06รยงานผลการสัมมนาเครื่อข่ายความรู

Page 1


(1) กิ ตติ กรรมประกาศ การสัมมนาเครือข่ายองค์ความรู้ทางบัญชี เรื่องการบริหารต้นทุน เล่มนี้ ทาการศึกษา เกี่ย วกับ การบริห ารต้ น ทุ น โดยใช้ เ ครื่อ งมือ ต่ า งๆ ได้ แ ก่ ระบบบัญ ชีต้ น ทุ น ตามกิจ กรรม การจัดการห่วงโซ่อุปทาน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม การผลิตแบบ ลีนและการบัญชีแบบลีน การจัดสัม มนานัน้ ย่อมเกิดปญั หาและอุปสรรคหลายครัง้ แต่ก็ผ่านสิง่ เหล่ า นั น้ มาได้ด้ว ยดี คณะผู้จ ัด ท าต้ อ งขอขอบคุ ณ ผู้ช่ ว ยศาตราจารย์พ ัช นิ จ เนาวพัน ธ์ อาจารย์ประจาสาขาการบัญชีบริหาร ทีใ่ ห้ความรู้ คาแนะนาปรึกษา ตลอดจนกาลังใจในการทา สัมมนาจนสาเร็จได้ดว้ ยดี คณะผู้จดั ทาหวังว่าการศึกษาสัมมนาเล่มนี้ จะเป็ นประโยชน์ต่อผู้อ่านและผู้ท่สี นใจใน ด้านการบริหารต้นทุน และหากมีขอ้ ผิดพลาดหรือข้อบกพร่องประการใด คณะผู้จดั ทาต้องขอ อภัยมา ณ ทีน่ ้ี

คณะผูจ้ ดั ทา มีนาคม 2555


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ บทที่ 1 บทนา หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของการศึกษา ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั บทที่ 2 เครือ่ งมือการบริหารต้นทุน สภาวะเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมปจั จุบนั ของประเทศไทย ในภาครวมทัง้ ประเทศ ภาคเอกชนผูป้ ระกอบการประเภทต่างๆ ปจั จัยทีส่ ่งผลกระทบศักยภาพการดาเนินงานของหน่ วยงานภาครัฐและเอกชน ความตกต่าทางศีลธรรม การเมืองและคอร์รปั ชัน่ ความล่มสลายและความล้มเหลวของระบบทุนนิยม ความตกต่าทางการศึกษา การเปิดเสรีการค้า ความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศ คุณลักษณะธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับ สภาวะการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจโลก การบริหารต้นทุน ความหมายของต้นทุน ความสาคัญของต้นทุนทีจ่ ะบ่งบอกความยังยื ่ นในการประกอบการ การใช้เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด แนวคิดการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น การพัฒนาอย่างยังยื ่ น การฟื้นฟูค่านิยม/หลักคุณธรรม ให้มาเป็นหลักการสาคัญทีส่ ุด สาหรับทุกเรือ่ ง การสร้างองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ การออกแบบระบบการสื่อสารและสารสนเทศ การออกแบบกระบวนการดาเนินงาน

หน้า (1) 1 1 2 2 3 3 3 7 10 10 12 13 16 17 20 27 28 29 29 30 33 33 36 40 41 43


สารบัญ

เครือ่ งมือการบริหารต้นทุนที่ 1 ระบบต้นทุนตามกิจกรรม แนวคิดของระบบต้นทุนตามกิจกรรม ขัน้ ตอนการประยุกต์ใช้ระบบต้นทุนตามกิจกรรม เครือ่ งมือการบริหารต้นทุนที่ 2 การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การนาการจัดการห่วงโซ่อุปทานมาใช้ในกระบวนการดาเนินงาน เครือ่ งมือการบริหารต้นทุนที่ 3 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เครือ่ งมือการบริหารต้นทุนที่ 4 การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม ประโยชน์ของหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม การนาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อมมาใช้ในกระบวนการดาเนินงาน เครือ่ งมือการบริหารต้นทุนที่ 5 ระบบการผลิตแบบลีนและการบัญชีแบบลีน หลักการของการบัญชีแบบลีน บทที่ 3 สรุปการสังเคราะห์องค์ความรูร้ วมทางด้านการบริหารต้นทุน ภาพบรรยากาศ บรรณานุกรม

หน้า 56 56 56 58 58 58 59 60 61 61 62 63 64 66 70


สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 2-1 2-2 2-3 2-4 2-5 2-6 2-7 2-8 2-9 2-10 2-11 2-12 2-13 2-14 2-15 2-16 2-17 2-18 2-19 2-20 2-21 2-22 2-23 2-24

ผลสารวจสภาวะการทางานของประชากรไตรมาสสีป่ ี 2554 ดัชนีความสุขมวลรวมของคนไทยตัง้ แต่ มี.ค.2552 –ม.ค.2555 สัดส่วนการคลอดบุตรของมารดาวัยรุ่น พ.ศ. 2553 จาแนกตามอายุ การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน รายได้เกษตรกร จานวนผูว้ ่างงาน ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึน้ ไปทีใ่ ช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และโทรศัพท์มอื ถือ ร้อยละของผูบ้ ริโภคทีป่ ระสบปญั หาจากการซือ้ หรือใช้บริการในปี 2554 จานวนคดีอาญาในสังคมไทยรายไตรมาสปี 2551-2554 กราฟดัชนีชว้ี ดั ภาพลักษณ์คอรัปชัน่ (CPI) ในปี 2545-2552 ตัวอย่างของระบบทุนนิยม ระดับความรูเ้ รือ่ งความสามารถด้านการอ่าน (literacy), ผลการประเมิน PISA ปี 2009 องค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) นโยบายเขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA) ประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) น้าท่วมครัง้ ใหญ่ในประเทศไทย กราฟแสดงคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครตัง้ แต่ปี 2535-2554 กราฟแสดงคุณภาพน้าผิวดินทัวประเทศ ่ 2552-2554 ปริมาณขยะมูลฝอยจาแนกตามพืน้ ที่ เปรียบเทียบลักษณะธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับสภาวะการ เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจโลก สรุปปจั จัยทีส่ ่งผลกระทบต่อศักยภาพการประกอบการและแนวทางในการ บริหารจัดการ เพื่อเพิม่ ศักยภาพทางการแข่งขัน เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สรุปองค์ประกอบการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น หลักการในการบริหารจัดการองค์กร

3 4 5 7 8 8 9 10 11 12 13 16 17 18 19 22 24 25 26 27 28 30 33 36


สารบัญภาพ (ต่อ) หน้า ภาพที่ 2-25 2-26 2-27 2-28 2-29 2-30 2-31 2-32 3-1

องค์ประกอบทีส่ าคัญ 6 ประการของหลักธรรมาภิบาล สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงปจั จัยทีน่ าไปสู่การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ ของเสียตามมุมมองตามแนวคิดของ ABC, EMA และ LEAN เปรียบเทียบของเสียตามมุมมองตามแนวคิดของ ABC, EMA และ Lean องค์กรแห่งลีน การขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการ ห่วงโซ่อุปทาน สรุปองค์ประกอบการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น

36 39 40 44 47 48 50 52 64


บทที่ 1 บทนำ หลักกำรและเหตุผล ปจั จุบนั ธุรกิจมีการแข่งขันที่รุนแรง แต่ละองค์การมีการนากลยุทธ์ต่างๆ มาปรับใช้ใน การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันเพื่อขับเคลื่อนธุรกิจของตน ซึ่งสถานการณ์ต่างๆ หรือ ปจั จัยทางลบที่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจ ทัง้ ระบบทุนนิยมที่ธุรกิจมุ่งหวังผลกาไรมากที่สุด มีการ แข่งขันทางด้านราคา ทาให้ เกิด การเปิ ดเสรีทางการค้า ซึ่งกลุ่มธุรกิจของประเทศไทยได้รบั ผลกระทบทัง้ ทางด้านบวกและด้านลบ ประกอบกับปญั หาความไม่มนคงทางการเมื ั่ อ งและ คอร์รปั ชัน่ การศึกษาทีด่ อ้ ยคุณภาพ ทรัพยากรธรรมชาติทย่ี งิ่ เสื่อมโทรม และทีส่ าคัญผลกระทบ จากเหตุการณ์มหาอุทกภัยครัง้ ใหญ่ในปี 2554 ส่งผลต่อการตัดสินใจในการลงทุน สภาพคล่อง ในการดาเนินธุรกิจ นักลงทุนจึงมีแนวโน้มเตรียมแผนย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศเพื่อนบ้าน แทนการพัฒนาฟื้ นฟูโรงงานและแหล่งผลิตในประเทศไทย โดยสาเหตุของปญั หาทัง้ หมดนัน้ มา จากคนในสังคมมีความตกต่าทางด้านศีลธรรม ทีม่ คี วามต้องการทางด้านวัตถุอย่างไม่จากัด เพื่อ ให้ธุรกิจสามารถอยู่รอดได้ส ิ่งแรกที่ผู้บริหารควรจะพิจารณานัน้ คือ การบริหาร ต้น ทุ น เพื่อ ให้เ กิด ประสิท ธิภาพสูงสุ ด ในทุ ก ๆ ส่ ว นงานภายในองค์การ และก่ อ ให้เ กิด การ บริหารงานทีม่ คี ุณภาพ เพิม่ ศักยภาพในการแข่งขันระยะยาวในองค์การ ปจั จุบนั เครื่องมือหรือ เทคนิคสาหรับการบริหารต้นทุนมีหลากหลาย โดยเฉพาะสาหรับธุรกิจทีม่ ลี กั ษณะเป็ นธุรกิจผลิต การนาระบบบัญชีต้นทุนตามกิจกรรมมาใช้เพื่อจาแนกต้นทุนที่แท้จริงในแต่ละกิจกรรม การ จัดการห่วงโซ่อุปทาน เป็ นแนวคิดที่เชื่อมโยงเครือข่ายทางธุรกิจตัง้ แต่ขนั ้ ตอนการจัดซื้อจนถึง กระบวนการส่ งมอบสินค้าให้มกี ารลดต้นทุนในทุกห่ว งโซ่อุ ปทาน การนาหลักการเศรษฐกิจ พอเพียงมาปฏิบตั เิ พื่อให้องค์การสามารถดาเนินการอยู่รอดได้ดว้ ยตัวเอง และการจัดการของ เสียทีม่ กี ารจาแนกต้นทุนทีเ่ ป็นข้อเสียและข้อดีออกจากกัน โดยหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม เป็ นวิธกี ารรับผิดชอบของเสียตัง้ แต่ภายในจนถึงภายนอกองค์การ สาหรับปจั จุบนั วิวฒ ั นาการที่ สาคัญทีส่ ามารถทาให้การบริหารต้นทุนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด คือ ระบบการผลิตแบบลีนเป็ น การจัดการของเสียที่เกิดในกระบวนการผลิตให้ของเสียเป็ นศูนย์ และหลักการบริหารต้นทุนที่ กล่าวมาข้างต้นจะเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดนัน้ แต่ละองค์การควรมีหลัก เกี่ยวกับ ธรรมาภิบาลที่ดี ความรับผิดชอบต่อสังคมรวมทัง้ การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ ซึ่งจะทาให้ องค์การเกิดการบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อนาไปสู่การพัฒนาอย่างยังยื ่ น


2 วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ 1. เพื่อศึกษาสาเหตุและความสาคัญของการบริหารต้นทุน 1. เพื่อศึกษาเกีย่ วกับแนวคิดทางการบริหารการนามาประยุกต์ใช้คุณประโยชน์ทจ่ี ะ ได้รบั ทัง้ ด้านการบริหารจัดการองค์การและการบริหารจัดการต้นทุน 2. เพื่อศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้เครือ่ งมือการบริหารต้นทุนในองค์การ 3. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการนาเครือ่ งมือการบริหารต้นทุนมาใช้ในองค์การ 4. การนาเครือ่ งมือการบริหารต้นทุนไปใช้เพื่อพัฒนาไปสู่ภาวะการพัฒนาธุรกิจอย่าง ยังยื ่ น ประโยชน์ ที่คำดว่ำจะได้รบั 1. ทาให้ทราบถึงปญั หาและสาเหตุในการบริหารต้นทุนของธุรกิจ 2. ทาให้ทราบถึงแนวคิดและคุณประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั จากการนาการบริหารจัดการ ต้นทุนและการบริหารองค์การมาประยุกต์ใช้ 3. ทาให้ทราบการนาวิธกี ารนาเครือ่ งมือการบริหารต้นทุนมาประยุกต์ใช้ในองค์การ 4. ทาให้ทราบถึงประสิทธิภาพของการบริหารต้นทุนโดยการนาเครือ่ งมือการบริหาร ต้นทุนมาประยุกต์ใช้ในองค์การ 5. ทาให้ทราบถึงความเป็ นไปได้ในเครือ่ งมือการบริหารต้นทุนมาประยุกต์ใช้ในการ พัฒนาองค์การไปสู่ภาวะการพัฒนาอย่างยังยื ่ น


บทที่ 2 เครื่องมือการบริ หารต้ นทุน สถานการณ์ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการบริ หารต้นทุน สภาวะเศรษฐกิ จ สังคม และสิ่ งแวดล้อมปัจจุบนั ของประเทศไทย 1. ในภาพรวมทัง้ ประเทศ 1.1 สภาวะเศรษฐกิจ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้รายงานว่า ในปี 2554 เศรษฐกิจไทยในสามไตร มาสแรกมีการขยายตัวเพิม่ ขึน้ แม้จะได้รบั ผลกระทบทัง้ ภัยพิบตั ใิ นประเทศญี่ปุ่น และการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก พบว่า แนวโน้ มปี 2554 มีการขยายตัวของ เศรษฐกิจ ขึน้ อยูก่ บั ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการฟื้นตัวเป็นปกติของภาคการผลิต มาตรการ ในการบริหารจัดการน้ าของภาครัฐ และภาวะเศรษฐกิจโลก ซึ่งส่วนหนึ่งขึน้ อยู่กบั การแก้ไขปญั หาหนี้สาธารณะของกลุ่มประเทศยูโร ส่วนอัตราเงินเฟ้อมีแนวโน้ ม ชะลอลงตามราคาน้ามันและสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลก สภาวะสังคม 1.1.1 ด้านการจ้างงาน

ภาพที่ 2-1 ผลสารวจสภาวะการทางานของประชากรไตรมาสสีป่ ี 2554 ทีม่ า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. www.service.nso.go.th. (19 มีนาคม 2555)


4 อัตราการว่างงานอยู่ในระดับต่ าร้อยละ 0.6 แต่จานวนชัวโมงการ ่ ทางานลดลง จึงทาให้เกิดการว่างงานแฝง สถานการณ์ด้านการว่างงานที่ เกิดขึน้ นัน้ ไม่สอดคล้องกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และยังไม่สะท้อนถึงภาวะ น้ าท่วมในช่วงที่ผ่านมา เนื่องจากช่วงทีเ่ กิดมหาอุทกภัยน้ าท่วม ภาคค้าส่ง และค้าปลีกมีการจ้างงานที่เพิ่มมากขึ้นตามความต้องการในการกักเก็บ สินค้าของผู้บริโภค ผู้ประกอบการบางส่วนอยู่ในช่วงที่ขาดฐานข้อมูลการ จ้างงานทีจ่ ะนามาใช้ในการปรับแผนการจ้างงานได้ การลดการจ้างงานส่วน หนึ่งเป็ นการลดจานวนชัวโมงการท ่ างาน นอกจากนี้แรงงานภาคเกษตร จานวนมากเป็ นแรงงานรอฤดูกาล ซึ่งไม่ได้ถูกนับว่าเป็ นผูท้ ว่ี ่างงาน ดังนัน้ ในภาพรวมจึงเห็นได้ว่าการจ้างงานในไตรมาสทีส่ ป่ี ี 2554 ยังคงเพิม่ ขึน้ จาก ปี 2553 ซึง่ ไม่ตรงกับสภาพความเป็นจริงในช่วงทีเ่ กิดสภาวะน้าท่วม 1.1.2 ด้านสุขภาพ

ภาพที่ 2-2 ดัชนีความสุขมวลรวมของคนไทยตัง้ แต่ มี.ค.2552 –ม.ค.2555 ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ อ้างถึง ศูนย์วจิ ยั ความสุขชุมชน มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ. www.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555) จากแผนภาพแสดงดัชนีความสุขมวลรวมของคนไทยตัง้ แต่ มี.ค. 2552 - ม.ค. 2555 พบว่า ความสุขมวลรวมของคนไทยลดลงในเดือน มกราคม 2555 อยู่ท่ี 6.66 มีผปู้ ่วยด้วยโรคจิตเวชที่มารับบริการเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ปญั หาสุขภาพและการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อและไม่ตดิ ต่อ


5 เรือ้ รังอยู่ในระดับสูงและมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ดังนัน้ ภาครัฐจึง ต้องให้ความรูแ้ ก่ประชาชนในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค 1.1.3 ด้านพฤติกรรมและความเป็นอยูข่ องคน

ภาพที่ 2-3 สัดส่วนการคลอดบุตรของมารดาวัยรุน่ พ.ศ. 2553 จาแนก ตามอายุ ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ อ้างถึง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สาร สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมันคงของมนุ ่ ษย์. www.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555) พฤติกรรมเสี่ยงเรื่องการดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มเด็กและเยาวชน อายุ 15-24 ปี มีมากขึน้ เนื่องจากสภาพแวดล้อมทีส่ ามารถหาซือ้ ได้ง่ายขึน้ และยังพบว่า คนไทยมีอตั ราการดื่มแอลกอฮอล์ทเ่ี พิม่ สูงมากขึน้ ในแต่ละปี ทางด้านการใช้เทคโนโลยีท่ไี ม่เหมาะสมในเด็กวัยรุ่นมีเพิม่ มากขึน้ โดยมี สาเหตุมาจากการขยายตัวของเครือข่ายทางสังคมในโลกออนไลน์มากขึน้ ส่ งผลต่ อความมันคงและความปลอดภั ่ ยต่ อชีว ิตเด็กและเยาวชนอย่าง มากมาย สัดส่วนการคลอดบุตรของมารดาวัยรุน่ มีแนวโน้มทีเ่ พิม่ สูงขึน้ โดย อัตราการคลอดบุตรของหญิงไทยอายุต่ ากว่า 20 ปี เพิม่ สูงกว่าเกณฑ์ของ องค์การอนามัยโลก และมีสถิติสูงสุ ดในเอเชีย ส่ งผลกระทบต่ อปญั หา สุขภาพมารดาและการพัฒนาการของเด็กที่เกิดมา รวมทัง้ ปญั หาสังคมใน เรือ่ งของการทาแท้งและการเลีย้ งดูทไ่ี ม่เหมาะสมเพิม่ ขึน้


6 1.1.4 ด้านความมันคงทางสั ่ งคม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รายงานว่ า ในไตรมาสที่ 4 ปี 2554 ภาวะสังคมไทยเกี่ยวกับคดีอาญา โดยรวมเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะยาเสพติด กลุ่มวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี มีการเสพยา ทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยเฉพาะยาไอซ์ ภาครัฐและภาคเอกชนต้องให้ความสนใจพร้อม กับออกกฎหมายทีร่ ะบุถงึ ความรับผิดทีช่ ดั เจนขึน้ ด้านอุบตั เิ หตุจราจรทาง บกมีจ านวนลดลง แต่ อ ันตรายถึงขัน้ เสียชีว ิตมีเพิ่มมากขึ้น โดยกลุ่ ม เยาวชนและแรงงานทีม่ พี ฤติกรรมขับขีท่ ไ่ี ม่เหมาะสมมีเพิม่ มากขึน้ ภาครัฐ และเอกชนควรสนับสนุนให้สร้างค่านิยมความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ในสังคม รวมทัง้ ติดตามและผลักดันให้เกิดการบังคับใช้กฎหมายอย่าง เคร่งครัด 1.2 สภาวะสิง่ แวดล้อม สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (2553) ได้รายงานสถานการณ์คุณภาพสิง่ แวดล้อมว่า สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมของประเทศไทยในช่วงที่ผ่านมามีปญั หาในหลายด้าน ไม่ว่าจะ เป็ นความเสื่อมโทรมของการใช้ทด่ี นิ ผิดประเภท และการขาดการกระจายการถือ ครองที่ดนิ นอกจากนี้การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ง ประเทศไทยต้ อ งใช้ ค วามพยายามในการอนุ ร ัก ษ์ ค วาม หลากหลายทางชีวภาพ โดยสนับสนุ นการศึกษาวิจยั และตระหนักให้ประชาชน เห็นความสาคัญของการอนุรกั ษ์ความหลากหลายทางชีวภาพมากขึน้ ประเทศไทยมีสดั ส่ วนของการปล่ อยก๊ าซเรือนกระจกเป็ นจานวนมาก ั หามลพิษ อากาศด้ า นป ญ ั หาการจัด การขยะที่ ย ัง ไม่ ส ามารถ ก่ อ ให้ เ กิ ด ป ญ ดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและทัวถึ ่ ง ซึ่งเป็ นปญั หาสาคัญในเมืองใหญ่ และแหล่งชุมชน ด้านปญั หาสิง่ แวดล้อมชุมชนเกิดจากการเพิม่ ขึน้ ของประชากร ไม่ ส อดคล้ อ งกับ ศัก ยภาพของทรัพ ยากรธรรมชาติ แ ละบริก ารขัน้ พื้น ฐาน เนื่องจากเศรษฐกิจขยายตัวประชากรจึงย้ายถิ่นฐานเข้าสู่เมืองเพิม่ ขึ้น ปญั หา ั หามลพิษต่ างๆ ปญั หาชุ มชนแออัด และ สิ่งแวดล้อมชุ มชนที่ส าคัญ เช่น ป ญ ปญั หามลทัศน์ การดาเนินชีวติ ของมนุษย์กบั สิง่ แวดล้อมจึงเป็ นสิง่ ทีต่ ้องดาเนินควบคู่กนั ไปพร้อมกันอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ดังนัน้ การวิเคราะห์การเปลีย่ นแปลงของสภาพ สิง่ แวดล้อมจึงต้องพิจารณาในการจัดรูปแบบของสังคมและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อการดารงชีวติ ของประชาชน ด้วยเหตุน้ีการดาเนินมาตรการด้านการอนุ รกั ษ์


7 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงต้องเป็ นไปภายใต้เงื่อนไขของการใช้ ประโยชน์อย่างยังยื ่ นมากกว่าการอนุ รกั ษ์เพียงอย่างเดียว 2. ภาคเอกชนผูป้ ระกอบการประเภทต่างๆ 2.1 สภาวะเศรษฐกิจ

ภาพที่ 2-4 การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน ทีม่ า: ธนาคารแห่งประเทศไทย อ้างถึง สานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. www.bot.or.th. (19 มีนาคม 2555) จากผลกระทบของมหาอุทกภัยในปี 2554 ทีเ่ กิดขึน้ ด้านภาคอุตสาหกรรม ได้รบั ผลกระทบอย่างรุนแรง เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมผลิต ชิน้ ส่วนบางพืน้ ทีโ่ ดนน้าท่วม ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากมายในปี 2554 ไตร มาสที่ 4 ภาคอุตสาหกรรมได้รบั ผลกระทบอย่างหนักจากการที่น้ าท่วมโรงงานใน บางแห่งของไทย ซึง่ เป็นศูนย์กลางการผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ และมีเครือข่ายการ ผลิตทีซ่ บั ซ้อน เช่น ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ ฮาร์ดไดร์ฟ และเครื่องใช้ไฟฟ้า ส่งผล ให้การผลิตหยุดชะงัก ขาดแคลนชิน้ ส่วน และส่งผลต่อการคมนาคมขนส่ง


8

ภาพที่ 2-5 รายได้เกษตรกร ทีม่ า: ธนาคารแห่งประเทศไทย อ้างถึง สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. www.bot.or.th. (19 มีนาคม 2555) ภาคเกษตรกรรมผลผลิตในภาคกลางจะได้รบั ผลกระทบจากมหาอุ ทกภัย โดยเฉพาะข้าว แต่ผลผลิตเกษตรอื่นๆ ยังคงขยายตัวตามการเพิม่ พืน้ ทีเ่ พาะปลูก ซึ่ง เมื่อประกอบกับราคาสินค้าเกษตรทีย่ งั มีขยายตัวดี ส่งผลให้รายได้เกษตรกรขยายตัว ต่อเนื่องจากปี ก่อน สาหรับในภาพรวม ปญั หาในภาคการผลิตทาให้สนิ ค้าขาดแคลน ส่งผลให้การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนทีข่ ยายตัวดีในช่วงสามไตรมาสแรกต้อง สะดุดลง แม้ปจั จัยสนับสนุ นการบริโภคและการลงทุนจะยังคงอยู่ในเกณฑ์ด ี ไม่ว่าจะ เป็ นรายได้ท งั ้ ในและนอกภาคเกษตร ความเชื่อมันของทั ่ ง้ ผู้บริโภคและนักธุรกิจ รวมทัง้ ภาวะการเงินมีการคลายตัวลง 2.2 สภาวะสังคม

ภาพที่ 2-6 จานวนผูว้ ่างงาน ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อ้างถึง สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. http://social.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555)


9 ปจั จุ บนั ประเทศไทยก าลังพัฒนาเป็ นประเทศของอุ ตสาหกรรม ท าให้ ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทมากขึ้น แต่ปลายปี 2554 ภาคเอกชนได้ประสบกับ วิกฤตอุทกภัย ทาให้การดาเนินงานต้องหยุดชะงักลง และมีผลกระทบในด้านต่างๆ ที่สาคัญคือ คนงาน จากภาพจะเห็นได้ว่าอัตราการว่างงานมีจานวนที่ลดลงอยู่ใน ระดับต่ าร้อยละ 0.6 เพราะภาคเอกชนต้องใช้แรงงานเพื่อเข้ามาฟื้ นฟูกจิ การให้ สามารถกลับมาดาเนินกิจการได้

ภาพที่ 2-7 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึน้ ไปทีใ่ ช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และโทรศัพท์มอื ถือ ทีม่ า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. www.nso.go.th. (19 มีนาคม 2555) นอกจากนี้สภาพสังคมในปจั จุบนั เป็ นสังคมเมือง มีรปู แบบการใช้ชวี ติ ทีเ่ ร่ง รีบ รักความสะดวกสบายและความรวดเร็วมากขึน้ ทาให้ภาคเอกชนต้องหันมาให้ ความสนใจเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของกลุ่มผูบ้ ริโภคมากขึน้ เป็ นการสร้าง รายได้และขยายฐานลูกค้า อีกทัง้ ในการสื่อสารที่รวดเร็วขึน้ โดยผ่านเทคโนโลยีท่ี สามารถครอบคลุมทุกกลุ่มผูบ้ ริโภค จากภาพ พบว่า มีประชากรเพิม่ ขึน้ ทุกปีในการ ใช้เทคโนโลยีด้านการสื่อสาร ทาให้ภาคเอกชนจาเป็ นต้องให้ความสาคัญเรื่องการ สื่อสารกับผู้บริโภคมากขึ้น นัน่ หมายถึง ภาคเอกชนต้องแบกรับภาระทางด้าน ต้นทุนเพื่อใช้ในการสื่อสาร โฆษณา หรือใช้ในการติดต่อทาให้สนิ ค้าหรือการบริการ ของภาคเอกชนเข้าถึงกลุ่มผูบ้ ริโภคมากขึน้ 2.3 สภาวะสิง่ แวดล้อม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2555) ได้ รายงานสภาวะสิ่งแวดล้อมของภาคเอกชนในประเทศไทยว่ า สถานการณ์ ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมของประเทศไทยในปจั จุบนั มีแนวโน้มเสื่อม


10 โทรมรุนแรงขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงทัง้ ในด้านกายภาพ การใช้ประโยชน์ การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ส่งผลให้สถานการณ์และแนวโน้ มความเสื่อมโทรม ของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมทวีความรุนแรง โดยเฉพาะการขาดแคลนน้า รูปแบบและพฤติกรรมการบริโภคทีฟ่ ุ่มเฟื อยทัง้ ในภาคประชาชนและภาคการผลิต ทาให้มกี ารใช้ทรัพยากรอย่างสิน้ เปลือง ไม่คุม้ ค่า และมีปริมาณของเสียเพิม่ ขึน้ ปจั จุบนั ภาคธุรกิจเอกชนได้มสี ่วนสาคัญอย่างยิง่ ในการดูแลรักษาและฟื้นฟู สิง่ แวดล้อม ซึง่ ภาคเอกชนเองได้มกี ารจัดโครงการเพื่อรณรงค์เกี่ยวกับสิง่ แวดล้อม มากมาย รวมไปถึงลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อลดภาวะโลกร้อนอย่างยังยื ่ น ดังนัน้ ภาคเอกชนจาเป็นต้องให้ความสาคัญกับสิง่ แวดล้อมในประเทศไทยเป็นอย่าง มาก เพราะหากไม่มที รัพยากรเหลืออยู่ ภาคเอกชนก็จะไม่สามารถดาเนินการผลิต ได้ อีกทัง้ การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมยังเป็ นการสร้างภาพลักษณ์ ท่ดี ีในสายตา ผูบ้ ริโภคอีกด้วย ภาคธุ รกิ จเอกชนจะต้ อ งด าเนิ น การเปลี่ยนแปลงโลกทัศ น์ เ กี่ย วกับ สิง่ แวดล้อมธรรมชาติอย่างเร่งด่วน ภาคธุรกิจเอกชนจะต้องมีแนวทางที่กระตุ้นให้ บริษทั ต่างๆ ดาเนินโครงการจัดระบบการศึกษาสิง่ แวดล้อมให้แก่บุคลากรทุกระดับ ทุกสาขาและทุกฝา่ ย เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันเกีย่ วกับแนวคิด ค่านิยม และแนว ปฏิบตั เิ กีย่ วกับระบบการจัดการทางสิง่ แวดล้อม ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อศักยภาพการดาเนิ นงานของหน่ วยงานภาครัฐและเอกชน 1. ความตกต่าทางศีลธรรม

ภาพที่ 2-8 ร้อยละของผูบ้ ริโภคทีป่ ระสบปญั หาจากการซือ้ หรือใช้บริการในปี 2554 ทีม่ า: ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ . www.nesdb.go.th. (18 มีนาคม 2555)


11

ภาพที่ 2-9 จานวนคดีอาญาในสังคมไทยรายไตรมาสปี 2551-2554 ทีม่ า: ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ . www.nesdb.go.th. (18 มีนาคม 2555) เกรียงศักดิ ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ ์ (2546) กล่าวว่า ในปจั จุบนั สภาพความเสื่อมถอย ด้านคุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทยเริม่ เข้าสู่ภาวะวิกฤต สะท้อนได้จากพฤติกรรมของ คนในสังคม วิกฤตด้านคุณธรรมจริยธรรมทีต่ กต่ านัน้ สะท้อนในหลายๆ ด้าน เช่น ปญั หา การขาดความรับผิดชอบของภาคธุรกิจ โดยดูได้จากภาพที่ 2-8 แสดงถึงผลกระทบที่ ผูบ้ ริโภคประสบปญั หาจากการบริโภคผลิตภัณฑ์ ซึง่ ประชาชนยังมีความเสีย่ งสูงในการ บริโภคผลิตภัณฑ์ต่างๆ ปญั หาความรุนแรงที่เพิม่ ขึน้ ในสังคม ปญั หาอาชญากรรมยา เสพติด โดยดูได้จากจานวนคดีอาญาทีม่ จี านวนสูงขึน้ ดังแสดงในภาพที่ 2-9 การมีบุตร ก่อนวัยอันควร การค้าประเวณี เหล่านี้ล้วนเกิดจากศีลธรรมของประชาชนในสังคมที่ เสื่อมโทรมลง ปญั หาด้านคุณธรรมจริยธรรมนี้จะส่งผลโดยตรงต่ อการพัฒนาคน และ สังคมไทยในอนาคตอย่างไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ ซึ่งเป็ นปญั หาสาคัญที่ควรได้รบั การ แก้ไขอย่างเร่งด่วน


12 2. การเมืองและคอร์รปั ชัน่

ภาพที่ 2-10 กราฟดัชนีชว้ี ดั ภาพลักษณ์คอรัปชัน่ (Corruption Perceptions Index: CPI) ในปี 2545-2552 ทีม่ า: สยามอินเทลลิเจนท์ยนู ิต. www.siamintelligence.com. (18 มีนาคม 2555) ดอกไม้ปลายปื น (2553) กล่ าวว่ า การเมืองมีอิทธิพลต่ อ พัฒนาการทาง เศรษฐกิจของไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นักลงทุนในต่างประเทศมีนโยบายชะลอการ ลงทุ นในประเทศไทย รวมถึงตัดสินใจย้ายไปลงทุนที่ประเทศเพื่อนบ้าน เนื่ องจาก การเมืองไทยมีความวุ่นวายไม่สงบนิ่ง เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ทางด้านการเมือง ได้แก่ การปฏิวตั กิ ารยึดสนามบินนานาชาติ ทาให้ส่งสินค้าออกไม่ได้ การประกาศใช้ พ.ร.ก. ฉุกเฉิน ทาให้บริษทั ไม่สามารถทาการผลิตมากกว่า 8 ชัวโมงได้ ่ จึงส่งผลกระทบต่อการ ดาเนินธุรกิจ เกิดการจลาจลระหว่างกลุ่มคนเสือ้ สีต่างๆ เกิดการชุมนุ มทางการเมืองขึน้ ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมันของนั ่ กลงทุน ทาให้สร้างความเสียหายต่อเศรษฐกิจ ปญั หาการคอรัปชันของไทยยั ่ งคงเป็ นปญั หาสาคัญที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น จากการจัดอันดับภาพลักษณ์คอรัปชันโลกขององค์ ่ การเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ ประเทศไทยตกอันดับจากอันดับที่ 78 ในปี 2553 เป็นอันดับที่ 80 ในปี 2554 ซึง่ วัดจาก


13 ดัชนีช้วี ดั ภาพลักษณ์คอรัปชัน่ (CPI) แสดงในภาพที่ 2-10 ปญั หาคอรัปชันเป็ ่ นตัวกัด กร่อนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจโดยรวม 3. ความล่มสลายและล้มเหลวของระบบทุนนิยม

ภาพที่ 2-11 ตัวอย่างของระบบทุนนิยม ทีม่ า: นิฐนิ นั ท์. http://nithinan-note.exteen.com. (21 มีนาคม 2555) มายเฟิรส์ อินโฟ (2552) ได้กล่าวไว้ว่า สังคมของโลกทุนนิยมนัน้ มีหลักการทีใ่ ห้ เสรีภาพ โดยทีก่ ลไกตลาดจะเป็ นตัวกาหนดความเป็ นไปของทุกสิง่ ทุกอย่าง แม้กระทัง่ ความสัมพันธ์ของผู้คนในสังคม ตลอดจนผลิตภัณฑ์ในตลาดจะถูกกาหนดว่าภายใต้ เงื่อนไขและผลิตภัณฑ์ใดจะถูกแลกเปลี่ยน ตลาดแรงงานจะเป็ นตัวกาหนดคุณสมบัติ และค่ าแรงงาน ทัง้ สินค้าแรงงานและทักษะของมนุ ษย์ท่เี ป็ นประโยชน์ จะถู กนามา แลกเปลี่ยนอย่างเสรีภายใต้เงื่อนไขของตลาด ผลิตภัณฑ์ใดก็ตามจะไม่มคี ุณค่าทาง เศรษฐกิจเลยหากไม่มคี วามต้องการผลิตภัณฑ์นัน้ ในตลาด แรงงานและทักษะของ มนุษย์กเ็ ช่นกันจะไม่มคี ุณค่าอันใดเลยหากไม่มคี วามต้องการของแรงงานและทักษะนัน้


14 ในตลาด เจ้าของทุนสามารถที่จะจ้างแรงงานและสังการให้ ่ ผู้ใช้แรงงานเหล่านัน้ ผลิต เพื่อให้เกิดผลกาไรจากการลงทุน ผู้ใช้แรงงานจะต้องรับจ้างนายทุน มิฉะนัน้ ก็จะไม่ สามารถหาเลี้ยงชีพได้ โครงสร้างทางเศรษฐกิจเช่นนี้เป็ นผลสะท้อนของระดับการให้ ความสาคัญของคุณค่าต่างๆ โดยมีเงินทุนสังการแรงงาน ่ และแรงงานทาการผลิตสิง่ ของ ทีไ่ ม่มชี วี ติ ทีใ่ นบางครัง้ อาจมีค่ามากกว่าแรงงานของตัวผูผ้ ลิตเองทีย่ งั คงมีชวี ติ อยู่ ั หาต่ างๆ ตามมา ซึ่งการเกิดขึ้นของสังคมแบบทุ นนิ ยมย่ อมก่ อให้เกิดป ญ มากมาย เช่น ปญั หาความไม่สมดุลของความเจริญ เนื่องจากการพัฒนาของสังคมแบบ ทุนนิยมส่งผลต่อการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมมากกว่าการพัฒนาด้านการเกษตร จึงทา ให้เกษตรกรหันมาทางานทางด้านอุตสาหกรรมมากขึน้ ตลอดจนปญั หาการพัฒนาอย่าง ไม่ทวถึ ั ่ ง จึงทาให้เกิดการย้ายถิน่ ฐานของคนเพื่อแสวงหาแหล่งชุมชมทีม่ คี วามเจริญที่ มากกว่า จึงส่งผลให้เกิดปญั หาการละทิง้ ถิน่ ฐาน ตลอดจนการพัฒนาอุตสาหกรรมทีม่ าก จนเกินไปย่อมทาให้เกิดปญั หาการกดราคาสินค้าทางการเกษตรให้อยู่ในราคาทีต่ ่ า เพื่อ การทากาไรของพวกนายหน้า ตลอดระยะเวลาการพัฒนาทุนนิยมในสังคมไทยจะพบว่า เป็ นความร่วมมือ ระหว่างทุนท้องถิน่ รัฐและต่างชาติในการแสวงหาผลประโยชน์จากสังคมไทย ทุนไม่ได้ สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ท่ี ดี แ ละพั ฒ นาชี ว ิ ต ความเป็ นอยู่ ข องชาวบ้ า น อี ก ทั ้ง กระบวนการพัฒนาทุนนิยม ทาให้ชนชัน้ ล่างในสังคมไทยไม่มกี นิ และอดอยาก ทุนนิยม ไม่ได้นาเอาประชาธิปไตยเข้าสู่สงั คมไทยแต่กลับส่ งเสริมระบบเผด็จการเสียด้วยซ้า ดังนัน้ กลุ่มคนทีผ่ ลักดันประชาธิปไตยนัน้ กลับเป็ นพวกปญั ญาชนและชนชัน้ ล่าง ผู้ซ่งึ เสียเปรียบจากการพัฒนาเสียมากกว่า ระบบทุนนิยมมีแนวคิดว่ามนุ ษย์ต้องซื้อ ต้อง ร่ารวย ต้องมีเงินในการซือ้ จับจ่ายใช้สอย เน้นทีอ่ านาจเงินเพื่อความอยูร่ อด ประเทศสหรัฐอเมริกาถือเป็นต้นแบบของเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี และเริม่ แผ่ ขยายอานาจทางเศรษฐกิจออกไปตามประเทศต่างๆ ทัวโลก ่ โดยเฉพาะหลังจากทีร่ ะบบ สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียตได้พ่ายแพ้และล่มสลายลงไป อเมริกาได้ รุกเข้าสู่ประเทศต่างๆ โดยใช้นโยบายเปิ ดการค้า เสรีและมีส ิทธิเท่าเทียมกันในการ ดาเนินการทางธุรกิจในแต่ละประเทศ ประเทศไหนที่ยงั คงปิ ดไม่เปิ ดให้อเมริกาเข้าไป ลงทุนได้กม็ กั จะถูกโจมตีว่าไม่เป็นประชาธิปไตย หรือถ้าเข้าไปสู่ประเทศนัน้ ๆ แล้วไม่ม ี ช่องโอกาสให้รกุ เข้าไปสู่ธุรกิจสาคัญๆ เพื่อหวังทรัพยากรธรรมชาติจากผู้อ่นื อเมริกาก็ มักจะใช้วธิ ดี สิ เครดิตความเชื่อมันในการลงทุ ่ นหรือบอยคอตการส่งสินค้าเข้าไปขายใน อเมริกาเอง ยังไม่รวมถึงการพยายามรุกคืบเข้าสู่ประเทศในแถบตะวันออกกลาง เพื่อมุ่ง ผลประโยชน์ดา้ นพลังงานเป็นหลัก


15 อย่ างไรก็ตามหากมองในแง่ ดีแล้วก็ จะเห็นว่ า ทุ นนิ ยมเสรีนั น้ ช่ วยท าให้ เศรษฐกิจทัวโลกเติ ่ บโต และมีการแข่งขันอย่างเสรี สร้างบุคลากรทีม่ คี วามสามารถขึน้ มา ในระบบเศรษฐกิจเป็ นจานวนมาก แต่ระบบทุนนิยมหาได้มขี อ้ ดีเพียงอย่างเดียวไม่ ทุน นิยมนัน้ ๆ มีข้อเสียพอๆ กับข้อดี โดยเฉพาะในประเทศก าลังพัฒนาทัว่ โลกที่ต่ าง พยายามที่จะใช้นโยบายระบอบทุนนิยมเลียนแบบสหรัฐจนต้องพังทลายทางเศรษฐกิจ มาแล้ว รวมถึงประเทศไทยในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจในปี 2540 การพังทลายลงของระบอบทุนนิยมทีเ่ ชื่อกันว่า เสรีทน่ี าโดยสหรัฐฯ ดังกล่าวนี้ สาเหตุเกิดจากการที่บริษัทต่างๆ ไร้ซ่งึ หลักธรรมาภิบาล มุ่งหวังแต่ผลกาไรและการ ขยายตัวทางธุรกิจ โดยเฉพาะสถาบันการเงินทีต่ อ้ งการลงทุนเพื่อเก็งกาไรและขยายการ ลงทุน เฉพาะอย่างยิง่ การปล่อยสินเชื่อด้านอสังหาริมทรัพย์เป็ นจานวนมากให้กบั ลูกค้า ที่ด้อยคุณภาพโดยไม่คดิ ถึงผลกระทบที่จะตามมา และไม่มกี ารควบคุมดูแลของทาง ภาครัฐ ส่งผลให้เศรษฐกิจเป็นแบบฟองสบู่และแตกในเวลาต่อมา ดูได้จากกรณี เลห์แมน บราเธอร์ส ที่ถอื เป็ นการล้มละลายครัง้ รุนแรงทีส่ ุดของสหรัฐอเมริกาด้วยทรัพย์สนิ 691 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยได้ยน่ื ล้มละลายไปเมือ่ วันที่ 15 กันยายน 2551 การล้มละลาย ครัง้ นี้เกิดจากการทีบ่ ริษทั ในเครือทีช่ ่อื ว่า บีเอ็นซี มอร์ทเกจ (BNC Mortgage) ได้ปล่อย กู้ให้ก ับลูกค้าที่ไม่มคี ุ ณภาพในด้านอสังหาริมทรัพย์ ท าให้เกิดหนี้เสียจานวนมาก ตามมา ส่งผลให้ตอ้ งปิดตัวลง จนส่งผลกระทบมาถึงเลห์แมน บราเธอร์ส ทีต่ ้องรับภาระ และประสบปญั หาการขาดทุนอย่างหนัก ส่งผลให้บริษทั ต้องล้มละลายในที่สุด ปญั หา เหล่านี้เกิดจากการเก็งกาไรในตลาดอนุ พนั ธ์และลูกหนี้ไม่สามารถชาระหนี้ได้ จนทาให้ ั หาสภาพคล่ อ งและเงิน หมุ น เวี ย นในระบบ รวมถึ ง การทุ จ ริต คอรัป ชั น่ เกิ ด ป ญ ผลประโยชน์ทบั ซ้อนภายในองค์การทีเ่ ป็นส่วนสาคัญของการพังทลายของธุรกิจ อย่างไรก็ตามในความเป็ นจริงไม่เพียงแต่ในสหรัฐฯ เท่านัน้ ที่ได้รบั ผลกระทบ จากปญั หาในระบอบทุนนิยมดังกล่าวนี้ แต่ ผลกระทบยังกระจายตัวออกเป็ นลูกโซ่ก่อ ปญั หาเศรษฐกิจในระดับโลกตามมา ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากเครื่องมือทางการเงินและการ ลงทุนที่ถูกผลิตขึน้ มาอย่างสลับซับซ้อนและมีบทบาทที่สาคัญยิง่ ในระบอบดังกล่าวนี้ ซึ่งได้ดงึ ดูดให้คนจากทัวทุ ่ กมุมโลกเข้ามาเกี่ยวข้องโดยตรงกับทุนนิยม เมื่อธุรกิจทุน นิยมของสหรัฐฯ เหล่านี้ได้แตกลง ทาให้หนีไม่พ้นที่ผลกระทบจะต้องแผ่ออกเป็ นวง กว้างไปทัวโลกและสร้ ่ างปญั หาอย่างหนัก การเติบโตในแนวทางของทุนนิยมที่นับถือ เงินและความมังคั ่ งเป็ ่ นพระเจ้าโดยไม่มขี อบเขตของสหรัฐฯ ดังกล่าวนี้ จึงเป็ นสิง่ ที่ไร้ ความยังยื ่ น อาจไม่เกินเลยไปนักทีจ่ ะกล่าวได้ว่าการล้มละลายลงของธุรกิจขนาดใหญ่ ของสหรัฐฯ เหล่านี้ได้แสดงนัยยะให้เห็นถึงความอ่อนแอและทรุดโทรมลงของสหรัฐฯ


16 ชาติทค่ี รัง้ หนึ่งได้ภาคภูมใิ จในชัยชนะของระบอบทุนนิยมของตนเองที่มตี ่อสังคมนิยม และคอมมิวนิสต์ทส่ี หรัฐฯ ได้เคยประณามว่าเลวร้ายและต่อสูม้ าอย่างเอาเป็นเอาตาย 4. ความตกต่าทางการศึกษา

ภาพที่ 2-12 ระดับความรูเ้ รือ่ งความสามารถด้านการอ่าน (literacy), ผลการประเมิน PISA ปี 2009 ทีม่ า: สฤณี อาชวานันทกุล. www.tcijthai.com. (21 มีนาคม 2555) สฤณี อาชวานันทกุล (2554) กล่าวว่า การศึกษาไทยอยู่ในขัน้ วิกฤติ เด็กไทย โดยเฉลี่ยมีทกั ษะในการคิดวิเคราะห์และแยกแยะข้อมูลต่ ามาก โดยดูจากการสังเกต พฤติกรรมของเด็กแบบสอบทาง การศึกษาแห่งชาติขนั ้ พืน้ ฐาน (O-NET) หรือโครงการ ประเมินผลนักเรียนนานาชาติแสดงให้เห็นถึงศักยภาพด้านการศึกษาของไทยแย่ลงมาก ส่งผลกระทบต่อศักยภาพทีจ่ ะก่อให้เกิดการแข่งขันกับนานาประเทศ การศึกษาของไทยทีแ่ ย่ลงเรื่อยๆ เนื่องจากเด็กไทยมีการใช้ภาษาไทยในทางที่ ผิด มีการสะกดคาทีไ่ ม่ตรงตามรูปแบบ และไม่ให้ความสาคัญกับภาษาไทย ประกอบกับ เด็กไทยมีความรู้ความเข้าใจและการสื่อสารในภาษาอังกฤษค่ อนข้างต่ า ซึ่งเป็ น ภาษาสากลที่ใช้ในการสื่อสารกันทัวโลก ่ และผู้ใหญ่สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการ


17 สื่อสารได้เพียงแค่ประโยคสัน้ ๆ นอกจากนี้เด็กไทยไม่สามารถนาความรู้ท่ไี ด้รบั จาก การศึกษามาใช้ในการคิดวิเคราะห์เพื่อนาไปใช้ในการปฏิบ ัติงานได้จริง เนื่ องจาก การศึกษาของไทยในปจั จุบนั ไม่ได้ให้ความรูค้ วามเข้าใจในแต่ละเรือ่ งอย่างลึกซึง้ จากทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้น สิง่ นี้จะเป็ นผลกระทบต่อประเทศไทย หน่ วยงานของ ภาครัฐ และหน่ วยธุ รกิจทุ กหน่ วย เพราะเด็กไทยที่ส าเร็จการศึกษาจะกลายเป็ น ทรัพยากรบุคคลทีเ่ ป็ นเสมือนกาลังสาคัญทีจ่ ะสามารถขับเคลื่อนธุรกิจแต่ละองค์การให้ เกิดประสิทธิภาพ แต่ความตกต่ าที่เกิดขึน้ เหล่านี้มพี ้นื ฐานและต้นทุนทางการศึกษาที่ แตกต่างกันนาไปสู่ความเลื่อมล้าของการศึกษาทีส่ าคัญในการพัฒนานัน่ คือ การพัฒนา บุคลากร ซึง่ บุคลากรจะต้องมีความรูค้ วามเชีย่ วชาญ มีการถ่ายทอดประสบการณ์ซง่ึ กัน และกัน และจะต้องมีการดาเนินการอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ และยังสามารถส่งผลต่อ องค์การธุรกิจให้สามารถขับเคลื่อนไปไกลได้อกี ด้วย 5. การเปิดเสรีประเภทต่างๆ การเปิ ดการค้าเสรีเป็ นการรวมตัวกันของประเทศต่างๆ ที่ตกลงกันทาการค้า เสรีโดยในแต่ละประเทศจะเลือกผลิตสินค้าที่ตนมีประสิทธิภาพในการผลิตสูงสุดและ ต้นทุนต่า ซึง่ การทาการค้าเสรีจะช่วยให้ประเทศต่างๆ ได้รบั ผลประโยชน์เป็ นอย่างมาก ทัง้ การลดการกีดกันทางด้านภาษี และการลดข้อกีดกันทางด้านการค้า ทัง้ นี้มอี งค์การ หลักๆ ทีเ่ ปิดการค้าเสรี ดังนี้ 5.1 องค์การการค้าโลก

ภาพที่ 2-13 องค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) ทีม่ า: Gladstone Thurston. www.thebahamasweekly.com. (23 March 2012)


18 สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2554) รายงานว่า องค์กรการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) เป็ นเวทีในการเจรจาลดอุปสรรคและข้อกีดกันทาง การค้ า มีก ฎระเบียบการค้ าระหว่ างประเทศ และสร้างความเข้มแข็งให้ แ ก่ กระบวนการยุตขิ อ้ พิพาททางการค้าระหว่างประเทศ นอกจากนี้ยงั ถือเป็ นกลไกการ ตรวจสอบและทบทวนนโยบายการค้าของประเทศสมาชิก การที่ประเทศไทยเป็ น สมาชิกองค์กรการค้าโลกจะส่งผลกระทบทัง้ ในเชิงบวกและเชิงลบให้แก่ธุ รกิจใน ประเทศ นอกจากนี้ประเทศไทยยังไม่สามารถกาหนดเงื่อนไขในเรื่องการกาหนด อุตสาหกรรมที่มสี ทิ ธินาเข้าได้ เมื่อพิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่าประเทศไทยอาจมี ต้นทุนทีเ่ พิม่ มากขึน้ จากการเป็ นส่วนหนึ่งขององค์กรการค้าโลก จากการทีป่ ระเทศ ไทยต้องนาเข้าสินค้ามากขึ้น ทาให้ผู้คนภายในประเทศมีทางเลือกที่หลากหลาย ธุรกิจในประเทศไทยต้องมีการปรับปรุงสินค้าของตนเองให้ดกี ว่าต่างประเทศ ทาให้ เสียต้นทุนในการพัฒนาและปรับปรุงสินค้าของตนเองเพิม่ ขึน้ ภาครัฐจึงต้องมีการ เร่งสร้างความนิยมในสินค้าไทยให้มากขึน้ 5.2 เขตการค้าเสรี

ภาพที่ 2-14 นโยบายเขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA) ทีม่ า: Docstoc. www.docstoc.com. (19 March 2012) กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (2552) รายงานว่า เป็ นการรวมกลุ่ มทาง เศรษฐกิจเพื่อลดภาษีศุ ลกากรระหว่างกันภายในกลุ่มให้เหลือน้ อยที่สุ ด การทาเขต การค้าเสรีนนั ้ จะส่งผลกระทบทาให้ประเทศไทยเกิดการเปลีย่ นแปลงโครงสร้างทางด้าน


19 การค้า ทาให้มกี ารขยายการค้าในระหว่างประเทศทีท่ าเขตการค้าเสรีมากยิง่ ขึน้ ซึง่ โดย ส่วนใหญ่แล้วจะทาให้ประเทศไทยส่งออกสินค้าไปยังประเทศมหาอานาจได้มากขึ้น นอกจากนี้การทาเขตการค้าเสรีจะช่วยให้ประเทศไทยสามารถลดอุ ปสรรคทางด้าน การค้าและการลงทุน และยังถือเป็ นการสร้างพันธมิตรทีจ่ ะเกื้อกูลกันทางเศรษฐกิจกับ ประเทศอื่นอีกด้วย แต่ ทงั ้ นี้ประเทศไทยจะต้องเผชิญกับผลกระทบทางด้านลบที่จะ เกิดขึน้ คือ ทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนจะต้องให้ความสนใจกับผูผ้ ลิตไทยทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ในการแข่งขันกับต่างประเทศในระดับต่ า ซึ่งจาเป็ นจะต้องเร่งปรับปรุงศักยภาพและ มาตรฐานการผลิต 5.3 ประชาคมอาเซียน

ภาพที่ 2-15 ประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ทีม่ า: สมาพันธ์โลจิสติกส์ไทย. www.thailog.org. (19 มีนาคม 2555) ประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) เป็ นการ รวมกลุ่มของความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีแผนจะ พัฒนาในปี 2558 มีกรอบความร่วมมือที่กาหนดไว้ 3 ส่วนหลัก ซึ่งประกอบด้วย ด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมืองความมันคง ่ และด้านสังคมวัฒนธรรม โดยจะมีการ รวมกันเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน สินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมอื รวมถึงปจั จัยการผลิตต่างๆ สามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีภายใต้กรอบกฎเกณฑ์ กติกาทีต่ กลงกัน ซึง่ เป็ นผลดีต่อทุกฝา่ ยไม่ว่าจะเป็ นผูบ้ ริโภค เกษตรกร นักธุรกิจ ผู้ ส่งออก-นาเข้า และนักลงทุน


20 หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ (2554) ได้รายงานข่าวถึงผลการสารวจของ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยเมื่อปี พ.ศ. 2553 พบว่าเกือบ 80% ของผูป้ ระกอบการ ไทยยังไม่รจู้ กั ประชาคมอาเซียน (AEC) แต่ในปจั จุบนั เริม่ มีการรูจ้ กั มากขึน้ การใช้ ประโยชน์ยงั ค่อนข้างน้อยโดยเฉพาะผูป้ ระกอบการทีเ่ ป็ นธุรกิจขนาดย่อม (SMEs) ดังนัน้ กระทรวงพาณิชย์จงึ ได้มกี ารหารือร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ภาครัฐและ เอกชน เพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับประชาคมอาเซียนอีก 3 ปี ข้างหน้ า ตัง้ แต่การเจรจาจัดทาแผนงานทีอ่ าเซียนจะก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน รวมถึงการ ปฏิบตั ิตามแผนงาน และแนวทางรองรับผลกระทบ แต่ ปจั จุบ ันประเทศไทยยัง ประสบปญั หาหลายด้าน ทัง้ การเมือง ความปรองดองของคนในชาติ อีกทัง้ ยังต้อง เร่งฟื้นฟูประเทศครัง้ ใหญ่หลังน้าลด ซึง่ ต้องใช้งบอีกมหาศาล และภาคเอกชนทีย่ งั มี ความกังวลเรือ่ งแผนธุรกิจเพื่อรับมือกับน้าท่วมทีอ่ าจเกิดขึน้ อีกครัง้ ต้นทุนการผลิต ทีส่ ูงขึน้ จากการปรับขึน้ ค่าแรงของรัฐบาล ปจั จัยต่างๆ เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อการ เตรียมพร้อมของภาครัฐและเอกชนพอสมควร ดังนัน้ ภาครัฐและภาคเอกชนจึงควรมี การบริหารจัดการเพื่อรับมือกับผลกระทบต่างๆ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา 6. ความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศน์ จากการเพิ่มขึ้นของประชากรโลก ประกอบกับกระแสโลกาภิว ัฒน์ ท่ี ก่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายทุนที่สาคัญ ได้แก่ ประชากรในพื้นที่และประชากรแฝง ทุน การเงิน ทุนอานาจ ซึง่ การเคลื่อนย้ายทุนดังกล่าวทาให้เศรษฐกิจและสังคมเปลีย่ นแปลง อย่างรวดเร็ว ภาวะการแข่งขันทางการค้ารวดเร็วและรุนแรงมากขึน้ ทัง้ นี้ประเทศไทยจึง ได้รบั ผลกระทบจากการกระแสโลกาภิวฒ ั น์ ทงั ้ ในด้านดีและไม่ดอี ย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรมลง เนื่ องจากการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง และขาดมาตรฐานในการจัดการสิง่ แวดล้อมอย่าง จริงจัง นาไปสู่การขาดสมดุลของระบบนิเวศน์ 6.1 การล้มเหลวของรัฐบาลในการควบคุม สานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2555) กล่าวว่า สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของประเทศไทย ได้รบั ผลกระทบ จากการเปลีย่ นแปลงในบริบทโลกและปจั จัยภายในประเทศ ทัง้ เรือ่ งการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ การเพิม่ ขึน้ ของประชากร การพัฒนาเศรษฐกิจที่มุ่งการเจริญเติบโตและ การแข่งขันทางด้านการค้าและการลงทุน ทาให้มกี ารใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ เกินศักยภาพในการรองรับของระบบนิเวศ ในขณะทีข่ ดี ความสามารถของการบริหาร จัดการและเครื่องมือทางนโยบาย เช่น ฐานข้อมูล กฎระเบียบ การบังคับใช้กฎหมาย เกี่ยวกับสิง่ แวดล้อม และเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ยงั ไม่สามารถนามาใช้ได้อย่างมี


21 ประสิทธิภาพ เนื่องจากการบริหารจัดการทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมในปจั จุบนั ยังคง ล้มเหลวขาดการบูรณาการร่ วมกันระหว่ างหน่ วยงานรับผิดชอบที่เกี่ยวข้อง การ กาหนดเครือ่ งมือและกลไกในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเป็ นแบบ แยกส่วน ระบบการจัดการข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมยังไม่เป็ น มาตรฐาน ไม่ครอบคลุม และขาดการเชื่อมโยงกับข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม กฎหมายมีลกั ษณะของการบริหารจัดการทรัพยากรรายสาขา ขาดประสิทธิภาพใน การบังคับใช้ ขาดความเป็ นธรรม และไม่โปร่งใส นอกจากนี้ยงั มีปญั หาการทุจริต คอร์รปั ชัน่ และความไม่เป็ นธรรมในการจัดสรรทรัพยากร เช่น ทีด่ นิ น้ า และป่าไม้ เป็นต้น ส่งผลให้เกิดความไม่ไว้วางใจในการบริหารจัดการของภาครัฐ ในขณะทีเ่ กิด ช่องว่างทางนโยบายในการบูรณาการระหว่างการอนุ รกั ษ์สงิ่ แวดล้อมกับการพัฒนา เศรษฐกิจ ประกอบกับความอ่อนแอของกลไกการจัดการสิง่ แวดล้อมและการบังคับ ใช้กฎหมาย และความไม่มปี ระสิทธิภาพของเครื่องมือกากับและควบคุมในการ บรรเทาผลกระทบของโครงการขนาดใหญ่ ส่ งผลให้เกิดผลกระทบมากมายจาก โครงการพัฒนาเศรษฐกิจขนาดใหญ่ของทัง้ ภาครัฐและเอกชน อีกทัง้ รัฐบาลไม่ให้ ความส าคัญกับการจัดการสิ่งแวดล้อมมากเท่ าที่ควร ซึ่งหากเปรียบเทียบกับ ต่างประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ ญี่ป่นุ หรืออเมริกา ทีใ่ ห้ความสาคัญกับการดูแล สิง่ แวดล้อมและการพัฒนาอย่างยังยื ่ น ทัง้ ในภาครัฐและภาคธุรกิจ ดังจะเห็นได้จาก การนาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (EMA) เข้ามาใช้เป็นมาตรฐานในภาคธุรกิจ รวมไปถึงการจัดทาบัญชีเพื่อการพัฒนาอย่างยังยื ่ น (accounting for sustainability) เป็ นต้น ซึ่งปญั หาที่เกิดขึน้ เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อความเป็ นอยู่ของประชาชนและ คุ ณภาพสิ่งแวดล้อม และน าไปสู่ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม ส่งผลต่อความสมดุลของระบบนิเวศโดยรวมอย่างต่อเนื่อง 6.2 ทรัพยากรธรรมชาติ สานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2554) รายงานว่า ทรัพยากรทางธรรมชาติของประเทศไทยมีความเสื่อมโทรมอย่างต่อเนื่องและเกิด ปญั หาความขัดแย้งของการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติมากขึน้ เห็นได้จาก พืน้ ทีป่ า่ ไม้ยงั คงถูกบุกรุกอย่างต่อเนื่อง จากการเพิม่ ขึน้ ของประชากรซึง่ ต้องการใช้ ประโยชน์จากทีด่ นิ ในการผลิตทางการเกษตร เพื่อการอยูอ่ าศัยและพัฒนาโครงสร้าง พืน้ ฐานภายใต้ทรัพยากรทีด่ นิ มีอยู่อย่างจากัด อีกทัง้ ความเสื่อมโทรมของคุณภาพ ดินที่เกิดจากดินเปรีย้ วและดินเค็ม รวมทัง้ การสูญเสียพืน้ ที่บริเวณชายฝงั ่ ปญั หา เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อความสมดุลทางระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเป็ นแหล่ งพึ่งพิงเพื่อการด ารงชีว ิตของชุ มชน และเป็ นพื้นฐานการพัฒนา


22 เศรษฐกิจของประเทศในอนาคต แต่รฐั บาลก็ไม่สามารถบริหารจัดการที่ดินให้ม ี ประสิทธิภาพได้ ทาให้การใช้ท่ดี นิ ไม่ตรงตามศักยภาพของพื้นที่และพื้นที่ป่าไม้ ลดลงและถูกทาลายเหลือเพียงร้อยละ 33.56 ของพืน้ ทีท่ งั ้ ประเทศ เกิดความขัดแย้ง ในการใช้ประโยชน์ และไม่สามารถแก้ไขปญั หาผู้ไร้ท่ที ากินได้อย่างยังยื ่ น ส่วน ั ่ ดการเสื่อมโทรมลงอย่างต่อเนื่องเช่นกัน เนื่องจาก ทรัพยากรทางทะเลและชายฝงเกิ พืน้ ทีป่ า่ ชายเลนและแนวปะการังลดลงจากการถูกบุกรุกทาลาย มีการเปลีย่ นสภาพ ั ่ ความรุนแรงมากขึน้ ในขณะทีท่ รัพยากร ไปใช้ประโยชน์อ่นื ๆ การกัดเซาะชายฝงมี ประมงลดลงทัง้ ในเชิงปริมาณ ชนิด และขนาด ส่วนการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าชายฝงั ่ ขยายตัวต่อเนื่อง แต่ยงั คงสร้างปญั หาคุณภาพสิง่ แวดล้อมด้านทรัพยากรแร่และ พลังงาน เนื่องจากยังคงมีความต้องการใช้เพิม่ ขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทาให้เกิดการ พัฒนาทรัพยากรเพื่อรองรับความต้ องการดังกล่ าว ก่ อให้เกิดผลกระทบต่ อ สิง่ แวดล้อม และทรัพยากรน้ ามีแนวโน้ มขาดแคลนเพิม่ ขึ้น จากการประมาณการ ความต้องการใช้น้ าของประเทศทีเ่ พิม่ ขึน้ เฉลีย่ ปีละ 1,281 ล้าน ลบ.ม. ในระยะ 3 ปี ข้างหน้า และปีละ 2,178 ล้าน ลบ.ม. ในระยะ 5 ปีถดั ไป 6.3 ปญั หาน้ าท่วมใหญ่ของประเทศ

ภาพที่ 2-16 น้าท่วมครัง้ ใหญ่ในประเทศไทย ทีม่ า: กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. www.bangkokbiznews.com. (19 มีนาคม 2555) แม้สาเหตุของอุทกภัยครัง้ ใหญ่ท่สี ุดในประวัตศิ าสตร์ของประเทศไทยจะเกิด จากภัยธรรมชาติอย่างพายุโซนร้อน ลมมรสุม และร่องความกดอากาศต่ ากาลัง ทาให้ม ี ฝนตกชุ กจนเกิดน้ าท่ วมต่ อเนื่ อง น าไปสู่ความเดือดร้อนในพื้นที่ภาคเหนื อ ภาค


23 ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกของประเทศ และได้รบั อิทธิพลจากพายุโซน ร้อนพร้อมกับไต้ฝนุ่ พัดเข้าสู่ประเทศไทยตอนบนจนมีฝนตกหนักถึงหนักมากเป็ นระยะๆ จึงเกิดเหตุการณ์น้ าท่วมอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน แต่ทงั ้ นี้อกี สาเหตุหนึ่งทีส่ าคัญคือ การบริหารจัดการน้ าที่ไร้ประสิทธิภาพ ขาดการกาหนดผังเมืองและการควบคุมการใช้ ประโยชน์ท่ดี นิ ทีด่ ี ทาให้ทว่ี ่างรับน้ าต่างๆ ถูกแทนที่ด้วยการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน และถนนหนทาง ซึ่งเป็ นการตอกย้าความล้มเหลวของรัฐบาลในควบคุมและป้องกัน ปญั หาน้ าท่วมที่เกิดขึน้ จากปญั หาน้ าท่วมประเทศครัง้ ใหญ่ ท่เี กิดขึน้ นัน้ กองติดตาม ประเมินผล (2554) เปิดเผยว่า พืน้ ทีท่ ป่ี ระสบอุทกภัยและพืน้ ทีท่ ม่ี กี ารประกาศเป็ นพืน้ ที่ ประสบภัยพิบตั ิกรณีฉุกเฉินตัง้ แต่ปลายเดือนกรกฎาคม – 7 ธันวาคม ปี 2554 รวม ทัง้ สิ้น 64 จังหวัด มีผู้เสียชีวติ 675 ราย สูญหาย 3 คน ผลกระทบจากอุทกภัยสร้าง ความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และรายได้ของประเทศ ประมาณ 1.3 ล้านล้านบาท (ข้อมูล วันที่ 8 ธันวาคม ปี พ.ศ. 2554) ทัง้ ยังส่งผลกระทบไปยังหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะระบบ นิเวศวิทยาทางทะเล เพราะการระบายน้ าเสียลงสู่ทะเลมีผลต่อการดารงชีพและสัตว์น้ า แหล่งพืน้ ทีแ่ ละพืชผลทางเกษตรได้รบั ความเสียหาย สุขภาพอนามัยของประชาชนแย่ลง เกิดโรคระบาด ทรัพยากรธรรมชาติถูกทาลาย เกิดแผ่นดินถล่ม และดินขาดปุ๋ยธรรมชาติ เกิดความเสียหายต่อระบบบาบัดน้าเสียและระบบกาจัดขยะมูลฝอย เป็นต้น 6.4 มลพิษ เขตเมือง/เขตอุตสาหกรรม/สารตกค้างไปทัวประเทศ ่ ไทยพับลิก้า (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ ซึง่ เปิดเผยถึงสถานการณ์ มลพิษของประเทศไทยปี 2554 โดยมีรายละเอียดสถานการณ์ต่างๆ ดังนี้


24 6.4.1 มลพิษทางอากาศและเสียง

ภาพที่ 2-17 กราฟแสดงคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครตัง้ แต่ปี 2535-2554 ทีม่ า: ไทยพับลิกา้ (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ. www.thaipublica.org. (19 มีนาคม 2555) ไทยพับลิก้า (2554) อ้างถึง วิจารย์ สิมาฉายา อธิบดีกรมควบคุม มลพิษได้สรุปสถานการณ์ มลพิษของประเทศไทยประจาปี 2554 ว่า สถานการณ์คุณภาพอากาศของประเทศไทยมีแนวโน้มดีขน้ึ เมื่อเทียบกับปี ทีผ่ ่านมา ปญั หาหลักยเป็ นฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอนในบริเวณ ริมถนนในกรุงเทพมหานครซึ่งลดลงจากปี ท่แี ล้ว ดังภาพที่ 2-17 ปญั หา รองลงมาคือ ก๊ าซโอโซนและก๊ าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ซึ่งพบเกิน มาตรฐานบริเวณริมถนนในบางพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร ส่ วนก๊ าซ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์และคาร์บอนมอนอกไซด์ยงั อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ด้าน คุณภาพอากาศในเขตปริมณฑลพบว่า ยังคงมีปญั หาฝุน่ ขนาดเล็กมีค่าเกิน มาตรฐาน ส่วนต่างจังหวัดปญั หาหลักยังคงเกิดจากฝุ่นขนาดเล็กและก๊าซ โอโซน สาหรับก๊าซโอโซนพบว่ า มีค่ าเกินมาตรฐานในหลายพื้นที่ โดย พืน้ ทีท่ พ่ี บเกินมาตรฐานมากทีส่ ุดคือ พระนครศรีอยุธย


25 ด้านสถานการณ์ระดับเสียงริมเส้นทางจราจรและพื้นที่ทวไปใน ั่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีแนวโน้มลดลงจากปีท่ผี ่านมา โดยระดับ เสียงเฉลีย่ (Leq) 24 ชัวโมงอยู ่ ใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน 6.4.2 มลพิษทางน้า

ภาพที่ 2-18 กราฟแสดงคุณภาพน้าผิวดินทัวประเทศ ่ 2552-2554 ทีม่ า: ไทยพับลิกา้ (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ. www.thaipublica.org. (19 มีนาคม 2555) ก่อนเหตุการณ์น้ าท่วมใหญ่ช่วงเดือนกันยายนพบว่า คุณภาพน้ า ผิวดินอยู่ในเกณฑ์ดี ร้อยละ 30 พอใช้ ร้อยละ 42 และเสื่อมโทรม ร้อยละ 28 ตามล าดับ ซึ่งเมื่อ เปรียบเทียบคุ ณภาพน้ า 5 ปี ย้อ นหลัง พบว่ า คุณภาพน้าโดยรวมมีแนวโน้มดีขน้ึ ยกเว้นแหล่งน้ า 3 แหล่ง ได้แก่ ระยอง ตอนบน พังราดตอนบน และปราจีนบุร ี เสื่อมโทรมลง สาเหตุมาจากความ สกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD) เพิม่ ขึน้ ส่วนแม่น้ าสายหลักทีม่ คี ุณภาพ น้าอยูใ่ นเกณฑ์เสื่อมโทรม ได้แก่ เจ้าพระยาตอนล่าง ท่าจีนตอนกลาง และ ท่าจีนตอนล่าง มีสาเหตุหลักมาจากน้ าเสียชุมชน ทัง้ นี้พบว่า แหล่งน้ าใน ทุกภาคโดยรวมมีคุ ณภาพน้ าดีข้นึ เมื่อเทียบกับปี ท่ผี ่ านมา และตัง้ แต่ ปี 2551-2554 ไม่มแี หล่งน้ าใดอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมมาก ด้านคุณภาพน้ า ั่ ชายฝงทะเลส่ วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดแี ละพอใช้รวมกันกว่าร้อยละ 90 เช่น ั ่ นตก ฝ งอั ั ่ นดามัน ซึ่งเป็ นแหล่ งท่ องเที่ยวส าคัญ ส่ วน อ่ าวไทยฝ งตะวั


26 บริเวณที่ยงั คงมีปญั หาคุณภาพน้ าคือ พื้นที่อ่าวไทยตอนใน บริเวณปาก แม่น้ าสายหลักจากการระบายน้ าที่ท่วมขังลงในแม่น้ าเจ้าพระยา ท่าจีน บางปะกง ลงสู่ทะเลอ่าวไทยตอนใน ทาให้ค่าความเค็มลดต่ าลง ส่งผลต่อ สัตว์น้ าบางชนิดและการเพาะเลีย้ งฝงั ่ 6.4.3 มลพิษกากของเสียและสารอันตราย

ภาพที่ 2-19 ปริมาณขยะมูลฝอยจาแนกตามพืน้ ที่ ทีม่ า: ไทยพับลิกา้ (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ. www.thaipublica.org. (19 มีนาคม 2555) ปริมาณขยะมู ล ฝอยทัว่ ประเทศเพิ่ม ขึ้นทุ กปี โดยปี 2554 มี ประมาณ 16 ล้านตัน หรือวันละ 43,800 ตัน เพิม่ ขึน้ 0.84 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 5.5 ตามการขยายตัวของชุ มชนและประชากรที่เพิ่มขึ้น โดย กรุงเทพมหานครมีขยะมูลฝอยประมาณวันละ 9,500 ตัน คิดเป็ นร้อยละ 22 ของปริมาณขยะทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละวัน ขณะที่เขตเทศบาลและเมืองพัทยามี ขยะมูลฝอยประมาณวันละ 17,488 ตัน คิดเป็ นร้อยละ 40 ของปริมาณขยะ ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ขณะที่เขตองค์การบริหารส่วนตาบลมีขยะมูลฝอย ประมาณวันละ 16,792 ตัน คิดเป็ นร้อยละ 38 ของปริมาณมูลฝอยทัว่ ประเทศ ของเสียอันตรายเกิดขึ้นประมาณ 3.12 ล้านตัน โดยเกิดจาก อุตสาหกรรมประมาณ 2.4 ล้านตัน และประมาณ 0.73 ล้านตัน เป็นของเสีย อันตรายจากชุมชน แบ่งเป็ นกลุ่มแบตเตอรี่ หลอดไฟ และภาชนะบรรจุ สารเคมีประมาณ 340,000 ตัน กลุ่ มซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้ าและ


27 อิเล็กทรอนิกส์ประมาณ 367,000 ตัน และมูลฝอยติดเชือ้ ประมาณ 41,000 ั หาที่ส่ งผลกระทบต่ อคุ ณภาพชีว ิต ตัน ส่ วนสารอันตรายยังคงเป็ นป ญ ประชาชนเช่ นกัน จากสถิติจ านวนผู้ป่วยของกรมควบคุ มโรคพบว่ า มี ผูป้ ว่ ยได้รบั พิษจากสารเคมีประมาณ 1,934 ราย จาแนกเป็ นผูป้ ่วยทีไ่ ด้รบั พิษจากสารเคมีดา้ นอุตสาหกรรมรวม 210 ราย โดยพืน้ ทีท่ ม่ี ผี ู้ป่วยได้รบั พิ ษ ส า ร อั น ต ร า ย ท า ง ด้ า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ม า ก ที่ สุ ด คื อ ภ า ค ตะวันออกเฉี ยงเหนื อ และมีผู้ ป่ ว ยที่ไ ด้ ร ับพิษ จากสารอันตรายทาง การเกษตร 1,724 ราย โดยพื้นทีท่ ่มี ผี ู้ป่วยได้รบั พิษจากสารอันตรายทาง การเกษตรมากที่สุดคือ ภาคเหนือ ทัง้ ยังเกิดอุบตั ิภยั ฉุ กเฉินจากสารเคมี จากการขนส่งสารเคมี เกิดในโรงงานอุตสาหกรรม โกดังเก็บสารเคมี การ ลักลอบทิ้งกากของเสีย เป็ นต้น และในเขตกรุงเทพและปริมณฑลมีการ ร้องเรียนปญั หามลพิษมากที่ได้สุ ด ได้แก่ มลพิษทางด้านอากาศ 68% ปญั หามลพิษทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศเหล่านี้ ส่งผลกระทบต่อความสมดุลของ ระบบนิเวศวิทยาด้วยเช่นกัน 7. คุณลักษณะธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับสภาวะการเปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็วของเศรษฐกิจโลก

ภาพที่ 2-20 เปรียบเทียบลักษณะธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับ สภาวะการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจโลก ทีม่ า: จุฑามาศ ปญั ญพรสุข. www.chula-alumni.com. (19 มีนาคม 2555) สรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล (2549) กล่าวว่า ปจั จุบนั ธุรกิจในประเทศไทยต้อง เผชิญหน้ ากับคู่แข่งทางการค้าที่สาคัญคือ จีน และเวียดนาม ที่มคี ่าแรงงานที่ต่ ากว่า ประเทศไทย ทาให้งานหรือธุรกิจที่เคยมีในไทยนัน้ กลายไปเป็ นของคู่แข่ง เนื่องจาก


28 ลักษณะธุรกิจในประเทศไทยส่วนมากจะเป็ นการรับจ้างผลิตสินค้า ทัง้ การรับจ้างให้กบั ผูว้ ่าจ้างภายในประเทศหรือรับจากต่างประเทศ ทาให้การดาเนินงานของธุรกิจขึน้ อยู่กบั ผู้ว่ าจ้าง เพราะผู้ว่าจ้างอาจจะย้ายฐานการผลิตไปในประเทศอื่นที่มตี ้นทุ นต่ ากว่ า ประเทศไทยควรที่จะมีความกระตือรือร้นในการจัดการและพัฒนาองค์การ เพื่อที่จะ สามารถแข่งขันกับประเทศคู่แข่งได้ ซึ่งแต่ละธุรกิจนัน้ ควรมีการเตรียมการรับมือกับ สภาวะเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยการวางแผนกลยุทธ์ของธุ รกิจ เพื่อให้ พนักงานรับทราบและใช้เป็นแม่บทในการปฏิบตั งิ าน เพื่อให้สามารถปฏิบตั เิ พื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของธุรกิจ และสามารถอยูใ่ นตลาดธุรกิจได้อย่างยังยื ่ น การบริ หารต้นทุน ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อศักยภาพ การประกอบการของภาครัฐและเอกชน 1. ความตกต่าทางศีลธรรม 2. การเมืองและคอร์รปั ชัน่ 3. ความตกต่าและความล้มเหลวของระบบทุน นิยม

4. ความตกต่าทางการศึกษา 5. การเปิดเสรีทางการค้า 6. ความเสือ่ มโทรมของระบบนิเวศน์ 7. ลักษณะธุรกิจทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับการ เปลีย่ นแปลงของเศรษฐกิจโลก

แนวทางในการบริหารเพื่อเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันไปสู่การแข่งขันอย่างยังยื ่ น 1. 2. 3. 4. 5. 6.

การฟื้นฟูศลี ธรรม หลักธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม องค์การแห่งการเรียนรู้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาทางด้านสารสนเทศต่างๆ โดยเฉพาะ ทางการบัญชี

7. การออกแบบระบบบัญชี 8. การบริหารต้นทุนทีด่ อ้ ยประสิทธิภาพ

ภาพที่ 2-21 สรุปปจั จัยทีส่ ่งผลกระทบต่อศักยภาพการประกอบการและแนวทางในการบริหารจัดการ เพื่อเพิม่ ศักยภาพทางการแข่งขัน ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน) การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศไทยเป็ นไปอย่างล่าช้า เนื่องมาจากความตกต่ าทาง ศีลธรรม การเมืองและคอร์รปั ชัน่ ความตกต่ าและความล้มเหลวของระบบทุนนิยม ความตกต่ า ทางการศึกษา การเปิ ดเสรีทางการค้า ความเสื่อมโทรมของทรัพยากร และลักษณะของธุรกิจที่ไม่ สามารถตอบรับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ได้ ซึง่ ส่งผลต่อการบริหารจัดการองค์กร ในการพัฒนาขีด


29 ความสามารถนัน้ จะต้องอาศัยระยะเวลาในการฟื้ นฟูความตกต่ าทางด้านศีลธรรม การนาหลักธรรมา ภิบาล ความรับผิดชอบต่ อสังคมและสิ่งแวดล้อม องค์การแห่งการเรียนรู้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง การพัฒนาทางด้านสารสนเทศและการออกแบบระบบทางการบัญชี และการบริหารต้นทุนมา ประยุกต์ใช้ภายในองค์การ เพื่อลดต้นทุนในการดาเนินงาน นาไปสู่การเป็ นผู้นาทางด้านต้นทุน สามารถสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันได้ และจะเป็ นแนวทางในการนาองค์กรไปสู่การพัฒนา อย่างยังยื ่ น 1. ความหมายของต้นทุน ปิยาภรณ์ อาสาทรงธรรม (2552) กล่าวว่า ต้นทุน (cost) หมายถึง มูลค่าของ ทรัพยากรที่กจิ การต้องสูญเสียไป เพื่อให้ได้สนิ ค้าหรือบริการกลับมา โดยมูลค่าของ ทรัพยากรนัน้ จะต้องสามารถวัดได้เป็นหน่วยเงินตรา โดยเป็ นลักษณะของการลดลงของ สินทรัพย์หรือการเพิม่ ขึน้ ของหนี้สนิ ซึง่ เมื่อต้นทุนใดทีเ่ กิดขึน้ และธุรกิจได้ใช้ประโยชน์ ไปทัง้ สิน้ แล้ว ต้นทุนนัน้ จะถือว่าเป็นค่าใช้จา่ ย แต่อย่างไรก็ตามต้นทุนและค่าใช้จ่ายนัน้ มีวตั ถุประสงค์ทแ่ี ตกต่างกันในแง่ของการก่อให้เกิดประโยชน์และการบันทึกบัญชี หาก ธุรกิจใดมีการบริหารต้นทุนที่ดีแล้วก็จะทาให้ ธุ รกิจนัน้ ได้เปรียบทางการแข่งขันกับ คู่แข่งได้ 2. ความสาคัญของต้นทุนทีจ่ ะบ่งบอกความยังยื ่ นในการประกอบการ อนุ ธ ิดา ประเสริฐศักดิ ์ (2554) กล่ าวว่า ธุ รกิจที่แตกต่ างกันมีล กั ษณะของ ต้นทุนที่แตกต่างกัน ผู้บริหารจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับต้นทุนของกิจการ ตนเอง เพื่อให้การนาข้อมูลต้นทุนนามาใช้ในการบริหาร การวางแผนและตัดสินใจ การ ควบคุม และการจัดทางบประมาณมีประสิทธิภาพมากทีส่ ุด ต้นทุนเป็ นปจั จัยสาคัญต่ อทุกธุ รกิจ เพราะต้นทุนที่เพิม่ ขึ้นหมายถึงกาไรที่ ลดลง แต่ถ้ากิจการสามารถลดต้นทุนลงได้กจ็ ะทาให้กาไรเพิม่ ขึน้ และกิจการสามารถ สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันได้ หากกิจการเป็ นผู้นาทางด้านต้นทุนในตลาด ผูบ้ ริหารสามารถนากลยุทธ์การลดต้นทุนไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับกิจการ ซึง่ จะมี ผลทาให้เกิดความยังยื ่ นของธุรกิจ


30 3. การใช้เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ภาพที่ 2-22 เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน) ั หาจากภาวะ ปิ ยาภรณ์ อาสาทรงธรรม (2552) กล่ าวว่ า ธุ รกิจประสบป ญ เศรษฐกิจที่มคี วามผันผวน ผู้บริหารจึงต้องพยายามหาวิธกี ารต่างๆ ที่จะทาให้ธุรกิจ สามารถอยูร่ อดได้ ซึง่ สิง่ แรกทีผ่ บู้ ริหารจะคานึงถึงคือ การลดต้นทุนและการจัดทาบัญชี ต้นทุน ซึง่ เป็นข้อมูลทีม่ คี วามสาคัญ เนื่องจากการบัญชีต้นทุนทาให้รถู้ งึ ต้นทุนของการ บริหารกิจกรรมหรือการทางานในฝ่ายต่างๆ ซึง่ การจัดทาบัญชีต้นทุนทีด่ สี ามารถทาให้ ผูบ้ ริหารวางแผน คาดการณ์ และตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง อันจะนาไปสู่การวางแผนใน การลดต้นทุนของธุรกิจทีเ่ กิดขึน้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์การธุรกิจต่างๆ ต้องให้ความสาคัญกับการมุ่งเน้นการพึ่งตนเอง และการ บริหารต้นทุนให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด จึงเกิดวิธกี ารต่างๆ ในการบริหารต้นทุนในระบบ การผลิต ซึง่ ประกอบด้วย 5 วิธ ี 3.1 ระบบการบัญชีตน้ ทุนตามกิจกรรม วรศักดิ ์ ทุมมานนท์ (2544) กล่าวว่า ระบบการบัญชีต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) เป็ นแนวคิดของการบริหารต้นทุน ซึง่ ถือว่าเป็ น กิจกรรมที่ทาให้เกิดต้นทุน จึงต้องมีการคิดต้นทุนและปนั ส่วนค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ เกิดขึ้นเข้าสู่กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง หลังจากนัน้ จึงคิดต้นทุนของกิจกรรมเข้าเป็ น ผลิตภัณฑ์จะทาให้ผบู้ ริหารได้รบั ข้อมูลทีถ่ ูกต้องยิง่ ขึน้


31 นาตยา ตรีรตั น์ดลิ กกุล (2550) กล่าวว่า ประโยชน์จากการนาระบบต้นทุน ตามกิจกรรมมาใช้มดี งั นี้ 1. ช่วยให้การคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์มคี วามถูกต้องใกล้เคียงความเป็ น จริง 2. ช่วยในการวัดผลการปฏิบตั งิ านของกิจการ 3. ช่วยในการลดต้นทุนและค่าใช้จา่ ยของกิจการ 4. เชื่อมโยงกลยุทธ์ในการดาเนินงานของกิจการเข้ากับการตัดสินใจ อัน จะเป็ นประโยชน์ต่อผู้บริหารในการพัฒนากิจกรรมทีเ่ ป็ นงานหลักของ องค์การ 5. ใช้เป็นข้อมูลในการต่อยอด เพื่อการจัดทาการบริหารตามฐานกิจกรรม (Activity Based Management: ABM) เพื่อให้เกิดการบริหารองค์การ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพดียงิ่ ขึน้ 3.2 การจัดการห่วงโซ่อุปทาน ธนิต โสรัตน์ (2551) กล่าวว่า ในการบริหารกลยุทธ์ ผูบ้ ริหารควรเลือกใช้ กลยุทธ์ทเ่ี หมาะสมกับสภาพธุรกิจขององค์การ การนาการจัดการห่วงโซ่อุปทาน ซึง่ เป็นเครื่องมือการบริหารมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพนัน้ ต้องมีการออกแบบ โครงสร้างและกระบวนการต่ างๆ ภายในห่ ว งโซ่ อุ ปทานอย่ างเหมาะสมและ ครอบคลุม เพื่อการกาหนดกระบวนการทีส่ อดคล้องกับกลยุทธ์ แล้วจึงทาการระบุ ประเภทของเทคโนโลยี ส่งเสริมการดาเนินงานในแต่ละกระบวนการ รวมทัง้ การ พิจารณาบุคลากรให้มลี กั ษณะที่สอดคล้องกับงานในแต่ ละกระบวนการ วิธกี าร ดังกล่าวนี้จะช่วยให้ผปู้ ฏิบตั งิ านสามารถมองห่วงโซ่อุปทานได้ทงั ้ ระบบอย่างแท้จริง 3.3 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (sufficiency economy) เป็นอีกเครื่องมือทีน่ ามา ใช้ในการบริหารต้นทุน เพื่อความยังยื ่ นในการประกอบการ และพร้อมรับมือต่อการ เปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวฒ ั น์ จากปญั หาความตกต่ าทางศีลธรรม การเมือง และ คอรัปชัน่ เป็นต้น ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล (2554) กล่าวว่า เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเศรษฐกิจที่ สามารถอุม้ ชูตวั เองได้ ให้มคี วามพอเพียงกับตัวเอง อยู่ได้โดยไม่เดือดร้อน ซึง่ ต้อง สร้างพืน้ ฐานทางด้านเศรษฐกิจของตนเองให้ดกี ่อนคือ ให้ตนเองสามารถอยู่ได้อย่าง พอกินพอใช้ มิได้มงุ่ หวังทีจ่ ะสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้เจริญอย่างรวดเร็วแต่ เพียงอย่างเดียว การประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วย ความ พอประมาณคือ องค์การต้ องรู้จ ักใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับ


32 สภาพแวดล้อม โดยพัฒนาจากภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ก่อน ไม่คา้ กาไรเกินควร ความมี เหตุผลคือ ตัดกิจกรรมทีไ่ ม่จาเป็นเพื่อลดค่าใช้จา่ ย และการมีภูมคิ ุม้ กันคือ องค์การ ไม่ควรสร้างภาระหนี้สนิ มากจนเกินความสามารถ 3.4 การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (Environmental Management Accounting: EMA) หมายถึง แนวคิดทางการบัญชีทค่ี านึงถึงการจาแนกต้นทุนทีเ่ กี่ยวข้องหรือมี ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมออกจากค่าใช้จ่ายทัง้ หมดที่เกิดขึ้นจากการผลิต โดยมี พื้นฐานในการค านวณที่คล้ายกับการคิดต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) ซึง่ โดยปกติแล้วต้นทุนดังกล่าวจะแฝงตัวอยู่ ทาให้ผปู้ ระกอบการไม่ ทราบถึงจานวนที่แท้จริงของต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อม ซึ่งแนวคิดดังกล่าวจะ สามารถช่วยให้ทาถึงจุดนี้ได้อย่างชัดเจน สิ่งส าคัญเพื่อที่จะได้ทราบถึงต้นทุ นตามแนวคิดของการบัญชีบริหาร สิง่ แวดล้อมนัน่ ก็คอื ศูนย์ต้นทุน (cost centre) ซึง่ จะทาหน้าทีใ่ นการจาแนกต้นทุน ทางด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ ให้กบั ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ตามทีไ่ ด้ก่อไว้ ตลอดจนการนา ข้อ มู ล ที่ไ ด้ น าไปจัดท าเป็ นรายงาน เพื่อ การบริหารภายในส าหรับปรับปรุ ง กระบวนการผลิต และการจัดทาเป็นรายงาน เพื่อเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก การทีอ่ งค์การต่างๆ นาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อมเข้ามาใช้ นอกจาก จะเป็ นการนาข้อมูลที่ได้มาเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและลดต้นทุนแล้ว ยังถือ เป็นการแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมอีกด้วย 3.5 ระบบการผลิตแบบลีนและการบัญชีแบบลีน เกียรติขจร โฆมานะสิน (2550) กล่าวว่า ลีน (Lean) คือ การบูรณาการ แนวคิด กิจกรรม และวิธกี ารทีเ่ ป็นระบบในการระบุและกาจัดความสูญเปล่า หรือสิง่ ทีไ่ ม่เพิม่ คุณค่าภายในกระแสคุณค่าของกระบวนการ ซึ่งความสูญเปล่าคือ ทุกสิง่ ทุกอย่างที่เพิม่ ต้นทุนหรือเวลา โดยปราศจากการเพิม่ คุณค่า ทาให้เกิดสภาพการ ไหลอย่างต่อเนื่อง และทาการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างคุณค่าให้แก่ระบบอยู่ เสมอ รวมทัง้ มุ่งผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้ดยี งิ่ ขึ้น โดยใช้ทรัพยากรการผลิตที่น้อยกว่า องค์การสามารถนาวิธ ีการบริหารต้นทุ น ดังกล่าวมาปรับใช้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการดาเนินงาน และจะทาให้เกิดการ พัฒนาอย่างยังยื ่ นตามมา


33

แนวคิ ดการพัฒนาอย่างยังยื ่ น

ภาพที่ 2-23 สรุปองค์ประกอบการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน)

1. การพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น พิพฒ ั น์ นนทนาธรณ์ (2553) ได้กล่าวถึงแผนแม่บทเพื่อพัฒนาอย่างยังยื ่ นของ โลก เพื่อสร้างความสมดุ ลให้เกิดขึ้น โดยครอบคลุ มการพัฒนาที่สมดุ ลทัง้ 3 ด้าน ประกอบด้วยด้านเศรษฐกิจ สังคม และด้านสิ่งแวดล้อม เรียกว่ า ไตรก าไร (Triple Bottom Line: 3BL) ซึง่ เป็ นการพัฒนาทีต่ ้องคานึงถึงเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม การพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่ไปกับสังคมจะทาให้เกิดความเท่าเทียมกันในการแบ่งสรร ทรัพยากรระหว่างสมาชิกในสังคม การพัฒนาสังคมคู่ไปกับสิง่ แวดล้อมจะทาให้เกิดการ พึ่งพาซึ่งกันและกัน ผู้คนช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมให้ดีก็จะมีความสามารถหา ประโยชน์จากสิง่ แวดล้อมได้นาน การพัฒนาเศรษฐกิจคู่ไปกับสิง่ แวดล้อมจะทาให้เกิด ความสมดุล ถ้าเศรษฐกิจเติบโตบนความเสื่อมของสิง่ แวดล้อมก็จะเกิดความไม่สมดุลขึน้ สุดท้ายเราก็ตอ้ งทุ่มเงินจานวนมากในการรักษาสิง่ แวดล้อม การพัฒนาอย่างยังยื ่ นจะยืน ได้ดว้ ยการพัฒนาทัง้ 3 สาขา คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม ซึง่ ทัง้ หมดนี้ต้องอยู่


34 บนพืน้ ฐานของศีลธรรมอันดีงาม จึงจะทาให้เรามีเศรษฐกิจทีเ่ จริญเติบโต มีสงั คมทีเ่ ป็ น สุข และมีสงิ่ แวดล้อมทีด่ ี จนสามารถเกิดความสมดุลและยังยื ่ น 1.1 ความหมายของการพัฒนาอย่างยังยื ่ น The UK government’s Department of Environmental Food and Rural Affairs การพัฒนาอย่างยังยื ่ น (sustainable development) หมายถึง “การตอบสนอง ความต้องการของคนรุน่ ปจั จุบนั โดยไม่มผี ลกระทบในทางลบต่อความต้องการของ คนรุน่ ต่อไปในอนาคต” เนื่องจากทุกครัง้ ทีม่ กี ารตอบสนองความต้องการของคนรุ่น ปจั จุบนั ต้องมีการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ซึง่ ส่งผลกระทบต่อ อนาคตในทางลบ การพัฒนาอย่างยังยื ่ นจึงเป็ นแนวคิดในการแก้ปญั หาเหล่านี้ท่ี เกิดขึน้ โดยมีกฎเกณฑ์สาหรับการพัฒนาอย่างยังยื ่ นที่ได้รบั การยอมรับจากการ ดาเนินงานของทัง้ ภาครัฐและเอกชน ตลอดจนการวางแผนการดาเนินงานทีจ่ ะส่งผล ให้เกิดการพัฒนาอย่างยังยื ่ นแทนที่จะเน้ นถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดย แบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ ภาครัฐและภาคเอกชน 1. ภาครัฐเพื่อให้การพัฒนาที่ยงยื ั ่ นสามารถแทรกเข้าไปในทุกส่วนของ สังคมโลก องค์การสหประชาชาติจงึ เสนอให้ประเทศกาลังพัฒนาที่ ประสบความล้มเหลวในการพัฒนาตามที่กล่าวมาข้างต้น เร่งปฏิรูป ระบบเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการปฏิรูปการเมือง การบริหาร การศึกษา การขจัดและลดความยากจน การส่งเสริมให้มกี ารบูรณาการทางการ ผลิต ทางการเกษตร การสร้างาน การรักษาสิง่ แวดล้อม และการลด อัตราการเพิม่ ขึน้ ของประชากร เป็ นต้น ซึง่ ทางภาครัฐจะมีการกาหนด รูปแบบในการประเมินอย่างยังยื ่ นใน 4 ขัน้ ตอน โดยมีการใช้วธิ กี าร ทางบัญชีต้นทุ นเป็ นพื้นฐานในการประเมินผลกิจกรรมต่ างๆ ที่ม ี ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อมและสังคม ซึง่ ประกอบด้วย 1.1 ขัน้ ที่ 1 กาหนดวัตถุประสงค์ของต้นทุน กาหนดจุดสาคัญของการ บริหารออกมาเป็ นแนวทางของโครงการต่ างๆ โดยทีมงาน โครงการ 1.2 ขัน้ ที่ 2 ระบุขอบเขตของการวิเคราะห์ มีการกาหนดอย่างแพร่หลาย ซึง่ การติดตามผลกระทบของโครงการนัน้ มีมากกว่าวงจรทีม่ กี ารแพร่ ขยายผลกระทบเหล่านัน้ โดยตรง ทาให้สามารถควบคุมได้โดย ทีมงานโครงการ


35 1.3 ขัน้ ที่ 3 ระบุผลกระทบของวัตถุประสงค์ต้นทุน ทาการพิจารณา ภายใต้หวั ข้อเศรษฐกิจ ทรัพยากรทีใ่ ช้ สิง่ แวดล้อมและสังคม 1.4 ขัน้ ที่ 4 ผลกระทบจากกาไรเกิดขึน้ ผลกระทบของโครงการจะถูก แปลงเป็นฐานการวัดทัวไปด้ ่ านตัวเงิน ทีม่ คี วามหลากหลายในการ สร้างรูปแบบการวัดทีไ่ ด้ทอ่ี าจนามาใช้เพียงการเปิดเอกสารเท่าที่ จะเป็ นได้เพื่อให้ทราบราคาปจั จุบนั ส าหรับการระบุ กลไกลการ สร้างกาไรที่จะเกิดขึ้น เมื่อทาการสร้างแบบจาลองสาหรับการ สร้างโครงการและระบุการหมุนเวียนทีส่ าคัญทัง้ หมด ซึ่งอาจจะมี การเปลี่ยนเป็ นทางด้านตัวเงิน ซึ่งช่วยให้สามารถสร้างกราฟได้ เป็ นผลให้กราฟที่เป็ นรูปแบบพื้นฐานออกมาเป็ นรูปแบบการ ประเมินการพัฒนาอย่างยังยื ่ น 2. ภาคเอกชน การดาเนินธุรกิจขององค์การจะมีกาหนดแนวทางในการ ปฏิบ ัติให้ก ับตัวขององค์การในการป้ องการเกิดขึ้นของความ ล้มเหลวในการพัฒนาอย่างยืนในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นด้านตัว องค์การ ด้านดาเนินงาน และด้านการเงิน ซึ่งแนวโน้มของทัง้ 3 ด้าน ที่กล่ าวมานัน้ เป็ นตัวที่ใช้การประเมินผลการพัฒนาอย่าง ยังยื ่ นหลักขององค์การ ถึงการประสิทธิภาพในประกอบธุรกิจของ องค์การในภาคเอกชน ซึง่ หลายองค์การสามารถดาเนินการในเรือ่ ง เหล่ านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ ในทางกลับกันก็ยงั มีในบาง องค์การที่ไม่สามารถทาการพัฒนาอย่างยังยื ่ นได้ โดยสามารถ ทราบถึงประสิทธิภาพการปฏิบตั ิขององค์การจากปจั จัยในการ ประเมินผลดังภาพที่ 2-24


36

ภาพที่ 2-24 หลักการในการบริหารจัดการองค์กร ทีม่ า: Chartered Institute of Management Accountants. www.cgma.org. (21 March 2012) 2. การฟื้นฟูค่านิยม หลักคุณธรรม ให้มาเป็นหลักการสาคัญทีส่ ุดในทุกเรือ่ ง 2.1 หลักธรรมาภิบาล

ภาพที่ 2-25 องค์ประกอบทีส่ าคัญ 6 ประการของหลักธรรมาภิบาล ทีม่ า: ศักดิ ์ชัย ภู่เจริญ. http://www.kruinter.com. (18 มีนาคม 2555)


37 ศักดิช์ ัย ภู่ เจริญ (2553) กล่ าวว่ า หลักธรรมาภิบาล หมายถึง การ บริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมทีด่ ี เป็นแนวทางสาคัญในการจัดระเบียบให้สงั คม ซึง่ เป็นหลักการเพื่อการอยูร่ ว่ มกันในบ้านเมืองและสังคมอย่างมีความสงบสุข องค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาลจากภาพที่ 2-25 มีองค์ประกอบที่ สาคัญ 6 ประการ ดังนี้ 1. หลักนิตธิ รรม คือ การตรากฎหมาย กฎ ข้อบังคับต่างๆ ให้ทนั สมัย และเป็นธรรม เป็นทีย่ อมรับของสังคมและสมาชิก ถือปฏิบตั ริ ่วมกัน อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม 2. หลักคุณธรรม คือ การยึดถือและเชื่อมันในความถู ่ กต้อง โดยการ รณรงค์เพื่อสร้างค่ านิ ยมที่ดีงามให้ผู้ปฏิบ ัติ งานในองค์การหรือ สมาชิกของสังคมถือปฏิบตั ิ 3. หลักความโปร่งใส คือ การทาให้สงั คมไทยเป็นสังคมทีเ่ ปิดเผยข้อมูล ข่าวสารอย่างตรงไปตรงมา และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ ซึ่งจะเป็ นการสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน และช่ วยให้การ ทางานของภาครัฐและภาคเอกชนปลอดจากการทุจริตคอรัปชัน่ 4. หลักความมีส่วนร่วม คือ การทาให้สงั คมไทยเป็ นสังคมทีป่ ระชาชน มีส่ วนร่วมรับรู้ และเสนอความเห็นในการตัดสินใจสาคัญๆ ของ สังคม 5. หลักความรับผิดชอบ มีความรับผิดชอบต่อความบกพร่องในหน้าที่ การงานที่ต นรับ ผิด ชอบอยู่ และพร้ อ มที่จ ะปรับ ปรุ ง แก้ ไ ขได้ ทันท่วงที 6. หลักความคุม้ ค่า การบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากรทีม่ จี ากัดให้ เกิดประโยชน์คุม้ ค่า เพื่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ส่วนรวม 2.2 จิตสานึกแห่งความรับผิดชอบต่อเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากร บุณิกา จันทร์เกตุ (2555) กล่าวว่า ในปจั จุบนั ธุรกิจที่ไม่มศี ลี ธรรม โดย ดาเนินธุรกิจมุ่งเน้นแต่ผลกาไรแต่ไม่คานึงถึงผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ กับผู้บริโภคมี มากขึน้ ความเจริญรุ่งเรืองทางด้านวัตถุเป็ นสาเหตุท่ที าให้สงั คมแสวงหาเงินทอง มากกว่าทีจ่ ะให้ความสาคัญทางด้านจิตใจ สังคมจึงเสื่อมโทรมลงอย่างเห็นได้ชดั เจน ท่ามกลางการแข่งขันทางธุรกิจ ดังนัน้ การปลูกฝ งั ความสานึกให้กบั บุคคลและ องค์การเพื่อให้มคี วามรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมจึงควรที่จะเกิดขึ้นในสังคม ด้วยเหตุน้ใี นปจั จุบนั จึงมีการกล่าวถึงคาว่า “จิตสาธารณะ” เพื่อให้องค์การธุรกิจได้ ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสาธารณะมากกว่าตนเอง โดยในภาพรวมแล้วหาก


38 องค์การมีความรับผิดชอบต่อสังคมจะมีส่วนช่วยเหลือเศรษฐกิจของประเทศให้ม ี ความมันคงเจริ ่ ญรุ่งเรืองได้ เนื่องจากองค์การที่มคี วามรับผิดชอบต่อสังคมย่อมไม่ ทาให้เกิดความเสียหายในเรือ่ งต่างๆ 2.3 แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระ ราชด ารัสชี้แนะแนวทางการด าเนิ นชีว ิตแก่ พสกนิ กรชาวไทย ตัง้ แต่ ก่ อนเกิด วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และภายหลังได้ทรงเน้นยา้ แนวทางการแก้ไข เพื่อให้รอด พ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างมันคงและยั ่ งยื ่ น ภายใต้กระแสโลกาภิว ฒ ั น์ และ ความเปลีย่ นแปลงต่างๆ เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบตั ิตนของ ประชาชนในทุกระดับตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการ พัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนิ นไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา เศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่ อโลกยุคโลกาภิวฒ ั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็ นทีจ่ ะต้องมีระบบภูมคิ ุม้ กันในตัวทีด่ ี พอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทัง้ ภายนอกและ ภายใน ทัง้ นี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง่ ใน การน าวิชาการต่ า งๆ มาใช้ ใ นการวางแผนและด าเนิ น การทุ ก ขัน้ ตอน และ ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพืน้ ฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าทีข่ อง รัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มสี านึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้ความรอบรูท้ เ่ี หมาะสม ดาเนินชีวติ ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่ อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วและกว้างขวางทัง้ ด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกได้เป็นอย่างดี1

1

สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติได้ประมวลและกลันกรองจำกพระรำชด ่ ำรัสของ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หวั เรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ พระรำชทำนในวโรกำสต่ำงๆ รวมทัง้ พระรำชดำรัสอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง


39

ภาพที่ 2-26 สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทีม่ า: สุดารัตน์ เสาวโค. www.gotoknow.org. (19 มีนาคม 2555) 2.4 การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านการบริหารจัดการองค์การ ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ (2554) อ้างถึง สุเมธ ตันติเวช กุล (2554) กล่าวว่า หัวใจของเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักการเหมือนกับศีล 5 คือ นาไปปฏิบตั ิท่ีไหนก็เหมือนกันจะต่ างกันที่ว ิธ ีการกระทาหรือเส้นทางที่จะเดิน เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเพียง “เครื่องมือ” ซึง่ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการบริหาร องค์การได้ทุกองค์การ เป้าหมายก็เพื่อทาให้เกิดความมันคง ่ มีความสุข มีความ ยังยื ่ น โดยอาศัยแนวทางการดาเนินงานทีส่ อดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ 1. ความพอประมาณในทุกด้าน ความพอดีท่ไี ม่น้อยเกินไปและไม่มาก เกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ ่นื 2. ความมีเหตุ มผี ล การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนัน้ จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล 3. การมีภมู คิ ุม้ กันทีด่ ใี นทุกด้าน หมายถึง องค์การเราต้องมีการเตรียมตัว ให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลีย่ นแปลงด้านต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ โดย คานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึน้ ใน อนาคตทัง้ ใกล้และไกล


40 4. เป็ นองค์การที่ม ีความรู้คู่คุ ณธรรม สมดุ ลและยังยื ่ น การสะสมทุ น มนุ ษย์ ทุ นความรู้ การบริ ห ารจั ด การความรู้ (Knowledge Management: KM) มีนโยบายโดดเด่นในการพัฒนาพนักงานอย่าง ต่อเนื่อง เน้นให้พนักงานมีคุณธรรมจริยธรรมในการทางานและในการ ดารงชีวติ คุณภาพชีวติ ในการทางานกับดุลยภาพของชีวติ สุขภาพ และความปลอดภัยในชีวติ 3. การสร้างองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ 3.1 ความหมายขององค์การแห่งการเรียนรู้ แก้ วตา ไทรงาม และคณะ (2548) ได้ให้ความหมายของแนวคิด ซึ่ง สามารถสรุปได้ว่า องค์การทีม่ งุ่ สู่ความเป็นเลิศด้วยการพัฒนาความสามารถของคน ในองค์การ ทัง้ ในด้านความรู้ ทักษะ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์การ โดยส่งเสริม การเรียนรูข้ องสมาชิกทุกๆ คน เน้ นให้บุคลากรเรียนรูด้ ้วยการปฏิบตั จิ ริงให้เกิด ประสบการณ์ และนามาพัฒนาปรับปรุงเปลีย่ นแปลงองค์การอย่างต่อเนื่อง 3.2 ความสาคัญของการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้

ภาพที่ 2-27 แสดงปจั จัยทีน่ าไปสู่การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ ทีม่ า: เสาวนิต คาจันทา. www.songthai.com. (18 มีนาคม 2555) จากภาพที่ได้แสดงให้เห็นถึงปจั จัยต่ างๆ ที่เกิดขึ้นในปจั จุบนั ซึ่งส่งผล กระทบต่อองค์การอย่างมาก สามารถอธิบายได้ว่า ในปจั จุบนั ธุรกิจแข่งขันกันอย่าง รุนแรงจากกระแสโลกาภิวฒ ั น์และเศรษฐกิจโลก ทาให้ทุกประเทศต้องปรับตัวและ พัฒนาความได้เปรียบ ลดข้อด้อยของตนเอง เพื่อทาให้ศกั ยภาพของการแข่งขัน เพิม่ มากขึ้น การแข่งขันในรูปแบบใหม่น้ี องค์การที่จะอยู่รอดต้องผลิตสินค้าที่ม ี คุ ณภาพดีข้นึ และเน้ นลูกค้าเป็ นส าคัญ นอกจากนี้ ยงั มีปญั หาเศรษฐกิจทัวโลก ่ ซบเซาจากความล้มเหลวของระบบทุนนิยม แรงงานคุณภาพขาดแคลน เนื่องจาก


41 เป็นเพราะระบบการศึกษาและการพัฒนาฝีมอื แรงงานผลิตคนได้ชา้ ไม่ทนั กับความ เปลี่ยนแปลงของสภาพธุ รกิจในปจั จุบนั ดังนัน้ บุ คลากรในองค์การจาเป็ นต้อง ฝึกฝนตนเองผ่านการเรียนรูด้ ้วยตนเอง เป็ นต้น ทาให้การสร้างองค์การแห่งการ เรียนรูเ้ ข้ามามีบทบาททีส่ าคัญ เพื่อความอยูร่ อดของธุรกิจในปจั จุบนั 3.3 การสร้างองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ปาริฉั ตต์ ศังขะนันทน์ (2548) ได้กล่ าวว่ า การสร้างองค์การให้เป็ น องค์การแห่งการเรียนรู้ อันดับแรกทาการสารวจสภาพปจั จุบนั ขององค์การและทา การประเมินถึงศักยภาพและบุคลากร รวมทัง้ ประเมินการมีส่วนร่วมในกระบวนการ เรียนรูใ้ นปจั จุบนั จากนัน้ นาข้อมูลทีไ่ ด้มากาหนดเป้าหมายกลยุทธ์ หรือแนวทางที่ จะใช้เป็ นรูปแบบและกิจกรรมที่จะทาให้เกิดกระบวนการเรียนรูร้ ่วมกัน และการ ดาเนินงานตามแผนทีต่ งั ้ ไว้ มีการติดตาม และจัดเกณฑ์การพิจารณาประเมินผลใน ขัน้ ท้ายสุดหลังจากทีด่ าเนินการไปแล้วระยะหนึ่ง เพื่อให้ทราบว่าองค์การมีลกั ษณะ เป็นองค์การแห่งการเรียนรูม้ ากน้อยเพียงใด เพื่อทาการปรับปรุงและพัฒนาต่อไป ประกอบกับการนากฎของ Peter Senge มาใช้ในการสร้างองค์การแห่งการ เรียนรูโ้ ดยมีกฎ 5 ประการ ซึง่ เปี่ยมพงศ์ นุ้ยบ้านด่าน (2543) ได้สรุปไว้ว่า 1. การเรียนรู้ของสมาชิกในองค์การ (personal mastery) สมาชิกของ องค์การทีเ่ ป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ จะต้องมีลกั ษณะสนใจเรียนรูส้ งิ่ ใหม่อยูเ่ สมอ เพื่อเพิม่ ศักยภาพของตน 2. แบบอย่างทางความคิด (mental models) มีการศึกษาและรูเ้ ท่าทันการ เปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ โดยมีทศั นคติทด่ี ี 3. การมีวสิ ยั ทัศน์ร่วมกันของคนในองค์การ (shared vision) สมาชิกทุก คนในองค์การมีการพัฒนาวิสยั ทัศน์ของตนให้สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ โดยรวม เพื่อไปสู่จดุ มุง่ หมายเดียวกัน 4. การเรียนรูเ้ ป็นทีม (team learning) ส่งผลให้เกิดความคิดทีห่ ลากหลาย รับฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ่นื เรียนรูก้ ารแก้ปญั หาทีซ่ บั ซ้อนร่วมกัน 5. ระบบการคิดของคนในองค์การ (system thinking) มีการคิดอย่างเป็ น ระบบ โดยคิดถึงภาพรวม เพื่อเชื่อมโยงสิง่ ต่างๆ และเข้าใจโครงสร้าง อย่างเป็นขัน้ ตอน 4. การออกแบบระบบการสื่อสารและสารสนเทศ ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อประสิทธิภาพของ องค์การ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในโลกปจั จุบนั ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา มีการแข่งขัน ทางธุรกิจสูง องค์การที่มกี ารบริหารงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่าง


42 รวดเร็ว ย่อมทาให้สามารถดาเนินธุรกิจต่อไปได้ ดังนัน้ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมา ใช้ในองค์การ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ได้นัน้ องค์การจะต้องสร้างความแข็งแกร่งเพื่อ เพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิตผลิตภัณฑ์ ทัง้ นี้เพื่อให้องค์การเกิดความได้เปรียบทางการ แข่งขัน 4.1 ระบบสารสนเทศปจั จัยสาคัญต่อความสาเร็จในการบริหารองค์การ เสกสิทธิ คูณศรี (2555) กล่าวว่า จากการเปลีย่ นแปลงของโลกปจั จุบนั ทีม่ ี การแข่งขันกันอย่างสูงขึน้ การตัดสินใจของผู้บริหารจึงมีระยะเวลาที่จากัดภายใต้ เงื่อนไขต่ างๆ มากมาย ทาให้บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การมีมากขึ้น ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีทใ่ี ช้กนั ในปจั จุบนั ถือว่าเป็นตัวขับเคลื่อนทีส่ าคัญที่ จะช่วยให้ผู้บริหารสามารถเก็บรวบรวมข้อมูล แก้ไขเปลี่ยนแปลง เรียกดูข้อมูล ประมวลผล รวมถึงการวิเคราะห์ขอ้ มูลสามารถทาได้อย่างง่ายขึน้ และมีค่าใช้จ่ายที่ ลดลง ในขณะเดียวกันระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีกย็ งั สามารถช่วยให้เกิดการ พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการในการผลิตและการปฏิบตั งิ านให้มตี น้ ทุนทีต่ ่าลง ใช้ เวลาในการทางานทีล่ ดลงแต่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ทม่ี คี ุณภาพมากยิง่ ขึน้ ดังนั ้น องค์ การทุ กๆ องค์ การจึง ควรมีการน าระบบสารสนเทศและ เทคโนโลยีไปใช้เพื่อช่วยในการพัฒนาและสร้างความสาเร็จให้กบั องค์การ เพื่อสร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขันที่มกี ารเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปจั จุบนั และ ยากต่อการคาดการณ์ อย่างไรก็ตามการนาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีไปใช้ เพื่อพัฒนาองค์การให้สาเร็จได้นนั ้ ขึน้ อยู่กบั ความพร้อมของปจั จัยภายในองค์การ หลายด้าน ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ข้อมูลและสารสนเทศ ฐานข้อมูล ระบบ เครือข่ายการสื่อสาร ความซับซ้อนของกระบวนการท างาน บุ คลากรที่ทางาน เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ และที่สาคัญคือ ผู้ใช้งาน โดยต้องอาศัยการบริหารการ เปลี่ยนแปลงที่ดี เพื่อ ให้ ผู้ ใ ช้ งานยอมรับและใช้ งานเทคโนโลยีได้ อ ย่ างเต็ ม ประสิทธิภาพ 4.2 การออกแบบและวางระบบสารสนเทศทางการบัญชี อนุ รกั ษ์ ทองสุ โขวงศ์ (2548) กล่ าวว่า ปจั จุบนั งานของนักบัญชีมกี าร เปลี่ยนแปลงจากเดิมอย่างมาก เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนั สมัย ทาให้มกี าร พัฒนาชุ ดค าสัง่ ส าเร็จรูปหรือชุ ดค าสัง่ เฉพาะส าหรับช่ วยในการเก็บรวบรวมและ ประมวลผลข้อมูล ซึ่งจะช่วยลดระยะเวลาและเพิม่ ความถูกต้องในการทางานแก่ ผูใ้ ช้งาน ทาให้นกั บัญชีมเี วลาในการปฏิบตั งิ านเชิงบริหารมากขึน้


43 ระบบบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) เป็ นแนวคิด ของระบบการบริหารต้นทุนแบบใหม่ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายให้ผู้บริหารหันมาให้ความ สนใจกับการบริหารกิจกรรมและต้นทุนที่เกี่ยวข้อง ดังนัน้ จึงมีการบริหารโดยแบ่ง ออกเป็ นกิจกรรมต่างๆ และถือว่ากิจกรรมเป็ นสิง่ ที่ทาให้เกิดต้นทุนกิจกรรม คือ การกระทาที่เปลี่ยนทรัพยากรของกิจการออกมาเป็ นผลผลิตได้ ดังนัน้ การบัญชี ต้นทุนกิจกรรมนอกจากเน้นการระบุกจิ กรรมแล้วยังระบุต้นทุนของกิจกรรม เพื่อใช้ ในการคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ และเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพใน การดาเนินงาน ระบบต้นทุนฐานกิจกรรมเป็ นระบบการใช้ทรัพยากรขององค์การไปใน กิจกรรม โดยจะแบ่งการบริหารออกเป็ นกิจกรรมต่างๆ โดยที่ต้นทุนกิจกรรมจะมี การปนั ส่วนเข้าสู่ผลิตภัณฑ์นัน้ ๆ ตามปริมาณการใช้กจิ กรรมของผลิตภัณฑ์เป็ น สาคัญ นอกจากนี้ยงั ถือว่ากิจกรรมสนับสนุ นต่างๆ เกิดขึน้ เพื่อให้การดาเนินงาน ดาเนินไปตามปกติ การใช้ระบบบัญชีต้นทุนตามกิจกรรมเป็ นพื้นฐานในการนาไปใช้ในระบบ บัญชีอ่นื ๆ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงกว่า เช่น ผลลัพธ์ทไ่ี ด้จากการประเมินว่ากิจกรรมใด เป็นกิจกรรมทีเ่ พิม่ คุณค่าและกิจกรรมไม่เพิม่ คุณค่า สามารถนาข้อมูลทีไ่ ด้ไปใช้ใน การบริหารกิจกรรม (ABM) เป็นต้น นอกจากนี้ การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม ซึ่งมีหน้าที่ในการจาแนกต้นทุน ทางด้านสิง่ แวดล้อมก็ใช้หลักการระบบต้นทุนตามกิจกรรม (ABC) ในการปนั ส่วน ต้นทุน เนื่องจากมีแนวคิดว่า ผลิตภัณฑ์ใดสร้างกิจกรรมมากผลิตภัณฑ์นัน้ ก็จะ ได้รบั ต้นทุนไปมากเช่นกัน ซึ่งเป็ นหลักการเดียวกันกับแนวคิดการบัญชีบริหาร สิง่ แวดล้อม 5. การออกแบบกระบวนการดาเนินงาน 5.1 ความด้อยประสิทธิภาพของต้นทุน การบริหารจัดการต้นทุนในองค์การย่อมมีความด้อยประสิทธิภาพเกิดขึน้ ได้ ซึง่ เป็นสิง่ ทีอ่ งค์การไม่ตอ้ งการให้เกิดขึน้ เนื่องจากจะส่งผลกระทบต่อองค์การใน ระยะยาว ทฤษฎีเกีย่ วกับความด้อยประสิทธิภาพจะแตกต่างกันไปขึน้ อยู่กบั วิธที ใ่ี ช้ ในการบริหารจัดการ ซึง่ ทาให้ช่อื แตกต่างกันไปด้วย บางทฤษฎีเกิดภาวะเหลื่อมล้า กันคือ อาจมีวธิ กี ารจัดการกับความด้อยประสิทธิภาพที่เหมือนกัน หากมองในแง่ ของการบริหารต้นทุนความด้วยประสิทธิภาพก็คอื ของเสีย (waste) นัน่ เอง ซึง่ อาจ แฝงอยู่ในรูปของของดีและของเสีย โดยสามารถแบ่งตามมุมมองของแนวคิดได้ 3 แนวคิด ดังต่อไปนี้


44

ภาพที่ 2-28 ของเสียตามมุมมองตามแนวคิดของ ABC, EMA และ LEAN ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหาร ต้นทุน) จากภาพข้างต้นสามารถอธิบายแนวคิดทัง้ 3 แนวคิด โดยเริม่ จาก 1. ต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) สามารถแบ่ง กิจกรรมได้ทงั ้ หมด 2 กิจกรรม คือ 1.1 กิจกรรมทีเ่ พิม่ มูลค่า (value added) หมายถึง กิจกรรมทีจ่ าเป็ นต่อ การผลิตและเพิ่มมูลค่ าให้แก่ ผลิตภัณฑ์ ของเสียอาจแฝงอยู่ใน กิจกรรมทีเ่ พิม่ มูลค่าได้ 1.2 กิจกรรมที่ไม่เพิม่ มูลค่า (non - value added) หมายถึง กิจกรรมที่ เพิ่มค่ าใช้จ่ายหรือเวลาที่ใช้ในการผลิตแต่ ไม่เพิ่มมูลค่ าให้แก่ ต ัว


45 ผลิตภัณฑ์ และอาจมีความจาเป็ นในระดับต่างกัน โดยกิจกรรมที่ไม่ เพิม่ มูลค่าจัดว่าอยูใ่ นกลุ่มของเสีย (waste) 2. การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (Environmental Management Accounting: EMA) คือ แนวคิดทางการบัญชีท่คี านึงถึงต้นทุนสิง่ แวดล้อม โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้องค์การคานึงถึงการกาจัดของเสีย (waste) ในทุก ขัน้ ตอนของกระบวนการผลิตก่อนปล่อยออกสู่สงั คม 3. Lean คือ แนวคิดในการลดความไม่สม่าเสมอ (Mura) การฝืนทา (Muri) และความสูญเปล่า (Muda) ทีเ่ กิดขึน้ ในการทางานขององค์การ โดยความ สูญเปล่า (wastes) ที่เกิดจากแนวคิดแบบลีนเรียกว่า ความสูญเปล่า 7 ประการ (7 waste analysis) สามารถจาแนกของเสียได้ 7 อย่าง ประกอบ ไปด้วย 3.1 ความสูญเปล่าจากการผลิตเกินความจาเป็น หากเราผลิตมากเกินไป จะทาให้มสี นิ ค้าคงคลังเพิม่ มากขึน้ เกิดต้นทุนในการเก็บรักษาและ การขนย้ายสินค้า อีกทัง้ ยังมีความเสี่ยงที่ไม่สามารถขายสินค้าได้ หมด 3.2 ความสูญเปล่าจากการรอคอย เกิดจากการขาดแคลนวัตถุดบิ หรือ ขัน้ ตอนการผลิตใดขัน้ ตอนการผลิตหนึ่งเกิดติดขัด ทาให้ขนั ้ ตอน ต่อไปไม่สามารถผลิตต่อไปได้ ทาให้สายการผลิตต้องหยุดชะงัก 3.3 ความสู ญ เปล่ า จากการเคลื่ อ นย้ า ยและขนย้ า ยที่ ไ ม่ จ าเป็ น (transportation) ล้ วนเป็ นความสู ญเปล่ าทัง้ สิ้น เพราะเป็ นการ สิน้ เปลืองทัง้ แรงงานและเวลาโดยไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิม่ ใดๆ 3.4 ความสูญเปล่าจากการมีสนิ ค้าคงคลังเกินความจาเป็ น เกิดจากการ ที่องค์การมีการผลิตของเสียเป็ นจานวนมาก ท าให้ต้องส ารอง วัตถุดบิ ไว้เพื่อสต็อกสินค้าเปลี่ยนแทนให้กบั ลูกค้า อีกทัง้ องค์การ มักคิดว่าการซือ้ วัตถุดบิ ในปริมาณมากๆ จะทาให้ได้ราคาวัตถุดบิ ในราคาถูก แต่ไม่ได้คานึงถึงต้นทุนในการเก็บรักษาวัตถุดบิ ว่า คุม้ ค่าหรือไม่ 3.5 ความสูญเปล่าที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของร่างกายที่ไม่จาเป็ น โดยมุง่ เน้นให้องค์การมีการจัดระเบียบการทางาน ณ จุดทางานให้ เหมาะสม เพื่อทาให้ร่างกายเคลื่อนไหวน้ อยที่สุด เกิดความล้า น้ อยที่สุ ด ซึ่งจะท าให้พนักงานสามารถปฏิบ ัติงานได้อย่ างมี ประสิทธิภาพ


46 3.6 ความสูญเปล่าที่เกิดจากการมีกระบวนการที่ไม่มปี ระสิทธิภาพ ความสูญเปล่าข้อนี้จะไม่เกิดขึ้น หากองค์การมีการพัฒนาอย่าง ต่ อเนื่ อง ซึ่งสิ่งที่ส าคัญที่สุ ดของระบบการผลิตแบบลีนก็ค ือ องค์การต้องไม่กลัวการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสู่กระบวนการที่ม ี ประสิทธิภาพทีด่ ขี น้ึ อย่างต่อเนื่อง 3.7 ความสูญเปล่าจากการผลิตของเสีย องค์การหลายๆ องค์การนัน้ มุ่งเน้ นแต่การแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้ าโดยที่ไม่ได้ให้ความสาคัญ กับการวิเคราะห์ปญั หาเพื่อหาสาเหตุ ดังนัน้ ผู้บริหารจะต้องให้ ความสาคัญกับการวิเคราะห์ปญั หาการผลิตของเสียอย่างเร็วทีส่ ุด เพื่อให้เกิดการผลิตของเสียให้น้อยทีส่ ุด กล่าวโดยสรุปถึงความสัมพันธ์ของความด้อยประสิทธิภาพในเชิงองค์รวม ได้ว่า ของเสียทัง้ 7 ประการสามารถจาแนกออกเป็ น Muri Muda และ Mura สามารถอธิบายความหมายของแต่ละตัวได้ดงั นี้ 1. ความสูญเปล่า (Muda) เกิดได้หลายลักษณะ เช่น ความสูญเปล่าทีเ่ กิด จากการรอคอย การเคลื่อนย้าย การปรับเปลี่ยน การทาใหม่ การ ถกเถียง เป็นต้น ยกตัวอย่างเช่น การประชุมอาจเกิดความสูญเปล่าได้ หากการประชุมนัน้ กลายเป็ นการถกเถียงกัน ทาให้เสียเวลาไปกับการ ประชุมที่ไม่ได้ข้อสรุป หรือในการทากิจกรรมการขาย ถ้าไม่มกี าร วางแผนในการจัดพื้นที่การไปพบลูกค้า ก็จะเสียเวลาในการเดินทาง และสิน้ เปลืองค่าใช้จา่ ยโดยไม่จาเป็น 2. ความไม่สม่าเสมอ (Mura) งานที่มคี วามไม่สม่าเสมอไม่ว่าจะเป็ นใน เรื่องของปริมาณ วิธกี ารทางาน หรืออารมณ์ในการทางาน ทาให้เกิด ความไม่สม่าเสมอของผลงานตามไปด้วย นัน่ หมายความว่า ผลงานที่ ออกมาไม่เป็นไปตามมาตรฐาน หากทุกคนสามารถรักษามาตรฐานของ งานไว้ได้กจ็ ะทาให้ประสิทธิภาพของงานสูงขึน้ ยกตัวอย่างเช่น ในการ ประชุมไม่เคยมีผู้เข้าร่วมประชุมพร้อมหน้าเลย ครัง้ นี้ขาดคนนัน้ ครัง้ นัน้ ขาดคนนี้ และในการทากิจกรรมการขายก็เช่นเดียวกัน พนักงาน อาจมีความตัง้ ใจในการทางานทีไ่ ม่สม่าเสมอ ถ้าไม่ถงึ ปลายเดือนก็จะ ไม่พยายามขาย เป็นต้น 3. การฝื นทา (Muri) การฝื นทาสิ่งใดๆ ก็ตาม มักทาให้เกิดผลกระทบ บางอย่างในระยะยาว ยกตัวอย่างเช่น การทางานล่วงเวลาเป็ นประจา เป็ นการฝื นร่างกาย ซึ่งไม่เป็ นผลดีในระยะยาว อาจท าให้ร่างกาย


47 อ่อนเพลีย ประสิทธิภาพในการทางานลดลง ในการประชุมหากยังไม่ม ี การปรึกษาหารือที่มากเพียงพอแต่กลับเร่งรัดให้มกี ารลงมติก็จะได้ ข้อสรุปที่ผดิ พลาด ส่วนในด้านการขาย การฝื นลดราคาเพื่อให้ได้รบั ออเดอร์หรือการรับงานทีต่ อ้ งส่งมอบเร็วเกินไปก็ไม่ส่งผลดีเช่นกัน 7 Wastes EMA ABC/ABM Lean 1. over production 2. waiting non-value Muri 3. transportation added Mura 4. inventory 5. motion 6. over processing waste Muda 7. defective units ภำพที่ 2-29 เปรียบเทียบของเสียตำมมุมมองตำมแนวคิดของ ABC, EMA และ Lean ทีม่ ำ: จำกกำรวิเครำะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หำพิเศษ (กำรบริหำรต้นทุน) จากทีก่ ล่าวมาข้างต้นถึงของเสียทัง้ 7 ประเภทนัน้ ตามมุมมองของแนวคิด ABC/ABM เรียก ทัง้ หมดว่า กิจกรรมทีไ่ ม่เพิม่ มูลค่า (non-value added) ส่วนในมุมมองของแนวคิด Lean กลุ่มของเสีย ตัง้ แต่ขอ้ ที่ 1-6 เรียกว่า Muri และ Mura คือ การหยุดการผลิตโดยทันที (Jidoka) ซึง่ สามารถกาจัด ออกไปได้เพียงบางส่วนเท่านัน้ และเหลือแต่เพียงของดีเอาไว้ และของเสียข้อที่ 7 จะเรียกว่า Muda คือ ความสูญเปล่าทีต่ อ้ งกาจัดทิง้ ให้เหลือศูนย์ แต่ตามแนวคิดของ EMA เรียกของเสียข้อที่ 7 ว่า ของ เสีย (waste) ซึง่ เนื่องจาก Muda เป็ นของเสียทีต่ ้องกาจัดให้หมดไป แต่ Muri กับ Mura จะแฝงอยู่ใน รูปของของดีเพียงบางส่วน ดังนัน้ สามารถกาจัดได้เพียงบางส่วนเท่านัน้ และเหลือไว้เพียงของดี เอาไว้ ส่วนวิธกี ารจัดการมีหลากหลายรูปแบบคือ ขายหรือรีไซเคิล และบางส่วนทีจ่ ดั การไม่ได้จะต้อง พยายามลดของเสียนัน้ จนกระทังเหลื ่ อศูนย์ และต้องพยายามลดความสูญเปล่ าหรือความด้อย ประสิทธิภาพประเภทต่างๆ ให้ลดลง ดังนั น้ ธุ รกิจจึงมีแนวทางในการลดหรือขจัดความด้ อยประสิทธิภาพ เพื่อก่ อ ให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดคือ การขจัดความสูญเปล่าทีเ่ กิดขึน้ ในทุกๆ กิจกรรมให้หมดไป โดยพืน้ ฐานการ ควบคุมควรเริม่ จากการสังเกตในเรื่องของสถานทีท่ างานว่าอยู่ในสภาพทีป่ กติหรือไม่ อาจมีการติด ป้ายระบุว่าส่วนใดเป็ นพืน้ ทีท่ างาน ทางเดินหรือที่วางสิง่ ของ เพื่อให้เกิดระบบในการใช้พน้ื ทีภ่ ายใน โรงงานให้เป็นสัดส่วนนันเอง ่ ในส่วนของกระบวนการผลิตควรมีบอร์ดควบคุมการผลิต เพื่อดูว่าผลิต


48 ได้แล้วจ านวนเท่ าไหร่ เกิดความล่ าช้าในการผลิตที่จะส่ งผลกระทบต่ อปริมาณสินค้าหรือไม่ เครื่องจักรมีการด าเนิ นงานเป็ นอย่ างไร รวมถึงควรเปิ ดเผยข้อมูลทัง้ หมดของหน้ างานผลิต สถานการณ์ดา้ นคุณภาพ เพื่อพนักงานจะได้รว่ มกันทาให้บรรลุเป้าหมาย มีการกาหนดมาตรฐานการ ทางาน เพื่อหาความผิดปกติท่จี ะก่อให้เกิดความด้อยประสิทธิภาพในระบบ เพื่อมุ่งค้นหาถึงสาเหตุ อย่างจริงจัง วางแผนหามาตรฐานการปรับปรุง ดาเนินการปรับปรุง ทบทวนงานตามมาตรฐาน และทา ให้สงิ่ เหล่านี้ดาเนินการได้อย่างยังยื ่ นตลอดไป 5.2 ระบบการผลิตแบบลีน

People Development กำรเสริมสร้ำง “ทักษะ ทัศนคติ และควำมเชื่อ ” ซึ่งช่วยให้กำร พัฒนำของวัฒนธรรมองค์กรของ คุ ณ แ ล ะใ น ที่ สุ ด ก็ ก ลำ ย เ ป็ น สภำพแวดล้อมระดับโลก

Implementation of Value Management

The Road Map to Achieve ‘World Class’ Status Implementation of Lean Manufacturing

The 8 Tools of Total Cost Management วิ ธี ก ำรผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นด้ ำ น ก ำ ร เ งิ น มี ค ว ำ ม เ ข้ ำ ใ จ ที่ ออกแบบมำเพื่อเพิ่มผลผลิต

Lean Manufacturing

Supply chain management

Supply chain management กำรพัฒ นำฐำนอุ ป ทำนเพื่อ กำรปรับปรุง -คุณภำพ - ต้นทุน - กำรจัดส่ง

The 8 Tools Quality of Total Manageme Cost nt Manageme The Foundation for Success People Development “Skin, Attibrutes& Benefit”

กำรส่งมอบคนและกระบวนกำร ในกำรผลิต ที่มี ค วำมเหมำะสม เ พื่ อ ส ร้ ำ ง ค ว ำ ม มั น่ ใ จ ว่ ำ จ ะ สำมำรถสร้ำงมูลค่ำเพิม่ และกำจัด ของเสียในรูปแบบ 7+1 ได้

Value Management เพื่อ ให้แ น่ ใ จว่ำ ผลิต ภัณ ฑ์ ข อง คุณส่งมอบคุณสมบัตกิ ำรทำงำน “คุม้ ค่ำเงิน” ทีด่ ีทสี่ ุดเพื่อ ลูกค้ำ ของคุณในรำคำทีม่ ปี ระสิทธภำพ คุม้ ค่ำทีส่ ดุ

Quality Management ก ำ ร ด ำ เ นิ น ก ำ ร ต ำ ม ร ะ บ บ คุณภำพทีม่ ปี ระสิทธิภำพจะช่วย ลดควำมเสี่ย งของผลิต ภัณ ฑ์ ท ี่ บกพร่องเข้ำถึงลูกค้ำของคุณ

ภาพที่ 2-30 องค์กรแห่งลีน ทีม่ า: XR training & consultancy. http://xrtraining.com/main/showpage. (19 March 2012)


49

องค์กรแบบลีน จะสามารถสาเร็จได้ดว้ ยการปฏิบตั ติ าม 6 ขัน้ ตอน ดังต่อไปนี้ 1. Value Management การส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้ลกู ค้าด้วยประสิทธิภาพ สูงสุดและราคาทีค่ ุม้ ค่ามากทีส่ ุด 2. Quality Management การดาเนินงานตามระบบทีม่ คี ุณภาพลดข้อบกพร่อง ในสินค้าทีจ่ ะส่งมอบ 3. People Development การสร้างทักษะ ทัศนคติ และความเชื่อ เพื่อช่วย พัฒนาวัฒนธรรมภายในองค์กรจนกลายสภาพแวดล้อมระดับโลก 4. The 8 Tools of Total Cost Management เครื่องมือด้านการเงินที่ ออกแบบมาเพื่อเพิม่ ผลผลิตและผลกาไรอย่างต่อเนื่องให้แก่องค์กร 5. Supply chain management การประสานความร่วมมือขององค์กรต่างๆ ภายในห่วงโซ่อุปทานเพื่อนาไปสู่การดาเนินงานที่มปี ระสิทธิภาพและ ลดต้นทุนในการดาเนินงาน 6. Lean Manufacturing การผลิตทีจ่ ะมุ่งเน้นการขจัดความสูญเปล่าที่เกิดขึน้ ในกระบวนการ และยังสามารถสร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่องค์กร เมื่อนา 6 ขัน้ ตอนข้างต้นมาดาเนินงานร่วมกัน โดยทุกขัน้ ตอนมีความ เชื่อมโยงซึง่ กันและกัน เริม่ จากส่งมอบผลิตภัณฑ์ทค่ี ุม้ ค่าเงินให้แก่ลูกค้า ตลอดจน มีการควบคุ มคุ ณภาพสินค้า เพื่อลดความบกพร่องในผลิตภัณฑ์ นาเครื่องมือ ทางการเงินที่สร้างมาเพื่อวัดผลผลิตและก าไรมาใช้ และยังพัฒนาการสร้าง วัฒนธรรมภายในองค์การที่ดี นอกจากนัน้ มีการจัดการภายในห่วงโซ่อุปทานเพื่อ เพิม่ ประสิทธิภาพในการดาเนินงาน และสุดท้ายองค์การมีการนาวิธกี ารผลิตแบบ ลีนมาปรับปรุงในขัน้ ตอนการผลิตโดยขจัดความสูญเปล่าในองค์การ ซึ่งจะทาให้ องค์การประสบความสาเร็จได้ตามต้องการ


50

ภาพที่ 2-31 การขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการ ทีม่ า: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ นุ่ ). www.tpa.or.th. (23 มีนาคม 2555) ภาณุ บูรณจารุกร (2550) กล่าวว่า ความสูญเสียทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ 7 ประการนี้ เป็นความสูญเสียทีแ่ ฝงอยูใ่ นกระบวนการผลิต ซึง่ ทาให้ตน้ ทุนการผลิตสูงเกินกว่าที่ ควรจะเป็น หากบริษทั ทาการขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการนี้ออกไปได้กจ็ ะทาให้ บริษทั สามารถลดต้นทุนได้ โดยการขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการสามารถทาได้ ดังนี้ 1. ความสูญเปล่าจากการผลิตเกินกว่าความจาเป็ น มีแนวทางการขจัด ความสูญเปล่าดังนี้ 1.1 ก าจัดจุดคอขวด โดยท าการศึกษาเวลาการท างานของแต่ ละ ขัน้ ตอนในการผลิตว่าทางานสมดุลกันหรือไม่ หากพบว่าขัน้ ตอน ใดมีการผลิตต่ากว่ามาตรฐานก็ทาการแก้ไข 1.2 ผลิตสินค้าเฉพาะปริมาณทีล่ กู ค้าต้องการเท่านัน้ 1.3 พนักงานต้องดูแลเครือ่ งจักรให้อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งานเสมอ 2. ความสูญเปล่าจากการรอคอย มีแนวทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 2.1 บริษทั ควรมีการวางแผนการผลิต เพื่อให้กระบวนการผลิตสามารถ เป็นไปได้อย่างราบรืน่ 2.2 บริษทั ควรมีการรักษาเครือ่ งจักรให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.3 บริษทั ควรลดเวลาในการตัง้ เครือ่ งจักรให้น้อยลง 2.4 บริษทั ควรมีการจัดสรรพนักงานให้เหมาะสมในแต่ละส่วนงาน


51 3. ความสูญเปล่าจากการเคลื่อนย้ายและขนย้ายที่ไม่จาเป็ น มีแนวทาง การขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 3.1 วางผังเครือ่ งจักรให้ใกล้กบั คลังสินค้า เพื่อให้สามารถขนส่งสินค้า ได้งา่ ยและสะดวก 3.2 พยายามลดการขนส่งทีซ่ ้าซ้อนกัน 3.3 ใช้อุปกรณ์ในการขนส่งทีเ่ หมาะสม 4. ความสูญเปล่าจากวิธกี ารผลิต มีแนวทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 4.1 บริษัทควรมีมาตรฐานในการผลิต กาหนดไว้ในแผนแม่บทของ บริษทั เพื่อให้ทุกคนปฏิบตั ติ าม 4.2 อบรมพนักงานให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจ และสามารถปฏิบตั งิ านได้ ตรงตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ 4.3 ดัดแปลงอุปกรณ์ให้สามารถป้องกันความผิดพลาดจากการทางาน ได้ หรือดัดแปลงอุปกรณ์ไม่ให้สามารถทางานได้ หากชิ้นงานนัน้ ไม่สมบูรณ์ 4.4 ตัง้ เป้าหมายให้ผลิตของเสียเป็ นศูนย์ 4.5 ลดเวลาการติดตัง้ เครือ่ งจักรให้ใช้เวลาน้อยทีส่ ุด 5. ความสูญเปล่าที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของร่างกายที่ไม่จาเป็ นมีแนว ทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 5.1 ศึกษาการเคลื่อนที่ เพื่อพัฒนาการเคลื่อนย้ายให้เกิดต้นทุนน้อย ทีส่ ุด 5.2 จัดการสภาพแวดล้อมในการทางานให้เหมาะสม 5.3 ปรับปรุงเครือ่ งมือและอุปกรณ์ให้มขี นาดเหมาะสมกับผูป้ ฏิบตั งิ าน 5.4 ทาอุปกรณ์ในการจับหยิบชิ้นงาน เพื่อให้สามารถทางานได้อย่าง สะดวกรวดเร็วมากขึน้ 6. ความสูญเปล่าทีเ่ กิดจากการมีกระบวนการที่ไม่มปี ระสิทธิภาพมีแนว ทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 6.1 ปรับปรุงการออกแบบผลิตภัณฑ์และเลือกใช้ว ัสดุ ท่ีเหมาะสม เพื่อให้งา่ ยต่อการผลิตและการใช้งาน 6.2 ลดเวลาการติดตัง้ เครือ่ งจักรให้น้อยลง 7. ความสูญเปล่าจากการผลิตของเสีย มีแนวทางการขจัดความสูญเปล่า ดังนี้


52 7.1 บริษัทควรมีมาตรฐานในการผลิต กาหนดไว้ในแผนแม่บทของ บริษทั เพื่อให้ทุกคนปฏิบตั ติ าม 7.2 อบรมพนักงานให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ 1.3 ระบบห่วงโซ่อุปทาน

ภาพที่ 2-32 ห่วงโซ่อุปทาน ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน) คานาย อภิปรัชญาสกุล (2553) กล่าวว่า โซ่อุปทาน คือ เครือข่ายของ องค์การธุรกิจซึง่ ประกอบด้วย ผูข้ ายปจั จัยการผลิต ผูผ้ ลิต/บริการ ผูก้ ระจายสินค้า ผู้ค้าปลีก ที่ร่วมกันวางแผนและดาเนินงานกิจกรรมต่างๆ ตัง้ แต่การจัดซื้อจัดหา วัตถุดบิ การผลิต การบริหารสินค้าคงคลัง การขนส่งและกระจายผลิตภัณฑ์ไปยัง ผู้บริโภคคนสุดท้าย ซึ่งต้องอาศัยการไหลของสารสนเทศ (เกี่ยวกับวัตถุดบิ การ ผลิตและผลิตภัณฑ์) การไหลของเงิน และการไหลของวัตถุ ดิบและผลิตภัณฑ์ เรียกว่า กระบวนการโลจิสติกส์ ดังภาพที่ 2-32 โดย ณรัฐ หัสชู (2553) อ้างถึง ปวีณา เชาวลิตวงศ์ (2548) ได้แยกกิจกรรมหลักภายในห่วงโซ่อุปทานเป็ น 4 กิจกรรม ได้แก่ 1. การจัดหา (procurement) เป็นการหาวัตถุดบิ หรือวัสดุ เพื่อทาการป้อนเข้า ไปให้แก่ห่วงโซ่อุปทาน กิจกรรมการจัดหาจะส่งผลต่อคุณภาพและ ต้นทุนในการผลิต


53 2. การขนส่ ง (transportation) เป็ นกิจกรรมที่เพิ่มให้แก่ส ินค้าในแง่ของการ โยกย้ายสถานที่ของสินค้า ซึ่งหากการขนส่งไม่ดี เช่น เสียหายหรือ ล่าช้า ย่อมทาให้ตน้ ทุนในการผลิตเพิม่ ขึน้ 3. การจัดเก็บ (warehousing) เป็ นกิจกรรมทีม่ ไิ ด้เพิม่ คุณค่าให้แก่ตวั สินค้า แต่เป็ นกิจกรรมที่จาเป็ นสาหรับการรองรับความต้องการของลูกค้าที่ ไม่คงที่ รวมถึงมีประโยชน์ทางด้านในการผลิตครัง้ ละมากๆ เพื่อต้นทุน รวมทีต่ ่าลง 4. การกระจายสินค้า (distribution) เป็ นกิจกรรมที่ช่วยกระจายสินค้าจากจุด จัดเก็บไปยังร้านค้าปลีก หรือศูนย์กระจายสินค้า หรือตัวลูกค้า โซ่อุปทานที่มปี ระสิทธิภาพสูงย่อมสามารถตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าด้วยต้นทุนที่ต่ าสุดและตรงตามเวลาที่ต้องการ ดังนัน้ จึงจาเป็ นที่ต้องมีการ จัดการโซ่อุปทานให้เกิดประสิทธิภาพ เพื่อประสานองค์กร หน่ วยงาน และกิจกรรม ต่างๆ ในห่วงโซ่อุปทานให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด ซึง่ ต้องอาศัยความร่วมมือของทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลประโยชน์ร่วมกันทัง้ ทางด้านการผลิตคือ ช่วยลดต้นทุนใน การเก็บรักษาสินค้าคงคลัง และต้นทุนอันเกิดจากการขาดแคลนสินค้าที่จะจัดส่ง ให้กบั ลูกค้า ด้านการตลาดคือ ทราบถึงปริมาณความต้องการของสินค้าที่แท้จริง ของผู้บริโภค ทาให้การวางกลยุทธ์ทางการตลาดมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การจัดการการบริหารห่วงโซ่ อุ ปทานเข้ามาช่ วยในการจัดการตัง้ แต่ การสังซื ่ ้อ วัตถุดบิ การผลิต การเก็บรักษาสินค้า การกระจายสินค้า ตลอดจนการบริการหลัง การขายให้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และด้านการเงินก่อให้เกิดสภาพคล่องของ เงินหมุนเวียนในโซ่อุปทาน อุปสรรคทางการเงินในการดาเนินธุรกิจจึงไม่เกิดขึน้ 1.4 การจัดการสินค้าคงคลัง คานาย อภิปรัชญาสกุ ล (2549) กล่ าวว่า สินค้าคงคลัง (inventory) คือ สินทรัพย์ชนิดหนึ่งที่กิจการต้องมีไว้เพื่อขายหรือผลิต ซึ่งประกอบด้วย วัตถุดบิ งานระหว่างทา วัสดุซ่อมบารุงสินค้าสาเร็จรูป แรงงาน เงินลงทุน เครื่องมือและ อุปกรณ์ เป็นต้น ระบบการควบคุมสินค้าคงคลัง (inventory control system) มี 3 วิธ ี คือ 1. ระบบสินค้าคงคลังอย่างต่อเนื่อง (continuous inventory system perpetual system) เป็ นระบบทีม่ กี ารลงบัญชีทุกครัง้ ทีม่ กี าร รับและจ่าย ทาให้บญ ั ชีคุมยอดแสดงยอดคงเหลือที่แท้จริง ของสินค้าคงคลังอยู่เสมอ ซึ่งจาเป็ นอย่างยิง่ ในการควบคุม สินค้าคงคลังรายการสาคัญทีป่ ล่อยให้ขาดมือไม่ได้


54 2. ระบบสินค้าคงคลังเมื่อสิน้ งวด (periodic inventory system) เป็ นระบบที่ม ีการลงบัญชีเฉพาะในช่ วงเวลาที่ก าหนดไว้ เท่านัน้ เมื่อของถูกเบิกไปก็จะมีการสังซื ่ ้อเข้ามาเติมให้เต็ม ระดับที่ตงั ้ ไว้ ซึ่งระบบนี้จะเหมาะกับสินค้าที่มกี ารสังซื ่ ้อและ เบิกใช้เป็นช่วงเวลาทีแ่ น่นอน 3. ระบบการจาแนกสินค้าคงคลังเป็ นหมวดเอบีซี (ABC) โดย ระบบนี้เป็นวิธกี ารจาแนกสินค้าคงคลังออกเป็ นแต่ละประเภท โดยพิจารณาปริมาณและมูลค่าของสินค้าคงคลังแต่ละรายการ เป็ นเกณฑ์ เพื่อลดภาระในการดูแล ตรวจนับ และควบคุ ม สินค้าคงคลังทีม่ อี ยู่มากมาย เพื่อไม่ให้เสียเวลาและค่าใช้จ่าย มากเกินความจาเป็น ประโยชน์ของสินค้าคงคลัง มีดงั นี้ 1. ทาให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีป่ ระมาณ การไว้ในแต่ละช่วงเวลาทัง้ ในและนอกฤดูกาล 2. รักษาการผลิตให้มอี ตั ราคงทีส่ ม่าเสมอ เพือ่ รักษาระดับการ ว่าจ้างแรงงาน การเดินเครือ่ งจักรฯลฯ ให้สม่าเสมอได้ โดยจะ เก็บสินค้าทีข่ ายไม่หมดในช่วงขายไม่ดไี ว้ขายตอนช่วงขายดี ซึง่ ช่วงนัน้ อาจจะผลิตไม่ทนั ขาย 3. ทาให้ธุรกิจได้ส่วนลดปริมาณจากการจัดซือ้ จานวนมากต่อ ครัง้ ป้องกันการเปลีย่ นแปลงราคาและผลกระทบจากเงินเฟ้อ เมือ่ สินค้าในท้องตลาดมีราคาสูงขึน้ 4. ป้องกันของขาดมือด้วยสินค้าเผื่อขาดมือ เมือ่ เวลารอคอย ล่าช้าหรือบังเอิญมีคาสังซื ่ อ้ เพิม่ ขึน้ กะทันหัน 5. ท าให้กระบวนการผลิตสามารถด าเนิ นการต่ อเนื่ องอย่าง ราบรื่น ไม่มกี ารหยุดชะงักเพราะของขาดมือจนเกิดความ เสียหายแก่กระบวนการผลิต บทบำทของสินค้ำคงคลังในห่วงโซ่อุปทำน สินค้ำคงคลังมีว ตั ถุ ประสงค์ในกำรสร้ำงควำมสมดุ ลในห่ วงโซ่ อุ ปทำน เพื่อให้ระดับสินค้ำคงคลังต่ ำสุ ดโดยไม่ กระทบต่ อระดับกำร ให้บริกำร โดยปจั จัยนำเข้ำของกระบวนกำรผลิตที่มคี วำมสำคัญอย่ำงยิง่ คือ วัตถุดบิ ชิน้ ส่วนและวัสดุต่ำงๆ ทีเ่ รียกรวมกันว่ำสินค้ำคงคลัง ซึง่ เป็ น องค์ ป ระกอบที่ใ หญ่ ท่ีสุ ด ของต้ น ทุ น กำรผลิต ผลิต ภัณ ฑ์ ห ลำยชนิ ด


55 นอกจำกนัน้ กำรมีสนิ ค้ำคงคลังที่เพียงพอยังเป็ นกำรตอบสนองควำมพึง พอใจของลูกค้ำได้ทนั เวลำ จึงเห็นได้ว่ำสินค้ำคงคลังมีควำมสำคัญต่อกิจกรรม หลักของธุรกิจเป็นอย่ำงมำก ดังนัน้ กำรจัดกำรสินค้ำคงคลังทีม่ ปี ระสิทธิภำพ จึงส่ งผลกระทบต่ อผลก ำไรโดยตรง และในปจั จุบนั นี้ มกี ำรนำเอำระบบ คอมพิวเตอร์มำจัดกำรข้อมูลของสินค้ำคงคลัง เพื่อให้เกิดควำมถูกต้อง แม่นยำ และทันเวลำมำกยิง่ ขึน้ กำรจัดซื้อสินค้ำคงคลังมำในคุณสมบัตทิ ่ี ตรงตำมควำมต้องกำร ปริมำณเพียงพอ รำคำเหมำะสม ทันเวลำทีต่ ้องกำร โดยซือ้ จำกผูข้ ำยทีไ่ ว้วำงใจได้ และนำส่งยังสถำนทีท่ ถ่ี ูกต้องตำมหลักกำร จัดซือ้ ทีด่ ที ่สี ุด เป็ นจุดเริม่ ต้นของกำรจัดกำรสินค้ำคงคลัง โดยกำรจัดกำร สินค้ำคงคลังมีวตั ถุประสงค์หลักอยู่ 2 ประกำรใหญ่ คือ 1. สำมำรถมีสนิ ค้ำคงคลังบริกำรลูกค้ำในปริมำณทีเ่ พียงพอ และ ทันต่อควำมต้องกำรของลูกค้ำเสมอ เพื่อสร้ำงยอดขำยและ รักษำระดับของส่วนแบ่งตลำดไว้ 2. สำมำรถลดระดับกำรลงทุนในสินค้ำคงคลังต่ ำทีส่ ุดเท่ำทีจ่ ะทำ ได้ เพื่อทำให้ตน้ ทุนกำรผลิตต่ำลงด้วย 1.5 การจัดการโลจิสติกส์ โกศล ดีศีลธรรม (2547) ได้กล่าวว่า การบริหารโลจิสติกส์ (logistics management) ได้ถูกนิยามโดยสภาการจัดการโลจิสติกส์ (Council of Logistics Management: CLM) ซึง่ เกีย่ วข้องกับกระบวนการวางแผน การดาเนินการ และการ ควบคุ ม เพื่อให้ เกิดการไหลของทรัพยากรอย่ างมีประสิทธิภาพ และรวมถึง ประสิทธิผลต้นทุนการจัดเก็บสินค้าคงคลังและการไหลของสารสนเทศ การบริหาร โลจิสติกส์จะเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (SCM) ธนิต โสรัตน์ (2550) ได้กล่าวไว้ว่า ในประเทศไทยส่วนใหญ่แล้วยังมีความ เข้าใจว่า โลจิสติกส์เป็ นเรื่องที่เกี่ยวข้องเฉพาะกับระบบการขนส่งสินค้าหรือการ เคลื่อนย้ายคนหรือสิง่ ของ ความหมายของโลจิสติกส์ไม่ใช่เรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องเฉพาะกับ การขนส่งและก็คลังสินค้า โดยกิจกรรมของโลจิสติกส์ครอบคลุมถึงกิจกรรมต่างๆ ในการเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยการลดต้นทุนจากการใช้ประโยชน์ จากอรรถประโยชน์ของเวลา บทบาทและหน้าที่ของกิจกรรมต่างๆ ของโลจิสติกส์ จึงมีพนั ธกิจในการสนับสนุ นและการบูรณาการในการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารในทุก หน่วยของโซ่อุปทาน โดยมีจดุ ศูนย์กลางในการตอบสนองความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า


56 เครื่องมือการบริ หารต้ นทุนที่ 1 ระบบบัญชีต้นทุนตามกิ จกรรม แนวคิ ดของระบบต้นทุนตามกิ จกรรม ดวงมณี โกมำรทัต (2538) กล่ำวว่ำ ระบบต้นทุนตำมกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) มีแนวคิดทีส่ ำคัญคือ กิจกรรมเป็ นสิง่ ทีท่ ำให้เกิดต้นทุนจึงคิดต้นทุนและปนั ส่วนค่ำใช้จำ่ ยต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นเข้ำสู่กิจกรรมที่เกี่ยวข้องโดยอำศัยตัวผลักดันทรัพยำกรที่มคี วำมสัมพันธ์กบั กิจกรรมที่ เกิดขึน้ หลังจำกนัน้ จึงคิดต้นทุนของกิจกรรมเข้ำสู่สงิ่ ทีจ่ ะคิดต้นทุน ซึง่ อยู่ในรูปของผลิตภัณฑ์ ทำให้ ผูบ้ ริหำรได้รบั ข้อมูลทีถ่ ูกต้องทัง้ ในส่วนของกำรคำนวณต้นทุน และกำรควบคุมต้นทุน 1. กำรคำนวณต้นทุน (cost dimension) เน้นข้อมูลต้นทุนโดยกำรคำนวณต้นทุนของกำร ใช้ทรัพยำกรต่ำงๆ เพื่อก่อให้เกิดกิจกรรมและปนั ส่วนต้นทุนตำมกิจกรรมลงสู่สงิ่ ที่จะ คิดต้นทุน เพื่อให้ผบู้ ริหำรนำข้อมูลทีไ่ ด้รบั ไปใช้ในกำรตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ต่อไป 2. กำรควบคุมต้นทุน (control dimension) เป็ นกำรบริหำรกำรจัดโครงสร้ำงกำรดำเนินงำน ภำยในองค์กำร เพื่อผลดีต่อองค์กำร โดยมุ่งเน้ นกำรวิเครำะห์ถึงสำเหตุของกำรเกิด กิจกรรม รวมทัง้ วิเครำะห์กิจกรรมที่เพิ่มค่ ำและไม่เพิ่มค่ ำ เพื่อใช้ในกำรวัดผลกำร ปฏิบตั งิ ำนว่ำมีประสิทธิภำพเพียงใด ขัน้ ตอนการประยุกต์ใช้ ระบบต้ นทุนตามกิ จกรรม พิไลพร ล้ำฤทธ์ (2545) กล่ำวว่ำ ขัน้ ตอนกำรประยุกต์ใช้ระบบ ABC เริม่ จำกกำรวำง ระบบ ABC ผูว้ ำงระบบควรกำหนดวัตถุประสงค์ว่ำระบบจะต้องก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ องค์กำร โดยมีตน้ ทุนรวมในกำรนำเอำระบบมำใช้ต่ำสุด 1. กำรวิเครำะห์และกำหนดกิจกรรม เป็ นกำรแบ่งกำรดำเนิ นงำนขององค์กำรออกเป็ น กิจกรรมย่อย โดยแต่ละกิจกรรมก่อให้เกิดผลได้ (output) ในลักษณะทีส่ ำมำรถระบุ หรือเข้ำใจได้ ผลได้คอื สิง่ ที่จะนำมำคิดต้นทุน ซึ่งจะเป็ นประโยชน์ ในกำรปนั ส่วน ต้นทุนกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง 2. กำรรวมกิจกรรมบำงประเภทเข้ำด้วยกัน กิจกรรมต่ำงๆทีเ่ กิดขึ้นอำจมีจำนวนมำก จนกระทังเป็ ่ นควำมสูญเปล่ำทัง้ ในแง่ของเวลำและแรงงำนหำกระบุทรัพยำกรทีใ่ ช้ไป ในแต่ละกิจกรรมและจำนวนครัง้ ที่ทำกิจกรรมแยกตำมประเภทในรำยละเอียดมำก เกินไป จึงควรรวมกิจกรรมบำงประเภทเข้ำด้วยกัน 3. กำรระบุศูนย์กจิ กรรม ศูนย์กจิ กรรม (activity center) หมำยถึง ส่วนของกระบวนกำร ผลิตรวมถึงแผนกบริกำรทีผ่ บู้ ริหำรต้องกำรให้แสดงต้นทุนกิจกรรมต่ำงๆ แยกออกมำ ต่ำงหำก เพื่อช่วยให้ควบคุมกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละศูนย์กจิ กรรมได้ดยี งิ่ ขึน้


57 4. กำรเลือกตัวผลักดันต้นทุน ใช้ในกำรปนั ส่วน 2 ขัน้ (two-stage allocation procedure) คือ ผู้วำงระบบสำมำรถเลือกใช้ตวั ผลักดันต้นทุนที่ต่ำงกันไปในแต่ละขัน้ กำรปนั ส่วน ลักษณะนี้จะช่วยให้ทรำบปริมำณกำรใช้ทรัพยำกร 4.1 ตัวผลักดันทรัพยำกร (resource driver) ขัน้ ตอนแรกของกำรปนั ส่วนต้นทุนทรัพยำกร หรือต้นทุนตำมรหัสบัญชี (cost element) เข้ำสู่กลุ่มต้นทุนกิจกรรมของแต่ละศูนย์ กิจกรรมตัวผลักดันต้นทุ นจะเรียกว่ ำตัวผลักดันทรัพยำกรกลุ่ มต้นทุนกิจกรรม อำจจะอยูใ่ นรูปของกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งหรือเป็นกิจกรรมเดียวกันก็ได้ 4.2 ตัวผลักดันกิจกรรม (activity driver) ขัน้ ที่ 2 จะเป็ นกำรปนั ส่วนต้นทุนกิจกรรมที่ สะสมอยูใ่ นแต่ละกลุ่มต้นทุนกิจกรรมเข้ำสู่ผลิตภัณฑ์ 5. กำรคำนวณต้นทุนกิจกรรม โดยปกติจะบันทึกต้นทุนแยกตำมบัญชีแยกประเภท ซึง่ เป็ น กำรบันทึกต้นทุนตำมต้นทุนตำมรหัสบัญชี (cost element) กำรคำนวณต้นทุนกิจกรรม นี้คอื กำรระบุต้นทุนตำมตำมรหัสบัญชี (cost element) เข้ำสู่กจิ กรรม เรียกได้ว่ำเป็ น ขัน้ ตอนของกำรทำผังบัญชีตน้ ทุนกิจกรรม (cost mapping) 6. กำรคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ กำรคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์จะอำศัยบัญชีกิจกรรม (bill of activity) คือ ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดจะมีกำรพิจำรณำก่อนล่วงหน้ำ 6.1 กำรระบุกจิ กรรมทีเ่ กิดขึน้ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์อยูใ่ นสภำพพร้อมทีจ่ ะขำยหรือให้บริกำร แก่หน่วยงำนหรือลูกค้ำ 6.2 กำรค ำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ ใช้อ ัตรำต้นทุนกิจกรรมต่ อหน่ วยของตัวผลักดัน ต้นทุ นและกิจกรรมที่ก ำหนดไว้เป็ นหลักเกณฑ์ในกำรค ำนวณค่ ำใช้จ่ ำยของ ผลิตภัณฑ์ 7. กำรวัดผลกำรปฏิบตั ิงำน นุ จรินทร์ ฉิมพลอย(2542) กล่ำวว่ำระบบ ABC สำมำรถวัดผล กำรปฏิบตั งิ ำน (Key Performance Indicator: KPI) ทัง้ ทีเ่ ป็ นตัวเงิน และไม่เป็ นตัวเงิน ซึง่ ช่วยให้ผบู้ ริหำรสำมำรถประเมินผลกำรทำงำนได้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ซึง่ สำมำรถสรุปว่ำ ระบบ ABC มีประโยชน์ต่อผูบ้ ริหำรองค์กำร เนื่องจำกสำมำรถตอบสนอง ข้อมูลทีส่ ำคัญๆ เพื่อใช้ในกำรตัดสินใจ และข้อมูลทีไ่ ด้สำมำรถนำมำเปรียบเทียบกับแหล่งภำยนอก ว่ำกิจกรรมที่ทำอยู่ในปจั จุบนั มีต้นทุนเหมำะสมทีจ่ ะดำเนินกำรต่อไปหรือไม่หรือควรจ้ำงจำกแหล่ง ภำยนอก รวมทัง้ ใช้วดั ผลกำรปฏิบตั งิ ำนทีท่ ำอยูใ่ นปจั จุบนั และใช้เป็ นข้อมูลในกำรจัดทำงบประมำณ


58 เครื่องมือการบริ หารต้ นทุนที่ 2 การจัดการห่วงโซ่อปุ ทาน การจัดการห่วงโซ่อปุ ทาน คำนำย อภิปรัชญำสกุล (2553) กล่ำวว่ำ กำรจัดกำรห่วงโซ่อุปทำน คือ เครือข่ำยของ องค์กำรธุรกิจซึง่ ประกอบด้วย ผูข้ ำยปจั จัยกำรผลิต ผูผ้ ลิต/บริกำร ผูก้ ระจำยสินค้ำ ผูค้ ำ้ ปลีก ที่ ร่ว มกันวำงแผนและดำเนินงำนกิจกรรมต่ำงๆ ตัง้ แต่ กำรจัดซื้อ จัดหำวัต ถุ ดบิ กำรผลิต กำร บริหำรสินค้ำคงคลัง กำรขนส่งและกระจำยผลิตภัณฑ์ไปยังผูบ้ ริโภคคนสุดท้ำย ซึง่ ต้องอำศัยกำร ไหลของสำรสนเทศ(เกีย่ วกับวัตถุดบิ กำรผลิตและผลิตภัณฑ์) กำรไหลของเงิน และกำรไหลของ วัตถุดบิ และผลิตภัณฑ์ เรียกว่ำ กระบวนกำรโลจิสติกส์ซง่ึ จะก่อให้เกิดควำมสมดุลระหว่ำงควำม พึงพอใจสูงสุดของลูกค้ำและต้นทุนต่ำทีส่ ุด การนาการจัดการห่ วงโซ่อปุ ทานมาใช้ในกระบวนการดาเนิ นงาน ศศิชำ สิทธิกุล (2551) กล่ำวว่ำ กำรนำเอำกำรจัดกำรห่วงโซ่อุปทำนมำใช้ในกระบวนกำร ดำเนินงำน มีดงั นี้ 1. ควำมยืดหยุ่นในระบบ ผู้บริหำรมีควำมมุ่งมันในกำรปรั ่ บปรุงระบบ กำรใช้พนักงำน ชัวครำว ่ กำรใช้อุปกรณ์ท่ที ำงำนได้หลำกหลำย กำรจ้ำงหน่ วยงำนภำยนอกทำงำน กำร ปรับปรุงกระบวนกำรให้ลดรอบเวลำ 2. องค์กำรควรมีกำรออกแบบระบบให้เหมำะสมโดยเน้ นสินค้ำ ช่องทำง หรือตลำดให้ สอดคล้องกับควำมต้องกำรของลูกค้ำ 3. มีกำรจัดแบ่งลูกค้ำและสินค้ำ กำรปฏิบตั ติ ่อลูกค้ำแต่ละรำยตำมระดับประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จำกลูกค้ำ กำรแยกประเภทลูกค้ำอย่ำงเหมำะสม องค์กำรควรมีกำรมองภำพรวม มีกำร กำหนดมำตรฐำนของกระบวนกำรข้อมูล วัตถุดบิ และปจั จัยพื้นฐำน กำรใช้ระบบงำน ร่วมกันทัวโลก ่ เช่น กำรใช้แหล่งผลิตร่วมกัน กำรใช้ชน้ิ ส่วนร่วมกัน เป็นต้น 4. กำรบริหำรต้นทุนเป้ำหมำยของผลิตภัณฑ์ (target costing) กำรบริหำรต้นทุนของ ผลิตภัณฑ์ตลอดช่วงอำยุ (life cycle costing) 5. กำรผลิตผลิตภัณฑ์เฉพำะลูกค้ำ กำรสร้ำงควำมแตกต่ำงของผลิตภัณฑ์ใกล้จุดส่งมอบ ที่สุด กำรผลักภำระให้ลูกค้ำ ทำให้ผลิตภัณฑ์เหมำะกับตนมำกที่สุด กำรออกแบบให้ ผลิตภัณฑ์ใช้วสั ดุหรือชิน้ ส่วนร่วมกัน 6. กำรใช้ขอ้ มูลอย่ำงเหมำะสม กำรปรับระบบข้อมูลให้ส่งเสริม กำรลดต้นทุน กำรสร้ำงควำม ยืดหยุน่ และควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน อำทิ ระบบบัญชีตน้ ทุนตำมกิจกรรม (ABC) กำร เชื่อมโยงระบบกับคู่ค้ำ กำรลดรอบเวลำในกำรจัดหำข้อมูล จนถึงกำรใช้ประโยชน์ กำร ปรับปรุงคุณภำพของข้อมูลให้เน้นทีล่ กู ค้ำ


59 7. กำรลดควำมสูญเสีย กำรใช้มำตรฐำนข้อมูลหรือสัญลักษณ์ กำรลดควำมซับซ้อน ของผลิตภัณฑ์ กระบวนกำรผลิต กำรส่งมอบ กำรลดจำนวนผู้ส่งมอบ กำรบริหำร ควำมต้องกำรและกำรตอบสนองผลิตภัณฑ์ให้เกิดกำรหมุนเวียนสินค้ำคงคลังมำก ทีส่ ุด 8. กำรสร้ำงพันธมิตร กำรใช้หน่ วยงำนทำงำนแทนบำงอย่ำง กำรประสำนงำนระหว่ำง คู่คำ้ ผูส้ ่งมอบ ผูใ้ ห้บริกำร และลูกค้ำ กำรพัฒนำกำรจัดกำรในด้ำนนี้ 9. กำรใช้ประโยชน์จำกพำณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ กำรพัฒนำเครือข่ำ ยจำกผู้ส่งมอบ เพื่อ ร่วมจัดทำแผนกำรผลิตและส่งมอบอย่ำงทันเวลำ 10. กำรพัฒนำบุคลำกร กำรมีมุมมองหลำกหลำยบนพื้นฐำนของวัฒนธรรมที่แตกต่ำง กัน กำรทำงำนหลำกหลำยเพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจในงำนทุกระบบ กำรมีควำมรู้ถึง ระดับภำคปฏิบตั ิ กำรพัฒนำให้มคี วำมสำมำรถหลำกหลำย ควำมสำมำรถในกำร แก้ไขปญั หำ ควำมสำมำรถทำงด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ เครื่องมือการบริ หารต้ นทุนที่ 3 หลักปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง พิพฒ ั น์ ยอดพฤติกำรณ์ (2549) ได้กล่ำวว่ำองค์กำรธุรกิจสำมำรถนำแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียงมำใช้ในกำรดำเนินงำนได้จำกหลักกำรทรงงำน 9ประกำร หรืออำจเรียกได้ว่ำเป็ นหลัก ในกำรบริหำรสำหรับผูป้ ระกอบกำรธุรกิจ ซึง่ ได้แก่ 1. หลักกำรพอเพียง และ พออยู่ พอกิน คือ กำรพัฒนำธุรกิจให้ยงยื ั ่ นนัน้ ข้อสำคัญ ต้องมีพน้ื ฐำนทีด่ ี โดยกิจกำรควรมีกำรประเมินศักยภำพของตัวเองอยู่เสมอ ไม่ทำ อะไรเกินตัว 2. หลักกำรพึง่ ตนเอง คือ กำรลดกำรพึง่ พิงต่ำงประเทศหรือองค์กำรอื่น แล้วพึง่ ตนเอง ให้มำกขึน้ เพื่อหลีกเลีย่ งผลเสียทีอ่ ำจจะส่งผลต่อธุรกิจได้หำกเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ 3. หลักกำรระเบิดจำกข้ำงใน คือ กำรให้พนักงำนได้ลงมือปฏิบตั ิกจิ กรรมต่ำงๆด้วย ตัว เองก่ อ น เมื่อ ปฏิบตั ิจนเกิดควำมรู้ค วำมชำนำญดีแล้ว ก็เ ผยแพร่อ อกสู่สงั คม ภำยนอก 4. หลัก กำรค่ อ ยเป็ นค่ อ ยไป คือ กำรดำเนินธุ รกิจไปตำมล ำดับขัน้ ตอน บริหำรทุก ปจั จัยให้มคี วำมสมดุลและสอดคล้องกับสังคมและสภำพแวดล้อม 5. หลักกำรรวมทีจ่ ดุ เดียว คือ กำรมุง่ เน้นรูปแบบกำรบริหำรแบบผสมผสำน จำกกำรที่ ต่ำงคนต่ำงทำก็หนั มำทำงำนแบบประสำนงำนระหว่ำงหน่วยงำนทีเ่ กีย่ วข้อง


60 6. หลัก กำรไม่ติดต ำรำ คือ กำรนำทฤษฎีห รือ หลักกำรใดมำใช้ใ นองค์กำร ต้อ งให้ เหมำะกับ สภำพแวดล้อ มองค์ก ำร ไม่น ำมำใช้เ พรำะองค์ก ำรอื่น ใช้แ ล้ว ประสบ ผลสำเร็จ 7. หลักกำรทำให้ง่ำย คือ กำรออกแบบวิธกี ำรดำเนินงำนที่ไม่สลับซับซ้อ น มีควำม สมเหตุสมผล ทำได้รวดเร็วและสำมำรถแก้ปญั หำได้จริง 8. หลัก แห่ งควำมเป็ นจริงตำมธรรมชำติ คือ กำรแก้ปญั หำโดยใช้ธรรมชำติเป็ นตัว ดำเนินกำร 9. หลักกำรขำดทุนคือกำไร คือ กำรยึดหลักประโยชน์ส่วนรวมมำกว่ำประโยชน์ส่วน ตน ถ้ำคำนึงถึงควำมคุ้มค่ำควำมพอใจของลูกค้ำเป็ น หลัก ก็เกิดกำไรได้ในอนำคต กำรนำเอำแนวคิดปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงมำใช้ในกำรดำเนินงำน ควำมพอประมำณ คือ ยึดหลักกำรพึ่งพำตนเอง พึ่งพำอำศัยและพึ่งพิงซึ่งกันและกัน โดยองค์กำรอำจจะผลิตบำงอย่ำงขึน้ ใช้เองด้วยเทคโนโลยีง่ำยๆ เป็ นภูมปิ ญั ญำท้องถิน่ ควำมมีเหตุผลคือ กำรสร้ำงกระบวนกำรดำเนินงำนภำยในองค์กำร ต้องคำนึงถึงควำม สอดคล้องและเหมำะสมกับสภำพแวดล้อมทำงสังคมขององค์กำร กำรมีภูมคิ ุม้ กันทีด่ ี คือ กำรขยำยช่องทำงกำรตลำดเพื่อสร้ำงกลุ่มลูกค้ำใหม่ๆไม่ขน้ึ กับ ลูกค้ำกลุ่มเดิม เงื่อนไขควำมรู้ คือ กำรสังสมควำมรู ่ ท้ ่ไี ด้จำกกำรปฏิบตั ซิ ้ำๆ จนกลำยเป็ นองค์ควำมรู้ และนำไปเผยแพร่เพื่อเป็นแนวทำงมำพัฒนำองค์กำร เงื่อ นไขคุ ณ ธรรม คือ กำรมุ่งที่จะเป็ นผู้ใ ห้มำกกว่ำผู้รบั โดยค ำนึงถึงผู้มสี ่ ว นได้เ สีย ก่อนทีจ่ ะลงมือดำเนินกำร หรือตัดสินใจเรือ่ งใดๆ อยูบ่ นพืน้ ฐำนของคุณงำมควำมดี เครื่องมือการบริ หารต้ นทุนที่ 4 การบัญชี บริ หารสิ่ งแวดล้อม องค์กำรสหประชำชำติ (United Nation, 2001) ได้รำยงำนว่ำ กำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อม (Environmental Management Accounting: EMA) เป็ นวิธกี ำรทำงบัญชีทน่ี ำข้อมูลจำกฐำนข้อมูลมำ ใช้สำหรับกำรจำแนกต้นทุน เพื่อให้ทรำบว่ำต้นทุนรำยกำรใดทีเ่ กี่ยวข้องกับสิง่ แวดล้อมและมีต้นทุน ทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมเป็นจำนวนเท่ำใด ซึง่ สำมำรถแบ่งบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมได้เป็ น 2 ประเภท คือ กำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมที่เป็ นตัวเงิน (Monetary Environmental Management Accounting: MEMA) จะเป็นกำรจัดทำบัญชีออกมำในรูปของหน่วยเงิน เพื่อกำรแสดงผลออกมำในรูปของตัวเงินให้ ง่ ำ ยต่ อ กำรตั ด สิน ใจของผู้ บ ริห ำรและกำรบัญ ชี บ ริห ำรสิ่ ง แวดล้ อ มทำงกำยภำพ (Physical Environmental Management Accounting: PEMA) จะเป็ นกำรจัดทำบัญชีออกมำในรูปของหน่ วย


61 ทำงกำยภำพ เช่น มีกำรนำเข้ำวัตถุดบิ กี่หน่ วย และได้ออกมำเป็ นผลิตภัณฑ์ก่หี น่ วย ของเสีย จำนวนกีห่ น่วย ประโยชน์ ของหลักการบัญชีบริ หารสิ่ งแวดล้อม หลักกำรบัญชีบริหำรช่วยในกำรแสดงผลทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมขององค์กำรว่ำมีรำยได้ หรือต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมเป็ นจำนวนเท่ำไหร่ ทำให้องค์กำรสำมำรถทำกำรประเมินผล วิเครำะห์ขอ้ มูล ส่งผลให้กำรบริหำรต้นทุนเกิดสิทธิภำพมำกขึน้ และรำยงำนผลสู่สำธำรณชนได้ ด้วยข้อมูลทีม่ คี ุณภำพ การนาหลักการบัญชีบริ หารสิ่ งแวดล้อมมาใช้ ในกระบวนการดาเนิ นงาน 1. กำรทำควำมเข้ำใจกับตัวต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมขององค์กำรว่ำมีอ ะไรบ้ำงที่ ออกมำจำกกระบวนกำรผลิตแล้วกลำยเป็ นต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมซึง่ ผลลัพธ์ท่ี ได้จำกกระบวนกำรนัน้ แบ่งออกมำได้ 2 ประเภท 1.1 ผลิตภัณฑ์ (product) คือ ผลิตภัณฑ์ท่ีออกมำจำกกระบวนกำรผลิต ซึ่งเมื่อ กระบวนกำรผลิตเสร็จสิ้นกระบวนกำรแล้ว เป็ นสิง่ ทีส่ ร้ำงมูลค่ำให้แก่องค์กำร เช่น เบนซิน 91 95 เป็นต้น 1.2 ไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ (non-product) คือตัวผลิตภัณฑ์ทอ่ี อกมำจำกกระบวนกำรผลิต ซึง่ เมื่อกระบวนกำรผลิตเสร็จสิ้นกระบวนกำรแล้ว กลำยเป็ นสิง่ ที่องค์กำรไม่ต้องกำร ได้รบั หรือของเสีย เช่น มลภำวะ ขยะ น้ำทิง้ เป็นต้น 2. เมื่อ ทรำบถึงลัก ษณะของตัว ผลิตภัณฑ์กบั ไม่ใ ช่ผ ลิต ภัณฑ์ องค์กำรก็จะสำมำรถ จำแนกต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมออกมำได้ว่ำต้นทุนที่เกิดขึน้ จำกกระบวนกำรนี้ เกิดขึ้นเท่ำไร และเป็ นตัวต้นทุนเท่ำ ไร และต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมเท่ำไร ซึ่ง สำมำรถแบ่งออกมำได้อย่ำงชัดเจน 3. เมื่อทรำบต้นทุนและต้นทุนทำงด้ำนสิ่งแวดล้อมอย่ำงชัดเจน ตัวต้นทุนจะนำเข้ำไป รวมกันเพื่อกลำยเป็ นต้นทุ นของผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดขึ้น แต่ ทำงด้ำนต้ นทุ นทำงด้ำน สิง่ แวดล้อมจะนำตัวต้นทุนที่เกิดขึน้ เข้ำไปยังศูนย์ต้นทุนก่อนทำกำรปนั ส่วนต้นทุนซึ่ง ตรงส่วนนี้มกี ำรนำหลักกำรแบบต้นทุนกิจกรรมเข้ำมำใช้ในกำรปนั ส่วนต้นทุนอย่ำงมี ประสิทธิภำพ ซึง่ จะทำให้ทรำบว่ำต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ นัน้ เป็นต้นทุนของ ผลิตภัณฑ์ตวั ใด ปริมำณเท่ำใดและมูลค่ำเท่ำไร ก่อนทีจ่ ะทำกำรกระจำยต้นทุนทำงด้ำน สิง่ แวดล้อมเข้ำสู่ตวั ผลิตภัณฑ์ทก่ี ่อให้เกิดตัวต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมขึน้


62 เครื่องมือการบริ หารต้ นทุนที่ 5 ระบบการผลิ ตแบบลีนและการบัญชีแบบลีน พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย (2553) ได้กล่ำวว่ำ วิวฒ ั นำกำรระบบลีน(Lean)มีต้นกำเนิดจำก ระบบกำรผลิตแบบโตโยต้ำ (Toyota Production System: TPS) ของประเทศญี่ปุ่น โดยTaiichiOhno ซึ่งพยำยำมปรับปรุงกระบวนกำรผลิต โดยเริม่ ต้นจำกกำรค้นหำและแก้ไขปญั หำที่เกิดขึ้นในระดับ ปฏิบตั ิกำร กำรนำข้อเสนอแนะกำรปรับปรุ งงำนที่ได้จำกพนักงำนมำทดลองปฏิบตั ิ แนวคิดและ หลักกำรผลิตแบบลีน มังกร โรจน์ประภำกร(2552) กล่ำวว่ำ กำรผลิตแบบลีน คือกำรสร้ำงคุณค่ำด้วยกำรขจัดควำมสูญเปล่ำ สร้ำงคุณค่ำตลอดทัง้ กระบวนกำรโดยจำแนกประเภทควำมสูญเปล่ำ ให้ควำมสำคัญกับกำรขจัดควำมสูญเสียใน กระบวนกำรผลิต และเป้ำหมำยของกำรผลิตแบบลีน คือ กำรทำให้องค์กำรอยู่รอด และเติบโตอย่ำงยังยื ่ น ในทุก สภำพแวดล้อมของกำรแข่งขัน โดยกำรลดต้นทุน เพิม่ ผลิตภำพ และสร้ำงควำมพึงพอใจให้กบั ลูกค้ำทัง้ ในด้ำน คุณภำพ รำคำ และกำรส่งมอบ พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย (2553) ควำมสูญเปล่ำจำกระบบกำรผลิตแบบลีน 7 ประกำร 1. กำรผลิตทีม่ ำกเกินควำมจำเป็ น เป็ นกำรผลิตที่ไม่สอดคล้องกับควำมต้องกำรของ ลูกค้ำ 2. กำรรอคอย เนื่องจำกระบบกำรผลิตได้กำหนดให้มกี ำรรอคอยเป็ นควำมสูญเปล่ำ จำกกำรรอคอย 3. กำรเคลื่อ นย้ำยและขนย้ำ ยที่ไม่จ ำเป็ น เป็ นควำมสูญ เปล่ ำ ที่มำจำกกำรขนย้ำ ย ชิน้ งำน 4. กำรมีสนิ ค้ำคงคลังเกินควำมจำเป็น 5. กำรผลิตของเสีย โดยทีไ่ ม่ได้ให้ควำมสำคัญกับกำรวิเครำะห์ปญั หำเพื่อหำสำเหตุ 6. กำรมีกระบวนกำรทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภำพ 7. กำรเคลื่อนไหวของร่ำงกำยทีไ่ ม่จำเป็น กล่ำวโดยสรุปควำมสัมพันธ์ของควำมด้อยประสิทธิภำพในเชิงองค์รวมได้ว่ำ ของเสียทัง้ 7 ประกำรสำมำรถจำแนกออกเป็ นกำรฝื นทำ(Muri) ควำมสูญเปล่ำ (Muda)และ ควำมไม่สม่ำเสมอ (Mura)สำมำรถอธิบำยควำมหมำยของแต่ละตัวดังนี้ กำรฝืนทำ(Muri) คือ กำรฝืนทำสิง่ ใดๆ ก็ตำมมักทำให้เกิดผลกระทบบำงอย่ำงในระยะยำว ควำมสูญเปล่ำ (Muda) อำจเกิดได้หลำยลักษณะ เช่น ควำมสูญเปล่ำทีเ่ กิดจำกกำรรอ กำร เคลื่อนย้ำย กำรปรับเปลีย่ น กำรทำใหม่ ควำมไม่สม่ำเสมอ (Mura) หรือควำมไม่สม่ำเสมอ งำนทีม่ คี วำมไม่สม่ำเสมอไม่ว่ำจะเป็ นใน เรื่องของปริมำณ วิธกี ำรทำงำน หรืออำรมณ์ในกำรทำงำน ทำให้เกิดควำมไม่สม่ำเสมอของผลงำน ตำมไปด้วย นันหมำยควำมว่ ่ ำ ผลงำนทีอ่ อกมำไม่เป็นไปตำมมำตรฐำน


63 โดยกลุ่มควำมสูญเปล่ำตัง้ แต่ขอ้ ที่ 1-6 ให้อยู่ในกลุ่ม Muri และ Mura เรียกว่ำกำรหยุดกำรผลิตโดย ทันที (Jidoka) แต่ของเสียข้อที่ 7 จะอยู่ในประเภท Muda คือ ควำมสูญเปล่ำทีต่ ้องกำจัดทิง้ ให้เหลือศูนย์ เรียกว่ำ ของเสีย (waste) หรือควำมสูญเปล่ำทีไ่ ม่ก่อให้เกิดมูลค่ำ เนื่องจำก Muda เป็ นของเสียทีต่ ้องกำจัด ให้หมดไป แต่ Muri กับ Mura จะแฝงอยูใ่ นของดีเพียงบำงส่วน ดัง้ นัน้ เวลำกำจัดออกไปจะกำจัดได้เพียง บำงส่วนเท่ำนัน้ จึงเหลือแต่เพียงของดีเอำไว้นัน่ เองวิธกี ำรจัดกำรมีหลำกหลำยรูปแบบคือ ขำยหรือรี ไซเคิล และบำงส่วนทีจ่ ดั กำรไม่ได้จะต้องพยำยำมลดของเสียนัน้ จนกระทังเหลื ่ อศูนย์ และต้องพยำยำม ลดควำมสูญเปล่ำหรือควำมด้อยประสิทธิภำพประเภทต่ำงๆให้ลดลง หลักการของการบัญชีแบบลีน มังกร โรจน์ประภำกร(2552) กล่ำวว่ำ กำรบัญชีแบบลีนช่วยให้เกิดควำมถูกต้อง ทันเวลำ และเข้ำใจในข้อมูลกำรดำเนินงำนของระบบกำรผลิตแบบลีนทีอ่ งค์กำรนำมำใช้และเพื่อกำรตัดสินใจ ในเรือ่ งอื่นๆ กำรใช้เครือ่ งมือของแนวคิดแบบลีนมำช่วยลดกำรสูญเสียขององค์กำรจำกกำรกระทำทีไ่ ม่ เกิดคุณค่ำต่อสินค้ำและบริกำร กำรบัญชีแบบลีนสำมำรถสรุปเป็นหลักกำรสำคัญได้ 4 ประกำร ดังนี้ 1. กำรคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์จะใช้แบบต้นทุนทำงตรง คือนำเอำเฉพำะต้นทุนผัน แปรทีส่ ำมำรถระบุได้ว่ำเป็ นของผลิตภัณฑ์นนั ้ ๆมำรวมเป็ นต้นทุนของผลิตภัณฑ์ 2. หลี ก เลี่ ย งกำรป นั ส่ ว นต้ น ทุ น ให้ ม ำกเพื่ อ ท ำให้ ท รำบต้ น ทุ น ที่ เ กิ ด ขึ้น ส ำหรับ กระบวนกำรผลิตอย่ำงแท้จริงหรือเป็ นต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ โดยตรงกับกำรผลิตนัน้ ๆหรือ แม้แต่ตน้ ทุนอำนวยควำมสะดวก 3. จะต้องรำยงำนในลักษณะผสมคือต้องแสดงข้อมูลทัง้ ทีเ่ ป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน 4. รำยงำนทำงกำรเงินตลอดจนหลีก เลี่ยงกำรใช้ศ ัพท์เ ทคนิค ทำงกำรบัญ ชีใ นกำร นำเสนอรำยงำนทำงกำรเงินต่อผูบ้ ริหำรเพื่อให้ผบู้ ริหำรทำควำมเข้ำใจรำยงำนทำง กำรเงินได้งำ่ ยขึน้


บทที่ 3 สรุปการสังเคราะห์องค์ความรู้รวมทางด้านการบริ หารต้นทุน

ภาพที่ 3-1 สรุปองค์ประกอบการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น ทีม่ า: การวิเคราะห์รว่ มกันภายในกลุ่มการบริหารต้นทุน. (2555) ปจั จุบนั ขีดการพัฒนาของประเทศไทยเป็ นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากปญั หาทีม่ าจากความ ตกต่ าทางศีลธรรม การเมืองและคอร์รปั ชันความตกต ่ ่ าและความล้มเหลวของระบบทุนนิยม ความตกต่ าทางการศึกษา การเปิดเสรีทางการค้า ความเสื่อมโทรมของทรัพยากร และลักษณะ ของธุ ร กิจ ที่ไ ม่ ส ามารถตอบรับ การเปลี่ย นแปลงที่เ กิด ขึ้น ได้ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ภาครัฐ และ ภาคเอกชน รวมไปถึง ธุ รกิจทุก ขนาด จากการที่ค ณะผู้จดั ทาได้ทาการศึกษาค้น คว้า ข้อ มูล เกี่ยวกับการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ นจากสภาหอการค้าไทยและได้นาแนวคิดนัน้ มาต่อยอดให้ สมบูรณ์ พบว่าการที่จะทาให้ธุรกิจอยู่รอดได้ในปจั จุบนั จะต้องใช้แนวคิด การพัฒนาธุรกิจอย่าง ยังยื ่ นเพื่อให้องค์การสามารถดาเนินกิจการได้อย่างต่อเนื่อง สิง่ ทีอ่ งค์การจาเป็ นต้องมีเป็ นอันดับ แรกคือ ศีลธรรม มีจติ สานึกในความรับผิดชอบต่อสังคมและประชาชาติ ถัดมาคือองค์การจะต้อง มีหลักธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม และทีส่ าคัญองค์การจะต้องให้ความสาคัญกับ


65 การมุ่งเน้นการพึ่งตนเองและการพัฒนาต้นทุนต่างๆ ให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด เพื่อเป็ นการสร้าง ความได้เปรียบทางการแข่งขัน โดยการใช้เครือ่ งมือการบริหารต้นทุน5 ประเภท ดังนี้ 1. ระบบต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC)เพื่อระบุตน้ ทุนทีเ่ กิดขึน้ จริงใน แต่ละกิจกรรม 2. การจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management: SCM) เป็ นแนวคิดทีช่ ่วยลด ต้นทุนในทุกกระบวนการของห่วงโซ่อุปทานเริม่ ตัง้ แต่จดั หาวัตถุดบิ ไปจนถึงส่งมอบ สินค้าให้แก่ลกู ค้าและในการจัดการห่วงโซ่อุปทานจาเป็นต้องระบุต้นทุนของกิจกรรมแต่ ละกิจกรรมในแต่ละห่วงโซ่อุปทานดังนัน้ ธุรกิจจึงต้องใช้ระบบบัญชีต้นทุนตามกิจกรรม เท่านัน้ เพื่อทีจ่ ะสามารถวัดผลการจัดการห่วงโซ่อุปทานนัน้ ๆ 3. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจ พอเพีย งในภาคธุ ร กิ จ เพื่อ การบริห ารต้ น ทุ น โดยการขยายการลงทุ น อย่ า ง พอประมาณเหมาะสมกับ ขนาดองค์ก าร ค านึ งถึง ผู้ม ีส่ ว นได้เ สีย เป็ น การสร้า ง ภูมคิ ุม้ กันให้กบั องค์การทาให้องค์การสามารถอยู่ได้ดว้ ยตนเองและลดผลกระทบที่ เกิดจากปจั จัยภายนอก 4. การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (Environment Management Accounting: EMA) เป็ น การจาแนกต้นทุ นที่เ ป็ นของดีและของเสียออกจากกันซึ่งวิธ ีการนี้จะรับผิดชอบ เกี่ย วกับ ของเสีย ตัง้ แต่ ภ ายในไปจนถึง ภายนอกองค์ ก ารซึ่ง ถือ ว่ า เป็ น ความ รับผิดชอบต่อสังคมอย่างแท้จริง 5. การผลิตแบบลีนและการบัญชีแบบลีน (Lean) เป็ นวิวฒ ั นาการสูงสุดในการบริหารต้นทุน ในปจั จุบนั โดยจัดการของเสียทีเ่ กิดขึน้ ในกระบวนการผลิตให้ของเสียเป็ นศูนย์ หากองค์การสามารถปฏิบตั ไิ ด้ตามแนวคิด การพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น ดังทีก่ ล่าวไว้ใน ข้างต้น กิจการก็จะสามารถดาเนินกิจการได้อย่างมีประสิทธิภาพและยังยื ่ น ควบคู่กบั สังคมที่ สงบร่มเย็น


66 ภาพบรรยากาศ


67


68


69


บรรณานุกรม กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. 2553. “เขตการค้าเสรี.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thaifta.com. (19 มีนาคม 2555). กรมนักเรียนนายเรืออากาศ. 2547. “Six sigma.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.aircadetwing.com/Index.php?lay=show&ac=artical&ld=5376370&Ntyp e=4. (19 มีนาคม 2555). กรมพัฒนาธุรกิจการค้าฯ. 2555. บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด. (17 กุมภาพันธ์ 2555). กษมา พานแก้ว. 2551. การพึ่งตนเองของสมาชิ กสถาบันเกษตรกรตามปรัชญาเศรษฐกิ จ พอเพียงของตาบลวังทอง อาเภอวังทอง จังหวัดพิ ษณุโลก. วิทยานิพนธ์ศลิ ป ศาตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. กัลยกร เกษกมล. 2552. การประยุกต์ใช้การจัดการสายธารคุณค่าในการปรับปรุง ประสิ ทธิ ภาพกระบวนการบริ หารจัดการคาสังซื ่ ้อ กรณี ศึกษาบริ ษทั ผูผ้ ลิ ต แผ่นวงจรอิ เล็กทรอนิ กส์. วิทยานิพนธ์วศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา วิศวกรรมอุตสาหการ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. การไฟฟ้านครหลวง. 2554. คู่มือการจัดทาบัญชีต้นทุนกิ จกรรม. กรุงเทพมหานคร. เกรียงศักดิ ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ ์. 2546. ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุน้ ส่วนจากัด วี. ที. ซี. คอมมิวนิเคชัน. ่ เกียรติขจร โฆมานะสิน. 2550. LEAN: วิ ถีแห่งการสร้างคุณค่าสู่องค์กรที่เป็ นเลิ ศ. กรุงเทพมหานคร: บริษทั อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์พบั ลิชชิง่ จากัด (มหาชน). แก้วตา ไทรงาม และคณะ. 2548. ผูน้ าเชิ งกลยุทธ์เพื่อสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาผูบ้ ริหารการศึกษา.


71 โกศล ดีศลี ธรรม. 2547ก. เทคนิ คการจัดการโลจิ สติ กส์และซัพพลายเชนในโลกธุรกิ จยุค ใหม่. กรุงเทพมหานคร: อินฟอร์มเี ดียบุ๊คส์. _______. 2547ข. การบริ หารต้นทุนสาหรับนักบริ หารยุคใหม่. บริษทั อินฟอร์มเี ดีย อินเตอร์เนชันแนล ่ จากัด. _______. 2548. “บทบาทสายธารแห่งคุณค่ากับการสนับสนุ นองค์กรแห่งลีน.” วารสารเพื่อคุณภาพ (For quality) 12: 70-74. _______. 2549. “การจัดการห่วงโซ่อุปทานแห่งโลกธุรกิจใหม่.” อิ นเตอร์เน็ต แม็กกาซีน (Internet magazine) 9: 97-99. ขจรวุฒ ิ นาศิรกิ ุล. 2553. กลยุทธ์กบั ธุรกิ จ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะกรรมการโลกว่าด้วยสิง่ แวดล้อมและการพัฒนา. 2530. “การพัฒนาแบบยังยื ่ นคือ อะไร.” [เข้าถึงได้จาก]. http://environment.exteen.com. (19 มีนาคม 2555). คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่. 2546. “เทคโนโลยีสารสนเทศเบือ้ งต้น.” [เข้าถึงได้จาก]. http://elearning.northcm.ac.th. (19 มีนาคม 2555). คานาย อภิปรัชญาสกุล. 2549. โลจิ สติ กส์เพื่อการผลิ ต และการจัดการดาเนิ นงาน. กรุงเทพมหานคร: ซี.วาย.ซิซเทิมพริน้ ติง้ จากัด. _______. 2553. โลจิ สติ กส์ และโซ่อปุ ทาน (Logistics and Supply Chain). กรุงเทพมหานคร: โฟกัสมีเดียแอนด์ พับลิชชิง่ . โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ประเทศไทย. 2552. -2 องศา เมื่อสองมือร่วมคลายโลก ร้อน. กรุงเทพมหานคร: แอคมี พรินติง้ . จักร ติงศัภทิย.์ 2551. ขับเคลื่อนกลยุทธ์ การนากลยุทธ์ไปปฏิ บตั ิ ให้ เกิ ดผลสาเร็จ. กรุงเทพมหานคร: แอคทีฟพริน้ ท์. แปลจาก Lawrence G. Hrebiniak. 2005. Making Strategy Work. Wharton School: Pearson Education, Inc.


72 จามร สุวรรณฉาย. 2550. การประยุกต์ระบบต้นทุนตามกิ จกรรมกับธุรกิ จโลจิ สติ กส์ใน จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. จิตต์ขจี บุญครอบ. 2539. การศึกษาการนาระบบบัญชีต้นทุนกิ จกรรมมาใช้ใน รัฐวิ สาหกิ จ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. เจษฎา นกน้อย และคณะ. 2552. นานาทรรศนะการจัดการความรู้และการสร้างองค์การ แห่งการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ฉัตยาพร เสมอใจ และ มัลลิกา ต้นสอน. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ธรรกมลการพิมพ์. ชัยอนันต์ สมุทวณิช. 2541. ประชารัฐกับการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพมหานคร: บริษทั สุขมุ และบุตรจากัด. ช่างสรรหาดอทคอม. 2553. “เศรษฐกิ จพอเพียง กับ เกษตรทฤษฎีใหม่ ปรัชญาเศรษฐกิ จ พอเพียง.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.changsunha.com. (15 กุมภาพันธ์ 2555). ชุตริ ะ ระบอบ. 2553. การจัดการโลจิ สติ กส์และโซ่ อปุ ทาน = Logistics and supply chain management. สมุทรปราการ: คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิม พระเกียรติ. ชุมพรคาบาน่ า. 2542. “ประวัติของบริ ษทั ชุมพรคาบาน่ า จากัด.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.cabana.co.th. (16 มกราคม 2555). โชคดี เกตสัมพันธ์. 2552. ชุมพรคาบาน่ ารีสอร์ท และชุมชนใกล้เคียง: พลิ กวิ กฤต เศรษฐกิ จให้เป็ นโอกาสด้วยปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง. งานนิพนธ์รฐั ศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรเพื่อความมังคง, ่ มหาวิทยาลัยบูรพา. ซีเอ็ดยูเคชัน. ่


73 ฐานเศรษฐกิจ. 2554. “ธุรกิ จไทยพร้อมแค่ไหนสู่ประชาคมอาเซียน.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thanonline.com. (19 มีนาคม 2555). ณพัศพร พรรณจันทับ. 2552. การบริ หารต้ นทุนเชิ งกลยุทธ์ของวิ ทยาลัยสารพัดช่าง มหาสารคาม. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงกลยุทธ์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ณรงค์เกียรติ นักสอน. 2545. “ขัน้ ตอนการสร้างลีน.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.tpa.or.th/shindan/detail.php?page=lean. (18 มีนาคม 2555). ณัฏฐรินดา ฐิตเิ จริญพงษ์. 2552. การประเมิ นประสิ ทธิ ภาพห่วงโซ่อปุ ทานข้าวโพด กระป๋อง. วิทยานิพนธ์วศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ณัฐชิด. 2555. “ลีนแมนูแฟคเจอริ่ ง.” [เข้าถึงได้จาก]. http://nantachit.exteen.com/20120131/muda-muri-mura. (18 มีนาคม 2555). ณัฐนารี สุขเสกสรร, ธิดานาฎ พันเนตร, ณัฐกานต์ ณัฐวุฒ,ิ และ สุมาลา ตุรงค์เรือง. 2550. การปรับปรุงประสิ ทธิ ภาพกระบวนการผลิ ตรถยนต์ โดยการประยุกต์ใช้ ระบบ การผลิ ตแบบลีน. ภาควิชาการจัดการอุตสาหการ. คณะเทคโนโลยีและการจัดการ อุตสาหกรรม. สถาบันเทคโนโลยีพระเจ้าเกล้าพระนครเหนือ. ดวงมณี โกมารทัต. 2535. “การบริ หารกิ จกรรมระบบบริ หารข้อมูลเพื่อความได้เปรียบ.” จุฬาลงกรณ์วารสาร. _______. 2538. “หลักการบัญชีเพื่อสิ่ งแวดล้อม : มิ ติหนึ่ งของระบบบริ หาร สิ่ งแวดล้อม.” จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทศั น์ . ดอกไม้ปลายปืน. 2553. “ผลกระทบของการเมืองต่ อเศรษฐกิ จไทย.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.manager.co.th. (18 มีนาคม 2555).


74 เดชา กลิน่ จันทร์. 2549. ความสัมพันธ์ระหว่างระดับการรับรู้กบั ระดับการนาไปปฏิ บตั ิ ตามแนวคิ ดปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงของเกษตรกรในจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ศลิ ปศาตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. ธงชัย สันติวงษ์. 2540. กลยุทธ์และนโยบายธุรกิ จ. กรุงเทพมหานคร:ไทยวัฒนาพาณิช. ธนาคารแห่งประเทศไทย. 2554. “ภาวะเศรษฐกิ จไทย 2554.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.bot.or.th. (19 มีนาคม 2555). ธนิต ปวีณวงศ์ชยั . 2553. “การจัดการเชิ งกลยุทธ์และกลยุทธ์ทางการตลาดของธุรกิ จ ผลิ ตและจาหน่ ายสิ นค้าเซรามิ คเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันอย่าง ยังยื ่ นกรณี ศึกษาบริ ษทั คราวน์ เซรามิ คส์จากัด.” [เข้าถึงได้จาก]. http://dataverse.dvn.utcc.ac.th/dvn/dv/GS/faces/study/StudyPage.xhtml?studyId= 30237&tab=catalog. (22 กุมภาพันธ์ 2555). ธนิต โสรัตน์. 2546. การจัดการห่วงโซ่ อปุ ทานในยุคโลกาภิ วฒ ั น์ = What is logistics..?? andsupply chain management. กรุงเทพมหานคร: ประชุมทอง พริน้ ติง้ กรุป๊ . _______. 2550. การประยุกต์ใช้โลจิ สติ กส์และโซ่อปุ ทาน. กรุงเทพมหานคร: ประชุม ทองพริน้ ติง้ กรุป๊ . ธีรพล แซ่ตงั ้ . 2550. “อย่าทาแค่ลดต้นทุน แต่ ต้องบริ หารต้ นทุน.” [เข้าถึงได้จาก], http://www.arip.co.th. (19 มีนาคม 2555). นพดล อิม่ เอม. 2548. “Value Stream Mapping.” วารสารเพื่อคุณภาพ (For quality) 12: 48-52. นาตยา ตรีรตั น์ดลิ กกุล. 2550. หลักการบัญชีเพื่อการจัดการ. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.


75 นิภาพร เครือมา. 2551. การจัดการผ้าตามแนวทฤษฎีเศรษฐกิ จพอเพียงของกลุ่มธุรกิ จ ชุมชนบ้านข้างน้า ตาบลวงเหนื อ อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้า แบบอิสระศึกษา ศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวศึกษา, มหาวิทยาลัยชียงใหม่. นิรนาม. 2552. “ถาม – ตอบเรื่องหลอดไฟ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.greenpeace.org/seasia/th/ campaigns/climate-andenergy/solutions/energy-efficiency/lightbulbs-q-and-a/. (19 มีนาคม 2555). นิสดารก์ เวชยานนท์. 2541. “แนวคิดการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู.้ ” การจัดการภาครัฐ และเอกชน 7 (1): 1-22. นุจรินทร์ ฉิมพลอย. 2542. การจัดทางบประมาณดาเนิ นการตามระบบต้ นทุนกิ จกรรม ของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ตแห่ งประเทศไทย กรณี ศึกษาโรงไฟฟ้ าแม่เมาะ จังหวัด ลาปาง. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. บรรหาญ ลิลา. 2553. การวางแผนและควบคุมการผลิ ต (Production Planning and Control) กรุงเทพมหานคร: ท้อป. บริษทั คราวน์เซรามิคส์ จากัด.2555. [เข้าถึงได้จาก]. http://www.crownceramics.com. (22 กุมภาพันธ์ 2555). บริษทั ไทยวิจยั และฝึกอบรม จากัด. 2555. “แนวโน้ มเศรษฐกิ จปี 2555.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.oknation.net/blog/thaitraining/2012/01/31/entry-1. (20 มีนาคม 2555). บริษทั ลี้ กิจเจริญแสง จากัด. 2554. เยีย่ มชมโรงงาน LKS. [เทปบันทึกภาพ]. บริษทั ลี้ กิจเจริญแสง จากัด. 2555. ประชาชาติธุรกิจ. 2554. “ไทย-เทศ"ชิ งเค้กหลอดไฟ6.5พันล. ตลาดเปิ ดกว้าง"ฟิ ลิ ปส์" สปี ดหนี ส่งแอลอีดียา้ แชมป์ .” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.prachachat.net/ news_ detail. php? newsid = 13047 58118&grpid=no&catid=11. (20 มีนาคม 2555).


76 ประดิษฐ์ วงศ์มณี และคณะ. 2552. 1-2-3 ก้าวสู่ลีน. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ ส.ส.ท. ประเวศ วะสี. 2550. เศรษฐกิ จพอเพียงและประชาสังคม แนวทางพลิ กฟื้ นเศรษฐกิ จ สังคม. พิมพ์ครัง้ ที่ 6. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ด.ี ปญั ญาวัฒน์ สุขเลิศ. 2551. ประสิ ทธิ ภาพการบริ หารต้นทุนของธนาคารพาณิ ชย์เต็ม รูปแบบ. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปรานอม บัวบานศรี. 2546. การประยุกต์ใช้ ต้นทุนกิ จกรรมในสถานศึกษาเอกชน : กรณีศกึ ษา โรงเรียนเทคโนโลยีเอเชีย จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์บญ ั ชี มหาบัณฑิต สาขาการบัญชี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ปิยาภรณ์ อาสาทรงธรรม. 2552. “การลดต้นทุนเพื่อความยังยื ่ นของธุรกิจ.” วารสารนัก บริ หาร 29 (1): 51-55. ฝา่ ยวิจยั ธุรกิจธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย. มปป. “ไทยกับ AEC ใน ยุคสมัยแห่งเอเชีย.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s& source =web&cd=3&ved=0CEY QFjAC&url=http%3A% 2F%2Fwww. Dip.go.th%2FP ortals% 2F0%2FTipmontha%2FAEC%2F%25E0%25B8% 259A %25E0%25B8%2597%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A7%25E0 %25B8%25B2%25E0%25B8%25A1AEC.pdf&ei=R3hoT_bXC8utrAfkn8HbBw&us g=AFQjCNGXkimP0v1JIGPNtzgkxOf8dKJJYA. (20 มีนาคม 2555). พงษ์ชยั อธิคมรัตนกุล. 2553. “การปรับตัวของบริ ษทั ไทยในกระแสโลกาภิ วตั น์ .” [เข้าถึงได้จาก]. http://www. logisticscorner.com (14 กุมภาพันธ์ 2555). พระมหาศิรวิ ฒ ั น์ อริยเมธี. 2549. วิ เคราะห์แนวคิ ดเศรษฐกิ จพอเพียงจากมุมมองของ พระพุทธศาสนา. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. เชียงใหม่: เชียงใหม่โรงพิมพ์แสงศิลป์. เพชรรุง่ การ พิมพ์.


77 พัชนิจ เนาวพันธ์. 2552. บัญชีเพื่อการบริ หารธุรกิ จตามแนวคิ ดกระบวนการจัดการ เชิ งกลยุทธ์. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พันธุบ์ ุณย์ ทองสังข์. 2549. หลักปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงกับกลยุทธ์การจัดการ องค์การในสภาวะวิ กฤต กรณี ศึกษา: ชุมพรคาบาน่ า รีสอร์ท. วิทยานิพนธ์วทิ ยา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย. 2553. “การผลิตแบบลีนสู่การบัญชีแบบลีน Lean Manufacturing to Lean Accounting.” วารสารวิ ชาการ มหาวิ ทยาลัยหอการค้าไทย 30 (2): 84-98. พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย. 2553. “การผลิ ตสู่การบัญชีแบบลีน.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.utcc.ac.th/public_content/files/001/30_2-7.pdf. (22 กุมภาพันธ์ 2555). พิพฒ ั น์ ยอดพฤติการณ์. 2549. “พอเพียงภิวตั น์.” กรุงเทพธุรกิ จ (5 ธันวาคม 2549): 11. พิมพันธ์ เดชะคุปต์. 2551. “PDCA รู้ไว้ใช่เสียหาย.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.oknation.net. (19 มีนาคม 2555). พิไล อุปญั . 2549. “ข้อดีและข้อเสียของการดาเนิ นชีวิตแบบเศรษฐกิ จพอเพียง.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.gotoknow.org.(19 มีนาคม 2555). พิไลพร ล้าฤทธิ ์. 2545. ศึกษาปัญหาในการนาระบบต้นทุนกิ จกรรมมาประยุกต์ใช้ของ นักบัญชีเขตกรณี ศึกษา การไฟฟ้ านครหลวง. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. พุทธรักษ์ จันทร์ศริ .ิ 2546. การบริ หารต้ นทุนของธุรกิ จคอนกรีตผสมเสร็จ. บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ไพบูลย์ ผจงวงศ์. 2549. การบัญชีเพื่อการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์แสงดาว.


78 ฟ้าทะลายโจร. 2550. “การประยุกต์ใช้เศรษฐกิ จพอเพียงระดับนักการเมืองและ เจ้าหน้ าที่ของรัฐ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.oknation.net. (14 กุมภาพันธ์ 2555). ภัคฐากูร ธรรมคีร ี และโสภาภรณ์ เอีย่ วศิร.ิ 2551. กลยุทธ์การจัดการโซ่อปุ ทานของ ผลิ ตภัณฑ์ปรุงรส กรณี ศึกษาบริ ษทั ซุปเปอร์ทีฟดู้ จากัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาการบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยนเรศวร. มนัส มากบุญ. 2549. การพัฒนากลยุทธ์การบริ หารต้นทุนต่อหน่ วยบริ การของศูนย์ สุขภาพชุมชน อาเภอเนิ นมะปราง จังหวัดพิ ษณุโลก. วิทยานิพนธ์ศลิ ปศาสตรมหา บัณฑิต สาขายุทธศาสตร์การพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง. 2545. “ระบบการควบคุมสิ นค้าคงคลัง.” [เข้าถึงได้จาก]. http://e- learning.mfu.ac.th/mflu/1301312/IM/chapter3_4.htm. (19 มีนาคม 2555). มังกร โรจน์ประภากร. 2552. ระบบการผลิ ตแบบโตโยต้า (TOYOTA Production System). พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ่นุ ). แปลจาก Toyota SeisanHoushikiwoKangaeru Kai. n.d.TokotonYasashii Toyota SeisanHoushiki no Hon. Japan: THE NIKKAN KOGYO SHIMBUN LTD. รุธรี ์ พนมยงค์ และคณะ. 2548. “การวิ เคราะห์ต้นทุนตามระบบต้ นทุนฐานกิ จกรรม.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.logisticscorner.com. (19 มีนาคม 2555). วชิรพงษ์ สาลีสงิ ห์. 2548. ปฏิ วตั ิ กระบวนการทางานด้วยเทคนิ ค Six Sigma ฉบับ Champion และBlack Belt. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน.่ วรศักดิ ์ ทุมมานนท์. 2544. ระบบการบริ หารต้ นทุนกิ จกรรม. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ไอโอนิค. วริสร รักษ์พนั ธุ.์ 2555. กรรมการผูจ้ ดั การ ชุมพรคาบาน่ ารีสอร์ต. สัมภาษณ์ , 12 มกราคม 2555.


79 วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์ และวัชรวี จันทรประกายกุล. 2549. การจัดการและออกแบบโซ่ อุปทานdesigning & managing the supply chain. กรุงเทพมหานคร: ท้อป. วาสนา วิเศษสิงห์. 2543. แนวทางในการลดต้ นทุนโดยใช้ระบบต้ นทุนกิ จกรรม ของ บริ ษทั พิ บูลย์คอนกรีต จากัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา บริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิกพิ เี ดีย. 2555. “SWOT.” [เข้าถึงได้จาก]. http://th.wikipedia.org/wiki/. (22 กุมภาพันธ์ 2555). วิจารย์ สิมาฉายา. 2554. “กรมควบคุมมลพิ ษเผยสถานการณ์ มลพิ ษปี 2554 ขยะน่ าห่วง ทัง้ ปี 16 ล้านตัน.” [เข้าถึงได้จาก]. http://thaipublica.org/2011/12/report-pollution2554/. (18 มีนาคม 2555). วิชยั ไชยมี. 2547. การบริ หารการผลิ ตและควบคุมสิ นค้าคงคลัง. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน. ่ _______. 2551. การบริ หารอุตสาหกรรมแบบลีนด้วยระบบ ERP (Enterprise Resources Planning). กรุงเทพมหานคร: บริษทั วี.พริน้ ท์ (1991) จากัด. วิชติ อู่อน้ . 2544. การจัดการเชิ งกลยุทธ์. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: วี. เจ. พริน้ ติง้ . วิทยา สุหฤทดารง และยุพา กลอนกลาง. 2549. การบ่งชี้ “ความสูญเปล่า” (Identifying Waste on the Shopfloor). กรุงเทพมหานคร: อี.ไอ.สแควร์ พับลิชชิง่ . แปลจาก Productivity Press Development Team. 2006. Identifying Waste on the Shopfloor. English: The Kraus Organization, Ltd. วิทยากร เชียงกูล. 2551. “อนาคตเศรษฐกิ จโลกและทางออกของไทย.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.witayakornclub.wordpress.com. (13 กุมภาพันธ์ 2555).


80 วิโรจน์ เฉลิมรัตนา. 2549. กรุงเทพมหานคร. [เข้าถึงได้จาก]. http://www.bkkonline.com/accounting/16sep49.shtml. (18 มีนาคม 2555). ศศิชา สิทธิกุล. 2551. การลดต้นทุนโลจิ สติ กส์ระหว่างผู้ผลิ ตชิ้ นส่วนและผูป้ ระกอบยาน ยนต์ในโซ่อปุ ทานอุตสาหกรรมยานยนต์. วิทยานิพนธ์วศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรม ระบบการผลิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร.ี ศักดิ ์ชัย ภู่เจริญ.2553. “หลักธรรมาภิ บาล.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.ocn.ubu.ac.th. (18 มีนาคม 2555). ศิรขิ วัญ ขุนรัตนโรจน์ . 2551. อ้างถึง ผูจ้ ดั การรายสัปดาห์ 2549. ศิลปพร ศรีจนเพชร ั่ 2551. “การบัญชีแบบลีน.” วารสารวิ ชาชีพบัญชี 4 (11): 23-31. ศุภชัย หล่อโลหการ. 2550. ธุรกิ จเกษตรอิ นทรีย์ Organic Farming Business. มปท. ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. 2551. “สาระสาคัญของ (ร่าง) กฎหมาย Ecodesignสาหรับหลอดไฟ.” [เข้าถึงได้ จาก] http://www.thairohs.org/index.php?bwoption=com_content&task=view&id= 354&Itemid=84&PHPSESSID=75f757b54375a9a9a603dcda740adf95. (19 มีนาคม 2555). ศูนย์สารสนเทศสิง่ แวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม. 2554. “การทรงงานของสถาบันพระมหากษัตริ ย.์ ” [เข้าถึงได้จาก]. http://www. environnet.in.th.(14 กุมภาพันธ์ 2555). สถาบันไทยพัฒน์. มปป. “เศรษฐกิ จพอเพียงในธุรกิ จ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.sufficiencyeconomy.com. (19 มีนาคม 2555). สถาบันเศรษฐกิจพอเพียง มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. 2553. “ทฤษฎีบนั ได 9 ขัน้ สู่ ความพอเพียง.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.ise-rru.org/. (18 มีนาคม 2555).


81 สมนึก เอือ้ จิระพงษ์พนั ธ์. 2546. การบัญชีเพื่อการจัดการและการบริ หารต้นทุน. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ธรรมนิติ เพรส. _______. 2554. การบัญชีเพื่อการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: วี.พริน้ ท์ (1991). สมหวัง วิทยาปญั ญานนท์. 2547. “การพัฒนาอย่างยังยื ่ นกลุ่มธุรกิ จปูนซี เมนต์.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.budmgt.com. (20 มีนาคม 2555). สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ นุ่ ). 2555. “โครงการให้คาปรึกษาเพื่อลดความสูญเปล่า ด้วยระบบการผลิตแบบลีน (Waste Reduction by Lean Production).” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.tpa.or.th/tpanew/news/news.php?id=448. (18 มีนาคม 2555). สมาพันธ์โลจิสติกส์ไทย. 2554. “ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซียน (AEC).” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thailog.org/wikilog/home.html. (19 มีนาคม 2555). สรรเสริญ วงศ์ชอุ่ม. 2544. เศรษฐกิ จพอเพียง: พื้นฐานสู่การพัฒนาที่ยงยื ั ่ น. นนทบุร.ี สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2544. “แผนพัฒนา เศรษฐกิ จและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555). _______. 2554. รายงานการสัมมนาเชิ งปฏิ บตั ิ การ ยุทธศาสตร์เศรษฐกิ จ หลังวิ กฤตน้า ท่วม. กรุงเทพมหานคร. _______. 2555. “เรื่องภาวะสังคมไทยไตรมาสสี่ และภาพรวมปี 2554.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.nesdb.go.th. (18 มีนาคม 2555). สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ. 2550. “เศรษฐกิ จพอเพียง.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.rdpb.go.th. (19 มีนาคม 2555).


82 สานักงานเศรษฐกิจเกษตร. 2552. “ตารางแสดงผลการเจรจาเกษตร.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.oae.go.thwww.oae.go.th. (19 มีนาคม 2555). สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. 2553. “การมีใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน ครัวเรือน.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.nso.go.th. (19 มีนาคม 2555). สิรณ ิ ฎั ฐ์ ควรประกอบกิจ. 2553. ปัจจัยความสาเร็จของเกษตรกรชาวนาจังหวัด ฉะเชิ งเทราในการจัดการโซ่อปุ ทาน. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทัวไป, ่ มหาวิทยาลัยรามคาแหง. สิรริ ตั น์ ศรีจกั รวาลวงษ์. 2545. ระบบบัญชีและการควบคุมทางการบัญชีของเหมืองแม่ เมาะการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ตแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชา บัญชี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สุขสรรค์ กันตะบุตร. 2551. “ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงกับความยังยื ่ นขององค์กร.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.sanook.com. (19 มีนาคม 2555). _______. 2553. เศรษฐกิ จพอเพียงในองค์กรธุรกิ จเพื่อความยังยื ่ น. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สุจติ ต์ ปุคะละนันท์. 2548. “นักบริหารทรัพยากรมนุษย์กบั องค์การแห่งการเรียนรู.้ ”การ บริ หารฅน 26 (1): 10-18. สุชาวลี วนิชาชีวะ. 2555. ฝา่ ยบุคคล ชุมพรคาบาน่ ารีสอร์ท. สัมภาษณ์ , 12 มกราคม 2555. สุดปราณี มณีศรี. 2545. แนวทางในการลดต้ นทุนโดยใช้ระบบต้ นทุนตามกิ จกรรม กรณี ศึกษาบริ ษทั วี.พี.เอฟ.กรุป๊ จากัด. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สุนทร กุลตัฒนวรพงศ์. 2544. ตามรอยพระราชดาริ เศรษฐกิ จพอเพียง-ทฤษฎีใหม่. กรุงเทพมหานคร: สุวรี ยิ าสาส์น.


83 สุเมธ ตันติเวชกุล. 2554. “ประสบการณ์ การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงด้าน การบริ หารองค์กร.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.social.nesdb.th. (19 มีนาคม 2555). สุรพี นั ธุ์ เสนานุ ช. 2553. “จากภูผาสู่มหานที.” Productivity World (กรกฎาคม – สิงหาคม): 17-20. สุวภัทร รักเสรี. 2552. การปรับปรุงประสิ ทธิ ภาพการดาเนิ นการด้านห่วงโซ่ อปุ ทานของ โรงงานอาหารสัตว์. วิทยานิพนธ์วศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อนุธดิ า ประเสริฐศักดิ ์. 2554. “การลดต้นทุนเพื่อความยังยื ่ นของธุรกิ จ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://kmctuaccounting.wordpress.com/. (18 มีนาคม 2555). อนุรกั ษ์ ทองสุโขวงศ์. 2548. “การบัญชีต้นทุน.” [เข้าถึงได้จาก]. http://home.kku.ac.th. (19 มีนาคม 2555). อัครวรรธน์ รอดสมบุญ. 2551. การสื่อสารการตลาดของธุรกิ จที่ดาเนิ นการตามแนวคิ ด ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง: กรณี ศึกษาชุมพร คาบาน่ า รีสอร์ต และ คาแสด ริ เวิ รแ์ คว รีสอร์ต. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์การตลาด, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. อัชญา ไพคานาม. 2552. การเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพการดาเนิ นงานโดยการบริ หารต้นทุน ธุรกิ จสหกรณ์ กรณี ศึกษา :สหกรณ์ การเกษตรเชียงคา จากัด. ธุรกิจการเกษตร, มหาวิทยาลัยแม่โจ้. อัษรายุทธ มาสแก้ว. 2551. การปรับปรุงระบบต้ นทุนการผลิ ตในโรงงานผลิ ต เฟอร์นิเจอร์โดยใช้ระบบต้ นทุนกิ จกรรมกรณี ศึกษาบริ ษทั สยามมาสเตอร์ คอนกรีต จากัด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช.


84 เอ็นจีโอไทย. 2549. “อิ ทธิ พลของทุนนิ ยม ต่อวัฒนธรรมและสังคมไทย.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thaingo.org. (13 กุมภาพันธ์ 2555). Adjutant. n.d. “Supply Chain Management (SCM).” [Available]. http://www.metalez.com/Supply-Chain-Management-SCM.cfm. (19 March 2012). Jan Dünnebier. 2009. “SCM or how to manage complexity successfully” [Available]. http://janduennebier.wordpress.com/2009/01/05/supply-chainmanagement/. (19 March 2012). Lean Sigma Institute. 2004. “Lean Six Sigma DMAIC Integration Model.”[Available]. http://www.sixsigmainstitute.com/leansigma/index_leansigma.shtml. (19 March 2012). Market Manipulation. 2011. “WTO : Why is it BAD for you?.” [Available]. http://breakthematrix.com. (19March 2012). Rowland Hayler and Michael Nichols. 2549. การจัดการกระบวนการตามหลัก Six Sigma. (ไพโรจน์ บาลัน. ผูแ้ ปล). กรุงเทพฯ: อี.ไอ.สแควร์ พับลิซซิง่ . Sesame. 2550. “การนาเอาหลักการเศรษฐกิ จพอเพียงมาใช้ กบั องค์กรเราได้อย่างไร.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.oknation.net. (19 มีนาคม 2555). Sorradithep Supachanya. Corporate Sustainability under the Sufficiency Economy Philosophy.Thesis for Master of Business Administration, Chulalongkorn University, 2010. Technical Change Associates. n.d. “VALUE STREAM MAPPING.” [Available]. http://www.technicalchange.com/value-stream-mapping.html. (19 March 2012). Turney, P.B.B. and Stratton. 1992. “Using ABC to support continuous.” [Available]. http://www.grin.com. (19 March 2012).


85 United Nations. 2001. “Environmental Management Accounting Procedures and Principles.” [Available]. www.un.org/esa/sustdev/.../proceduresandprinciples.pdf (3 March 2012). Well being group. 2012. “โครงสร้างวงจรPDCA.” [เข้าถึงได้จาก]. https://sites.google.com/site/wellbeinggroupubu/home/wngcr-pdca. (22 March 2012).



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.