ก
สรรพวิชา : วิชาอันหลายหลาก
ในอดีตวิชาชีพโขนละครเป็ นวิชาที่มกั ปกปิ ดหวงแหน การที่จะได้มาซึ่ ง “วิชา” หรื อ “ความรู ้” นั้น จะต้องแลกมาด้วยความซื่ อสัตย์กตัญญูต่อครู ผถู ้ ่ายทอด เพื่อที่จะให้มนั่ ใจได้วา่ วิชาสาคัญที่ได้ติดตัวมานั้นจะ ยังคงอยู่กบั บุคคลที่เหมาะสมที่จะทาหน้าที่รักษาไว้ต่อไปได้ดี อีกทั้ง “วิชา” เหล่านี้ เมื่อใครได้ไว้แล้วก็มกั หวงแหน ไม่นามาเล่นหรื อแสดงพร่ าเพรื่ อด้วยกลัวว่าจะมีผลู ้ อบจดจาเอาไปทาตาม เจ้าของวิชาก็จะหมดทาง ทามาหากิน เพราะวิชาเหล่านี้ ถือเป็ นกลเม็ดที่ได้เฉพาะตัว วิชาส่ วนใหญ่จึงเหมือนเป็ นความลับเป็ นสมบัติที่ น่าหวงแหน ผูใ้ ดได้ไว้มีไว้ก็เป็ นความภาคภูมิใจโดยมิได้แบ่งปั นให้คนอื่นง่ายนัก เมื่อวิชามีมากขึ้นจากครู มากท่านในหลากหลายสานัก ไม่ว่าจะเป็ นวัง บ้านขุนนางหรื อสานักวิชา ตามบ้านของครู แต่ละท่าน ก่ อให้เกิ ดรู ปแบบทางนาฏกรรมที่มีลกั ษณะเฉพาะ (style) ที่ รู้จกั กันในวงการ นาฏกรรมและดนตรี ไทยว่า “ทาง” แม้กระบวนราจะเป็ นเพลงเดี ยวกันแสดงในโขนละครตอนเดี ย วกัน หากแต่ “ทางเล่น” ของแต่ละสานักย่อมมีความแตกต่างกันตามแต่สานักใดจะมี “ครู ” ที่ดีท่านใดมาเป็ นผู ้ ถ่ายทอดวิชาเอาไว้ เป็ นที่น่าอัศจรรย์วา่ ในวงการโขนละครของไทยนั้น วิชาความรู ้ต่างๆ มักถ่ายทอดผ่านทางครู ซ่ ึ งเป็ น สตรี ทั้งนี้ เนื่ องมาจากความประณี ตขั้นสู งสุ ดของงานนาฏกรรมไทยจาจะต้องใช้ละครผูห้ ญิงของหลวงมา เป็ นมาตรฐานในการกากับความงาม ครู ละครหลวงมีชื่อหลายท่านเป็ นสตรี ในราชสานักฝ่ ายในที่เป็ นเจ้าจอม หม่อมห้าม โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ ๒ และ ๔ แห่ งกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ได้เกิ ดครู ละครที่มีชื่อเสี ยงเฉพาะ บทบาทเป็ นจานวนมากและท่านเหล่านั้นก็ได้นาเอาวิชาอันวิจิตรแห่ งละครหลวงมาถ่ายทอดไว้ยงั วังนอก ของพระเจ้าลูกยาเธอผูม้ ีศกั ดิ์สูงพอที่จะมีละครเป็ นเครื่ องประดับพระเกียรติยศได้ ทาให้รูปแบบการละคร ของหลวงที่ผา่ นทางครู ละครสตรี ยงั คงมีการถ่ายทอดผ่านคนรุ่ นต่อรุ่ น
ข
ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เจ้าพระยาเทเวศร์ วงศ์วิวฒั น์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) พระนัดดาของพระ เจ้าบรมวงศ์เธอชั้น ๒ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทกั ษ์เทเวศร์ ได้ทาหน้าที่กากับราชการด้านมหรสพไม่วา่ จะเป็ นปี่ พาทย์หรื อโขนละครเพื่อใช้ในงานของราชการเช่ นพระราชพิธีต่างๆ จึงทาให้เรื อนของท่าน (เดิม เรี ยกวัง) เป็ นที่รวบรวมผูม้ ีฝีมือด้านศิลปะการแสดงของชาติไว้มากที่สุดแห่ งหนึ่ ง มีหม่อมของท่านเจ้าคุณผู ้ ซึ่ งได้รับการถ่ายทอดวิชาไว้เฉพาะตัวทาหน้าที่แสดงและสั่งสอนให้ศิษย์ในวังสามารถออกแสดงได้อย่าง เป็ นเอกอุ หนึ่งในนั้นคือ “แม่เทศ” ซึ่งได้ฝากตัวเข้าเป็ นละครในสังกัด ท่านได้รับการถ่ายทอดวิชาต่างๆ จาก ครู ในชั้นต้นกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ที่สาคัญคือ หม่อมคร้าม หม่อมในพระองค์เจ้าสิ งหนาทดุรงคฤทธิ์ ซึ่ งท่านได้ ถ่ายทอดกระบวนวิชาท่ารายักษ์ไว้ให้กบั แม่เทศเป็ นอย่างมาก รวมถึงบทบาทอื่นๆ ไม่วา่ จะเป็ นพระ ลิงหรื อ นาง แม่เทศก็สามารถจดจาทาได้อย่างดียงิ่ จนทาให้มีชื่อเสี ยงเลื่องลือเป็ นละครฝี มือดีแห่ งสานักนั้น เรี ยกกัน ในปั จจุบนั ว่า “วังบ้านหม้อ” ต่อมาแม่เทศได้เข้าถวายงานรับใช้ในราชสานักพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั ซึ่ งเป็ นยุค ทองยุคหนึ่งของโขนละครไทย โดยช่วยงานกับสามีที่กากับกรมมหรสพอยู่ คือ พระยานัฏกานุ รักษ์ (ทองดี สุ วรรณภารต) โดยแม่เทศได้ทาหน้าที่ครู ละครหลวงในสังกัดกรมมหรสพนั้น ได้ออกแสดงถวายเฉพาะพระ พักตร์ จนเป็ นที่พอพระราชหฤทัย ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ในตระกูล จุลจอมเกล้าจึงทาให้มีบรรดาศักดิ์เป็ นคุ ณหญิงก่อนที่สามีจะได้เป็ นพระยา ท่านเป็ นกาลังสาคัญของเจ้าคุ ณ สามีในการจดจาและถ่ายทอดกระบวนราที่ตกอยูก่ บั ตัวท่านไว้ให้กบั บรรดาศิลปิ นที่เป็ นละครหลวงและโขน หลวงในรัชกาลที่ ๖ เพราะเป็ นผูท้ ี่จดจาได้มาก ทั้งอาจได้ร่วมสร้ างกระบวนท่าราชุ ดใหม่ซ่ ึ งเริ่ มใช้ในโขน หลวงละครหลวงประจารัชกาล โดยเฉพาะในกระบวนรากลุ่ม “เพลงหน้าพาทย์” ที่ได้มีการรวบรวมและ สร้างขึ้นในเวลานั้น ในชั้นหลังเมื่อมีการชาระท่าราสาคัญของแผ่นดิ น คุณหญิงเทศจึงเข้ามาช่วยกากับดู แล อยูเ่ นื องๆ จนถึงในตอนต้นรัชกาลที่ ๙ ที่ได้มีการถ่ายทอดท่าราเพลงหน้าพาทย์ช้ นั สู งคือ องค์พระพิราพเต็ม องค์ ซึ่ งจัดขึ้นเมื่อวันที่ ๒๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๐๖ ณ โรงละครพระที่นงั่ อัมพรสถาน คุณหญิงเทศ ก็ได้เข้า มาร่ วมเป็ นสักขีพยานในพระราชพิธีน้ นั ด้วย ในปัจจุบนั เมื่อโลกแห่งความรู ้เปิ ดกว้างสอดรับกับโลกแห่งข้อมูลข่าวสารที่สามารถโอนย้ายถ่ายเท ได้อย่างรวดเร็ ว ทาให้วิชาความรู ้ แบบโบราณมิได้เป็ นที่ตอ้ งปกปิ ดหรื อสงวนไว้สาหรับตัวบุคคลเสมอไป ด้วยมีการจัดการศึกษาเกี่ยวกับโขนละครอย่างเป็ นระบบระเบียบในสถาบันระดับอุดมศึกษา ทาให้กระบวน ท่าราและวิชาต่างๆ มีหน้าที่เสมือนเป็ น “องค์ความรู ้ ” ที่ตกมาสู่ ยุคปั จจุบนั การนาเอาองค์ความรู ้ที่กระจัด กระจายหรื อเคยมีอยูอ่ ย่างหลากหลายมานาเสนอในเชิ งวิชาการและเผยแพร่ ให้เกิดความเข้าใจต่อสาธารณะ ย่อมจะเป็ นผลในทางบวกสาหรับโลกที่ยอมรับในความหลากหลาย โดยงานศิลปกรรมอาจไม่จาเป็ นต้องมี มาตรฐานกลางเพียงมาตรฐานเดียว การนาเอาความรู ้จากหลายสานักหลายทางมาประมวลเพื่อประโชยน์ต่อ การศึกษาของคนรุ่ นต่อไป จะยังผลให้วชิ าความรู ้เหล่านั้นมิได้สูญหายหรื อตายไปกับตัวบุคคล
ค
การที่นกั ศึกษาชั้นปี ที่ ๔ สาขาวิชานาฏกรรมไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ได้มีความตั้งใจที่จะนาเสนอองค์ความรู ้ที่ตนได้คน้ คว้ามานามาจัดในรู ปแบบของการสัมมนาสาธารณะถือ เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของการเรี ย นการสอนตามหลัก สู ตรศิ ล ปกรรมศาสตรบัณฑิ ตสาขาวิช านาฏกรรมไทย ที่ มหาวิทยาลัยรามคาแหงเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนเลือกหัวข้อที่จะทาการศึกษาโดยอิสระ โดยมุ่งหวังที่จะเป็ นการ พัฒนาเสรี ภาพทางความคิดและแสดงบทบาททางวิชาการในฐานะที่จะได้เป็ นส่ วนหนึ่ งของการรักษาองค์ ความรู ้ในวงวิชาการนาฏกรรมไทยต่อไป หวังใจเป็ นอย่างยิ่งว่าผูท้ ี่เข้าร่ วมในกิจกรรมครั้งนี้ จะได้รับความรู ้ ใหม่และเปิ ดใจกว้างที่ยอมรับในความหลากหลายของงานศิลปวัฒนธรรม อาจารย์ธรรมจักร พรหมพ้วย รองคณบดีฝ่ายสวัสดิการ คณศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ๒๑ กันยายน ๒๕๖๑
ง
สารจากหัวหน้ าภาคศิลปะการแสดงไทย
นาฏกรรมคือศิลปวัฒนธรรมการแสดง ที่แสดงให้เห็นถึง อารยะธรรมของชนชาติ น้ นั ๆ อาทิองค์ ความรู ้ ความเชื่อ ศิลปะ ประเพณี กฎหมาย ความสามารถและลักษณะนิสัยตามความนิยมของสังคมในแต่ละ ยุคสมัย การทานุ บารุ งและส่ งเสริ มศิลปะการแสดงทางด้านนาฏกรรมสามารถทาได้ท้ งั ทางด้านการแสดง และด้านวิชาการ งานสัมมนาศิลปะการแสดง เรื่ องราหน้าพาทย์คุณหญิงนัฏกานุ รักษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) “อัจฉริ ย ศิลปิ นวังบ้านหม้อ” เป็ นอีกหนึ่ งงานวิชาการที่จะอนุ รักษ์และเผยแพร่ องค์ความรู ้ทางด้านนาฏกรรมไทย ทั้ง ยังเป็ นโครงการที่ได้ฝึกนักศึกษาชั้นปี ที่ ๔ ผูท้ ี่ใกล้จะจบการศึกษาได้ประมวลนาความรู ้จากการเรี ยนรายวิชา TPA๔๑๐๒ สัมมนาศิลปะการแสดง และ TPA๔๑๐๓ การบริ หารการจัดการการแสดง มาปฏิบตั ิงานได้จริ ง ให้เป็ นที่ประจักษ์และก่อประโยชน์ให้แก่สาธารณชน ในนามของหัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดงไทย ขอกราบขอบพระคุณ ท่านวิทยากร ศิลปิ นรับเชิ ญ และบุคคลากรในคณะศิลปกรรมศาสตร์ ทุกท่าน ที่มีส่วนสาคัญในการทาให้งานสัมมนาในครั้งนี้สาเร็ จลุล่วง อย่า งสมบู รณ์ และขอให้นัก ศึ กษาชั้นปี ที่ ๔ ที่ มี ค วามมุ่ ง มัน่ ในการจัดการครั้ งนี้ จงประสบความส าเร็ จ ปราศจากอุ ป สรรคในการท างาน และเป็ นก าลัง ส าคัญ ของชาติ ใ นการเป็ นผู ้อ นุ รั ก ษ์ แ ละเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมของชาติสืบไป อ.ดร. รัสวรรณ อดิศัยภารดี หัวหน้ าภาควิชาศิลปะการแสดงไทย ๒๑ กันยายน ๒๕๖๑
จ
หลักการและเหตุผลในการจัดโครงการสั มมนา เพลงหน้าพาทย์ คือเพลงที่ใช้บรรเลงประกอบอากัปกิริยาของตัวละครในการแสดงโขน ละคร หรื อ ใช้สาหรับบรรเลงประกอบในพิธีไหว้ครู ดนตรี -นาฏศิลป์ และพิธีที่เป็ นมงคลต่างๆ ทั้งนี้ การเลื อกใช้เพลง หน้า พาทย์ในการแสดงแต่ ล ะครั้ งมักต้องคานึ งถึ ง ความเหมาะสมหลายๆ ประการในการแสดง ในทาง นาฏกรรมเพลงหน้า พาทย์ถื อเป็ นเพลงครู ที่ มี ค วามศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ จึ ง มัก จะบรรเลงตามขนบดั้ง เดิ ม ไม่ นิย ม ดัดแปลงหรื อแต่งเติมอย่างเพลงที่ใช้บรรเลงทัว่ ไป อนึ่ ง นอกจากเพลงหน้าพาทย์ที่ปรากฏการใช้ประกอบการแสดงโขน ละคร หรื อในพิธีไหว้ครู ดนตรี -นาฏศิลป์ และใช้เป็ นหลักสู ตรการเรี ยนการสอนอยูใ่ นปั จจุบนั ยังปรากฏว่ามีเพลงหน้าพาทย์อีกชุ ด หนึ่งที่มีการสื บทอดมาจาก คุณหญิงนัฏกานุรักษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) ซึ่ งท่านเป็ นศิลปิ นคนสาคัญของวังบ้าน หม้อ ที่มีความสามารถในการแสดง ทั้งบท ตัวพระ ตัวนาง ตัวยักษ์ และตัวลิ ง ด้วยเพราะท่านได้เริ่ มศึกษา วิชานาฏศิลป์ ในละครวังบ้านหม้อ ตั้งแต่อายุ ๑๐ ปี เมื่อสมัยรัชกาลที่ ๖ และรัชกาลที่ ๗ ท่านได้เป็ นครู สอน โขน ละครหลวงในกรมมหรสพ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๗ ท่านได้เข้ารับราชการในสังกัดของ โรงเรี ยนนาฏ ดุริยางคศาสตร์ กรมศิลปากร จนถึง พ.ศ. ๒๔๘๘ จึงได้ออกจากราชการ หลังจากที่ท่านได้ออกจากราชการ คุณหญิงนัฏกานุ รักษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) ก็ยงั ได้นาองค์ความรู ้ ทางด้านนาฏกรรมไทยมาถ่ ายทอดไว้ให้ลูกศิ ษย์ของท่าน ซึ่ งหนึ่ งในความรู ้ น้ นั ก็มีกระบวนราเพลงหน้า พาทย์ที่ท่านได้ประดิษฐ์ท่าขึ้นจากองค์ความรู ้ที่สั่งสมมา เช่น ท่าราหน้าพาทย์ตระมงคลจักรวาล เพลงหน้า พาทย์ตระพระพิฆเนศ เพลงหน้าพาทย์นางเดิน หรื อกระบวนท่าราเพลงพระพิราพเต็มองค์ ได้ถ่ายทอดให้ลูก ศิษย์เพียงคนเดียวของท่าน คือ ครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยมลาภ ภายหลังจึงถ่ายทอดให้แก่ครู เวนิช เชียรวงศ์ ซึ่ งคุณครู ทั้งสองท่าน ก็ได้นาความรู ้ที่ได้รับมาจาก คุณหญิงนัฏกานุ รักษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) มาถ่ายทอดให้กบั ศิษย์ รุ่ นปั จจุบนั ได้อนุรักษ์และรักษาไว้ จากเหตุ ผ ลที่ ก ล่ า วมาข้า งต้น ท าให้ นัก ศึ ก ษาชั้น ปี ที่ ๔ สาขาวิช านาฏกรรมไทย ได้เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความสาคัญของการราหน้าพาทย์สายคุ ณหญิงนัฏกานุรักษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) จึงได้จดั ทาโครงการสัมมนา ทางวิชาการด้านศิลปะการแสดงขึ้น เพื่อแลกเปลี่ยนและเผยแพร่ องค์ความรู ้ดา้ นนาฏศิลป์ ในเรื่ องการราเพลง หน้าพาทย์สายคุณหญิงนัฏกานุรักษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) เพื่อให้เป็ นที่ประจักษ์ในระดับสาธารณะ
วัตถุประสงค์ ของโครงการ ๑ เพื่อให้ผเู ้ ข้าร่ วมโครงการได้รับความรู ้ในเรื่ องเพลงหน้าพาทย์และท่าราของเพลงหน้าพาทย์ของ คุณหญิงนัฏกานุรักษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) ๒ เพื่อเผยแพร่ องค์ความรู ้ ทางด้านนาฏกรรมไทยในรู ปแบบงานสัมมนาเชิงวิชาการ
ฉ
กําหนดการโครงการสัมมนาศิลปะการแสดง “รําหน้าพาทย์คุณหญิงนัฏกานุรักษ์ (เทศ สุวรรณภารต) : อัจฉริยศิลปินวังบ้านหม้อ” วันพฤหัสบดีที่ ๒7 กันยายน ๒๕๖๑ ณ หองประชุม ชั้น 3 ห้อง 322 อาคารสุโขทัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง ๑๒.๐๐ น. – ลงทะเบียนและรับสูจิบัตร 12.45 น. - ประธานโครงการกล่าวรายงาน 13.00 น. - พิธีคํานับครู โดย คุณครูทวีศักดิ์ หว่างจันทร์ ๑๓.15 น. - การสัมมนาศิลปะการแสดง เรื่อง “รําหน้าพาทย์คุณหญิงนัฏกานุรักษ์ (เทศ สุวรรณภารต) : อัจฉริยศิลปินวังบ้านหม้อ” โดยวิทยากร 1. คุณธาดา วิทยาพูล บรรยายเรื่อง “คุณูปการคุณหญิงนัฏกานุรักษ์ ต่องานนาฏกรรมไทย” 2. ดร.เกิดศิริ นกน้อย บรรยายเรื่อง “รูปแบบการแสดงและอัตลักษณ์ รําหน้าพาทย์สายคุณหญิง นัฏกานุรักษ์” 3. คุณสมฤทธิ์ ลือชัย บรรยายเรื่อง “การฝากตัวเข้าเป็นศิษย์ สายคุณหญิงนัฏกานุรักษ์” 4. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อภิณัฏฐ์ กิติพันธุ์ บรรยายเรื่อง “ความเป็ น มาและรู ป แบบการนํ า หน้ า พาทย์ ส ายคุ ณ หญิ ง นัฏกานุรักษ์ไปใช้ในงานพิธีกรรม” - สาธิตท่ารําโดยนาฏศิลปินรับเชิญ 1.อาจารย์เสาวรักษ์ ยมะคุปต์ 2.อาจารย์อัฒฑวินทร์ ธนเดชสําราญพงษ์ 3.คุณทวีศักดิ์ หว่างจันทร์ และศิษย์สายคุณหญิงนัฏกานุรักษ์รุ่น ปัจจุบัน - ดําเนินรายการโดย 1. อาจารยธรรมจักร พรหมพวย อาจารยประจําสาขาวิชานาฏกรรมไทย คณะศิลปกรรมศาสตร 2. นายกันตพัฒน์ จุติพรภูติวัฒน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชานาฏกรรมไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ ๑๖.๐๐ น. - ประธานในงานมอบช อดอกไม เป นเกี ย รติ ใ ห้ กั บ วิ ท ยากรและนาฏศิ ล ปิ น รับเชิญ ********************************* หมายเหตุ : กําหนดการและรายการแสดงอาจเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม
สารบัญ หน้า สารจากรองคณบดีฝ่ายสวัสดิการ……………………….
ก
สารจากหัวหน้าภาคศิลปะการแสดงไทย……….............
ง
หลักการและเหตุผลในการจัดโครงการสัมมนา………...
จ
ประวัติวทิ ยากรผู้ทรงคุณวุฒิ และนาฏยศิลปิ นรับเชิ ญ - นายธาดา วิทยาพูล......................……………...........
๑
- อาจารย์สมฤทธิ์ ลือชัย.........................................
๒
- อาจารย์วา่ ที่ร้อยตรี ดร.เกิดศิริ นกน้อย.................
๔
- ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อภิณฏั ฐ์ กิติพนั ธุ์.......
๙
- นางสาวเสาวรักษ์ ยมะคุปต์................................
๑๑
- นายอัฒฑวินทร์ ธนเดชสาราญพงษ์....................
๑๔
- นายทวีศกั ดิ์ หว่างจันทร์ ......................................
๑๖
บทความเกีย่ วกับราเพลงหน้ าพาทย์ สายคุณหญิงนัฏกานุรักษ์ - ประวัติชีวติ และผลงานคุณหญิงนัฏกานุรักษ์ (ม.ล. บุญเหลือ เทพยสุ วรรณ, สมภพ จันทรประภา)
๑๗
- เก็บมาเล่า เรื่ อง เพลงหน้าพาทย์…………………. (นายธาดา วิทยาพูล)
๒๕
- บทความจากหนังสื อเรื่ อง “ส่ องชาติ ชีวติ ศิลปิ นของคุณครู ส่องชาติ ชื่ นศิริ” (ปริ ตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล)
๓๐
รายชื่อนักศึกษาผูร้ ับผิดชอบโครงการ……………………..
๔๕
ขอขอบพระคุณ....................................................................
๔๖
๑
ประวัติ นายธาดา วิทยาพูล ข้ อมูลทัว่ ไป เกิดเมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๓ ปัจจุบนั อายุ ๖๘ ปี ที่อยูป่ ั จจุบนั ๑/๕ หมู่ ๗ แขวงบางไผ่ เขตบางแค กรุ งเทพฯ ประวัติการศึกษา ระดับมัธยมต้น
โรงเรี ยนมงฟอร์ ตวิทยาลัย เชี ยงใหม่
ระดับมัธยมปลาย
โรงเรี ยนอานวยศิลป์ พระนคร
ระดับปริ ญญาตรี
วิศวกรรมการบิน มหาวิทยาลัยเฟี ยติ ประเทศฟิ ลิปปิ นส์
ระดับปริ ญญาโท
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยแห่งกรุ งมานิลา ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะบริ หารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประวัติการทางาน เคยทางานในตาแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การบริ ษทั เอกชนใหญ่แห่งหนึ่ง ปัจจุบนั เกษียณอายุการทางาน ผลงานการแสดง โขนเรื่ องรามเกียรติ์
รับบทเป็ น
หนุมานและชมพูพาน ชมรมโขนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ต้ งั แต่ ปี พ.ศ.๒๕๑๒ เป็ นศิษย์คุณครู กรี วรศะริ น (ศิลปิ นแห่งชาติ)
นายธาดา วิทยาพูล นับว่าเป็ นบุคลากรคนสาคัญของสาย การประกอบพิธีไหว้ครู ครอบครู นาฏศิลป์ ไทย ตามรู ป แบบของคุ ณ หญิ ง นัฏ กานุ รัก ษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) เพราะท่ า นเป็ นผูใ้ กล้ชิ ด และอุ ปถัม ภ์ ครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยมลาภ จนกระทัง่ บั้นปลายของชีวติ ครู ครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยมลาภ ได้มอบหน้าครู (ศี รษะโขน) ทั้งหมดของท่าน ไม้เท้าพระฤๅษี อุ ปกรณ์ ประกอบพิธีต่าง ๆ ให้เก็บรักษาเพื่อมอบต่อให้แก่ศิษย์ที่สมควรรุ่ นต่อ ๆ ไป
๒
ประวัติ อาจารย์ สมฤทธิ์ ลือชัย ข้ อมูลทัว่ ไป เกิดวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 จังหวัด เชียงราย ประวัติการศึกษา ระดับปริ ญญาตรี ศิลปศาสตร์บณั ฑิต Cert-In-English, Colorado University, U.S.A. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (การสื่ อสารมวลชน) ประกาศนียบัตร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสาร มหาวิยาลัยสุ โขทัยธรรมมาธิราช ระดับปริ ญญาโท
รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต (การปกครอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วารสารศาสตร์มหาบัณฑิต (สื่ อสารพัฒนาการ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น พ.ศ. 2534 ในหัวข้อ “ความตระหนัก ของ ช่างซอใจบทบาทนัก สื่ อสารเพื่อการพัฒนา”
ประวัติการทางานด้ านสื่ อสารมวลชน นักข่าว ผูป้ ระกาศข่าว พิธีกร บริ ษทั แปซิ ฟิคอินเตอร์ คอมมูนิเคชัน่ จากัด พิธีกรและผูป้ ระกาศข่าว บริ ษทั เอเชียวิชนั่ ส์ พิธีกรอิสระ รายการสารคดี และรายการสนทนา ทางสถานีโทรทัศน์ช่องต่างๆ โปรดิวเซอร์และผูเ้ ขียนบท สารคดี “พุทธศาสดา” ของบริ ษทั เทเลเซี ย จากัด พิธีกรและโปรดิวเซอร์ “รายการตานานโลก” และ “รายการประวัติศาสตร์ นอกตารา” บริ ษทั เบิร์ดอายวิว จากัด พิธีกรรายการ “ธรรมในใจ” ทางไทยทีวสี ี ช่อง 3 การทางานด้ านวิชาการ อาจารย์พิเศษ โครงการอุษาคเนย์ศึกษา (South East Asian Studies) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อาจารย์พิเศษ คณะศิลปกรรมศาสตร์และคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๓
อาจารย์พิเศษปริ ญญาโท-ปริ ญญาเอก คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราช วิทยาลัย อาจารย์พิเศษ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต อาจารย์พิเศษ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิ ต อาจารย์พิเศษ คณะบริ หารธุ รกิจ มหาวิทยาลัยรามคาแหง อาจารย์พิเศษ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ อาจารย์พิเศษ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัย เซนต์จอร์น อาจารย์พิเศษ คณะนิเทศศาสตร์ ปริ ญญาตรี และปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยเกริ ก ผูบ้ รรยายทางวิชาการในสาขาศิลปศาสตร์ (Liberal Arts)และมัคคุเทศก์ ให้แก่ หน่วยงาน ราชการและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ผลงานด้ านการแสดง เป็ นศิลปิ นของชมรมโขนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็ นผูไ้ ด้รับการถ่ ายทอดท่า ราสายคุ ณหญิ งนัฏกานุ รักษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) จากคุ ณครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยมลาภ เช่น บาทสกุณี ๑๖ ไม้เดิน เสมอข้ามสมุทร ต้นเสมอ และอื่น ๆ
๔
ประวัติ อาจารย์ ว่าทีร่ ้ อยตรี ดร.เกิดศิริ นกน้ อย ข้ อมูลทัว่ ไป เกิดเมื่อวันจันทร์ ที่ 7 สิ งหาคม พ.ศ. 2521 ภูมิลาเนา จังหวัดนครปฐม บิดา นายฉลอม นกน้อย มารดา นางราเพย นกน้อย การศึกษา ประกาศนียบัตรนาฏศิลป์ ชั้นสู ง (โขนยักษ์) จากวิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ศึ ก ษาศาสตรบัณฑิ ต (นาฏศิ ล ป์ ไทยศึก ษา) จากคณะศิ ล ปศึ กษา สถาบันบัณฑิ ตพัฒนศิ ลป์ กรม ศิลปากร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (นาฏยศิลป์ ไทย) จากคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต (การวิจยั ทางศิลปกรรมศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การทางาน พ.ศ.2543 – 2550 อาจารย์พิเศษ สาขาวิชานาฏศิล ป์ ไทยศึก ษา คณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิ ต พัฒนศิลป์ กรมศิลปากร พ.ศ. 2550 – 2552 ตาแหน่ งอาจารย์ รองประธานกลุ่ มสาขาศิ ลปะการแสดงฝ่ ายพัฒนานิ สิตและ ศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. 2552 – 2554 ตาแหน่งอาจารย์รองประธานกลุ่มสาขาศิลปะการแสดงฝ่ ายวิชาการและส่ งเสริ ม งานวิจยั คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. 2554 – 2558 ตาแหน่ งหัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม พ.ศ. 2558 – 2560 ตาแหน่ งรองคณบดี ฝ่ายพัฒนานิ สิตและวิเทศสัมพันธ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. 2560 – ปั จ จุ บ ัน ต าแหน่ ง รองคณบดี ฝ่ ายพัฒ นานิ สิ ตและท านุ บ ารุ งศิ ล ปวัฒ นธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
๕
ผลงานด้ านวิชาการ เอกสารประกอบการสอน รายวิชาพื้นฐานนาฏยศิลป์ ไทย เอกสารประกอบการสอน รายวิชาวรรณกรรมนาฏยศิลป์ ไทย การบริการวิชาการ พ.ศ. 2548 คณะกรรมการอานวยการจัดสร้างจัดสร้างเครื่ องแต่งกายโขน – ละคร สาหรับการแสดง พระราชทาน ตามพระราชเสาวนียใ์ นสมเด็จพระนาง เจ้าสิ ริกิต์ ิพระบรมราชินีนาถ พ.ศ. 2550 ฝ่ ายข้อ มู ล ในการจัด ท าหนัง สื อ “ วิ ว ัฒ นาการเครื่ องแต่ ง กายโขน – ละคร สมัย รัตนโกสิ นทร์ ” โดยมูลนิธิส่งเสริ มศิลปาชีพในสมเด็จพระนาง เจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ พ.ศ. 2550 กองบรรณาธิ การในการจัดทาหนังสื อ “ จดหมายเหตุการณ์จดั สร้างเครื่ องแต่งกายโขน – ละคร สาหรับการแสดงเฉลิมพระเกียรติเรื่ องรามเกียรติ์ ตอนพรหมมาศ ” โดยมูลนิ ธิส่งเสริ มศิลปา ชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ พ.ศ. 2552 ฝ่ ายข้อมู ลและทีม งานจัดนิ ทรรศการชุ ด “ บารมี แห่ ง แผ่นดิ น ” ในโอกาสพิ ธีเปิ ดหอ ศิ ล ปวัฒ นธรรมแห่ ง กรุ ง เทพมหานครและกิ จ กรรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระนางเจ้า สิ ริกิ ต์ ิ พระบรมราชินีนาถ พ.ศ. 2552 ได้รับเชิ ญจาก บริ ษทั เวิร์คพอยท์ เอนเตอร์ เทนเม้นท์จากัด บันทึกเทปรายการ “ คุณพระ ช่วย ” ตอน บายศรี สู่ขวัญ เป็ นผูถ้ วายคาบรรยายแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถในโอกาสเสด็จพระราชดาเนิ นทรง เปิ ดนิทรรศการ “ โขนพรหมาศ” พ.ศ. 2550 – ปั จจุบนั เป็ นคณะกรรมการดาเนิ นงานจัดการแสดงโขนพระราชทานมูลนิ ธิส่งเสริ ม ศิลปาชีพในสมเด็จพระนาง เจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ผลงานด้ านการแสดง งานแสดงถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชการที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุ ว งศ์ใ นการต้อ นรั บ พระราชอาคัน ตุ ก ะ ณ พระที่ นั่ง จัก กรี ม หาปราสาท พระบรมมหาราชวัง งานแสดงของรัฐบาลเพื่อต้อนรับแขกผูม้ ีเกียรติ ณ ทาเนียบรัฐบาล ฯลฯ การแสดงโขน เช่น พระคเณศ นนทุก สามนักขา วิรุญจาบัง กุมภกรรณ พิจิตไพรี ฤาษีแดง ฯลฯ
๖
การแสดงละคร เช่น ละครเรื่ องสังข์ทองแสดงเป็ น นางมณฑา พระพีนาง ละครเรื่ องลักษณวงศ์ แสดงเป็ นนางยีส่ ุ่ น ละครดึกดาบรรพ์ เรื่ อง สองกรวรวิก แสดงเป็ น ยักษ์สองกร ละครเรื่ องศรี ธรรมมาโศกราช แสดงเป็ น ระตู ละครเรื่ องสังข์สินชัย แสดงเป็ น หกกุมาร ฯลฯ ได้รับการถ่ายทอดท่าราสายคุ ณหญิงนัฏกานุ รักษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) จากคุ ณครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยม ลาภ เช่น บาทสกุณี ๑๖ ไม้เดิน ตระพระพิฆเณศ ดาเนินพราหมณ์ พระพิราพเติมองค์ และอื่น ๆ ผลงานการเผยแพร่ นาฏศิลป์ ไทยในต่ างประเทศ พ.ศ. 2540 งานฉลองเอกราชของอินเดียครบ 50 ปี กรุ งนิวเดลี ประเทศอินเดีย พ.ศ. 2543 ร่ วมแสดงในงานเทศกาลอาหารไทย ณ กรุ งเซี ยงไฮ สาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. 2544 ร่ วมแสดงในงานเทศกาลท่องเที่ยวไทย ณ กรุ งโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น พ.ศ. 2547 ร่ วมแสดงหุ่นและนาฏศิลป์ ไทยในงานเทศกาล Asian in Helsinki ประเทศฟิ นแลนด์ พ.ศ. 2548 ร่ วมแสดงในงานเปิ ดตัว โครงการ “ ไทยแลนด์แกรนอิ น วิ เทชั่น ” ณ กรุ งลอนดอน ประเทศอังกฤษ พ.ศ. 2549 ร่ วมแสดงในงาน “ ไทยไนท์” ณ กรุ งเบอร์ลิน ประเทศเยอรมันนี พ.ศ. 2549 แสดงนาฏศิลป์ ไทยร่ วมกับศิลปิ นชาวอิตาลี ณ กรุ งโรมประเทศอิตาลี พ.ศ. 2549 แสดงนาฏศิลป์ ไทย ณ ประเทศไตหวัน พ.ศ. 2549 งานฉลองวัน ชาติ ไ ทยและวัน เฉลิ ม พระชนมพรรษาสมเด็ จ พระราชาธิ บ ดี แ ห่ ง ราชอาณาจักรภูฎาน ณ กรุ งทิมพู ราชอาณาจักรภูฏาน พ.ศ. 2551 แสดงนาฏศิลป์ ไทยเนื่ องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และโอกาสฉลองความสัมพันธ์ 150 ปี ไทย - สหรัฐอเมริ กา ณ นครลอสแองเจอร์รีส และเมืองซีแอด เติล ประเทศสหรัฐอเมริ กา พ.ศ. 2551 แสดงนาฏศิลป์ ไทยเนื่ องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ณ เมืองแวนคูเวอร์ ประเทศแคนนาดา
๗
พ.ศ. 2553 แสดงนาฏศิลป์ ไทย ณ ประเทศฝรั่งเศส และประเทศอิตาลี พ.ศ. 2555 แสดงนาฏศิลป์ ไทย ณ ประเทศอิสราเอล พ.ศ. 2560 นิทรรศการ “โขนพระราชทาน”ณ นครซิดนีย ์ รัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย ผลงานการกากับการแสดง พ.ศ. 2549 กากับการแสดงงานฉลองวันชาติไทยและวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระราชาธิ บดี แห่งราชอาณาจักรภูฎานณ กรุ งทิมพู ราชอาณาจักรภูฏาน พ.ศ. 2547 กากับการแสดงและออกแบบการแสดงชุ ด “ เพื่อชาติเพื่อแผ่นดิน ” ถวายสมเด็จพระนาง เจ้าฯพระบรมราชิ นีนาถ ในงานราตรี แก้วตาดวงใจ เทิดไท้ 72 พรรษาบรมราชิ นีนาถ แสดงโดย คณะรัฐมนตรี และคู่สมรสร่ วมกับอาจารย์เผ่าทอง ทองเจือ ณ หอประชุมกองทัพเรื อ พ.ศ. 2550 ผูช้ ่วยกากับการแสดง การแสดงโขนเฉลิมพระเกียรติเรื่ องรามเกียรติ์ ตอน พรหมาศ โดย มู ลนิ ธิส่งเสริ มศิ ลปาชี พในสมเด็จพระนาง เจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชิ นีนาถ ณ หอประชุ มใหญ่ศูนย์ วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2551 กากับการแสดงนาฏศิลป์ ไทยเนื่ องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ วั และโอกาสฉลองความสัมพันธ์ 150 ปี ไทย - สหรัฐอเมริ กา ณ นครลอสแองเจอร์ รีส และ เมื อ งซี แ อดเติ ล ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าและการแสดงนาฏศิ ล ป์ ไทยเนื่ อ งในวโรกาสเฉลิ มพระ ชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ณเมืองแวนคูเวอร์ ประเทศแคนนาดา พ.ศ. 2551 ผูก้ ากับการแสดง โขนนาฏยนุ รักษ์ 4 ทษวรรศ มมส. และเป็ นผูร้ ับผิดชอบโครงการ ณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. 2552 ผูช้ ่ วยกากับการแสดง การแสดงโขนเรื่ องรามเกี ยรติ์ ตอนพรหมาศ โดยมูลนิ ธิส่งเสริ ม ศิลปาชี พในสมเด็จพระนาง เจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชิ นีนาถ ณ หอประชุ มใหญ่ศูนย์วฒั นธรรมแห่ ง ประเทศไทย พ.ศ. 2552 Producer การบัน ทึ ก เสี ย งการบรรเลงดนตรี ว งปี่ พาทย์ป ระกอบการแสดงโขนเรื่ อง รามเกี ย รติ์ ตอนพรหมาศ โดยมู ล นิ ธิ ส่ งเสริ มศิ ล ปาชี พ ในสมเด็ จ พระนาง เจ้ า สิ ริ กิ ต์ ิ พระบรมราชินีนาถ พ.ศ. 2552 ก ากับ การแสดงขบวนส่ ง มอบธงของมหาวิ ท ยาลัย ธรรมศาสตร์ ก ารแข่ ง ขัน กี ฬ า มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย “ แม่โดมเกมส์” ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รังสิ ต
๘
พ.ศ. 2553 ผูช้ ่ วยกากับการแสดง การแสดงโขนเรื่ องรามเกี ยรติ์ ตอน นางลอย โดยมูลนิ ธิส่งเสริ ม ศิลปาชี พในสมเด็จพระนาง เจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชิ นีนาถ ณ หอประชุ มใหญ่ศูนย์วฒั นธรรมแห่ ง ประเทศไทย พ.ศ. 2554 ผูช้ ่ วยกากับการแสดงและผูก้ ากับเวที การแสดงโขนเรื่ องรามเกี ยรติ์ ตอน ศึกมัยราพณ์ โดยมูลนิธิส่งเสริ มศิลปาชีพในสมเด็จพระนาง เจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ณ หอประชุมใหญ่ศูนย์ วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2555 ผูช้ ่ วยก ากับการแสดงและผูก้ ากับเวที การแสดงโขนเรื่ องรามเกี ยรติ์ ตอน จองถนน โดยมูลนิธิส่งเสริ มศิลปาชีพในสมเด็จพระนาง เจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ณ หอประชุมใหญ่ศูนย์ วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2556 ผูช้ ่ วยกากับการแสดงและผูก้ ากับเวที การแสดงโขนเรื่ องรามเกี ยรติ์ ตอน โมกขศักดิ์ โดยมูลนิธิส่งเสริ มศิลปาชีพในสมเด็จพระนาง เจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ณ หอประชุมใหญ่ศูนย์ วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2557 ผูช้ ่วยกากับการแสดงและผูก้ ากับเวที การแสดงโขนเรื่ องรามเกียรติ์ ชุดศึกอินทรชิต ตอน นาคบาศ โดยมูลนิธิส่งเสริ มศิลปาชีพในสมเด็จพระนาง เจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ณ หอประชุ ม ใหญ่ศูนย์วฒั นธรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 ผูช้ ่วยกากับการแสดงและผูก้ ากับเวที การแสดงโขนเรื่ องรามเกียรติ์ ตอนพรหมาศ โดย มูลนิ ธิส่งเสริ มศิลปาชี พในสมเด็จพระนาง เจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชิ นีนาถ ณ หอประชุ มใหญ่ศูนย์ วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2560 ผูช้ ่วยกากับการแสดงและผูก้ ากับเวที การแสดงโขนในพระราชพิธีถวายพระเพลิ งพระ บรมศพ สมเด็จพระปรมิทรภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิทร โดยมูลนิ ธิส่งเสริ มศิลปาชี พในสมเด็จ พระนาง เจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ณ มณฑลพิธีทอ้ งสนามหลวง
๙
ประวัติ ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร.อภิณฏั ฐ์ กิติพนั ธุ์ ข้ อมูลทัว่ ไป ภูมิลำเนำปัจจุบนั กรุ งเทพมหำนครฯ
ประวัติการศึกษา ระดับมัธยมต้น
วิทยำลัยนำฏศิลปเชียงใหม่ นำฏศิลป(โขน) ชั้นต้น รุ่ นที่ ๑๐ ระดับมัธยมปลำย
ประกำศนียบัตรวิชำชีพชั้นสู ง
สำขำอิเล็กทรอนิกส์คอมพิวเตอร์ วิทยำลัยเทคนิคเชียงใหม่
ระดับปริ ญญำตรี
วิศวกรรมศำสตร์บณั ฑิต มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
ระดับปริ ญญำโท
บริ หำรธุ รกิจมหำบัณฑิต มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
ระดับปริ ญญำเอก
สำขำพุ ทธปรั ชญำดุ ษ ฏี บณ ั ฑิ ต มหำวิท ยำลัย สงฆ์แห่ ง ศรี ลงั กำ ๒๕๔๓
ประวัติการทางาน เป็ นวิปัสสนำจำรย์ และประธำนชมรมชีวำนุภำพ เป็ นผูช้ ำนำญกำรพิธีกำร กลุ่มบริ ษทั กรุ งเทพดุสิตเวชกำร กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัยผูท้ รงคุณวุฒิ มหำวิทยำลัยรำชภัฏอุบลรำชธำนี ผลงานและรางวัลเกียรติคุณ เป็ นวิทยำกรบรรยำยธรรมะภำคปฏิบตั ิ ตำมแนวทำงมหำสติปัฏฐำน ณ ศูนย์ปฏิบตั ิธรรม ต่ำงๆ ทัว่ ประเทศกว่ำ ๑๗ ปี รวมถึงเป็ นวิทยำกรนำปฏิบตั ิธรรมดินแดนพุทธภูมิ ณ ประเทศ อินเดีย ศรี ลงั กำ เนปำล ธิ เบต จีน กว่ำ ๕๒ ครั้งในรอบ ๑๘ ปี รับพระรำชทำน เครื่ องรำชอิสริ ยำภรณ์ เบญจมดิเรกคุณำภรณ์ สำขำผูบ้ ำเพ็ญประโยชน์ทำง ศำสนำ
๑๐
รับรำงวัลพระรำชทำนเสำเสมำธรรมจักร สำขำเผยแพร่ พุทธศำสนำในประเทศ จำกสมเด็จ พระเทพรัตนรำชสุ ดำ สยำมบรมรำชกุมำรี เป็ นศำสตรำจำรย์เ กี ย รติ คุ ณ ด้ำ นพุ ท ธปรั ช ญำ ประจ ำสั ง ฆสภำอัส สคิ ริ ย ำ ประเทศ สำธำรณรัฐสังคมนิยมประชำธิปไตยศรี ลงั กำ รับตำแหน่งสัทธัมมะโชติกะ ศำสนำบัณฑิตสำธำรณรัฐสังคมนิยมประชำธิปไตยศรี ลงั กำ รั บ ต ำแหน่ ง ตรี ปิ ฏกศำสนำ หิ ต ะธะระสถำบัน ศึ ก ษำพระไตรปิ ฎกแห่ ง พม่ ำ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็ นฆรำวำสคนไทยคนแรกและคนเดียวที่ได้รับคัดเลือกให้ดำรงตำแหน่ง สัทธรร มะโชติกะธช จำกสำนักประธำนำธิ บดีแห่งสำธำรณรัฐแห่งสหภำพเมียนมำร์
๑๑
ประวัติ นางสาวเสาวรักษ์ ยมะคุปต์ ข้ อมูลทัว่ ไป เกิ ดเมื่ อวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ปั จจุบนั อายุ ๔๙ ปี เป็ นบุตรของนายประจวบ ยมะคุ ปต์ กับนางสมบุญ ยมะคุ ปต์ มีพี่น้อง ทั้ง หมด ๙ คน ที่ อ ยู่ ปั จ จุ บ ัน หมู่ บ ้า นพฤกษา ๓๓ เลขที่ ๖๗/๒๘๗ ซอย ๓๓ ตาบลแม่นาง อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี ๑๑๑๔๐ ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษาปี ที่ ๑ - ๓
โรงเรี ยนผานิตพิทยา
ระดับประถมศึกษาปี ที่ ๔ – ๖
โรงเรี ยนไตรรัตน์ศึกษา
หลักสู ตรนาฏศิลป์ ชั้นต้น
วิทยาลัยนาฏศิลป
หลักสู ตรนาฏศิลป์ ชั้นกลาง
วิทยาลัยนาฏศิลป
ประกาศนียบัตรชั้นสู ง
วิทยาลัยนาฏศิลป
ระดับปริ ญญาตรี
ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขานาฏศิลป์ ไทย สถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล คณะนาฏศิลป์ และดุริยางค์
ระดับปริ ญญาโท
คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาการจัดการทางวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประวัติการทางาน รับราชการเมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๔ ตาแหน่งนาฏศิลปิ นระดับ ๑ (ละครนาง) สถาบัน นาฏดุริยางคศิลป์ กรมศิลปากร ปัจจุบนั ดารงตาแหน่ง นาฏศิลปิ นอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
๑๒
ผลงานด้ านการแสดง โขนเรื่ องรามเกียรติ์
รับบทเป็ น
พระอุมา นางนารายณ์ พระลักษมี นางสี ดา นางเบญกาย นางสุ พ รรณมัจฉา นางวานริ นทร์ นางสุ วรรณกันยุมา นางบุษมาลี นางสวาหะ นางมาลี นางดารา กวางทอง
ละครในเรื่ องอิเหนา
รับบทเป็ น
นางบุ ษ บา นางจิ น ตะหรา นางเกนหลง นางดรสา นางมาหยารัศมี นางสะการะวาตี และนกยูง
ละครนอกเรื่ องสังข์ศิลป์ ชัย
รับบทเป็ น
นางสุ พรรณ และสิ งหรา
ละครนอกเรื่ องโกมินทร์
รับบทเป็ น
พระธิดามาลีทอง และพระธิดาดวงมณี
ละครนอกเรื่ องสุ วรณหงส์
รับบทเป็ น
พราหมณ์เกศสุ ริยง และนางเกศสุ ริยง
ละครนอกเรื่ องคาวี
รับบทเป็ น
นางจันทร์สุดา
ละครนอกเรื่ องสังข์ทอง
รับบทเป็ น
พระสังข์ และนางรจนา
ละครดึกดาบรรพ์เรื่ องอิเหนา
รับบทเป็ น
นางบุษบา
ละครดึกดาบรรพ์เรื่ องสังข์ศิลป์ ชัย รับบทเป็ น
นางศรี สุพรรณ
ละครดึกดาบรรพ์เรื่ องคาวี
รับบทเป็ น
นางจันทร์สุดา
ละครดึกดาบรรพ์เรื่ องสังข์ทอง
รับบทเป็ น
นางรจนา
ละครชาตรี เรื่ องมโนห์รา
รับบทเป็ น
นางมโนห์รา
ละครชาตรี เรื่ องรถเสน
รับบทเป็ น
นางเมรี
ละครพันทางเรื่ องพระลอ
รับบทเป็ น
ไก่แก้ว และพระเพื่อน พระแพง
ละครพันทางเรื่ องราชาธิ ราช
รับบทเป็ น
พระราชธิดา
ละครพันทางเรื่ องพม่าเสี ยเมือง รับบทเป็ น
มะขิ่นคะยี
ละครพันทางเรื่ องไม้ลบั แล
พระธิดาสร้อยคา
รับบทเป็ น
ละครพื้นบ้านและนิยายต่างๆ เรื่ องกั้นหยัน่ คู่ รับบทเป็ น พระธิดาบุน้ เทียน เรื่ องตานานนางสงกรานต์
รับบทเป็ น
พระธิ ดาทั้ง ๗
๑๓
นอกจากนี้ ยงั ปฏิ บตั ิ หน้าที่ แสดงต้อนรั บพระราชอาคันตุ กะที่ เสด็จฯ เยือนประเทศไทย และเป็ น วิทยากรตามสถาบันต่างๆ ที่ขอความอนุเคราะห์มา และกรรมการตัดสิ นการประกวดศิลปหัตถกรรม การแสดงเผยแพร่ ณ ต่างประเทศ เช่น ประเทศฝรั่งเศส ประเทศจีน ประเทศอเมริ กา ประเทศญี่ปุ่น ประเทศฟิ ลิ ป ปิ นส์ ประเทศบราซิ ล ประเทศชิ ลี ประเทศอาร์ เจนติ นา ประเทศอิ ส ราเอล ประเทศอิ ตาลี ประเทศอังกฤษ ประเทศบังคลาเทศ ประเทศโอมาน ประเทศเยอรมัน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศ อินโดนีเซี ย ประเทศกัมพูชา ประเทศเวียดนาม ฯลฯ ได้รับการถ่ายทอดท่าราสายคุ ณหญิงนัฏกานุ รักษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) จากคุ ณครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยม ลาภ เช่น นางเดิน ตระพระอุมา ตระนิมิตสามชั้น ราดาบเชือดหัวหมู และอื่น ๆ
๑๔
ประวัติ นายอัฒฑวินทร์ ธนเดชสาราญพงษ์ ข้ อมูลทัว่ ไป เกิดวันที่ ๑๘ กันยายยน พ.ศ.๒๕๑๑ ภูมิลาเนา จังหวัดกาแพงเพชร
ประวัติการศึกษา หลักสู ตรนาฏศิลป์ ชั้นกลาง
วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสิ นธุ์ วิชาเอกนาฏศิลป์ โขน (พระ)
หลักสู ตรนาฏศิลป์ ชั้นสู ง
วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสิ นธุ์ วิชาเอกนาฏศิลป์ โขน (พระ)
ระดับปริ ญญาตรี
ศึ ก ษาศาสตรบัณฑิ ต สาขานาฏศิ ล ป์ ไทย (โขน-พระ) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล คณะนาฏศิลป์ และดุริยางค์ (เกียรตินิยมอันดับ 2)
ระดับปริ ญญาโท
ดุ ริ ยางคศาสตรมหาบัณ ฑิ ต สาขาดุ ริ ยางคศาสตร์ วิชาเอกดนตรี ศึกษา มหาวิทยาลัยกรุ งเทพธนบุรี
ประวัติการทางาน อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรี ยนคลองบางพรม สานักงานเขตตลิ่งชัน กรุ งเทพมหานคร ผูป้ ระสานงานการแสดง บริ ษทั เฉลิมกรุ งมณี ทศั น์จากัด โรงละครเฉลิมกรุ งเธียเตอร์ เลขานุการกรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั ออวีม่ ีเดียจากัด C0-Producer รายการนาฏกรรมแห่งชาติ บริ ษทั เอเชียวิชนั่ จากัด (ปั จจุบนั ) ครู วิทยฐานะครู ชานาญการ โรงเรี ยนวัดสะแกงาม สานักงานเขต บางขุนเทียน กรุ งเทพมหานคร
๑๕
ผลงานด้ านการแสดง รับบทกินรา ละครดึกดาบรรพ์เรื่ องจันทกินรี ออกอากาศในรายการมาลาภิรมย์ ช่อง 9 อสมท. ร่ วมการแสดงในวันเสด็จพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดชและ สมเด็จพระราชธาธิบดี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก ณ พระราชวังกรุ งทิมพู ราชอาณาจักรภูฎาน ร่ วมการแสดงเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมไทย ณ โรงละครอเล็กซานเดอร์ กรุ งเฮลซิ งกิ ประเทศ ฟิ นแลนด์ ร่ วมการแสดงฉลองความสัมพันธ์ไทย-อเมริ กา ณ มหาวิทยาลัยวอชิ งตัน เมืองซี แอตเทิล รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริ กา ร่ วมการแสดงฉลองความสัมพันธ์ไทย-อเมริ กา ณ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลีส เมืองลอสแอนเจลีส รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริ กา ร่ วมการแสดงฉลองความสัมพันธ์ไทย-แคนาดา ณ เมืองแวนคูเว่อร์ แคนาดา ร่ วมเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม ณ เมืองสตาท์บูกซ์ ประเทศฝรั่งเศส ร่ วมเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม ณ กรุ งโรม ประเทศอิตาลี ได้รับมอบกรรมสิ ทธิ์ ในการทาพิธีไหว้ครู ครอบครู โขนละครสายคุ ณหญิ งนัฏกานุ รักษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) จากคุณครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยมลาภ เมื่อพ.ศ. ได้รับการถ่ ายทอดท่าราสายคุ ณหญิ งนัฏกานุ รักษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) จากคุ ณครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยมลาภ เช่ น บาทสกุณี ๑๖ ไม้เดิ น ราดาบเชื อดหัวหมู เสมอพราหมณ์ เสมอข้าม สมุทร และอื่น ๆ
๑๖
ประวัติ นายทวีศักดิ์ หว่ างจันทร์ ข้ อมูลทัว่ ไป เกิดวันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ที่ อยู่ปั จจุ บ นั บ้า นเลขที่ ๖๕/๑ หมู่ ๕ ซอย พุ ทธมณฑลสาย ๑ ซอย ๒๒. ถนนพุทธมณฑล แขวง บางระมาด อาเภอตลิ่งชัน จังหวัดกรุ งเทพฯ ประวัติการศึกษา ระดับประโยควิชาชีพ (ปวช)
สาขาเทคนิคสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคนิคราชสิ ทธาราม
ระดับประโยควิชาชีพชั้นสู ง (ปวส) สาขาเทคนิคสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคนิคราชสิ ทธาราม ระดับปริ ญญาตรี
วิทยาศาสตร์บญั ฑิต (วท.บ) สาขาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ระดับปริ ญญาโท
ครุ ศาสตร์อุสาหกรรมมหาบัญฑิต (คอ.ม) สาขาสถาปั ต ยกรรม สถาบัน เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้า เจ้า คุ ณ ทหารลาดกระบัง ภาคี ส ถาปนิ ก เลขที่ ภ-สถ6724 จาก สภาสถาปนิ ก แห่ ง ประเทศไทย
ประวัติการทางาน เป็ นพนัก งานองค์ก รของรั ฐที่ การทางพิ เศษแห่ ง ประเทศไทย ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ในตาแหน่ ง สถาปนิก ตาแหน่ งปั จจุบนั สถาปนิ ก ระดับ ๖ แผนกสถาปั ตย์ กองก่ อสร้ างทัว่ ไป ฝ่ ายก่ อสร้ างทางพิเศษ ผลงานด้ านการแสดง เป็ นศิลปิ นของชมรมโขนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ได้รับการถ่ายทอดท่าราเพลงหน้าพาทย์สายคุณหญิงนัฏกานุ รักษ์ จากคุณครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยมลาภ เช่น เสมอเข้าเฝ้า ตระนิมิต ๓ ชั้น บาทสกุณี ๑๖ ไม้ และอื่นๆ
ได้รับมอบกรรมสิ ทธิ์ในการทาพิธีไหว้ครู ครอบครู โขนละครสายคุณหญิงนัฏกานุรักษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) จากคุณครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยมลาภ เมื่อพ.ศ. ๒๕๕๓ ถึงปัจจุบนั
๑๗
ประวัติชีวติ และผลงานคุณหญิงนัฏกานุรักษ์ * คุณหญิงเทศเป็ นนาฏศิลปิ นเยีย่ มยิง่ คนหนึ่งของประเทศไทย ผูท้ ี่ไม่รู้จกั ว่าคุณหญิงเทศ นัฏกานุ รักษ์ เป็ นใคร มีความสาคัญอย่างไร ก็คือผูท้ ี่ไม่มีโอกาสได้ใฝ่ ใจในศิลปคู่บา้ นคู่เมืองของไทย หรื อมีโอกาสแต่ไม่ สนใจเท่านั้น ผูท้ ี่อยู่ในวงการนาฏศิลป์ ไทยแล้ว ย่อมจะได้เคยได้ยินชื่ อท่านผูน้ ้ ี ทุกคน และนาฏศิลปิ นไทย ส่ วนใหญ่ที่มีชีวติ ิอยูใ่ นปั จจุบนั นี้ ถ้ามิได้เคยเป็ นคุณหญิงเทศโดยตรงก็จะได้เป็ นโดยทางอ้อม หรื ออย่างน้อย ก็ได้รับอิทธิ พลหรื อความคิ ดนึ กมาจากศิลปของท่านอย่างใดอย่างหนึ่ ง อาจกล่าวได้ว่าเกื อบจะไม่เว้นเลย สักคนเดียว คุ ณ หญิ ง เทศ เป็ นบุ ต รของนายเนี ย ม และนางเมื อ ง การสาสนะ เกิ ด เมื่ อ วัน ที่ ๑๗ สิ ง หาคม พ.ศ. ๒๔๒๑ ตรงกับวันเสาร์ แรม ๔ ค่า เดือน ๙ ปี ขาล คุณหญิงเทศมีพี่นอ้ งร่ วมบิดามารดา คือ ๑.นายเขียน ๒.นางโหมด ๓.นางแม้น ถึงแก่กรรมแล้วทั้งสามคน ชี วิ ต ศิ ล ปิ นของคุ ณ หญิ ง เทศ เริ่ ม เมื่ อ อายุ ๑๐ ปี ได้เ ข้า อยู่ใ นบ้า นเจ้า พระยาเทเวศรวงศ์วิวฒั น์ (ม.ร.ว. หลาน กุญชร) เป็ นที่ ทราบทัว่ ไปอยู่แล้วว่า กรมพระพิท กั ษ์เทเวศร (พระองค์เจ้ากุ ญชร) มีละคร อยู่ในวัง ต่อมาเมื่อสิ้ นพระชนม์แล้ว พระองค์เจ้าสิ งหนาทฯ พระโอรสพระองค์ใหญ่ ก็ได้ทรงรับมรดกตก ทอดมา ผูท้ ี่มีชื่อเสี ยงในคณะละครของพระองค์เจ้าสิ งหนาทฯ ก็มี หม่อมเอม เป็ นต้นบท และมีหม่อมชั้นเล็ก สองคนที่มีชื่อเสี ยงปรากฏต่อมาเป็ นระยะยาวนาน คือหม่อมเข็ม หม่อมคร้าม คุณหญิงเทศได้เข้าเป็ นลู กศิษย์ ของหม่อมคร้ าม ซึ่ งเป็ นครู ที่สอนการราได้ทุกทาง แต่ที่มีชื่อเสี ยงนั้นก็คือ เป็ นครู ยกั ษ์ ส่ วนหม่อมเข็มนั้น เป็ นผูม้ ีชื่อเสี ยงในทางเป็ นครู พระ หม่อมคร้ามและหม่อมเข็มต่อมาได้เป็ นตัวละครสาคัญในคณะละครของ เจ้าพระยาเทเวศรฯ รุ่ นใหญ่ตวั ละครที่ สาคัญ ๆ รุ่ นเดี ยวกันนี้ ก็มีหม่อมพร้ อม ผูม้ ี ชื่อเสี ยงว่าเป็ นอิ เหนา ที่กล่าวกันว่าเวลา “เข้าเครื่ อง” แล้ว งามไม่มีผใู ้ ดเปรี ยบเป็ นที่โปรดปรานของพระบรมวงศานุ วงศ์และเป็ นที่
* จากหนังสื ออนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญิงเทศ นัฏกานุรักษ์ ณ ฌาปนาสถานวัดธาตุทอง วันอาทิตย์ที่
๒๕ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๑๑
๑๘
นิยมของคนทัว่ ไป ส่ วนครู นางนั้น ก็คือหม่อมเลื่อน และหม่อมวัน มีชื่อเสี ยงว่าเป็ นตัวบุษบาที่สวยมากทั้งใน ขบวนราและในรู ปโฉมทั้งสองคน หม่อมเลื่ อนนั้นสวยโดยธรรมชาติ ด้วย หม่อมของเจ้าพระยาเทเวศรฯ รุ่ นใหญ่ที่กล่าวมาแล้วนี้ ก็ได้เป็ นครู ละครต่อมา แต่มีหม่อมเข็มคนเดี ยวที่มีชีวิตอยู่มาจนกระทั้งเจ้าพระยา เทเวศรฯ เลิกการละครในตอนปลายรัชกาลที่ ๕ คุณหญิงเทศตั้งแต่เริ่ มฝึ กหัดละคร ก็มีท่วงทีวา่ จะเป็ นตัวเอก เป็ นลูกศิษย์คนสาคัญของหม่อมคร้ามได้ฝึกหัดเป็ นยักษ์จนชานิ ชานาญ เมื่อเป็ นสาวรุ่ นอยูม่ กั จะแสดงเป็ นตัว รามสู ร ร่ วมกันกับหม่อมละมัย กุญชร ณ อยุธยา ซึ่ งเป็ นหม่อมที่ยงั มีชีวิตอยูค่ นหนึ่ งของเจ้าพระยาเทเวศรฯ ในขณะนั้น และหม่ อมต่ ว น ผูซ้ ่ ึ ง ได้ม าร่ วมงานกับ คุ ณ หญิ ง เทศ ในปั้ นปลายของชี วิ ตในกรมศิ ล ปากร หม่ อ มละมัย เป็ นตัว อรชุ น และหม่ อ มต่ ว นเป็ นนางเมฆขลา คุ ณ หญิ ง เทศเป็ นตัว ละครที่ มี ว ยั สู ง กว่ า หม่อมละมัยและหม่อมต่วนเล็กน้อย ในบรรดาตัวละครของเจ้าพระยาเทเวศรฯ ชั้นสาคัญ คือเป็ นตัวนายโรงตัวนางเอก นางรอง ตัวยักษ์ที่ สาคัญ ๆ ล้วนได้เป็ นหม่อมของเจ้าพระยาเทเวศรฯ ทุกคน ตามธรรมเนียมในสมัยนั้น มีคนที่เป็ นตัวละครชั้น สาคัญที่ไม่ได้เป็ นหม่อมอยู่คนเดียว คือ คุณหญิงเทศ เป็ นที่สังเกตแก่คนที่รู้ประเพณี และที่มีความสนใจใน การละครอยูท่ ว่ั ไป ได้เคยมีผถู ้ ามคุณหญิงเทศ ให้ช้ ี แจงว่าเพราะเหตุใดท่านจึงได้รับยกเว้น (หรื อพลาดโอกาส แล้วแต่ ทัศนะของบุคคล) ในข้อนี้ อยูค่ นเดียว ผูท้ ี่ถามนั้นเป็ นลูกรุ่ นเล็กคนหนึ่ งของเจ้าพระยาเทเวศรฯ ได้ใช้วิธีถาม ให้คุ ณหญิ ง เทศชี้ แจงเสมื อนเป็ นเรื่ องในประวัติศ าสตร์ ไม่ ใ ช่ เป็ นเรื่ องส่ วนตัว คุ ณหญิ ง เทศได้เล่ า ด้วย อุเบกขาธรรมว่า “ป้าได้รับพร” (ป้ า หมายถึงตัวคุณหญิงเทศพูดแก่ผถู ้ าม) เจ้าคุณท่านเป็ นคนดี ท่านเคยให้หา ป้ าขึ้นไป ป้ าได้เรี ยนถามท่านว่า “ท่านอยากจะใช้อิฉนั ไหม” ท่านตอบว่า “ใช้เอ็งทาอะไร” ป้ าก็เรี ยนท่านว่า “ใช้ให้เป็ นตัวละครให้ท่ านน่ ะซี เจ้าคะ” ท่านถามว่า “ถ้าจะใช้เอ็งแล้วจะต้องท ายังไง” ป้ าตอบท่ า นว่า “ถ้าท่านจะให้รับใช้เป็ นละคร อิฉนั จะไม่ไปอยูท่ ี่อื่น จะรับใช้ท่านจนกว่าท่านจะไม่ใช้ แต่ถา้ ใช้ให้อิฉนั เป็ น ละคร อิฉนั ขอความกรุ ณาว่าถ้าอิฉนั ออกจากบ้านไป ขออย่าให้ตอ้ งเอาผ้าคลุมหน้า ตั้งแต่น้ นั มาท่านก็ไม่ให้ หาป้ าขึ้นไปอีกเลย” คาพูดโต้ตอบกระหว่างคุณหญิงเทศกับเจ้าพระยาเทเวศรฯ นี้ เห็นจะไม่ตอ้ งอธิ บายก็คงจะเข้าใจกัน ได้ นอกจากคาว่า “ได้พร” ซึ่ งผูอ้ ่านในปั จจุบนั นี้ อาจไม่เข้าใจ ความหมายก็คือ ได้รับสิ ทธิ พิเศษเหมือนเช่ นที่ กล่าวในวรรณคดี ว่าผูน้ ้ นั ผูน้ ้ ี “ได้รับพรจากพระอิศวร” เป็ นต้น ส่ วนคาว่า “ขอไม่ให้ตอ้ งเอาผ้าคลุ มหน้า” ก็คือ ขอให้ได้ออกไปอย่างเปิ ดเผย ไม่ตอ้ งแอบซ่อน ควรจะกล่ า วด้วยว่า ถึ ง แม้ว่า คุ ณหญิ ง เทศจะไม่ ไ ด้เป็ นหม่ อมของเจ้า พระยาเทเวศรฯ แต่ ไ ด้รั บ เกี ยรติ ยศเช่ นเดี ยวกับหม่อมของเจ้าพระยาเทเวศรฯ ทุ กอย่าง เป็ นต้นว่า ได้หีบหมากเงิ น มีชื่อเจ้าพระยา
๑๙
เทเวศรฯ และอาภรณ์อื่น ๆ ซึ่ งให้แก่ตวั ละครที่เป็ นหม่อมทุกคน มีที่ไม่ได้รับอยู่อย่างเดี ยว คือ กาไลเพชร เป็ นตัวอักษร เทเวศรวงศ์วิวฒั น์ ซึ่ งเจ้าพระยาเทเวศรฯ แจกแก่ภรรยาบางคนที่ได้ปรนนิ บตั ิใกล้ชิดเท่านั้น ส่ วนลู กๆ ของเจ้าพระยาเทเวศรฯ นั้นก็ยกย่องคุ ณหญิ งเทศเช่ นเดี ยวกับหม่อม ๆ ของเจ้าพระยาเทเวศรฯ ทัว่ ไป ผูท้ ี่เกิดแต่มารดาที่มีอายุนอ้ ยกว่าคุณหญิงเทศ ก็เรี ยกคุณหญิงเทศว่า “ป้ า” ผูท้ ี่เกิดแต่มารดาอายุสูงกว่า ก็เรี ยกว่า “น้า” คุณหญิงเทศได้มามีชื่อเสี ยงเด่นที่สุด ในสมัยที่เจ้าพระยาเทเวศรฯ มีละครแบบที่เรี ยกว่า ละครดึกดา บรรพ์ ซึ่ งเป็ นที่รู้กนั ทัว่ ไปว่า สมเด็จเจ้าฟ้ ากรมพระยานริ ศรานุ วดั ติ วงศ์ (ในสมัยที่ดารงพระอิสริ ยยศเป็ น กรมขุน) เป็ นที่ผทู ้ รงปรับปรุ งขึ้น คุณหญิงเทศได้เป็ นตัวสาคัญคือ เป็ นระตูจรกา กับอีกตัวหนึ่ งที่เด่นมากคือ ตัวเจ้าเงาะ ย่อมเป็ นที่เล่ากันว่า คุณหญิงเทศเป็ นเจ้าเงาะประดุจเป็ นตัวของตัวเอง มิใช่เป็ นตัวละคร ทุกสิ่ งทุก อย่างมีชีวติ กระบองที่เจ้าเงาะถือเปรี ยบเหมือนส่ วนหนึ่งของตัวเจ้าเงาะเอง และเวลาเล่นบทล้อท้าวสามลนั้น ทาให้เกิดความขบขันและความภาคภูมิซ่อนอยูใ่ นตัว มิใช่เงาะตลาดหรื อเงาะรู ปปั้ นกระดิกได้ อย่างที่มกั จะ ได้เห็ นกันอยู่อย่างใดอย่างหนึ่ งบ่อยๆ ตัวเด่นอีกตัวหนึ่ งหนึ่ งในละครดึ กดาบรรพ์ที่คุณหญิงเทศแสดงก็คือ นางสู รปนขา เป็ นครั้งเดียวที่แสดงเป็ นตัวนาง เป็ นนางยักษ์กษัตริ ยท์ ี่เอาใจตนเองเป็ นที่ต้ งั แต่คุณหญิงเทศ แสดงให้เห็นได้วา่ นางสู รปนขาเป็ นหญิงหน้าด้านด้วย และเป็ นนางกษัตริ ยด์ ว้ ย ซึ่ งผูแ้ สดงต่อๆมา มักจะขึ้น ถึงบทบาทนี้ไม่ค่อยได้ คุณหญิงเทศได้สมรสกับ พระยานัฏกานุ รักษ์ (ทองดี สุ วรรณภารต) พระยานัฏกานุ รักษ์รับราชการ อยูใ่ นกรมมหรสพ ซึ่ งเจ้าพระยาเทเวศรฯ เป็ นผูบ้ งั คับบัญชา จนกระทั้งเจ้าพระยาเทเวศรฯ กราบถวายบังคม ลาออกจากราชการและเลิ กละคร เมื่ อเจ้าพระยาเทเวศรฯ ออกจากราชการแล้ว ไปอยู่ที่บา้ นใหม่ที่ตาบล คลองเตย คนในความคุม้ ครองทั้งที่เป็ นภรรยา บุตร ตัวละคร และคนอื่นๆ ก็แบ่งออกเป็ น ๒ พวก พวกหนึ่ง คงอยู่ที่ บ ้า นหม้อ หรื อบ้า นเลขที่ ๑๒๘ ถนนอัษ ฎางค์ใ นปั จ จุ บ ัน นี้ อี ก พวกหนึ่ ง ไปอยู่ที่ บ ้า นคลองเตย คุณหญิงเทศไปมาระหว่าง ๒ บ้าน จนกระทั้งคราวหนึ่งลาออกไปพักกับญาติอยูช่ ว่ั คราวพระยานัฏกานุ รักษ์ ได้จดั การให้มีผไู ้ ปขอคุณหญิงเทศกับญาติที่คุณหญิงเทศพักอยูด่ ว้ ย แต่ญาติไม่ยนิ ยอม ให้พระยานัฏกานุรักษ์ สู่ ขอต่อเจ้าพระยาเทเวศรฯ ดังความปรากฏใจจดหมายในหน้าต่อไปนี้
๒๐
๒๑
คุ ณหญิ งเทศสมรสกับพระยานัฏกานุ รักษ์เมื่ ออายุ ๓๒ ปี สามี มีบรรดาศักดิ์ เป็ นขุนนัฏกานุ รัก ษ์ มีบุตรที่เกิดด้วยกัน ๓ คน คือ ๑. นางทองทศ สมรสกับ พันเอกพิเศษ พิศพัฒนะ อมรวิสัยสรเดช ๒. นางสาวทองกร สุ วรรณภารต ข้าราชการบานาญ สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน ๓. นายทองสิ งห์ สุ วรรณภารต ข้าราชการไปรษณี ยโ์ ทรเลข ส่ วนบุตรของพระยานัฏกานุ รักษ์ที่เกิดแต่ภรรยาเก่า ชื่อ ทองแล่ง ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็ น หลวงไพจิตรนันทการ ก็ได้ฝึกหัดละครมาในบ้านเจ้าพระยาเทเวศรฯ ตั้งแต่อายุนอ้ ยๆ จึงมีความสนิทสนม กับคุณหญิงเทศเป็ นอย่างดีมาตลอด นับว่าในชีวติ ครอบครัว คุณหญิงเทศได้รับความสุ ขจากการสมรสชนิ ดที่ เป็ น “คู่ผวั ตัวเมีย” สมความปรารถนา นอกจากจะได้มีชีวิตสมรสที่ราบรื่ นแล้ว คุณหญิงเทศก็ยงั ได้รับผลบุญอันดี อย่างอื่น ในรัชกาลที่ ๖ พระยานัฏกานุรักษ์ ได้รับราชการในกรมมหรสพตลอดมา คุณหญิงเทศจึงได้เข้าไปเป็ นครู ละครหลวง และ แสดงละครถวายตัวในบทต่าง ๆ ครั้งหนึ่ งได้แสดงเป็ นที่สบพระราชหฤทัยมาก ได้ทรงพระมหากระกรุ ณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานตรา จตุตถจุลจอมเกล้า แก่คุณหญิงเทศคุ ณหญิงเทศจึงได้เป็ น “คุณหญิง” ก่อนที่ พระยานัฏกานุรักษ์ได้เป็ นพระยา นับเป็ นเหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ ของคุณหญิงเทศ ของวงงานศิลป ในประเทศไทยและใน และได้เลื่อนตราจุลจอมเกล้าเป็ นชั้นที่ ๓ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๒ นอกจากนั้นยังได้รับพระราชทานเข็ม พระปรมาภฺ ไธย ราม ร. ชั้น๒ เป็ นเกียรติยศพิเศษและยังได้รับพระราชทานเสมา ร.ร.๖ ชั้น๒ เข็มข้าหลวง เดิม คุณหญิงเทศซาบซึ้ งในพระมหากรุ ณาธิ คุณในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าฯ ยิง่ นัก เมื่อใดมีทางที่จะ เผยพระเกียรติคุณได้ เมื่อนั้นก็สรรเสริ ญออกมาให้ปรากฏถวายความนับถือเป็ นครู ในทางนาฏศิลป์ นอกไป จากถวายความนับถื อในฐานะเป็ นข้าทูลละอองฯ ด้วยอีก โสดหนึ่ ง คุณหญิงเทศมีความภาคภูมิใจอย่างยิ่งที่ ได้รับพระราชทานเจิมในวันพระราชพิธีไหว้ครู ละครครั้งหนึ่ ง การได้รับพระราชทานเจิมนั้น เป็ นเหตุให้ คุณหญิงเทศกล้าครอบโขนให้แก่ผูเ้ ป็ นศิษย์ไปจานวนหนึ่ งโดยแน่ใจว่า “จรัญไรไม่กิน” เพราะตามคติทาง นาฏศิลป์ โขนนั้นต้องใช้ครู ผชู ้ ายครอบ นอกจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าฯ แล้ว สมเด็จพระศรี พชั ริ นทราบรมราชิ นีนาถ ก็ทรงพระ กรุ ณาคุ ณหญิ ง เทศว่า จงรั ก ภัก ดี ต่อแผ่นดิ น และได้ราชการ จึ ง ทรงพระกรุ ณาพระราชทานห้อยคอพระ ปรมาภิไธยย่อ สผ. และเข็มพระปรมาภิไธย เสาวภา เป็ นเกียรติ
๒๒
เมื่อสิ้ นรั ชกาลที่ ๖ เพื่อที่ จะให้เกิ ดดุ ล ภาพในงบประมาณแผ่นดิ น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยูห่ วั ด้วยพระราชหฤทัยที่จะเสี ยสละเพื่อประโยชน์ของประเทศชาติ ได้ทรงพิจารณาตัดทอนการใช้จ่าย ในพระราชสานักก่อนส่ วนราชการอื่น ๆ ได้ทรงพิจารณาตัดทอนอัตราและตาแหน่งราชการกันอย่างที่ไม่เคย มีผูใ้ ดคาดคิดไว้ ข้าราชการในกรมมหรสพได้ออกจากราชการโดยรับบาเหน็จบ้างบานาญบ้าง พระยาและ คุ ณหญิงนักกานุ รักษ์ก็โดนมรสุ มเศรษฐกิ จของชาติ ดว้ ย ได้ออกไปรับพระราชทานบานาญอยู่ต้ งั แต่ พ.ศ. ๒๔๖๙ จนถึง พ.ศ. ๒๔๗๐ จึงได้กลับเข้ารับราชการอีกครั้งหนึ่ง เหตุที่จะกลับเข้ารับราชการในรัชกาลที่ ๗ นั้น ม.จ.หญิง พูนพิศมัย ดิศกุล ได้ทรงพระกรุ ณาตรัสเล่า แก่บุตรคุ ณหญิงเทศว่า ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๗๐ ผูส้ าเร็ จราชการอินโดจีนฝรั่งเศสได้เข้ามาเยือนกรุ งเทพฯ สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุ ภาพได้ทรงจัดเลี้ยงประทานเป็ นเกียรติที่วงั ดิศกุลตามธรรมเนียม และได้จดั ละครตอน “ปราบนนทุกข์” ให้ชม คุณหญิงเทศแสดงเป็ นตัวนนทุกข์ ผูส้ าเร็ จราชการอินโดจีนมีความพอใจ มาก เมื่อกลับไปแล้วได้ส่งของกานันมหาให้คุณหญิงเทศ เป็ นกระเป๋ าถือสาหรับงานราตรี ทาด้วยกระ มีเพชร ประดับ ต่อจากนั้นผูส้ าเร็ จราชการได้มีโอกาสเผ้าทูลละอองธุ ลีพระบาท เมื่อได้เฝ้าฯ ก็กราบบังคมทูลชมเชย ละครที่ได้ดูที่วงั ดิศกุล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีพระราชดารัชถามสมเด็จกรมพระยาดารงฯ สมเด็จฯ จึงกราบทูลถึงการแสดงของคุณหญิงเทศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีพระบรมราชราชโองการให้สมเด็จ กรมพระยาดารงฯ จัดละครตอนนั้นให้แสดงถวาย สมเด็ จกรมพระยาฯ ก็ ไ ด้ท รงจัดถวายตามพระราช ประสงค์ แต่ทรงเห็นว่าละครตอนนารายณ์ปราบนนทุกข์น้ นั สั้นนัก จึงจัดตอน “เสนากุฏเข้าเมือง” เพิ่มเติม โดยให้พระยานัฏกานุ รักษ์เป็ นตัวท้าวเสนากุฏ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทอดพระเนตรละครที่ แสดง ถวายแล้ว จึงมีพระบรมราชโองการให้เจ้าพระยาวรพงษ์พิพ ฒ ั น์ เสนาบดี กระทรวงวัง เรี ยกพระยาและ คุณหญิงนัฏกานุรักษ์ กลับเข้ารับราชการในกระทรวงวัง ในตาแหน่งผูฝ้ ึ กละครหลวง ครั้งถึ งกาลเปลี่ ยนระบอบการปกครอง มีการปรับปรุ งกรมกองในราชกาลละครหลวงได้มาสังกัด กรมศิลปากร พระยาและคุณหญิงนัฏกานุ รักษ์ได้รับราชการต่อมาจนครบเกษียณอายุราชการ คุณหญิงเทศมี ชื่อเสี ยงว่าเป็ นครู ผหู ้ ญิงที่สอนการราได้ทุกทาง กล่าวคือ พระ ยักษ์ ลิง และแม้ นาง ก็สอนได้ดว้ ย เมื่ อครบเกษี ย ณอายุราชการแล้ว คุ ณหญิ ง เทศก็ ไ ด้ท างานในฐานะเป็ นลู ก จ้า งวิส ามัญ ต่ อ มาอี ก จนกระทัง่ ชราภาพไม่อานวย ระหว่างที่ยงั มีกาลังอยู่ ไม่ว่าผูใ้ ดจอขอความช่ วยเหลื อในเรื่ องฝึ กซ้อมละคร หรื อขอให้ออกความคิ ดแนะนาเรื่ องใดที่ เกี่ ย วกับ งานละคร คุ ณหญิ ง เทศย่อมจะไม่ ป ฏิ เสธเลย เช่ นเมื่ อ พ.ศ. ๒๔๘๓ เกิ ดสงครามระหว่างไทยกับอินโดจีนของฝรั่งเศส ระหว่างที่แนวหน้ากาลังรบพุ่งกันอยู่น้ นั พวกที่อยูแ่ นวหลังก็สนับสนุ นการสงครามกันด้วยวิธีต่างๆ สตรี บรรดาศักดิ์คณะหนึ่ ง ร่ วมกันจัดการแสดง ละครขึ้นที่หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อหาเงินส่ งไปบารุ งขวัญทหารในแนวหน้า คุณหญิงเทศได้
๒๓
ร่ วมกิจกรรมครั้งนี้ ดว้ ยความเต็มใจ ทั้ง ๆ ที่อายุ ๖๒ ปี แล้ว โดยแสดงเป็ นเจ้าเงาะคู่กบั หม่อมต่วน ซึ่ งแสดง เป็ นรจนา ในเรื่ องสังข์ทองตอนเสี่ ยงพวงมาลัย การแสดงครั้งนั้น หลายคนพากันเกรงว่าคุณหญิงเทศจะเป็ น ลม จึงไม่ให้สวมหัวเงาะใช้วิธีแต่งหน้าเป็ นเงาะแทนโดยอาจารย์ศิววงษ์ กุญชร เป็ นผูแ้ ต่งให้ การแสดงครั้ง นั้นเป็ นการออกโรงใหญ่ครั้งสดท้าย ต่อจากนั้นก็ไม่ได้แสดงที่ใดอีกเลย นอกจากการแสดงราเงาะตอนเสี่ ยง พวงมาลัยอีกครั้งในงานวันเกิด ของพระยาเทเวศรวงศ์วิวฒั น์ (ม.ล.วราห์ กุญชร) คู่กบั ธิ ดาของเจ้าภาพ การรา ครั้งนั้นเป็ นครั้งสุ ดท้าย เหนื่ อยมาก เพราะทั้งเจ้าภาพและผูแ้ สดงอายุ ๗๐ ปี เท่ากัน แต่ได้ความสุ ขจากการรา มาก เพราะเป็ นการราให้ท่ า นที่ รัก ใคร่ นับ ถื อกันมาแต่ เยาว์ และเป็ นการราในส านัก ดั้ง เดิ ม เมื่ อแรกหัด ต่อจากนั้นก็ได้แต่เป็ นที่ปรึ กษาเวลาจะมีการแสดงด้านนี้ การถ่ายทอดวิชาครั้งสุ ดท้ายซึ่ งถึงจะทาไม่ได้เต็มที่ ก็ได้แก่ ถ่ายท่ารานางสู รปนขา แก่ น.ส. อาพันทอง อมรวิสัยสรเดช ผูเ้ ป็ นหลานรัก ซึ่ งราสนองพระเดช พระคุณสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริ ศรานุวดั ติวงศ์ ในงานฉลองพระชันษาครบ ๑๐๐ ปี ซึ่ งทางรัฐบาลจัดขึ้น ณ พิพิธภัณฑ์สถาน เมื่อพ.ศ. ๒๕๐๖ จัดโดยเชื้อสายละครดึกดาบรรพ์แห่งบ้านหม้อ ในพ.ศ. ๒๕๐๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ในรัชกาลปัจจุบนั (รัชกาลที่๙) ทรงพระราชปรารภว่า ท่าราของละครไทยที่สาคัญๆ นั้นจะศูนย์เสี ยหมด เพราะผูร้ ู ้ ในวิชานี้ นบั วันแต่จะหมดไป ควรจะมีการถ่าย ภาพยนตร์ แต่ละวิชาเอาไว้ ท่าราที่สาคัญที่สุดในวิชาการละครของไทย คือท่า “ออกองค์พระพิราพ” เป็ น ท่าราที่ศกั ดิ์ สิทธิ์ การถ่ายทอดวิชาผูเ้ ป็ นครู จะต้องพิจารณาเลื อกเฟ้ นศิษย์อย่างเข้มงวดไม่ต่อท่านี้ ให้ง่ายๆ พระบาทสาเด็จพระเจ้าอยูห่ วั สนพระราชหฤทัยในท่าสาคัญดังกล่าวเป็ นพิเศษ ทรงถามหาตัวผูร้ ู ้จากบรรดา ศิลปิ น ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช กราบบังคมทูลว่า นายรงภักดี (เจียร จารุ จรณ) ซึ่ งรับราชการเป็ นตารวจหลวง อยู่ใ นปั จ จุ บ ัน เป็ นผู ้ “ออกองค์พ ระพิ ร าพ” ได้ เพราะเคยได้รั บ การครอบมาจาก พระยานัฏ กานุ รั ก ษ์ (ทองดี สุ วรรณภารต) จึ งมี พระบรมราชโองการรั บสั่งให้หานายรงภักดี เข้าไปราถวายเพื่อบันทึ กภาพไว้ นายรงภักดี กราบบังคมทู ลว่า การออกองค์พระพิราพนี้ ยงั มี ผูร้ ู ้ อยู่อีกคนหนึ่ งเป็ นชั้นครู คื อคุ ณหญิ งเทศ นั ฏ กานุ รั ก ษ์ ถ้ า ได้ คุ ณ หญิ ง ตรวจสอบด้ ว ย “การออกองค์ ” ที่ จ ะเก็ บ ไว้เ ป็ นแบบแผนจะสมบู ร ณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงมีพระราชโองการให้คุณหญิงเทศเข้าเฝ้ าทูลละอองธุ ลีพระบาทในวันนั้น ด้วย ก่ อนออกท่ารานายรงภักดี ได้มาหาคุ ณหญิ งเทศ เพื่อสอบท่าราให้แน่ ใจก่ อน เมื่ อถึ งวันราถวาย คุ ณหญิ งเทศได้เข้า เฝ้ าทู ลละอองพระบาทอย่างใกล้ชิ ดทรงพระกรุ ณาซักถามถึ ง เรื่ องราวต่ างๆ เวลานั้น คุณหญิงเทศชรามาก อายุได้ ๘๐ เศษ หู และตาไม่ค่อยดี ความจาก็เสื่ อม แต่เมื่อศิษย์จะได้โอกาส ออกองค์ พระพิราพถวายตัว ก็ลืมความเจ็บไข้ ความจาในศิลปที่เปรี ยบเสมือนเป็ นชี วิตของตนก็กลับแจ่มใส กราบ บังคมทูลพระกรุ ณาด้วยความชื่ นชมตลอดจนให้ความช่วยเหลือแก่นายรงภักดี ได้ถึงเสร็ จงาน เป็ นที่ปลาบ ปลื้มแก่ตนเอง บุตรหลาน และศิษย์ท้ งั หลาย
๒๔
การได้เฝ้ าทูลละอองธุ ลีพระบาทในคราวนั้นอาจนับได้ว่าเป็ นงานชิ้ นสุ ดท้ายในวิชานาฏศิลป์ ของ คุณหญิงเทศ นัฏกานุ รักษ์ เพราะตั้งแต่น้ นั มาก็ค่อยๆ เสื่ อมโทรมด้วยความชราไปทีละน้อยๆ จนถึงการป่ วย ในครั้งสุ ดท้าย และถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ ๑๗ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๐ บุตรหลานได้นาศพบรรจุไว้ ที่ ว ดั ธาตุ ท อง ถนนสุ ขุม วิท และได้รั บ พระราชทานเพลิ ง ศพ ณ วัด นั้น เมื่ อ วัน ที่ ๒๕ เดื อ นกุ ม ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๑
ม.ล. บุญเหลือ เทพยสุ วรรณ สมภพ จันทรประภา
๒๕
เก็บมาเล่า เรื่ อง เพลงหน้ าพาทย์ 1 ธาดา วิทยาพูล เพลงหน้าพาทย์ เป็ นเพลงสาคัญในการประกอบพิธีกรรม และประกอบการแสดง เพลงหน้าพาทย์ โบราณที่ ไ ม่ อาจสื บ ค้น ถึ งผู แ้ ต่ ง เช่ น สาธุ ก าร ตระนิ มิ ต พญาเดิ น บาทสกุ ณี เชิ ด เสมอ โอด โคมเวีย น เพลงช้า เพลงเร็ ว เป็ นต้น บางเพลงเป็ นเพลงที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา เพลงเหล่านี้ ใช้ในการแสดงละคร โขน เรื่ อยมาจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ การดนตรี รุ่งเรื องมีการพัฒนา เพลงต่างๆ เป็ นอันมาก ในที่น้ ีจะขอกล่าวถึงแต่เพลงหน้าพาทย์ เท่านั้น ทางเพลงหน้าพาทย์น้ นั บ้านวัดกัลยา ฯ ดูจะเป็ นที่กล่าวขานว่าเพลงหน้าพาทย์จะออกจากบ้านนี้เป็ น หลัก โดยมีครู ทองดี ชู สัตย์ ซึ่ งมีศกั ดิ์เป็ นน้าของหลวงกัลยามิตตาวาส (ทับ พาทยโกศล) จึงมีศกั ดิ์เป็ นปู่ ของ จางวางทัว่ พาทยโกศล ครู ทองดี เป็ นผูร้ ู ้เพลงหน้าพาทย์จานวนมาก ท่านได้ถ่ายทอดเพลงหน้าพาทย์ให้แก่ จางวางทัว่ พาทยโกศล ครู ช่อ สุ นทรวาทิน ครู ฉตั ร สุ นทรวาทิน ครู เอื้อน กรเกษม และครู แมว พาทยโกศล เป็ นต้น
1 แก้ ไขปรับปรุงจาก เก็บมาเล่าเรื่ องเพลงหน้ าพาทย์ ใน“อนุสรณ์งานประชุมเพลิง ครูเวนิช เชียรวงศ์” (พ.ศ.๒๕๕๕)
๒๖
ครู บุญยงค์ เกตุคง เป็ นนักดนตรี ที่ใฝ่ รู ้ เมื่อได้ทราบว่า ครู เอื้อน รู ้เพลงหน้าพาทย์มากจึงเฝ้าเพียรถาม ครู เอื้อน แต่ครู เอื้อนก็ไม่ยอมบอกทางเพลงปฏิ เสธว่าไม่ได้ อันว่านักดนตรี สมัยก่อนนั้นมักจะตั้งวงกันอยู่ เรื่ อ ยๆ ครู เอื้ อนก็ เช่ น กัน เมื่ อ ร่ ว มวงกับ ครู บุ ญ ยงค์จนได้ที่ แล้ว เมื่ อ โดนถามเพลง ครู เอื้ อ นก็ จะตอบว่า “มีสิ” แล้วเอามือไล่เคาะลูกระนาด ครู บุญยงค์จึงได้เพลงหน้าพาทย์จากครู เอื้อน (คาบอกกล่าวจากครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยมลาภ) ครู สุวรรณ กิจนิ เทศ (ครู เหลือง) เล่าให้ฟังว่า วันหนึ่ งมีงานที่บา้ นครู ผล ลูกลิง (วัดท่าพระ) ครู เอื้อน หลบขึ้นไปนอนอยูช่ ้ นั สอง ครู เหลืองตามขึ้นไปขอเพลงเสมอพราหมณ์ อยูน่ านจนครู เอื้อนใจอ่อน ไล่ให้ครู เหลืองไปรออยูข่ า้ งล่างขอทบทวนก่อน ครู เหลืองทาทีลงไปข้างล่างแต่จริ งๆ แอบดูวา่ ครู เอื้อนจะทาอย่างไร เห็ นครู เอื้อนนัง่ หันหน้าเข้าฝาบ้าน แล้วใช้มือไล่ ระนาดสักพักจึงเรี ยกครู เหลื องไปต่อเพลง โดยใช้ปากไล่ เพลงจนจบ ครู เหลื องสงสัยว่าครู เอื้อนจาได้อย่างไร ครู เอื้อนตอบว่าวันที่ ขา้ ต่อเพลงจากครู น้ นั “ข้านั่งหัน หน้าไปทิศไหน แล้วจึงนึกออก” เพลงหน้าพาทย์ชุ ดนี้ ครู เรื องเดช พุ่ ม ไสว (ง่ อน) แห่ งวัด เศวตฉัตร ได้ต่อจากครู เอื้ อน กรเกษม เช่นกัน มีคาถามว่าครู เอื้อนแต่งเองหรื อเปล่า ครู บุญยงค์ เคยบอกว่า ครู เอื้อนไม่มีความสามารถแต่งเพลงให้ แนบเนียนได้ เพราะไม่เชี่ยวชาญทางด้านนี้ เพลงหน้ าพาทย์ ชุดนีม้ ี ๑. ตระมงคลจักรวาล ๒. ตระกริ่ ง ๓. ตระเชิญเหนือเชิญใต้ ๔. ตระพระอิศวร ๕. ตระพระศิวะประทานพร ๖. ตระพระอุมา ๗. ตระนารายณ์เต็มองค์ ๘. ตระพระพรหม ๙. ตระพระพิฆคเณศ ๑๐. ตระมัฆวาฬ ๑๑. ตระไตรตรึ งษ์ ๑๒. เทพดาเนิน
๒๗
๑๓. ประชุมลูกศิษย์ ๑๔. เสมอพราหมณ์ ๑๕. ตระพระฤาษีกไลโกฏ ๑๖. ต้นเสมอ ๑๗. เสมอสามลา ๑๘. ปลูกต้นไม้เงินทอง ๑๙. เสมอเข้าเฝ้า (ขอขอบคุณ ข้อมูล อ. เดชน์ คงอิ่ม) สันนิ ษฐานว่าครู ทองดี ชู สัตย์ ก็เป็ นครู ผใู ้ หญ่ในวังบ้านหม้อท่านหนึ่ ง จะแต่งเพลงหน้าพาทย์ชุดนี้ และอีกหลายหน้าพาทย์เพื่อใช้ในการเล่ นละครปฐมสมโพธิ และโขนบางตอน จึงกล่ าวได้ว่าหน้าพาทย์ เหล่านี้ ตอ้ งมีท่าราประกอบทุกหน้าพาทย์ คุ ณหญิงครู ซ่ ึ งเป็ นครู ผูใ้ หญ่ในวังบ้านหม้อคงจะเป็ นผูแ้ ต่งท่ารา แต่ท้ งั เพลงและท่ารามิได้นาออกเผยแพร่ จึงเลือนหายไป ในทางดนตรี น้ นั ครู เอื้อน กรเกษม จะจาเพลงหน้า พาทย์น้ ี มากกว่าศิษย์ท่านอื่นของครู ทองดี ชู สัตย์ ส่ วนท่ารานั้นคุณหญิงนัฏกานุรักษ์ (เทศ สุ รรณภารต) หรื อ คุณหญิงครู ก็มิได้ถ่ายทอดให้กบั ศิษย์ท่านใดเลยนอกจากคุณครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยมลาภ ท่าราหน้ าพาทย์ ในช่ วง ๑๐๐ ปี นี้ บรมครู ที่น่าจะถือเป็ นยอดครู ทางโขน ละคร มี ๔ ท่าน คือ คุ ณหญิ งนัฏกานุ รักษ์ (เทศ สุ รรณภารต) คุณครู สง่า ศะศิวณิ ช ครู มลั ลี คงประภัศร์ (หมัน) และคุณครู ลมุล ยมคุปต์ เพราะทั้งสี่ ท่าน นี้ เป็ นครู ที่ ส ามารถสอนได้ท้ งั พระ นาง ยัก ษ์ ลิ ง คื อสอนได้ห มดทุ ก บททุ ก ตัว ในที่ น้ ี จะบอกกล่ าวถึ ง คุณหญิงนัฏกานุรักษ์ (เทศ สุ รรณภารต) หรื อคุณหญิงครู เนื่องจากท่านเป็ นครู สอนโขน ละคร อยูใ่ นวังบ้าน หม้อ นับเป็ นแหล่งรวบรวมครู ศิลปิ นที่มีฝีไม้ลายมือมากมายในขณะนั้น คุ ณ หญิ งครู เกิ ดเมื่ อวัน ที่ ๑๓ สิ งหาคม พ.ศ.๒๔๒๑ เมื่ ออายุได้ ๑๐ ปี ได้เข้าไปอยู่ใ นบ้านของ เจ้าพระยาเทเวศรวงศ์วิวฒั น์ (ม.ร.ว. หลาน กุญชร) ที่ถนนอัษฎางค์ คุณหญิงครู เป็ นศิษย์ของหม่อมคร้าม ซึ่ ง สอนได้ทุกทาง ที่มีชื่อเสี ยงนั้นคือครู ฝ่ายยักษ์ หม่อมเข็ม สอนตัวพระ ท่านสมรสกับ พระยานัฏกานุ รักษ์ (ทองดี สุ วรรณ ภารต) เมื่ออายุ ๓๒ ปี ท่านได้รับพระราชทานตราจตุตถจุลจอมเกล้า จากรัชกาลที่ ๖ จึงได้ เป็ นคุณหญิงก่อนที่พระยานัฏกานุ รักษ์จะได้เป็ นพระยา และได้รับพระราชทานตราตติยจุลจอมเกล้า เมื่อปี ๒๔๖๒ อีกด้วย ที่วงั บ้านหม้อนี้ พระประดิ ษฐ์ไพเราะ (ตาด ตาตะวาทิต) เป็ นครู สอนดนตรี เพลงหน้าพาทย์ที่ใช้ ประกอบการแสดงโขน ละคร ที่กล่าวมาตั้งแต่ตน้ น่าที่จะถูกแต่งขึ้นโดยครู ทองดี ชูสัตย์ ในระยะนั้น
๒๘
“แบบแผนการบรรเลงเพลงหน้าพาทย์ ประกอบพิธี ไหว้ครู โ ขน ละครที่ มีมาในสมัยรัชกาลที่ ๔ จนถึงปั จจุบนั นั้นเพลงที่ใช้เพลงบรรเลงจะเป็ นเพลงที่มีท่าราทั้งสิ้ น” (อาจารย์เดชน์ คงอิ่ม) จึงเป็ นข้อสันนิ ษฐานว่า ด้วยความสามารถรอบตัวของคุณหญิงครู ท่าราน่าจะประดิษฐ์โดยคุณหญิง ครู เพราะมีท้ งั ท่าราของ พระ นาง ยักษ์ แม้กระทัง่ ลิ ง เคยได้ฟังจากครู กรี วรศะริ น เล่าว่า “ฉันเคยต่อท่าจับ ปลิงจากคุณหญิงครู ” ครู กรี น้ นั เมื่อไรที่พูดถึ งคุ ณหญิ งครู หรื อครู สง่า ศะศิวณิ ช จะยกมือไหว้ท่วมหัวเป็ น การเคารพครู อาจารย์ท้ งั สองท่านเสมอ มีเกร็ ดเรื่ องครู กรี ไปเยี่ยมครู สง่าที่บา้ นแถวบางแค ครู สง่าเวลานั้นเป็ น อัมพาต นอนอยูบ่ นเตียง ครู กรี เจ้าไปกราบที่เท้าแล้วบอกครู สง่าว่า “ผมกรี นะครู มาเยี่ยมครู ” ครู สง่าเหมือนรู ้ น้ าตาไหล ปากขยับว่า “ชัยยะ ชัยยะ” ครู กรี ควักเงินที่เตรี ยมมาวางบนอกครู สง่า แล้วบอกว่า “ครู ผมนาเงินมา ให้ครู ๑๐,๐๐๐ บาท” คนที่พาไปเยี่ยมตกใจ เพราะครู กรี ก็ไม่ค่อยมีเงิน ตอนกลับจึงถามว่าทาไมถึงให้ครู สง่า มากจัง ครู กรี ตอบว่า “ฉันมีทุกวันนี้เพราะครู สง่า” พระยานัฏ กานุ รักษ์ หรื อเจ้าคุ ณ ครู ถึ งแก่ อนิ จกรรมเมื่ อ พ.ศ. ๒๔๗๘ ตั้งศพไว้ที่ บ ้านซอยสาเก บางลาพู มีครู ผูใ้ หญ่ท่านหนึ่ งซึ่ งเจ้าคุ ณครู เคยบอกด้วยวาจาว่า ถ้าข้าตายให้มารับตาราไหว้ครู ไปทาต่อแต่ มิได้มอบให้ในพิธี เมื่อเจ้าคุณ ครู สิ้นครู ผใู ้ หญ่ท่านนั้นก็นาหัวหมู บายศรี ไปขอรับตาราสร้างความไม่พอใจ ให้กบั คุณหญิงครู ไม่ยอมมอบตาราให้ ครู ผใู ้ หญ่ท่านนั้นจึงกลับไป หลังจากนั้นก็ทาพิธีไหว้ครู -ครอบโดย ไม่ได้รับมอบตาราจากญาติผูใ้ หญ่ ซึ่ งติดตามเจ้าคุณครู ไปไหว้ครู เป็ นประจา ญาติผใู ้ หญ่ท่านนั้นจาโองการ ไหว้ครู ได้จึงจดให้ครู ผใู ้ หญ่ท่านนั้น (คาบอกเล่าจากครู ธีรยุทธ ยวงศรี ) เมื่อเจ้าคุณครู ถึงแก่อนิจกรรมท่านมิได้มอบตาราไหว้ครู ให้กบั ผูใ้ ด ตาราไหว้ครู โบราณนั้นมี ๒ เล่ม เล่มหนึ่ งเป็ นตาราไหว้ครู ครอบครู อีกเล่มเขียนเป็ นท่าราทั้ง ๒ เล่ม เคยอยู่กบั ครู นิ่มอิเหนา ที่สุดแล้วตกอยู่ กับเจ้าคุณครู ท้ งั สองเล่ม ภายหลังตาราฟ้อนราได้ตกอยูก่ บั ครู ผใู ้ หญ่ท่านหนึ่งจนถึงปัจจุบนั การมอบต าราทางโขนละครนั้ นมี ห ลัก ฐานชัด เจน เมื่ อ ครั้ งพระยาสุ น ทรเทพระบ า (เปลี่ ย น สุ น ทรนัฏ) มอบให้ค รู ส ง่า ศะศิ วนิ ช เท่ านั้น ครู ท่ านอื่ นจากนี้ ไม่ เคยปรากฏหลัก ฐานว่ารั บ มอบจากผูใ้ ด จนกระทั้ง พ.ศ. ๒๕๒๗ จึงมีพระราชพิธีครอบโขนละครขึ้นจนดูเรี ยบร้อยตั้งแต่น้ นั มา ครู ที่รับพระราชทาน ครอบครู น้ นั ก็ได้มอบให้แก่ ศิษย์โดยไม่ตอ้ งรบกวนเบื้ องยุคลบาทแต่อย่างใด สันนิ ฐานว่า แม้กระทัง่ เจ้า คุณครู ลงมาจนถึงครู รุ่นต่อมายังไม่มีขอ้ ชี้ ใดว่าครู ผทู ้ าพิธีได้รับมอบจากใคร ดังนั้นถ้าจะผิดก็ผิดหมด ยกเว้น ทางนาฏดนตรี (ลิเก) ซึ่ งก็มีหลายสาย ประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๘ คุณหญิงครู เกิดความคับแค้นใจที่มีการเลือก ครู ผทู ้ าพิธีใหม่ จึงเดินออกจาก กรมศิลปากรพร้อมกับครู ยกั ษ์ท่านหนึ่ ง จนกระทัง่ พ.ศ.๒๔๙๘ท่านจึงลงประกาศในหนังสื อพิมพ์พิมพ์ไทย เพื่อรับศิษย์ผตู ้ อ้ งการถ่ายทอดวิชาของท่าน ครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยมลาภ ซึ่ งขณะนั้นแสดงเป็ นพระราม ของคณะ นายฮวด จุยประเสริ ฐ จึงได้เข้าไปฝากตัวถ่ายทอดท่าราจากคุณหญิงครู โดยมีครู ช่อ อากาศโปร่ ง ครู สมพงษ์ โรหิ ต าจล (แฟง) ครู ส มภพ ข าประเสริ ฐ ไปช่ ว ยท าดนตรี จ นกระทั่ง พ.ศ.๒๔๙๙ คุ ณ หญิ งครู จึ ง มอบ กรรมสิ ทธิ์ การเป็ นผูป้ ระกอบพิธีไหว้ครู และครอบครู ให้แก่ครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยมลาภ ที่มณฑลพิธีขา้ งบ้านนาย
๒๙
ฮวด จุยประเสริ ฐ ตามภาพที่เห็น ในภาพนี้ จะมีเหลือคนเดียว คือครู เผือก (อุทยั ปานประยูร) ที่นงั่ ใส่ มงคลไว้ โก๊ะ นอกนั้นเสี ยชีวติ ไปหมดแล้ว ครู สมยศเป็ นคนหัวดี ครู สอนทีเดียวก็จาได้ มีฐานะดีทราบว่า คุณหญิงครู ชอบทุเรี ยนเวลาจะไปบ้าน คุณครู จะเหมาทุเรี ยนบางลาพูท้ งั กระจาดนาไปฝากครู (ครู ธีรยุทธ ยวงศรี สัมภาษณ์ครู ช่อ อากาศโปร่ ง วันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๒๗ ที่จงั หวัดนครสวรรค์) ครู สมยศ โป๊ ะเปี่ ยมลาภ นั้นทางบ้านฐานะดี เรี ยนที่โรงเรี ยนวชิราวุธ มีใจรักทางโขน ละคร ได้ไป ฝากตัวเป็ นลูกศิษย์ครู สง่า ศะศิวนิ ช ที่บา้ นพานถม แต่ก็ไม่ได้อะไรเลย จนป้ าทิพ ภรรยานายองภักดี (เชื อน ภวเวส) ซึ่ งทาหน้าที่เป็ นคนปั ก เครื่ องอยู่บา้ นครู สง่าสงสาร จึงสอนราและร้องจนมีความสามารถ ความรัก โขน ละคร ซึ่ งบิดา มารดา ไม่ชอบต้องแอบเล่นที่โรงนายฮวด บางครั้งถูกมารดาตามถึงข้างโรงโขน ในที่สุด จึงหนีออกจากบ้านเพื่อเดินในทางที่ตนเองชอบ และไม่กลับเข้าบ้านอีกเลยจนตลอดชีวติ หน้าพาทย์ส าคัญ ต่ างๆ เหล่ านี้ ครู ส มยศได้ต่อจากคุ ณ หญิ ง ครู เกื อบ ทั้งหมด ยกเว้น หน้าพาทย์ “เทพดาเนิ น” ที่ครู สมยศแต่งขึ้ นเอง ครู สมยศมี ความจาเป็ นเลิศเก็บวิชาไว้กบั ตัว กระทัง่ วันหนึ่ งครู สมนึ ก บุญสลับ และครู เวนิช เชียรวงศ์ ฝากตัวเป็ นศิษย์ ครู สมนึ กนั้นคบหาอยูก่ บั ครู บุญยงค์ เกตุคง เมื่อมีโอกาสจะ ร่ วมวงกันเสมอ พอได้ที่ก็จะถกกันเรื่ องหน้าพาทย์ ครู สมนึกเล่าให้ครู บุญยงค์ฟังว่ามีคนราหน้าพาทย์น้ ีได้ ครู บุญยงค์จึงทดสอบ โดยให้ครู สมนึ กไปถามถึงหน้าพาทย์ต่างๆ ว่ามีกี่ไม้กลอง ซึ่ งครู สมยศก็ตอบได้หมด ครู บุญยงค์จึงขอให้ครู สมยศไปหา และทดสอบท่าราจนแน่ใจว่าได้จริ ง จึงฝากครู บุญยัง เกตุคง ให้เป็ นศิษย์ต่อ หน้าพาทย์หลายหน้าพาทย์ เช่น ดาเนินพราหมณ์ ตระพระพิฆเณศ ผูเ้ ขียนได้รู้จกั ครู สมยศ เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๕๒๕ รู ้ถึงความสามารถของครู สมยศ กระทัง่ พ.ศ. ๒๕๒๗ มีพระราชพิธีต่อท่าราหน้าพาทย์องค์พระพิราพ ครู จึงบอกผูเ้ ขียนว่า “ผมก็มีท่าราหน้าพาทย์น้ ี ” เมื่อ มีพิธีไหว้ครู ผูเ้ ขียนได้ขอร้ องครู ว่าขอให้ออกองค์พระให้ดูเป็ นขวัญตาด้วย ครู ออกองค์พระพิราพเต็มองค์ โดยมีปี่พาทย์คณะครู บุญยงค์บรรเลง ต่อมาจึงได้ขอให้ครู สมยศ ถ่ายทอดให้ครู สมนึก บุญสลับ และครู เวนิช เชียรวงศ์ ไว้ท้ งั สองท่าน ผูเ้ ขี ยนเห็ นว่า ท่าราองค์พระพิ ราพของครู ส มยศนั้น น่ าจะได้รับการถ่ ายทอดจากคุ ณหญิ งครู จริ ง เนื่ องจากครู สมยศเป็ นพื้นพระ ท่าราองค์พระพิราพนี้ น่าจะแต่งขึ้นโดยคุ ณหญิ งครู เพราะแต่โบราณนั้นมี เพียง “รอน” เท่านั้น เมื่อดูครู สมยศราแล้ว เห็นว่าออกไปทางพระเสี ยมากกว่า ครู เวนิ ช เชียรวงศ์ ท่านเป็ นคนร่ างใหญ่ พื้นเดิมเป็ นลิ งแล้วจึงมาหัดยักษ์ และพระภายหลัง ท่าของ ครู เวนิ ชในการออกองค์พระจะงามกว่า ภายหลังครู สมยศถึงแก่กรรมแล้ว ครู เวนิ ชก็ได้สืบทอดเจตนารมณ์ ของครู สมยศได้อย่างครบถ้วนบริ บูรณ์
๓๐
บทความจากหนังสื อเรื่ อง “ส่ องชาติ ชีวติ ศิลปิ นของคุณครู ส่องชาติ ชื่ นศิริ” 1
1คัดลอกข้ อมูลจากหนังอนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ คุณครูสอ่ งชาติ ชื่นศิริ พ.ศ.๒๕๖๑ เขียนโดย ปริ ตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล
(บทที่ ๖ หน้ า๕๕-๖๙)
๓๑
๓๒
๓๓
๓๔
๓๕
๓๖
๓๗
๓๘
๓๙
๔๐
๔๑
๔๒
๔๓
๔๔
๔๕
รายชื่ อนักศึกษาผู้รับผิดชอบโครงการ
๑. นายกันตพัฒน์ จุติพรภูติวฒั น์
ประธานโครงการ
๒. นายไชยพฤกษ์ เขตพงศ์
รองประธานโครงการ
๓. นางสาวทวิพร สุ วรรณไสว
เลขานุการ
๔. นางสาวสุ ชาดา สี เหลี่ยม
เหรัญญิก
๕. นางสาว ฐิศิภรณ์ พันธ์ประคุณ
เหรัญญิก
๖. นายธรนิภทั ร์ กิมชัย
ประชาสัมพันธ์
๗. นายวิทวัส ครู เกษตร
ประชาสัมพันธ์
๘. นางสาวธันยพร ท่านทรัพย์
สวัสดิการ
๙. นางสาวกมลวรรณ พลอยปฐม
สวัสดิการ
๑๐. นางสาวทรรศสรวง พรมเหลือง
สวัสดิการ
๑๑. นางสาววิภาวัลย์ เจริ ญสุ ข
สถานที่
๑๒. นายศิริพงษ์ โยธาพิทกั ษ์
สถานที่
๑๓. นางสาวนิตยา ไหมทอง
สถานที่
๔๖
ขอขอบพระคุณ - คณะศิษย์ สายคุณหญิงนัฏกานุรักษ์ ทีส่ นับสนุนเงินทุนในการจัดโครงการสั มมนา - ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร.อภิณัฏฐ์ กิติพันธุ์ และชมรมบ้ านชี วานุ ภาพ ที่สนันสนุ น วงปี่ พาทย์ ทใี่ ช้ บรรเลงประกอบการสั มมนา - คุณธาดา วิททยาพุล ที่กรุ ณาอนุญาตให้ เผยแพร่ ข้อมูลเกีย่ วเพลงหน้ าพาทย์ สายคุณหญิง นัฏกานุรักษ์ (เทศ สุ วรรณภารต) ลงในสู จิบัตร - อาจารย์ ปริตตา เฉลิมเผ่ า กออนันตกูล ทีก่ รุณาอนุญาตให้ เผยแพร่ ข้อมูลลงในสู จิบัตร - วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ และนาฏยศิลปิ น รับเชิญทุก ๆ ท่ าน - อาจารย์ ธรรมจักร พรหมพ้วย ทีก่ รุณาร่ วมเป็ นพิธีกรดาเนินรายการ - อาจารย์ ดร.รัสวรรณ อดิศัยภารดี อาจารย์ ประจาวิชา และคณาจารย์ สาขานาฏกรรมไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง - สานักเทคโนโลยีและการศึกษา มหาลัยรามคาแหง ทีเ่ อือ้ เฟื้ อสถานที่ในการบันทึกและตัด ต่ อวีดีทศั น์ ประกอบการสั มมนา - กองอาคารสถานที่ ทีอ่ นุญาตให้ ใช้ ห้ อง ๓๒๒ และ ห้ อง ๓๑๖ เพื่อจัดโครงการสั มมนา - งานประชาสั มพันธ์ “รอบรั่ วราม” ที่กรุ ณาบันทึกภาพและประชาสั มพันธ์ โครงการการ สั มมนา - นั ก ศึ ก ษาสาขานาฏกรรมไทยภาควิ ช าศิ ล ปะการแสดง คณะศิ ล ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ทุกชั้นปี ทีใ่ ห้ ความช่ วยเหลือการจัดโครงการสั มมนา
๔๗
ขาดตกบกพร่องประการใดต้องกราบขออภัยมา ณ ที่นี้
นักศึกษาชั้นปีที่ ๔ สาขานาฏกรรมไทย รุ่นที่ ๙ ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง