5.9952 5.7590 7.3601 7.0236 7.0236 6.4177 6.1446
55 การจัดชั้ นลูกหนี้และการกันเงินสารอง การจัดชั้นลูกหนี้และการกันเงินสํารองตามแนวทางของสมาคมธุ รกิจเช่าซื้ อไทยนั้น ทําเพื่อ สะท้อนภาพผลการประกอธุ รกิ จที่แท้จริ งผูป้ ระกอบกิ จการให้เช่ าซื้ อจะต้องกันเงิ นสํารองไว้เป็ น ค่าเผือ่ หนี้สูญหรื อหนี้สงสัยจะสู ญ สําหรับลูกหนี้จดั ชั้นทุกประเภทแยกเป็ นรายสัญญาโดยใช้ลูกหนี้ ตามสัญญาเช่ าซื้ อคงเหลื อ หักด้วยรายได้ดอกเบี้ ยรอการรั บ รู ้ และหลักประกันเป็ นฐานในการ คํานวณเงินสํารอง วิธีการคํานวณจะแตกต่างกันออกไปแล้วแต่นโยบายของแต่ละบริ ษทั ตารางที่ 7 แสดงหลักเกณฑ์การจัดชั้นลูกหนี้ ตามแนวทางของสมาคมธุ รกิจเช่าซื้ อไทย ลูกหนี้จดั ชั้น ปกติ
กล่าวถึงเป็ นพิเศษ ตํ่ากว่ามาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสู ญ
หมายถึง ลูกหนี้ ที่ไม่ผิดนัดชําระหนี้ และลู กหนี้ คา้ งชําระไม่เกิ น 1 เดื อนที่ไม่มี สัญญาณใดๆแสดงว่าจะมีการผิดนัดชําระหนี้ อนั จะเป็ นเหตุให้บริ ษทั ได้รับ ความเสี ยหาย ลูกหนี้คา้ งชําระเกินกว่า 1 เดือน ลูกหนี้คา้ งชําระเกินกว่า 3 เดือน ลูกหนี้คา้ งชําระเกินกว่า 6 เดือน ลูกหนี้คา้ งชําระเกินกว่า 12 เดือนขึ้นไป
การกันเงินสํารองสําหรับลูกหนี้ จดั ชั้นทุกประเภท เว้นแต่ลูกหนี้ จดั ชั้นสงสัยและลูกหนี้ จดั ชั้นสงสัยจะสู ญ ให้นาํ หลักประกันมาหักออกจากราคาตามบัญชี ของลูกหนี้ ก่อนกันเงินสํารองโดย มูลค่าหลักประกันที่จะนํามาหักได้จะต้องไม่สูงเกินกว่ายอดเงินต้นคงเหลือ (ไม่รวมรายได้ดอกเบี้ย รอการรับรู้) โดยให้บริ ษทั กันเงินสํารอง ลูกหนี้จดั ชั้นในอัตรา ดังต่อไปนี้
56 ตารางที่ 8 เช่าซื้ อไทย
แสดงอัตราร้อยละการกันเงินสํารองตามลูกหนี้ จดั ชั้นตามแนวทางของสมาคมธุ รกิ จ
ลูกหนี้จดั ชั้น การกันเงินสํารอง (อัตราร้อยละ) ปกติ 1 ของยอดลูกหนี้ ตามสัญญาคงเหลือ หลังหักมูลค่าหลักประกัน กล่าวถึงเป็ นพิเศษ 2 ของยอดลูกหนี้ ตามสัญญาคงเหลือ หลังหักมูลค่าหลักประกัน ตํ่ากว่ามาตรฐาน 20 ของยอดลูกหนี้ ตามสัญญาคงเหลือ หลังหักมูลค่าหลักประกัน สงสัย 50 ของยอดลูกหนี้ ตามสัญญาคงเหลือ หมายเหตุ : ยอดลูกหนี้ตามสัญญาคงเหลือ = ยอดลูกหนี้ คงเหลือตามบัญชี หัก รายได้ดอกเบี้ย รอการรับรู้ สําหรับกลุ่มลูกหนี้จดั ชั้นสงสัยและจัดชั้นสงสัยจะสู ญ หากบริ ษทั ให้เช่าซื้ อสามารถรับหรื อ บังคับโอนชําระหนี้ ด้วยสิ นทรัพย์อื่นจากผูเ้ ช่ าซื้ อหรื อผูค้ ้ าํ ประกันได้ ให้บริ ษทั ให้เช่ าซื้ อกันเงิ น สํารองจากส่ วนต่างของยอดเงินต้นคงเหลือ หลังหักมูลค่าสิ นทรัพย์อื่นที่รับหรื อบังคับโอนชําระหนี้ นั้นทั้งนี้ ราคาสิ นทรัพย์อื่นที่รับหรื อบังคับโอนชําระหนี้ ให้ใช้มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่รับ โอนมา ซึ่ งได้แก่ ราคาประเมินของเจ้าพนักงานบังคับคดี หรื อราคาประเมินของทางราชการ ใน กรณี ที่สินทรัพย์น้ นั อยูร่ ะหว่างการประกาศขายทอดตลาด หรื อราคาที่ประเมินโดยผูป้ ระเมินอิสระ หลักประกันที่จะนํามาหักออกจากราคาตามบัญชี ของลูกหนี้ ก่อนกันเงินสํารอง จะต้องมี มูลค่าไม่สูงเกิ นกว่ายอดเงิ นต้นคงค้างไม่ รวมดอกเบี้ ยรอตัดบัญชี โดยให้ใช้หลักเกณฑ์ในการ คํานวณดังนี้ 1. หลักประกันที่เป็ นเงินสด สิ ทธิ ในตัว๋ สัญญาใช้เงิน หรื อบัตรเงินฝากเงินสดที่ลูกหนี้ ได้ นํามาวางคํ้าประกันสัญญาเช่าซื้ อ ให้นาํ มาหักได้ร้อยละ 100 2. หลักประกันซึ่ งเป็ นรถยนต์ที่ให้เช่าซื้ อ ให้ใช้มูลค่าตามราคายุติธรรมของรถยนต์ดงั กล่าว ณ วันสิ้ นงวดปิ ดงบบัญชี ของผูใ้ ห้เช่ าซื้ อ หรื อใช้ราคาเงิ นสดของรถยนต์ที่ให้เช่าซื้ อ ณ วันที่ทาํ สัญญาหักด้วยค่าเสื่ อมราคาของ รถยนต์ดงั กล่าว โดยคํานวณตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
57 ตารางที่ 9 แสดงมูลค่าหลักประกันที่จะนํามาหักออกจากราคาตามบัญชี ของลูกหนี้ ก่อนกันเงิ น สํารองตามแนวทางของสมาคมธุ รกิจเช่าซื้ อไทย ระยะเวลานับจากวันทําสัญญา ไม่เกิน 1 ปี ไม่เกิน 2 ปี ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 4 ปี ระยะเวลานับจากวันทําสัญญา ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 6 ปี ระยะเวลานับจากวันทําสัญญา เกินกว่า 6 ปี ขึ้นไป
มูลค่าหลักประกันที่จะนํามาหัก ราคาเงินสดของรถยนต์ ณ วันที่ทาํ สัญญาเช่าซื้ อ หักด้วย ค่าเสื่ อมราคาอัตราร้อยละ 25 ราคาเงินสดของรถยนต์ ณ วันที่ทาํ สัญญาเช่าซื้ อ หักด้วย ค่าเสื่ อมราคาอัตราร้อยละ 35 ราคาเงินสดของรถยนต์ ณ วันที่ทาํ สัญญาเช่าซื้ อ หักด้วย ค่าเสื่ อมราคาอัตราร้อยละ 45 ราคาเงินสดของรถยนต์ ณ วันที่ทาํ สัญญาเช่าซื้ อ หักด้วย ค่าเสื่ อมราคาอัตราร้อยละ 55 มูลค่าหลักประกันที่จะนํามาหัก ราคาเงินสดของรถยนต์ ณ วันที่ทาํ สัญญาเช่าซื้ อ หักด้วย ค่าเสื่ อมราคาอัตราร้อยละ 65 ราคาเงินสดของรถยนต์ ณ วันที่ทาํ สัญญาเช่าซื้ อ หักด้วย ค่าเสื่ อมราคาอัตราร้อยละ 75 มูลค่าหลักประกันที่จะนํามาหัก ราคาเงินสดของรถยนต์ ณ วันที่ทาํ สัญญาเช่าซื้ อ หักด้วย ค่าเสื่ อมราคาอัตราร้อยละ 85
การประมาณการหนีส้ ิ น หนี้สินทีอ่ าจเกิดขึน้ และสิ นทรัพย์ทอี่ าจเกิดขึน้ การรับรู้ และแสดงรายการ การรั บ รู ้ ร ายการประมาณการหนี้ สิ น ในงบแสดงฐานะการเงิ น นั้น ต้อ งประมาณการ โดยประมาณมูลค่าจากรายจ่ายที่ตอ้ งนําไปจ่ายชําระภาระผูกพันในปั จจุบนั ที่ปรากฏในวันที่ของงบ แสดงฐานะการเงิน ซึ่ งในการประมาณการนั้นต้องคํานึ งว่ามีจาํ นวนไม่แน่นอน ดังนั้นอาจใช้ความ น่ า จะเป็ นมาเป็ นปั จจัย หนึ่ งในการคํานวณประมาณการหนี้ สิ น เรี ย กว่า “มู ลค่ าที่ คาดว่า จะเกิ ด” (Expected Value)
58 หนี้ สินที่ อาจเกิ ดขึ้นและสิ นทรั พย์ที่อาจเกิ ดขึ้ นนั้นต้องไม่รับรู ้ ในงบแสดงฐานะการเงิ น เพียงแต่เปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินเมื่อความเป็ นไปได้ที่กิจการจะได้รับประโยชน์เชิง เศรษฐกิ จ หรื อเสี ย ประโยชน์ เชิ ง เศรษฐกิ จในอนาคตอยู่ใ นระดับ แน่ นอน นอกจากนี้ ต้องมี ก าร ประเมินสถานการณ์เกี่ยวกับสิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้นและหนี้ สินที่อาจเกิ ดขึ้นอยูเ่ สมอเมื่อใดที่ระดับ ความแน่ นอนเพิ่มขึ้นจะถึ งระดับเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ แล้วต้องรับรู ้ เป็ นประมาณการหนี้ สินหรื อ หนี้สินที่แน่นอนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง (สําหรับหนี้ สินที่อาจเกิดขึ้น) และรับรู้เป็ นสิ นทรัพย์และ รายได้ที่เกี่ยวข้อง (สําหรับสิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น) การเปลีย่ นแปลงประมาณการหนีส้ ิ น กิ จการต้องทบทวนประมาณการหนี้ สิน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานและปรับปรุ ง ประมาณการหนี้สิน และกิจการต้องกลับบัญชีประมาณการหนี้สินหากไม่มีความน่าจะเป็ นที่กิจการ จะสู ญเสี ย ทรั พ ยากรที่ มีป ระโยชน์ เชิ งเศรษฐกิ จ การรั บรู ้ ประมาณการหนี้ สินในงบแสดงฐานะ การเงินนั้นต้องพิจารณาการด้อยค่าสิ นทรัพย์ดว้ ย หากสิ นทรัพย์มีขอ้ บ่งชี้ วา่ จะเกิ ดการด้อยค่า และ ปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 เรื่ องการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ สั ญญาทีส่ ร้ างภาระ สัญญาที่ ก่อให้เกิ ดต้นทุ นที่ไม่อาจหลี กเลี่ ยงได้จากการปฏิ บตั ิตามภาระผูกพันในสัญญา โดยการลงทุนดังกล่าวนั้นมีจาํ นวนสู งกว่าประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจที่คาดว่าจะได้รับจากสัญญานั้น ต้องรับรู ้ภาระผูกพันในปั จจุบนั ที่เกิดจากสัญญาที่สร้างเป็ นภาระ เป็ นประมาณการหนี้ สิน และต้อง วัดมูลค่าภาระผูกพันเป็ นประเภทเดียวกับประมาณการหนี้สิน การปรับโครงสร้ าง การปรับโครงสร้างจะต้องปฏิบตั ิตามข้อกําหนดทุกข้อ ดังต่อไปนี้ 1. กิ จการมี แผนการปรั บ โครงสร้ า งตามข้อกํา หนดของมาตรฐานการบัญชี ฉ บับ ที่ 37 (ปรับปรุ ง 2552)
59 2. กิ จการทําให้ผูถ้ ู กกระทบจากแผนการปรั บโครงสร้ างเกิ ดความคาดหมายอย่างมี มูล ความจริ งว่ากิจการจะดําเนินการปรับโครงสร้าง โดยเริ่ มปฏิบตั ิตามแผนการปรับโครงสร้างหรื อการ ประกาศให้ทราบ การเปิ ดเผยข้ อมูล 1. กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูลสําหรับประมาณการหนี้สินแต่ละประเภท 2. กิจการไม่จาํ เป็ นต้องแสดงข้อมูลเปรี ยบเทียบ 3. กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูลสําหรับประมาณการหนี้สินแต่ละประเภท 4. กิ จการต้องให้คาํ อธิ บ ายโดยสัง เขปเกี่ ย วกับลัก ษณะของหนี้ สิ นที่ อาจเกิ ดขึ้ นแต่ ล ะ ประเภท ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน เว้นแต่ความน่ าจะเป็ นที่กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรเพื่อ ชําระหนี้สินนั้นอยูใ่ นระดับไม่น่าเป็ นไปได้ กรณีศึกษา: บริษัท สื่ อสาร จากัด (มหาชน) ประมาณการหนีส้ ิ น ในการขายสิ นค้า กิ จ การผูข้ ายอาจมี ก ารรั บ ประกัน คุ ณ ภาพสิ น ค้า เช่ น การบริ ก ารซ่ อ ม ภายหลังการขายในเวลา 1 ปี โดยไม่เสี ยค่าใช้จ่าย หรื อหากไม่พอใจยินดี คืนเงิ นให้ เป็ นต้น การ รั บประกันนี้ ทาํ ให้กิจการเกิ ดค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่ งยัง มี ความแน่ นอนเกี่ ยวกับจํา นวนหรื อเวลา อย่างไรก็ตาม ภาระผูกพันของกิ จการได้เกิ ดขึ้นแล้ว ณ เวลาที่กิจการขายสิ นค้า ดังนั้น หากกิ จการ สามารถประมาณจํานวนเงิ นที่คาดว่าจะเกิ ดขึ้นได้อย่างสมเหตุสมผล กิ จการจะต้องรับรู ้ รายการนี้ เป็ นหนี้สินในงบดุลทันทีในงวดที่มีการขาย ซึ่ งจะทําให้เกิดการจับคู่ระหว่างรายได้จากการขายและ ค่า ใช้จ่ายในการรั บ ประกันคุ ณภาพที่ เกิ ดขึ้ นในระหว่า งงวด การกําหนดมู ล ค่า ของหนี้ สิ นอย่า ง สมเหตุ ส มผลในกรณี น้ ี คื อ การประมาณจํา นวนต้น ทุ น ที่ ค าดว่ า จะเกิ ด ภายหลัง การขายอัน เนื่องมาจากการซ่อมแซมภายใต้สัญญารับประกัน การบันทึกบัญชีทาํ ได้ 2 กรณี ดังนี้
60 1. วิธีเงินสด ตามวิธีเงิ นสดต้นทุ นในการรั บประกันคุ ณภาพสิ นค้าจะถู กบันทึ กเป็ นค่าใช้จ่ายเมื่ อ รายการเกิ ดขึ้ นจริ ง นั่นก็คือเมื่ อลูกค้านําสิ นค้ามาซ่ อมตามสัญญารับประกัน ซึ่ งจะทําให้ไม่มีการ บันทึกต้นทุนในการรับประกันคุ ณภาพที่จะเกิ ดขึ้นในอนาคตเป็ นหนี้ สินในงวดที่มีการขายสิ นค้า วิธีน้ ีจะใช้เมื่อความน่าจะเป็ นที่หนี้สินจะเกิดขึ้นไม่ถึงระดับเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่หรื อไม่คาดว่าจะมี หนี้ สิ น จากการรั บ ประกัน คุ ณ ภาพสิ น ค้า หรื อ ไม่ ส ามารถประมาณจํา นวนของหนี้ สิ น จากการ รับประกันได้อย่างสมเหตุสมผล หรื อเมื่ อจํานวนต้นทุ นในการรั บประกันคุ ณภาพไม่มีนัยสําคัญ หรื อระยะเวลาในการให้การรับประกันค่อนข้างสั้น ตัวอย่ าง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2554 บริ ษทั สื่ อสาร จํากัด ขายโทรศัพท์มือถือจีเน็ทไป 60 เครื่ องใน ราคาเครื่ องละ 5,000 บาท บริ ษทั รั บประกันคุ ณภาพ 1 ปี และบริ ษทั ได้ใช้ประสบการณ์ ในอดี ต ประมาณค่ า ใช้ จ่ า ยจากการรั บ ประกัน ว่ า มี ค่ า ใช้ จ่ า ยเครื่ องละ 500 บาทในปี 2554 ลู ก ค้า นํา โทรศัพท์มือถือจีเน็ทมาซ่อม บริ ษทั เสี ยค่าใช้จ่ายไป 10,000 บาท การบันทึกบัญชี 2554 ม.ค. - ธ.ค. เดบิต เงินสด/ลูกหนี้การค้า 300,000 เครดิต ขายโทรศัพท์มือถือ บันทึกการขายโทรศัพท์มือถือ เดบิต ค่าใช้จ่ายจากการรับประกันสิ นค้า 10,000 เครดิต เงินสด/อะไหล่/ค่าแรงค้างจ่าย ลูกค้านําสิ นค้ามาซ่อมภายใต้สัญญารับประกันคุณภาพสิ นค้า
300,000
10,000
61 การแสดงรายการในงบการเงิน บริษัท สื่ อสาร จากัด งบกาไรขาดทุน สาหรับปี สิ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 หน่ วย : บาท 300,000 x,xxx,xxx
ขาย ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการดําเนิ นงาน : ค่าใช้จ่ายในการขาย : ค่าใช้จ่ายจากการรับประกันสิ นค้า
10,000
2. วิธีคงค้ าง (Accrual Method) กิจการจะต้องบันทึกค่าใช้จ่ายการรับประกันสิ นค้าในปี ที่มีการขายสิ นค้า แบ่งออกเป็ น 2 วิธี 2.1 บันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายทั้งจํานวน (Expense Warranty Approach) วิธีน้ ี เป็ นไปตาม หลักการบัญชี ที่รับรองโดยทัว่ ไป โดยการบันทึกค่าใช้จ่ายจากการรับประกันสิ นค้าเป็ นค่าใช้จ่าย และหนี้สินทั้งจํานวนในปี ที่มีการขายสิ นค้า วิธีน้ ีใช้เมื่อการรับประกันสิ นค้าเป็ นส่ วน ตัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 บริ ษทั สื่ อสาร จํากัด ขายโทรศัพท์มือถือซัมซุ งไป 100 เครื่ อง ในราคาเครื่ องละ 20,000 บาท บริ ษทั รับประกันคุณภาพ 1 ปี และบริ ษทั ได้ใช้ประสบการณ์ในอดีต ประมาณค่าใช้จ่ายจากการรับประกันว่ามีค่าใช้จ่ายเครื่ องละ 2,000 บาท ในปี 2554 และ 2555 ลูกค้า นําโทรศัพท์มือถือซัมซุ งมาซ่อม บริ ษทั เสี ยค่าใช้จ่ายไป 40,000 บาท และ160,000 บาท ตามลําดับ การบันทึกบัญชี 2554 ม.ค. - ธ.ค. เดบิต เงินสด/ลูกหนี้การค้า เครดิต ขายสิ นค้า ขายโทรศัพท์มือถือ
2,000,000 2,000,000
62 เดบิต ค่าใช้จ่ายจากการรับประกันสิ นค้า 40,000 เครดิต เงินสด/อะไหล่/ค่าแรงค้างจ่าย ลูกค้านําสิ นค้ามาซ่อมภายใต้สัญญารับประกันคุณภาพสิ นค้า เดบิต ค่าใช้จ่ายจากการรับประกันสิ นค้า 160,000 เครดิต ประมาณการหนี้ค่ารับประกันสิ นค้า ปรับปรุ งประมาณการหนี้สิน
40,000
160,000
ในปี ต่อมาลูกค้านําโทรศัพท์มือถื อซัมซุ งมาซ่ อมในวันที่ 31 มีนาคม 2555 บริ ษทั จะบันทึก บัญชีดงั นี้ การบันทึกบัญชี 2555 มี.ค. 31 เดบิต ประมาณการหนี้ค่ารับประกันสิ นค้า 160,000 เครดิต เงินสด/อะไหล่/ค่าแรงค้างจ่าย ลูกค้านําสิ นค้ามาซ่อมภายใต้สัญญารับประกันคุณภาพสิ นค้า
160,000
การแสดงรายการในงบการเงิน บริษัท สื่ อสาร จากัด งบกาไรขาดทุน สาหรับปี สิ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ขาย ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการดําเนิ นงาน : ค่าใช้จ่ายในการขาย : ค่าใช้จ่ายจากการรับประกันสิ นค้า
หน่ วย : บาท 2,000,000 x,xxx,xxx
200,000
63 บริษัท สื่ อสาร จากัด งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31ธันวาคม 2554 หน่ วย : บาท หนีส้ ิ นหมุนเวียน ประมาณการหนี้สินค่ารับประกันสิ นค้า
160,000
อย่างไรก็ตามบริ ษทั อาจจะบันทึกค่าใช้จ่ายจากการรับประกันสิ นค้าและประมาณการหนี้ ค่า รับประกันสิ นค้าทั้งจํานวนทันทีที่มีการขายสิ นค้าเกิ ดขึ้ นก็ได้ และเมื่ อลู กค้านําสิ นค้ามาซ่ อมให้ บันทึกบัญชีโดยลดยอดประมาณการหนี้ค่ารับประกันสิ นค้า ดังนี้ การบันทึกบัญชี 2554 ม.ค. - ธ.ค. เดบิต เงินสด/ลูกหนี้การค้า 2,000,000 เครดิต ขายสิ นค้า ขายโทรศัพท์มือถือ เดบิต ค่าใช้จ่ายจากการรับประกันสิ นค้า 200,000 เครดิต ประมาณการหนี้ค่ารับประกันสิ นค้า บันทึกประมาณการหนี้สิน เดบิต ประมาณการหนี้ค่ารับประกันสิ นค้า 40,000 เครดิต เงินสด/อะไหล่/ค่าแรงค้างจ่าย ลูกค้านําสิ นค้ามาซ่อมภายใต้สัญญารับประกันคุณภาพสิ นค้า
2,000,000
200,000
40,000
ในปี ต่อมาลูกค้านําโทรศัพท์มือถื อซัมซุ งมาซ่ อมในวันที่ 31 มีนาคม 2555 บริ ษทั จะบันทึก บัญชีดงั นี้
64
การบันทึกบัญชี 2555 มี.ค. 31 เดบิต ประมาณการหนี้ค่ารับประกันสิ นค้า 160,000 เครดิต เงินสด/อะไหล่/ค่าแรงค้างจ่าย ลูกค้านําสิ นค้ามาซ่อมภายใต้สัญญารับประกันคุณภาพสิ นค้า
160,000
การแสดงรายการในงบการเงิน บริษัท สื่ อสาร จากัด งบกาไรขาดทุน สาหรับปี สิ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ขาย ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการดําเนิ นงาน : ค่าใช้จ่ายในการขาย : ค่าใช้จ่ายจากการรับประกันสิ นค้า
หน่ วย : บาท 2,000,000 x,xxx,xxx
200,000
บริษัท สื่ อสาร จากัด งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31ธันวาคม 2554 หน่ วย : บาท หนีส้ ิ นหมุนเวียน ประมาณการหนี้สินค่ารับประกันสิ นค้า
160,000
2.2 บันทึกเป็ นการขายบริ การรั บประกัน (Sales Warranty Approach) วิธีน้ ี ใช้เมื่ อ กิจการขายบริ การการรับประกันสิ นค้าแยกต่างหากจากการขายสิ นค้า
65 ตัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2554 บริ ษทั สื่ อสาร จํากัด ขายโทรศัพท์มือถือ iPhone ในราคาเครื่ อง ละ 30,000 บาท จํานวน 2 เครื่ อง รับประกันคุณภาพ 2 ปี และถ้าลูกค้าต้องการให้บริ การรับประกัน ต่ออีก 1 ปี จะต้องจ่ายเพิ่ม 2,000 บาท (วิธีคงค้างโดยบันทึกเป็ นรายได้การรับประกัน) การบันทึกบัญชี 2554 ม.ค. 1 เดบิต เงินสด เครดิต
32,000
ขายสิ นค้า รายได้จากการขายบริ การรับประกันรอตัดบัญชี บันทึกขายสิ นค้าและขายบริ การรับประกัน
30,000 2,000
การแสดงรายการในงบการเงิน บริษัท สื่ อสาร จากัด งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31ธันวาคม 2554 หน่ วย : บาท หนีส้ ิ นหมุนเวียน ประมาณการหนี้สินค่ารับประกันสิ นค้า 2,000 รายได้จากการขายบริ การรับประกันรอตัดบัญชี จะรับรู ้เป็ นรายได้ในปี ที่ 3 และ ปี ที่ 4 (ใช้วิธี เส้นตรง) ดังนี้ 2556 ม.ค. 31 เดบิต รายได้จากการขายบริ การรับประกันรอตัดบัญชี เครดิต รายได้จากการขายบริ การรับประกัน บันทึกรายได้
1,000 1,000
66 หนีส้ ิ นทีอ่ าจเกิดขึน้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 เรื่ องประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่อาจเกิดขึ้นและสิ นทรัพย์ ที่อาจเกิดขึ้น ได้ให้ความหมายของหนี้ สินที่อาจเกิดขึ้นไว้วา่ “หนี้ สินที่อาจเกิดขึ้น หมายถึง รายการ ข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ 1. ภาระผูกพันที่อาจมีอยูอ่ นั เนื่ องมาจากเหตุการณ์ในอดีต แต่การจะทราบว่าภาระผูกพัน ดังกล่าวมีอยูจ่ ริ งหรื อไม่น้ นั ต้องได้รับการยืนยันจากเหตุการณ์อย่างน้อยหนึ่งเหตุการณ์ในอนาคตซึ่ ง ยังไม่มีความแน่นอนว่าจะเกิดขึ้นหรื อไม่เกิ ดขึ้น โดยเหตุการณ์ดงั กล่าวต้องไม่อยูใ่ นความควบคุ ม ทั้งหมดของกิจการ 2. ภาระผูกพันในปั จจุบนั ซึ่ งเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ในอดี ต แต่ไม่สามารถรับรู ้ เป็ นหนี้ สิน ได้เนื่องจากเป็ นไปตามข้อใดข้อหนึ่ง 2.1 ไม่มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ที่กิจการจะสู ญเสี ยทรั พยากรที่ มีประโยชน์เชิ ง เศรษฐกิจเพื่อจ่ายชําระภาระผูกพัน 2.2 จํานวนของภาระผูกพันไม่สามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือเพียงพอ ในทางปฏิบตั ิความน่าจะเป็ นสําหรับระดับความเป็ นไปได้อย่างแน่นอนและระดับที่ไม่น่า เป็ นไปได้อาจแตกต่างไปจากแนวทางทัว่ ไปดังกล่าว 1. คดีความที่อยูร่ ะหว่างการพิจารณา 2. การคํ้าประกันโดยการสลักกลังเอกสารทางการเงิน เช่น ตัว๋ เงินรับขายลด 3. การคํ้าประกันเงินกู้ ดังนั้นกิจการต้องไม่รับรู ้หนี้ สินที่อาจเกิดขึ้นในงบแสดงฐานะการเงิน แต่ตอ้ งเปิ ดเผยข้อมูล เกี่ยวกับลักษณะของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นแต่ละประเภท ได้แก่
67 1. ประมาณการของผลกระทบทางการเงิน 2. สิ่ งที่บ่งชี้บอกความไม่แน่นอนเกี่ยวกับจํานวนหรื อจังหวะเวลาของการสู ญเสี ย ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ 3. ความน่าจะเป็ นที่จะได้รับชดเชย อย่างไรก็ตาม หากความน่าจะเป็ นที่กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรที่ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจอยู่ ในระดับไม่น่าเป็ นไปได้ กิจการไม่ตอ้ งรับรู ้และไม่ตอ้ งเปิ ดเผยข้อมูล คดีฟ้องร้ องการละเมิดลิขสิ ทธิ์ ตัวอย่าง ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2551 บริ ษทั มือถือ จํากัด เป็ นโจทย์ยื่นฟ้ องบริ ษทั สื่ อสาร จํากัด ซึ่ ง เป็ นลูกค้าของบริ ษทั ฯ (จําเลยที่ 1) และบริ ษทั ฯ (จําเลยที่ 2) ในข้อหาละเมิดเนื่องจากเหตุการณ์นาํ ของมาจําหน่ายซํ้ากัน คําไต่สวนพิพากษา ในวันที่30 เมษายน 2553อย่างไรก็ตามทนายความของ บริ ษทั เชื่ อว่าศาลน่ าจะมีคาํ พิพากษายกฟ้ องเนื่ องจากเหตุ การณ์ ดงั กล่ าวมิได้เกิ ดจากความผิดของ บริ ษทั ฯขณะนี้คดีกาํ ลังอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาล แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงินดังนี้ ณ วันที่ 31/12/2552 บริ ษทั ถูกฟ้ องเป็ นจําเลยร่ วมในข้อหาละเมิดเนื่องจากเหตุการณ์นาํ ของมา จําหน่ายซํ้ากัน ซึ่ งคดีดงั กล่าวอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลแพ่ง ผลในที่สุดของคดียงั ไม่สามารถ ทราบได้ในปัจจุบนั บริ ษทั จึงไม่ได้ต้ งั สํารองเผื่อหนี้ สินที่อาจเกิดขึ้นจากการถูกฟ้ องร้องดังกล่าวไว้ ในบัญชี โดยศาลแพ่งได้นดั ฟังคําพิพากษา ในวันที่ 30 เมษายน 2553
68 สิ นทรัพย์ทอี่ าจเกิดขึน้ กิจการจะไม่รับรู ้สินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้นในงบดุล เนื่ องจากยังมีความไม่แน่นอนว่ารายการนั้น จะเกิ ดขึ้นหรื อไม่ ทั้งนี้ เป็ นไปตามคุ ณลักษณะเชิ งคุ ณภาพของข้อมูลในเรื่ องของความระมัดระวัง ในกรณี ที่กิจการมีโอกาสที่จะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจแต่ไม่ถึงระดับน่าจะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน กิจการยังคงไม่ตอ้ งรับรู ้สินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้นนั้นในงบดุล แต่ควรเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสิ นทรัพย์ที่ อาจเกิดขึ้นไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ตัวอย่างที่ 1 ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 บริ ษทั ฯได้ยื่นฟ้ องธนาคารพาณิ ชย์ในประเทศแห่ งหนึ่ งให้ ชดใช้ค่าเสี ยหายแก่บริ ษทั เป็ นจํานวนเงิน 1,000,000 บาท ขณะนี้ คดีกาํ ลังอยูร่ ะหว่างการพิจารณา ของศาลข้างต้น แสดงหมายเหตุประกอบงบการเงินดังนี้ ซึ่ งอาจถือเป็ นสิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น แต่ยงั ไม่ถึงระดับที่เป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ กิจการจึงยังไม่ ต้องเปิ ดเผยข้อมูลในส่ วนนี้แต่อย่างใด
69
บทที่ 3 สรุปการสั งเคราะห์ องค์ ความรู้ รวมทางด้ านมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการบัญชี ที่ประกาศใช้ในประเทศไทยตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่ งแต่ละบริ ษทั หรื อองค์กรมีมาตรฐานการบัญชี ที่นาํ มาใช้แตกต่างกันไป อย่างไรก็ตามมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 1 เรื่ อง การนําเสนองบการเงิน (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน สําหรับกิ จการที่ไม่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 เรื่ อง รายได้ (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 เรื่ อง สัญญาก่อสร้าง (ปรับปรุ ง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับ ที่ 41 เรื่ อง เกษตรกรรม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่ อง สัญญาเช่ า (ปรั บปรุ ง 2552) และ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 เรื่ องประมาณการกนี้ สิน หนี้ สินที่ อาจเกิ ดขึ้ นและสิ นทรั พย์ที่อาจ เกิดขึ้น (ปรับปรุ ง 2552) จากกลุ่มดังกล่าวสามารถสังเคราะห์องค์ความรู ้รวมว่า มาตรฐานการบัญชี มีการปรับปรุ งหลายฉบับซึ่ งแต่ละฉบับอาจมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม บางฉบับมีการเปลี่ยนแปลง ไม่มากนักเพียงแต่เปลี่ ยนคําอธิ บายที่ชดั เจนมากขึ้น โดยสามารถสรุ ปได้ดงั นี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 35 (ปรับปรุ ง 2550) และ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2552) พบประเด็นที่มีความ แตกต่างที่สําคัญคือ การเปลี่ ยนชื่ อเรี ยกของงบการเงิ น เช่น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 35 ใช้คาํ ว่า งบดุลและงบกําไรขาดทุน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่1 เปลี่ยนใช้คาํ ว่างบแสดงฐานะการเงินและงบ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ ซึ่ งสอดคล้องกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่มีการกําหนดฉบับใหม่ ขึ้นคือ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นสําหรับกิ จการที่ ไม่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะที่ซ่ ึ งได้มีการ ประกาศใช้สําหรับงบการเงินที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 มีวตั ถุประสงค์เพื่อลด ความมีความยุง่ ยากซับซ้อน จากการใช้แนวคิดมูลค่ายุติธรรม (Fair Value) เป็ นหลักในการจัดทํา รายงานทางการเงิน ซึ่ งเป็ นภาระและก่อให้เกิดต้นทุนในการจัดทํารายงานการเงินของกิจการที่ไม่มี ส่ วนได้เสี ยสาธารณะที่ส่วนใหญ่เป็ นกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ช่วยประหยัดต้นทุนและเวลา ในการจัดทํา ประเด็นสําคัญที่พบในมาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรั บกิจการที่ไม่มีส่วนได้ เสี ยสาธารณะ (TFRS for NPAEs) สามารถสรุ ปได้ ดังนี้ 1. ความเป็ นมาและวัตถุประสงค์ ขอบเขต และกรอบแนวคิด กล่าวถึงหลักการทัว่ ไปที่ได้ จัดทํามาตรฐานแต่ละฉบับขึ้น ซึ่ งเนื้อหาโดยสรุ ปได้กล่าวไว้แล้วในบทที่ 3
70 2. การเปลี่ยนแปลงชื่อเรี ยกสําหรับงบการเงินบางงบให้เหมาะสมกับ NPAEs 3. ไม่ ใ ห้นํา เสนอเงิ นฝากธนาคารที่ มี ขอ้ จํา กัดในการเบิ ก ถอนเป็ นรายการเงิ นสดและ รายการเทียบเท่าเงินสด 4. กําหนดวิธีการประมาณค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ สามารถทําได้ 3 วิธี คือ วิธีอตั ราร้อยละ ของยอดขายเชื่ อสุ ทธิ ซึ่ งจะแตกต่างจาก PAEs ที่ให้คาํ นวณจากยอดขายรวม วิธีอตั ราร้อยละของ ลูกหนี้จาํ แนกตามอายุของลูกหนี้ และวิธีพิจารณาลูกหนี้เป็ นแต่ละรายจะคล้ายกัน 5. มูลค่าที่ลดลงของสิ นค้าคงเหลือจากการปรับมูลค่าให้เท่ากับ NRV (มูลค่าที่คาดว่าจะ ได้รับหรื อราคาทุ นแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า) เช่ น สิ นค้าล้าสมัย สิ นค้าเสื่ อมสภาพ เป็ นต้น ต้อง บันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายโดยแสดงเป็ นส่ วนหนึ่งของต้นทุนขาย 6. เงินลงทุน มาตรฐาน NPAEs จะครอบคลุ มถึ งเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงิ นลงทุนใน บริ ษทั ร่ วม และเงินลงทุนในกิจการร่ วมค้า 7. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ มีการประมาณการมูลค่ารื้ อถอนของสิ นทรัพย์ต้ งั แต่เริ่ มแรก การบันทึกส่ วนประกอบของสิ นทรัพย์ การเปลี่ยนแทนส่ วนประกอบสิ นทรัพย์ การซ่ อมแซมครั้ง ใหญ่ การคํานวณค่าเสื่ อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ให้บนั ทึกรายการแยกออกจากสิ นทรัพย์อย่าง ชัดเจน นโยบายบัญชี ในการวัดมูลค่าภายหลังการรับรู ้รายการสําหรับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ทุก รายการต้องใช้วธิ ี ราคาทุนนั้น 8. สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน มาตรฐาน NPAEs ใช้วิธีราคาทุนในการแสดงสิ นทรัพย์ไม่มี ตัวตนเท่านั้น และการตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนให้กาํ หนดอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ ไม่มีตวั ตนที่ไม่ทราบอายุได้แน่นอนเท่ากับ 10 ปี 9. อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ให้วดั มูลค่าภายหลังการรับรู ้ รายการด้วยวิธีราคาทุน เท่านั้น และทําการจัดประเภทใหม่โดยแสดง อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนแยกต่างหากจาก ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
71 10. ต้นทุ นการกู้ยืม การบันทึ กต้นทุ นการกู้ยืมที่ เกี่ ย วข้องโดยตรงกับ สิ นทรั พ ย์ จะต้อง บันทึ ก ดอกเบี้ ย จ่ า ยรวมกับ สิ นทรั พ ย์ที่ ไ ด้นํา เงิ นกู้ยืม ไปซื้ อ และให้รับ รู ้ ต้น ทุ นการกู้ยืม อื่ นเป็ น ค่าใช้จ่ายในงวดที่ตน้ ทุนนั้นเกิดขึ้น 11. สั ญ ญาเช่ า มี ก ารเปลี่ ย นแปลงคํา จํา กัด ความของสั ญ ญาเช่ า การเงิ น และสั ญ ญาเช่ า ดําเนินงานเพียงเล็กน้อย 12. ภาษีเงินได้มีสาระสําคัญไม่แตกต่างกัน กิจการสามารถเลือกรับรู ้ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ รายได้ภาษีเงิ นได้ และสิ นทรั พย์หรื อหนี้ สินภาษี เงิ นได้รอการตัดบัญชี โดยใช้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่ องภาษีเงินได้และถือปฏิบตั ิอย่างสมํ่าเสมอ 13. ประมาณการหนี้ สิน NPAEs ไม่ตอ้ งคิดลดประมาณการหนี้ สินให้เป็ นมูลค่าปั จจุบนั แต่กาํ หนดให้รับรู ้ผลประโยชน์ของพนักงาน ตามหลักการรับรู ้รายการด้วยจํานวนประมาณการที่ดี ที่สุดของรายจ่ายที่ตอ้ งนําไปจ่ายชําระภาระผูกพันในปั จจุบนั การประมาณการผลประโยชน์เพื่อ เกษียณอายุพนักงานมี หลักการการบันทึกค่าใช้จ่ายในงวดที่ ได้รับบริ การจากพนักงาน โดยจะตั้ง ประมาณการหนี้สินจนกว่าพนักงานจะเกษียณอายุ 14. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงานไม่แตกต่างกับ PAEs ซึ่ งกล่าวไว้ในบทที่ 3 15. รายได้ มาตรฐาน NPAEs ต้องรับรู ้รายได้ดอกเบี้ย ค่าสิ ทธิ และเงินปั นผล ตามวิธีอตั รา ผลตอบแทนที่แท้จริ งหรื อวิธีอื่นที่ให้ผลไม่แตกต่างจากวิธีอตั ราที่แท้จริ งอย่างมีสาระสําคัญ 16. การรับรู้รายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์ มาตรฐาน NPAEs สามารถเลื อกรับรู้ รายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์ได้ 3 วิธี คือ รับรู ้รายได้ท้ งั จํานวน รับรู ้เป็ นรายได้ตามอัตราส่ วน ของงานที่ทาํ เสร็ จ และรับรู ้เป็ นรายได้ตามเงินค่างวดที่ถึงกําหนดชําระ 17. สัญญาก่อสร้าง ไม่แตกต่างกับ PAEs ซึ่ งกล่าวไว้ในบทที่ 3 18. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ให้แปลงค่า รายการสิ นทรัพย์ที่เป็ นตัวเงิ นซึ่ งเป็ นเงิ นตราต่างประเทศโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ ยนที่ธนาคารรับซื้ อ
72 และรายการหนี้ สินที่เป็ นตัวเงินที่อยูใ่ นสกุลเงินตราต่างประเทศโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยนที่ธนาคาร ขาย และให้จดั ทํางบการเงินด้วยสกุลเงินบาทเท่านั้น 19. มาตรฐานกําหนดให้ถือปฏิบตั ิกบั งบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่ มในหรื อ หลังวันที่ 1 มกราคม 2554 และรับรู ้ผลกระทบโดยวิธีปรับย้อนหลัง หากไม่สามารถทําได้ในทาง ปฏิบตั ิให้ใช้วธิ ีเปลี่ยนทันทีเป็ นต้นไป อีกทั้งมาตรฐานการรับรู ้รายได้ของธุ รกิจต่างๆ ยังมีประเด็นที่สาํ คัญคือ ธุ รกิจฝากขาย การที่ เจ้าของสิ นค้า ซึ่ งเรี ยกว่า ผูฝ้ ากขาย (Consignor) ส่ งสิ นค้าไปยังผูร้ ับฝากขาย (Consignee) เพื่อให้ ช่ วยทําหน้าที่ขายสิ นค้าแทน โดยความเสี่ ยงและกรรมสิ ทธิ์ ในสิ นค้านั้นยังคงเป็ นของผูฝ้ ากขาย จนกว่าผูร้ ับฝากขายจะขายสิ นค้าที่รับฝากขายไปให้แก่ผซู ้ ้ื อ ผูฝ้ ากขายจึงจะบันทึกเป็ นรายการขาย ได้ ธุ รกิจรับเหมาก่อสร้าง กิจการรับเหมาก่อสร้างจะรับรู ้รายได้ค่าก่อสร้างในแต่ละงวดบัญชี โดย พิจารณาจากความน่ าเชื่ อถื อในการประมาณผลของงานก่อสร้าง หากกิจการสามารถประมาณผล ของงานก่อสร้างได้อย่างน่าเชื่ อถือ กิจการต้องรับรู ้รายได้ค่าก่อสร้างของสัญญาก่อสร้างเป็ นรายได้ และค่าใช้จ่ายเข้างบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ ตามวิธีอตั ราส่ วนของงานที่ทาํ เสร็ จ แต่หากไม่สามารถ ประมาณผลของงานก่อสร้างได้อย่างน่าเชื่อถือ ต้องรับรู ้รายได้ไม่เกินกว่าต้นทุนค่าก่อสร้างที่เกิดขึ้น และมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ที่จะได้รับต้นทุนนั้นคืน โดยบันทึกรายได้ ต้นทุน และกําไร ขั้นต้น โดยเดบิต ต้นทุนค่าก่อสร้าง เครดิต รายได้ค่าก่อสร้าง ธุ รกิจเกษตร การรับรู ้รายได้ดว้ ยมูลค่า ยุติธรรมหักค่าใช้จ่าย ณ จุ ดขาย ในวันที่ เริ่ มผลิ ต โดยเดบิ ตนํ้านม และเครดิ ต รายได้จากมูลค่า ยุติธรรมของนํ้านมที่ผลิตได้ วันขาย เดบิต เงินสดและค่าใช้จ่ายขายนํ้านม เครดิต ขายนํ้านม และเด บิต รายได้จากมูลค่ายุติธรรมของนํ้านมที่ ผลิ ตได้ และเครดิ ต นํ้านม วันที่ในงบดุ ล เดบิต โคนม เครดิต กําไรจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรม (ด้านกายภาพ) และกําไรจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่า ยุติธ รรม (ด้า นราคา) และธุ รกิ จสั ญญาเช่ า การจัดทําบัญชี ของธุ รกิ จเช่ า ซื้ อ มี ข้ นั ตอนที่ ซับ ซ้อ น โดยเฉพาะในการคํานวณรายได้ดอกเบี้ ยรอการรั บรู ้ การรั บรู ้ ดอกเบี้ ยตลอดสัญญา การรับตีแลก รถยนต์ใช้แล้ว (รถยนต์เก่า) ถ้ากิ จการรับแลกเปลี่ ยนรถยนต์ไว้เอง อาจจะก่อให้เกิ ดปั ญหายุ่งยาก ตามมา เช่ น ค่าใช้จ่ายในการซ่ อมแซม ค่าบํารุ งรักษา และเนื่ องจากรถยนต์ใช้แล้วไม่เป็ นที่ตอ้ งการ ของตลาดอาจก่อให้เกิดปั ญหาทําให้มียอดสิ นค้าคงเหลือสู งไม่มีการหมุนเวียน ประเด็นสุ ดท้ายการประมาณการหนี้ สินและหนี้ สินที่ อาจเกิ ดขึ้น ซึ่ งสภาวิชาชี พบัญชี ได้ กําหนดหลักปฏิ บตั ิไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ องประมาณการหนี้ สิน
73 หนี้ สินที่อาจเกิ ดขึ้นและสิ นทรัพย์ที่อาจเกิ ดขึ้นโดยมาตรฐานการบัญชี ฉบับนี้ นาํ มาแทนมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 21 (เลขฉบับเดิม) เรื่ องเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นในภายหน้าและเหตุการณ์ภายหลัง วันที่ในงบการเงินซึ่งมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2552) กําหนดขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐาน ฉบับเดิม ที่ได้กาํ หนดเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในภายหน้าและเหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบ การเงิ น นั้น จะมี ข ้อ สั ง เกตว่า ผูจ้ ัด ทํา งบการเงิ น ต้อ งคาดการณ์ ร ะดับ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ของรายการและ เหตุการณ์ ทางบัญชี ว่าอยู่ในระดับความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ หรื อไม่ โดยถ้าเหตุการณ์ น้ นั อยู่ใน ระดับความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่แล้วให้รับรู ้รายการ เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นภายหน้าในงบการเงิน ได้ ซึ่ งการกําหนดระดับที่เกิ ดขึ้นของรายการทําได้ไม่แน่ นอนในการวัดระดับ เนื่ องจากขึ้นอยู่กบั ความระมัดระวังของผูจ้ ดั ทํางบการเงิ นจึงทําให้การนํามาตรฐานการบัญชี ฉบับดังกล่ าวมาใช้ไม่ ชัดเจนนัก ดังนั้นการศึกษามาตรฐานการบัญชี น้ นั เพื่อต้องการที่จะตีแผ่และถ่ายทอดให้เป็ นที่รู้จกั ทํา ให้ผจู ้ ดั ทําบัญชีมีความรู ้ความเข้าใจในประเด็นสําคัญต่างๆ ของมาตรฐานการบัญชี ดงั กล่าว การถือ ปฏิบตั ิตลอดจนประเด็นหรื อปั ญหาในทางปฏิบตั ิก่อนการทําบัญชี มากยิ่งขึ้น ช่วยเป็ นมีแนวทางใน จัด ทํา การรายงานการเงิ น เพื่ อนํา เสนอข้อมู ล ที่ มี ป ระโยชน์ ต่อ การตัด สิ น ใจเชิ ง เศรษฐกิ จ ของ ผูป้ ระกอบการและผูใ้ ช้งบการเงิ นของกิ จการ และช่ วยลดต้นทุ นของเงิ นทุ นในการจัดทํารายงาน การเงิ น เสริ มสร้ างความรู้ ความเข้าใจ และการนํา มาตรฐานการบัญชี ไปใช้ปฏิบตั ิให้ถูกต้องตาม มาตรฐานการบัญชีตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543
74
ภาพบรรยากาศ
75
76
77
78 เอกสารอ้างอิง กตัญญู หิ รัญญสมบูรณ์. 2545. การจัดการธุรกิจขนาดย่ อม. 2,000. 4. กรุ งเทพมหานคร: เท็กซ์ แอนด์ เจอร์ นลั พับลิเคชัน่ . กนกลักษณ์ วงษ์เกรี ยงไกร. 2553. การบัญชีช้ันกลาง 2. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพมหานคร : ห้างหุ น้ ส่ วนจํากัด ทีพีเอ็น เพรส กนกอร วาฤทธิ์ . 2551. ปัจจัยทีก่ าหนดหนีไ้ ม่ ก่อให้ เกิดรายได้ ของธุรกิจเช่ าซื้อรถยนต์ ของธนาคาร พาณิชย์ แห่ งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ . การค้นคว้าอิสระเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิ ชย์. ม.ป.ป. การประชุ มนักบัญชี ทวั่ ประเทศ ครั้งที่ 17 “การผสมผสานความรู้ : ความท้าทายของนักบัญชี . กรุ งเทพมหานคร: บุญศิริการพิมพ์. กรมพัฒนาธุ รกิจการค้า. ม.ป.ป. ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า เรื่อง กาหนดรายการย่ อทีต่ ้ องมี ในงบการเงิน พ.ศ. 2554 (Online). http://www.dbd.go.th/mainsite/index.php?id=24511, 19 มกราคม 2555. กฤษณะ แสนวาสน์. 2551. ความพึงพอใจของผู้ประกอบการค้ ารถยนต์ มือสองต่ อการใช้ บริการ ด้ านสิ นเชื่อเช่ าซื้อรถยนต์ ของธนาคารธนชาต จากัด (มหาชน) ในอาเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ . การค้นคว้าแบบอิสระบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กวิน สิ งหโกวินท์. 2550. การศึกษาเปรียบเทียบแนวปฏิบัติการบัญชี ของ ธุรกิจเกษตรทัว่ ไปกับ ร่ างมาตรฐานการบัญชีไทยเรื่องการบัญชีเกษตรกรรม. วิทยานิพนธ์บญั ชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กอบแก้ว รัตนอุบล. 2553. การบัญชีช้ันกลาง 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
79 กิจจา เหลืองวิโรจน์. 2547. การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างมาตรฐานฉบับที่ 29 เรื่องการบัญชี สาหรับสั ญญาเช่ าระยะยาว (ปรับปรุ ง พ.ศ. 2546) กับมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 เรื่อง การบัญชีเกีย่ วกับการเช่ าซื้อ - ทางด้ านผู้ให้ เช่ าซื้อและมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 เรื่อง การบัญชีสาหรับสั ญญาเช่ าระยะยาว. วิทยานิพนธ์บริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บัญชี , มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. กิตติพล คอนซัลแตนท์ จํากัด. ม.ป.ป. อ้างถึง SME Thailandclub, ม.ป.ป. ขวัญสกุล เต็งอํานวย. 2549. การบัญชี ข้ ันสู ง 1. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุ งเทพมหานคร: ทีพีเอ็น เพรส. ขวัญสกุล เต็งอํานวย. 2553. การบัญชี ข้ ันสู ง 1. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุ งเทพมหานคร: เสมาธรรม. คณะกรรมการด้านการทําบัญชี . 2554. ข่ าวสารสาคัญเร่ งด่ วน ถึงผู้ทาบัญชี จากคณะกรรมการด้ าน การทาบัญชี ฉบับที่ 20 (Online). http://amplerich.myreadyweb.com/article/topic1623.html, 24 มกราคม 2555. จันทร์ พร ช่วงโชติ. 2548. การประกอบธุรกิจขนาดย่ อมของนักคหกรรมศาสตร์ : กรณีศึกษา ผู้สาเร็จการศึกษาด้ านคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ปริ ญญาศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . จีราวัฒน์ คงแก้ว. 2554. บัญชีเอสเอ็มอี เปลีย่ น-ยาขม-เป็ น-ยาหอม (Online). www.bangkokbiznews.com/home/detail/business/bizweek/20110525/391262, 16 มกราคม 2555. เฉลิมขวัญ ครุ ฑบุญยงค์. 2554. การวิเคราะห์ รายงานทางการเงิน. กรุ งเทพมหานคร: ซี เอ็ดยูเคชัน่ . โชติรัส ชวนิชย์, ก่อเกียรติ พานิชกุล และ ปริ ญ ลักษิตานนท์. 2538. ธุรกิจขนาดย่ อม. กรุ งเทพมหานคร: ดอกหญ้า.
80 ฐิติพร ฐิติจาํ เริ ญพร. 2545. แนวปฏิบัติของการบันทึกบัญชีและการรับรู้ รายได้ ของกิจการลีสซิ่ง ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ . วิทยานิพนธ์บญั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี , มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ดุษฎี สงวนชาติและคณะ. 2552. การบัญชีข้ ันกลาง. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพมหานคร : สํานักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2539. มาตรฐานการบัญชี แนวทางในการปฏิบัติและตัวอย่าง การเปิ ดเผยข้ อมูล. กรุ งเทพมหานคร: บุญศิริการพิมพ์. ธาริ นี พงศ์สุพฒั น์. 2553. การบัญชีข้ ันกลาง II. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นภาพร ณ เชียงใหม่. 2547. การวิเคราะห์ รายงานทางการเงิน. 3,000. 1. กรุ งเทพมหานคร: พัฒนาวิชาการ (2535). นุชจรี พิเชฐกุล. 2547. รายงานการเงิน. 2. กรุ งเทพมหานคร: ทีพีเอ็น เพรส. นุชจรี พิเชฐกุล. 2553. การรายงานและการวิเคราะห์ งบการเงิน. พิมพ์ครั้งที่ 1. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. เนาวรัตน์ สังคมกําแหง. 2541. เช่าซื้ อ. วารสารศูนย์ การศึกษาต่ อเนื่อง. ปี ที่ 6 (ฉบับที่ 1): หน้า 35. บริ ษทั การบินไทย จํากัด (มหาชน). ประวัติ บริ ษทั การบินไทย จํากัด (มหาชน) (Online). http://vigportal.mot.go.th/portal/site/PortalMOT/about/thaiair, 27 ธันวาคม 2554. บริ ษทั การบินไทย จํากัด (มหาชน). รายงานประจําปี (Online). http://thaith.listedcompany.com/ar.html, 12 ธันวาคม 2554.
81 ประดิษฐ์ เจริ ญชัยชนะ. 2553. การบัญชีสาหรับองค์ กรท้ องถิ่น. 1. กรุ งเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์ เน็ท. ปรี เปรม นนทลีรักษ์ และคณะ. 2550. การบัญชีการเงิน. กรุ งเทพมหานคร: แมคกรอ-ฮิล. แปล จาก Jan R. Williams, Susan F. Haka, Mark S. Bettner and Joseph V. Carcello. 2007. Financial Accounting. McGraw-Hill. ผุสดี รุ มาคม. 2540. การบริ หารธุรกิจขนาดย่ อม. 5. กรุ งเทพมหานคร: ฟิ สิ กส์เซ็นเตอร์ . พรรณนิภา รอดวรรณะ. 2552. การบัญชีข้ ันกลาง 2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ชนก สรรพรัตน์. 2553. รายการหนีส้ ิ นทีอ่ าจเกิดขึน้ และผลกระทบต่ องบการเงินของบริษัทจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย. บัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี , มหาวิทยาลัยบูรพา. เพชรี ขุมทรัพย์. 2554. วิเคราะห์ งบการเงิน: หลักและการประยุกต์ . 3,000. 12. กรุ งเทพมหานคร: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . ภวิกา เลียดประถม. 2548. ความสั มพันธ์ ระหว่ างปัจจัยคัดสรรกับการเกิดภาระหนีเ้ สี ยของธุรกิจ เช่ าซื้อรถยนต์ ในอาเภอเมือง จังหวัดตราด. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาการบริ หารทัว่ ไป, มหาวิทยาลัยบูรพา. ภาคภูมิ วณิ ชธนานนท์. 2551. การบัญชีการเงิน. กรุ งเทพมหานคร: เสมาธรรม. ภาคภูมิ วณิ ชธนานนท์. 2553. การบัญชีการเงิน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุ งเทพมหานคร: สํานักพิมพ์เสมาธรรม มัลลิกา ตรี ประเคน. 2550. แนวปฏิบัติทางการบัญชี และการเสี ยภาษี สาหรับธุรกิจให้ เช่ า อสั งหาริมทรัพย์ . วิทยานิพนธ์บญั ชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
82 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 35 (ปรับปรุ ง 2550). (2552). เรื่ อง การนําเสนองบการเงิน (Online). www.pattanakit.net/images/column_1249720875/Balance.pdf, 27 ธันวาคม 2554. มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 35 (ปรับปรุ ง 2550). (2554). เรื่ อง การนําเสนองบการเงิน (Online). www.fap.or.th/files/st_accounting/TAS1.pdf, 27 ธันวาคม 2554. มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2552). (2554). เรื่ องประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจ เกิดขึ้นและสิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น (Online). www.fap.or.th/files/st_accounting/TAS37.pdf, 31 ธันวาคม 2554. ยุพดี ศิริวรรณ. 2553. การบัญชีภาษีอากร (ปรับปรุ งใหม่ 2553). นนทบุรี: ห้างหุ น้ ส่ วนจํากัด จําปาทอง พริ้ นติ้ง. เรื อนจิตร ทองดี. 2551. แนวปฏิบัติทางการบัญชีเกีย่ วกับกิจการเช่ าซื้อรถยนต์ ตามมาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2550) เรื่อง สั ญญาเช่ า. วิทยานิพนธ์บญั ชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วชิราภรณ์ ขันแก้วผาบ. 2546. ปัจจัยทีม่ ีอทิ ธิพลต่ อผู้ประกอบธุรกิจค้ ารถยนต์ มือสองในการ เลือกใช้ บริการสิ นเชื่อเพือ่ การเช่ าซื้อของบริษัทลิสซิ่ง ในอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ . การค้นคว้าแบบอิสระบริ หารธุ รกิจบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วรลักษณ์ วรรณโล. 2544. การศึกษาเปรียบเทียบมาตรฐานการบัญชีและกฎหมายภาษีอากร เกีย่ วกับกิจการเช่ าซื้อรถยนต์ . การค้นคว้าแบบอิสระบัญชีมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วรศักดิ์ ทุมมานนท์. 2547. มิติใหม่ ของงบการเงินและการวิเคราะห์ . 1,200. กรุ งเทพมหานคร: ธรรมนิติ เพรส.
83 วราภรณ์ ติ่งต้อย. 2547. ปัจจัยทีม่ ีผลกระทบต่ อการดาเนินงานของธุรกิจขนาดย่ อมในจังหวัดตาก. บริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย, วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก. วันเพ็ญ วศินารมณ์. 2553. การวิเคราะห์ รายงานทางการเงิน. 6. กรุ งเทพมหานคร: ทีพีเอ็นเพรส. วาณี คําดี. ม.ป.ป. การวิเคราะห์ รายงานทางการเงิน การวิเคราะห์ งบการเงิน. กรุ งเทพมหานคร: ภูมิบณั ฑิตการพิมพ์. วิพุธ อ่องสกุล และ ธัชวรรณ กนิษฐ์พงศ์. 2550. การจัดการธุรกิจขนาดเล็ก. กรุ งเทพมหานคร: ไอกรุ๊ ป เพรส. แปลจาก Timothy S. Hatten. 2003. Small Business Management: Entrepreneurship and Beyond. Houghton Miffin. วีระชัย บุญชูชื่น. 2554. ปัญหาในทางปฏิบัติของผู้ทาบัญชี ทมี่ ีต่อมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่อง การนาเสนองบการเงิน มาใช้ กบั บริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บญั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี , มหาวิทยาลัยบูรพา. ไว จามรมาน. 2543. ธุรกิจขนาดกลางย่ อมทีท่ ้ าทายโลกอุตสาหกรรม. กรุ งเทพมหานคร: โรง พิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . แปลจาก Hideichiro Nakamura. 2000. The Challenging Small and Medium Enterprises. Bangkok: Thammasat University Press. ศศิวมิ ล มีอาํ พล. 2554. ทฤษฎีการบัญชี เล่ม 1. 8. กรุ งเทพมหานคร: อินโฟไมนิ่ง. สถาบันพัฒนาความรู ้ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2548. การวิเคราะห์ งบการเงิน. 1,000. 2. กรุ งเทพมหานคร: อมริ นทร์ พริ้ นติ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง. สภาวิชาชีพบัญชี. ม.ป.ป. มาตรฐานการบัญชี (Online). http://www.fap.or.th/st_accounting.php, 22 ธันวาคม 2554.
84 สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. 2552. มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่องสั ญญาเช่ า. กรุ งเทพฯ: บริ ษทั พี.เอ.ลีฟวิง่ จํากัด. สมเดช โรจน์คุรีเสถียร และคณะ. 2552. ก้าวทันกับ 9 มาตรฐานการบัญชีปัญหาภาษีอากรทีจ่ าเป็ น ต่ อธุรกิจ. กรุ งเทพมหานคร: ธรรมนิติ เพรส. สมเดช โรจน์คุรีเสถียร และคณะ. 2552. วิเคราะห์ งบการเงิน มองอดีต ปัจจุบัน อนาคต. 3. กรุ งเทพมหานคร: ธรรมนิติ เพรส. สมศักดิ์ ศรี ชยั ธํารง. 2549. ปัจจัยทีม่ ีผลกระทบกับการเลือกวิธีการจัดทาบัญชีสัญญาเช่ าระยะยาว ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บญั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สํานักยุทธศาสตร์ และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค. 2554. ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกและ แนวโน้ มปี 2554 (Online). www.nesdb.go.th/Portals/0/eco_datas/economic/eco_state /1_54/Press%20Thai%20Q1-2011.pdf, 6 ธันวาคม 2554. สุ ตราวดี บัวเกศ. 2547. ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเลือกซื้อโปรแกรมสาเร็จรู ปทางการบัญชี ในธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดย่ อม. ปริ ญญาบัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี , จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สุ ธาสิ นี พรหมบุตร. 2549. ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อความเสี่ ยงด้ านสิ นเชื่ อของธุรกิจเช่ าซื้อรถยนต์ . สารนิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ , มหาวิทยาลัยรามคําแหง. เสนีย ์ พวงยาณี . 2551. หลักการบัญชี . 3. กรุ งเทพมหานคร: ทริ ปเพิล้ เอ็ดดูเคชัน่ . หนึ่งฤทัย อุดมความสุ ข. 2543. การบัญชีสวนส้ ม : กรณีศึกษาของสวนส้ มธนาธร. การค้นคว้า แบบอิสระบัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อรุ ษ คงรุ่ งโชค และ จันทร์ นิภา สุ วรรณพิทกั ษ์. 2551. หลักการบัญชีข้ ันต้ น. กรุ งเทพมหานคร: สํานักพิมพ์ทอ้ ป.
85 อักษราภรณ์ แว่นแก้ว. 2548. ความสั มพันธ์ ระหว่ างความเป็ นมืออาชี พของนักบัญชี กับคุณภาพ รายงานการเงินของธุรกิจ SMEs ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ปริ ญญาบัญชี มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. อังครัตน์ เพรี ยบจริ ยวัฒน์. 2549. มาตรฐานการบัญชี : สาระสาคัญและตัวอย่ างการเปิ ดเผยข้ อมูล (มกราคม 2549). 5,000. 1. กรุ งเทพหานคร: เจเอสที พับลิชชิ่ง. อัจฉรา มานะอริ ยกุล. 2548. การวิเคราะห์ รายงานทางการเงิน. กรุ งเทพมหานคร: สํานักพิมพ์ แม็ค. อัมพร เที่ยงตระกูล. ม.ป.ป. การวิเคราะห์ รายงานทางการเงิน. 2,000. 1. กรุ งเทพมหานคร: สํานักพิมพ์เอมพันธ์. อาคม เติมพิทยาไพสิ ฐ. 2554. ทิศทางแนวโน้ มเศรษฐกิจไทยปี 2554 (Online). www.nesdb.go.th/Portals/0/news/article/data_0139280111.pdf, 6 ธันวาคม 2554. เอกศิลป์ นพสิ ทธิ์ . 2547. ปัญหาและอุปสรรคในการประกอบธุรกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดเล็ก ในจังหวัดชลบุรี. ปริ ญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หาร ทัว่ ไป, มหาวิทยาลัยบูรพา. โอฬาร กลีบพุฒ. 2546. อ่านงบการเงินแบบไม่ จบบัญชี . กรุ งเทพมหานคร: สํานักพิมพ์หา้ ง หุ น้ ส่ วนจํากัดเม็ดทรายพริ้ นติ้ง. แปลจาก James O. Gill and Moira Chatta. 1999. Understanding Financial Statements. Fredericton: Crisp Publications, Inc.
86