บทที่2

Page 1

บทที่ 2 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการด าเนิ น โครงการ เรื่ อ ง เว็ บ ไซต์ ร ะบบการจั ด การขายเค้ ก วิ ท ยาลั ย อาชี ว ศึกษาสุพรรณบุรีผู้ศึกษาจึงได้ศึกษาและค้นคว้าทฤษฎี เอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้ 2.1 คุกกี้ 2.2 เค้ก 2.3 เว็บไซต์ 2.4 เว็บเซิร์ฟเวอร์ 2.5 ระบบฐานข้อมูล 2.6 โปรแกรม Appxampp 2.7 โปรแกรม Adobe Dreamweaver cs6 2.8 โปรแกรม Photoshop 2.1 คุกกี้ 2.1.1 ความหมายของคุกกี้ คุกกี้ คือขนมอบชิ้นเล็ก ๆ รูปร่างแบน ซึ่งทาจากแป้งสาลี คาว่าคุกกี้มีที่มาจากคาในภาษา ดัตช์ koekje ซึ่งหมายถึง "เค้กชิ้นเล็ก ๆ" แรกเริ่มเดิมทีนั้น คุกกี้ทาโดยการแบ่งแป้งขนมเค้กที่ผสม แล้วออกมาส่วนหนึ่ง จากนั้นแบ่งออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วนาเข้าเตาอบ เพื่อทดสอบอุณหภูมิที่จะใช้อบ ขนมเค้ก คาว่า "คุกกี้" (cookie) ใช้กันในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ในขณะที่ในสหราชอาณาจักรจะ เรียกขนมแบบเดียวกันนี้ว่า "บิสกิต" (biscuit) และเป็นขนมที่มีกรรมวิธีการทาไม่ยากนัก รสชาติอร่อย หอม หวานมัน สามารถเก็บเอาไว้ได้ในระยะยาว นิยมที่จะใช้เป็นของขวัญในวันปีใหม่ หรือเทศกาล ต่าง ๆ นั้นก็คือ คุกกี้ (Cookies) คุกกี้เป็นเบเกอรี่ที่มีส่วนผสมคล้ายคลึงกับเค้กคือ ประกอบด้วย แป้ง, เนย, นม และสิ่งที่ช่วยให้ขึ้นฟูอื่นๆ แต่จะมีส่วนผสมของ ของเหลวน้อยกว่าและแตกต่างกับเค้กตรงที่ ใช้แป้งที่มีปริมาณโปรตีนสูงกว่า เค้ก แต่น้อยกว่าขนมปัง แป้งที่ว่าก็คือ แป้งสาลีเอนกประสงค์ คุกกี้ที่ คุณเห็นกันอยู่นั้นสามารถแบ่งตามลักษณะของรูปร่างที่ทาได้


2.1.2 ประเภทของคุกกี้ คุกกี้เป็นขนมที่มีส่วนผสมคล้ายเค้ก แต่มีปริมาณของเหลวน้อยกว่า และมีข นาดเล็ก มีรูปร่างและรสชาติต่างๆ คุกกี้สามารถแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท คือ แบ่งตามวัตถุดิบที่ ใช้ และแบ่งตามวิธีการทารูปร่าง 2.1.2.1 แบ่งตามวัตถุดิบที่ใช้ มี 2 ชนิด คือ ก. คุกกี้ที่มีไขมันเป็นส่วนผสมหลัก ส่วนผสมและวิธีผสมของคุกกี้ประเภทนี้ จะเหมือนเค้กจะต่างกันที่คุกกี้มีของเหลวน้อยกว่า เพื่อให้ส่วนผสมข้นพอที่จะทาให้เป็นรูปร่างต่างๆ ข. คุกกี้ที่มีไข่เป็นส่วนผสมหลักต่างจากคุกกี้ชนิดแรกที่วิธีการผสม และ ปริมาณไข่ในสูตร จะมากกว่า เพื่อช่วยจับอากาศระหว่างการผสมเพียงพอที่จะเป็นโครงสร้างให้คุกกี้ 2.1.2.2 แบ่งตามวิธีการทารูปร่าง มี 6 ชนิด คือ ก. คุกกี้หยอด (Dropped Cookies) ส่วนผสมจะมีลักษณะเหลวพอที่จะใช้ ช้อนตักหยอดลงบนถาดได้ หรืออาจใช้หัวบีบและถึงบีบช่วยก็ได้ รูปร่างของคุกกี้ชนิดนี้อาจแต่งหน้า ด้วยแยม หรือมะเขือเขียว แดง เพื่อให้สวยงามขึ้น

ภาพที่ 2-1 คุกกี้หยอด ข. คุกกี้กด (Pressed Cookies) ส่วนผสมจะข้นกว่าคุกกี้หยอด สามารถใช้ กระบอกกดคุกกี้ เป็นลายต่างๆ ได้ รูปร่างสวยงาม ไม่จะเป็นต้องแต่งหน้าเหมือนคุกกี้ชนิดแรก

ภาพที่ 2-2 คุกกี้กด


ค. คุกกี้ปั้น (Moulded Cookies) ส่วนผสมค่อนข้างแห้งและมีประมาณ ไขมันสูง เหมาะสาหรับปั้นเป็นรูปร่างต่างๆ ได้

ภาพที่ 2-3 คุกกีป้ ั้น ง. คุกกี้คลึง (Rolled Cookies) ส่วนผสมจะแห้ง สามารถใช้ไม้คลึงแป้ง คลึงเป็นแผ่นได้แล้วใช้พิมพ์กดคุกกี้รูปต่างๆ กดออกมาเป็นลายที่ต้องการ เช่น คุกกี้ไส้ครีมมะนาว คุกกี้ไส้สับปะรด

ภาพที่ 2-4 คุกกีค้ ลึง จ. คุกกี้แท่งหรือคุกกี้บาร์ (Bar Cookies) คุกกี้ชนิดนี้มีส่วนผสมใกล้เคียง เค้กมาก แต่ของเหลวน้อยกว่า มักอบในพิมพ์ แล้วตัดเป็นชิ้น คุกกี้ชนิดนี้ส่วนใหญ่จะนุ่มคล้ายเนื้อเค้ก บางชนิดจะกรอบ หรือเหนียว

ภาพที่ 2-5 คุกกี้แท่งหรือคุกกีบ้ าร์


ฉ. คุกกี้แช่เย็น (Refrigerated Cookies) ส่วนใหญ่จะคลึงแล้วม้วนเป็น แท่ง และแช่เย็นให้อยู่ตัว เวลาจะใช้จึงตัดเป็นชิ้นบางๆ แล้วอบ การแช่เย็นเพื่อให้หลังตัดเป็นชิ้นแล้ว ยังคงรูปร่างเดิม คุกกี้ชนิดนี้สามารถเก็บไว้ได้นานเป็นเดือน โดยเก็บไว้ได้นานเป็นเดือน โดยเก็บไว้ใน ช่องแช่แข็ง

ภาพที่ 2-6 คุกกีแ้ ช่เย็น 2.1.3 ประโยชน์ของคุกกี้ คุ ก กี้ ที่ มี ข นาด รู ป ร่ า ง กลิ่ น รส แตกต่ า งกั น ขึ้ น อยู่ กั บ ชนิ ด ของคุ ก กี้ แ ต่ ล ะชนิ ด ส่วนผสมของคุกกี้จะประกอบด้วย แป้งสาลี เนย น้าตาล ไข่ นม และส่วนผสมอื่น ๆ เช่น ผลไม้เชื่อม แห้ ง เมล็ ด ผลไม้ ฯลฯ ซึ่ ง ให้ ส ารอาหารที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ ร่ า งกายเพราะ แป้ ง และน้ าตาล ให้ สารอาหาร คาร์โบไฮเดรทนม , ไข่ ให้สารอาหาร โปรตีน เกลือแร่ และไขมัน เนย ให้สารอาหาร ไขมัน ข้าวโอ๊ตมีวิตามินและเกลือแร่ที่ร่างกายสามารถนาไปใช้เป็นพลังงานได้อย่างทันที องค์การ อาหารและยาประเทศสหรัฐอเมริกา (USFDA) รับรองผลการศึกษาวิจัยว่า หากร่างกายได้รับเบต้า กลูแคนจากข้าวโอ๊ตอย่างน้อย 3 กรัม ต่อวัน จะสามารถช่วยลดปัญหาคอเลสเตอรอลได้ จึงเหมาะ กับผู้ที่ต้องควบคุมปริมาณคอเลสเตอรอลและผู้ที่ต้องการควบคุมน้าหนัก นอกจากนั้นสูตรนี้ยังใส่ อบเชย(cinnamon) ซึ่งมีสรรพคุณช่วยลดระดับน้าตาลในเลือด แก้จุกเสียดแน่นท้องและลดอาการ อ่อนเพลีย


2.2 เค้ก 2.2.1 ความหมายของเค้ก เค้กเป็ น ผลิ ต ภัณฑ์เ บเกอรี่ประเภทหนึ่งที่มี เนื้อละเอียดนุ่ม รสหวาน นิย มอบให้สุกใน ลักษณะเป็นชิ้นใหญ่ ในรูปทรงกลม (round cake) หรือเป็นแท่งสี่เหลี่ยม (loaf cake) และอื่นๆ เมื่อ อบสุกแล้วอาจมีการสอดไส้ (fillings) ระหว่างชั้น โดยแบ่งเค้กเป็น 2 ส่วน คือส่วนฐานและส่วนบน หรืออาจมีการเคลือบผิวนอกด้วยครีมชนิดต่างๆ ที่เรียกว่า icing หรือ frosting เค้กบางชนิดจะเคลือบ ผิวบางๆ (glaze) เพื่อให้ผิวหน้าเค้กมองดูมันวาว เพิ่มความน่าบริโภค หากจะแต่งหน้าให้สวยงาม ยิ่งขึ้นเพื่อให้เหมาะกับโอกาส ควรใช้ของที่บริโภคได้ในการแต่งหน้าเค้ก คนในสมัยนั้นทาเค้กเพื่อ บูชาพระเจ้า และใช้เป็นอาหารของครอบครัวด้วย ส่วนชาวฝรั่งเศสเมื่อกล่าวถึง เค้ก จะหมายถึง fruit cake ทุกชนิด ส่วนคนใน Great Britain และ United States จะใช้คาว่าเค้กเรียกอาหาร หวานหลายชนิดด้วยกัน ทั้ง Sponge cake , iced cake, chocolate cake และอื่นๆ เค้กจะมี คุณภาพระดับใด ขึ้นอยู่กับการเลือกคุณภาพของเครื่องปรุงที่ใช้และขึ้นอยู่กับตารับที่เลือกใช้ ตารับที่ ปรับปริมาณเครื่องปรุงได้เหมาะสมก็จะได้เค้กที่คุณภาพดี นอกจากนี้เทคนิคต่างๆจะช่วยทาให้เค้กมี คุณภาพตรงตามเครื่องปรุงและตารับที่เลือกใช้ด้วย 2.2.2 ประวัติของเค้ก Cake มีรากศัพท์มาจากภาษาของชาวไวกิ้ง (Old Norse word) ว่า "kaka" ประวัติเริ่มจากปี 1843 คุณอัลเฟรด เบิร์ด (Alfred Bird 1811-1878) นักเคมีชาวอังกฤษได้ค้นพบ "ผงฟู" หรือ "baking

powder"

ทาให้เขาสามารถทาขนมปังชนิดที่ไม่มียีสต์ให้กับภรรยา

ของเขา อลิซาเบธ (Elizabeth) ได้เป็นครั้งแรกเนื่องจากภรรยาของเขาเป็นโรคภูมิแพ้เกี่ยวกับไข่ และ ยีสต์ ในราวศตวรรษที่ 13 มีการค้นพบหลักฐานการอบขนมเค้กขั้นแอดวานซ์ที่เก่าแก่ที่สุดจาก ชาวอียิปต์โบราณโดยมักจะเป็นรสชาติของเค้กผลไม้ และGinger bread รูปแบบเค้กทรงกลมที่เรา เห็นกันทุกวันนี้ เริ่มราวกลางศตวรรษที่ 17 ในยุโรป ซึ่งเป็นช่วงที่มีพัฒนาการของเตาอบ แบบพิมพ์ ขนมและน้าตาลทราย รสชาติที่นิยมก็ยังเป็นรสผลไม้ ย้อนหลังจากวันนี้ไปประมาณ 60 ปี ธุรกิจขนม อบในเมืองไทยไม่ได้เป็นที่รู้จักแพร่หลายเหมือนในปัจจุบัน จนไม่อาจเรียกว่าเป็นธุรกิจได้ ขนมปัง ขนมเค้ก คุกกี้ ก็ไม่ได้เป็นที่คุ้นเคยของคนทั่วไป จะมีก็เพียงคนกลุ่ มหนึ่งซึ่งได้รับอารยธรรมตะวันตก มาก่อน และผู้ที่มีความใกล้ชิดกับชาวต่างประเทศที่เข้ามาทาธุรกิจในเมืองไทยที่รู้จักขนมอบ และมี ร้านขนมอบเพียงไม่กี่ร้าน เพราะธุรกิจขนมอบในสมัยนั้นแคบมาก ไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลาย


ต่อมาคนไทยโดยเฉพาะคนกรุงเทพฯ เริ่มรู้จักขนมอบมากขึ้นเมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่ สองสิ้นสุดลง ประเทศไทยเริ่มเป็นที่รู้จักของประเทศต่างๆ มีการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศมากขึ้น มีชาวต่างประเทศเข้ามาเมืองไทยทั้งนักธุรกิจและนักท่องเที่ยว ทาให้ธุรกิจโรงแรมขยายตั ว จึงต้อง ผลิตอาหารประเภทขนมอบชนิดต่าง ๆ ขึ้นเช่นขนมปัง เค้ก เพสตรี้เพื่อบริการลูกค้าชาวต่างประเทศที่ ไม่คุ้นเคยอาหารไทย และนอกจากจะผลิตเพื่อบริการลูกค้าแล้ว โรงแรมยังมีบริการรับจัดเลี้ยงให้แก่ หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งของรัฐและเอกชน โดยมีการจัดประชุมสัมมนา งานพิธี มงคลสมรส งานวันเกิด และการจั ด เลี้ ย งสั ง สรรค์ ด้ ว ยเหตุ นี้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ข นมอบจึ ง เป็ น ที่ รู้ จั ก และแพร่ ห ลายมากขึ้ น ใน ขณะเดียวกันก็มีร้านเบเกอรี่ที่ผลิตขนมปัง ขนมเค้ก ขนมต่าง ๆ ออกขาย ธุรกิจขนมอบเริ่มจัดว่าเป็น ธุรกิจได้เมื่อสมัยสงครามเวียดนาม ประมาณ 30 กว่าปีมาแล้วประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่เป็นที่ พักของทหารอเมริกัน ช่วงนั้นกิจการขนมอบเริ่มขยายตัวมากขึ้น เนื่องจากความต้องการอาหาร ประเภทนี้สูง จนถึงกับมีผู้คิดโรงโม่แป้งสาลีขึ้นในประเทศไทย และต่อมามีโรงโม่แป้งสาลีเพิ่มขึ้น อีก 23 แห่งแต่ละโรงโม่ก็ผลิตแป้งสาลียี่ห้อต่าง ๆ ออกจาหน่ายพร้อมกับมีการสาธิตการทาผลิตภัณฑ์ จัดการฝึกอบรมแนะนาลูกค้าผู้ใช้แป้งสาลีและผู้ประกอบกิจการขนมอบซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อให้สามารถนาแป้งไปใช้ทาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและมีความถูกต้อง นับว่าเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ แป้งสาลีเป็นอย่างยิ่ง เมื่อสงครามเวียดนามสิ้นสุดลง ธุรกิจขนมอบก็ยังดาเนินต่อไป และขยายตัวเพิ่ม มากขึ้น คนไทยเริ่มบริโภคขนมปัง ขนมเค้ก คุกกี้ พาย พัฟ ฯลฯ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ขนมอบมากขึ้น นักธุรกิจหลายรายเริ่มมองเห็นลู่ทางในการลงทุนทาธุรกิจนี้ เนื่องจากเห็นว่าผลิตภัณฑ์ขนมอบเข้ามามี ความส าคั ญ ต่ อ ชี วิ ต ประจ าวั น ของคนไทยมากขึ้ น นอกจากนั้ น ยั ง มี ห น่ ว ยงานต่ า ง ๆ เช่ น วิ ท ยาลั ย สารพั ด ช่ า ง วิ ท ยาลั ย การอาชี พ วิ ท ยาลั ย อาชี ว ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ โรงเรี ย นของเอกชน ที่ เ ปิ ด สอนด้ า นขนมอบ ได้ ช่ ว ยกั น เผยแพร่ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ ขนมอบมากขึ้ น พร้ อ มกั บ มี ต าราการฝึ ก ปฏิ บั ติ ท าขนมอบ มี ป ระชาชนให้ ค วามสนใจมาฝึ ก อบรมรั บ ความรู้ เพื่อไปประกอบเป็นอาชีพ หรือทาบริโภคเองภายในครอบครัว


2.2.3 ประเภทของเค้ก 2.2.3.1 เค้กเนย (butter cake) เป็นเค้กที่มีไขมันสูง การขึ้นฟูของเค้กประเภทนี้เกิดจาก อากาศที่ได้จากการตีเนยกับน้าตาล โดยไขมันจะเก็บอากาศไว้ ซึ่งจะขยายตัวในระหว่างการอบ เค้ก ประเภทนี้ได้แก่ ไวท์เค้ก ช็อกโกแลตเค้ก ฟรุ้ตเค้ก เค้กไข่ (unshortened cake หรือ Foam – type cake) เป็นเค้กที่ไม่มีไขมันในส่วนผสม เนื้อเค้กและปริมาตรของเค้กขึ้นอยู่กับการขยายตัวของไข่ขาวที่ นามาตีจนเป็น ฟองซึ่งจะเก็บอากาศเข้าไว้ในระหว่างการตีไข่ ทาให้เค้กขยายตัวหรือขึ้นฟูในระหว่าง การอบ การทาเค้กประเภทนี้ควรทาด้วยความระมัดระวัง เพราะฟองที่เกิดจากการตีไข่ขาวนั้นอ่อนตัว ไม่เหมือนเค้กเนย

ภาพที่ 2-7 เค้กเนย 2.2.3.2

ชิฟฟอนเค้ก (chiffon cake) ชิฟฟอนเค้ก หรือ ชีฟองเค้ก ปัจจุบันเป็นที่นิยม

กั น มากในกลุ่ ม ผู้ ที่ ต้ อ งการบริ โ ภคเค้ ก ที่ มี ไ ขมั น ไม่ ม าก และรสชาติ ที่ ไ ม่ เ ลี่ ย นจนเกิ น ไปและด้ ว ย เอกลั ก ษณ์ ป ระจ าตั ว นั่ น ก็ คื อ ความนุ่ ม ละมุ น ละไมอี ก ทั้ ง สามารถดั ด แปลงรสชาติ ไ ด้ ม ากและ หลากหลาย ทั้งยังขายง่ายต้นทุนต่าได้กาไรสูง จึงทาให้มีผู้สนใจในการประกอบกิจการเพื่อผลิตและ จาหน่ายชิฟฟอนเค้ก หรือ ชีฟองเค้กเป็นจานวนมาก

ภาพที่ 2-8 ชิฟฟอนเค้ก


2.2.3.3 สปันจ์เค้ก (sponge cake) เป็นการทาเค้กที่ใช้ไข่ทั้งฟองหรือเฉพาะไข่แดง ใน การผสมเค้กชนิดนี้ ตีไข่และน้าตาลด้วยความเร็วสูง จนกระทั่งฟองไข่ละเอียดและเป็นเนื้อสีขาว จึง เติมส่วนผสมของแป้งผสมให้เข้ากัน บางสูตรอาจมีนม ไขมัน ละลาย ควรเติมหลังจากผสมแป้งแล้ว โดยต้องคนเร็ว ๆ และเบา เพื่อป้องกันการยุบตัวของส่วนผสม (ควรใช้ เนยละลายอุ่น ๆ เพื่อป้องกัน การยุบตัวจะทาให้เค้กมีปริมาตรดีขึ้น)

ภาพที่ 2-9 สปันจ์เค้ก 2.2.3.4 แองเจิ้ลฟูดเค้ก เป็นเค้กที่ใช้โปรตีนจากไข่ขาว โดยการนาไข่ขาวมาตีให้ขึ้นเป็น ฟอง โดยมีน้าตาลส่วนหนึ่งเป็นส่วนผสม ตีจนไข่ขาวขึ้นฟองและฟองไข่ขาวมีลักษณะแข็งตัวเป็นมัน เงา ในการตีไข่ขาวยังต้องใส่ครีมออฟทาร์ทาร์ลง ไป เพื่อช่วยให้เกิดฟองไข่ขาวอยู่ตัวไม่เหลวเป็นน้า และทาให้เค้กที่อบได้มีเนื้อขาวละเอียดอีกด้วย ส่วนน้าตาล อีก ส่วนนามาผสมส่วนผสมแห้งอื่น ๆ ได้แก่ แป้ง เกลือ ฯลฯ แล้วจึงผสมลงไปในฟองไข่ขาวที่ตีขึ้นแล้ว คนเบา ๆ ให้เข้า กัน เทใส่พิมพ์ ให้สุก

สะอาดปราศจากไขมันอบ

ภาพที่ 2-10 แองเจิ้ลฟูดเค้ก


2.2.4 ประโยชน์ของเค้ก เค้ก เป็นขนมอบที่มีลักษณะ รูปร่าง ตามความต้องการของผู้ผลิต แต่มีส่วนประกอบของ แป้งสาลีน้าตาล ไข่ นม ไขมัน และสิ่งปรุงแต่งให้เกิดชนิดของเค้ก เช่น ผลไม้ต่าง ๆ ดังนั้นเค้กจึงเป็น ขนมที่ให้ประโยชน์กับผู้บริโภค โดยได้รับสารอาหาร คื อ แป้ง น้าตาล ให้สารอาหาร คาร์โบไฮเดรท ซึ่งเป็นสารอาหารที่ทาให้เกิดพลังงาน แก่ร่างกาย, ไข่ นม ให้สารอาหาร โปรตีน ซึ่งเป็นสารอาหารที่ สร้างเซลล์เนื้อเยื่อให้กับร่างกาย, เนย ไขมัน ให้สารอาหารไขมัน ซึ่งเป็นสารอาหารที่ช่วยในการหล่อ ลื่นและทาให้ผิวพรรณสดชื่น นอกจากนั้นเด็กยังสามารถนาไปใช้ในโอกาสต่าง ๆ เช่ น วันมงคลสมรส วันเกิด ปีใหม่และสามารถจัดรับประทานเป็นอาหาร น้าชา กาแฟด้วย 2.3 เว็บไซต์ 2.3.1 ความหมายของเว็บไซต์ (Website)

ภาพที่ 2-11 การทางานของ ปิยวิท เจนกิจจาไพบูลย์ (2540)ได้กล่าวว่า เว็บไซต์ ถูกเรียกเป็นตาแหน่งที่อยู่ของผู้ที่มี เว็บเพจเป็นของตัวเองบนระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งได้จากการลงทะเบียนกับผู้ให้บริการเช่าพื้นที่บน ระบบอินเทอร์เน็ตเมื่อลงทะเบียนในชื่อที่ต้องการแล้ว ก็สามารถจัดทาเว็บเพจและส่งให้ศูนย์บริการ นาขึ้นไปไว้บนอินเทอร์เน็ตซึ่งถือว่ามีเว็บไซต์เป็นของตนเองแล้ว และเว็บไซต์ก็คือแหล่ง ที่รวบรวมเว็บ เพจจานวนมากมายหลายหน้าในเรื่องเดียวกันมารวมอยู่ด้วยกัน แต่สิ่งหนึ่งในการเสนอเรื่องราวที่อยู่ บนเว็บไซต์ที่แตกต่างไปจากโปรแกรมโทรทัศน์ เนื้อหาในนิตยสาร หรือหนังสือพิมพ์ เนื่องจากการ ทางานบนเว็บจะไม่มีวันสิ้นสุด ทั้งนี้เนื่องจากเราสามารถเปลี่ยนแปลงและเพิ่มสารสนเทศบนเว็บไซต์ ได้ตลอดเวลา และแต่ละเว็บเพจจะมีการเชื่อมโยงกันภายในเว็บไซต์หรือไปยังเว็บไซต์อื่นๆ เพื่อให้ ผู้อ่านสามารถอ่านได้ในเวลาอันรวดเร็ว (กิดานันท์ มลิทอง, 2542)


นิรุธ อานวยศิลป์ (2542) กล่าวถึงเว็บไซต์ว่า เป็นชื่อเรียก Host หรือ Server ที่ได้จด ทะเบียนอยู่ในเวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่งก็คือชื่อชื่อ Host ที่ถูกกาหนดให้มีชื่อในเวิลด์ไวด์เว็บ และขึ้นต้นด้วย http และมีโดเมนหรือนามสกุลเป็น .com, .net, .org หรืออื่นๆ นิชรัตน์ ราชบุรี (2535 : 13) ได้ให้ความหมายของเว็บไซต์ เป็นที่ใช้ในการเก็บเว็บ เพจของแต่ละองค์กรที่จะนาเสนอข้อมูล มักจะใช้ชื่อองค์กรเป็นชื่อเว็บไซต์เพื่อจาได้ง่าย ชัยยุทธ์ ลิมลาวัลย์ (2544 : 19) ให้ความหมายของเว็บไซต์ หมายถึง สถานที่ที่ใช้ เรียกบนเวิลด์ไวด์เว็บ (www) อาจประกอบไปด้วยเว็บเพจจานวนหลายๆ หน้าที่มีความสัมพันธ์กัน ดวงพร เกี๋ยงคา และวงศ์ประภา จันทร์สมวงศ์ (2546 : 25) ให้ความหมายของ เว็บไซต์ หมายถึง กลุ่มของเว็บเพจที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน เช่น กลุ่มชองเว็บเพจที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ประวัติบริการขององค์กร ในการอ้างถึงเว็บไซต์จะใช้อยู่บนอินเทอร์เน็ตสามารถระบุในบราวเซอร์ เพื่อเปิดเข้ามาดูในเว็บไซต์ได้ ภายในเว็บไซต์นอกจากเว็บเพจหรือไฟล์ HTML แล้ว ยังประกอบไป ด้วยไฟล์ชนิดอื่นๆ เช่น รูปภาพ , ไฟล์มัลติมีเดีย , ไฟล์ Style Sheet และอื่นๆ ที่จาเป็นในการ สร้างเป็นเว็บเพจ เบจวรรณ หมั่นเจริญ และพุทธิชา ขุนหอม (2543 : 20) ให้ความหมายเว็บไซต์ คือ การรวมหน้าเอกสารหลายๆ หน้าเข้าไว้ด้วยกัน หรือการรวมเว็บเพจที่มีอยู่ทั้งหมดบันทึกไว้ภายใต้ ชื่อแอดเดรสเดียวกัน ภายในหนึ่งเว็บไซต์นั้นสามารถที่จะมีเว็บเพจกี่หน้าก็ได้ไม่จากัด สิทธิชัย ประสานวงศ์ (2546 : 4) ให้ความหมายของเว็บไซต์ ว่าเป็นเครื่องมือที่ใช้ใน การจัดเก็บเว็บเพจแต่ละองค์กรที่จะนาเสนอข้อมูลของตนในรูปของเว็บส่วนมากมีเว็บไซต์เป็นของ ตนเอง และมักใช้ชื่อองค์กรเป็นชื่อเว็บ เพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถจัดทาได้ง่าย พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร (2547 : 6) ให้ความหมายของเว็บไซต์ (Web site) คือ คอมพิ วเตอร์ ที่ ท าหน้ าที่ เก็ บ เพจ เมื่ อใดที่ เราต้อ งการดู เว็ บ เราต้ องใช้บ ราวเซอร์ ดึง ข้ อมู ลโดย บราวเซอร์จะทาการติดต่อกับเว็บไซต์นั้น เพื่อให้มีการโดยย้ายข้อมูลมาแสดงที่เครื่องของเรา เว็บไซต์ (Web Site) คือ แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อประสมต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง ข้อความ ของแต่ละบริษัทหรือหน่วยงานโดยเรียกเอกสารต่าง ๆ เหล่านี้ว่า เว็บเพจ (Web Page) และเรียกเว็บหน้าแรกของแต่ละเว็บไซต์ว่า โฮมเพจ (Home Page) หรืออาจกล่าวได้ว่า เว็บไซต์ก็คือเว็บเพจอย่างน้อยสองหน้าที่มีลิงก์ (Links) ถึงกัน ตามหลักคาว่า เว็บไซต์จะใช้สาหรับผู้ที่ มีคอมพิวเตอร์แบบเซิร์ฟเวอร์หรือจดทะเบียนเป็นของตนเองเรียบร้อยแล้วเช่น www.google.co.th ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการสืบค้นข้อมูลเป็นต้น


สรุ ป เว็ บ ไซด์ คื อ ศู น ย์ ร วบรวมความรู้ แ ละแหล่ ง ข้ อ มู ล ต่ า งๆ อาทิ เช่ น ข่ า วสาร ประชาสัมพันธ์ บันเทิง กีฬา เป็นต้น ปัจจุบันเว็บไซด์ได้เข้ามามีบทบาทในแวดวงธุรกิจแทบทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของบริษัท ร้านค้า ชั้นนา ต่างๆทั่วไป เหตุผลหนึ่งในการมีเว็บไซด์นั้น เพื่อเป็น การเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับธุรกิจนั้นๆ อีกทั้งเว็บไซด์ยังสามารถตอบสนองและครอบคลุมผู้บริโภค หรื อ กลุ่ ม เป้ า หมาย ได้ อย่ า งไม่ มี ขี ด จ ากัด อี ก ด้ ว ย เพราะสามารถเข้ า เยี่ย มชมข้อ มู ล เว็ บไซด์ จ าก อินเตอร์เน็ตได้ทั่วโลก 2.3.2 ประวัติความเป็นมาของเว็บไซต์ การนาเสนอข้อมูลในระบบ WWW (World Wide Web) พัฒนาขึ้นมาในช่วงปลายปี 1989 โดยที ม งานจากห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารทางจุ ล ภาคฟิ สิ ก ส์ แ ห่ ง ยุ โ รป (European Particle Physics Labs) หรือที่รู้จักกันในนาม CERN (Conseil European pour la Recherche Nucleaire) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทีมงานได้คิดค้นวิธีการถ่ายทอดเอกสารข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบ HyperText ไป ยังระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผลที่ได้คือ โปรโตคอล HTTP (HyperText Transport Protocol) และภาษาที่ใช้สนับสนุนการเผยแพร่เอกสารของนักวิจัย หรือเอกสารเว็บ (Web Document) จากเครื่องแม่ข่าย (Server) ไปยังสถานที่ต่างๆ ในระบบ WWW เรียกว่าภาษา HTML (HyperText Markup Language) ด้วยเทคโนโลยี HTTP และ HTML ทาให้ การถ่ายทอดข้อมู ลเอกสารมี ความคล่องตัว สามารถเชื่อมไปยังจุดต่างๆ ของเอกสาร เพิ่มความ น่าสนใจในการอ่านเอกสาร ใช้งานเอกสาร จนได้รับความนิยมอย่างสูงในปัจจุบัน การเผยแพร่ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตผ่านสื่อประเภทเว็บเพจ (Webpage) เป็นที่นิยมกัน อย่างสูงในปัจจุบัน ไม่เฉพาะข้อมูลโฆษณาสินค้า ยังรวมไปถึงข้อมูลทางการแพทย์ การเรียน งานวิจัย ต่างๆ เพราะเข้าถึงกลุ่มผู้สนใจได้ทั่วโลก ตลอดจนข้อมูลที่นาเสนอออกไป สามารถเผยแพร่ได้ทั้ง ข้อมูล ตัวอักษร ข้อมู ล ภาพ ข้อมู ล เสียง และภาพเคลื่อนไหว มีลูกเล่นและเทคนิคการนาเสนอที่ หลากหลาย อันส่งผลให้ระบบ WWW เติบโตเป็นหนึ่งในรูปแบบบริการที่ได้รับความนิยมสูงสุดของ ระบบอินเทอร์เน็ต ลักษณะเด่นของการนาเสนอข้อมูลเว็บเพจ คือ สามารถเชื่อมโยงข้อมูลไปยังจุดอื่นๆ บนหน้า เว็บได้ ตลอดจนสามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บอื่นๆ ในระบบเครือข่าย อันเป็นที่มาของคาว่า HyperText หรือข้อความที่มีความสามารถมากกว่าข้อความปกตินั่นเอง จึงมีลักษณะคล้ายกับว่าผู้อ่านเอกสารเว็บ สามารถโต้ตอบกับเอกสารนั้นๆ ด้วยตนเอง ตลอดเวลาที่มีการใช้งานนั่นเอง ด้วยความสามารถ ดังกล่าวข้างต้น จึงมีผู้ให้คานิยาม Web ไว้ดังนี้


ก. The Web is a Graphical Hypertext Information System. การ นาเสนอข้อมูล ผ่านเว็บ เป็นการนาเสนอด้วยข้อมูลที่สามารถเรียกหรือโยงไปยังจุดอื่นๆ ในระบบกราฟิก ซึ่งทาให้ ข้อมูลนั้นๆ มีจุดดึงดูดให้น่าเรียกดู ข. The Web is Cross-Platform. ข้อมูลบนเว็บไม่ยึดติดกับ ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เนื่องจากข้อมูลนั้นๆ ถูกจัดเก็บเป็น Text File ดังนั้นไม่ว่าจะถูกเก็บไว้ใน คอมพิวเตอร์ที่ใช้ OS เป็นUNIX หรือ Windows NT ก็สามารถเรียกดูจากคอมพิวเตอร์ที่ใช้ OS ต่าง จากคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่ายได้ ค. The Web is distributed. ข้อมูลในเครือข่ายอินเทอร์ เน็ตมีปริมาณมากจากทั่วโลก และผู้ใช้จากทุกแห่งหนที่สามารถต่อเข้าระบบอินเทอร์เน็ตได้ ก็สามารถเรียกดู ข้อมูลได้ตลอดเวลา ดังนั้นข้อมูลในระบบอินเทอร์เน็ตจึงสามารถเผยแพร่ได้รวดเร็ว และกว้างไกล ง. he Web is interactive. การทางานบนเว็บเป็นการทางาน แบบโต้ตอบกับผู้ใช้โดย ธรรมชาติอยู่แล้ว ดังนั้นเว็บจึงเป็นระบบ Interactive ในตัวมันเอง เริ่มตั้งแต่ผู้ใช้เปิดโปรแกรมดูผล เว็บ (Browser) พิมพ์ชื่อเรียกเว็บ (URL: Uniform Resource Locator) เมื่อเอกสารเว็บแสดงผล ผ่านเบราว์เซอร์ ผู้ใช้ก็สามารถคลิกเลือกรายการ หรือข้อมูลที่สนใจ อันเป็นการทางานแบบโต้ตอบไป ในตัว ปี พ.ศ.2533 นักวิทยาศาสตร์จากห้องทดลองของสถาบันเซิร์น (CERN) ซึ่งเป็น ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งยุโรป ในนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ คือ ทิม เบิร์นเนอร์ส -ลี (Tim Berners-Lee) ได้สร้างระบบการสื่อสารข้อมูล ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในรูปแบบใหม่ ที่เรียกว่าไฮ เพอร์เท็กซ์ (hypertext) ซึ่งผลที่ได้ทาให้มีการสร้างโพรโทคอลแบบ HTTP (Hypertext Transport Protocol) ขึ้น เพื่อใช้ในการส่งสารสนเทศต่างๆ โดยจะถูกจัดอยู่ในรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า HTML (HyperText Markp Language) ซึ่งการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศในรูปแบบใหม่นี้ทาให้ มนุษย์สามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างรวดเร็วในทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ ภาพ และเสียง (จิต เกษม พัฒนาศิริ, 2540)จากการวิจัยดังกล่าว ในปัจจุบันได้มีการคิดค้นและสร้างสรรค์รูปแบบเพื่อ สื่อสารระหว่างมนุษย์ด้วยกันโดยอาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นตัวเชื่อมโยง ทาให้เวิลด์ไวด์เว็บ กลายเป็นเครื่องมือที่ใช้การติดต่อสื่อสารและการนาเสนอผ่านเครือข่ายทิ่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกไปแล้วใน ขณะนี้เว็บไซต์ เว็บเพจและโฮมเพจเว็บไซต์ เว็บเพจและโฮมเพจ ถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งของเว็บ เนื่องจากเมื่อเข้าไปในเว็บแล้วสารสนเทศหรือข้อมูลต่างๆที่ ต้องการสืบค้นก็คือหน้าของเอกสารที่ ปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งรายละเอียดของแต่ละส่วนมีดังนี้


2.3.3 ประเภทของเว็บไซต์ 2.3.3.1 เว็บไซต์ส่วนตัว (Personal website) เป็นเว็บที่สร้างขึ้นเพื่อเผยแพร่ข้อมูล ส่วนตัวเป็นเว็บของ คน ๆ เดียว เพื่อนฝูง หรือครอบครัวก็ได้ โดยอาจจัดทาขึ้นด้วยเหตุผลที่แตกต่าง กัน ถ่ายทอดประสบการณ์เกี่ยวกับสิ่งที่เชี่ยวชาญหรือสนใจ โดยทั้งหมดนี้อาจทาเป็นเว็บไซต์หรือเป็น เพียงเว็บเพจหน้าเดียวก็ได้ และก็เป็นเว็บไซด์ที่มีความเป็นส่วนตัว คือผู้ใช้สามารถใส่ข้อมูลที่แท้จริง ของเราลงไปได้ สามารถใส่รูปภาพตัวตนที่แท้จริงของเราลงไป มีการให้แสดงความคิดเห็น ผู้ใช้จะ สามารถสื่อสารถึงกันได้โดยเขียนความคิดเห็น ภาษาที่ใช้เป็นภาษาไม่เป็นทางการ เพราะในการคอม เม้นท์ข้อความ แต่ละครั้งเรามักจะเขียนไปตามความรู้สึก และมักจะใช้ภาษาพูดแต่อยู่ในรูปภาษา เขียน

ภาพที่ 2-12 เว็บไซต์ส่วนตัว 2.3.3.2 เว็บไซต์เพื่อธุรกิจการค้า (Promotional website) เว็บไซต์นี้มีจุดประสงค์ เพื่อ การค้าขายสินค้า การโฆษณาสินค้า การส่งเสริมการขาย ในเว็บไซต์จะมีข้อมูลของสินค้า ราคาและ การบริการต่างๆ ซึ่งในปัจจุบนั ตลาดประเภทนี้กาลังใช้กันมากขึ้น

ภาพที่ 2-13 เว็บไซต์เพื่อธุรกิจการค้า


2.3.3.3 เว็บไซต์ที่เสนอข่าวประจาวัน (Current website) เป็นเว็บที่เสนอข้อมูล ประเภท ข่าว ซึ่งจะเปลี่ยนไปเป็นประจาวัน เช่น เว็บไซต์ของหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เดลินิวส์ เป็นต้นแต่องค์กร เหล่านี้ได้นาเว็บไซต์มาใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารอีกรูปแบบหนึ่ง เพื่อนาเสนอข่าวและสาระที่เป็น การสรุปใจความสาคัญหรือรวบรวมเนื้อหาจากข่าวในรอบเดือนหรือรอบปี ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถ ค้นหาข้อมูลและติดตามข่าวสารได้ทุกที่ทุกเวลา แม้ว่าจะอยู่ที่ใดก็ตาม

ภาพที่ 2-14 เว็บไซต์ที่เสนอข่าวประจาวัน 2.3.3.4 เว็บไซต์ส่งเสริมการบริการเป็นสื่อกลางของข้อมูล (Share Information website) เป็นเว็บที่มีจุดประสงค์ที่จะใช้เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลตามกลุ่มสนใจ เช่น แบ่งตามอาชีพ ตามงาน อดิเรก เป็นต้น

ภาพที่ 2-15 เว็บไซต์ส่งเสริมการบริการเป็นสื่อกลางของข้อมูล


2.3.3.5 เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นเพื่อชักชวนหรือโฆษณาชวนเชื่อ (Persuasive website) เป็นเว็บ ที่เชิญชวนหรือชักนาให้เห็นคล้อยตามในเรื่องที่ผู้สร้างต้องการ

ภาพที่ 2-16 เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นเพื่อชักชวนหรือโฆษณาชวนเชื่อ 2.3.3.6 เว็บไซต์เพื่อการสอน (Instructional website) เป็นเว็บที่สร้างขึ้นเป็นการสอน โดยเฉพาะเป็นรายวิชา (Course) อาจแยกย่อยเป็นหัวเรื่องเรื่องย่อยๆ ก็ได้ สาหรับเว็บไซต์ประเภทนี้ จะจากัดผู้ใช้เฉพาะราย

ภาพที่ 2-17 เว็บไซต์เพื่อการสอน 2.3.3.7 เว็บไซต์ที่จากัดเฉพาะสมาชิก (Registrational website) เป็นเว็บไซต์ที่บริการ เฉพาะสมาชิกเท่านั้น ผู้ที่จะใช้ต้องลงทะเบียนตามราคาที่กาหนดโดยบัตรเครดิต หรือผ่านธนาคาร ผู้ ให้บริการจึงจะให้หมายเลขสมาชิกและรหัสผ่าน แต่การขายสินค้าหรือบริการใดๆ ของเว็บไซต์เหล่านี้

ภาพที่ 2-17 เว็บไซต์จากัดเฉพาะสมาชิก


2.3.4 ประโยชน์ของเว็บไซต์ (Web Site) 2.3.4.1 ช่วยส่งเสริมศักยภาพการแข่งขันในด้านธุรกิจ 2.3.4.2 ช่วยเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและบริการต่างๆ ให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย 2.3.4.3 ช่วยให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้า หรือผู้ใช้บริการเป้าหมายได้ทุกวัน จึงสามารถซื้อ -ขาย สินค้าหรือบริการผ่านเว็บไซต์ได้ตลอด 24 ชั่วโมง และทั่วโลก 2.3.4.4 ช่วยขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต สร้างรายได้โดยไม่ต้องมีหน้าร้าน หรือสานักงาน 2.3.4.5 สามารถให้บริการต่างๆ ของธุรกิจหรือองค์กรแบบออนไลน์ เป็นการอานวย ความสะดวกแก่ลูกค้า 2.3.4.6 ช่วยสร้างภาพลักษณ์ที่ดี และทันสมัย ให้กับองค์กร บริษัท และธุรกิจต่างๆ 2.3.4.7 ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ธุรกิจ 2.3.4.8 ช่วยเพิ่มยอดขายให้กับธุรกิจ เพิ่มประสิทธิภาพในการโฆษณา 2.3.4.9 คอยท าหน้ า ที่ เ ป็ น ที่ ป รึ ก ษา ให้ ค าแนะน าต่ า งๆ เกี่ ย วกั บ สิ น ค้ า และบริ ก าร แก่ลูกค้าได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม่ต้องรอร้านเปิดให้บริการ 2.3.4.10 เป็นการเพิ่มช่องทางในการขายสินค้าและบริการของบริษัทอีกช่องทางหนึ่ง 2.3.4.11 ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง สาหรับการที่จะมีเว็บไซต์เพื่อติดต่อกับโลกภายนอก 2.3.4.12 การมีหน้าร้านทางอินเตอร์เน็ต (Homepage) เป็นการเปิดตัวสู่ตลาดโลก 2.3.4.13 เสริมภาพลักษณ์ขององค์กรให้มีความทันสมัยน่าเชื่อถือมากขึ้น 2.3.4.14 มีอีเมล์ในการติดต่อลูกค้า เพื่อความเป็นสากล และความสะดวก 2.3.4.15 เป็ น โฆษณาบริ ษั ท ฯ หรื อ องค์ ก รให้ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก ทั้ ง ในจั ง หวั ด ต่ า งจั ง หวั ด และต่างประเทศ 2.3.4.16 เป็นการยกระดับมาตรฐานการซื้อขายภายในประเทศ


2.4 เว็บเซิร์ฟเวอร์ 2.4.1 ความหมายของเว็บเซิร์ฟเวอร์ Web server หัวใจสาคัญของทุกเว็บไซต์ที่จะต้องมี สาหรับเทคโนโลยีบนโลกไอทีที่ ต้องออนไลน์ เว็บไซต์เป็นสิ่งจาเป็นในหลายหน่วยงาน หรือองค์กร เราสามารถถ่ายทอดข่าวสารผ่าน เว็บไซต์ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลต่างๆ ความรู้ ความบันเทิง ประกาศ และการประชาสัมพันธ์ เบื้องหลังของ เว็บไซต์ต่างๆเหล่านี้ต้องทางานอยู่บนเว็บเซิฟเวอร์ เพื่อจะรัน Script ให้เราได้ดูและเข้าใจในสิ่งที่ เว็บไซต์นั้นๆสื่อให้คุณเห็น ถ้าไม่มี Web

Server

แล้วสิ่งที่เห็นบนเว็บไซต์นั้นจะเป็นแค่โค๊ตทาง

ภาษาคอมพิวเตอร์ ไม่สามารถรู้ได้ว่าเป็นอะไร และไม่น่าสนใจด้วย ซึ่ง โค๊ต หรือ script เหล่านี้เมื่อ ทางานอยู่เป็น web server แล้วเปิดใช้งานผ่าน browser จะรู้ได้ว่าเป็นอะไร Web Server คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงทาหน้าที่เป็น Server ให้บริการ World Wide Web (WWW) หรือที่รู้จักกันว่า Homepage Web server คือ บริการ HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) เพื่อให้ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูล ทั้งภาพ และเสียง จาก เครื่องบริการ ผ่าน Browser เช่นบริการ http://www.9inter.com หรือ http://localhost เป็นต้น Web Server เครื่องบริการ ที่รองรับคาร้องขอจาก Web Browser ข้อมูลที่จะ ส่งไปอาจเป็นเว็บเพ็จ text ภาพ หรือ เสียง เป็นต้น สาหรับโปรแกรมที่ได้รับความนิยม ให้นามาเปิดบริการ Web คือ Apache Web Server หรือ Microsoft Web Server เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่เป็นเครื่องบริการเว็บเพจแก่ผู้ ร้องขอ ด้วยโปรแกรมประเภทเว็บบราวเซอร์ (Web Browser) ที่ร้องขอข้อมูลผ่านโปรโตคอล เฮชทีทีพี (HTTP = Hyper Text Transfer Protocol) เครื่องบริการจะส่งข้อมูลให้ผู้ร้องขอในรูปของ ข้อความ ภาพ เสียง หรือสื่อผสม เครื่องบริการเว็บเพจมักเปิดบริการพอร์ท 80 (HTTP Port) ให้ผู้ร้อง ขอได้เชื่อมต่อและนาข้อมูลไปใช้ เช่น โปรแกรมอินเทอร์เน็ตเอ็กโพเลอร์ (Internet Explorer) หรือ ฟายฟร็อก (FireFox Web Browser) การเชื่อมต่อเริ่มด้วยการระบุที่อยู่เว็บเพจที่ร้อง เช่น ย หรือ http://www.9inter.com เป็นต้น โปรแกรมที่นิยมใช้เป็นเครื่องบริการเว็บ คือ อาปาเช่ (Apache Web Server) หรือไมโครซอฟท์ไอไอเอส (Microsoft IIS = Internet Information Server) ส่วน บริการที่นิยมติดตั้งเพิ่ม เพื่อเสริมความสามารถของเครื่องบริการ เช่น ตัวแปลภาษาสคริปต์ ระบบ ฐานข้อมูล ระบบจัดการผู้ใช้ และระบบจัดการเนื้อหา เป็นต้น


Web browser คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลและโต้ตอบกับ ข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บ ในหน้าเวบที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษา HTML ที่จัดเก็บไว้ที่ระบบ บริการเว็บหรือ web server หรือ ระบบคลังข้อมูลอื่นๆ โดยโปรแกรมค้นดูเว็บเปรียบเสมือนสื่อใน การติดต่อกับเครือข่าย หรือ Network ขนาดใหญ่ที่เรียกว่า world wide web หากเรามองย้อนกลับไปซักไม่กี่ปีที่ผ่านมาใครจะไปคาดคิดว่าเว็บมันจะเติบโตและ ได้รับความนิยม สูงมากขนาดนี้ ทุกวันนี้หลายๆ คนคงขาดเว็บไม่ได้ เหตุผลที่เว็บประสบผลสาเร็จก็คง เป็นเพราะเหตุผลเพียงไม่กี่อย่างคือ ความสะดวก และใช้งานง่าย ในฝั่งผู้ให้บริการ (ผ่านเว็บ) ก็จะมอง ว่าถ้ามีเว็บเซอร์เวอร์ ก็ขายสินค้าได้ทั่วโลก ในฝั่งผู้ใช้งาน ขอให้คุณเลื่อนเมาส์กับใช้ keyboard เป็น คุณก็ติดต่อ ค้นหา ซื้อของ ได้ทั่วโลก ในมุมมองของ Software เว็บก็ทาหน้าที่อยู่ 3 อย่างคือ GET POST และก็ PUT ในเรื่องของ Web Service ก็คือการใช้ Web ที่ไม่เพียงแค่เกี่ยวกับข้อมูลอย่าง เดียว แต่หมายถึงการบริการด้วย คาว่า Service ไม่ได้หมายถึงอะไรที่เด่นชัดอย่าง Sanook.com Pantip.com แต่ หมายถึงส่วนประกอบที่คนอื่นๆนาไปใช้ในการทาบริการที่กว้างกว่านี้ด้วย ตัวอย่างเช่น Microsoft Passport ที่ให้บริการตรวจสอบความเป็นตัวตนจริง (Authentication) ผ่านเว็บ ทาให้การบริการ ข่าวของ Bangkok Post ไม่ต้องตรวจสอบการเข้าสู่ระบบเอง แต่ยกให้ Passport เป็นตัวจัดการแทน หรืออย่าง Dynamic services whitepaper ของ Oracle ก็มีส่วนที่ให้บริการ แปลงค่าเงิน แปลภาษา การส่งของ กระบวนการเคลมสินค้า เป็นต้น ส่วนความหมายอย่างเป็นทางการของ Web Service ก็คงเป็นของ IBM ที่กล่าวว่า เว็บเซอวิส คือ Web Application ยุคใหม่ ที่ประกอบด้วยส่วนย่อยๆมีความ สมบูรณ์ในตัวเอง สามารถติดตั้ง ค้นหา เริ่มทางานได้ผ่านเว็บ Web Service สามารถทาอะไรก็ได้ ตั้งแต่งานง่ายๆ เช่นดึงข้อมูล จนถึงกระบวนการทางธุรกิจที่ซับซ้อน เมื่อ Web Service ตัวใดตัวหนึ่ง เริ่มทางาน Web Service ตัวอื่นก็สามารถรับรู้และเริ่มทางานได้ ทุกท่านอาจจะมีคาถามว่าทาไมต้องเป็น Web เพราะเรามี Middle Ware อื่นๆ มากมายเช่น RMI Jini CORBA DCOM ฯลฯ แม้ Middle Ware เหล่านี้จะสามารถรองรับได้ แต่ไม่มี ตัวใดตัวหนึ่งที่เด่นจริง แต่ในเมื่อ Web มีจุดเด่นในเรื่องของการให้บริการข้อมูลที่สะดวก ใช้งานง่าย จึงกลายเป็นตัวประสาน Middle Ware ต่างๆ เข้าด้วยกันซึ่งจะให้คุยกันเองคงยากยิ่ง Web ทาหน้าที่ เป็นตัวกลางให้ Middle Ware เหล่านี้สามารถคุยกันได้ และมีประสิทธิภาพกว่าวิธีการเดิมๆ มาก


หากเรามองจากกรณีของ n-tier application จะพบว่า web service คือกลไกใน การเข้าถึงบริการที่แต่ละ Middle Ware ให้บริการ การเข้าถึงจะอาศัย Listener และส่วนประกอบที่ ระบุถงึ บริการต่างๆ ที่รองรับการทางาน โดยการทางานจริงๆ นั้นก็ใช้วิธีการปกติของ Middle Ware 2.4.2 พื้นฐานของ Web Service พื้นฐานของ Web Service ก็คือ XML กับ HTTP ซึ่งจะพบว่า HTTP ก็เป็นที่รู้จักกันดี และไปได้ทั่วทุกแห่งที่มี interner ส่วน XML คือภาษาสากลที่คุณสามารถปรับแต่งได้ตามใจชอบ เพื่อให้เกิดกิจกรรมระว่าง client

และบริการ หรือระหว่างส่วนประกอบต่างๆ เบื้องหลัง Web

server ก็คือ ข้อความ XML จะถูกแปลงให้การขอบริการจาก Middle ware และผลที่ได้ก็จะแปลง กลับมาในรูป XML ยกตัวอย่างให้เห็นง่ายๆ คุณต้องการให้เครื่อง PC อ่านค่าจาก serial port แล้วส่งไป ประมวลผลบนเครื่อง UNIX แล้วส่งผลกลับมาแสดงบนจอ PC ถ้าเป็นเมื่อก่อน คุณก็คงต้องแปลง ข้อมูลที่ได้ให้อยู่ในรูปของ ASCII แล้วส่งไปยัง UNIX พร้อมคาสั่งว่าให้ทาอะไร ในฝั่ง UNIX คุณก็ต้อง มาแยกว่าอันไหนคือคาสั่ง อันไหนคือข้อมูล เมื่อประมวลผลแล้ว จะส่งกลับมาในรูปแบบไหน แล้วถ้า หากจะส่งไปหาเครื่องที่เป็น MAC ท่านจะต้องเขียนโปรแกรมเพิ่มในส่วนไหนบ้าง จะพบว่าเราต้อง พัฒนากันเป็นคู่ๆ ไป และต้องนิยามในแต่ละฝั่งให้ชัดเจน แต่หากเป็น Web Service คุณจะพบว่า เราแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูป XML แต่ละคุณก็ต้องการรู้แค่ มาตรฐาน XML ก็พอ แล้วต่างคนต่างก็ เขียน Service ของตัวเอง ไม่ต้องกังวลเรื่องของการเชื่อมโยงอีกต่อไป และ Protocol ที่ส่งก็คือ HTTP นั่นเอง ถ้าท่านเชื่อมโยงกับ HTTP (หรือเว็บ) ได้ ท่านก็ใช้บริการทุกอย่างได้ ปแต่เดี๋ยวก่อนการเข้าถึงและการสั่งงานนั้นยังเป็นเพียงโครงสร้างพื้นฐาน แต่ในความเป็นจริงยังมี อะไรมากกว่านั้น เช่น การค้นหา การทาธุรกรรม ความปลอดภัย การพิสูจน์ตัวตน และอื่นๆ อันเป็น บริการที่ทาให้เป็นบริการพื้นฐานจริงๆ ระบบเพิ่มเติมที่ต้องมีและต้องรักษาความสะดวกและใช้งานง่ายไว้ด้วย พื้นฐานของ Web Service เต็มรูปแบบคือ XML + HTTP + SOAP + WSDL + UDDI หรือในระดับสูงกว่านั้น แต่ไม่ได้ ถือเป็นสิ่งจาเป็นเสมอไปคือต้องเพิ่มเทคโนโลยี XAML, XLANG, XKMS, XFS เป็นต้น


2.4.3 ประวัติของเซิร์ฟเวอร์ Apache พัฒนามาจาก HTTPD Web Server ที่มีกลุ่มผู้พัฒนาอยู่ก่อนแล้ว โดย ร็อบ แม็คคูล (Rob McCool) ที่ NCSA (National Center for Supercomputing Applications) มหาวิทยาลัย อิลลินอยส์ เออร์แบนา-แชมเปญจน์ สหรัฐอเมริกา แต่หลังจากที่ แม็คคูล ออกจาก NCS และหันไปให้ ความสนใจกับโครงการอื่นๆ มากกว่าทาให้ HTTPD เว็บเซิร์ฟเวอร์ ถูกปล่อยทิ้งไม่มีผู้พัฒนาต่อ แต่ เนื่องจากเป็นซอร์ฟแวร์ที่อยู่ภายใต้ลิขสิทธิ์ กนู คือ ทุกคนมีสิทธิ์ที่จะนาเอาซอร์สโค้ดไปพัฒนาต่อได้ ทาให้มี ผู้ ใ ช้กลุ่ ม หนึ่งได้พัฒนาโปรแกรมขึ้นมาเพื่ออุดช่องโหว่ ที่มี อยู่ เดิม (หรือ แพช) และยังได้ รวบรวมเอาข้อมูลการพัฒนา และการแก้ไขต่างๆ แต่ข้อมูลเหล่านี้อยู่ตามที่ต่างๆ ไม่ได้รวมอยู่ในที่ที่ เดียวกัน จนในที่สุด ไบอัน บีเลนดอร์ฟ (Brian Behlendorf) ได้สร้างจดหมายกลุ่ม (mailing list) ขึ้นมาเพื่อนาเอาข้อมูลเหล่านี้เข้าไว้เป็นกลุ่ มเดียวกัน เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้ได้ง่ายยิ่งขึ้น และในที่สุด กลุ่มผู้พัฒนาได้เรียกตัวเองว่า กลุ่มอาปาเช่ (Apache Group) และได้ปล่อยซอฟต์แวร์ HTTPD เว็บเซิร์ฟเวอร์ ที่พัฒนาโดยการนาเอาแพชหลายๆ ตัวที่ผู้ใช้ได้พัฒนาขึ้นเพื่อปรับปรุงการ ทางาน ของซอฟ์ตแวร์ตัวเดิมให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2539 Apache ได้รับความนิยมขึ้นเรื่อยๆ จนปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอันดับ หนึ่ง ผู้ใช้งาน อยู่ประมาณ 65% ของเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการอยู่ทั้งหมด ประเภทของเซิร์ฟเวอร์ ประเภทของเซิร์ฟเวอร์ โดยปกติจะแบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ File Server , Print Server , Database Server , Application Server การแบ่งออกเป็น 4 ประะเภทนั้น แบ่งตามลักษณะการใช้ งาน คือ เก็บ-บริการไฟล์ บริการ/บริหาร งานพิมพ์ เก็บและบริการฐานข้อมูล และบริการ/บริหาร ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ส่วน Mail Server, Internet Server หรือประเภทอื่นๆที่มีการเรียกชื่อนั้น เกิด จากการนาเอาเซิร์ฟเวอร์มากกว่า 2 ประเภทมารวมกันในตัวเดียว 2.4.4.1. File Server เป็นเซิร์ฟเวอร์ที่มีหน้าที่จัดเก็บไฟล์ โดยการจัดเก็บไฟล์จะทาเสมือนเป็น ฮาร์ดดิสก์รวมศูนย์ (Centerized disk storage) เสมือนว่าผู้ใช้งานทุกคนมีที่เก็บข้อมูลอยู่ที่เดียว เพราะควบคุม-บริหารง่าย การสารองข้อมูล การ Restore

ง่าย ข้อมูลดังกล่าวสามารถ Shared

ให้กับ Client ได้ โดยส่วนมากข้อมูลที่อยู่ใน File Server คือ โปรแกรมและข้อมูล (Personal Data File) โดยปกติแล้วเซิร์ฟเวอร์ไม่มีหน้าที่ต้องประมวลข้อมูลเหล่านี้ เป็นเพียงแหล่งเก็บข้อมูล กล่าว ง่ายๆ ก็คือ File Server ทาหน้าเสมือน Input/Output สาหรับไฟล์ การทางานของเซิร์ฟเวอร์ที่เป็น


File Server นั้น ในทางเทคนิคแล้วยังไม่เรียกว่าเป็น "Client/Server" เพราะไม่มีการแบ่งโหลดการ ทางานระหว่างไคลเอ็นต์กับเซิร์ฟเวอร์ แต่หน้าที่ที่ File Server จะต้องจัดการคือ มี NOS (Network Operating System) ที่ดูแลเกี่ยวกับการ "เข้าถึง" ไฟล์ ต้องมีกระบวน "Lock" ไว้ ไม่ให้เกิดความซ้า ซ้อนในการแก้ไขไฟล์ เช่น ขณะที่ผู้ใช้งานคนที่ 1 เปิด ไฟล์ A และกาลังแก้ไข (edit) อยู่ ผู้ใช้งานคนที่ สองจะเปิดไฟล์ A เพื่อแก้ไขไม่ได้ (แต่เปิดเพื่ออ่าน Read Only ได้) แต่ถ้าหากข้อมูลนั้นเป็น Database แทนที่ไฟล์หรือฐานข้อมูลทั้งฐานข้อมูลจะถูก Lock กระบวนการ Lock ก็อาจจะเกิด เฉพาะ Record (Row) นีเ้ ป็นหน้าที่ของ NOS และ Application ที่ใช้งาน 2. Print Server หนึ่งเหตุผลที่ต้องมี Print Server ก็คือ เพื่อแบ่งให้พรินเตอร์ราคาแพงบางรุ่นที่ ออกแบบมาสาหรับการทางานมากๆ เช่น HP Laser 5000 พิมพ์ได้ 10 - 24 แผ่นต่อนาที พรินเตอร์ ประเภทนี้ ความสามารถในการท างานสูง ถ้าหากซื้ อ มาเพื่อใช้ งานเพียงคนเดียว แต่ละวันพิม พ์ 50 แผ่น ก็ไม่คุ้มค่า ดังนั้นจึงต้องมีกระบวนการจัดการแบ่งปันพรินเตอร์ดังกล่าวให้กับผู้ใช้ทุกๆ คนใน สานักงาน หน้าที่ในการแบ่งปัน ก็ประกอบด้วย การจัดคิว ใครสั่งพิมพ์ก่อน การจัดการเรื่อง File Spooling เป็นของเซิร์ฟเวอร์ ที่มีชื่อว่า Print Server โดยส่วนใหญ่ในองค์กร น้อยองค์กรที่จะซื้อ เซิร์ฟเวอร์มาเพื่อใช้สาหรับเป็น Print Server โดยเฉพาะ แต่จะใช้วิธีเอาเซิร์ฟเวอร์ที่ซื้อมาเพื่อเป็น File Server , Data Base server ทาเป็น Print Server ไปด้วย 3. Database Server Database Server หมายถึง เซิร์ฟเวอร์ที่มีไว้เพื่อรันระบบที่เป็น ฐานข้อมูล DBMS (DataBase Managment System ) เช่น SQL , Informix เป็นต้น โดยภายใน เซิร์ฟเวอร์ที่มีทั้งฐานข้อมูลและตัวจัดการฐานข้อมูล ตัวจัดการฐานข้อมูลในที่นี้หมายถึง มีการแบ่งปัน การประมวลผล โดยผ่านทางไคลเอ็นต์ 4. Application Server Application Server คือ เซิร์ฟเวอร์ที่รันโปรแกรมประยุกต์ได้ด้วย โดยการทางานสอดคล้องกับไคลเอ็นต์ เช่น Mail Server (รัน MS Exchange Server) Proxy Server (รัน Proxy Server) หรือ Web Server (รัน Web Server Program เช่น Xitami , Apache' ) ซึ่งการให้บริการของ ThaiforexVPS จะจัดอยู่ใน Server ประเภท Application Server


หลักการทางานของเว็บบราวเซอร์ หลักการทางานของบริการ WWW นี้จะมีลักษณะเช่นเดียวกับบริการอื่นๆ ของอินเตอร์เน็ต คืออยู่ในรูปแบบไคลเอ็นต์ - เซิร์ฟเวอร์ (Client - Server) โดยมีโปรแกรมเว็บไคลเอ็นต์ (Web client) ทาหน้าที่เป็นผู้รับรองขอบริการ และมีโปรแกรมเว็บไซต์ (web server) ทาหน้าที่เป็นผู้ ให้บริการ โปรแกรมเว็บไคลเอ็นต์ก็คือโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (web browser) นั้นเอง สาหรับ โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์นั้นจะถูกติดตั้งไว้ในเครื่องของผู้ให้บริการเว็บไซต์ การติดต่อระหว่างโปรแกรม เว็บบราวเซอร์กับโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์จะกระทาผ่านโปรโตคอล HTTP (Hypertext Transfer Protocol) กลไกลการทางานของเว็บเพจ สาหรับเว็บเพจธรรมดาที่ปกติมีนามสกุลของไฟล์เป็น HTM หรือ HTML นั้น เมื่อเราใช้เว็บ บราวเซอร์เปิดดูเว็บเพจใด เว็บเซิร์ฟเวอร์ก็จะส่งเว็บเพจนั้นกลับยังบราวเซอร์ จากนั้นบราวเซอร์จะ แสดงผลไปตามคาสั่งภาษา MTML (Hypertext Markup Language) ที่อยู่ในไฟล์จะเห็นได้ว่าเว็บ เพจที่มีลักษณะ STATIC คือ ผู้ใช้จะพบกับเว็บเพจหน้าเดิมๆทุกครั้งจนกว่าผู้ดูแลเว็บเพจนั้นจะทาการ ปรับปรุงเว็บเพจนั้น อันนี้คือข้อจากัดที่มีต้นเหตุมาจากภาษา MTML สามารถกาหนดให้เว็บเพจมี หน้าตาอย่างเราได้ แต่ไม่ช่วยให้เว็บเพจมี “ความฉลาด”ได้ 1. องค์ประกอบพื้นฐานของ Web Server พื้นฐานของ Web Service คือ XML และส่วนใหญ่จะใช้ HTTP แต่อาจจะใช้อินเตอรเนตโพรโท คลออื่นอย่างเช่น SMTP หรือ FTP ก็ได้ แต่จะพบว่า HTTP ก็เป็นที่รู้จักกันดี และไปได้ทั่วทุกแห่งที่มี internet ส่วน XML คือภาษาสากลที่คุณสามารถปรับแต่งได้ตามใจชอบ เพื่อให้เกิดกิจกรรมละว่าง client และบริการ หรือ ระหว่างส่วนประกอบต่างๆ เบื้องหลัง Web serverก้อคือข้อความ XMLจะ ถูกแปลงให้การขอบริการจาก Middle ware และผลที่ได้ก็จะแปลงกลับมาในรูป XML


2. ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบรักษาความปลอดภัยของเซิร์ฟเวอร์( Server Security) ระบบรักษาความปลอดภัยภาใน Server ที่ทางบริษัทฯให้บริการอยู่นั้นประกอบด้วยหลายปัจจัย โดยจะอธิบายราละเอียดในแต่ละ ขั้นตอนดังนี้ (ดูภาพประกอบคาอธิบาย)

ภาพที่ 2-18 ระบบรักษาความปลอดภัย 2.1 ใช้ระบบ Firewall เมื่อ User มีการเรียกใช้ข้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ตไปยังเว็บไซต์ใดๆที่ฝากไว้ในเครื่อง Server

ของเราจะผ่านการตรวจสอบจากไฟล์วอลล์ ทีกั้นระหว่างอินเตอร์เน็ตกับระบบเน็ตเวิร์ค

ภายใน โดยไฟล์วอลล์จะทาหน้าที่ควบคุมการเข้าถึงเน็ตเวิร์คภายในที่เราต้องการจะป้องกันการ ควบคุมการเข้าถึงของไฟล์วอลล์ นั้นสามารถทาได้ในหลายรูปแบบขึ้นอยู่ชนิดหรือเทคโนโลยีของไฟล์ วอลล์ที่มาใช้ 2.2 โปรแกรม Virus Scan&Spam Filltering เมื่อข้อมูลสามารถส่งผ่านไฟล์วอลล์แล้ว ก็จะถูกส่งต่อไปยังโปรแกรม Virus

Scan

และระบบกรองอีเมลล์ขยะหรือที่เรียกว่า Spam filtering 2.3 หากผู้ใช้ระบบมีการติดตั้ง SSL Certificate ซึ่งเป็นระบบรับรองความปลอดภัยของเว็บไซต์อีกหนึ่งเพื่อเป็นการยืนยันความมีตัวตนของ เจ้าของเว็บไซต์ โดยจะมีการเข้ารหัสเพื่อรับ ส่งข้อมูลผ่านเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เพื่อป้องกันข้อมูลสูญหาย ระหว่างระบบเน็ตเวิร์คออนไลน์ภายนอกกับระบบเน็ตเวิร์คภายในเชิงเซิร์ฟเวอร์ สาหรับการตัดสินใจ


เลือกใช้ SSL หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับความสาคัญของข้อมูลที่ต้องการรับ ส่งผ่านอินเตอร์เน็ตว่าต้องการ ความปลอดภัยมากน้อยแค่ไหนหากเป็นข้อมูลสาคัญก็ควรส่งผ่านระบบ SSL 2.4 ระบบ Brute Force Protection การจัดการ Server ในส่วนของการ Login เข้าสู่ระบบจัดการมีการตั้งค่า Security เพื่อ เข้ารหัสก่อนการเข้าถึงข้อมูลในส่วนต่างๆ 2.5 การใช้ระบบ RAID 1 (Redundant Array of Inexpensive Disks) RAD-1 เป็ น การบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ลงบนตั ว ฮาร์ ด ดิ ส ก์ ทั้ ง สองตั ว พร้ อ มๆกั น และเป็ น ข้ อ มู ล เดียวกันเพื่อสารองข้อมูลให้ปลอดภัยในกรณีที่ ฮาร์ดดิสก์ตัวใดตัวหนึ่งในอะเรย์เสีย ฮาร์ดดิสก์อีกตัว จะทาหน้าที่เป็นตัวกระจกเงา (Mirror) ซึ้งมีข้อมูลเหมือนกันทุกอย่าง ก็จะทาหน้าที่แทนในทันทีทันใด 2.6 การรักษาความปลอดภัยในระบบเว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server Security) 2.7 มีการ Back-up Server แบบ Daily Back-up สามารถมั่นใจได้ว่าข้อมูลใน Server จะไม่สูญหาย ในกรณีที่เกิดปัญหากับ Hardware ด้วย บริการ Back-up ข้อมูลอันสาคัญยิ่งก็จะมายังฮาร์ดิสก์สารองด้วย Script back-up database แบบ อัตโนมัติทุกๆวัน 2.8 ระบบสารองข้อมูลด้วยตนเอง ในส่วนของผู้ดูแลหรือจัดการ Hosting สามารถ Login เข้าไปใน Cpanel เพื่อทาการ Back-up ข้อมูลทั้งในเว็บไซต์ หรือฐานข้อมูลต่างๆได้ด้วยตนเอง 2.5 ระบบฐานข้อมูล 2.5.1 ความหมายของระบบฐานข้อมูล ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน นามาเก็บรวบรวม เข้าไว้ด้วยกันอย่างมีระบบและข้อมูลที่ประกอบกันเป็นฐานข้อมูลนั้น ต้องตรงตามวัตถุประสงค์การใช้ งานขององค์กรด้วยเช่นกัน เช่น ในสานักงานก็รวบรวมข้อมูล ตั้งแต่หมายเลขโทรศัพท์ของผู้ที่มา ติดต่อจนถึงการเก็บเอกสารทุกอย่างของสานักงาน ซึ่งข้อมูลส่วนนี้จะมีส่วนที่สัมพันธ์กันและเป็นที่ ต้องการนาออกมาใช้ประโยชน์ต่อไปภายหลัง ข้อมูลนั้น อาจจะเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของสถานที่ หรือ เหตุการณ์ใ ด ๆ ก็ได้ที่เราสนใจศึกษา หรืออาจได้มาจากการสังเกต การนับหรือการวัดก็เป็นได้ รวมทั้งข้อมูลที่เป็นตัวเลข ข้อความ และรูปภาพต่าง ๆ ก็สามารถนามาจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลได้ และ ที่สาคัญข้อมูลทุกอย่างต้องมีความสัมพันธ์กัน เพราะเราต้องการนามาใช้ประโยชน์ต่อไปในอนาคต


http://mpnn2551.net46.net/Subjects/DBMS32042014/dataBaseIntro.html ระบบฐานข้อมูล งานในองค์การไม่ว่าจะเป็นองค์การขนาดเล็ก ขนาดกลาง หรือขนาดใหญ่ ต่างก็ต้องมีข้อมูลของ การทางาน หรือข้อมูลทางธุรกิจในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นอาจมีทั้งข้อมูลพนักงาน ข้อมูล ลู ก ค้ า ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ความลั บ ทางธุ ร กิ จ เป็ น ต้ น นอกจากนั้ น ข้ อ มู ล ขององค์ ก ารดั ง กล่ า วยั ง อาจมี ความสาคัญมากน้อยต่างกัน มีผู้ใช้ข้อมูลเฉพาะกลุ่ม หรือทุกกลุ่มได้ตามความจาเป็นและตามลาดับ ชั้นความลับ สิ่งสาคัญคือ ข้อมูลขององค์การหนึ่งย่อมมีความเกี่ยวข้องกันและควรที่จะนามารวมไว้ใน “ฐานข้อมูล” (Database) ความหมาย มี ค าอธิ บายความหมายของ “ฐานข้ อ มูล ”

อยู่ มากมายหลายคามหมาย ตั ว อย่ า งเช่ น

ฐานข้อมูลอาจถือได้ว่าเป็นตู้เก็บเอกสารอิเล็กทรอนิคส์ชนิดหนึ่ง เช่น เป็นที่รวมหรือเป็นที่บรรจุ แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง เป็นต้น (A database can be regarded as a kind of electronic filing cabinet.) ฐานข้อมูลเป็นชุดของข้อมูลที่คงทน (Persistent Data) ซึ่งถูกเรียกใช้โดยระบบโปรแกรมของ กิจการใดกิจการหนึ่ง (A database is a collection of persistent data that is used by the application systems of some given enterprise.) ข้อมูลจะคงทนอยู่ในฐานข้อมูลเพราะ เมื่ อ ระบบจั ด การฐานข้ อ มู ล รั บ ข้ อ มู ล นั้ น เข้ า สู่ ฐ านข้ อ มู ล แล้ ว ใครจะขจั ด หรื อ เอาข้ อ มู ล ออกไป จากฐานข้ อ มู ล ได้ ต้ อ งมี ก ารร้ อ งขอต่ อ ระบบจั ด การฐานข้ อ มู ล เท่ า นั้ น ตั ว อย่ า งข้ อ มู ล ที่ ค งทน ในฐานข้อมูล เช่น กิจการ บริษัทผู้ผลิตสินค้า ธนาคาร โรงพยาบาล มหาวิทยาลับ หน่วยราชการ

ข้อมูลคงทน ข้อมูลผลิตภัณฑ์ ข้อมูลบัญชี ข้อมูลผู้ป่วย ข้อมูลนักศึกษา ข้อมูลการวางแผน


ฐานข้อมูล หมายถึง แหล่งที่ใช้สาหรับเก็บรวบรวมข้อมูลซึง่ อยู่ในรูปแฟ้มข้อมูลมารวมไว้ที่เดียวกัน รวมทั้งต้องมีส่วนของพจนานุกรมข้อมูล (data dictionary) เก็บคาอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างของ ฐานข้อมูล และเนือ่ งจากข้อมูลที่จัดเก็บนั้นต้องมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทาให้สามารถสืบค้น (retrieval) แก้ไข (modified) ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ข้อมูล (update) และจัดเรียง (sort) ได้สะดวกขึ้นโดยในการกระทาการดังที่กล่าวมาแล้ว ต้องอาศัยซอฟต์แวร์ประยุกต์สาหรับจัดการ ฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูล หมายถึง ระบบการรวบรวมแฟ้มข้อมูลหลายๆ แฟ้มข้อมูลเข้าด้วยกัน โดยขจัด ความซ้าซ้อนของข้อมูลออก แล้วเก็บข้อมูลไว้ที่ศูนย์กลาง เพื่อการใช้งานร่วมกันในองค์กร ภายใน ระบบต้องมีส่วนที่เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่สร้างขึ้นเพื่อเชื่อมโยงและใช้งานข้อมูลในฐานข้อมูล (database) และจะต้องมีการดูแลรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเหล่านั้น มีการกาหนดสิทธิของ ผู้ใช้งานแต่ละคนให้แตกต่างกัน ตามแต่ความต้องการในการใช้งาน จากความหมายที่กล่าวมาข้างต้น ระบบฐานข้อมูลจะประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลจานวนหลายๆ แฟ้ม ดังตัวอย่างในรูป แฟ้มข้อมูลเหล่านี้ต้องมีการจัดระบบแฟ้มไว้อย่างดี กล่าวคือ ข้อมูลในแฟ้มข้อมูล เดียวกันต้องไม่มีการซ้าซ้อนกัน แต่ระหว่างแฟ้มข้อมูลอาจมีการซ้าซ้อนกันได้บ้าง และต้องเปิดโอกาส ให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูล และค้นหาได้ง่าย นอกจากนี้ยังสามารถ เพิ่มเติม หรือลบออกได้โดยไม่ทา ให้ข้อมูลอื่นเสียหาย ประวัติความเป็นมาของระบบการจัดการฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูลเริ่มต้นจากการที่องค์การบริหารการบินและอวกาศสหรัฐอเมริกา หรือนา ซาได้ว่าจ้างบริษัทไอบีเอ็ม (IBM) ประเทศสหรัฐอเมริกา ให้ออกแบบระบบเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จาก การสารวจดวงจันทร์ในโครงการอะพอลโล (โครงการอะพอลโลเป็นโครงการสารวจอวกาศอย่างจริงจัง และมีการส่งมนุษย์ขึ้นบนดวงจันทร์ได้สาเร็จด้วยยานอะพอลโล 11) ได้พัฒนาระบบการดูแลข้อมูล เรียกว่า ระบบ GUAM ( Generalized Upgrade Access Method) ซึ่งถือเป็นต้นกาเนิดของระบบ การจัดการฐานข้อมูล ต่อมาบริษัท ไอบีเอ็ม ได้พัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลขึ้นมาใหม่เพื่อให้ใช้งานกับธุรกิจทั่วๆ ไปได้ เรียกว่า DL/I (Data Language/I ) จนในที่สุดก็ได้กลายมาเป็นระบบ IMS ( Information Management System)


ในช่วงปี พ.ศ. 2525 มีการนาระบบฐานข้อมูลเข้ามาใช้กับคอมพิวเตอร์อย่างเต็มที่ ได้มีการ คิ ด ค้ น และผลิ ต ซอฟต์ แ วร์ เ กี่ ย วกั บ ฐานข้ อ มู ล ออกมามากมาย การเจริ ญ เติ บ โตของการจั ด การ ฐานข้อมูลรุดหน้าไปอย่างรวดเร็วพร้อมกับระบบคอมพิวเตอร์และมีการพัฒนามาจนถึงทุกวันนี้ ปัจจุบันได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเก็บข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทั่วไปโดยที่ผู้ ใช้ ไม่ต้องเขียนโปรแกรมเอง เพียงแต่เรียนรู้คาสั่งการเรียกใช้ข้อมูลหรือการจัดการข้อมูล เช่น การป้อน ข้อมูล การบันทึกข้อมูล การแก้ไขและเปลี่ยนแปลงข้อมูล เป็นต้น ในอดีตยุคที่มีไมโครคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นแรกๆ โปรแกรมสาเร็จรูปทางด้านการจัดการฐานข้อมูล ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ Personal Filling System) ต่อมาได้มีโปรแกรมฐานข้อมูลเพิ่มขึ้น หลายโปรแกรม เช่น Datastar DB Master และ dBASE II เป็นต้นโดยเฉพาะโปรแกรม dBASE II ได้รับความนิยมมาก จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2528 ผู้ผลิตได้สร้าง dBASE III Plus ออกมาซึ่งสามารถ จัดการฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (relational) เชื่อมโยงแฟ้มข้อมูลต่างๆ เข้าด้วยกัน ค้นหา และนามา สร้างเป็นรายงานตามความต้องการได้สะดวก รวดเร็ว ต่อมาได้มีการสร้าง โปรแกรมสาเร็จรูปเกี่ยวกับ ฐานข้อมูลออกมา เช่น FoxBASE, FoxPro, Microsoft Access และ Oracle เป็นต้น

องค์ประกอบของระบบการจัดการฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลประกอบด้วยส่วนสาคัญหลักๆ 5 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล กระบวนการทางาน และบุคลากร ดังรายละเอียดต่อไปนี้


ภาพที่ 2-19 องค์ประกอบของระบบการจัดการฐานข้อมูล 3.1 ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลและ ประมวลผลข้อมูล ซึ่งอาจประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่หนึ่งเครื่องขึ้นไป หน่วยเก็บข้อมูล สารอง หน่วยนาเข้าข้อมูล และหน่วยแสดงผลข้อมูล นอกจากนี้ยังต้องมีอุปกรณ์การสื่อสารเพื่อ เชื่อมโยงอุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ เป็นต้น โดยเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่จะใช้เป็นอุปกรณ์สาหรับประมวลผลข้อมูลในฐานข้อมูลนั้น สามารถเป็นได้ตั้งแต่เครื่อง เมนเฟรมคอมพิ ว เตอร์ มิ นิ ค อมพิ ว เตอร์ หรื อ ไมโครคอมพิ ว เตอร์ ซึ่ ง ถ้ า เป็ น เครื่ อ ง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์หรือมินิคอมพิวเตอร์ จะสามารถใช้ต่อกับเทอร์มินัลหลายเครื่อง เพื่อให้ผู้ใช้งาน ฐานข้อมูลหลายคน สามารถดึงข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูลภายในฐานข้อมูลเดียวกันพร้อมกันได้ ซึ่งเป็น ลักษณะของการทางานแบบมัลติยูสเซอร์ (multi user) ส่วนการประมวลผลฐานข้อมูลในเครื่องระดับไมโครคอมพิวเตอร์ สามารถทาการประมวลผล ได้ 2 แบบ แบบแรกเป็นการประมวลผลฐานข้อมูลในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียว โดยมี ผู้ใช้งานได้เพียงคนเดียวเท่านั้น (single user) ที่สามารถดึงข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูลภายใน ฐานข้อมูลได้ สาหรับแบบที่สองจะเป็นการนาไมโครคอมพิวเตอร์หลายตัวมาเชื่อมต่อกันในลักษณะ ของเครือข่ายระยะใกล้ (Local Area Network : LAN) ซึ่งเป็นรูปแบบของระบบเครือข่ายแบบ ลูกข่าย / แม่ข่าย (client / server network) โดยจะมีการเก็บฐานข้อมูลอยู่ที่เครื่องแม่ข่าย (server) การประมวลผลต่างๆ จะกระทาที่เครื่องแม่ข่าย สาหรับเครื่องลูกข่าย (client) จะมีหน้าที่ดึง ข้อมูลหรือส่งข้อมูลเข้ามาปรับปรุงในเครื่องแม่ข่าย หรือคอยรับผลลัพธ์จากการประมวลผลของเครื่อง แม่ ข่ า ย ดั ง นั้ น การประมวลผลแบบนี้ จึ ง เป็ น การเปิ ด โอกาสให้ ผู้ ใ ช้ ง านหลายคนสามารถใช้ ง าน ฐานข้อมูลร่วมกันได้ ระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพดีต้องอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง คือ สามารถเก็บข้อมูลได้จานวนมากและประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว เพื่อรองรับการทางานจากผู้ใช้หลาย คน ที่อาจมีการอ่านข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูลพร้อมกันในเวลาเดียวกันได้ 3.2 ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง โปรแกรมที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล ซึ่งมีการ พัฒนาเพื่อใช้งานได้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์จนถึงเครื่องเมนเฟรม ซึ่งโปรแกรมแต่ละตัวจะมี คุณสมบัติการทางานที่แตกต่างกัน ดังนั้นในการพิจารณาเลือกใช้โปรแกรม จะต้องพิจารณาจาก คุณสมบัติของโปรแกรมแต่ ละตัวว่ามีความสามารถทางานในสิ่งที่เราต้องการได้หรือไม่ อีกทั้งเรื่อง ราคาก็เป็นเรื่องสาคัญ เนื่องจากราคาของโปรแกรมแต่ละตัวจะไม่เท่ากัน โปรแกรมที่มีความสามารถ สูงก็จะมีราคาแพงมากขึ้น นอกจากนี้ยังต้องพิจารณาว่าสามารถใช้ร่วมกับฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์


ระบบปฏิบัติก ารที่ เรามี อยู่ได้หรือไม่ ซึ่งโปรแกรมที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล ได้แก่ Microsoft Access, Oracle, Informix, dBase, FoxPro, และ Paradox เป็นต้น โดยโปรแกรมที่เหมาะสาหรับ ผู้เริ่มต้นฝึกหัดสร้างฐานข้อมูล คือ Microsoft Access เนื่องจากเป็นโปรแกรมใน Microsoft Office ตัวหนึ่ง ซึ่งจะมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว และการใช้งานก็ไม่ยากจนเกินไป แต่ผู้ใช้งาน ต้องมีพื้นฐานในการออกแบบฐานข้อมูลมาก่อน 3.3 ข้อมูล (data) ระบบการจัดการฐานข้อมูลที่ดีและมีประสิทธิภาพ ควรประกอบด้วย ข้อมูลที่มีคุณสมบัติขั้นพื้นฐานดังนี้ 3.3.1 มีความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทา ให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นสาเหตุให้การตัดสินใจของ ผู้บริหารขาดความแม่นยา และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคานึงถึง กรรมวิธีการดาเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยามากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของสารสนเทศ ส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบ ระบบการจัดการฐานข้อมูลจึงต้องคานึงถึงในเรื่องนี้ด้วย 3.3.2 มีความรวดเร็วและเป็นปัจจุ บัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความ ต้องการของผู้ใช้มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์ หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้น และแสดงผลได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 3.3.3 มีความสมบูรณ์ของข้อมูล ซึ่งขึ้นอยู่กับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการปฎิบัติด้วย ในการดาเนินการจัดทาข้อมูลต้องสารวจและสอบถามความต้องการข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความ สมบูรณ์และเหมาะสม 3.3.4 มีความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการ จัดเก็บข้อมูลมาก จึงจาเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รหัส หรือย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ 3.3.5 มีความสอดคล้องกับความต้องการ ซึ่งเป็นเรื่องที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจ เพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์กร ดูสภาพการใช้ข้อมู ล ความลึกหรือความกว้างของ ขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ 3.4 กระบวนการทางาน (procedures) หมายถึง ขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ ต้อ งการ เช่ น คู่ มื อ การใช้ ง านระบบการจั ด การฐานข้ อ มู ล ตั้ ง แต่ ก ารเปิ ด โปรแกรมขึ้ น มาใช้ ง าน การนาเข้าข้อมูล การแก้ไขปรับปรุงข้อมูล การค้นหาข้อมูล และการแสดงผลการค้นหา เป็นต้น 3.5 บุคลากร (people) จาเป็นต้องเกี่ยวข้องกับระบบอยู่ตลอดเวลา ซึ่งบุคลากรที่ทาหน้าที่ ในการจัดการฐานข้อมูล มีดังต่อไปนี้


3.5.1 ผู้บริหารข้อมูล (data administrators) ทาหน้าที่ในการกาหนดความต้องการใน การใช้ข้อมู ล ข่าวสารขององค์ก ร การประมาณขนาดและอัตราการขยายตัวของข้อมูลในองค์ก ร ตลอดจนทาการจัดการดูแลพจนานุกรมข้อมูล เป็นต้น 3.5.2 ผู้บริหารฐานข้อมูล (database administrators) ทาหน้าที่ในการบริหารจัดการ ควบคุ ม ก าหนดนโยบาย มาตรการ และมาตรฐานของระบบฐานข้ อ มู ล ทั้ ง หมดภายในองค์ ก ร ตัวอย่างเช่น กาหนดรายละเอียดและวิธีก ารจั ดเก็ บข้อ มูล กาหนดควบคุ มการใช้ งานฐานข้อมู ล กาหนดระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล กาหนดระบบสารองข้อมูล และกาหนดระบบการกู้คืน ข้อมูล เป็นต้น ตลอดจนทาหน้าที่ประสานงานกับผู้ใช้ นักวิเคราะห์ระบบ และนัก เขียนโปรแกรม เพื่อให้การบริหารระบบฐานข้อมูลสามารถดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.5.3 นักวิเคราะห์ระบบ (systems analysts) มีหน้าที่ศึกษาและทาความเข้าใจใน ระบบงานขององค์กร ศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นจากระบบงานเดิม และความต้องการของระบบใหม่ที่จะ ทาการพัฒนาขึ้นมา รวมทั้งต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการทางานโดยรวมของทั้ง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์อีกด้วย 3.5.4 นักออกแบบฐานข้อมูล (database designers) ทาหน้าที่นาผลการวิเคราะห์ ซึ่งได้แก่ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการทางานในปัจจุบัน และความต้องการที่อยากจะให้มีในระบบใหม่ มาออกแบบฐานข้อมูลเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น และให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน 3.5.5 นักเขียนโปรแกรม (programmers) มีหน้าที่รับผิดชอบในการเขียนโปรแกรม ประยุกต์เพื่อการใช้งานในลักษณะต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ตัวอย่างเช่น การเก็บบันทึก ข้อมูล และการเรียกใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูล เป็นต้น 3.5.6 ผู้ใช้ (end-users) เป็นบุคคลที่ใช้ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูล ซึ่งวัตถุประสงค์หลัก ของระบบฐานข้อมูล คือ ตอบสนองความต้องการในการใช้งานของผู้ใช้ ดังนั้นในการออกแบบระบบ ฐานข้อมูลจึงจาเป็นต้องมีผู้ใช้เข้าร่วมอยู่ในกลุ่มบุคลากรที่ทาหน้าที่ออกแบบฐานข้อมูลด้วย หน้าที่ของระบบการจัดการฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลมีหน้าที่สาคัญๆ หลายอย่าง เพื่อให้เกิดความถูกต้องและสอดคล้อง กันของข้อมูลภายในฐานข้อมูล ได้แก่ 4.1 การจัดการพจนานุกรมข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทาการจัดเก็บนิยามของ ข้อมูล และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลไว้ในพจนานุกรมข้อมูล เป็นสารนิเทศที่บอกเกี่ยวกับโครงสร้าง ของฐานข้อมูล โปรแกรมประยุกต์ทั้งหมดที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องทางานผ่ านระบบ การจัดการฐานข้อมูล โดยที่ระบบจัดการฐานข้อมูลจะใช้พจนานุกรมข้อมูล เพื่อค้นหาโครงสร้าง


ตลอดจนส่วนประกอบของข้อมูลและความสัมพันธ์ที่ต้องการ นอกจากนั้นแล้วการเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่ มี ต่ อ โครงสร้ า งฐานข้ อ มู ล จะถู ก บั น ทึ ก ไว้ โ ดยอั ต โนมั ติ ใ นพจนานุ ก รมข้ อ มู ล ท าให้ เ ราไม่ ต้ อง เปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรมเมื่อโครงสร้างข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลง 4.2 การจัดเก็บข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะสร้างโครงสร้างที่จาเป็นต่อการจัดเก็บ ข้อมูล ช่วยลดความยุ่งยากในการนิยามและการเขียนโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติทางกายภาพ ของข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลในปัจจุบันไม่เพียงแต่จะช่วยในการจัดเก็บข้อมูลเท่านั้น แต่ยัง รวมถึงการจัดเก็บกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ใช้ในการตรวจสอบบูรณภาพของข้อมูลอีกด้วย 4.3 การแปลงและนาเสนอข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทาหน้าที่ในการแปลงข้อมูล ที่ได้รับเข้ามา เพื่อให้สอดคล้องกับโครงสร้างในการจัดเก็บข้อมูล ทาให้เราไม่ต้องไปยุ่งเกี่ยวกับความ แตกต่างระหว่างรูปแบบของข้อมูลทางตรรกะและทางกายภาพ กล่าวคือทาให้มีความเป็นอิสระของ ข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะแปลงความต้องการเชิงตรรกะของผู้ใช้ ให้เป็นคาสั่งที่สามารถดึง ข้อมูลทางกายภาพที่ต้องการ 4.4 การจัดการระบบความปลอดภัยของข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะสร้างระบบ รักษาความปลอดภัยของข้อมูล โดยการกาหนดรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าใช้ระบบ และความสามารถในการ ใช้ระบบ เช่น การอ่าน เพิ่ม ลบ หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล การจัดการระบบความปลอดภัยของ ข้อมูลมีความสาคัญมากในระบบฐานข้อมูลแบบที่มีผู้ใช้หลายคน 4.5 การควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้หลายคน ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะใช้หลักการ ออกแบบโปรแกรมที่เหมาะสม เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ใช้หลายคนสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูลพร้อมกันได้ และข้อมูลมีความถูกต้อง 4.6 การเก็บสารองและกู้คืนข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะมีโปรแกรมเพื่อสนับสนุน การส ารองและกู้ คื น ข้ อ มู ล เพื่ อ ให้ แ น่ ใ จด้ า นความปลอดภั ย และความมั่ น คงของข้ อ มู ล ในระบบ ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะกู้ข้อมูลในฐานข้อมูลคืนมาหลังจากระบบเกิดความล้มเหลว เช่น เมื่อ เกิดกระแสไฟฟ้าขัดข้อง เป็นต้น 4.7 การควบคุมความถูกต้องของข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะสนับสนุนและควบคุม ความถูกต้องของข้อมูล ตั้งแต่ลดความซ้าซ้อนของข้อมูล ไปจนถึงความไม่สอดคล้องกันของข้อมูล ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เก็บไว้ในพจนานุกรมข้อมูลจะถูกนามาใช้ในการควบคุมความถูกต้องของ ข้อมูลด้วย 4.8 ภาษาที่ใช้ในการเข้าถึงฐานข้อมูลและการเชื่อมต่อกับโปรแกรมประยุก ต์ ระบบการ จัดการฐานข้อมูลสนับสนุนการเข้าถึงข้อมูลโดยผ่านภาษาคิวรี (query language) ซึ่งเป็นคาสั่งที่ใช้ใน การค้นคืนข้อมูลจากฐานข้อมูล โดยผู้ใช้เพียงบอกว่าต้องการอะไร และไม่จาเป็นต้องรู้ว่ามีขั้นตอน


อย่างไรในการนาข้อมูลออกมา เพราะระบบการจัดการฐานข้อมูลจะเป็นผู้ กาหนดวิธีการในการเข้าถึง ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพเอง 4.9 การติดต่อสื่อสารกับฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลที่ทันสมัยจะต้องสนับสนุน การใช้งานฐานข้อมูลผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล ในโลกปัจจุบันที่มีข้อมูลจานวนมากๆ หากมีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบระเบียบย่อมจะทาให้ สามารถนาเอาข้อมูลมาใช้งานได้อย่างมีประโยชน์กล่าวเป็นหัวข้อดังนี้ 1. ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้าซ้อน ข้อมูลบางชุดที่อยู่ในรูปของแฟ้มข้อมูลอาจมีปรากฏอยู่หลาย ๆ แห่ง เพราะมีผู้ใช้ข้อมูลชุดนี้หลายคน เมื่อใช้ระบบฐานข้อมู ลแล้วจะช่วยให้ความซ้าซ้อนของข้อมูลลด น้อยลง 2. รักษาความถูกต้องของข้อมูล เนื่องจากฐานข้อมูลมีเพียงฐานข้อมูลเดียว ในกรณีที่มีข้อมูลชุด เดียวกันปรากฏอยู่หลายแห่งในฐานข้อมูล ข้อมูลเหล่านี้จะต้องตรงกัน ถ้ามีการแก้ไขข้อมูลนี้ทุก ๆ แห่งที่ข้อมูลปรากฏอยู่จะแก้ไขให้ถูกต้องตามกันหมดโดยอัตโนมัติด้วยระบบจัดการฐานข้อมูล 3. การป้องกันและรักษาความปลอดภัย (Security) ให้กับข้อมูลทาได้อย่างสะดวก การป้องกัน และรักษาความปลอดภัยกับข้อมูลระบบฐานข้อมูลจะให้เฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น ซึ่งก่อให้เกิดความ ปลอดภัย(Security) ของข้อมูลด้วย 2.6 ความรู้เกี่ยวกับ Appxampp 2.6.1 Xampp คือโปรแกรมสาหรับจาลองเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา ให้ทางานในลักษณะของ WebServer นั่นคือเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราจะสามารถเปิดตัวเองให้เป็น internet ในการเปิด เว็บไซต์ที่ถูกจัดทาขึ้นมาในเครื่องคอมพิวเตอร์นี้ โดยที่เราไม่ต้องเชื่อมต่อกับ Internet ภายนอก เราก็ สามารถทดสอบเว็บไซต์ที่เราสร้างขึ้น ได้ ซึ่ง ปัจจุบันได้รับความนิยมจากผู้ใช้ CMS ในการสร้าง เว็บไซต์ XAMPP ประภอบด้วย Apache, PHP, MySQL, PHP MyAdmin, Perl ซึ่งเป็นโปรแกรมพื้นฐาน ที่รองรับการทางาน การทาเว็บไซต์ไม่ว่าจะในรูปแบบ ที่เป็น HTML ธรรมดา หรือแบบที่เป็น Database รวมถึงการเลือกใช้ CMS (Content Management System) เป็นระบบที่นามาช่วยใน การสร้างและบริหารเว็บไซต์แบบสาเร็จรูป ซึ่งเป็นชุดโปรแกรม สาหรับออกแบบเว็บไซต์ที่ได้รับความ นิยม เช่น Joomla , Wordpress เป็นต้น 2.6.2 การเรียกใช้งาน XMAPP XAMPP เป็นโปรแกรม ที่เราต้องเรียกใช้งาน(ในค่าเบื่องต้นนี้) ซึ่งจะมี Control Panel ใน การเรียกใช้งาน หลังจากเปิดใช้งานแล้ว คอมพิวเตอร์ของเราถึงจะสามารถเรียกหน้าเว็บไซต์ที่เรา


สร้างขึ้นผ่าน URL ที่ขึ้นต้นด้วย localhost หรือ ที่เป็น IP ก็คือ 127.0.0.1 ...ดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้จาก http://joomlahitz.com 2.6.3 โปรแกรม XAMPP สามารถใช้งานได้ 4 OS ได้แก่ 2.6.3.1 Windowsสามารถใช้งานได้กบั windows รุ่น2000, 2003, xp,vista,windows 7 2.6.3.2 Linux สาหรับ SuSE, RedHat, Mandrake, Debian และ Ubuntu 2.6.3.3 Mac OS X 2.6.3.4 Solaris สาหรับ Solaris 8 และ Solaris 9 ในการใช้งานเบื้องต้นให้ดับเบิ้ลคลิก Xampp Control Panel Application แล้วทาการคลิกปุ่ม start จากนัน้ สามารถใช้งานได้โดยเปิด Browser ขึ้นมาพิมพ์ localhost หรือ 127.0.0.1 2.6.4 ข้อจากัดด้านเทคนิค - เครื่องคอมพิวเตอร์ควรมี RAM ไม่ต่ากว่า 128 MB - Hard disk มีพื้นที่มากกว่า 320 MB - CPU ไม่กาหนดขั้นต่า

2.7 ความรู้เกี่ยวกับ MySQL 2.7.1 เอสคิวแอล (SQL) เอสคิวแอล (SQL) คือ ภาษาสอบถามข้อมูล หรือภาษาจัดการข้อมูล อย่างมีโครงสร้าง มีการพั ฒนาภาษาคอมพิวเตอร์และโปรแกรมฐานข้ อมูลที่รองรับมากมายเพราะ จัดการข้อมูลได้ง่ายเช่น MySQL, MsSQL, PostgreSQL หรือ MS Access เป็นต้น สาหรับโปรแกรม ฐานข้อมูลที่ได้รับความนิยมคือ MySQL เป็น Open Source ที่ใช้งานได้ทั้งใน Linux และ WindowsSQL เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เพื่อจัดการกับฐานข้อมูลโดยเฉพาะเราสามารถ แบ่งการทางานได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้ -Select query ใช้สาหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ - Update query ใช้สาหรับแก้ไขข้อมูล - Insert query ใช้สาหรับการเพิ่มข้อมูล - Delete query ใช้สาหรับลบข้อมูลออกไป Select query ใช้ในการดึงข้อมูลในฐานข้อมูล จะมีการค้นหารายการจากตารางในฐานข้อมูลตั้งแต่ หนึ่งตารางขึ้นไป ตามเงื่อนไขที่สั่งผลลัพธ์ที่ไดจ้ะเป็นเซตของข้อมูลที่สามารถสร้าง เป็นตารางใหม่ หรือใช้แสดงออกมาทางจอภาพเท่านั้น โดยมีรูปแบดังนี้ Select รายละเอียดที่เลือก From ตาราง


แหล่งที่มา Where กาหนดเงื่อนไขฐานข้อมูลที่เลือก Group by ชื่อคอลัมน์Update query ใช้ สาหรับ การแก้ไขข้อมูลในตารางโดยแก้ไขคอลัมน์ที่มีค่าตรงตามเงื่อนไขมีรูปแบดังนี้Update ชื่อ ตาราง Set [ชื่อคอลัมน์=ค่าที่จะใส่เข้าไปในคอลัมน์ นั้น ๆ ]Where เงื่อนไขV เช่น จากตารางแสดง รายชื่อ นักศึกษากรณีที่นักศึกษาชื่อ สมบัติ มักน้อย ย้ายโปรแกรมวิชา จากสังคมศึกษา ไปเป็ น ภาษาไทย เรา ใช้คาสั่งดังนี้ Select stdinfo Set programe=’ภาษาไทย’ WhereFname=’สมบัติ’ and Lname=’มักน้อย’ Insert query ใช้ในการเพิ่มเติมข้อมูลใหม่ๆ เข้าไปในฐานข้อมูล มีรูปแบ ดังนี้ Insert Intoชื่อตาราง [= ชื่อคอลัมน์1,2..] Values [ค่าที่จะใส่ลงในคอลัมน์1,2…] เช่น ต้องการ เพิ่มรายชื่อนักศึกษาที่มีรหัสประจาตัวเป็น 007 ชื่อกมลวรรณศิริกุลโปรแกรมวชิาวทิยาศาสตร์เรา สามารถใช้คาสั่งดังนี้ Insert into stdinfo (id,fname,lname,programe) Values (‘007’,’กมลวรรณ’,’ศิริกุล’,’ วิทยาศาสตร์’) Deletequery ใช้ลบข้อมูลออกจากตาราง มีรูปแบดังนี้ Delete Fromชื่อตาราง Whereเงื่อนไขเช่น ต้องการลบ รหัสประจาตัวนักศึกษา 005 ออกจาก ฐานข้อมูลเราใช้คาสั่งดังนี้ DeleteMySQL (มายเอสคิวแอล) เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลโดยใช้ภาษา SQL. แม้ว่า MySQL เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส แต่แตกต่างจาก ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สทั่วไป โดยมี การพัฒนาภายใต้บริษัท MySQL AB ในประเทศสวีเดน โดยจัดการ MySQL ทั้งในแบบที่ให้ใช้ฟรีและ แบบที่ใช้ในเชิงธุรกิจMySQL สร้างขึ้นโดยชาวสวีเดน 2 คน และชาวฟินแลนด์ ชื่อ David Axmark, Allan Larsson และ Michael‚Monty‛Widenius. ปัจจุบันบริษัทไมโครซิสเต็มส์ (Sun Microsystems, Inc.) เข้าซื้อกิจการของ MySQL AB เรียบร้อยแล้ว ฉะนั้น ผลิตภัณฑ์ภายใต้ MySQL AB ทั้งหมดมดจะตกเป็นของซัน ชื่อ‚MySQL อ่านออกเสียงว่ามายเอสคิวเอล หรือ มายเอส คิวแอล(ในการอ่านอักษร L ในภาษาไทย) ซึ่งทางซอฟต์แวร์ไม่ได้อ่าน มายซีเควล หรือ มายซีควล เหมือนกับซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลตัวอื่น 2.7.2 การใช้งาน MySQL MySQL เป็นที่นิยมใช้กันมากสาหรับบานข้อมูลเว็บไซต์ เช่น มีเดียวิก และ phpBB และนิยมใช้งานร่วมกับภาษาโปรแกรม PHP ซึ่งมักจะได้ชื่อว่าเป็นคู่จะเห็นได้จากคู่มือคอมพิวเตอร์ ต่าง ๆ ที่จะสอนการใช้งาน MySQL และ PHP ควบคู่กันไป นอกจากนี้ หลายภาษาโปรแกรมที่ สามารถทางานร่วมกับฐานข้อมูล MySQL ซึ่งรวมถึง ภาษาซี ซีพลัสพลัส ปาสคาล ซีชาร์ป ภาษาจาวา ภาษาเพิร์ล พีเอชพี ไพทอน รูบี และภาษาอื่น ใช้งานผ่าน API สาหรับโปรแกรมที่ติดต่อผ่าน ODBC หรือส่วนเชื่อมต่อกับ ภาษาอื่น (database connector) เช่น เอเอสพีสามารถเรียกใช้ MySQL ผ่าน ทางMyODBC,ADO,ADO.NET เป็นต้น 2.8 โปรแกรม Dreamweaver 2.8.1 ประวัติความเป็นมาของโปรแกรม Dreamweaver


Adobe MacromediaDreamweaver - ผู้พัฒนา อะโดบีซิสเต็มส์ (เริ่มพัฒนาโดย แมโครมีเดีย) - รุ่นเสถียร ล่าสุด CS4 (10.0) - รุ่นทดลอง ล่าสุด (27 มีนาคม พ.ศ. 2550) - โอเอส Windows Mac OS X - ชนิด โปรแกรมแก้ไข HTML - ลิขสิทธิ์ Closed source - เว็บไซต์ http://www.adobe.com/ อะโดบี ดรีมวีฟเวอร์ (Adobe Dreamweaver) หรือชื่อเดิมคือ แมโครมีเดีย ดรีมวีฟเวอร์ (Macromedia Dreamweaver) เป็นโปรแกรมแก้ไข HTML พัฒนาโดยบริษัทแมโครมีเดีย (ปั จ จุ บั น ควบกิ จ การรวมกั บ บริ ษั ท อะโดบี ซิ ส เต็ ม ส์ ) ส าหรั บ การออกแบบเว็ บ ไซต์ ใ นรู ป แบบ WYSIWYG กับการควบคุมของส่วนแก้ไขรหัส HTML ในการพัฒนาโปรแกรมที่มีการรวมทั้งสองแบบ เข้าด้วยกันแบบนี้ ทาให้ ดรีมวีฟเวอร์เป็นโปรแกรมที่แตกต่างจากโปรแกรมอื่นๆ ในประเภทเดียวกัน ในช่วงปลายปีทศวรรษ 2533 จนถึงปีพ.ศ. 2544 ดรีมวี ฟเวอร์มีสัดส่วนตลาดโปรแกรมแก้ไข HTML อยู่มากกว่า 70% ดรีมวีฟเวอร์มีทั้งในระบบปฏิบัติการแมคอินทอช และไมโครซอฟท์วินโดวส์ ดรีมวีฟ เวอร์ยังสามารถทางานบนระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ ผ่านโปรแกรมจาลองอย่าง WINEได้ รุ่นล่าสุด คือ ดรีมวีฟเวอร์ CS4 2.8.2 การทางานกับภาษาต่างๆ ดรีมวีฟเวอร์ สามารถทางานกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนเว็บไซต์แบบไดนามิค ซึ่งมีการใช้ HTML เป็นตัวแสดงผลของเอกสาร เช่น ASP, ASP.NET, PHP, JSP และ ColdFusion รวมถึงการ จัดการฐานข้อมูลต่างๆ อีกด้วย และในเวอร์ชันล่าสุด (เวอร์ชัน CS4) ยังสามารถทางานร่วมกับ XML และ CSS ได้อย่างง่ายดาย 2.8.3 การพัฒนการโปรแกรม โปรแกรมแก้ไข HTML พัฒนาโดยบริษัทแมโครมีเดีย (ปัจจุบันควบกิจการรวมกับบริษัท อะโดบีซิสเต็มส์) ดรีมวีฟเวอร์มีทั้งในระบบปฏิบัติการแมคอินทอช และไมโครซอฟท์วินโดวส์ ดรีมวีฟ เวอร์ยังสามารถทางานบนระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ ผ่านโปรแกรมจาลองอย่าง WINE ได้ โปรแกรม Dreamweaver มีการพัฒนา ดังนี้ - Dreamweaver 1.0 (ธันวาคม ค.ศ. 1997) เป็นเวอร์ชันแรกสาหรับระบบปฏิบัติการ MAC OS - Dreamweaver 1.2 (มีนาคม ค.ศ. 1998) เป็นเวอร์ชันแรกสาหรับระบบปฏิบัติการ Windows - Dreamweaver 2.0 (ธันวาคม ค.ศ. 1998) - Dreamweaver 3.0 (ธันวาคม ค.ศ. 1999)


- Dreamweaver UltraDev 1.0 (มิถุนายน ค.ศ. 2000) - Dreamweaver 4.0 (ธันวาคม ค.ศ. 2000) - Dreamweaver UltraDev 4.0 (ธันวาคม ค.ศ. 2000) - Dreamweaver MX (พฤษภาคม ค.ศ. 2002) - Dreamweaver MX 2004 (10 พฤศจิกายน ค.ศ. 2003) - Dreamweaver 8 (13 พฤศจิกายน ค.ศ. 2005) - Dreamweaver CS3 (16 เมษายน ค.ศ. 2007) เป็นเวอร์ชันแรกหลังจากรวมกับบริษัท อะโดบีซิสเต็มส์ - Dreamweaver CS4 (23 กันยายน ค.ศ. 2008) - Dreamweaver CS5 (20 มิถุนายน ค.ศ. 2010) - Dreamweaver CS6 (23 เมษายน ค.ศ. 2012)

2.8.4 ความสามารถของโปรแกรม Dreamweaver ในการเขียนเว็บเพจ จะมีลักษณะคล้ายกับการพิมพ์งานในโปรแกรม Text Editor ทั่วไป คือว่ามันจะเรียงชิดซ้ายบนตลอดเวลา ไม่สามารถย้าย หรือ นาไปวางตาแหน่งที่ต้องการได้ทันที่ เหมือนโปรแกรมกราฟิก เพราะฉะนั้นหากเราต้องการจัดวางรูปแบบตามที่เราต้องการ ก็ใช้ตาราง Table เข้ามาช่วยจัดตาแหน่ง ซึ่งเมื่อมีการจัดวางรูปแบบที่ซับซ้อนมากขึ้น การเขียนภาษา HTML ก็ ซับซ้อนยิ่งขึ้นเช่นกัน โปรแกรม Dreamweaver อาจจะไม่สามารถเขียนเว็บได้ตามที่เราต้องการ ทั้งหมด วิธีการแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุดคือ ควรจะเรียนรู้หลักการของภาษา HTML ไปด้วย ซึ่งถือว่าเป็น สิ่งที่จาเป็นมากสาหรับผู้ที่ต้องการประกอบอาชีพ Webmaster แบบจริงจัง อาจจะไม่ต้องถึงกับ ท่องจา Tag ต่าง ๆ ได้ทั้งหมด แต่ขอให้รู้ เข้าใจหลักการก็พอแล้ว เพราะหลาย ๆ ครั้งที่เราจะเขียน เว็บใน Dreamweaver แล้วกลับได้ผลผิดเพี้ยนไป ไม่ตรงตามที่ต้องการ ก็ต้องมาแก้ไข Code HTML เอง และความสามารถของ Dreamweaver สรุปได้ดังนี้ 2.8.4.1 สนับสนุนการทางานแบบ WYSIWYG (What You See Is What You Get) หมายความว่า เว็บที่เราเขียนหน้าจอ Dreamweaver ก็จะแสดงแบบเดียวกับเว็บเพจจริงๆ ช่วยให้ เราเขียนเว็บเพจง่ายขึ้น ไม่ต้องเขียน Code HTML เอง


2.8.4.2 มีเครื่องมือในการช่วยสร้างเว็บเพจ ที่มีความยืดหยุ่นสูง 2.8.4.3 สนับสนุนภาษาสคริปต์ต่างๆ ทั้งฝั่ง Client และ Server เช่น Java, ASP, PHP, CGI, VBScript 2.8.4.4 มีเครื่องมือในการ Upload หน้าเว็บเพจไปที่เครื่อง Server เพื่อทาการเผยแพร่ งานที่เราสร้างในอินเทอร์เน็ต โดยการส่งผ่าน FTP หรือ โดยการใช้โปรแกรม FTP ภายนอกช่วย เช่น WS FTP 2.8.4.5 รองรับมัลติมีเดีย เช่น การใส่เสียง, การแทรกไฟล์วิดีโอ, การใช้งานร่วมกับ โปรแกรม Flash , Fireworks 2.8.5 การเริ่มต้นในการออกแบบเว็บไซต์ 2.8.5.1 สร้างความสัมพันธ์เอกสารข้อมูล โดยเรียงลาดับความสาคัญ ของข้อมูลที่ใช้ใน การนาเสนอกาหนดชื่อไฟล์ของเอกสารเว็บ ให้สามารถสื่อเข้าใจได้ง่าย และต้องทาการตั้งชื่อไฟล์เป็น ภาษาอังกฤษเท่านั้น 2.8.5.2 สร้างโฟลเดอร์เฉพาะ สาหรับเอกสารเว็บแต่ละชุด/เรื่อง เพื่อความเป็นระเบียบ และต้องทาการตั้ง ชื่อโฟลเดอร์เป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น 2.8.5.3 จัดหาภาพ หรือสร้างภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา หลังจากนั้นให้นาภาพที่ต้องใช้ งานทั้งหมดบันทึกไว้ ในโฟลเดอร์ที่สร้างไว้ก่อน เพื่อความสะดวกต่อการเรียกใช้งาน 2.8.5.4 สร้างเอกสารเว็บ โดยการลงรหัส HTML หรือใช้โปรแกรมช่วย หลังจากนั้นให้นา ไฟล์เอกสาร HTML ทุกไฟล์บันทึกไว้ในโฟลเดอร์ที่สร้างไว้ก่อน เพื่อความสะดวกต่อการเรียกใช้งาน 2.8.5.5 ตรวจสอบผล เอกสาร HTML ด้วยเว็บเบราเซอร์ เพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดที่อาจ เกิดขึ้น เนื่องจากเว็บเบราเซอร์แต่ละค่าย แต่ละรุ่น รู้จักคาสั่ง HTML ไม่เท่ากัน 2.9 โปรแกรม Adobe Photoshop โปรแกรม Photoshop เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างภาพ และตกแต่งภาพ ซึ่งเป็นลิขสิทธิ์ของ บริษัท Adobe ซึ่งบริษัท Adobe มีผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์เกี่ยวกับด้านกราฟิก มากมายเช่น Adobe illustrator สาหรับทาภาพเวกเตอร์ Adobe Pemiretor สาหรับตัดต่อภาพยนต์ ฯลฯ โปรแกรม Photoshop เป็นโปรแกรมตกแต่งภาพที่ได้รับความนิยมมาก เนื่องจากเป็นโปรแกรมที่ใช้ ง่ายและรองรับ Application (Plug In) เสริมได้มากมาย 2.9.1 ส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม Adobe Photoshop CS6


โปรแกรม Adobe Photoshop CS6 ได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบ นอกจากจะมีสีสันสวยงาม ขึ้นแล้ว ยังจัดการกับพาเนลหรือเครื่องมือที่จัดวางไม่เป็นระเบียบ ออกไปจากหน้าต่างการทางาน ค่ อ นข้ า งมาก เช่ น เพิ่ ม ปุ่ ม ค าสั่ ง และจั ด เรี ย งปุ่ ม ค าสั่ ง บางปุ่ ม ใหม่ จึ ง มี ค วามจ าเป็ น ต้ อ งรู้ จั ก กั บ ส่วนประกอบที่สาคัญเพื่อให้สามารถค้นหาและเรียกใช้เครื่องมือได้อย่างรวดเร็ว สาหรับหน้าต่าง โปรแกรม Adobe Photoshop CS6 ประกอบไปด้วยพาเนลและกล่องเครื่องมือที่วางอยู่บนพื้นที่ว่าง ซึ่งเปรียบเสมือนกับโต๊ะทางาน ดังนั้นจึงสามารถเคลื่อนย้ายตาแหน่งพาเนลและเครื่องมือไปยังจุดที่ ต้องการได้ ส่วนประกอบสาคัญของหน้าต่างโปรแกรม มีรายละเอียดดังนี้ 2.9.1.1 แถบเมนูคาสั่ง (Menu Bar) เป็นจุดรวบรวมชุดคาสั่งที่ใช้สาหรับเรียกคาสั่งต่าง ๆ เพื่อใช้จัดการไฟล์ภาพ หรือตกแต่งภาพ

ภาพที่ 2-20 แถบเมนูคาสั่ง (Menu Bar)

แถบเมนูคาสั่งประกอบไปด้วยทั้งหมด 10 เมนูคาสั่ง โดยแสดงชื่อเมนูคาสั่งและรูปแบบ การทางาน ดังแสดงในตารางที่ 1 เมนูคาสั่ง File Edit Image Layer Type Select Filter

รูปแบบการทางาน สาหรับจัดการกับไฟล์ภาพในลักษณะต่าง ๆ เช่น สร้างไฟล์งานใหม่ เปิดไฟล์ภาพ บันทึกไฟล์งาน นาเข้าหรือส่งออกไฟล์เพื่อทางานในลักษณะอื่น ๆ สาหรับแก้ไขภาพ เช่น ตัด คัดลอก วาง รวมถึงปรับแต่งค่าเบื้องต้นของโปรแกรม สาหรับจัดการภาพ เช่น แก้ไขความสว่างหรือสีของภาพให้สมดุลยิ่งขึ้น รวมถึงใช้สาหรับย่อขยาย ขนาดภาพ และกาหนดขนาดพื้นที่การทางานของภาพ สาหรับจัดการเกี่ยวกับเลเยอร์ เช่น การสร้างเลเยอร์ใหม่ การรวมเลเยอร์ การแปลง เลเยอร์ การจัดการกับเลเยอร์ของไฟล์ลักษณะต่าง ๆ รวมถึงการจัดการรายละเอียดของภาพในเลเยอร์นั้น ๆ สาหรับจัดการและปรับแต่งเกี่ยวกับข้อความ เช่น ปรับแต่งสีข้อความ ปรับแต่งขอบข้อความ หรือการเปลี่ยนข้อความให้เป็นภาพ สาหรับปรับแต่งการเลือกพื้นที่ บันทึกและเรียกพื้นที่ที่เลือกมาใช้งาน รวมถึงคาสั่งสาหรับการ เลือกพื้นที่เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น สาหรับปรับแต่งภาพให้มีรูปแบบที่น่าสนใจยิ่งขึ้น บิด ดัดปรับรูปทรงรูปแบบต่าง ๆ ให้กับภาพ


View Window Help

สาหรับเลือกรูปแบบการแสดงผล เช่น ย่อขยายภาพ แสดงไม้บรรทัด เส้นกริด หรือเส้นไกด์ สาหรับเลือกเปิดปิดพาเนล รวมถึงกาหนดรูปแบบการแสดงหน้าต่างในแบบต่าง ๆ ใช้สาหรับแสดงความช่วยเหลือเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือหรือคาสั่งในรูปแบบต่าง ๆ

ตารางรางที่ 2-1 รูปแบบการทางานของแถบเมนูคาสั่ง 2.9.1.2 แถบตัวเลือก (Options Bar) เป็นส่วนที่ใช้ในการปรับแต่งค่าการทางานของเครื่องมือ ต่าง ๆ การ กาหนดค่าในแถบตัวเลือกจะเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่ใช้งานอยู่ ดังแสดงในภาพที่ 3.2

ภาพที่ 2-21 แถบตัวเลือก (Options Bar)

2.9.1.3 กล่องเครื่องมือ (Toolbox) เป็นส่วนที่ใช้เก็บเครื่องมือพื้นฐานในการทางาน ในโปรแกรม สามารถเรียกใช้ ชุดเครื่องมือย่อยโดยการคลิกรูปสามเหลี่ยมที่มุมด้านล่าง ดังแสดงในภาพที่ 2.3

ภาพที่ 2-22 แถบตัวเลือก (Options Bar)


เครื่องมือพื้นฐานบนกล่องเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop CS6 ได้แบ่ง การ ทางานออกเป็นหมวดหมู่หรือเป็นกลุ่มย่อย ๆ ดังแสดงในตารางที่ 2 ภาพ

ชื่อเครื่องมือ Move Tool

ความหมาย ใช้เคลื่อนย้ายภาพบริเวณที่เลือกพื้นที่หรือไม่ได้เลือก พื้นที่ไปยังตาแหน่งใหม่

1. Rectangular Marquee Tool 2. Elliptical Marquee Tool 3. Single Row Marquee Tool 4. Single Column Marquee Tool 1. Lasso Tool 2. Polygonal Lasso Tool 3. Magnetic Lasso Tool 1. Quick Selection Tool 2. Magic Wand Tool

1. เลือกพื้นที่แบบรูปทรงสี่เหลี่ยม 2. เลือกพื้นที่แบบรูปทรงวงกลม วงรี 3. เลือกพื้นที่แบบเส้นตรงแนวนอน 4. เลือกพื้นที่แบบเส้นตรงแนวตั้ง

1. เลือกพื้นที่แบบอิสระ 2. เลือกพื้นที่แบบมุมเหลี่ยม 3. เลือกพื้นที่แบบชิดเส้นขอบภาพ

1. เลือกพื้นที่ตามพื้นที่ที่ลากเมาส์ผ่าน 2. เลือกพื้นที่โดยยึดตามสีที่มีค่าใกล้เคียงกัน

1. Crop Tool 1. ใช้ตัดภาพโดยเลือกเฉพาะบริเวณที่ต้องการใช้งาน 2. Perspective 2. ใช้ตัดภาพที่มีมุมบิดเบี้ยวให้กลายเป็นมุมที่ถูกต้อง Crop Tool 3. ใช้ตัดภาพออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ เพื่อนาไป ใช้ออกแบบ 3. Slice Tool บนเว็บเพจ 4. Slice Select Tool 4. ใช้ปรับแต่งขนาดของภาพที่ตัดออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ จากเครื่องมือ Slice Tool 1. Eyedropper Tool 1. ใช้เลือกสีจากภาพไปใช้งาน 2. Color Sampler 2. ใช้ดูดสีไว้สาหรับเปรียบเทียบค่า Tool 3. ใช้วัดระยะห่างและกาหนดตาแหน่ง 3. Ruler Tool 4. ใช้เพิ่มคาอธิบายให้กับภาพ 4. Note Tool


1. Spot Healing Brush Tool 2. Healing Brush Tool 3. Patch Tool 4. Content-Aware Move Tool 1. Clone Stamp Tool 2. Pattern Stamp Tool 1. Eraser Tool 2. Background Eraser Tool 3. Magic Eraser Tool 1. Blur Tool 2. Sharpen Tool 3. Smudge Tool

1. ใช้แก้ไขจุดบกพร่องขนาดเล็กบนภาพ 2. ใช้แก้ไขจุดบกพร่องขนาดใหญ่บนภาพ 3. ใช้แก้ไขพื้นผิวของภาพขนาดใหญ่ โดยการนาพื้นผิว อื่นมาแปะทับ 4. ใช้ย้ายวัตถุในภาพไปยังตาแหน่งใหม่ โดยเครื่องมือ จะเติมสีพื้นหลังให้ด้วย 5. ใช้แก้ไขภาพถ่ายตาแดง 1. ใช้คัดลอกวัตถุจากจุดหนึ่งไปแปะทับอีกจุดหนึ่ง 2. ใช้ตกแต่งภาพพื้นผิวที่คลิกแทนที่ลงไปบนภาพ

1. ใช้ลบพื้นที่ที่ไม่ต้องการและแทนที่ด้วยสีพื้นหลัง 2. ใช้ลบภาพพื้นหลังออกด้วยการคลิกเลือกสีที่จะลบ และจะได้พื้นหลังแบบโปร่งใส 3. ใช้ลบสีพื้นหลังภาพอย่างรวดเร็วและ จะได้พื้นหลัง แบบโปร่งใส 1. ใช้ระบายภาพให้เบลอในจุดที่ลากเมาส์ 2. ใช้ปรับเพิ่มความคมชัดให้ภาพ 3. ใช้เกลี่ยสีให้กลมกลืนในจุดที่ลากเมาส์

1. Dodge Tool 2. Burn Tool 3. Sponge Tool

1. ใช้เพิ่มความสว่างให้จุดที่ลากเมาส์ผ่าน 2. ใช้เพิ่มความมืดให้จุดที่ลากเมาส์ผ่าน 3. ใช้ลดและเพิ่มความอิ่มตัวของสี โดยการลากเมาส์ ผ่าน 1. Brush Tool 1. ใช้สร้างเส้นหรือลวดลายให้กับเส้น 2. Pencil Tool 2. ใช้สร้างเส้นหรือลวดลาย แต่จะได้เส้นที่หยาบกว่า 3. Color 3. ใช้เปลี่ยนสีภาพเป็นสีใหม่ Replacement Tool 4. ใช้เกลี่ยสีของภาพให้กลายเป็นภาพวาด 4. Mixer Brush To 1. History Brush 1. ใช้ย้อนกลับการทางานคาสั่งที่ผิดพลาดเมื่อลาก Tool เมาส์ไปบนภาพ 2. Art History Brush 2. ใช้เปลี่ยนเป็นภาพวาดแบบง่าย ๆ เมื่อลากเมาส์ไป Tool บนภาพ 1. Gradient Tool 1. ใช้ลากเมาส์ไปบนภาพเพื่อไล่เฉดสี 2. Paint Bucket 2. ใช้เพื่อเติมสีหรือลวดลายลงไปบนภาพ Tool


1. Pen Tool 2. Freeform Pen Tool 3. Add Anchor Point Tool 4. Delete Anchor Point Tool 5. Convert Point Tool 1. Horizontal Type Tool 2. Vertical Type Tool 3. Horizontal Type Mask Tool 4. Vertical Type Mask Tool 1. Path Selection Tool 2. Direct Selection Tool 1. Rectangle Tool 2. Rounded Rectangle Tool 3. Ellipse Tool 4. Polygon Tool 5. Line Tool 6. Custom Shape Tool 1. Hand Tool 2. Rotate View Tool

1. ใช้สร้างเส้นพาธรอบภาพโดยการลากเมาส์กาหนด ทิศทาง 2. ใช้สร้างเส้นพาธแบบอิสระเพื่อปรับแต่งในภายหลัง 3. ใช้เพิ่มจุดแองเคอร์เพื่อปรับแต่งรูปทรงเส้นพาธ 4. ใช้ลบจุดแองเคอร์ที่มากเกินไป 5. ใช้ปรับแต่งมุมของเส้นพาธ

Zoom Tool

ใช้ขยายดูส่วนที่ต้องการของภาพ

1. ใช้สร้างข้อความแบบเวคเตอร์ในแนว นอน 2. ใช้สร้างข้อความแบบเวคเตอร์ในแนวตั้ง 3. ใช้สร้างข้อความแบบราสเตอร์ในแนว นอน 4. ใช้สร้างข้อความแบบราสเตอร์ในแนวตั้ง

1. ใช้ย้ายตาแหน่งหรือปรับขนาดเส้นพาธ 2. ใช้คลิกไปบนจุดแองเคอร์เพื่อปรับแต่งรูปทรงเส้น พาธ 1. ใช้สร้างรูปทรงสี่เหลี่ยม 2. ใช้สร้างรูปทรงสี่เหลี่ยมมุมโค้งมน 3. ใช้สร้างรูปทรงวงกลม วงรี 4. ใช้สร้างรูปทรงหลายเหลี่ยม รูปดาว 5. ใช้สร้างรูปทรงเส้นตรง 6. ใช้สร้างรูปทรงสาเร็จรูป

1. ใช้เลื่อนดูส่วนต่าง ๆ ของภาพ 2. ใช้หมุนภาพไปในทิศทางต่าง ๆ


Edit in Standard ใช้แสดงหรือแก้ไขภาพในโหมดปกติและแสดงการ Mode/ ทางานคล้ายการสร้างหน้ากาก เพื่อปิดบังพื้นที่ส่วนที่ ไม่ต้องการเลือกเอาไว้ โดยสามารถคลิกเมาส์สลับ Edit in Quick Mask โหมดไปมาได้ Mode 1. Standard Screen 1. ใช้แสดงหน้าจอแบบมาตรฐานปกติ Mode 2. ใช้แสดงแบบเต็มหน้าจอโดยไม่มีแถบ ชื่อเรื่องของ 2. Full Screen โปรแกรม Mode with Menu 3. ใช้แสดงแบบเต็มหน้าจอโดยไม่มีแถบ ชื่อเรื่องและ Bar แถบเมนูคาสั่ง 3. Full Screen Mode

ตารางที่ 2-2 เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม Adobe Photoshop CS6

2.9.1.4 แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) เป็นส่วนที่แสดงชื่อไฟล์ภาพที่เปิดใช้งานอยู่ สาหรับโปรแกรม Adobe Photoshop CS6 แถบชื่อเรื่องจะเรียงกันเป็นแท็บ (Tab)

ภาพที่ 2-23 แถบชื่อเรื่อง (Title Bar)4 แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) 2.9.1.5 แถบสถานะ (Status Bar) เป็นส่วนที่แสดงคุณสมบัติเกี่ยวกับภาพ เช่น เปอร์เซ็นต์ในการย่อขยายไฟล์ภาพ ขนาด ไฟล์ภาพ เป็นต้น


ภาพที่ 2-24 แถบสถานะ (Status Bar) 2.9.1.6 พื้นทีใ่ ช้งาน (Working Area) เป็นส่วนที่ใช้ในการสร้างงานกราฟิก โดยการเปิดไฟล์ภาพเพื่อแก้ไขบนพื้นที่ใช้งาน หรือ วาดภาพใหม่ลงไปบนพื้นที่ใช้งาน

ภาพที่ 2-25 พื้นที่ใช้งาน (Working Area) 2.9.1.7 พาเนล (Panel) ใช้สาหรับจัดการกับภาพ โดยแยกออกเป็นหมวดหมู่ เช่น พาเนลสาหรับเลือกสี พาเนล สาหรับปรับแต่งความสว่าง เป็นต้น พาเนลแต่ละแบบมีหน้าที่และการใช้งานแตกต่างกันออกไป โดย สามารถเลือกเปิดหรือปิดพาเนลได้จากเมนูคาสั่ง Window ตัวอย่างพาเนลที่นิยมใช้ มีดังนี้ ก.Navigator ใช้ปรับมุมมองของภาพ โดยคลิกเลือกบริเวณ Zoom Slider เพื่อย่อ ขยายมุมมองภาพ

ภาพที่ 2-26 พาเนล Navigator


ข. Color ใช้กาหนดสีพื้นหน้า (Foreground) และสีพื้นหลัง (Background) โดย การเลื่อนแถบสีเพื่อปรับแต่งตามต้องการ

ภาพที่ 2-27 พาเนล Color ค. Swatches ใช้กาหนดสีแบบสาเร็จรูปที่โปรแกรมกาหนดไว้ หรือสร้างสีขึ้นมา ใหม่เองได้ โดยการคลิกเลือกสีที่ต้องการเพื่อความสะดวกในการใช้งาน

ภาพที่ 2-28 พาเนล Swatches ง. Styles ใช้สาหรับกาหนดการตกแต่งรูปแบบต่าง ๆ ที่โปรแกรมกาหนดขึ้นมา เช่น การตกแต่งสีให้กับรูปแบบข้อความ


ภาพที่ 2-29 พาเนล Styles จ. Adjustments ใช้ปรับแต่งสีให้กับภาพ เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องหรือสีที่ผิดเพี้ยน

ภาพที่ 2-30 พาเนล Adjustments

2.9.2 ลักษณะเด่นของ Photoshop 2.9.2.1. Photoshop ทางานเป็น Layer ลักษณะการทางานของ Photoshop จะเหมือนการวางแผ่นใสซ้อนๆ กัน โดยแต่ละแผ่นจะมีการ ทางานต่างกัน แต่เมื่อรวมกันแล้วจะเป็นแค่ภาพภาพเดียว แต่ละแผ่นใส(Layer) สามารถสลับไปมาได้ 2.9.2.2 รูปแบบคาสั่งเป็นแบบ Interface Enhancement ไอคอนและปุ่มคาสั่งต่างๆ จะอยู่ในรูปแบบของ Toolbox , Toolbar และ Dialog Box ซึ่งจัดไว้เป็น หมวดหมู่ 2.9.2.3 สนับสนุนการทาการบนเว็บไซต์ เนื่องจากไฟล์ภาพที่ใช้บนเว็บไซต์มีหลายประเภท และโปรแกรม Photoshop สามารถสร้างภาพที่ใช้ งานบนเว็บไซต์ได้หลากหลาย ทั้งนี้ชนิดไฟล์ในโปรแกรม Photoshop ประกอบด้วย .psd (Photoshop File) : เป็นไฟล์พื้นฐานของโปรแกรม Photoshop สามารถเก็บบันทึกข้อมูล คุณลักษณะต่างๆ ที่ใช้ใน Photoshop ไม่ว่าจะเป็น Layer , สี หรือ Effect ต่างๆ .bmp (Bitmap file) : เป็นไฟล์พื้นฐานของ Windows .gif (Graphic Interchange) : เป็นไฟล์ที่ใช้กันมากบนอินเตอร์เน็ต เพราะง่ายต่อการบีบอัด ข้อมูล เพราะ มีขนาดเล็ก .jpg (Joint Photographic experts Group) : เป็นไฟล์นิยมใช้บนอินเทอร์เน็ตเช่นกันจะ แตกต่างกันที่ไฟล์นี้ จะมีความละเอียดของภาพค่อนข้างชัดเจน


2.9.3 ประโยชน์ของ Photoshop 2.9.3.1 งานตกแต่งภาพถ่าย ให้มีความสวยงามและคมชัดขึ้น 2.9.3.2 งานสิ่งพิมพ์ เนื่องด้วยสื่อสิ่งพิม์ต่างๆ เช่น หนังสือ นิตยสาร โฆษณา เกือบทุก งานล้วนแล้วแต่ต้องใช้รูปเพื่อสื่อความหมาย ซึ่งสามารถใช้ Photoshop ออกแบบและสร้างสรรค์ ภาพให้เป็นไปตามแนวคิดที่กาหนดไว้ได้ 2.9.3.3 งานเว็ บ ไซต์ บ นอิ น เทอร์ เ น็ ต ใช้ ส ร้ า งภาพเพื่ อ ตกแต่ ง เว็ บ ไซต์ ในส่ ว นของ Background ปุ่มตอบโต้ แถบหัวเรื่อง ตลอดจนภาพประกอบต่าง ๆ นอกจากนั้นยังสามารถออกแบบ หน้าเว็บไซต์ด้วย Photoshop ได้ 2.9.3.4 งานออกแบบทางกราฟิก ใช้ Photoshop ช่วยในการสร้างภาพ 3 มิติ การ ออกแบบปกหนังสือและผลิตภัณฑ์ การออกแบบการ์ดอวยพร เป็นต้น 2.9.3.5. สร้างภาพวาด สามารถออกแบบและสร้างภาพวาดที่ต้องการได้ โดยใช้เครื่องมือ ต่างๆที่ใช้งานง่าย ทั้งนี้การฝึกอบรมในครั้งนี้วิทยากรได้เน้นการใช้ Adobe Photoshop เพื่อการตกแต่งภาพถ่ายให้ มีความสวยงามมากยิ่งขึ้น โดยเริ่มจากการทดลองปรับแต่งภาพตัวอย่างที่เป็นภาพดวงอาทิตย์กาลังตก โดย ผู้ เข้าอบรมต้องการเลื อกพื้นที่ในภาพให้ดวงอาทิตย์อยู่ตรงกลางของภาพโดยใช้เครื่องมือที่ เรียกว่าSelection (Marquee Tool) จากนั้นทาการเลือกเฉพาะส่วนที่ต้องการด้วยคาสั่ง Crop จากนั้นทดลองย่อ-ขยายภาพด้วยคาสั่ง Image Size ปรับความสมดุลของสีและแสงด้วยคาสั่ง Image Adjustment ทั้งนี้ได้มีการปรับแต่งภาพถ่ายให้สวยงามด้วยเทคนิคต่างๆ ดังตัวอย่าง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.