บทความสิริธรชาดก(ผลของทาน)การสร้างสรรค์หนังสือนิทานสำหรับเด็ก

Page 1

1

สิริธรชาดก (ผลของทาน) : การสร้างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็ก เพื่อส่งเสริมลักษณะนิสัยตามหลักปฏิบัติค่านิยม 12 ประการ SIRIDRON JATAKA : THE CHILDREN’S CREATIVE STORY FOR BEHAVIOR AS TWLVE VALUEA ANNOUCED BY THE HEAD OF THE NATIONAEL CONCIL OF PEACE AND ORDER (NCPO) ลิขิต ใจดี ครูประจำกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธำนี เลขที่ 5 ม.5 ถ.พหลโยธิน-ลำลูกกำ ตำบลลำไทร อำเภอลำลูกกำ จังหวัดปทุมธำนี 12150 เบอร์โทรศัพท์ 084-435-6393 อีเมล์ Likhit502jaidee@gmail.com

บทคัดย่อ นิทำนเรื่องสิริธรชำดก (ผลของทำน) เป็นกำรนำวรรณกรรมทำงพระพุทธศำสนำเรื่องสิริธรชำดก ในปัญญำสชำดก มำดัดแปลงให้อยู่ในรูปแบบของนิทำนสำหรับเด็ก โดยมีเนื้อหำสำระสอดคล้องกับค่ำนิยม 12 ประกำร ตำมนโยบำยของคณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ (คสช.) นิทำนเรื่องสิริธรชำดก (ผลของทำน) เป็นกำรส่งเสริมให้เด็กเกิดกำรเรียนรู้ตำมศักยภำพและ ปฏิบัติ ตนให้เป็นเยำวชนไทยที่ดี มีคุณค่ำต่อสังคมตำมหลักค่ำนิยมในข้อที่ 6 คือ มีศีลธรรม รักษำควำมสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน ซึ่งเป็นคุณสมบัติของเยำวชนไทยที่ควรแก่กำรยึดถือและปฏิบัติต่อไป คาสาคัญ : นิทำน, สิริธรชำดก, ค่ำนิยม 12 ประกำร

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


2

Abstract The story called Siridron Jataka is the introdvetion of Buddhist literature in Punyasa Chodok. The writer adapted the story into a form of storytelling for children based on 12 valves by National Counil for Peace and Order (NCPO) The story of Siridron Jataka encourages children to always study hard, be a good Thai youth and have fine ideology for pvblic. These appeared in the sixth valve; that is, being ethical, honest, well-intentioned, and generovs which are the qvalities. That a teenager should posses. Keywords: Story, Siridron Jataka, valves

บทนา เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


3

หนังสือเป็นสื่ออย่ำงหนึ่งที่มีบทบำทสำคัญต่อกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตของมนุษย์ ซึ่งจะนำไปสู่ควำม เจริญงอกงำม ทั้งทำงอำรมณ์ สังคม และสติปัญญำ อีกทั้งยังเป็นกำรส่งเสริมให้มนุษย์มีคุณลักษณะนิสัย รักกำรอ่ำน เห็นคุณค่ำและควำมสำคัญของหนังสือ ดั่งพระบรมรำโชวำทของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชฯ รั ช กำลที่ 9 ที่ ท รงพระรำชทำนแก่ ค ณะสมำชิ ก ห้ อ งสมุ ด ทั่ ว ประเทศ ในวั น ที่ 15 พฤศจิกำยน 2514 ณ ศำลำ ดุสิดำลัย สวนจิตรลดำ ว่ำ “หนังสือเป็นกำรสะสมควำมรู้ และทุกสิ่งทุก อย่ำงที่มนุษย์ได้สร้ำงมำ ทำมำ คิดมำแต่โบรำณกำลจนทุก วันนี้ หนังสือจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ เป็นคล้ำย ๆ ธนำคำรควำมรู้และเป็นออมสิน เป็นสิ่งที่จะทำให้มนุษย์ก้ำวหน้ำได้โดยแท้” หนังสือจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญ ค่อยบันทึกเรื่องรำวและเหตุกำรณ์ ต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นเอำไว้ให้กับบุคคลรุ่นหลังได้นำเป็นแนวทำงในกำร ปฏิบัติตน และยังเป็นประโยชน์ต่อวงกำรทำงกำรศึกษำ เพื่อนำไปพัฒนำสังคมและประเทศชำติต่อไป ดั่งที่ พิมพ์จิต สถิตวิทยำนันท์ (2546: 1) ได้กล่ำวไว้ว่ำ หนังสือเปรียบ เสมือนหนึ่งขุมทรัพย์ทำงปัญญำ และคลังแห่งควำมบันเทิงขนำนมหึมำสำหรับมวลมนุษย์ ไม่เว้นแม้แต่หนังสือนิทำน ซึ่งหนังสือนิทำนนั้น เป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยสร้ำงสรรค์และเสริมสร้ำงพัฒนำกำรทำงด้ำนต่ำง ๆ ให้แก่เด็ก นิทำนสำหรับเด็ก เป็นกุศโลบำยอย่ำงหนึ่งที่มุ่งเน้นทำงด้ำนจิตวิทยำเป็นสำคัญที่จะค่อยปลูกฝังให้ เด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี เป็นบุคคลที่มีคุณภำพ พร้อมที่จะเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และเป็นกำลังสำคัญของชำติ ต่อไปด้วยเหตุนี้หนังสือนิทำนสำหรับเด็กจึงได้รับควำมนิยม และได้รับกำรสนับสนุนจำกภำครัฐบำลและ เอกชน ในปัจจุบันนี้สำนักพิมพ์และผู้ผลิตหนังสือนิทำนสำหรับเด็กของไทยต่ำงควำมสนใจและได้มีกำร พัฒนำคุณภำพของหนังสื อทั้งทำงด้ำน เนื้อเรื่อง ภำพประกอบ และรูปแบบของหนังสือให้น่ำสนใจมำก ยิ่งขึ้น(ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนำพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม, 2552: 11)และที่สำคัญนิทำนสำหรับเด็กจะสำมำรถ ถ่ำยทอดองค์ควำมรู้ใหม่และควำมคิดให้กับเด็กได้ ผ่ำนเนื้อหำสำระในนิทำนที่ประกอบไปด้วยลักษณะตัว ละคร เหตุกำรณ์ หรือพฤติกรรมต่ำง ๆ ที่มีโดดเด่นและสะดุดตำ จะทำให้กระตุ้นให้เด็กเกิดควำมสนใจ ตั้งใจฟัง มีสมำธิ ขณะเดียวกันเด็กจะได้เรียนรู้ทำงด้ำนภำษำจำกเนื้อหำของนิทำน เกิดควำมเข้ำใจเกี่ยวกับ กลุ่มคำใหม่ จนเกิดกำรพัฒนำกำรอย่ำงถำวร (ศิริลักษณ์ คลองข่อย, 2555: 2) ซึ่งจุดมุ่งหมำยหลักของ นิทำนสำหรับเด็กนั้น เพื่อสร้ำงควำมบันเทิง และขัดเกลำจิตใจ ก่อให้เกิดแต่สิ่งที่ดีงำมภำยในจิตใจเด็ก เช่น นิทำนเรื่องปลำปู่ทอง ให้ข้อคิดเกี่ยวกับควำมกตัญญูกตเวทีและผลของกำรปฏิบัติในสิ่งที่ดีงำม เป็นต้น นิ ท ำนส ำหรั บ เด็ ก มี ห ลำกหลำยรู ป แบบ ดั่ ง ที่ วิ ริ ย ะ สิ ริ สิ ง ห(2524: 14) และ ปิ ย รั ต น์ วิภำสุรมณทล (2532: 56) ได้กล่ำวเอำไว้ว่ำ หนังสือนิทำนสำหรับเด็กนั้นสำมำรถแบ่งตำมเกณฑ์ของอำยุ และเกณฑ์ระดับชั้นเรียนได้ แต่หำกจะแต่งตำมลักษณะของเรื่องก็สำมำรถแบ่งได้เช่นกั น ขึ้นอยู่กับผู้แต่ง หรื อผู้ ส ร้ ำงสรรค์จ ะน ำเสนอให้ อยู่ ในรู ป แบบและลั กษณะใด และที่ส ำคัญอีกประกำรหนึ่งผู้ แต่งหรือ ผู้ สร้ำงสรรค์จะต้องมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับพัฒนำกำรทำงด้ำนร่ำงกำย สติปัญญำ และควำมสนใจของ เด็กในแต่ช่วง ซึ่งจะแตกต่ำงกันออกไป สิ่งเหล่ำนี้จะเป็นสิ่งที่ผู้แต่งหรือผู้สร้ำงสรรค์ควรจะคำนึงถึงเป็น อันดับแรก เพื่อที่จะทำให้หนังสือนิทำนเรื่องนั้น ๆ เป็นที่นิยมและสนใจของเด็ก ๆ หำกหนังสือเรื่องนั้นเป็น

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


4

ที่นิยมหรือเด็กสนใจมำกเป็นพิเศษ ก็จะถือว่ำนิทำนเรื่องนั้นมีประสิทธิภำพ บรรลุตำมวัตถุประสงค์ในกำร แต่งหรือสร้ำงสรรค์นั่นเอง ในศตวรรษที่ 21 นี้ มีกำรส่งเสริมให้มีกำรจัดกำรเรียนรู้ในชั้นเรียนที่หลำกหลำยรูปแบบขึ้นอยู่กับ เทคนิคและวิธีกำรของครูผู้สอน เพื่อที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้อย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุดอย่ำงเต็ม ศักยภำพตำมกระบวนและวิธีกำรของครูผู้สอน ซึ่งรูปแบบกำรจัดกำรเรียนรู้ด้วยใช้นิทำนเป็นสื่อก็เป็นหนึ่ง ในรูปแบบที่มีควำมนิยมมำกในปัจจุบัน และเหมำะสำหรับโรงเรียนในระดับชั้นประถมศึกษำ ดังนั้น จึงเกิด แรงบันดำลใจที่จะนำวรรณกรรมทำงพระพุทธศำสนำ เรื่องสิริธรชำดกในปัญญำสชำดก มำดัดแปลงให้อยู่ ในรูปแบบของนิทำนสำหรับเด็ก โดยนิทำนเรื่องนี้ จะเหมำะสำหรับเด็กในช่วงอำยุ 9-12 ปี มีเนื้อหำสำระ สอดคล้องกับหลั กปฏิบั ติค่ำนิย ม 12 ประกำร ตำมนโยบำยของคณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ (คสช.) ข้อที่ 6 คือ มีศีลธรรม รักษำควำมสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งบัน ซึ่งเป็นคุณสมบัติของเยำวชน ไทยที่ควรแก่กำรยืดถือปฏิบัติ เพื่อเป็นกำรส่งเสริมให้เด็กเกิดกำรเรียนรู้ตำมศักยภำพและปฏิบัติตน ให้เป็น เยำวชนไทยที่ดีมีคุณค่ำต่อสังคม จึงได้นำหนังสือนิทำนเรื่อง สิริธรชำดก (ผลของทำน) มำเป็นสื่อนวัตกรรม กำรจัดกำรเรียนรู้ในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ รำยวิชำทัศนศิลป์และนำฏศิลป์ ในระดับชั้นประถมศึกษำปี ที่ 3 โดยยึดแนวทำงตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 สำระที่ 1 ทัศนศิลป์ ตำมมำตรฐำนและตัวชี้วัด ศ 1.1 ป.3/6 วำดภำพถ่ำยทอดควำมคิด ควำมรู้สึกจำกเหตุกำรณ์ชีวิตจริง โดยใช้ เส้น รูปร่ำง รูปทรง สี และพื้นผิว และ ป.3/8 ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงำนทัศนศิลป์ของ ตนเอง และสำระที่ 3 นำฏศิลป์ ตำมมำตรฐำนและตัวชี้วัด ศ 3.1 ป. 3/1 สร้ำงสรรค์กำรเคลื่อนไหวใน รูปแบบต่ำงๆ ในสถำนกำรณ์สั้นๆ ศ 3.1 ป. 3/3 เปรียบเทียบหน้ำที่ของผู้แสดงและผู้ชมได้ ศ 3.1 ป. 3/4 มีส่วนร่วมในกิจกรรมกำรแสดงที่เหมำะกับวัยได้ ศ 3.1 ป. 3/5 บอกประโยชน์ของกำรแสดงนำฏศิลป์ใน ชีวิตประจำวัน โดยกำรดำเนินงำนในครั้งนี้มี รองศำสตรำจำรย์ ดร.รจนำ สุนทรำนนท์ และอำจำรย์มำโนช บุญทองเล็ก เป็นที่ปรึกษำในด้ำนองค์ประกอบของเนื้อเรื่อง ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.นพดล พรหมณี เป็น ที่ปรึกษำองค์ประกอบด้ำนรูปภำพและสี อำจำรย์อรัญญำ ศรีจำรย์ เป็นที่ปรึกษำองค์ประกอบของภำษำ และวรรณกรรมที่ใช้สำหรับเด็ก และผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ณัฏฐพงค์ ชูทัย เป็ นที่ปรึกษำด้ำนจิตวิทยำและ พั ฒ นำกำรของเด็ ก เพื่ อ ให้ ก ำรจั ด ท ำหนั ง สื อ นิ ท ำนส ำหรั บ เด็ ก เรื่ อ งสิ ริ ธ รชำดก (ผลของทำน) มีประสิทธิภำพสูงสูด และบรรลุตำมวัตถุประสงค์ในกำรจัดทำ อันจะนำไปสู่กระบวนกำรเผยแพร่ให้แก่เด็ก และผู้ที่สนใจ อีกทั้งยังเป็นกำรเพิ่มพูนประสบกำรณ์ในกำรพัฒนำศักยภำพด้ำนควำมรู้ทำงด้ำนวิชำกำรของ ผู้จัดทำต่อไป

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


5

วัตถุประสงค์ของการจัดทา 1. เพื่อศึกษำวรรณกรรมทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง สิริธรชำดก 2. เพื่อสร้ำงสรรค์นิทำนสำหรับเด็ก เรื่องสิริธรชำดก (ผลของทำน) ที่มีเนื้อหำสำระสอดคล้องกับหลัก ปฏิบัติค่ำนิยม 12 ประกำร ตำมนโยบำยของคณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ (คสช.) 3. เพื่อนำหนังสือนิทำน เรื่องสิริธรชำดก (ผลของทำน) มำเป็นสื่อกลำงในกำรจัดกำรเรียนรู้แบบลงมือ กระทำ (Active Learning) 4. เพื่อเผยแพร่หนังสือนิทำนเรื่องสิริธรชำดก (ผลของทำน) ให้แก่เด็กและผู้ที่สนใจ 5. เพื่อศึกษำควำมพึงพอใจของผู้เรียน หรือกลุ่มเป้ำหมำยที่มีต่อ หนังสือนิทำน เรื่องสิริธรชำดก (ผล ของทำน) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ศึกษำวรรณกรรมทำงพระพุทธศำสนำ เรื่องสิริธรชำดก 2. ได้สร้ำงสรรค์นิทำนสำหรับเด็ก เรื่องสิริธรชำดก(ผลของทำน) ที่มีเนื้อหำสำระสอดคล้องกับหลัก ปฏิบัติของค่ำนิยม 12 ประกำร ตำมนโยบำยของคณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ (คสช.) 3. ได้จัดกำรเรียนรู้แบบลงมือกระทำ (Active Learning) 4. ได้เผยแพร่หนังสือนิทำนเรื่องสิริธรชำดก (ผลของทำน) ให้แก่เด็กและผู้ที่มีควำมสนใจต่อไป 5. ได้แนวทำงในกำรสร้ำงสรรค์หนังสือนิทำนสำหรับเด็ก ในครั้งต่อไป

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


6

กรอบแนวคิดในการสร้างสรรค์นิทานสาหรับเด็ก วรรณกรรม เรื่องสิริธรชาดก เป็ นวรรณกรรมทางพระพุทธ ศาสนาที่มีเนื ้อหาสาระมุง่ เน้ น

นิทาน เรื่ องราวที่เล่าสืบต่อกันมาหรื อมี

หลักปฏิบัตติ น หลั ก ปฏิ บัติ ค่ า นิ ย ม 12

ผู้แ ต่ง ขึ น้ เพื่ อ ความสนุก สนาน ตื่นเต้ น ชวนติดตาม และเต็มไป

ประการ ตามนโยบายของ

ในความศรัทธาของการ บริจาคทานอย่างเป็ นนิจ

ด้ ว ยจิ น ตนาการ ซึ่ ง จะน าไปสู่ กระบวนการพัฒนาการของเด็ก

แห่งชาติ (คสช.)

ให้ เป็ นกิจนิสยั

ทังทางด้ ้ านอารมณ์ สังคม และ สติปัญญาอย่างแท้ จริง

ค ณ ะ รั ก ษ า ค ว า ม สง บ

หนังสือนิทานสาหรับเด็ก เรื่องสิริธรชาดก (ผลของทาน) เป็ นนิทานที่ เหมาะสาหรั บเด็กในช่วงอายุ 9-12 ปี โดยมีเนือ้ หาสาระสอดคล้ องกับหลักปฏิ บัติค่านิยม 12 ประการ ตามนโยบายของคณะกรรมการรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ในข้ อที่ 6 คือ มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีตอ่ ผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปั น ซึ่งเป็ นคุณสมบัติของเยาวชนไทยที่ควรแก่การยืดถือและปฏิบตั ิ เพื่อเป็ นการส่งเสริ มให้ เด็กเกิดการ เรี ยนรู้ตามศักยภาพและปฏิบตั ติ นให้ เป็ นเยาวชนไทยที่ดี มีคณ ุ ค่าต่อสังคม

คุณภาพ ความเหมาะสมในการใช้ ง านเป็ นไป ตามวัตถุประสงค์ โดยมี เ นื อ้ หาสาระ ภาษา ตัวอักษร รู ปภาพประกอบ ผ่าน

การตรวจสอบเพื่อหาคุณภาพ (IOC) จากท่านผู้เชี่ยวชาญ

ดาเนินการทดลองใช้ ส่ ือกับการเรียนการสอน ดำเนินกำรจัดกำรเรียนรู้แบบลงมือกระทำ (Active Learning) ในระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 3-4 โดยยึดแนวทำงตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 สำระที่ 1 ทัศนศิลป์ ตำมมำตรฐำนและตัวชี้วัด ศ 1.1 ป.3/6 วำดภำพถ่ำยทอดควำมคิด ควำมรู้สึก จำกเหตุกำรณ์ชีวิตจริง โดยใช้เส้น รูปร่ำง รูปทรง สี และพื้นผิว และ ป.3/8 ระบุสิ่งที่ชื่นชมและ สิ่งที่ควรปรับปรุงในงำนทัศนศิลป์ของตนเอง และสำระที่ 3 นำฏศิลป์ ตำมมำตรฐำนและ ตัวชี้วัด ศ 3.1 ป. 3/1 สร้ำงสรรค์กำรเคลื่อนไหวในรูปแบบต่ำงๆ ในสถำนกำรณ์สั้นๆ ศ 3.1 ป. 3/3 เปรียบเทียบหน้ำที่ของผู้แสดงและผู้ชมได้ ศ 3.1 ป. 3/4 มีส่วนร่วมในกิจกรรมกำร แสดงที่เหมำะกับวัยได้ ศ 3.1 ป. 3/5 บอกประโยชน์ของกำรแสดงนำฏศิลป์ในชีวิตประจำวัน

ดาเนินการเผยแพร่ ผลงาน การเผยแพร่หนังสือนิทานเรื่ องสิริธรชาดก (ผลของทาน)ให้ แก่เด็กและผู้ที่สนใจ เพื่อเป็ นประโยชน์แก่วงการทางการศึกษาต่อไป เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


7

นิยามศัพท์เฉพาะ นิทาน

หมำยถึง เรื่องเล่ำที่สืบต่อกันมำหรือแต่งขึ้นใหม่โ ดยมีจุดมุ่งหมำยเน้นให้ เ กิด ควำมบันเทิงและขัดเกลำจิตใจให้แก่เด็กให้มีแต่สิ่งที่ดีงำมภำยในจิตใจ พร้อมจะ พัฒนำทั้งทำงด้ำนอำรมณ์ สังคม และสติปัญญำ

ค่านิยม 12 ประการ หมำยถึง หลักกำรปฏิบัติตนจำนวน 12 ประกำร ตำมนโยบำยของคณะรักษำ ควำมสงบแห่งชำติ เพื่อสร้ำงสรรค์ประเทศไทยให้เข้มแข็ง นิทานเรื่ องสิริ ธ รดก หมำยถึ ง กำรน ำเอำวรรณกรรมทำงพระพุ ท ธศำสนำ เรื่ อ งสิ ริ ธ รชำด ก (ผลของทาน) ในปัญญำสชำดก มำดัดแปลงให้อยู่ในรูปแบบของนิทำนสำหรับ เด็กในช่วงอำยุ 9-12 ปี โดยมีเนื้อหำสำระสอดคล้ องกับ หลั ก ปฏิบั ติค่ ำนิย ม 12 ประกำร ในข้อที่ 6 คือมีศีลธรรม รักษำควำมสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน

วิธีการดาเนินงานจัดสร้าง กำรสร้ ำ งสรรค์ ห นั งสื อ นิ ท ำนส ำหรั บ เด็ ก เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ลั ก ษณะนิ สั ย ตำมหลั ก ปฏิ บัติ ค่ ำ นิ ย ม 12 ประกำร เป็นกำรสร้ำงสรรค์ที่มีจุดประสงค์เพื่อออกแบบหนังสือนิทำนเรื่อง สิริธรชำดก (ผลขอทำน) ให้ เกิดประสิทธิภำพสูงสุด โดยมีกระบวนกำรดำเนินงำนไปตำมลำดับขั้นตอนในกำรออกแบบดังนี้ 1. ศึกษำและเก็บรวบรวมข้อมูลจำกเอกสำรตำรำ งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. วิเครำะห์ข้อมูลจำกเอกสำร และงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3. ดำเนินกำรทดลองในกำรจัดสร้ำงหนังสือนิทำนรอบที่ 1 4. ดำเนินกำรหำประสิทธิภำพของหนังสือนิทำน (IOC)จำกผู้เชี่ยวชำญ 5. ดำเนินกำรปรับปรุงแก้ไขตำมคำแนะนำของผู้เชี่ยวชำญ 6. ดำเนินกำรทดลองใช้สื่อกับกำรเรียนกำรสอน 7. ดำเนินกำรจัดสร้ำงหนังสือนิทำนสำหรับเด็ก เรื่อง สิริธรชำดก (ผลของทำน) ฉบับสมบูรณ์ 8. ดำเนินกำรเผยแพร่หนังสือนิทำนเรื่อง สิริธรชำดก (ผลของทำน) ให้แก่กลุ่มเป้ำหมำยและผู้ที่สนใจ

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


8

ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ตารา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดำเนินกำรศึกษำและเก็บข้อมูลจำกเอกสำร ตำรำ งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง จำนวน 29 เล่ม เพื่อนำมำ เป็นพื้นฐำนในกำรจัดสร้ำงหนังสือนิทำนสำหรับเด็ก เรื่องสิริธรชำดก (ผลของทำน) ดังนี้ เกริก ยุ้นพันธ์. (2539). การเล่านิทาน. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สุวีริยำสำสน กำธร สถิรกุล. (2540).หนังสือและการพิมพ์.พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: มหำวิทยำลัยรำมคำแหง. ครุรักษ์ ภิรมย์รักษ์. (2540). “นักเล่านิทานสร้างนักอ่าน” สำรพัฒนำหลักสูตร. ทรงพร สุทธิธรรม. (2534). การศึกษาความสามารถในการรับรู้และเข้าใจทัศนคติของผู้อื่น ของเด็ก ปฐมวัยที่ผู้ปกครองจัดกิจรรมนิทานเพื่อส่งเสริมการคลายการยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง. วิทยำนิพนธ์กำรศึกษำมหำบัณฑิต วิชำเอกกำรศึกษำปฐมวัย มหำวิทยำลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสำนมิตร. ทิศนำ แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพมหำนคร :จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย. ฉวีวรรณ กินำวงศ์. (2533). การศึกษาเด็ก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ภิญญำพร นิตยประภำ. (2534). การผลิตหนังสือสาหรับเด็ก. กรุงเทพฯ :โอเดียนสโตร์. จิระประภำ บุญนิตย์. (2526). หุ่นการทา และวิธีการใช้. กรุงเทพฯ : ปำณย. จินตนำ ใบกำซูยี. (2534). การจัดทาหนังสือสาหรับเด็ก.กรุงเทพฯ: สุวีริยำสำส์น. พิมพ์จิต สถิตวิทยำนันท์. (2546). การออกแบบหนังสือนิทานเพื่อส่งเสริมจินตภาพสาหรับเด็กพิการทาง สายตา. หลักสูตรปริญญำศิลปมหำบัณฑิตสำขำกำรออกแบบนิเทศศิลป์ มหำวิทยำลัยศิลปกร. ฉัตรชัย ศุภระกำญจน์. (2532). การสร้างหนังสือสาหรับเด็ก.นครศรีธรรมรำช:ภำควิชำบรรณำรักษ์ศำสตร์ วิทยำลัยครูนครูศรีธรรมรำช. ชีวัน วิสำสะ. (2540). คุณฟองนักแปรงฟัน.พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ:อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. ถวัลย์ มำศจรัส. (2538). เทคนิคและตัวอย่างการเขียนหนังสือส่งเสริมการอ่านเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ:มิติใหม่ บันลือ พฤกษะวัน. (2524). วรรณกรรมกับเด็ก.พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนำพำนิช. รัญจวน อินทรกำแหง. (2517). วรรณกรรมสาหรับเด็กและเยาวชน. กรุงเทพฯ:ดวงกมล. สมทรง ลิมำลัย. (2526). การศึกษาความชอบของเด็กที่มีต่อรูปแบบของเนื้อที่ภาพหรับหนังสือ. มหำวิทยำลัยศรีนครทรวิโรฒ ประสำนมิตร. ไพศำล วรคำ. (2555). การวิจัยทางการศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 5 . มหำสำรคำม: ตักศิลำกำรพิมพ์. วิริยะ สิริสิงห. (2524). การเขียนเรื่องสาหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก วิไล มำศจรัส. (2539).เทคนิคการเขียนการเล่านิทานสาหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: มิติใหม่. ฉวีวรรณ คูหำภินันทน์. (2527).สาระสังเขปบทความการทาหนังสือสาหรับเด็ก. โครงกำรตำรำและเอก ประกอบกำรสอน ภำควิชำบรรณำรักษศำสตร์ คณะมนุษศำสตร์และสังคมศำสตร์ วิทยำครูบ้ำน สมเด็จเจ้ำพระยำ. เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


9

ชำญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. (2527). การวิจัยทางศิลปะ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย. ณรงค์ ทองปำน. (2527). การสร้างหนังสือสาหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: กรมฝึกหัดครู. วินัย รอดจ่ำย. (2540). การ์ตูนศาสตร์แห่งศิลป์และจิตนาการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี่ จำกัด ศิรำพร ฐิตะฐำน ณ ถลำง. (2539).ในท้องถิ่นมีนิทานและการละเล่น. กรุงเทพฯ:มติชน. สมศักดิ์ ศรีมำโนชน์. (2523). การเขียนนิทานสาหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: โอเดียนโตร์. หทัย ตันหยง. (2525). การผลิตหนังสือสาหรับเด็ก. พิษณุโลก:มหำวิทยำลัยศรีนครินวิโรฒ วิทยำเขต พิษณุโลก,. ทศสิริ พูลนวล. (2543). หัวใจและเทคนิคการทาภาพประกอบนิทานสาหรับเด็ก.พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเด็ก. เปรื่อง กุมุท. (2523).การออกแบบหนังสือสาหรับเด็ก. กรุงเทพฯ:มูลนิธิวรรณกรรม. รัถพร ซังธำดำ. (2531). หนังสือสาหรับเด็ก.มหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหำสำรคำม.

วิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร ตารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กำรวิเครำะห์ข้อมูลจำกเอกสำร ตำรำ งำนวิจัยที่เกี่ยวข้องผู้สร้ำงสรรค์ได้นำข้อมูลกำรกำรศึกษำ จำนวน 29 เล่ม มำทำกำรวิเครำะห์ เพื่อดำเนินกำรสรุปในกำรจัดสร้ำงดังนี้ 1. ส่วนประกอบของหนังสือนิทำนสำหรับเด็ก เพื่อส่งเสริมลักษณะนิสัยตำมหลักปฏิบัติค่ำนิยม 12 ประกำร โดยใช้หลักจิตทยำสำหรับเด็กในกำรจัดสร้ำงเพื่อหำขอบเขตในกำรจัดสร้ำงหนังสือนิทำน เรื่อง สิริธรชำดก (ผลของทำน) 2. กรรมวิธีในกำรจัดสร้ำงหนังสือนิทำนสำหรับเด็กให้เกิดประสิทธิภำพสูงสุด

ดาเนินการทดลองในการจัดสร้างหนังสือนิทาน ในกำรทดลองในกำรจั ดสร้ ำงหนังสือ นิทำนนั้น ผู้สร้ำงสร้ำงสรรค์ได้นำข้ อมูล จำกกำรวิเครำะห์ ข้ำงต้น มำดำเนิ น กำรจั ดสร้ ำ งหนั งสื อ นิ ท ำนเรื่ อง สิ ริธ รชำดก (ผลของทำน) โดยมีล ำดับและขั้ น ตอน ดังต่อไปนี้ 1. กำหนดประเภทของนิทำน 2. กำหนดแก่นของเรื่อง 3. เขียนเนื้อหำสำระ 4. วำงโครงเรื่อง 5. ลงมือเขียน 6. กำหนดภำพประกอบ 7. จัดสร้ำงรูปเล่มนิทำน เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


10

ดาเนินการหาประสิทธิภาพของหนังสือนิทาน (IOC) จากผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินกำรนำเสนอผลงำนในกำรสร้ำงสรรค์นิทำนเรื่อง สิริธรชำดก (ผลของทำน) ต่อผู้เชี่ยวชำญ จำนวน 3 ท่ำน เพื่อที่จะหำคุณภำพของหนังสือนิทำน (IOC) โดยมีท่ำนผู้เชี่ยวชำญดังต่อไปนี้ 1. ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ณัฏฐพงค์ ชูทัย ภำควิชำกำรศึกษำคณะครุศำสตร์ อุสำหำกรรม มหำวิ ทยำลัย เทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี เชี่ยวชำญด้ำนจิตวิทยำและพัฒนำกำรเด็ก - ปริญญำโท (สำขำจิตวิทยำกำรศึกษำและกำรแนะแนว) - ปริญญำตรี (สำขำอังกฤษ) 2. ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.นภดล พรำมณี ภำควิชำเทคโนโลยีกำรศึกษำและสื่อกำรศึกษำคณะครุ ศำสตร์อุสำหกรรม มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี เชี่ยวชำญด้ำนเทคโนโลยีกำรศึกษำและกำร ออกแบบ - ปริญญำเอก(Instvuctional Technology) - ปริญญำโท(Instvuctional Technology) - ปริญญำตรี (สำขำเทคโนโลยีกำรศึกษำ 3. อำจำรย์อรัญญำ ศรีจำรย์ คณะศิลปศำสตร์ สำขำภำษำตะวันออกมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำช มงคลธัญบุรี เชี่ยวชำญด้ำนภำษำและวรรณกรรมสำหรับเด็ก - ปริญญำเอก (กำลังศึกษำสำขำไทยศึกษำ) - ปริญญำโท(ภำษำไทย) - ปริญญำตรี (ภำษำไทย) 4. รองศำสตรำจำรย์ ดร. รจนำ สุนทรำนนท์ ผู้เชี่ยวชำญกำรสอนนำฏศิลป์ไทย คณะศิลปกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี (เชี่ยวชำญด้ำนกำรสอนนำฏศิลป์) 5. รองศำสตรำจำรย์ คำรณ สุนทรำนนท์ ประธำนหลักสูตรศึกษำศำสตร์บัณฑิต สำขำนำฏศิลป์ไทย ศึกษำ คณะศิลปกรรมศำสตร์มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี (เชี่ยวชำญด้ำนกำรสอนโขน) 6. ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ มำโนช บุญทองเล็ก หัวหน้ำภำควิชำนำฏดุริยำงคศิลป์ สำขำนำฏศิลป์ไทยศึกษำ คณะศิลปกรรมศำสตร์มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี (เชี่ยวชำญด้ำนไทยคดีศึกษำ) 7. อำจำรย์ โสภณ สำทรสัมฤทธิ์ผล อำจำรย์ประจำคณะศิลปศำสตร์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคล ธัญบุรี (เชี่ยวชำญด้ำนภำษำและวรรณคดีไทย)

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


11

ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ ขั้นดำเนินกำรปรับปรุงแก้ไขตำมคำแนะนำจำกท่ำนเชี่ยวชำญจำนวน 7 ท่ำน และที่ปรึกษำ ซึ่งผู้ สร้ำงสรรค์ได้สร้ำงเครื่องมือเพื่อหำคุณภำพของนิทำนซึ่งรำยกำรคำถำมในกำรประเมินดังนี้ 1. คุณลักษณะทำงด้ำนเนื้อหำของนิทำน 1.1 ควำมยำวเนื้อเรื่องเหมำะสมกับวัยและควำมสนใจของเด็ก อำยุ 9-12 ปี 1.2 เนื้อเรื่องง่ำย ต่อควำมเข้ำใจเด็กอำยุ 9-12 ปี 1.3 เค้ำโครงเรื่องไม่ซับซ้อน เหมำะสมกับเด็กอำยุ 9-12 ปี 1.4 เนื้อเรื่องเสริมสร้ำงค่ำนิยมที่ดีแก่เด็กอำยุ 9-12 ปี 1.5 เนื้อเรื่องมีควำมต่อเนื่องสัมพันธ์กัน 1.6 เด็กอำยุ 9-12 ปี สำมำรถจับใจควำมสำคัญของเนื้อเรื่องได้ 1.7 เนื้อหำสนุก น่ำอ่ำน ชวนติดตำม 1.8 เรื่องรำวสอดคล้องกับชีวิตประจำวัน 1.9 เนื้อเรื่องมีประโยชน์เหมำะสำหรับเป็นหนังสือส่งเสริมกำรเรียนรู้ 1.10 เนื้อเรื่องชวนส่งเสริมคุณลักษณะนิสัยที่ดี ตำมค่ำนิยม 12 ประกำร ในข้อที่ 6 คือ มีศีลธรรม รักษำควำมสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่ และแบ่งปัน 2. คุณลักษณะด้ำนภำษำที่ใช้ในนิทำน 2.1 ใช้ภำษำได้อย่ำงถูกต้อง เข้ำใจง่ำยเหมำะสมกับวัยเด็กอำยุ 9-12 ปี 2.2 กำรใช้ภำษำสื่อควำมหมำยได้ชัดเจนเหมำะสมกับวัยเด็กอำยุ 9-12 ปี 2.3 ใช้ที่ประโยคสั้น เข้ำใจง่ำย เหมำะสมกับกำรสื่อสำร 2.4 กำรจัดวรรคตอน ถูกต้อง เหมำะสมกับเด็กอำยุ 9-12 ปี 2.5 ภำษำและภำพมีควำมสอดคล้องกัน 2.6 ภำษำจูงใจให้ให้เด็กสนใจติดตำม 2.7 มีกำรใช้คำได้อย่ำงเหมำะสมกับเรื่อง 2.8 ควำมถูกต้องของคำ และตัวสะกด 3. คุณลักษณะด้ำนกำรจัดภำพประกอบ 3.1 ภำพปกหน้ำมีควำมเหมำะสมกับเรื่อง 3.2 ภำพปกหลังมีควำมเหมำะสม 3.3 ภำพปกสวยงำม น่ำสนใจ เหมำะสมหรับเด็กอำยุ 9-12 ปี 3.4 ภำพประกอบมีควำมสมดุจกับกระดำษ 3.5 ภำพเหมำะสมกับวัย ส่งเสริมจินตนำกำรของเด็กอำยุ 9-12 ปี เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


12

3.6 สัดส่วนของภำพมีควำมเหมะสม 3.7 ให้สีได้น่ำสนใจ เหมำะสมกับวัย 4. คุณลักษณะของรูปเล่ม 4.1 รูปเล่มภำยนอกสวยงำมดึงดูดควำมสนใจ 4.2 ขนำดและควำมหนำของหนังสือสำมำรถจับถือได้สะดวก 4.3 กำรเข้ำรูปเล่มมีควำมแข็งแรง เด็กสำมำรถเปิดอ่ำนได้สะดวก 4.4 สีของกระดำษมีควำมเหมำะสมกับเด็ก หลังจำกท่ำนผู้เชี่ยวชำญได้ประเมินเพื่อหำคุณภำพของหนังสือนิทำนสำหรับเด็กเรื่อง สิริธรชำดก (ผลของทำน) โดยกำรตอบจำกแบบประเมินข้ำงต้นและแก้ไขตำมคำแนะนำ โดยผู้สร้ำงสรรค์ได้ดำเนินกำร คำนวณหำควำมเที่ยงตรงเชิงเนื้อหำ ซึ่งคำนวณได้จำกควำมสอดคล้องระหว่ำงประเด็นที่ต้ องกำรวัดกับข้อ คำถำมที่ส ร้ ำงขึ้น เรี ย กว่ำ ดัช นี ควำมสอดคล้ องระหว่ำงข้อคำถำมกับวัตถุประสงค์ (Item-Objective Congruence Index : IOC) โดยแปลงระดับคะแนนดังนี้ สอดคล้อง มีคะแนนเป็น +1 ไม่แน่ใจ มีคะแนนเป็น 0 ไม่สอดคล้อง มีคะแนนเป็น -1 และสำมำรถหำดัช นี ควำมสอดคล้ องตำมสถิติวิเครำะห์ คุณภำพเครื่ องมื อ ค่ำดัช นีควำมสอดคล้ องของ ส่วนประกอบโดยใช้สูตร IOC (สมชำย วรกิจเกษมสกุล, 2554: 269) IOC = ΣR N เมื่อ ICO R ΣR N

แทน แทน แทน แทน

ดัชนีควำมสอดคล้อง คะแนนของผู้เชี่ยวชำญ ผลรวมคะแนนของผู้เชี่ยวชำญแต่ละคน จำนวนผู้เชี่ยวชำญ

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


13

ดาเนินการทดลองใช้สื่อกับการเรียนการสอน ด ำเนิ น กำรน ำสื่ อ นวั ต กรรม (หนั ง สื อ นิ ท ำน) กำรจั ด กำรเรี ย นรู้ ใ นกลุ่ ม สำระกำรเรี ย นรู้ ศิ ล ปะ รำยวิชำทัศนศิลป์และนำฏศิลป์ ในระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 3 โดยยึดแนวทำงตำมหลักสูตรแกนกลำง กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 สำระที่ 1 ทัศนศิลป์ ตำมมำตรฐำนและตัวชี้วัด ศ 1.1 ป.3/6 วำด ภำพถ่ำยทอดควำมคิด ควำมรู้สึกจำกเหตุกำรณ์ชีวิตจริง โดยใช้เส้น รูปร่ำง รูปทรง สี และพื้นผิว และ ป.3/8 ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงำนทัศนศิลป์ของตนเอง และสำระที่ 3 นำฏศิลป์ ตำมมำตรฐำนและ ตั ว ชี้ วั ด ศ 3.1 ป. 3/1 สร้ ำ งสรรค์ ก ำรเคลื่ อ นไหวในรู ป แบบต่ ำ งๆ ในสถำนกำรณ์ สั้ น ๆ ศ 3.1 ป. 3/3 เปรียบเทียบหน้ำที่ของผู้แสดงและผู้ชมได้ ศ 3.1 ป. 3/4 มีส่วนร่วมในกิจกรรมกำรแสดงที่เหมำะกับวัยได้ ศ 3.1 ป. 3/5 บอกประโยชน์ของกำรแสดงนำฏศิลป์ในชีวิตประจำวัน

ดาเนินการจัดสร้างหนังสือนิทานสาหรับเด็ก เรื่อง สิริธรชาดก (ผลของทาน) ฉบับสมบูรณ์ หลังจำกกำรคำนวณหำควำมเที่ยงตรงเชิงเนื้อหำ ซึ่งคำนวณได้จำกควำมสอดคล้องระหว่ำงประเด็น ที่ต้องกำรวัดกับข้อคำถำมที่สร้ำงขึ้น เรียกว่ำ ดัชนีควำมสอดคล้องระหว่ำงข้อคำถำมกับวัตถุประสงค์ (Item-Objective Congruence Index : IOC) แล้วผู้สร้ำงสรรค์จึงได้ดำเนินกำรสร้ำ งหนังสือนิทำนสำหรับ เด็ก เรื่อง สิริธรชำดก (ผลของทำน) ฉบับสมบูรณ์ขึ้นโดยมีส่วนประกอบของที่นิทำนดังรำยกำรดังต่อไปนี้ 1. ปกนอก 2. คำนำ 3. ปกใน 4. ส่วนเนื้อหำของนิทำนพร้อมรูปภำพประกอบ จำนวน 16 หน้ำ 5. ข้อคิดที่ได้รับจำกนิทำน 6. ควำมรู้เพิ่มเต็ม หลักกำรปฏิบัติตนค่ำนิยม 12 ประกำรตำมนโยบำยของคณะรักษำควำมสงบ แห่งชำติ (คสช.) 7. ประวัติผู้เขียน 8. ปกหลัง

การเผยแพร่หนังสือนิทานเรื่อง สิริธรชาดก (ผลของทาน) ให้แก่กลุ่มเป้าหมายและผู้ที่สนใจ กำรเผยแพร่ ห นั ง สื อนิ ทำน เรื่ องสิ ริธ รชำดก(ผลของทำน)ให้ แ ก่ กลุ่ ม เป้ ำหมำยและ ผู้ ที่ส นใจผู้ สร้ำงสรรค์ดำเนินกำรเผยแพร่หนังสือนิทำนสำหรับเด็กเรื่อง สิริธรชำดก (ผลของทำน) ให้แก่กลุ่มเป้ำหมำย และผู้ที่สนใจในเบื้องต้น ครั้ งที่ 1 ผู้ ส ร้ ำงสรรค์ได้รั บกำรสนับสนุนงบประมำณส่วนหนึ่งจำกร้ำนทะรึ่งปริ้นเตอร์ ในกำร จัดพิมพ์ อยู่ในรูปแบบของหนังสือทำมือ จำนวน 10 เล่ม เพื่อนำไปบริจำคแก่นักเรียน โรงเรียนรำชประ ชำนุเครำะห์ 24 จังหวัดพะเยำ เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


14

ครั้งที่ 2 ผู้สร้ำงสรรค์ ได้รับ งบประมำณจำนวน 6,000 บำท จำกผู้บริจำคผ่ ำนโครงกำรจั ด พิ มพ์ หนังสือนิทำนสำหรับเด็กระดับชั้นประถมศึกษำในชนบท จังหวัดปทุมธำนี

เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล จัดสร้ำงแบบสอบถำมควำมพึงพอใจชนิดมำตรำส่วนประมำณค่ำ 3 ระดับ คือ ระดับมำก (3) ระดับ ปำนกลำง (2) ระดับน้อย (1) โดยผ่ำนกำรตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขควำมถูกต้องตำมคำแนะนำของ อำจำรย์ที่ปรึกษำ

การวิเคราะห์ข้อมูล กำรวิเครำะห์ข้อมูล ผู้จัดสร้ำงนำข้อมูลจำกกำรลงพื้นที่ คือ ทำกำรทดลองใช้กับกำรจัดกำรเรียนรู้ใน ชั้นเรียนมำทำกำรวิเครำะห์ตำมรำยจุดประสงค์ของกำรจัดทำในข้อที่ 3 คือ ศึกษำควำมพึงพอใจของผู้เรียน หรือกลุ่มเป้ำหมำยที่มีต่อหนังสือนิทำนเรื่องสิริธรชำดก (ผลของทำน) โดยวิเครำะห์หำค่ำร้อยละ ตำมสูตร กำรหำค่ำร้อยละ ดังนี้ คะแนนที่ได้ ร้อยละ

=

X 100

คะแนนทั้งหมด

โดยได้นำข้อมูลที่ทำกำรวิเครำะห์จำกแบบสอบถำมควำมพึงพอใจมำแปลควำมหมำยตำมเกณฑ์ 5 ระดับ คือ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ0 - 50.00 ระดับควำมพึงพอใจน้อยที่สุด คะแนนเฉลี่ยร้อยละ50.0169.99 ระดับควำมพึงพอใจน้อย คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 70.01 -79.99 ระดั บ คว ำมพึ ง พ อใจ ปำน ก ล ำ ง คะแนนเฉลี่ยร้อยละ80.00 – 89.99 ระดับควำมพึงพอใจมำก คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 90.00 – 100 ระดับ ควำมพึงพอใจมำกที่สุด

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


15

ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่ต่อ สื่อนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ หนังสือนิทานสาหรับเด็ก เพื่อส่งเสริมลักษณะนิสัย ตามหลักปฏิบัติค่านิยม 12 ประการ นิทานเรื่อง สิริธรชาดก (ผลของทาน) กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ –นาฏศิลป์ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ จังหวัดปทุมธานี ผู้สอน : ลิขิต ใจดี ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 0 - 50.00 ระดับควำมพึงพอใจ น้อยที่สุด คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 50.01 -69.99 ระดับควำมพึงพอใจ น้อย คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 70.01 -79.99 ระดับควำมพึงพอใจ ปำนกลำง คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80.00 – 89.99 ระดับควำมพึงพอใจ มำก คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 90.00 - 100 ระดับควำมพึงพอใจ มำกที่สุด ลำดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7 8.

รำยกำรประเมิน ขนำดตัวหนังสืออ่ำนได้ง่ำย ใช้งำนได้ง่ำย ขนำดของหนังสือ รูปภำพที่ใช้ในหนังสือภำพสอดคล้องกับเนื้อเรื่อง รูปภำพที่ใช้ในหนังสือภำพมีกำรใช้สีสันที่สวยงำมน่ำสนใจ กำรนำเสนอเนื้อหำของนิทำนน่ำสนใจ ภำษำที่ใช้ในนิทำนเข้ำใจง่ำย ไม่สับซ้อน ควำมรู้ที่ได้จำกหนังสือไปใช้กับชีวิตประจำวัน รวม

ร้อยละ

ระดับคุณภำพ

95.33 98.66 96.00 98.66 98.00 96.66 95.33 95.33 96.74

มำกที่สุด มำกที่สุด มำกที่สุด มำกที่สุด มำกที่สุด มำกที่สุด มำกที่สุด มำกที่สุด มำกที่สุด

แผนภูมิแสดงผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่ต่อ สื่อนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ หนังสือนิทานสาหรับเด็ก เพื่อส่งเสริมลักษณะนิสัย ตามหลักปฏิบัติค่านิยม 12 ประการ นิทานเรื่อง สิริธรชาดก (ผลของทาน) ความรู้ที่ได้ จากหนังสือไปใช้ กบั ชีวิตประจาวัน

95.33%

ภาษาที่ใช้ ในนิทานเข้ าใจง่าย ไม่สบั ซ้ อน

95.33%

การนาเสนอเนื ้อหาของนิทานน่าสนใจ

96.66%

รูปภาพที่ใช้ ในหนังสือภาพมีการใช้ สสี นั ที่สวยงามน่าสนใจ

98%

รูปภาพที่ใช้ ในหนังสือภาพสอดคล้ องกับเนื ้อเรื่ อง หนังสือมีขนาดที่พอดีไม่เล็กหรื อใหญ่

98.66% 96%

ใช้ งานได้ ง่าย

เอกสารประกอบการน าเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ ขนาดตัวหนังสืออ่านได้ ง่าย 95.33% โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี 93.00% 94.00% 95.00% 96.00% Email: phravisuthiwong@hotmail.com

98.66%

97.00%

98.00%

99.00%


16

จำกตำรำงและแผนภูมิ พบว่ำ ควำมพึงพอใจของนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 3 โรงเรียน พระวิสุทธิวงส์ จังหวัดปทุมธำนี มีควำมพึงพอใจต่อสื่อนวัตกรรมกำรจัดกำรเรียนรู้ หนังสือนิทำนสำหรับเด็ก เรื่อง สิริธรชำดก (ผลของทำน) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ รำยวิชำทัศนศิลป์ –นำฏศิลป์ อยู่ในระดับพึง พอใจมำกที่สุด คิดเป็นร้อยละ 96.74 โดยสำมำรถจำแนกตำมรำยข้อดังต่อไปนี้ ขนำดตัวหนังสืออ่ำนได้ง่ำย อยู่ในระดับพึงพอใจมำกที่สุด คิดเป็นร้อยละ 95.33 ใช้ งำนได้ง่ำ ย อยู่ในระดับ พึ ง พอใจมำกที่สุ ด คิดเป็ น ร้ อยละ 98.66 ขนำดของหนั งสื อ อยู่ ในระดับพึงพอใจมำกที่สุ ด คิดเป็นร้อยละ 96.00 รูปภำพที่ใช้ใน หนังสือภำพสอดคล้องกับเนื้อเรื่อง อยู่ในระดับพึงพอใจมำกที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.66 รูปภำพที่ใช้ใน หนั ง สื อ ภำพมี ก ำรใช้ สี สั น ที่ ส วยงำมน่ ำ สนใจ อยู่ ใ นระดั บ พึ ง พอใจมำกที่ สุ ด คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 98.00 กำรนำเสนอเนื้อหำของนิทำนน่ำสนใจ อยู่ในระดับพึงพอใจมำกที่สุด คิดเป็นร้อยละ 96.66 ภำษำที่ใช้ใน นิทำนเข้ำใจง่ำย ไม่สับซ้อน อยู่ในระดับพึงพอใจมำกที่สุด คิดเป็นร้อยละ 95.33 และควำมรู้ที่ได้จำกหนังสือ ไปใช้กับชีวิตประจำวัน อยู่ในระดับพึงพอใจมำกที่สุด คิดเป็นร้อยละ 95.33

บทสรุป และข้อเสนอแนะ หนังสือนิทำนจัดเป็นหนังสือที่ช่วยส่งเสริมทำงด้ำนพัฒนำกำรและกำรเรียนรู้ให้กับเด็กทั้งทำงด้ำน อำรมณ์ สังคม และสติปัญญำ ด้วยเหตุนี้หนังสือนิทำนสำหรับเด็กจึงได้รับกำรส่งเสริมจำกหน่วยงำนของ ภำครัฐและภำคเอกชน อีกทั้งทำงโรงเรียนส่วนใหญ่ส่งเสริมให้เด็กได้ใช้หนังสือนิทำนในกำรฝึกกำรอ่ำน และยังสำมำรถนำไปบูรณำกำรในกำรเรียนกำรสอนได้หลำกหลำยกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ กำรสร้ำงสรรค์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำวิเครำะห์เนื้อหำ รูปแบบในกำรสร้ำงสรรค์ รวมถึง กรรมวิธีในกำรผลิตที่เหมำะสม เพื่อนำไปสู่กำรสร้ำงสรรค์หนังสือนิทำนสำหรับเด็ก เรื่อง สิริธรชำดก (ผล ของทำน) ที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยโดยมีเนื้อหำสำระสอดคล้องกับค่ำนิยม 12 ประกำร ตำมนโยบำยของ คณะรักษำควำมสงบแห่งชำติได้กำหนดเอำไว้ นิทำนเรื่องสิริธรชำดก (ผลของทำน) เป็นกำรส่งเสริมให้เด็กเกิดกำรเรียนรู้ตำมศักยภำพและ ปฏิบัติ ตนให้เป็นเยำวชนไทยที่ดี มีคุณค่ ำต่อสังคมตำมหลักค่ำนิยมในข้อที่ 6 คือ มีศีลธรรม รักษำควำมสัตย์ หวังดีตอ่ ผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน ซึ่งเป็นคุณสมบัติของเยำวชนไทยที่ควรแก่กำรยึดถือและปฏิบัติต่อไป

สรุปผลการจัดสร้าง กำรสร้ำงสรรค์ในครั้งนี้เป็นกำรศึกษำรูปแบบของกำรผลิต เพื่อนำมำเป็นแนวทำงในกำรออกแบบ หนังสือนิทำนสำหรับเด็ก ให้เหมำะสม ถูกต้อง ตำมจุดมุ่งหมำย ซึ่งจำกกำรสร้ำงสรรค์ สำมำรถสรุปผลได้ ดังนี้ องค์ประกอบของหนังสือนิทำนสำหรับเด็ก เรื่อง สิริธรชำดก (ผลของทำน) มีขนำดของเล่มหนังสือ ที่เหมำะสมสำหรับกำรออกแบบเป็นหนังสือที่ส่งเสริมกำรเรียนรู้สำหรับตำมวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้ำหมำย เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


17

คือ เด็กอำยุ 9 -12 ปี ซึ่งได้กำหนดขนำดของหนังสือที่มีควำมกระทัดรัด สำมำรถพกพำสะดวก ขนำดที่ ได้จำกกำรวิเครำะห์ข้อมูลคือขนำด 20 X 20 เซนติเมตร ขนำดตัวตัวอักษรที่เหมำะสมหรับกลุ่มเป้ำหมำย คือ ขนำด 20 ฟอนต์ TH Niramit AS และมีภำพประกอบที่เหมำะสมสอดคล้องกับเนื้อเรื่องและให้ภำษำ ทีเ่ หมำะสมกับช่วงวัยที่ผ่ำนกำรประเมินจำกท่ำนผู้เชี่ยวชำญจำนวน 7 ท่ำน ที่มีควำมเชี่ยวชำญทั้งทำงด้ำน จิตวิทยำพัฒนำกำรเด็ก เทคโนโลยีกำรศึกษำ และภำษำที่ใช้สำหรับเด็ก เพื่อหำประสิทธิภำพของหนังสือ นิทำน โดยมีส่วนประกอบของหนังสือดังต่อไปนี้ ปกนอก คำนำ ปกใน ส่วนเนื้อหำของนิทำนพร้อมรูปภำพ ข้อคิดทีไ่ ด้รับจำกนิทำน ประวัติผู้เขียน และปกหลัง จำนวน 24 หน้ำ

ข้อเสนอแนะ นิทำนที่สร้ำงตำมขั้นตอนที่ถูกต้อง และผ่ำนกำรหำประสิทธิภำพได้ว่ำนิทำนที่สร้ำงขึ้นมีคุณภำพ สำมำรถพัฒนำควำมรู้ ควำมจำ ควำมเข้ำใจแก่ผู้เรียนได้อย่ำงดีแล้ว จึงนำไปใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ ซึ่ง สำมำรถจัดกำรเรียนได้หลำกหลำยรูปแบบ ทั้งเรียนตำมปกติในชั้นเรียน และเรียนนอกเวลำ ขึ้นอยู่เทคนิค และวิธีกำรของครูผู้สอนว่ำจะนำไปบูรณำกำรในชั้นเรียนได้อย่ำงไร ผู้สร้ำงสรรค์ ได้นำหนังสือนิทำนเรื่อง สิริธรชำดก (ผลของทำน) มำเป็นสื่อนวัตกรรมกำรจัดกำร เรี ย นรู้ ในกลุ่ มสำระกำรเรี ย นรู้ ศิล ปะ รำยวิช ำทัศนศิล ป์และนำฏศิล ป์ ในระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 3 โดยยึ ดแนวทำงตำมหลั ก สู ตรแกนกลำงกำรศึ ก ษำขั้ น พื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 สำระที่ 1 ทัศนศิ ล ป์ ตำมมำตรฐำนและตัวชี้วัด ศ 1.1 ป.3/6 วำดภำพถ่ำยทอดควำมคิด ควำมรู้สึกจำกเหตุกำรณ์ชีวิตจริง โดยใช้ เส้น รูปร่ำง รูปทรง สี และพื้นผิว และ ป.3/8 ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงำนทัศนศิลป์ของ ตนเอง และสำระที่ 3 นำฏศิลป์ ตำมมำตรฐำนและตัวชี้วัด ศ 3.1 ป. 3/1 สร้ำงสรรค์กำรเคลื่อนไหวใน รูปแบบต่ำงๆ ในสถำนกำรณ์สั้นๆ ศ 3.1 ป. 3/3 เปรียบเทียบหน้ำที่ของผู้แสดงและผู้ชมได้ ศ 3.1 ป. 3/4 มีส่วนร่วมในกิจกรรมกำรแสดงที่เหมำะกับวัยได้ ศ 3.1 ป. 3/5 บอกประโยชน์ของกำรแสดงนำฏศิล ป์ใน ชีวิตประจำวัน ทั้งนี้ผู้สร้ำงสรรค์ จะทำกำรทดลองเชิงวิจัยนวัตกรรมกำรจัดกำรเรียนรู้ ในภำคเรียนที่ 2 จัดกำร เรียนรู้เชิงพหุปัญญำบูรณำกำรสำระกำรเรียนรู้ทั้งวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศำสตร์ เข้ำร่วมกัน ในรู ปแบบกำรสอนแบบสะเต็มกำรศึกษำ (STEM Education) ที่ส่งเสริมทักษะของผู้ เรีย นที่ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (3R’s / 8 C’s) ตำมกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ของกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะภำยใต้ โครงกำร “กำรพัฒนำกระบวนกำรคิดเชิงสร้ำงสรรค์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 จำกละครปลุกใจหลวงวิจิตร ว ำทกำร The Importance of Creative Thinking and Patriotism Towards the Development of 21st Century Music by Luang Vichit” ต่อไป

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


18

บรรณานุกรรม เกริก ยุ้นพันธ์. (2539). การเล่านิทาน. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สุวีริยำสำสน กำธร สถิรกุล. (2540).หนังสือและการพิมพ์.พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: มหำวิทยำลัยรำมคำแหง. ครุรักษ์ ภิรมย์รักษ์. (2540). “นักเล่านิทานสร้างนักอ่าน” สำรพัฒนำหลักสูตร. ทรงพร สุทธิธรรม. (2534). การศึกษาความสามารถในการรับรู้และเข้าใจทัศนคติของผู้อื่น ของเด็ก ปฐมวัยที่ผู้ปกครองจัดกิจรรมนิทานเพื่อส่งเสริมการคลายการยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง. วิทยำนิพนธ์กำรศึกษำมหำบัณฑิต วิชำเอกกำรศึกษำปฐมวัย มหำวิทยำลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสำนมิตร. ทิศนำ แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพมหำนคร :จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย. ฉวีวรรณ กินำวงศ์. (2533). การศึกษาเด็ก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ภิญญำพร นิตยประภำ. (2534). การผลิตหนังสือสาหรับเด็ก. กรุงเทพฯ :โอเดียนสโตร์. จิระประภำ บุญนิตย์. (2526). หุ่นการทา และวิธีการใช้. กรุงเทพฯ : ปำณย. จินตนำ ใบกำซูยี. (2534). การจัดทาหนังสือสาหรับเด็ก.กรุงเทพฯ: สุวีริยำสำส์น. พิมพ์จิต สถิตวิทยำนันท์. (2546). การออกแบบหนังสือนิทานเพื่อส่งเสริมจินตภาพสาหรับเด็กพิการทาง สายตา. หลักสูตรปริญญำศิลปมหำบัณฑิตสำขำกำรออกแบบนิเทศศิลป์ มหำวิทยำลัยศิลปกร. ฉัตรชัย ศุภระกำญจน์. (2532). การสร้างหนังสือสาหรับเด็ก.นครศรีธรรมรำช:ภำควิชำบรรณำรักษ์ศำสตร์ วิทยำลัยครูนครูศรีธรรมรำช. ชีวัน วิสำสะ. (2540). คุณฟองนักแปรงฟัน.พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ:อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. ถวัลย์ มำศจรัส. (2538). เทคนิคและตัวอย่างการเขียนหนังสือส่งเสริมการอ่านเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ:มิติใหม่ บันลือ พฤกษะวัน. (2524). วรรณกรรมกับเด็ก.พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนำพำนิช. รัญจวน อินทรกำแหง. (2517). วรรณกรรมสาหรับเด็กและเยาวชน. กรุงเทพฯ:ดวงกมล. สมทรง ลิมำลัย. (2526). การศึกษาความชอบของเด็กที่มีต่อรูปแบบของเนื้อที่ภาพหรับหนังสือ. มหำวิทยำลัยศรีนครทรวิโรฒ ประสำนมิตร. ไพศำล วรคำ. (2555). การวิจัยทางการศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 5 . มหำสำรคำม: ตักศิลำกำรพิมพ์. วิริยะ สิริสิงห. (2524). การเขียนเรื่องสาหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก วิไล มำศจรัส. (2539).เทคนิคการเขียนการเล่านิทานสาหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: มิติใหม่. ฉวีวรรณ คูหำภินันทน์. (2527).สาระสังเขปบทความการทาหนังสือสาหรับเด็ก. โครงกำรตำรำและเอก ประกอบกำรสอน ภำควิชำบรรณำรักษศำสตร์ คณะมนุษศำสตร์และสังคมศำสตร์ วิทยำครูบ้ำน สมเด็จเจ้ำพระยำ. ชำญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. (2527). การวิจัยทางศิลปะ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย. เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


19

ณรงค์ ทองปำน. (2527). การสร้างหนังสือสาหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: กรมฝึกหัดครู. วินัย รอดจ่ำย. (2540). การ์ตูนศาสตร์แห่งศิลป์และจิตนาการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี่ จำกัด ศิรำพร ฐิตะฐำน ณ ถลำง. (2539).ในท้องถิ่นมีนิทานและการละเล่น. กรุงเทพฯ:มติชน. สมศักดิ์ ศรีมำโนชน์. (2523). การเขียนนิทานสาหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: โอเดียนโตร์. หทัย ตันหยง. (2525). การผลิตหนังสือ สาหรับเด็ก. พิษณุโลก:มหำวิทยำลัยศรีนครินวิโรฒ วิทยำเขต พิษณุโลก,. ทศสิริ พูลนวล. (2543). หัวใจและเทคนิคการทาภาพประกอบนิทานสาหรับเด็ก.พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเด็ก. เปรื่อง กุมุท. (2523).การออกแบบหนังสือสาหรับเด็ก. กรุงเทพฯ:มูลนิธิวรรณกรรม. รัถพร ซังธำดำ. (2531). หนังสือสาหรับเด็ก.มหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหำสำรคำม.

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


20

ภาคผนวก

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


21

บรรยากาศการจัดการเรียนรู้

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


22

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


23

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


24

ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มการศึกษา (STEM Education) ที่ส่งเสริมทักษะของผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 (3R’s / 8 C’s) ตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


25

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


26

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


27

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


28

นาเสนอผลงานงานวิจัย ด้านนวัตกรรมการศึกษาเพื่อการจัดการเรียนรู้ 2560

เอกสารประกอบการนาเสนอ “การประกวดผลิตสื่อนวัตกรรม 8 กลุม่ สาระการเรียนรู”้ โดย นายลิขิต ใจดี กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี Email: phravisuthiwong@hotmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.