01รายงานผลการสัมมนารวมทุกเครือข่ายMA

Page 1


[1] กิ ตติ กรรมประกาศ งานสัมมนาฉบับนี้สาเร็จลุล่ว งไปด้วยความกรุณาอย่างดียงิ่ จาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พัชนิจ เนาวพันธ์ ที่คอยให้คาปรึกษาและกรุณาให้คาแนะนาในด้านต่างๆ พร้อมทัง้ ตรวจทาน แก้ไขข้อบกพร่องและข้อเสนอแนะ มอบกาลังใจในการทางานนี้จนสาเร็จสมบูรณ์ คณะผู้จดั ทา ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ไว้ ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณครู อาจารย์ เนื่องจากคณะผูจ้ ดั ทาได้รบั ความช่วยเหลือ และความ ดูแ ลเอาใจใส่ จ ากคณาจารย์ป ระจ าสาขาการบัญ ชีบ ริ หาร ตลอดจนครูอ าจารย์ทุ ก ท่า นที่ไ ด้ ประสิทธิ ์ประสาทวิชาความรู้ มอบความรูค้ วามเข้าใจดีๆ และให้คาปรึกษาในการจัดทาปญั หา พิเศษเล่มนี้ ขอกราบขอบพระคุ ณ คุณพ่อ คุณแม่ และครอบครัว ที่ให้การส่งเสริมสนับสนุ นด้าน การศึกษาและให้กาลังใจดีๆ โดยเสมอมา อีกทัง้ ขอขอบคุณเพื่อนนิสติ ปริญญาตรี สาขาการบัญชีบริหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รุ่นที่ 68 ที่ใ ห้ค วามช่ ว ยเหลือ แนะนาแนวทางในการจัด ทาปญั หาพิเ ศษ และให้ก าลัง ใจคณะ ผูจ้ ดั ทามาโดยตลอด ท้ายนี้ทางคณะผูจ้ ดั ทาขอกราบขอบพระคุณทุกท่านทีไ่ ด้กล่าวนามและไม่ได้กล่าวนามที่ มีส่วนร่วมสนับสนุน ให้กาลังใจ ความเมตตา และให้ทุนทรัพย์แก่คณะผูจ้ ดั ทามาโดยตลอด คณะ ผูจ้ ดั ทาหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า งานสัมมนาฉบับนี้จะมีประโยชน์ทางด้านวิชาการ และมีส่วนช่วยใน การยกระดับองค์ความรูท้ างการบัญชีแก่สาธารณชนทัวไป ่ ตลอดจนเป็นทีย่ อมรับในระดับสากล

คณะผูจ้ ดั ทา มีนาคม 2555


[2] นิสติ สาขาการบัญชีบริหารMA4KU68 2554: การสัมมนาเครือข่ายองค์ความรูท้ างการบัญชี ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร อาจารย์ทป่ี รึกษา: ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์, บธ.ม.,บธ.บ. 45 หน้า

การสัมมนาครัง้ นี้มจี ุดประสงค์เพื่อให้นิสติ ที่กาลังอยู่ในกระบวนการศึกษาอยู่ได้มอี งค์ ความรู้เพิ่มมากขึ้นรวมถึงบุค คลภายนอกที่ส นใจเข้าร่วมได้รบั การพัฒนาองค์ค วามรู้ให้มาก ยิง่ ขึน้ เล่นกัน และร่วมกันสังเคราะห์องค์ความรูท้ ห่ี ลากหลายร่วมกัน โดยใช้ ระเบียบวิธวี จิ ยั เชิง วิเ คราะห์แ ละเปรียบเทียบ เพื่อ แสดงให้เ ห็น อย่างชัดเจนในกรณีต่ างๆ มุ่งเน้ นการศึกษาใน ภาคปฏิบตั งิ านจริงมากกว่าภาคทฤษฎี สรุปผลและเสนอแนะอย่างละเอียด การสัมมนาเครือข่ายองค์ความรูท้ างการบัญชีโดยจัดให้ทุกเครือข่ายองค์ความรูร้ ่วมกัน สรุปกรณีศกึ ษาทีไ่ ด้ทาการศึกษาในวิชาปญั หาพิเศษ โดยนาเสนอในรูปแบบของการจัดสัมมนา ร่ว มแชร์ค วามรู้ร ะหว่า งเครือ ข่า ยรวมถึงร่ว มกัน เสนอแนะแนวทางแก้ไ ข หรือ ข้อ เสนอแนะ เพิม่ เติมอื่นๆ แล้วสังเคราะห์องค์ความรูท้ ไ่ี ด้จากการศึกษาและข้อเสนอแนะทัง้ หมดเพื่อสรุปผล การสัมมนาแต่ละเครือข่ายองค์ความรู้ เครือ ข่ายองค์ค วามรู้ทางการบัญ ชีท่ไี ด้ทาการศึกษาและสรุปผลทัง้ หมดนัน้ สามารถ จาแนกออกเป็ นเรื่องๆได้ดงั นี้ 1.การบัญชีภาษีอากร 2.การบริหารต้นทุน 3.การควบคุมภายใน 4.การตรวจสอบบัญชี 5.มาตรฐานการบัญชี 6.การรายงานทางการเงิน ซึ่งทัง้ หมดนี้ยงั สามาร แบ่ ง เป็ น กรณี ศึก ษาได้อีก หลากหลายกรณี ซึ่ง ทัง้ หมดนั น้ เป็ น องค์ค วามรู้ท่ี เ พิ่ม เติม จาก การศึกษาในห้องเรียน เพื่อสอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของการจัดสัมมนาเครือข่ายองค์ความรู้ ทางการบัญชีน้ี รวมถึงเป็ นการพัฒนาความสามารถ และความเรียนรูใ้ นด้านต่างๆ ของนิสติ ให้ สอดคล้องกับคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของสาขาวิชาการบัญชีบริหาร ร่วมกับคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของบัณฑิตทีจ่ บจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


[3] สารบัญ

เรื่อง

หน้ า

กิ ตติ กรรมประกาศ

[1]

บทคัดย่อ

[2]

สารบัญ

[3]

บทที่ 1 ที่มา 1. หลักการและเหตุผล

1

2. วัตถุประสงค์

1

3. ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั

2

บทที่ 2 การดาเนิ นงาน 1. แนวคิดจากการกาหนดเนื้อหาหัวข้อสัมมนา

3

2. ขัน้ ตอนการดาเนินงาน

4

2.1 กาหนดหัวข้อ

4

2.2 ยืมสถานที่

4

2.3 จัดเตรียมงานด้านโสต

4

2.4 เอกสารประกอบการจัดสัมมนา

4

2.5 เอกสารประชาสัมพันธ์

5

2.6 แบบฟอร์มการเข้าร่วมโครงการ

14

2.7 กาหนดการสัมมนา

15


[4] สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง

หน้ า 2.8 บรรยากาศการเข้าร่วมสัมมนา

17

2.9 สรุปผล

23

2.10 ค่าใช้จ่ายในการจัดสัมมนา

23

บทที่ 3 สรุปผลองค์ความรู้เครือข่ายทางการบัญชี 1. ผูแ้ ทนกลุ่มเครือข่ายแสดงแนวคิดเพื่อร่วมสรุปองค์ความรู้

24

2. การพัฒนาอย่างยังยื ่ น

26

3. แนวทางในการแก้ไขปญั หาต่างๆ ภายในประเทศ

28

4. จากแนวคิดการพัฒนาสู่ความยังยื ่ นสาขาการบัญชีบริหารมีแนวคิดเพิม่ เติม

32

บรรณานุกรม

4.1

ด้านศีลธรรม

32

4.2

ด้านเศรษฐกิจ

33

4.3

ด้านสังคม

37 45


บทที่ 1 ที่มาและความสาคัญ หลักการและเหตุผล เนื่อ งด้ว ยสาขาการบัญ ชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิท ยาเขตศรีร าชาชัน้ ปี ท่ี 4 ได้ม ีการจัด โครงการสัม มนาวิช าการให้แ ก่ นิ ส ิต ที่ก าลัง อยู่ใ น กระบวนการศึกษาเพื่อเสริมและพัฒนาองค์ความรู้วชิ าชีพโดยองค์ความรูจ้ ะถ่ายทอดนัน้ เป็ น ประเด็นจากการศึกษาปญั หาพิเศษของแขนงวิชาต่างๆ ทางสาขาทัง้ ด้านของการบริหารต้นทุน การบัญชีภาษีอากร มาตรฐานบัญชีต่างๆ การควบคุมและตรวจสอบภายในรวมทัง้ การศึกษา ข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีทางการบัญชี เพื่อให้นิสติ สาแนวความคิดรวบยอดที่ได้จาก การศึกษาถ่ายทอดและนาเสนอความรูค้ วามเข้าใจแก้นิสติ ภายในสาขา และผูท้ ส่ี นใจ ก่อให้เกิด การเพิม่ พูนความรู้และคลังปญั ญามากยิง่ ขึน้ เป็ นการเสริมทักษะการเรียนรู้ การนาเสนอการ สนทนาในที่ชุม ชน และเสริม สร้างความรู้ค วามเข้า ใจทางด้านการบริห ารงานและทางด้า น เทคโนโลยีให้เกิดขึน้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด อีกทัง้ ยังเป็ นการใช้การวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อ การตัดสินใจ การแปลความ แก้ไขปญั หาพร้อมทัง้ เสนอแนะแนวทางแก้ไขให้เกิดขึน้ ในตัวบุคคล และภาพรวม ทัง้ นี้เพื่อก่อให้เกิดความรูแ้ ละความพร้อมสู่การปฏิบตั ิด้านวิชาชีพทางการบัญชี และการบริหาร วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นิสติ นาองค์ความรูท้ ่ไี ด้ศกึ ษาเล่าเรียนมาบูรณาการเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิด การศึกษาค้นคว้าหาความรูเ้ พิม่ เติม และฝึ กฝนการจัดทารายงานในรูปแบบที่ม ี มาตรฐาน 2. เพื่อ ให้นิส ิต มีค วามสามารถในการสังเคราะห์อ งค์ค วามรู้ท่เี กี่ยวข้อ งกับประเด็น ปญั หาทางด้านบัญชีบริหารทีน่ ่ าสนใจ 3. เพื่อให้นิสติ สามารถวิเคราะห์ปญั หาและประเด็นปจั จุบนั เกีย่ วกับภาษีอากร


2

ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รบั 1. มีคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม 2. มีความรอบรูใ้ นศาสตร์ทางการบัญชี ทักษะทางวิชาชีพ และศาสตร์อ่นื ทีเ่ กีย่ วข้อง 3. มีความสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ บูรณาการความรูแ้ ละประสบการณ์ทาง วิชาชีพบัญชีอย่างเป็นระบบ 4. มีโลกทัศ น์ ท่กี ว้างไกล ความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาตนเองทัง้ ด้านความรู้ ทักษะ วิชาชีพ อย่างต่อเนื่องและทางานร่วมกับบุคคลอื่นได้ทุกระดับอย่างเหมาะสม 5. มีความรูท้ างด้านเทคโนโลยีท่ที นั สมัย สามารถสื่อสารและใช้เทคโนโลยีได้อย่างมี ประสิทธิภาพ


บทที่ 2 การดาเนิ นงาน 1.แนวคิ ดจากการกาหนดหัวข้อสัมมนา กรแก้ว จันทภาษา (2550)การสนทนากลุ่ม (focus group) เป็ นการสัมภาษณ์ในอีก รูปแบบหนึ่งทีร่ วบรวมข้อมูลจากการสนทนากับกลุ่มผูใ้ ห้ขอ้ มูลในประเด็นปญั หาทีเ่ ฉพาะเจาะจง โดยมีผดู้ าเนินการสนทนากลุ่ม (Moderator) เป็ นผูค้ อยจุดประเด็นในการสนทนา เพื่อชักจูงให้ กลุ่มเกิดแนวคิดและแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือแนวทางการสนทนาอย่า งกว้างขวาง ละเอียดลึกซึง้ โดยมีผเู้ ข้าร่วมสนทนาในแต่ละกลุ่มประมาณ 6-10 คน ซึง่ เลือกมาจากประชากร เป้าหมายที่กาหนด ซึ่งคล้ายคลึงกับการจัดสัมมนาองค์ความรูท้ างการบัญชีท่ไี ด้มกี ารมุ่งเจาะ ประเด็นทางด้านการบัญชีโดยสามารถแบ่งออกได้ 6 หัวข้อต่างๆดังต่อไปนี้ การบัญชีภาษี อากร นิสติ เลือกหัวข้อสัมมนาโดยสามารถวิเคราะห์ปญั หาและประเด็นที่ เกีย่ วกับภาษีอากรในปจั จุบนั ได้ เช่น นโยบายภาครัฐ เป็ นต้น การควบคุมภายใน นิสติ เลือกวิเคราะห์กรณีปญั หาทีเ่ กี่ยวข้องกับการตรวจสอบบัญชี และการตรวจสอบภายในขัน้ สูงได้อย่างสร้างสรรค์และถูกต้องตามหลักวิชาการและเป็ นทีย่ อมรับ ในวงวิชาชีพ มาตรฐานการบัญ ชี นิส ิต เลือ กกรณีศึกษา โดยวิเ คราะห์มาตรฐานการบัญ ชีกับ กรณีศกึ ษาว่าได้นาไปใช้จริงอย่างถูกต้อตามหลักมาตรฐานหรือไม่เพราะ กรณีศกึ ษาเป็ นธุรกิจที่ มีผปู้ ระกอบการน้อยราย การรายงานทางการเงิ น นิสติ เลือกศึกษาถึงผลกระทบ จากการดาเนินงานที่ แสดงใน รูปแบบรายงายทางการเงิน และวิเคราะห์ถงึ สาเหตุทร่ี ายงานทางการเงินมีขอ้ ควรพิจารณา การตรวจสอบบัญชี นิสติ เลือกวิเคราะห์ขนั ้ ตอนการตรวจสอบบัญชีในธุรกิจ โดย ขัน้ ตอนในการตรวจสอบและประเภทของธุรกิจนัน้ ยังไม่ค่อยได้ศกึ ษาอย่างละเอียดในภาควิชา เรียน การบริ หารต้ นทุน นิสติ เลือกองค์กรที่ใช้การบริหารต้นทุนแต่ละประเภท แล้วทาการ วิเคราะห์ถงึ การบริหารต้นทุนทัง้ ระบบ


4 2.ขัน้ ตอนการดาเนิ นงาน 2.1 กาหนดหัวข้อ โดยแต่ละเครือข่ายองค์ความรูจ้ ะกาหนดหัวข้อขึน้ ตามแนวคิดของเครือข่ายองค์ ความรูต้ นเอง และยื่นเสนออาจารย์ทป่ี รึกษาประจาเครือข่ายเพื่อขออนุ มตั หิ วั ข้อ และดาเนินงาน ในขึน้ ตอนต่อไปโดยหัวข้อทีก่ าหนดขึน้ ของทุกๆเครือข่ายองค์ความรูม้ ุ่งเน้นเสริมและพัฒ นาองค์ ความรูเ้ ดิมของนิสติ และบุคคลภายนอก เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับความรูท้ างด้านการบัญชีให้มาก ยิง่ ขึน้ 2.2 ยืมสถานที่ ผศ.พัชนิจ เนาวพันธ์ อาจารย์หวั หน้าสาขาการบัญชีบริหาร จัดทาจดหมายส่ง ฝ่ายทรัพย์สนิ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา เพื่อขอใช้สถานที่ เวทีบริเวณ หน้าโรงอาหารในการประกอบการจัดสัมมนาเครือข่ายองค์ความรู้ทุกเครือข่าย จดหมายจะเข้าสู่ กระบวนของทางมหาวิทยาลัย แล้วเสร็จจะเป็ นการอนุ มตั กิ ารขอใช้สถานทีท่ แ่ี จ้งไว้ ตามวันและ เวลาทีก่ าหนด 2.3 จัดเตรียมงานด้านโสต ผศ.พัชนิจ เนาวพันธ์ อาจารย์หวั หน้าสาขาการบัญชีบริหาร จัดทาจดหมายส่ง ฝ่ า ยโสตของมหาวิ ท ยาลัย เกษตรศาสตร์ วิท ยาเขตศรีร าชา เพื่อ ขอใช้ เ ครื่อ งเสีย งและ โปรเจคเตอร์ติดตัง้ ที่โ รงอาหารเพื่อ ประกอบการสัม มนาเครือ ข่า ยองค์ค วามรู้ทุก เครือ ข่า ย จดหมายจะเข้าสู่กระบวนของทางมหาวิทยาลัย แล้วเสร็จจะเป็นการอนุมตั กิ ารขอยืมอุปกรณ์และ บุคคลากรของฝา่ ยโสต ให้ตดิ ตัง้ อุปกรณ์ตามวันและเวลาทีก่ าหนด 2.4 เอกสารประกอบการจัดสัมมนา เมื่อแต่ละกลุ่มได้หวั ข้อทีจ่ ะทาการศึกษาแล้ว ก็ทาการสืบค้นข้อมูลด้วยตนเอง รวมถึงขอคาแนะนาจากอาจารย์ทป่ี รึกษารวมถึงบางกลุ่มอาจทาการเข้าไปสัมภาษณ์ บริษทั หรือ ธุรกิจที่เป็ นกลุ่มเป้าหมายที่จะทาการศึกษา จากนัน้ ก็จดั ทาเป็ นรายงานในรูปวิทยานิพนธ์ ซึ่ง เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาปญั หาพิเศษของสาขาการบัญชีบริหาร ในส่วนของการสัมมนานัน้ จะ นาหัวข้อที่ได้ทาการศึกษาในวิชาปญั หาพิเศษมาพูดโดยสรุป เพื่อเป็ นการนาเสนอความรู้ให้ นิ ส ิต ทัง้ ในสาขาและสาขาอื่น ๆ รวมถึง บุ ค คลที่ส นใจ พร้อ มทัง้ จัด ท าเอกสารสรุ ป เนื้ อ หา ประกอบการสัมมนา เพื่อให้ได้รบั ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาสาระทีน่ าเสนอให้เข้าใจได้


5 ง่ายขึน้ และมีคาถามประกอบการสัมมนาเพื่อวัดความเข้าใจของผูเ้ ข้าร่วมว่าได้รบั ความรูอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพมากทีส่ ุดหรือไม่ 2.5 เอกสารประชาสัมพันธ์

ภาพที่ 1

ไวนิลเครือข่ายองค์ความรูม้ าตรฐานการบัญชี


6

ภาพที่ 2

ไวนิลเครือข่ายองค์ความรูก้ ารบัญชีภาษีอากร


7

ภาพที่ 3

ไวนิลเครือข่ายองค์ความรูก้ ารบัญชีบริหารต้นทุน


8

ภาพที่ 4

ไวนิลเครือข่ายองค์ความรูก้ ารรายงานทางการเงิน


9

ภาพที่ 5

ไวนิลเครือข่ายองค์ความรูก้ ารควบคุมภายใน


10

ภาพที่ 6

ไวนิลเครือข่ายองค์ความรูก้ ารควบคุมภายใน


11

ภาพที่ 7

การประชาสัมพันธ์ทางสื่อ Facebook เครือข่ายองค์ความรูก้ าร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น

ภาพที่ 8

การประชาสัมพันธ์ทางสื่อ Facebook เครือข่ายองค์ความรูก้ าร รายงานทางการเงิน


12

ภาพที่ 9

การประชาสัมพันธ์ทางสื่อ Facebook เครือข่ายองค์ความรูก้ าร บริหารต้นทุน

ภาพที่ 10 การประชาสัมพันธ์ทางสื่อ Facebook เครือข่ายองค์ความรู้ มาตรฐาน


13 การบัญชี

ภาพที่ 11 การประชาสัมพันธ์ทางสื่อ Facebook เครือข่ายองค์ความรูก้ าร บัญชีภาษีอากร

ภาพที่ 12 การประชาสัมพันธ์ทางสื่อ Facebook เครือข่ายองค์ความรูก้ าร บัญชีภาษีอากร


14 2.6 แบบฟอร์มการเข้าโครงการ แบบประเมิ นผลการจัดสัมมนา หัวข้อ : ……………………………………………………………………………………………………....…… วันเดือนปี ………………………………………………………………………………………………………… เวลา………………………………………………………………………………………………….........……… สถานที่………………………………………………………………………………………………………......… ( ใส่เครื่องหมาย / ในช่องทีป่ ระเมิน ) รายการที่ประเมิ น 1.เกี่ยวกับหัวข้อการสัมมนา การนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 2.เกี่ยวกับการสัมมนา 2.1 วิธกี ารนาเสนอ 2.2 ความรูข้ องวิทยากร 2.3 การเตรียมตัวของวิทยากร 2.4 ความสามารถในการนาเสนอให้ผฟู้ งั เกิด ความเข้าใจ 2.5 ความสามารถในการตอบข้อซักถาม 2.6 เวลาทีใ่ ช้มคี วามเหมาะสม 3.อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการสัมมนา

ดีมาก

ดี

ค่อนข้างดี ปานกลาง

ควรปรับปรุง

......... ......... ................ ................ ....................... ......... ......... ......... .........

......... ......... ......... .........

................. ................. ................. .............

................. ................. ................. .............

........................ ........................ ........................ ....................

……. …….

……. …….

………… …………

………… …………

…………..…… ………….

......... ......... ................ ................ .......................

4.ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................


15 2.7 กาหนดการสัมมนา สัมมนาเครือข่ายองค์ความรู้ วันที่ 15 มกราคม 2555 วันที่ 17 มกราคม 2555 วันที่ 18 มกราคม 2555 วันที่ 19 มกราคม 2555 วันที่ 20 มกราคม 2555 วันที่ 21 มกราคม 2555

เรือ่ งการตรวจสอบบัญชี เรือ่ งการบัญชีภาษีอากร เรือ่ งการควบคุมภายใน เรือ่ งมาตรฐานการบัญชี เรือ่ งการบริหารต้นทุน เรือ่ งรายงานทางการเงิน

19.00 น.

เริ่ม ลงทะเบีย นเข้า งานพร้อ มแจกเอกสาร ประกอบการสัมมนา พิธกี รกล่าวเปิดงานและเริม่ การสัมมนา เครือข่ายองค์ความรู้ พัก รับ ประทานอาหารว่ า งและร่ ว มเล่ ม เกม ตอบคาถาม เริม่ การสัมมนาเครือข่ายองค์ความรูต้ ่อ ผูเ้ ข้าร่วมงานและอาจารย์ถามคาถามแก่นิสติ ผูจ้ ดั สัมมนาเครือข่ายองค์ความรู้ พิธกี รกล่าวปิดงานและสรุปองค์ความรู้

19.30 น. 20.45 น. 21.00 น. 22.00 น. 22.30 น.

วันสัมมนาเครือข่ายองค์ความรู้เริม่ ให้นิสติ และบุคคลภายนอกที่สนใจเข้า ร่วมการสัมมนา ลงทะเบียนตัง้ แต่เวลา 19.00 น. เป็ นต้นไปพร้อมกับแจก เอกสารประกอบการฟงั สัมมนาเครือข่ายองค์ความรูน้ ัน้ ๆและของทีร่ ะลึกต่างๆ และเชิญผู้ท่ลี งทะเบียนเรียบร้อ ยแล้วนัง่ ประจาที่เพื่อ เริ่ มการสัมมนาในเวลา 19.30 น. โดยพิธกี รจะเริม่ กล่าวเปิดงานและกล่าวเคารพผูเ้ ข้าร่วมงานทุกท่าน และอาจารย์ท่เี ข้าร่วม ผูจ้ ดั สัมมนาจะเริม่ การสัมมนาจนถึงเวลา 20.45 น. จะ


16 เป็นเวลาพักรับประทานอาหารว่าง โดยทีมงานการผูจ้ ดั สัมมนาจะแจกขนมว่าง พร้อมเครื่องดื่ม แก่ผู้เข้าร่วมงานทุกท่าน พร้อมทัง้ จะมีเกมหรือสันทนาการบน เวที เพื่อให้ผู้เ ข้าร่ว มได้รบั ความบันเทิงไปด้วย หลังจากจบช่ว งรับประทาน อาหารว่างและการแสดงอื่นๆ จะเริม่ การสัมมนาเครือข่ายองค์ความรูต้ ่อ ตัง้ แต่ 21.00 น จนถึง 22.00 น. จะเป็ นการตอบคาถามทีผ่ เู้ ข้าร่วมงานทุกท่านสงสัย และคาถามทีอ่ าจารย์เสนอขึน้ ประกอบการสัมมนาเครือข่ายองค์ความรูน้ นั ้ โดย คาถามอาจจะเป็นทัง้ คาถามทีเ่ กีย่ วกับองค์ความรูโ้ ดยตรงหรืออาจเป็ นคาถามที่ มีส่วนเกี่ยวข้องกับเครือข่ายองค์ความรูน้ ัน้ ๆ ซึ่งหลังจากช่วงตอบคาถามแล้ว พิธกี รจะกล่าวปิดงานสัมมนาเครือข่ายองค์ความรู้


17 2.8 บรรยากาศการเข้าร่วม (รูป)

ภาพที่ 13 บริเวณโต๊ะลงทะเบียนเข้างาน

ภาพที่ 14 บรรยากาศการเข้ารับฟงั การสัมมนาเครือข่ายองค์ความรู้


18

ภาพที่ 15 บรรยากาศการเข้ารับฟงั การสัมมนาเครือข่ายองค์ความรูท้ างการ บัญชี

ภาพที่ 16 บรรยากาศการเข้ารับฟงั การสัมมนาเครือข่ายองค์ความรูท้ างการ บัญชี


19

ภาพที่ 17 บรรยากาศการเข้ารับฟงั การสัมมนาเครือข่ายองค์ความรูท้ างการ บัญชี

ภาพที่ 18 บรรยากาศช่วงการถามและตอบคาถามหรือข้อสงสัยต่างๆ


20

ภาพที่ 19 บรรยากาศช่วงการถามและตอบคาถามหรือข้อสงสัยต่างๆ

ภาพที่ 20 บรรยากาศช่วงการถามและตอบคาถามหรือข้อสงสัยต่างๆ


21

ภาพที่ 21 บรรยากาศช่วงการถามคาถามจากอาจารย์นิตยา งามแดน

ภาพที่ 22 บรรยากาศช่วงการถามคาถามจากอาจารย์ประไพพิศ สวัสดิ ์รัมย์


22

ภาพที่ 22 บรรยากาศช่วงการถามคาถามจาก ผศ.พัชนิจ เนาวพันธ์

ภาพที่ 23 บรรยากาศช่วงการถามคาถามจาก ผศ.พัชนิจ เนาวพันธ์


23 2.9 สรุปผล การจัดสัมมนาเครือข่ายองค์ความรูน้ ้ี จัดตัง้ โดยมีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อให้ นิสติ ได้รบั ความรูจ้ ากหัวข้อที่ตนเองสนใจทาการศึกษา และองค์ความรูอ้ ่นื ๆ ที่ กลุ่มผู้สมั มนาในเครือข่ายองค์ความรู้ต่างๆ ได้พูดแบ่งปนั ความรูก้ นั แบ่งปนั กรณีศกึ ษาทีพ่ บเจอ แบ่งปนั ปญั หาทีพ่ บในการดาเนินงาน รวมถึงข้อเสนอแนะ ต่างๆ ทีผ่ ่านกระบวนสังเคราะห์ของกลุ่ม มาร่วมสังเคราะห์ดว้ ยกัน และร่วมกัน เสนอความคิดเห็นที่แตกต่างกันหรือข้อสงสัยต่างๆ โดยมีอาจารย์เป็ นผู้คอย เสนอแนะและจุ ด ประเด็ น ที่น่ า สนใจในการคิด วิเ คราะห์ ใ ห้ แ ก่ นิ ส ิต หรือ บุค คลภายนอกได้เ สนอความคิด เห็น แนวทางการปฏิบ ัติ และข้อ สรุป ของ ประเด็นนัน้ ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ 2.10 ค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงาน ค่าไวนิลพืน้ หลังของสาขา ค่าไวนิลหัวเรือ่ งสัมมนา ค่าล่วงเวลาบุคคลากร ค่าอาหารและเครือ่ งดื่ม เอกสารประกอบการสัมมนา ทีร่ ะลึก (ปากกา/ดินสอ) รวม

750 400 400 800 450 300 3,100

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

หมายเหตุ : ค่าใช้จ่ายทีไ่ ด้แสดงไว้เป็ นค่าใช้จ่ายโดยเฉลีย่ ของแต่ละเครือข่าย องค์ความรู้


บทที่ 3 สรุปผลองค์ความรู้เครือข่ายทางการบัญชี 1. ผูแ้ ทนกลุ่มเครือข่ายแสดงแนวคิ ดเพื่อร่วมสรุปองค์ความรู้ เครือข่ายความรู้สอบบัญชี จัด ให้ ม ีก ารถ่ ว งดุ ล อ านาจของรัฐ มนตรีก ระทวงการคลัง เนื่ อ งจากรัฐ มนตรี กระทรวงการคลังขึน้ ตรงกับรัฐบาลทาให้ การบริหารงานต่างๆเกิดความไม่โปร่งใส ซึ่ง สามารถแก้ปญั หาได้โดยการจัดตัง้ ส่วนงานที่มคี วามสามารถในการตรวจสอบอิสระ มี อ านาจทัด เทีย มกับ อ านาจของรัฐ บาลหรือ การปรับ เปลี่ย นการขึ้น ตรงอ านาจของ สานักงานตรวจเงินแผ่นดินให้เป็ นอิสระตามปกติธรรมดาแล้วกระทรวงการคลังจะมีการ จัดสรรงบประมาณแผ่นดินเพื่อใช้ในการบริหารแต่ล ะส่วนงานของประเทศ ส่ วนงาน หนึ่งๆจะใช้เงินงบประมาณที่ได้จนหมด แม้ว่าแท้จริงแล้วสามารถควบคุมการใช้เงินให้ เหลือ ได้ หากแต่ ท าเช่ น นั น้ แล้ว ในปี ง บประมาณหน้ า ส่ ว นงานนัน้ ก็จ ะถู ก ลดทอน งบประมาณคณะของข้าพเจ้ามีความเห็นว่า ควรลบค่านิยมเดิมๆ และสร้างค่านิยมใหม่ โดยจัดสรรงบประมาณตามความเหมาะสมในแต่ละปี ประกอบกับการทาหนังสือเพื่อขอ งบประมาณเพิม่ เฉพาะกรณีแทน ทัง้ นี้การปฏิบตั หิ น้าทีท่ ด่ี นี นั ้ ควรจะเริม่ ปลูกฝงั ตัง้ แต่ ระดับครอบครัว ให้ค นในประเทศประกอบกิจการงานด้ว ยความโปร่งใส มีคุ ณธรรม ประจาใจ ตลอดจนทาให้ทางานด้วยความสุจริต เครือข่ายความรู้บริ หารต้นทุน เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาทีย่ ดึ หลักทางสายกลาง ทีช่ แ้ี นวทางการดารงอยู่ และปฏิบตั ขิ องประชาชนในทุกระดับให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพียง และ มีความพร้อมทีจ่ ะจัดการต่อผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลง ซึง่ จะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง ในการวางแผนและดาเนินการทุกขัน้ ตอน ทัง้ นี้ เศรษฐกิจ พอเพียงเป็ นการดาเนินชีวติ อย่างสมดุลและยังยื ่ น เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ในโลกโลกา ภิวตั น์ ท่มี กี ารแข่งขันสูงเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้ นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้ อย่างยังยื ่ น และใช้จ่ายเงินให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตามกาลังของเงินของ บุคคลนัน้ โดยปราศจากการกู้หนี้ยมื สิน และถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน


25 ช่วยเหลือผู้อ่นื บางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปจั จัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุท่แี นว ทางการดารงชีวติ อย่างพอเพียง ได้ถูกกล่ าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพ การดารงชีวติ ของสังคมทุนนิยมในปจั จุบนั ได้ถูกปลูกฝงั สร้าง หรือกระตุ้น ให้เกิดการใช้ จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกินกว่าปจั จัยในการดารงชีวติ เช่น การ บริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตาม แฟชัน่ การพนันหรือเสี่ยงโชค เป็ นต้น จนทาให้ไม่มเี งินเพียงพอเพื่อตอบสนองความ ต้องการเหล่านัน้ ส่งผลให้เกิดการกู้หนี้ยมื สิน เกิดเป็ นวัฏ จักรที่บุคคลหนึ่งไม่สามารถ หลุดออกมาได้ ถ้าไม่เปลีย่ นแนวทางในการดารงชีวติ เครือข่ายความรู้การบัญชีภาษี อากร ส่งเสริมและสนับสนุ นภาคการเกษตรและผลผลิตภายในประเทศเพื่อการส่งออก โดยลดภาษีการจัดเก็บสินค้าส่งออกทีเ่ ป็ นสินค้าสาคัญของประเทศ รวมถึงส่งเสริมการ ใช้สนิ ค้าภายในประเทศให้มากขึน้ โดยอาจลดภาษีในสินค้าทีผ่ ลิตและใช้ในประเทศ และ เพื่อความสุขที่ยงยื ั ่ นของประชาชนในประเทศ มุ่ งเน้ นให้ประชาชนยึดหลักเศรษฐกิจ พอเพียง ในด้านของการตรวจสอบบัญชีให้ผสู้ อบบัญชีทส่ี อบบัญชีของแต่ละบริษทั ห้าม สอบเกิน 3 ปี ในบริษัทเดิม โดยต้องเปลี่ยนบริษัท เพื่อป้องกันการทุจริตจากการที่ คุ้นเคยกับบริษทั เป็ นเวลานานๆ รวมถึงให้องค์กรภาคเอกชนหรือหน่ วยงานภายนอก เข้ามาช่ว ยตรวจสอบบัญชีขององค์กรภาครัฐซึ่ง สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน ที่เ ป็ นผู้ ตรวจสอบองค์กรภาครัฐมีบุคลากรไม่เพียงพอ กับองค์กรภาครัฐทีม่ จี านวนมาก ทาให้ ตรวจสอบช้าไม่ทนั เวลา หรือตรวจสอบได้ไม่ทวถึ ั ่ ง รวมถึงทาให้เกิดการทุจริต คอลัปชัน่ กันได้งา่ ยและเป็นจานวนมาก ซึง่ เป็ นผลเสียต่อภาพลัก เครือข่ายความรู้กลุ่มการควบคุมภายใน จัดให้มรี ะเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการควบคุมภายในอย่างเคร่งครัด เพื่อความมี ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิงาน กาหนดอานาจเพื่อลงลายมือ ชื่อ ในการอนุ มตั ิว งเงิน ส่งเสริมและปลูกฝงั ถึงความมีศลี ธรรม จริยธรรม จัดตัง้ หน่ วยงานอิสระจากอาชีพต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการควบคุมภายในเพื่อให้การควบคุมภายในเป็ นกลางมากทีส่ ุด จัดการ ถ่วงดุลอานาจการบริหารจัดการองค์กรภาครัฐ เพื่อป้องกันการทุจริตจากการใช้อานาจ ในทางทีผ่ ดิ มีการควบคุมของเสียจากการดาเนินงานทางธุรกิจให้มากยิง่ ขึน้ เพื่อแสดง ถึงการให้ความสาคัญแก่สงั คม


26 เครือข่ายความรู้รายงานทางการเงิ น ให้มกี ารอบรมลูก ฝ งั เรื่อ งศีล ธรรมคุ ณ ธรรมแก่ ประชาชนในประเทศอย่างจริง จัง รวมถึงมีก ฎหมายลงโทษการกระท าผิด ที่รุน แรงมากยิ่งขึ้น จัด ตัง้ กลุ่ มอิส ระมาค้า น อานาจขององค์กรภาครัฐหากเห็นว่ามีการใช้อานาจไปในทางทีผ่ ดิ หรือทุจริตต่างๆ ตัง้ กฎหมายให้ประชาชนมีส ิทธิใ นการตรวจสอบ และให้รฐั เปิ ด เผยข้อ มูล รายงานทาง การเงินอย่างจริงจัง ส่งเสริมให้ธุรกิจในประเทศเน้นการดาเนินงานด้วยความยังยื ่ นและ เป็นสากลเพื่อรองรับการค้าเสรีทจ่ี ะเปิดขึน้ ในอนาคต เครือข่ายความรู้มาตรฐานการบัญชี ให้มกี ารบังคับใช้มาตรฐานการบัญชีอย่างเคร่งครัด และเป็ นปจั จุบนั มากทีส่ ุด เพื่อ ความเป็ นสากลของธุรกิจไทยและความน่ าเชื่อถือของธุรกิจเอง และจัดให้มกี ารส่งเสริม ธุรกิจทัง้ ภาครัฐและเอกชนมากยิง่ ขึน้ เพื่อความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ปลูกผังคุณธรรมและศีลธรรมที่ดใี ห้แก่ประชาชน รวมทัง้ ยังส่งเสริมบุคคลที่ประพฤติ ตามหลักศีลธรรมและลงโทษผู้กระทาผิดอย่างจริงจัง ให้ธุรกิจให้ความสาคัญแก่สงั คม มากยิง่ ขึน้ 2. การพัฒนาอย่างยังยื ่ น (Sustainable Development)


27 ความยังยื ่ น (Sustainability) เป็ นแนวคิดสาคัญในการทาธุรกิจในปจั จุบนั และอนาคต เนื่องจากในโลกของธุรกิจที่ไม่หยุดนิ่ง การพัฒนาที่ก้าวหน้ าและการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี เท่านัน้ ทีเ่ ป็ นทีต่ อ้ งการของผูป้ ระกอบการทางธุรกิจ ในขณะทีป่ จั จุบนั การพัฒนาดังกล่าวจะต้อง ไม่ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม การพัฒนาอย่างยังยื ่ น (Sustainable Development) จึงเป็ นแนวคิดทีร่ เิ ริม่ ของการทาธุรกิจในปจั จุบนั การพัฒนาอย่างยังยื ่ นในทีน่ ้ี หมายถึง "การพัฒนาทีส่ ามารถตอบสนองความต้องการใน ปจั จุบนั และไม่ทาให้ความสามารถในการสนองตอบความต้องการของคนรุ่นหลังต้องเสียไป" (quoted from World Commission on Environment and Development (1987), p 43) s การพัฒนาอย่างยังยื ่ นจะประกอบไปด้วยแนวคิดสาคัญ 2 ประการ คือ (1) แนวคิดเรื่อง "ความต้องการ" หรือ Needs โดยเฉพาะความต้องการพื้นฐานที่ จาเป็ นส าหรับประเทศในโลกที่ส าม หรือประเทศที่ประชาชนส่ว นใหญ่เ ป็ นคน ยากจน ซึง่ เป็นความต้องการทีค่ วรจะได้รบั ความสาคัญ (2) แนวคิดเรือ่ ง "ข้อจากัดด้านเทคโนโลยีและโครงสร้างทางสังคมของสภาพแวดล้อม ในการทีจ่ ะตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในปจั จุบนั และอนาคต" ดัง นั ้น เป้ าหมายในการพัฒ นาเศรษฐกิ จ และสัง คมของประเทศ จึง ควรที่จ ะให้ ความสาคัญด้านการพัฒนาอย่างยังยื ่ น (Sustainable Development) ไม่ว่าจะเป็ นในประเทศที่ กาลังพัฒนา หรือในประเทศที่พฒ ั นาแล้ว หรือไม่ว่าจะเป็ นการพัฒนาที่มาจากความต้องการ ทางด้านการตลาด หรือเป็ นความต้องการทีเ่ กิดจากการวางแผนหรือพยากรณ์ การพัฒนาอย่าง ยังยื ่ นมีความสาคัญเป็ นอย่างยิง่ เนื่องจากเป็ นวิธกี ารเดียวที่ทาให้เกิดการพัฒนาโดยที่ไม่ทาให้ เกิดผลกระทบหรือเกิดต้นทุนทางสังคม สิง่ แวดล้อม และระบบเศรษฐกิจในภาพรวม นอกจากนี้ ความยังยื ่ นสามารถเป็ นเสมือนทรัพยากรชนิดใหม่ ซึ่งอาจรวมถึงเทคโนโลยี หรือการพัฒนา ระบบการบริห ารจัดการแบบใหม่ รวมไปถึงการจัดการที่เน้ นแผนหรือ กลยุทธ์ในการพัฒนา ชนบท ซึง่ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาอารยธรรมของมนุษย์ขน้ึ การพัฒนาอย่างยังยื ่ นจะช่วยบรรเทา ั หาสิ่ง แวดล้อ มที่เ กิด ขึ้น ในป จั จุ บ ัน ทัง้ ทางตรงและทางอ้ อ ม เช่ น ป ญ ั หาที่เ กิด จากการ ปญ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ การทาลายแหล่งที่อ ยู่อ าศัย การสูญพันธ์ของสิง่ มีชีวติ ความ สู ญ เ สี ย ค ว าม ห ล าก ห ล าย ท าง ชี ว ภา พ แล ะ ก าร ท า ล า ย ชั ้น บ ร รย า ก าศ เ ป็ น ต้ น (อ้างใน Sustainability Assessment and Reporting for the University of Michigan's Ann Arbor Campus, Sandra I. Rodriguez, 2002, page 4) องค์กรธุรกิจที่ต้องการสร้างความยังยื ่ นจะต้องพิจารณาองค์ประกอบต่างๆ ของความ ยังยื ่ น ซึ่งประกอบไปด้วยมิตทิ ่สี าคัญ 3 ประการคือ สิง่ แวดล้อม(Environmental) เศรษฐกิจ (Economic) และสังคม (Social) อย่างไรก็ดี การทีอ่ งค์กรธุรกิจจะสร้างความยังยื ่ นให้เกิดขึน้ ใน องค์กร หรือในสังคมทีอ่ าศัยอยูไ่ ม่ใช่เรือ่ งง่าย เนื่องจากการสร้างความยังยื ่ นให้เกิดขึน้ ต้องอาศัย


28 องค์ความรู้ของสหวิทยาการต่างๆ และความร่วมมือระหว่างองค์กรภาคเอกชน ภาครัฐ และ ภาคประชาชน หลักสูตรธุรกิจสีเขียว (Green business) เป็ นหลักสูตรหนึ่งทีส่ ามารถช่วยหา ค าตอบให้ก ับองค์ก รภาคธุ รกิจ ในการที่จะขับ เคลื่อ นองค์กรของตนให้ส ามารถ สร้างความ ได้ เ ปรีย บทางธุ ร กิจ ในระยะยาว และด าเนิ น ธุ ร กิจ ภายใต้ ค วามรับ ผิด ชอบต่ อ สัง คมและ สิง่ แวดล้อม 3.แนวทางในการแก้ปัญหาต่ างๆ ภายในประเทศ เป็ นการอธิบายถึงแนวทางในการแก้ปญั หาต่างๆ ภายในประเทศไทยที่ได้ค้นพบจาก การจัดทาการสัมมนาเครือข่ายองค์ความรูท้ างการบัญชีของแต่ละเครือข่าย ซึ่งมีผลกระทบดัง ตารางต่อไปนี้ ตารางที1่ ประเภท 1.ศีลธรรม

ตารางแนวทางในการแก้ปญั หาต่างๆ ภายในประเทศไทย

-

-

-

-

รายละเอียด บริห ารแบบธรรมาภิบ าล (Good governance)ช่ ว ยในการบริห ารกิจ การ บ้านเมืองและสังคมทีด่ ี เป็ นแนวทางสาคัญในการจัดระเบียบให้ทงั ้ สังคมภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาชนมีแนวคิดในการปฏิบตั ติ นให้อยู่บนหลักของ ศีลธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility) คือความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมขององค์การที่แท้จริง ไม่ใช่เพียงการสร้าง ภาพ เช่น ก่ อนการผลิต ต้องมีการวางแผนตัง้ แต่แรกว่าการผลิต นี้จะไม่ส่งผล กระทบต่อสิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นหลักปรัชญาการดาเนินธุรกิจอย่างพอเพียงเป็ นไปในทาง สายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกในยุคโลกาภิวฒ ั น์ ซึง่ จะกล่าวถึงคาว่าพอประมาณ ในการดาเนินธุรกิจ ฟื้นฟูศลี ธรรมอันดีในตัวบุคคล เพื่อเป็นหลักปฏิบตั ใิ ห้อยู่ในกฎเกณฑ์ทป่ี ฏิบตั ติ น ทีด่ งี าน ซึง่ ส่งผลให้ทุกๆ ภาคส่วน ไม่มกี ารเอารัดเอาเปรียบ และการคอรัปชัน่ เกิดขึน้ เป็นต้น


29 ตารางที1่ (ต่อ) ตารางแนวทางในการแก้ปญั หาต่างๆ ภายในประเทศไทย ประเภท 2.ด้านสังคม

-

-

-

-

3.สิง่ แวดล้อม

-

-

-

รายละเอียด การเปิดเผยงบการเงินของภาครัฐ และภาคเอกชนเพื่อให้บุคคลภายนอกหรือผูท้ ่ี สนใจได้รบั ทราบถึง สถานะทางการเงินขององค์ก ารในป จั จุบนั เพื่อ แสดงถึง ภาพลักษณ์ของภาครัฐ และเอกชนถึงคุณภาพการดาเนินงาน การเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชนให้ผทู้ ม่ี สี ่วนเกีย่ วข้องได้รบั รูข้ อ้ มูลในทุกๆ ด้าน ขององค์การ เพื่อเป็นหลักฐานความเชื่อมันของทั ่ ง้ ภาครัฐ และภาคเอกชน การตรวจสอบจากกลุ่มบุคคลภายนอกในสาขาวิชาชีพอิสระต่างๆ เพื่อประเมิน ความถูกต้อง ความเชื่อมัน่ และประสิทธิภาพในการดาเนินงานของทัง้ ภาครัฐ และภาคเอกชน บทลงโทษทีค่ วรมีการเพิม่ บทลงโทษที่รุนแรงต่อผู้ท่กี ระทาผิดต่อกฎหมายเพื่อ เป็ น กฎเกณฑ์ไ ม่ ใ ห้ บุ ค คลหรือ กลุ่ ม บุ ค คลใดกล้ า ฝ่ า ฝื น ทัง้ ของภาครัฐ และ ภาคเอกชน มีการจัดตัง้ องค์การอิสระทีม่ กี ารร่วมมือจากหลายสาขาวิชาชีพเพื่อเข้าตรวจสอบ ภาครัฐ ซึง่ เป็ นการป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตในการดาเนินงานของภาครัฐ การปรับปรุงคุณภาพการศึกษา เพื่อให้ประชาชนมีค วามรู้ค วามเข้าใจในการ ตัดสินใจในเรือ่ งต่างๆ ได้เอง รวมถึงการประเมินภาครัฐ และภาคเอกชน ซึง่ เป็ น การป้องกันการเปา่ หูของกลุ่มบุคคลบางกลุ่ม การเปลีย่ นแปลงกฎหมายสิง่ แวดล้อมให้ครอบคลุมและมีความเคร่งครัดมากขึน้ เพื่อ เป็ น หลัก เกณฑ์ใ นการป้ อ งกัน ไม่ ใ ห้ส ิ่ง แวดล้ อ มโดนท าลาย ซึ่ง เป็ น อีก แนวทางหนึ่งในการช่วยรักษาสิง่ แวดล้อมให้คงอยู่เพียงพอต่อความต้องการของ มนุ ษย์ทม่ี มี ากขึน้ ในปจั จุบนั การให้อานาจแก่กลุ่มประชาชนในพืน้ ที่ ในการตรวจสอบคุณภาพสิง่ แวดล้อมใน พื้น ที่ๆ ของตนเพื่อ ป้ องกัน การรุ ก รานจากพวกลัก ลอบตัด ไม้ หรือ กลุ่ ม ผู้ ม ี อิทธิพลในการเข้ายึดพืน้ ที่ป่าไม้ และนอกจากนี้กลุ่มประชาชนสามารถดึงข้อมูล ทีเ่ กีย่ วข้องได้ ทาให้สามารถทาการตรวจสอบได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ การนาภาษีสงิ่ แวดล้อมเข้ามาช่วยในการลดการปล่อยมลพิษต่างๆ และเพื่อเป็ น การสนับสนุนให้ภาคเอกชนทีป่ ฏิบตั อิ ยู่ทาการพัฒนาต่อไป โดยให้การสนับสนุ น ในการลดภาษีให้การภาคเอกชนนัน้ -


30 ตารางที1่ (ต่อ) ตารางแนวทางในการแก้ปญั หาต่างๆ ภายในประเทศไทย ประเภท 3.สิง่ แวดล้อม

--

-

-

-

-

-

-

-

รายละเอียด การกาหนดขอบเขตในการประกอบอุตสาหกรรมทัวประเทศเพื ่ ่อเป็ นการจากัด พื้น ที่ใ นการเข้า ไปดูแ ลและควบคุ ม การปล่ อ ยมลพิษ ท าให้ส ามารถท าการ ตรวจสอบเป็ นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการป้องกันมลพิษเข้าสู่ชุมชน ขาดการบังคับใช้มาตรฐานการบัญชีสงิ่ แวดล้อม ทาให้ภายในประเทศทัง้ ของ ภาครัฐ และภาคเอกชน ไม่ส ามารถพัฒนาการควบคุ ม และการลดต้นทุนให้ แข่งขันกับต่างประเทศได้ เนื่องจากประเทศอื่นๆ มีการจัดทามาตรฐานการบัญชี สิง่ แวดล้อมกันโดยทัวไป ่ การจัด ท ารายงานผลกระทบต่ อ สิ่ง แวดล้อ มก่ อ น-หลัง ของการจัด ตัง้ สถาน ประกอบการ ซึ่งรายงานฉบับนี้จะแสดงให้ เ ห็นผลได้ผ ลเสียต่ อ องค์การ และ ชุมชนข้างเคียงสถานที่จดั ตัง้ เพื่อ ให้อ งค์การสามารถประเมินผลกระทบโดย ภาพรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ การฝึ กอบรมผูส้ อบบัญชีให้มศี กั ยภาพในการตรวจสอบบัญชีสงิ่ แวดล้อมเพื่อทา ให้องค์การมีความกระตือรือร้นในการจัดทาบัญชีสงิ่ แวดล้อม และการลดต้นทุน ทางด้านสิง่ แวดล้อม ให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของมาตรฐาน ส่งเสริมให้มกี ารนาแนวคิดการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม ให้มกี ารนาไปใช้กนั อย่าง แพร่หลายและมีคุณค่าในการใช้งาน โดยการนาหลักการมาใช้จาแนกต้นทุนทาง สิง่ แวดล้อม และปนั ส่วนต้นทุนทางสิง่ แวดล้อม ทาให้องค์การสามารถบริหาร ต้นทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพและทัดเทียมกับบุคคลอื่นได้ มีการจัดทาบัญชีสงิ่ แวดล้อมระดับชาติ ที่ทาให้ประเทศสามารถเข้าใจถึงสภาพ สิง่ แวดล้อ มภายในประเทศ ว่ามีคุณภาพเป็ นอย่างไร ควรมีการปรับปรุงการ พัฒนาอย่างไรให้เหมาะสม ควรมีผู้ น าอย่ า งชั ด เจนในการผลัก ดัน การพัฒ นาอย่ า งยัง่ ยื น ให้ ป ระสบ ความสาเร็จ ซึ่งผู้นาต้องเป็ นผู้ท่มี อี านาจแม้ว่า ภาครัฐจะมีการเปลี่ยนตาแหน่ ง หน้ าที่อ ย่างไร ผู้นาก็จะสามารถดาเนินการผลักดันการพัฒนาอย่างยังยื ่ นให้ ประสบความสาเร็จ การเปลี่ ย นแปลงของสภาพอากาศที่ ม ี ค วามแปรปรวนมากยิ่ ง ท าให้ สภาพแวดล้อมของโลก เริม่ มีภยั ทางธรรมชาติๆ เกิดเพิม่ มากขึน้ กว่าอดีต ดังนัน้ จากเหตุ ก ารณ์ น้ี ใ นแต่ ล ะประเทศจึง ควรให้ค วามสนใจและเริ่ม หัน มาสนใจ สิง่ แวดล้อมมากขึน้ กว่าแต่ก่อน


31 ตารางที1่ (ต่อ) ตารางแนวทางในการแก้ปญั หาต่างๆ ภายในประเทศไทย ประเภท 4.เศรษฐกิจ

-

-

-

-

-

-

-

รายละเอียด มีก ารส่ ง เสริม ให้ ม ีก ารตรวจสอบจากบุ ค คลภายนอกทัง้ ของภาครัฐ และ ภาคเอกชน โดยการใช้ ผู้ เ ชี่ย วชาญทางด้ า นการบัญ ชีเ พื่อ การป้ องกัน การ คอรัปชันที ่ ่อาจเกิดขึ้นได้เสมอ ซึ่งมีหลักฐานการคอรัปชันของประเทศไทยที ่ ่ม ี อันดับอยู่ 80 ของโลก มีการเปลี่ยนแปลงตัวชี้วดั ที่ใช้ในการประเมินผลการขยายตัวเชิงเศรษฐกิจใน ภาคอุตสาหกรรม โดยเปลี่ยนมามุ่งเน้ นการวัดด้วยดัชนีวดั ความสุขของคนใน ประเทศมากกว่าที่จะเน้ นการเติบโตของภาคอุ ต สาหกรรมที่จะก่ อให้เ กิดการ แข่งขัน และผลกระทบอื่นๆ ทีจ่ ะตามมาอีกมากมาย ไม่มกี ารวางแผนการปลูกยาพาราให้เพียงพอต่อความต้องการ ทาให้มกี ลุ่มคนที่ หวังแต่ ผ ลก าไรเข้ามาทาการเพราะปลูก เพิ่ม มากขึ้นเรื่อ ยๆ โดยไม่ส นใจว่ า หลังจากการปลูกยาพาราไปแล้วจะเกิดผลกระทบใดบางจากการปลูก และพืน้ ที่ โดยรวมของประเทศส่ ว นใหญ่ หมดไปกับการปลูกยาพารา โดยไม่มกี ารปลูก ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรชนิดอื่นๆ อาจทาให้เกิดภาวะขาดตลาดได้ ไม่มกี ารส่งเสริมพลังงานทดแทนอย่างเพียงพอ เช่น พลังงานไฟฟ้าทดแทนใน ชุมชน โดยแผงโซลาเซล แต่กลับมุ่งใช้แต่เพียงน้ ามันที่ต้องนาเข้าเพิม่ มากขึ้น ทุกปีและยังก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมอีกมากมายด้วย มีการรับจ้างทาการผลิตให้กบั ต่างประเทศมากกว่าทีม่ ามุ่งเน้นธุรกิจของประเทศ ตนเองอย่างธุรกิจการเกษตร ทาให้ประเทศได้รบั มลพิษจากการรับจากผลิตให้ ต่างประเทศในปีๆ หนึ่งเป็นจานวนมาก การคมนาคม การขนส่งของภาครัฐ ควรมีประสิทธิภาพเพิม่ มากขึ้น โดยการ จัดทารถไฟฟ้าวิง่ ออกจากกรุงเทพเข้าสู่ภาคตะวันออกเพื่อลดมลพิษ และต้นทุน ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากการคมนาคม นอกจากนี้ยงั เป็ นการส่งเสริมให้ประเทศมีการ พัฒนามากยิง่ ขึน้ ั ญาท้อ งถิ่น หรือ ภูม ิภ าคมาพัฒ นามูล ค่ า เชิง เศรษฐกิจ เช่ น การน าเอาภู ม ิป ญ สมุนไพรไทย การรักษาแบบไทย เป็ นต้น ซึ่งจะทาให้ประเทศลดการนาเข้ายา จากต่างประเทศได้เป็ นจานวน และอาจสร้างรายได้เข้าประเทศจานวนมหาศาล อีกด้วย


32 ตารางที1่ (ต่อ) ตารางแนวทางในการแก้ปญั หาต่างๆ ภายในประเทศไทย ประเภท 4.เศรษฐกิจ

รายละเอียด - การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบ long stay ซึ่งเป็ นการดึงดูดนักท่องเที่ยวจาก ต่างประเทศได้มากขึน้ และยังเป็ นการช่วยให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ รักษาสิง่ แวดล้อม เนื่องจากเป็นสิง่ ทีใ่ ช้ดงึ ดูดนักเทีย่ วได้อย่างมีประสิทธิภาพ - มีการใช้เศรษฐกิจสีเขียวเข้ามาเป็ นแนวทางในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจของ ประเทศเพื่อการมุ่งสู่การพัฒนาอย่างยังยื ่ น ซึ่งระบบเศรษฐกิจสีเขียวจะทาให้ สภาพแวดล้อ มภายในประเทศได้ร บั การฟื้ น ฟู แ ละมีก ารรัก ษาเอาไว้อ ย่า งมี ประสิทธิภาพ - การน าปรัช ญาเศรษฐกิจ พอเพีย งมาใช้กับ องค์ก ารธุ ร กิจ ของทัง้ ภาครัฐ และ ภาคเอกชน โดยการดาเนินธุรกิจให้อยู่ในหลักของความพอเพียงไม่มุ่งเน้นแต่ท่ี จะทากาไรแข่งขันกัน จนทาให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิน้ เปลืองโดย ใช้เหตุ ทีม่ า: จากการรวบรวมเครือข่ายองค์ความรูข้ องกลุ่มบริหารต้นทุน 4. จากแนวคิ ดนี้ สาขาการบัญชีบริ หารมีแนวคิ ดเพิ่ มเติ ม 4.1 ด้านศีลธรรม โดยจัดให้มกี ารส่งเสริมการปลูกฝงั ศีลธรรม วัฒนธรรมและประเพณีอนั ดีงามแก่เด็ก และเยาวชนรวมถึงประชาชนผูอ้ ่นื โดยให้คนได้รบั การพัฒนาจิตใจอย่างครบถ้วน ซึง่ ใน การพัฒ นาจิต ใจนั น้ จ าเป็ น ต้ อ งใช้ห ลัก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนาเข้า มาปลู ก ฝ งั ให้ ประชาชน โดยเริม่ จากวัยเด็กมีคุณธรรมและจริยธรรมอย่างแท้จริง และสอดคล้องกับ แนวทางนโบยายพืน้ ฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ทีก่ าหนดให้จดั การศึ ก ษาอบรมให้ เ กิ ด ความรู้ คู่ คุ ณ ธรรมและแนวทางปฏิ รู ป การศึ ก ษาตาม พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ในหลักการทีว่ ่า การจัดการศึกษาต้อง เป็ นไปเพื่อพัฒนาคนให้เป็ นมนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์ทงั ้ ร่างกาย จิตใจ สติปญั ญา ความรูค้ วบคู่ กับมีคุณธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ่นื ได้อย่าง มีความสุขรวมถึงไม่ก่อปญั หาแก่สงั คมหรือคนรอบข้าง ไม่นาความรูท้ ่มี ไี ปใช้ในทางที่ ผิด โดยนาไปถือปฏิบตั อิ ย่างจริงจัง เพื่อลดปญั หาการคอรัปชันที ่ เ่ ป็ นปญั หาใหญ่ปญั หา


33 หนึ่งของประเทศและเป็ นต้นเหตุของการทุจริตอื่นๆและทาให้ประเทศไม่พฒ ั นาไปใน ทิศทางทีค่ วรจะเป็น 4.2 ด้านเศรษฐกิ จ เศรษฐกิ จพอเพียง (Sufficiency Economy) เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวติ รากฐานความมันคงของแผ่ ่ นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นัน่ เอง สิง่ ก่อสร้างจะ มันคงได้ ่ กอ็ ยูท่ เ่ี สาเข็มแต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้า ไป” (พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั จากวารสารชัยพัฒนา “เศรษฐกิจพอเพียงแปลว่า Sufficiency Economy คาว่า Sufficiency Economy นี้ ไ ม่ ม ีใ นต าราเศรษฐกิจ จะมีไ ด้อ ย่ า งไร เพราะว่ า เป็ น ทฤษฎีใ หม่ Sufficiency Economy นัน้ ไม่มใี นตาราเพราะหมายความว่าเรามีความคิดใหม่ …และโดยทีท่ ่าน ผูเ้ ชีย่ วชาญสนใจ ก็หมายความว่า เราก็สามารถทีจ่ ะไปปรับปรุง หรือไปใช้หลักการ เพื่อที่จะให้เศรษฐกิจของประเทศและของโลกพัฒนาดีขน้ึ ” (พระราชดารัสเนื่องใน โอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒) เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) เป็ นปรัชญาทีพ่ ระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หวั ทรงมีพระราชดารัสชีแ้ นะแนวทางการดาเนินชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมา โดยตลอดรวมถึงการพัฒนาและบริหารประเทศ ที่ตงั ้ อยู่บนพื้นฐานของ ทางสาย กลาง ค านึงถึง ความพอประมาณ ความมีเ หตุ ผ ล การสร้า งภูม ิคุ้มกันที่ดีใ นตัว ตลอดจนใช้ค วามรู้ ความรอบคอบ และคุ ณ ธรรม ประกอบการวางแผน การ ตัดสินใจ และการกระทา อย่างไรก็ตาม ประชาชนส่วนใหญ่ยงั มีความเข้าใจที่หลากหลายและไม่ชดั เจน ถึงความหมายและหลักแนวคิดทีแ่ ท้จริงของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทีม่ ุ่งเน้น ความมันคงและความยั ่ งยื ่ นของการพัฒนา อันมีคุณลักษณะ ทีส่ าคัญ คือ สามารถ ประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ คานิยามของความพอเพียงคือความพอประมาณ ความมี เหตุ ม ีผ ล มีภูม ิคุ้ม กัน ที่ดีใ นตัว ภายใต้เ งื่อ นไขของการตัดสินใจและการด าเนิ น กิจกรรมทีต่ อ้ งอาศัยเงือ่ นไขความรูแ้ ละเงือ่ นไขคุณธรรม


34 เศรษฐศาสตร์แห่งความสุข (Economics of Happiness)

ในโลกเศรษฐกิจยุคขับเคลื่อนด้วย GDP ทาให้คนวิง่ ไล่ตามกระแสวัตถุนิยมก็ กลายเป็นสิง่ วัดค่าของ "ความสุข" มุมมองของ ดร.เฮเลนา นอร์เบอร์ก-ฮอดจ์จงึ เชื่อ ว่าเศรษฐศาสตร์แห่งความสุข(Economics of Happiness) หรือ การกลับมาสู่ "รากเหง้า"เดิม เป็นคาตอบของความสุข ดร. เฮเลนา นอร์เบอร์ก-ฮอดจ์ เป็ นนักคิด เชิงปรัชญาชาวสวีเดน ผูก้ ่อตัง้ และพัฒนาชุมชนระหว่างประเทศเพื่อนิเวศวิทยาและ วัฒนธรรม (ไอเส็ค) และเป็ นเจ้าของรางวัลสัมมาอาชีวะ ปี ค.ศ. 1986 ซึง่ ได้รบั การ ขนานนามว่าเป็ นรางวัลโนเบลทางเลือก จากการสนับสนุ นคนในท้องถิน่ ให้จดั ตัง้ โครงการพัฒนาทางนิเวศวิทยาของลาดัก (Ladakh Ecological Development Project) ขึน้ แนวความคิดของ เฮเลนา แตกต่างสิ้นเชิงกับโลกของ "ทุนนิยม" ที่ ขับเคลื่อนด้วยการเพิม่ ผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) การต่อต้านกระแสโลกสมัยใหม่ (Modernization) และโลกาภิวตั น์ (Globalization) แต่มคี วามเชื่อเปี่ ยมล้นในเรื่อง เศรษฐศาสตร์แห่งความสุข (Economics of Happiness)เฮเลนา เดินทางไปรอบ โลกเพื่อขายความคิดนี้ ซึง่ ล่าสุด มูลนิธสิ มั มาชีพ ได้เชิญเธอมาเพื่อเปิดมุมมองใหม่ เธอยืนยันแนวความคิดว่า ระบบทุนนิยมกัดกร่อนสิง่ ที่ดงี ามในสังคมเล็กๆ ทาให้ คุณค่าแห่งความเป็นคน และคุณภาพชีวติ ของคนลดทอนลง กลายเป็ นสังคมทีม่ แี ต่ ความเร่งรีบ การแก่งแย่งแข่งขัน และท้ายทีส่ ุด ลัทธิทุนนิยมก็กลายเป็ นตัวทีท่ าลาย ระบบเศรษฐกิจ จนนามาสู่ว ิกฤติเ ศรษฐกิจครัง้ นี้ใ นโลกทุน นิยม ประเทศต่ างๆ


35 เรียกร้องให้เปิดโลกการค้าเสรี เพื่อความคล่องตัวทางการค้า และมองว่า นี่คอื การ ใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่าง "คุ้มค่า" แต่ในสายตาของนักกิจกรรมคนนี้เห็นต่างว่า ระบบการค้า และธุ รกิจที่ใ หญ่ เ ป็ นปญั หา เป็ นการครอบง าโลก"โครงสร้างธุรกิจ ขนาดใหญ่ ใหญ่จนทาให้คนแขนยาวจนยืดไปอีกซีกโลกได้โดยไม่เห็นมือตัวเอง ไม่ ว่าจะเป็ นคนผลิต คนขาย หรือ แม้แต่ ค นบริโภค แต่ ค วามใหญ่ ได้ทาลายชุมชน ความเป็ นตัวของตัวเอง และสิง่ แวดล้อม"แท้จริงแล้ว "ต้นตอ" ของปญั หาเกิดจาก การปฏิวตั อิ ุตสาหกรรมในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ที่ทาให้โครงสร้างธุรกิจมีความ มหึมาจนกาหนดเทรนด์โลกความใหญ่โต และกรอบความคิดทีม่ ุ่ง "กอบ และโกย" ทาให้ค วามสมดุล ขาดหายไป โดยเฉพาะกิจกรรมการผลิต การทาธุ ร กิจ ที่เ น้ น กิจกรรม "เชิงเดีย่ ว" เพื่อตอบโจทย์ธุรกิจด้านความ "คุม้ ค่า" (Economy of scale) ในเชิงเศรษฐศาสตร์ Economy of scale ทฤษฎีท่สี งสอนกั ั่ นมา เพื่อให้สนิ ค้ามี มาตรฐานเดียวกัน ด้วยต้นทุนทีต่ ่ากว่า ขายได้มาก และได้กาไรทีม่ ากขึน้ แต่สาหรับ เฮเลนา ทฤษฎีน้ีเป็ นสิง่ ทีน่ าความหายนะมาสู่สงั คม ลามไปถึงปญั หาการว่างงาน" เป็ นเวลากว่า 100 ปี มาแล้ว ทีร่ ฐั บาลต่างๆ ผลักดันให้ประชาชนปลูกพืชเชิงเดีย่ ว เพื่อสร้างผลผลิตให้มมี าตรฐานเดียวกัน ทาให้ความหลากหลายของโครงสร้างถูก ทาลาย แต่ แท้จริงแล้ว การปลูกพืชหลากหลายให้ผ ลผลิตที่มากกว่าการปลูกพืช เชิง เดี่ย ว"เฮเลนา บอกว่ า นั ก เศรษฐศาสตร์ท่ี ถู ก ฝึ ก มาในกระแสหลัก ไม่ อ าจ แยกแยะคุณค่าของการผลิต "อาวุธ" กับ "ข้าว" หรือผลผลิตต่างๆ ได้ เพราะพวก เขามีเพียงเป้าหมายแค่ "กาไร" "เพราะหากเราต้องการผลิตลูกบอล หรืออะไรก็ แล้ ว แต่ ท่ีใ ห้ ม ีข นาดเดีย วกัน การผลิต แบบโครงสร้ า งขนาดใหญ่ จ ะท าให้ ม ี ประสิทธิภาพมากกว่า"แต่ หลงลืมไปว่า ประสิทธิภาพที่มาจากเครื่อ งจักรได้ไ ป เบียดเบียนแรงงานคน กลายเป็ นปญั หาคนว่างงาน"ในสภาวะทีโ่ ลกเรามีประชากร มากถึง 6 พันล้านคน เราต้องเลิกการผลิตเชิงเดีย่ ว และการใช้เครื่องจักร เพราะทา ให้คนตกลงมากขึน้ สิง่ แวดล้อมถูกทาลาย" เธอเรียกร้องชุมชนท้องถิน่ ลุกขึน้ สู้เพื่อ เรียกคุณ ค่ าแห่งสังคมกลับมา เรียกร้อ งให้รฐั บาลหันมามองความผิดพลาดของ ระบบโครงสร้างที่ผดิ ปกติเหล่านี้ การตระเวนไปทัวโลก ่ ทาให้เห็นชัดว่า คนส่วน ใหญ่โน้ มเอียงไปทาง "ศิวไิ ลซ์" ต้องการเปลี่ยนแปลงตัวเองตามแบบอารยธรรม ตะวันตกทีถ่ ูกยกย่องว่าเป็น "ผูน้ า" กลายเป็ นการปฏิเสธตัวเอง เฮเลนา บอกว่า ถึง


36 เวลาที่เราจะเปลีย่ นกระบวนทัศน์ใหม่ดว้ ยการกลับไปสู่ "รากเหง้าเดิม"เธอ เชื่อว่า ในหลายสังคม ชุมชน เริม่ กลับมาให้ความสาคัญกับเศรษฐกิจท้องถิน่ และเริม่ สร้าง ความเข้มแข็งให้ชุมชนทีเ่ ป็ นอยู่ กลับมาสู่เศรษฐกิจทีม่ ขี นาดเหมาะสมกับชุ มชนแค่ นัน้ คงไม่พ อตราบใดที่รฐั บาลยังคงให้การสนับสนุ นการค้าเสรี ให้เ งินสนับสนุ น กิจการขนาดใหญ่ แต่ควบคุมและรีดภาษีกบั ธุรกิจขนาดเล็ก เธอ บอกว่า ขบวนการ รากแก้วของประเทศจะต้องร้องเสียงดังๆ ให้เกิดการผลักดันเศรษฐกิจท้องถิน่ "เชิง นโยบาย" เพื่อให้ชุมชนเล็กๆ มีความเข้มแข็งและเลีย้ งตัวเองได้ และพร้อมเป็ นทีพ่ ง่ึ แก่กนั เธอยอมรับว่า เป็นเรือ่ งยากทีจ่ ะให้รฐั บาลขานรับแนวคิดทีอ่ ยู่คนละขัว้ กับทุน นิยม เพราะตราบใดทีค่ วามสุขมวลรวมของประชาชนไม่สามารถขับเคลื่อนให้จดี พี ี ประเทศเติบโตขึน้ ไปแข่งขันในเวทีโลกได้ ก็เมินซะเถอะ"การทีช่ ุมชนเดือนร้อนแล้ว พีช่ ่วยน้องไม่ทาให้จดี พี เี พิม่ ขึน้ แต่กจิ การค้าขายต่างหากที่ทาให้จดี พี เี พิม่ หรือถ้า พวกเราเป็ นมะเร็ง มีการฉายแสดง ผ่ าตัด ยิง่ มากก็ยงิ่ ทาให้จดี ีพีโต แต่ การทา เกษตรอินทรีย์ แบ่งกันกิน แบ่งกันใช้ ไม่ได้ทาให้จดี พี ีโตหรอกนะ"วาทะเปรียบ เปรยทาให้เห็นภาพชัดเจนในความเห็นของเฮเลนา การสร้างเศรษฐศาสตร์แห่ง ความสุ ขได้ คนในชุมชนต้อ งเป็ นหลัก และมีจุดยืนที่เ ด็ดเดี่ยว ต้อ งทาให้สงั คม ชุมชนพึง่ ตนเองให้ได้ ภายใต้ทรัพยากร สิง่ แวดล้อมทีม่ ี หรือการกลับสู่ "รากเหง้า" เดิม แต่แค่นนั ้ ไม่พอคนในสังคมต้องเรียนรูเ้ ท่าทันระบบโครงสร้างเศรษฐกิจในองค์ รวม เพื่อ "เอาชนะ" ให้ได้แม้จะเป็ นเรื่องยากก็เถอะเธอเชื่อว่า เศรษฐกิจแนวทาง โลกยุคปจั จุบนั ทาให้โลกไปไม่รอด ไม่มใี ครอยากอยู่ การปฏิวตั เิ ศรษฐกิจเพื่อไปสู่ เศรษฐกิจแห่งความสุขต่างหากคือสิง่ ทีค่ นทัง้ โลกกาลังไขว่คว้า งบการเงิ นระดับชาติ ตรวจสอบให้มกี ารเปิดเผยงบการเงินไว้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน เพื่อแสดงถึงความสุจริต และประโยชน์ แก่นักลงทุนที่มคี วามมันใจใน ่ การลงทุนในกิจการที่มรี ายงานทางการเงินที่ถูกต้อง และจัดให้มกี ารควบคุม การ ปฏิบตั ใิ ช้อย่างจริงจังของทุกหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน ตัง้ องค์กรตรวจสอบภาครัฐ เนื่องจากปกติ สานักงานตรวจเงินแผ่นดินเป็ นผู้ตรวจสอบองค์กรของภาครัฐ ซึ่ง จ านวนขององค์ก รภาครัฐ ต่ อ บุ ค คลากรหรือ การด าเนิ น งานของส านั ก งาน


37 ตรวจสอบเงินแผ่นดิน ไม่มสี อดคล้องกัน ทาให้เกิดความล่าช้า ไม่ทนั เวลา ไม่ทงั ้ ถึง และก่อให้เกิดการทุจริตขึน้ ได้ ความมีนโยบายและบังคับใช้อย่างจริงจัง โดยจัดให้ม ี องค์กรภาคเอกชนเป็ นผู้ตรวจสอบองค์กรภาครัฐด้วย เพื่อลดปญั หาทีเ่ กิดขึน้ และ แสดงถึงความเทีย่ งธรรม เป็นกลางในการตรวจสอบ โดยไม่ขน้ึ ตรงกับหน่ วยงานใด หน่วยงานหนึ่ง ส่งเสริ มวิ ชาชีพบัญชีและตรวจสอบบัญชี เนื่องจากเป็นวิชาชีพทีเ่ กีย่ วข้องต่อการรายงานทางการเงินโดยตรง ซึง่ เป็ นสิง่ ที่ บุคคลภายนอกจะได้รบั ทราบหรือธุรกิจนัน้ ๆแสดงถึงความเป็ นจริงของธุรกิจ จึงถือ เป็ นวิชาชีพทีส่ าคัญสาหรับภาคธุรกิจวิชาชีพหนึ่ง และควรมีการปลูกฝงั ศีลธรรมทีด่ ี เพื่อป้องกันไม่ให้เ กิดการทุจริต เพราะวิชาชีพบัญ ชีหรือ ตรวจสอบบัญ ชีนัน้ เป็ น วิชาชีพทีท่ ุจริตได้งา่ ย หรือเรียกได้ว่าเป็นวิชาชีพทีข่ น้ึ อยูก่ บั ดุลพินิจของแต่ละคนว่า จะปฏิบตั ไิ ปในทางทีถ่ ูกทีค่ วรหรือไม่ เพราะอาจมีผลประโยชน์มาเกี่ยวห้องได้ง่าย ในการตกแต่งบัญชี เพื่อ แสดงยอดหรือแสดงความเห็นที่ดตี ่อรายงานทางการเงิน ของธุรกิจนัน้ ๆ จะช่วยดึงดูดนักลงทุนให้มาลงทุนในธุรกิจเป็นจานวนมาก ลดปัญหาคอลัปชัน่ จัดให้มกี ารตรวจสอบหน่ วยงานอย่างเคร่งครัดและมีบทลงโทษทีร่ ุนแรงสาหรับ การประทาคอลัปชัน่ อย่างจริงจัง เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงความสาคัญของการ คอลัปชันที ่ ม่ ผี ลเสียต่อภาพลักษณ์ และหน่ วยธุรกิจอื่นๆ ทัวทั ่ ง้ ประเทศ รวมถึงเป็ น ั หาอื่ น ๆ ที่ต ามมาได้ จึง ควรให้ ค วามส าคัญ กับ การลดป ญ ั หา ต้ น เหตุ ข องป ญ คอลัปชันนี ่ ้อย่างจริงจัง เพื่อประเทศจะได้พฒ ั นาไปในทิศทางที่ควรจะเป็ น รวมถึง เพื่อความสุขของประชาชนภายในประเทศทุกคน 3.3 ด้านสังคม ภาษี สิ่งแวดล้อม ปจั จุบนั ประเทศไทยยังไม่มนี โยบายและการจัดเก็บภาษีสงิ่ แวดล้อมเลย ซึง่ เป็ น ผลให้ไม่มกี ารควบคุม หรือตระหนักถึงผลเสียต่อสังคมของหน่ วยธุรกิจต่างๆ อย่าง จริงจัง ซึง่ ทาให้ปญั หาสิง่ แวดล้อมในประเทศเป็ นปญั หาทีร่ ุนแรงมาก รวมถึงทาให้ ประชาชนผู้อยู่อาศัยได้รบั มลภาวะที่ไม่ด ี เจ็บป่วย อยู่บ่อยๆ รวมถึงสิ่งมีชวี ติ ใน


38 บริเ วณใกล้เ คีย งลดจานวนลงอย่า งมาก และการใช้ว ิธ ีการปฏิบตั ิงานที่ผ ิดหลัก คานึงถึงต้นทุนของหน่วยธุรกิจต้นเองแต่ไม่คานึงถึงผลเสียต่อสังคมทีม่ มี ากกว่า ใช้วิธีการเฉลี่ย EMA (Exponential moving average) นัน้ เป็ นอีกรูปแบบหนึ่งของการหาค่าเฉลีย่ ถ่วงน้ าหนัก โดยการให้ความสาคัญ กับค่าตัวหนึ่งที่มผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงของราคา และถ่วงน้ าหนักให้ค่าสุดท้ายมี ความสาคัญเพิม่ ขึน้ ซึ่งวิธนี ้ีเป็ นถ่วงน้ าหนักโดยให้ความสาคัญกับวันสุดท้ายมาก ทีส่ ุด และจะเอาค่าทุก ๆ ค่ามาหาค่าเฉลีย่ โดยจะไม่ทง้ิ ข้อมูลเก่าทีผ่ ่านมา ซึง่ จะทา ให้ค่าทุกค่าสะท้อนให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของราคา สรุปคือให้ความสาคัญต่อ มูลค่าในปจั จุบนั มากกว่ามูลค่าในอดีตทีผ่ ่านมาเป็ นเวลานาน ความรับผิดชอบต่อสังคม Corporate Social Responsibility (CSR) ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมขององค์กรธุรกิจ ซึ่งคือการดาเนิน ธุรกิจภายใต้หลักจริยธรรมและการจัดการที่ดีโดยรับผิดชอบสังคมและสิง่ แวดล้อม อันนาไปสู่การพัฒนาทีย่ งยื ั ่ น หรือกล่าวได้ว่าต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมายเป็ นพืน้ ฐาน และผลกาไรทีไ่ ด้นนั ้ ต้องไม่เบียดเบียนต่อสังคม ใส่ใจต่อสภาพแวดล้อมรอบข้าง ไม่ ก่อปญั หาหรือทาให้ผู้อ่ นื เดือดร้อน และในข้อสุดท้ายเป็ นการปฏิบตั ทิ ่ดี ที ่สี ุดโดยมี ความสมัครใจในการมุง่ ประโยชน์ของสังคมเป็นส่วนสาคัญมากกว่าหน่วยธุรกิจเอง ต้นทุนและการจัดเก็บภาษี น้ามัน ควรใช้ร าคาต้น ทุ น จริง ในการด าเนิ น งาน มิใ ช่ ก ารอิง ต้น ทุ น ในตลาดน ามัน เพราะจะให้น้ า มัน มีร าคาสูง กว่ า เมื่อ เทีย บกับ การใช้ร าคาต้ น ทุ น จริง ส่ ง ผลให้ ประชาชนในประเทศเดือดร้อน รวมถึงภาคธุรกิจในประเทศและหน่ วยงานอื่นๆอีก เป็ นจานวนมาก และในกรณีท่ขี ายสินค้าที่ดๆี ให้แก่ต่างประเทศและนาเข้าสินค้าที่ คุณภาพต่ ากว่าเข้าประเทศเพื่อขายให้แก่คนในประเทศ นัน้ ถือเป็ นการปฏิบตั ทิ ถ่ี ูก ทีค่ วรแล้วหรือไม่ ควรมีการตรวจสอบและหาแนวทางในการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็ นกลาง ต่อสังคมในประเทศให้มากขึน้ การเปิ ดเผยงบการเงิ นของหน่ วยงานภาครัฐ ควรให้หน่ วยงานเอกชนเป็ นผู้ตรวจสอบด้วยอีกแรงหนึ่งเนื่องจาก สานักงาน ตรวจสอบเงิน แผ่ น ดิน มีจานวนบุ ค คลากรไม่เ พีย งพอต่ อ ความต้อ งการในการ ตรวจสอบของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อความรวดเร็ว ทันต่อความต้องการ รวมถึงเป็ น การแสดงถึงความเป็ นกลางของหน่ วยงานที่ไม่ขน้ึ ต่อหน่ วยงานใดหน่ วยงานหนึ่ง และจัดให้มกี ารตรวจสอบการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินอย่าง


39 เคร่งครัด เพื่อความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง และแสดงถึงการให้ ความสาคัญต่อสังคมในการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ ทีย่ งตรงมากทีส่ ุด ส่งเสริ มธุรกิ จมีม่งุ เน้ นประโยชน์ ต่อสังคมเป็ นหลัก โดยในปจั จุบนั ธุรกิจประเภทนี้ในสังคมยังถือว่ามีน้อยมากเพราะธุรกิจส่วนใหญ่ มุ่ ง เน้ น แต่ ผ ลก าไรส่ ว นตนมากกว่ า ส่ ว นรวมจนถือ ได้ ว่ า ธุ ร กิจ ส่ ว นใหญ่ เน้ น ประโยชน์ เข้าสู่อ งค์กรมากกว่าจะมุ่ง เน้ นประโยชน์ ต่ อสังคม โดยอาจจัดให้มกี าร ส่งเสริมด้วยวิธกี าร ยกเว้นภาษีทุก ประเภทสาหรับธุรกิจประเภทนี้ เพื่อเป็ นการลด ค้าใช้จา่ ยเพราะธุรกิจประเภทนี้มุ่งเน้นประโยชน์ต่อสังคมเป็ นหลัก หรือภาครัฐอาจมี เงินทุนช่ว ยส่ งเสริมธุ รกิจประเภทนี้ ใ นการประกอบธุ รกิจ หรือ อาจมีนโยบายให้ ภาครัฐเป็ นลูกค้าหลักของธุรกิจประเภทนี้เพื่อแสดงถึงการช่วยส่งเสริมธุรกิจอย่ าง มันคงจากภาครั ่ ฐ บัญชีสิ่งแวดล้อม ส าหรับ ในประเทศไทย บางองค์ ก รได้ เ ริ่ม มีส่ ว นร่ ว มในการช่ ว ยอนุ ร ัก ษ์ สิง่ แวดล้อมแล้ว ซึ่งจะมีต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายทีจ่ ่ายไปเพื่ออนุ รกั ษ์สงิ่ แวดล้อม หรือ ทาให้สงิ่ แวดล้อมดีข้นึ ดังนัน้ นักบัญ ชีควรเข้ามามีบทบาทในการจัดทาบัญชีเพื่อ สิง่ แวดล้อม แต่ ปญั หาที่ค าดว่าจะเกิด กับ นักบัญ ชีขององค์ก รที่ใ ช้ก ารบัญ ชีเ พื่อ สิ่ง แวดล้อ ม คือ การขาดมาตรฐานการบัญ ชี และ มาตรฐานการสอบบัญ ชีท่ี เกี่ยวข้องกับการบัญชีเพื่อสิง่ แวดล้อมทีส่ ามารถนาไปเป็ นกรอบ ในการปฏิบตั งิ าน ได้อ ย่างชัดเจน จึงทาให้เกิด ปญั หาในทางปฏิบตั ิอยู่หลายประการ เช่น การรับรู้ (Recognition) ว่าจะรับรูค้ ่าความเสียหาย เมือ่ เกิดคดีความฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย จากคู่กรณีเมื่อใด ควรจะรับรู้เมื่อ เกิดคดีฟ้อ งร้อ งต่ อศาล หรือเมื่อองค์ก รจะต้อ ง จ่ายเงินชดเชย ค่าเสียหายเป็ นจานวนมาก จะบันทึกรายงาน และจัดประเภทของ รายงานนี้อย่างไร เป็ นระยะเวลากี่งวด รวมทัง้ การเปิ ดเผยอย่างไร จึงจะถูกต้อง เหมาะสม ไม่มากจนทาลายชื่อเสียง และภาพลักษณ์ขององค์กร หรือเปิดเผยน้อย จนทาให้ดูเหมือนว่าไม่ทาการเปิ ดเผยข้อมูลอย่าง เพียงพอโดยควรมีการกาหนด มาตรฐานบัญชีสงิ่ แวดล้อมให้ชดั เจนขึน้ เพื่อการปฏิบตั ิอย่างถูกต้องและเหมาะสม อย่ า งไรก็ ต าม การจัด การสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น การป้ องกั น ล่ ว งหน้ า ที่ ท าให้ สิง่ แวดล้อมของชุมชนไม่ถูกทาลาย นักบัญชีสมัยใหม่จงึ ควรเป็ นผูท้ ม่ี ที กั ษะ ความรู้


40 ความเข้าใจเกี่ยวกับการบัญชีเพื่อสิง่ แวดล้อมเป็ นอย่างดี เพื่อนามาใช้แก้ปญั หาที่ คาดว่าจะเกิดขึน้ กับ องค์กรในอนาคต ดัชนี โลกมีสขุ (Happy Planet Index) วิธคี ดิ แบบ ‘แยกส่วน’ ของเศรษฐศาสตร์กระแสหลักนับวันยิง่ ได้รบั การพิสูจน์ และตอกยา้ มากขึน้ เรือ่ ยๆ ว่าทัง้ ไม่เป็ นความจริง ทัง้ ทาให้สถานการณ์ในอนาคตแย่ ลง แทนทีจ่ ะดีกว่าเดิม จึงไม่น่าแปลกใจทีเ่ ราจะเห็นนักเศรษฐศาสตร์จานวนมากขึน้ เรื่อยๆ ที่มุ่งพัฒนาชุดความคิดและเครื่องมือใหม่ๆ เพื่อผลักดันให้ผู้มอี ิทธิพลใน สังคม ทัง้ ในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เปลี่ยนวิธคี ดิ เป็ นแบบ ‘องค์ รวม’ มากขึน้ คือคานึงถึงมิตเิ ศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมไปพร้อมๆ กัน ใน โครงการพัฒนาทุกระดับ เพราะการพัฒ นาใดๆ ก็ ต ามในศตวรรษนี้ แ ละศตวรรษต่ อ ๆ ไป จะต้ อ ง สอดคล้องกับแนวคิด ‘การพัฒนาทีย่ งยื ั ่ น’ เท่านัน้ มนุ ษย์ถงึ จะอยู่ร่วมกับธรรมชาติ ได้อย่างเป็นสุข สถาบันวิจยั อิสระ New Economics Foundation ได้พฒ ั นาดัชนีทางเลือกชุด หนึ่งทีส่ ะท้อนแนวคิดการพัฒนาแบบ ‘องค์รวม’ ได้อย่างดีเยีย่ มและใช้ประโยชน์ได้ จริง ดัชนีชุดนี้ช่อื Happy Planet Index (HPI) หรืออาจแปลเป็ นไทยว่า “ดัชนีโลกมี สุข” มีการตีพมิ พ์ผลการประเมินครัง้ แรกออกมาในปี ค.ศ. 2006 HPI เป็นดัชนีชุดแรกในโลกทีน่ าดัชนีวดั ผลกระทบทางสิง่ แวดล้อมมาสังเคราะห์ เข้ากับดัชนีวดั ความอยู่ดมี สี ุขของประชากร เพื่อคานวณ “ประสิทธิภาพเชิงนิเวศ” (ecological efficiency) ของแต่ละประเทศในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อส่งมอบ ชีวติ ที่ “น่าพึงพอใจ” และ “ยืนยาว” ให้กบั ประชากรในประเทศ ประเทศที่ม ี HPI สูงอาจไม่ใช่ประเทศที่ประชากร “มีความสุขที่สุด” แต่เป็ น ประเทศที่ส ามารถมอบชีว ิตที่ยนื ยาวและมีความสุ ขให้กบั ประชากรได้โดยไม่ก่ อ ความตึงเครียดต่อระบบนิเวศหรือใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิน้ เปลือง ค่าของ HPI คือผลลัพธ์ของสมการดังต่อไปนี้: HPI = ความพึงพอใจในชีวติ x ความยืนยาวของอายุ รอยเท้านิเวศ (ecological footprint) องค์ประกอบในดัชนี HPI สามตัวได้แก่ 1) “ความพึงพอใจในชีวติ ” (life satisfaction) เป็ นตัวเลขแทนความเห็นทีเ่ ป็ น อัตตวิสยั (subjective) จากการตอบคาถาม “ตอนนี้คุณรูส้ กึ พอใจกับชีวติ มากน้อย เพียงใด?” โดยให้ผู้ตอบประเมินความพอใจของตัวเองออกมาเป็ นตัวเลข จาก 0 (ไม่พอใจเลย) ถึง 10 (พอใจมาก) ข้อมูลด้านความพึงพอใจในชีวติ ที่ใช้ในการ


41 คานวณ HPI ส่วนหนึ่งมาจากรายงาน World Values Survey ซึ่งจัดทาโดย เครือข่ายนักสังคมวิทยาทัวโลก ่ 2) ความยืนยาวของอายุ (life expectancy) เป็ นตัวเลขภววิสยั (objective) หมายถึงอายุขยั ที่ประชากรโดยเฉลีย่ น่ าจะใช้ชวี ติ ได้ถงึ คานวณจากอัตราการตาย ของประชากรในช่ ว งอายุ ต่ า งๆ เป็ น ตัว เลขเดีย วกัน กับ ที่ใ ช้ ใ นดัช นี Human Development Index ของ UNDP 3) รอยเท้านิเวศ (ecological footprint) หมายถึงระดับผลกระทบต่อธรรมชาติ (ทัง้ ทรัพยากรธรรมชาติท่ใี ช้ และผลกระทบต่อ ระบบนิเ วศ) ที่มนุ ษย์กระทาเพื่อ ตอบสนองความต้องการของตัวเอง เปรียบเสมือน “รอยเท้า” ทีม่ นุ ษย์ประทับลงบน ธรรมชาติ มูลค่าของรอยเท้านิเวศมีค่าเท่ากับพื้นที่บนบกและในทะเลที่ต้องใช้ใน การฟื้ นฟู (regenerate) ทรัพยากรธรรมชาติข้นึ มาใหม่เพื่อรองรับปริมาณการ บริโภคของมนุ ษย์ ดูดซับของเสีย และทาให้ของเสียเหล่านัน้ ไม่เป็ นพิษภัย (render harmless) ในปี 2007 World Wildlife Fund (WWF) สรุปข้อมูลรอยเท้านิเวศจากทุก ประเทศในโลกว่า ประชากรทัวโลกบริ ่ โภคเกินกว่าศักยภาพของโลกไปเกือบร้อยละ 50 ตัวเลขนี้หมายความว่า ถ้าคนทัวโลกไม่ ่ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค เรา จะต้องใช้โลกถึง 1.50 ใบเพื่อรองรับความต้องการของมนุ ษย์ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ มนุษย์จาเป็นจะต้องควบคุมอัตราการเติบโตของประชากร ลดระดับการบริโภค เลิก ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็ นมิตรกับ สิง่ แวดล้อมมากขึน้ ก่อนทีจ่ ะไม่มโี ลกให้มนุษย์อาศัยอยู่ ผลการคานวณดัชนี HPI ของ New Economics Foundation ในปี 2006 ของ 178 ประเทศทัวโลกแสดงให้ ่ เห็นว่า ไม่มปี ระเทศใดทีไ่ ด้ระดับ “ดี” (สีเขียว) ในดัชนี ทัง้ สามตัวทีป่ ระกอบกันเป็น HPI ตามหลักเกณฑ์ของคณะผูจ้ ดั ทาดังต่อไปนี้


42 Happy Planet Index ในปี 2006

Color Key: All Good 2 Good and 1 Medium 1 Good and 2 Medium 3 Medium Any with 1 poor 2 poor or any with a blood red

ผลลัพธ์ทน่ี ่ าสนใจคือ ประเทศทีม่ ดี ชั นี HPI สูงทีส่ ุดในโลก 20 อันดับแรก ส่วน ใหญ่เป็ นประเทศที่มลี กั ษณะเป็ นหมู่เกาะ มี “รายได้ปานกลาง” ตามนิยามของ ธนาคารโลก และอยู่ใ นทวีปอเมริกากลาง ทะเลคาริบเบีย น และอเมริกาใต้ ใน บรรดาประเทศเอเชียสามประเทศที่ตดิ 20 อันดับแรก คือ เวียดนาม ภูฏาน และ ฟิลปิ ปินส์ ภูฏานเป็ นประเทศเดียวทีม่ ดี ชั นีองค์ประกอบระดับ “ดี” (สีเขียว) ถึงสอง ในสามตัว คือ ดัชนีความพึงพอใจในชีว ิ ต และรอยเท้านิเ วศ ผลการค านวณของ ประเทศทีม่ ี HPI สูงสุด 20 อันดับแรกสรุปออกมาเป็นตารางต่อไปนี้


43

เมือ่ นา HPI มาพล็อตเปรียบเทียบกับรายได้ต่อหัวของประชากร จะเห็นว่า รายได้ต่อหัวทีเ่ พิม่ ขึน้ ไม่ได้แปลว่า HPI จะสูงขึน้ ตามไปด้วย ดังแสดงในแผนภาพ ต่อไปนี้ HPI vs. รายได้ต่อหัว (ขนาดของวงกลมแสดงขนาดของประชากร)

ข้อมูลดังกล่าวจาก HPI สะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ลาพังความเจริญทาง เศรษฐกิจ ที่มกั จะส่งผลให้ประชากรโดยเฉลี่ยมีสุขภาพดีและอายุยนื นัน้ ไม่อาจ รับประกันได้ว่าประชากรในประเทศนัน้ จะมีความสุขกว่าในประเทศที่ มรี ายได้ต่ า กว่า และซ้าร้ายความเจริญ นัน้ ก็มกั จะต้อ งแลกมาด้ว ยต้นทุนธรรมชาติท่สี ูงมาก (และความเสื่อมโทรมของสิง่ แวดล้อมก็เป็ นสาเหตุหนึ่งทีท่ าให้คนรูส้ กึ ไม่มคี วามสุข) ยกตัวอย่างเช่น ประชากรของสหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรปตะวันตกมีอายุยนื ยาว


44 และมีความพึงพอใจในชีวติ ค่อนข้างดีกจ็ ริง แต่ต้องแลกมาด้วย ‘ต้นทุน’ ทีส่ ูงมากใน แง่ของรอยเท้านิเวศ ในโลกทีค่ นส่วนใหญ่ยงั คิดแบบ ‘แยกส่วน’ ดัชนี HPI เป็ นเครื่องมืออันทรงพลัง ทีส่ ะท้อนให้เห็นความผิดพลาดของวิถกี ารพัฒนาแบบ ‘แยกส่วน’ ที่ยงั ครอบงาวิธ ี คิดของผู้นาส่วนใหญ่ในโลก และกระตุ้นให้คนมองเห็นความเชื่อมโยงที่แยกออก จากกันไม่ได้ระหว่างมิตเิ ศรษฐกิจ (สะท้อนในตัวเลขความยืนยาวของอายุใน HPI) มิติส งั คม (สะท้อ นในตัว เลขความพึงพอใจชีวติ ) และมิติสงิ่ แวดล้อม (สะท้อ นใน ตัวเลขรอยเท้านิเวศ) ปจั จุบนั คณะผูจ้ ดั ทาดัชนี HPI นาโดย นิค มาร์คส์ (Nic Marks) กาลังพัฒนาวิธ ี วัดและคานวณดัชนีตวั นี้อย่างต่อ เนื่อง และเดินสายบรรยายไปทัวโลกเพื ่ ่อ เกลี้ย กล่อมให้ผู้กาหนดนโยบายนาดัชนีตวั นี้ไปใช้แทนที่ หรืออย่างน้ อยก็ควบคู่ไปกับ ดัชนีแบบ ‘แยกส่วน’ ทีม่ กั จะมองเห็นแต่มติ เิ ศรษฐกิจ (เช่น GDP) ในการกาหนด นโยบายพัฒนาในรอบหลายสิบปีทผ่ี ่านมา ภาพการพัฒนาสู่ความยังยื ่ น จากการแนวคิ ดเดิ มประกอบกับแนวคิ ดเพิ่ มเติ มจากนิ สิ ต และคณาจารย์สาขาการบัญชี บริ หาร คณะวิ ทยาการจัดการ มหาวิ ทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิ ทยาเขตศรีราชา

Social

Morality

สังคม

ศีลธรรม

Enviroment

Economy

สิง่ แวดล้อม

เศรษฐกิจ


45 บรรณานุกรม กรแก้ว จันทภาษา. 2550. “เทคนิคการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ.” [เข้าถึงได้จาก] http://home.kku.ac.th/korc ha/dis1.html. (27 มีนาคม 2555) เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy). 2555. เศรษฐกิ จพอเพียง http://guru.sanook.com/pedia/topic/เศรษฐกิจพอเพียง_(Sufficiency_Economy), 21 มีนาคม 2555 เศรษฐศาสตร์แห่งความสุข (Economics of Happiness). 2555. เศรษฐศาสตร์แห่งความสุข http://nukbunchee.com/board/index.php?topic=2497.0, 21 มีนาคม 2555 Corporate Social Responsibility (CSR). 2555. ความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่ งแวดล้อมขององค์กรธุรกิ จ http://www.csrcom.com/csr.php, 21 มีนาคม 2555 ดวงมณี โกมารทัต. 2538. หลักการบัญชีเพื่อสิ่ งแวดล้อม : มิ ติหนึ่ งของระบบบริ หาร สิ่ งแวดล้อม , วารสารจุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทศั น์ , 21 มีนาคม 2555 สฤณี อาชวานันทกุล. 2555. ดัชนี โลกมีสขุ (Happy Planet Index) http://www.greenworld.or.th/columnist/ecosaveworld/177, 21 มีนาคม 2555



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.