เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครั้งที่ 66

Page 1

นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยะศรัทธารามัญ”

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครั้งที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ศิ ล ปะ สาระนาฏศิ ล ป์ “การแข่ ง ขั น นาฏศิ ล ป์ ไ ทยสร้ า งสรรค์ ” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 การแสดงชุด อารยศรัทธารามัญ จานวนหน้า หน่วยงานสนับสนุน

27 หน้า โรงเรียนสาธิตนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

พิมพ์ครั้งที่ 1 พุทธศักราช 2559 จานวน 10 เล่ม ผู้จัดทาข้อมูล/ออกแบบ นายลิขิต ใจดี บรรณาธิการ นายภาณุรัชต์ บุญส่ง คณะกรรมการผู้สร้างสรรค์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งอรุณ รังรองรัตน์ ผู้อานวยการโรงเรียน/การแสดง ดร.สุรัตน์ ขวัญบุญจันทร์ รองผู้อานวยการฝ่ายบริหาร ดร.ชัยอนันต์ มั่นคง รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เมธี พิกุลทอง รองผู้อานวยการฝ่ายพัฒนานักเรียน นายภาณุรัชต์ บุญส่ง ผู้ฝึกซ้อม นางสาวธนิสรา สาธุจรัญ ผู้ฝึกซ้อม นายลิขิต ใจดี ผู้ฝึกซ้อม นักเรียนชมรมศิลปะการแสดง ผู้แสดง

โรงเรียนสาธิตนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สังกัดคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โทร. 0-2954-7457

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


คานา เอกสารฉบั บ นี้ จั ด ท าขั้ น เพื่ อ ใช้ ป ระกอบการแข่ ง ขั น งานศิ ล ปหั ต กรรมนั ก เรี ย น ครั้งที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันประเภท นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที 1-6 เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกรอบ แนวคิดในการสร้างสรรค์ การแสดงชุด อารยศรัทธารามัญ คณะผู้สร้างสรรค์ได้เรียบเรียงเนื้อหาเกี่ยวกับกรอบแนวคิดการสร้างสรรค์ การแสดง ชุด อารยศรัทธารามัญ ประกอบไปด้วย แนวคิดการสร้างสรรค์ แนวคิดการกาหนดลักษณะและ รูปแบบการแสดง แนวคิดการกาหนดการแต่งกายและอุปกรณ์ประกอบการแสดง แนวคิดการ กาหนดดนตรีประกอบการแสดง และแนวคิดการกาหนดกระบวนท่าราประกอบการแสดง คณะผู้ส ร้างสรรค์ หวังว่าเอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหั ตกรรมนักเรียน ครั้งที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ ไทยสร้างสรรค์” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที 1-6 การแสดงชุด อารยศรัทธารามัญ จะเป็นข้อมูล เบื้ อ งต้ น เพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ กรอบแนวความคิ ด ในการสร้ า งสรรค์ การแสดง หากท่านผู้เชี่ยวชาญมีข้อชี้แนะหรื อคาแนะนาต่าง ๆ ผู้เขียนยินดีรับฟังข้อคิด เห็นด้ว ยความ เคารพเพื่อนาไปปรับปรุงการแสดงให้เกิดคุณภาพมากยิ่งขึ้น และสุดท้ายนี้ขอขอบพระคุณเจ้า อาวาสวัดหว่านบุญ ที่ได้เมตตาให้ความรู้เกี่ยวกับลักษณะการห่มผ้า ของสามเณรในงานโอกาส ต่าง ๆ เพื่อประกอบการแสดง ขอบคุณงานภูมิทัศน์ มทร. ธัญบุรีที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ต้นไม้ ต่าง ๆ เพื่อนามาตกแต่งฉากประกอบการแสดง ขอบคุณพิพิธภัณฑ์บัว มทร. ธัญบุรี ที่ได้ให้ ความรู้ เ กี่ ย วกั บ สายพัน ธุ์ ด อกบั ว เพื่ อ น ามาประกอบการแสดง ขอบคุ ณ คณะผู้ บ ริ ห าร ครู อาจารย์ โรงเรียนสาธิตนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีที่ได้ให้การสนับสนุน ตลอดมา ขอบคุณ รองศาสตราจารย์ คารณ สุนทรานนท์ และ รองศาสตราจารย์ ดร.รจนา สุนทรานนท์ ทีไ่ ด้ให้ความเมตตาชี้แนะแนวทาง ตลอดจนข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับศิลปะการแสดง พื้นบ้าน จังหวัดปทุมธานี เพื่อ สร้างสรรค์การแสดงในครั้งนี้ และขอบพระคุณผู้ที่ เกี่ยวข้องทุก ท่านมา ณ โอกาส คณะผู้สร้างสรรค์ เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


สารบัญ เรื่อง

หน้า คานา

สารบัญ

กรอบแนวคิดพื้นฐานในสร้างสรรค์การแสดง

3

แนวคิดการกาหนดรูปแบบและลักษณะการแสดง

5

แนวคิดการกาหนดการแต่งกายและอุปกรณ์ประกอบการแสดง

6

แนวคิดการกาหนดดนตรีประกอบการแสดง

16

แนวคิดกระบวนการสร้างสรรค์ท่าราประกอบการแสดง

17

บรรณานุกรม

20

ภาคผนวก

21

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

นวัตกรรมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ โรงเรียนสาธิตนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

2

นวัตกรรมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ โรงเรียนสาธิตนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ชุด “อารยศรัทธารามัญ” นวั ตกรรมการแสดงนาฏศิ ลป์ ไทยสร้ างสรรค์ ชุ ด “อ าร ย ศ รั ท ธ า รา มั ญ ” คณะผู้สร้างสรรค์ได้ดาเนินตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ในหัวข้อต่อไปนี้ 1.1 ประเพณีตักบาตรพระร้อย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี 1.2 ลักษณะการแต่งกายสตรีไทยเชื้อสายรามัญ จังหวัดปทุมธานี 1.3 วงดนตรีปี่พาทย์มอญ 1.4 กระบวนท่ารามอญ 14 ท่า จากงานวิจัยรองศาสตราจารย์ ดร. รจนา สุนทรานนท์ เรื่อง การอนุรักษ์การแสดงพื้นบ้าน จังหวัดปทุมธานี 1.5 ภาษาท่ารานาฏศิลป์ไทย 2. กาหนดนวัตกรรมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ” 2.1 กรอบแนวคิดพื้นฐานในการสร้างสรรค์ 2.2 แนวคิดการกาหนดรูปแบบและลักษณะการแสดง 2.3 แนวคิดการกาหนดการแต่งกายและอุปกรณ์ประกอบการแสดง 2.4 แนวคิดการกาหนดดนตรีประกอบการแสดง 2.5 แนวคิดการกาหนดกระบวนท่ารา

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

3

กรอบแนวคิดพื้นฐานในสร้างสรรค์การแสดง ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

ประเพณีตักบาตรพระร้อย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เป็นประเพณีตักบาตร ทาบุญที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นเวลายาวนานของจังหวัดปทุมธานี การตักบาตรพระร้อยจะเริ่ม ตั้งแต่เทศกาลออกพรรษา แรม 1 ค่า เดือน 11 เป็นต้นไป ในช่วงเดือนนี้เป็นฤดูฝนน้าหลาก ท่วมล้นสองฝั่งลาน้าเจ้าพระยา การสัญจรไปมาจึงนิยมใช้เรือเป็นส่วนใหญ่ วัดที่จัดประเพณีตัก บาตรพระร้อยจึงเป็นวัดที่ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้า ในเขตอาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี คือ วัดเจดีย์ ทอง วัดบัวหลวง วัดไผ่ล้อม วัดไก่เตี้ย วัดบางนา วัดบางเตยกลาง วัดบางโพธิ์ใน วัดบางพร้าว ใน วัดชัยสิทธาวาส และวัดบ้ านพร้าวนอก ประเพณีตั กบาตรพระร้อยจะทากันในช่ว งเช้า ผู้ที่มาร่ วมตักบาตรจะลงเรื อเข้ามากัน เป็ น แถวยาวตามล าน้าหน้าวัด ส่ว นพระสงฆ์ที่ มารับ บิณฑบาต จะเริ่มตั้งแต่ต้นจนสุดแถวยาวตามลาน้าหน้าวัด ประชาชนในเขตอ าเภอสามโคก จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ประกอบไปด้ ว ยชาติ พั น ธุ์ ที่ หลากหลายเข้ามาอาศัย อยู่ร่วมกัน หนึ่งในนั้นมีคนไทยเชื้อสายรามัญหรือมอญ อาศัยอยู่เป็น จานวนมาก ต่างมีจิตเลื่อมใสศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา และมีความสามัคคีพร้อมเพรียงกันใน ฐานะของพุทธศาสนิกชน ซึ่งนับว่าประเพณีตักบาตรพระร้อยเป็นประเพณีที่ช่วยส่งเสริมและ สร้างสรรค์สังคมให้มีความสุขสงบร่มเย็น และวงเดือน สุขบาง (2526: 37) ยังกล่าวอีกว่า ประเพณีตักบาตรพระร้อย ช่วยขัดเกลาจิตใจของประชาชนให้เป็นคนที่รู้จักการแบ่ง ปัน และลด ความเห็นแก่ตัว ซึ่งถือว่าเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก ๆ และเยาวชน ทาให้เยาวชนในชุมชนเป็น เยาวชนที่ ดี ข องสั ง คม รั ก และภาคภู มิ ใ จในความเป็ น ชาติ พั น ธุ์ เ กิ ด ความเจริ ญ รุ่ ง เรื อ งทาง วัฒนธรรมที่เรียกว่า อารยธรรม นวัตกรรมการแสดงนาฏศิล ป์ ไทยสร้างสรรค์ เป็นการนาเสนอความคิดสร้างสรรค์ จิ น ตนาการ เรื่ องราวต่าง ๆ ผสมผสานระหว่างการแสดงนาฏศิล ป์ไทยแบบมาตรฐานและ เอกลักษณ์เด่นของโครงสร้างศิลปะการแสดงพื้นบ้านแบบรามัญ คือ รามอญ 14 ท่า ของคณะ เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

4

ดุริยะเสนาะศิลป์ จากงานวิจัยเรื่อง การอนุรักษ์การแสดงพื้นบ้าน จังหวัดปทุมธานี ผลงานการ วิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.รจนา สุนทรานนท์ มาเป็นแนวทางในการสร้างสรรค์ โดยได้นา หลักเกณฑ์และกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานของท่านผู้เชี่ยวชาญทางด้านนาฏศิลป์ไทยมาเป็น พื้ น ฐานในการสร้ า งสรรค์ ก ารแสดงชุ ด “อารยศรั ท ธารามั ญ ” ซึ่ ง พจนานุ ก รรมฉบั บ บัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2554 ได้ให้ความหมายคาว่า อารยะ หมายถึง ความเจริญรุ่งเรื่อง (2554: ออนไลน์) คาว่า ศรัทธา หมายถึง ความเชื่อ ความเลื่ อมใส (2554:ออนไลน์ ) คาว่า รามัญ หมายถึง มอญ (2554: ออนไลน์) ดังนั้นคาว่า อารยศรัทธารามัญ จึงหมายความว่าการ แสดงที่ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ปรั ช ญา ความเชื่ อ ความเลื่ อ มใสศรั ท ธาของชาวรามั ญ ที่ มี ต่ อ พระพุทธศาสนา ก่อให้เกิดขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ดีงาม เป็นหลักของชาติพันธุ์ นาไปสู่ความ เป็นอารยธรรม โดยนาเสนอในรูปแบบของการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ผ่านการร่ายราของ หญิงสาวชาวรามัญ ที่จะเดินทางไปร่วมประเพณีตักบาตรพระร้อยด้วยความศรัทธาอย่างเบิก บานใจ อีกทั้งคณะผู้สร้างสรรค์หวังว่าการแสดงชุดนี้จะช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในระดับภูมิภาคตามนโยบายของประเทศต่อไป

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

5

กรอบแนวคิดการกาหนดรูปแบบและลักษณะการแสดงชุด“อารยศรัทธารามัญ”

คณะผู้สร้างสรรค์ ได้กาหนดรูปแบบของการแสดงชุด “อารยศรัทธารามัญ” ให้อยู่ใน รูปแบบของการนาฏศิลป์ไทยประเภทระบา ซึง่ เป็นการราของหญิงสาวชาวรามัญจานวน 10 คน เพื่อที่จะไปเข้าร่วมประเพณีตักบาตรพระร้อย ด้วยความสนุกสนาน ความเลื่อมใส ศรัทธาต่อ พระพุทธศาสนา และตัวละครประกอบการแสดง คือ ผู้แสดงที่ได้รับเป็นสามเณร จานวน 3 คน และผู้แสดงที่ได้รับบทบาทเป็นเด็กวัดจานวน 1 คน เพื่อที่ให้การแสดงเกิดความสุนทรยะดาเนิน ไปตามกรอบแนวคิดของการสร้างสรรค์ ซึ่งสามารถแบ่งการแสดงออกเป็น 4 ช่วง ดังนี้ ช่วงที่ 1 สาวมอญเชิญชวน เป็นการร่ายราของหญิงสาวชาวรามัญ ที่เชิญชวนกัน เพื่อที่จะไปร่วมประเพณีตักบาตรพระร้อย ด้วยความสนุกสนาน ความเลื่อมใส และศรัทธาต่อ พระพุทธศาสนา ช่วงที่ 2 สาวมอญแต่งตัว เป็นการร่ายราของหญิงสาวชาวรามัญที่ใช้กระบวนท่ารา ทางนาฏศิลป์ไทยแบบมาตรฐานมาผสมผสานกับโครงสร้างท่ารามอญ เพื่อสื่อถึงการแต่งตัวใน การจะไปร่วมประเพณีตักบาตรพระร้อย ช่วงที่ 3 สาวมอญล่องเรือ เป็นการร่ายราของหญิงสาวชาวรามัญ ที่ใช้กระบวนท่ารา ทางนาฏศิลป์ไทยแบบมาตรฐานมาผสมผสานกับโครงสร้างท่ารามอญ เพื่อสื่อถึงการเดินทางทาง เรื อ โดยในมือของผู้ แสดงจะถือตะกร้ าที่มีอาหารคาว อาหารหวาน ดอกบัว ธูป และเทียน เพื่อทีจ่ ะไปร่วมประเพณีตักบาตรพระร้อย ช่วงที่ 4 สาวมอญตักบาตร หญิงสาวชาวรามัญเข้าร่วมประเพณีตักบาตรพระร้อย ด้วย ความเลื่อมใส ศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

6

กรอบแนวคิดการกาหนดการแต่งกายและอุปกรณ์ประกอบการแสดง ชุด“อารยศรัทธารามัญ” การแต่งกายของผู้แสดง จากการศึ กษาลั กษณะของการแต่ งกายของสตรี ไทยเชื้ อสายรามั ญ อ าเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี พบว่า แต่เดิมชาวรามัญที่มาราในงานศพ เพื่อแสดงความเคารพต่อผู้ที่เสียชีวิต ดั ง นั้ น การแต่ ง กายจะแต่ ง กายตามแบบของชาวรามั ญ ในลั ก ษณะที่ เ ป็ น แบบชาวบ้ า น มีสีที่หลากหลายสวยงามตามแบบชาวบ้าน ไม่มีกฎเกณฑ์ที่ว่าไปงานศพต้องสวมชุดดาแต่อย่าง ใด สีของชุดจะใช้สีตามความชอบ ต่อมาเมื่อบริบทของการราเปลี่ยนไปเป็นลักษณะของการรา เชิงธุรกิจมากขึ้น ลักษณะการแต่งกายก็จะมีสีและรูปแบบเหมือนกันเป็น หมู่คณะ อย่างไรก็ตาม ก็ยังคงแต่งกายเลียนแบบหญิงสาวชาวรามัญ คือสวมเสื้อคอกลมแขนกระบอก นุ่งผ้าซิ่นลายทาง ลงยาวกรอมเท้า มี ผ้ าสไบผื น เล็กพาดบริเวณไหล่ หรือคล้ องคอปล่ อยห้ อยมาทางข้างหน้า เกล้าผม พร้อมกับประดับดอกไม้บริเวณศีรษะ และสวมกาไลเท้า รวมกับแนวคิดในการประดิษฐ์ ท่า ร า ที ่ต ้อ งการสื ่อ ให้เ ห็น ถึง การแสดงที ่ม ีค วามงดงามตามเอกลัก ษณ์ข องการแสดง ในขณะเดียวกันยังออกแบบให้เห็นถึงความอ่อนหวานสวยงามของสตรีที่เดินทางไปร่วมประเพณี ตักบาตรพระร้อย ด้วยความเบิกบานใจ ความเลื่อมใส และศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา การแต่ง กายประกอบการแสดงชุด อารยศรัทธารามัญ จึงมีรูปแบบคือ สวมเสื้อ แขนกระบอกสีค รีม มีผ้าคล้องคอสีม่ว ง และนุ่ง ผ้าซิ่น มีเชิง สีม่ว ง เกล้า ผม เพื่อสื่อ ให้เห็น ถึง เอกลักษณ์การแต่ง กายของสตรีไทยเชื้ อสายรามัญ ทัดดอกบัวหลวงบริเวณศีรษะทางด้านซ้ายเพื่อสื่อถึงการไปเข้า ร่ ว มงานบุ ญ อีก ทั้ง ดอกบั ว หลวงยั งเป็ น ดอกไม้ประจ าจัง หวั ดปทุ มธานี อี กด้ ว ย และสวมใส่ เครื่องประดับต่าง ๆ เพื่อให้การแสดงเกิดความสุนทรียะมากยิ่งขึ้น ดังภาพนี้

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

7

เครื่องแต่งกายประกอบด้วย 1. เสื้อแขนกระบอกสีครีม

2. ผ้าคล้องคอสีม่วง

3. ผ้าซิน่

4. เชือกรัดเอว

5. สร้อยคอ

6. ต่างหู

7. กาไลข้อมือ

8. เข็มขัด

9. ดอกบัวหลวงและปิ่นประดับศีรษะ

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

8

1. เสื้อแขนกระบอก มีลักษณะเป็นเสื้อสีครีมแขนทรงกระบอกผ่าอกยาวตลอดทั้งตัว ตามลักษณะการแต่งกายของสตรีไทยเชื้อสายรามัญ

2. ผ้าคล้องคอ ใช้ผ้าสีม่วงติดพู่บริเวณปลาย ใช้สาหรับคล้องคอผู้แสดง ชายผ้าทั้ง สองข้างอยู่ในระดับที่เท่ากันตามลักษณะการแต่งกายของสตรีไทยเชื้อสายรามัญ

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

9

3. ผ้ า ซิ่ น มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น สี่ เ ห ลี่ ย ม ผื น ผ้ า ใ ช้ เ ป็ น ผ้ า นุ่ ง มี สี ม่ ว ง ล า ย ย ก ด อ ก บริเวณเชิงยาวกรอมเท้ามีเพื่อความเรียบร้อยและสวยงามตามลักษณะการแต่งกายของ สตรีไทยเชื้อสายรามัญ

4. เชือกรัดเอว เป็นผ้าดิบสีขาว มีความกว้างและยาวพอสมควร ใช้สาหรับรัดเอวทับบน ผ้าซิน่ เพื่อความแน่นและป้องกันผ้าซิ่นหลุด เหตุที่ใช้ผ้าดิบ เพราะผ้าไม่ม้วนตัว เนื้อผ้า ไม่แข็งและนิ่มจนเกินไป มีราคาถูก หาซื้อได้ง่าย

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

10

5. สร้อยคอ เป็นเครื่องประดับสีทอง มีลักษณะคล้ายรูปดอกไม้ เพราะการแสดง ชุด อารยศรัทธารามัญ มีเนื้อหาเกี่ยวกับประเพณีทางพระพุทธศาสนา ในประเพณีตัก บาตรพระร้อย ชาวบ้านมักนิยมนาดอกไม้ไปถวายพระนั้นเอง

6. ต่างหู มีลักษณะเดียวกับสร้อยคอ มีลักษณะคล้ายรูปดอกไม้ แต่ไม่จาเป็นต้องใส่เพียง ต่างหูรูปดอกไม้ สามารถปรับเปลี่ยนใส่ต่างหูในรูปแบบอื่นได้ ตามความเหมาะสม

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

11

7. กาไลข้อมือ มีลักษณะเดียวกับสร้อยคอและต่างหู คือมีลักษณะเป็นรูปดอกไม้ แต่ไม่ จาเป็ นต้องใส่ เพีย งรูปแบบเดียว สามารถปรับเปลี่ ยนใส่ในรูปแบบอื่น ได้ ตามความ เหมาะสม

8. เข็มขัด เข็มขัดมีลักษณะเป็นเส้นสีทองหรือสามารถใช้แบบอื่นได้ ตามความเหมะสม ของผู้แสดง อาจมีลักษณะคล้ายคลึงกับเครื่องประดับอื่นได้

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

12

9. ดอกบัวหลวงและปิ่น ประดับศีรษะ ใช้เป็นช่อดอกบัวหลวงสีขาวเพื่อสื่อถึงการไปเข้า ร่วมงานบุญ และดอกบัวหลวงยังเป็นดอกไม้ประจาจังหวัดปทุมธานี ใช้ประดับผมทาง ด้านซ้ายของศีรษะ และปิ่นปักผมสีทองมีลักษณะคล้ายคลึงกับดอกบัวหลวงในขณะที่ ตูมใช้ประดับทางด้านซ้ายของศีรษะ

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

13

การตกแต่งทรงผมผู้แสดง การตกแต่งทรงผมการแสดงอารยศรัทธารามัญ เป็นลักษณะการเกล้าผมบริเวณกลาง ศีร ษะ ทัดดอกบั ว บั ว หลวงและปิ่ น ไว้บ ริ เวณด้านซ้ายของศีรษะตามจารีตของนาฏศิล ป์ไทย ดังภาพนี้

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

14

การแต่งกายของตัวละครประกอบการแสดง จากการที่ ให้ นั กเรี ยนชมรมศิ ลปะการแสดง โรงเรี ยนสาธิ ตนวั ตกรรม มหาวิ ทยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีได้เข้าร่วมศึกษาลักษณะการนุ่งผ้าของสามเณร จาก ดร.พระมหาสมโชค ชุตินฺธโร เจ้าอาวาสวัดหว่านบุญ จังหวัดปทุมธานี (2559: สัมภาษณ์) พบว่า ลักษณะการแต่งกาย ของสามเณร เรียกว่า นุ่งห่มผ้าจีวรแบบสามเณร และท่านยังได้กล่าวเพิ่มเติ มอีกว่าการที่จะนา ขนบธรรมเนี ยม ประเพณี ทางพระพุ ทธศาสนามาน าเสนอในรูปแบบการแสดงนั้ นเป็ นเรื่องที่ ละเอียดอ่อน แต่หากทาตามรูปแบบและจารีต ไม่ผิดศีลธรรมก็เป็นสิ่งที่ดีควรได้รับการสนับสนุน ทาให้เยาวชนของเราจะได้เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม และจะไม่สูญหายตามกาลเวลา ในการนี้เพื่อให้สถานการณ์ในการแสดงเกิดความสมจริง สุนทรียะครบถ้วนตามกรอบ แนวคิดในการสร้างสรรค์ ผู้ที่ได้รับบทบาทสามเณรที่มารับบิณฑบาตในประเพณีตักบาตรพระ ร้อยในการแสดงชุดอารยศรัทธารามัญจึงเป็นการนุ่งห่มผ้าจีวรแบบสามเณร ที่ให้สาหรับกิจทั่วไป และผู้ที่ได้รับบทบาทเด็กวัดจึงมีลักษณะการแต่งกายแบบเสื้อขาวกางเกงขาสั้นรองเท้านักเรียน

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

15

อุปกรณ์ประกอบการแสดง ตะกร้าไม้หวายใช้ประกอบการแสดงชุดอารยศรัทธารามัญ ซึ่งในตะกร้าประกอบไปด้วย อาหารคาว อาหารหวาน ดอกไม้ ธูป และเทียน ที่ใช้สาหรับการไปตักบาตรพระร้อยของสตรี ไทยเชื้อสายรามัญ

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

16

การกาหนดกรอบแนวคิดดนตรีประกอบการแสดงชุด“อารยศรัทธารามัญ”

คณะผู้สร้างสรรค์ได้กาหนดกรอบแนวคิดในการสร้างสรรค์เพลงที่ใช้ประกอบการแสดง ชุด อารยศรัทธารามัญ เพื่อเกิดความสุนทรียะในแสดงตามกรอบแนวคิดการสร้างสรรค์ โดยใช้ วงดนตรีพื้นบ้านจังหวัดปทุมธานี คือ วงปี่พาทย์มอญบรรเลงประกอบการแสดง ประกอบไป ด้วย ฆ้องมอญวงใหญ่ ฆ้องมอญวงเล็ ก ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ปี่มอญ ตะโพน เปิงมางคอก ฉาบใหญ่ และฉิ่ง ซึง่ สามารถกาหนดทานองเพลงออกเป็น 4 ช่วง ดังนี้ ดนตรีประกอบการแสดงช่วงที่ 1 ช่วงที่ 2 และช่วงที่ 3 เป็นการสร้างสรรค์ทานอง เพลงขึ้นใหม่ โดยใช้สาเนียงแบบรามัญ ส่วนทานองเพลงประกอบการแสดงช่วงที่ 4 ใช้เพลงเร็ว รับพระ เป็นเพลงของวงปี่พาทย์มอญ สื่อถึงความเลื่อมใส ศรัทธาของชาวรามัญอาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ที่มีต่อพระพุทธศาสนา ผ่านประเพณีตักบาตรพระร้อย

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

17

การกาหนดกรอบแนวคิดกระบวนการสร้างสรรค์ท่าราชุด“อารยศรัทธารามัญ”

รจนา สุนทรานนท์ (2547: 56-60) ได้กล่าวว่า ลีลาท่ารามอญหรือมอญราหรือราย่า เที่ยง ในคณะปี่พาทย์มอญของครูมงคล ซึ่งเป็นลูกหลานที่ได้รับสืบทอดกันต่อมา มีทั้งหมด 14 ท่า โดยเริ่มจากการกราบก่อนแล้วเริ่มราท่าต่าง ๆ โดยเริ่มจากการยืนเหลื่อมเท้าสลับ เหลื่อมเท้าย่อเข่าลงยืนวางมือแนบข้างลาตัว 3 จังหวะ แล้วจึงเริ่มท่าราในแต่ละท่า รวมแล้วมี ท่าราทั้งหมด 14 ท่า การแสดงชุด “อารยศรัทธารามัญ” เป็นการผสมผสานระหว่างการแสดงนาฏศิลป์ไทย แบบมาตรฐานและเอกลักษณ์เด่นของโครงสร้างศิลปะการแสดงพื้นบ้านแบบรามัญ คือการรา มอญ 14 ท่า ของคณะดุริยะเสนาะศิลป์ จังหวัดปทุมธานี จากงานวิจัยเรื่อง การอนุรักษ์การ แสดงพื้นบ้าน จังหวัดปทุมธานี ผลงานการวิจัย ของรองศาสตราจารย์ ดร.รจนา สุนทรานนท์ มาเป็นแนวทางในการสร้างสรรค์ โดยได้นาหลักเกณฑ์และกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานของ ท่านผู้เชี่ยวชาญทางด้านนาฏศิลป์ไทยมาเป็นพื้นฐานในการสร้างสรรค์การแสดง ซึ่งสามารถ ยกตัวอย่างกระบวนท่าราตามช่วงการแสดงได้ดังนี้

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

ช่วง

ภาษาท่ารานาฏศิลป์ไทย

ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน รามอญ คณะดุริยะเสนาะศิลป์ จังหวัดปทุมธานี

18

ท่ารานาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด อารยศรัทธารามัญ

1

ท่าต่อศอก แหล่งที่มา: รจนา สุนทรานนท์ ท่าเรียก

ท่าเรียกหรือเชิญชวน

2

ท่านุ่งผ้า แหล่งที่มา:https://www.you tube.com/watch

ท่าจับผ้ารวมมือ แหล่งที่มา: รจนา สุนทรานนท์

ท่านุ่งผ้าซิ่น

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

ช่วง

ภาษาท่ารานาฏศิลป์ไทย

ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน รามอญ คณะดุริยะเสนาะศิลป์ จังหวัดปทุมธานี

19

ท่ารานาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด อารยศรัทธารามัญ

3

ท่าจีบยาวมือซ้าย แหล่งที่มา: รจนา สุนทรานนท์ ท่าลอยน้า

ท่าเดินทางทางเรือ

4

ท่านั่งไม่ปรากฏ ในกระบวนท่ารามอญ

ท่านั่งตัวนาง แหล่งที่มา: รจนา สุนทรานนท์

ท่านั่ง

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

20

บรรณานุกรม ผุสดี หลิมสกุล. 2557. ราเดี่ยวมาตรฐานตัวนาง. 23 ตุลาคม, 2559, ศกุนตลาทรงเครื่อง: เข้าถึงข้อมูลจาก https://www.youtube.com/watch รจนา สุนทรานนท์. 2547. การอนุรักษ์การแสดงพื้นบ้าน จังหวัดปทุมธานี . คณะนาฏศิลป์ และดุริยางค์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพมหานคร: นามมีบุ๊คส์พับบลิเคชั่นส์. วงเดือน สุขบาง. 2526. การศึกษาประเพณีการราพาข้าวสารและการตักบาตรพระร้อยใน อ าเภอ จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี . ส านั ก งานคณะกรรมการวั ฒ นธรรมแห่ ง ชาติ กระทรวงศึกษาธิการ. สมโชค ชุตินฺธโร, พระมหา. เจ้าอาวาสวัดหว่านบุญ จังหวัดปทุมธานี. สัมภาษณ์, 25 ตุลาตม 2559.

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

21

ภาคผนวก

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

22

รายชื่อนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครั้งที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที 1-6 การแสดงชุด อารยศรัทธารามัญ

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 1. ด.ญ. ณัฐทิตา วงศ์โรจน์ 2. ด.ญ. ณัฐกฤตา ไชยปัญญา 3. ด.ญ. ธฤษวรรณ สุวรรณงาม 4. ด.ญ. ณิชาดา สุวะไกร 5. ด.ญ. กัญจนพร ศรีเสาวลักษณ์ 6. ด.ญ. วรภิญญา ผิวสอาด 7. ด.ญ. ธีรกานต์ มูลเมือง 8. ด.ช. จรณภัทร วงศ์สุคติเวช 9. ด.ช. วลีด วรรณศรี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 10. ด.ญ. นภสร ธารงศักดิ์ 11. ด.ญ. ยูจิน กู 12. ด.ญ. ร่มชนก มาตยคุณณ์ 13. ด.ช. ภูเบศ มุ้งทอง 14. ด.ช. ศิวัฒม์ ลีรักษา

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

23

ศึกษาเรียนรู้การนุ่งห่มผ้าจีวรของสามเณร

อุปกรณ์ประกอบการแสดง เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

24

ฝึกซ้อมการแสดง

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


นาฏศิลป์ไทยสร้ างสรรค์ ชุด “อารยศรัทธารามัญ”

25

แต่งหน้าเพื่อจัดทาเอกสารประกอบการแสดง

ฉากประกอบการแสดง เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ที่ 66 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที 1-6


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.