ละครสร้างสรรค์: กระบวนการเรียนรู้ทางเลือกใหม่ ที่สอดคล้องกับทิศทางการศึกษาของชาติ โดย ลิขิต ใจดี

Page 1

การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 328 |

ละครสรางสรรค: กระบวนการเรียนรูทางเลือกใหม ที่สอดคลองกับทิศทางการศึกษาของชาติ ลิขิต ใจดี นักศึกษาปริญญาโท สาขาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

บทคัดยอ บทความวิชาการนี้ ผูเขียนมีวัตถุประสงคเพื่อนําเสนอถึงละครสรางสรรค ที่สอดคล อ งกั บ ทิศทางการพั ฒนาการศึ กษาของชาติ พบวา ละครสรางสรรคเ ปน กระบวนการเรียนรูทางเลื อ กที่ สามารถใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนไดในหลากหลายมิติเพื่อเสริมสรางให เปนมนุษยที่สมบูรณ อันเนื่องมาจากละครสรางสรรคเปนกระบวนการเรียนรูที่เปดโอกาสทางความคิด จินตนาการ ผานการแสดงออกทางภาษาและการเคลื่ อนไหวรางกายอยางมีปฏิสั มพั นธกลุ มตาม บทบาทสมมุติอยางมีอิสระ โดยมีผูนํากิจกรรมหรือครูผูสอนเปนผูกระตุนใหเกิดการแสดงออกเชิง สรางสรรค โดยเนนใหเด็กและเยาวชนเปนศูนยกลางแหงการเรียนรู ตลอดจนสะทอนใหเห็นถึงทักษะ การอยูรวมกับผูอื่นในสังคมอันจะนําไปสูความเขาใจตนเองและผูอื่นไดอยางถองแท และจากการ สํ ารวจมุ มมองของผู คนในสั งคมไทยโดยใชวิธีการเลือกแบบบังเอิญ (Haphazard or Accidental Sampling) พบวา กลุมตัวอยางที่ใหความรวมมือตอบแบบสอบถามจํานวน 379 คน โดยสวนใหญยัง ขาดความเขาใจเกี่ยวกับจุดมุงหมาย กลุมเปาหมาย ความสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษา แห งชาติ คุ ณค า เชิ งพั ฒ นา และรวมไปถึงลักษณะของละครสรางสรรคซึ่งสะทอนใหเห็น วาละคร สรางสรรคยังเปนเรื่องใหมสําหรับบริบทของสังคมไทย ดังนั้น จะสังเกตเห็นไดวาละครสรางสรรคเปน การเรียนรูแนวทางเลือกใหมที่สอดคลองกับทิศทางการศึกษาของชาติไทยในบริบทตาง ๆ ควรไดรับ การสนับสนุนและสงเสริมเพื่อเปนการขยายฐานความเขาใจเกี่ยวกับคุณคาและความสําคัญของละคร สรางสรรคตอสาธารณชนตอไป คําสําคัญ: ละครสรางสรรค, กระบวนการเรียนรู, ทางเลือกใหม, การศึกษาของชาติ


การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 329 |

Creative Drama: A New Learning Process in Accordance with National Education Direction Likhit Jaidee Master Student in Performing Arts Faculty of Fine and Applied Arts Suan Sunandha Rajabhat University

Abstract This academic article aims to present a creative drama that is consistent with the direction of national education development. The study found that a creative drama is an alternative learning process that can be used as a tool to develop the potential of children and youth in a variety of dimensions in order to create a human being. Due to a creative drama is a learning process that opens up opportunities for imagination and thinking through language expressions and body movements with activity leaders or teachers encouraging creative expression. By emphasizing that children and youth are the center of learning as well as reflecting the skills of living with others in society that will lead to a better understanding of oneself and others. By using the survey of the views of people in Thai society by using the haphazard or accidental sampling target group found that 379 of samplings were lack of the understanding about purpose, target and concordantly with the National Education Act in Development value. Moreover, the character of the creative drama is still a new matter for the context of Thai society. Therefore, it can be seen that creative drama is a new way of learning that is consistent with the direction of Thai national education in various contexts and should be supported and promoted in order to expand the base of understanding about the value and importance of the drama in the future. Keywords: creative drama, learning process, new alternative, direction of Thai national education


การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 330 |

บทนํา การพัฒนามนุษยใหสมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข เปนความมุงหมายที่สําคัญ ของการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 และฉบั บ ที่ 3 พ.ศ. 2553 (กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร, 2545) เด็ ก และเยาวชนจึ ง เป น ความหวั ง ที่ สํ า คั ญ ของสั ง คมที่ จ ะช ว ยขั บ เคลื่ อ นประเทศชาติ ไ ปสู เ ส น ทางที่ ค วร ดั ง นั้ น แล ว กระบวนการที่ จ ะช ว ยส งเสริ ม และพัฒ นาเด็ ก และเยาวชนใหมี พ ฤติ ก รรมที่ พึ งประสงค ควรเป น กระบวนการที่ เ น นให เด็ กและเยาวชนเปนศูน ยกลางแหงการเรียนรู โดยเปดโอกาสทางความคิด จินตนาการ และพัฒนาอยางสรางสรรค ซึ่งกระบวนการดังกลาวสอดคลองกับกระบวนการเรียนรูของ ละครสรางสรรค (Creative Drama) ที่สามารถทําใหเด็กและเยาวชนไดลองสวมบทบาทของตัวละคร และประสบการณของตัวละครในบริบทที่ตางกัน เปนวิธีการหนึ่งที่ชวยใหเด็กและเยาวชนมีความ เข า ใจเกี่ ย วกั บ ชี วิ ต เพิ่ ม ขึ้ น (ปาริ ช าติ จึ ง วิ วั ฒ นาภรณ , 2547: 10-31) โดยเน น การเปลี่ ย นแปลง (transformation) จากภายในตัวของเด็กและเยาวชน และเสริมพลัง (Empowerment) คุณคาเชิง บวกตามทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง (Theory of change) (กิตติรัตน ปลื้มจิตร และพฤหัส พหลกุลบุตร, ม.ป.ป.: 11) ประกอบกับประสบการณในชีวิตทั้งขัดแยง สําเร็จ ชัยชนะ สมหวัง พายแพ ซึ่งสิ่งเหลานี้ มี อิ ท ธิ พ ลต อ ต น เหตุ ข องความคิ ด ในการแสดงออกทางพฤติ ก รรม ละครสร า งสรรค จึ ง เป น การ แสดงออกดวยการใชภาษา และกริยาทาทางตามเนื้อเรื่อง อาจมีความซับซอนของเรื่องราว แตสิ่ง เหลานี้เปรียบเสมือนเปนแบบฝกหัดที่จะทําใหเด็กและเยาวชนไดเขาใจและเห็นถึงลักษณะจิตใจของ มนุษย อันจะนําไปสูความเขาใจตนเองและผูอื่นไดอยางถองแท (ภรณี คุรุวัฒนะ, 2526: 2) ในปจจุบันมีสถาบันการศึกษาทั้งระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับอุดมศึกษาของไทย บางสวนไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของกิจกรรมละครสรางสรรคและมีการบรรจุไวในหลักสูตรการเรียน การสอนอยางจริงจังเชนเดียวกับตางประเทศ (ธนสิน ชุตินธรานนท, 2560: 204-205) แตอยางไร ก็ตามประเทศไทยยังมีหนวยงานหรือสถาบันที่นํากระบวนการดังกลาวไปพัฒนาไมมากนัก ซึ่งอาจมี ปจจัยหลากหลายอยางที่ไมเอื้ออํานวยตอกระบวนการดังกลาว ดังนั้น ผูเขียนจึงไดนําเสนอถึงประเด็น ของละครสร างสรรค ซึ่งเป นกระบวนเรียนรูทางเลือ กใหมที่สามารถพัฒนาคนไทยใหเปน มนุษ ยที่ สมบูรณทั้งทางดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญาที่สอดคลองกับทิศทางการศึกษาของชาติ

ทิศทางพระราชบัญญัติการศึกษาไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 และฉบั บ ที่ 3 พ.ศ. 2553 มี ค วามมุ ง หมายและหลั ก การ พร อ มกั บ แนวทางการจั ด การศึ ก ษา (วิรัตน ผดุงชีพ, 2560: 29) ดังนี้


การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 331 |

ความมุงหมายและหลักการ เพื่อเปนการพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข โดยมีกระบวนการ เรียนรูที่มุงปลูกฝงจิตสํ านึ กในดานปกครองในระบอบประชาธิป ไตย เคารพสิทธิ กฎหมาย รักษา ประโยชนอนุรักษศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของชาติ ประกอบอาชีพ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ใฝรูใฝ เรียน ตามหลักการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน โดยเปดโอกาสใหสังคมมีสวนรวมในการจัด การศึกษา และการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูใหเปนไปอยางตอเนื่อง แนวทางการจัดการศึกษา ยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเอง ไดและถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนา ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ การจัดกระบวนการเรียนรูตองจัดเนื้อหาของสาระและกิจกรรม ใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล มีการ ฝ กทั กษะ กระบวนการคิ ด เรี ย นรู จ ากประสบการณต รง ปลูกฝงคุณธรรม จริย ธรรม จัดสภาพ สิ่งแวดลอมเอื้อตอการเรียนรู และการจัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่

ละครกับการศึกษาแนวทางเลือก การเรียนรูสามารถเกิดขึ้นไดทุกสถานที่และทุกเวลา ซึ่งไมจําเปนตองเปนการเรียนรูที่เกิดขึ้น ในสถานศึกษาเทานั้น โดยมีจุดมุงหมายเพื่อตองการใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและนําไปเปนเครื่องมือใน การพัฒนาใหเปนมนุษยที่สมบูรณในทุกดานอยางเต็มศักยภาพ ดังนั้น จึงไมควรที่จะจํากัดขอบเขต รูปแบบ วิธีการ และแนวทางของการเรียนรู การศึกษาแนวทางเลือก (Alternative Education) เปนการจัดการศึกษาที่แตกตางไปจาก การศึกษากระแสหลัก โดยจัดขึ้นบนพื้นฐานธรรมชาติของมนุษยที่มีความแตกตางและหลากหลาย เพื่อพัฒนาผูเรียนใหเปนมนุษยที่สมบูรณ การศึกษาแนวทางเลือกจึงเปนอีกแนวทางหนึ่งที่ตอบสนอง ความตองการของผูเรียนเปนสําคั ญ โดยสามารถเรียนรูผานสื่อ ภูมิปญญา ศาสนา สถาบัน และ กิจกรรมตาง ๆ ที่มีความสัมพันธทั้งตนเอง ชุมชน และสังคมอยางสรางสรรค (รุงอรุณ ไสยโสภณ, 2551:32-35) การเรี ย นรู ผ า นกิ จ กรรมเป น การเรี ย นรู ที่ ก ว า งขวางหลากหลายที่ สุ ด มี ผ ลในการ เสริมสรางและจัดการปญหาชุมชน เด็ก เยาวชน และสตรีใหดีขึ้นตามกลวิธีและกระบวนการตาง ๆ (สุชาดา จักรพิสุทธิ์, 2548:54) หากจะกลาวถึงการศึกษาแนวทางเลือกโดยการเรียนรูผานกิจ กรรม การละครในบริ บ ทของสั งคมไทยก็เปน อีกแนวทางเลือกที่ส ามารถพัฒ นาการเรีย นรูของเด็กและ เยาวชนไดเปนอยางดี อีกทั้งยังเปนการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาของชาติ ในหมวดที่ 4 มาตรา 22 ที่วาดวยเรื่องของแนวจัดการศึกษาอีกดวย ในสังคมไทยมีนักการละครไดนํา กระบวนการดังกลาวไปรับใชสังคมไดเปนผลสําเร็จ แตยังไมกวางขวางมากนัก ดังที่ฐานชน จันทร เรือง (2556: 175-176) กลาววา บานเรียนมรดกใหมเปนสถานศึกษาขนาดเล็ก ใชรูปแบบของบาน


การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 332 |

ประยุกตใหสอดคลองกับวิถีชีวิตนักการละคร และไดรับการสนับสนุนจากการศึกษาในระบบใหใช ละครเพื่อสรางการศึกษาแบบองครวมทั้งในมิติการใชชีวิตและการทํางาน โดยไดดําเนินการสราง หลักสูตรเฉพาะคน และไดรับการรับรองจากสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 1 จังหวัดปทุมธานี ภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเปนสถานศึกษาที่ใชแนวคิดกิจกรรมการละครเปน จุดเริ่มตน โดยผูเรียนจะไดเรียนรูครบทั้ง 8 กลุมสาระฯ ผานการแสดงละครในเรื่องราวที่เกี่ยวของกับ เนื้อหารายวิชา แตอยางไรก็ตามสังคมไทยยังขาดความเขาใจถึงจุดมุงหมายที่สําคัญของกระบวนการ ละคร ดังที่ รัศมี เผาเหลืองทอง และพนิดา ฐปนางกูร (2548: 87) ไดกลาวไวในขอสรุปของผูบริหาร ในงานวิจัยเรื่อง นโยบายการสงเสริมศิลปะการละครเพื่อการพัฒนาเยาวชนวา “สังคมไทยมักมองวา ละคร คือ การแสดงหรือการเตนกินรํากิน และมีจุดมุงหมายเพื่อความบันเทิงเปนสําคัญ” สังคมไทยในปจจุบันยังมีหนวยงานหรือสถาบันที่นํากระบวนการละครไปพัฒนาสังคมไมมาก นั ก ซึ่ งอาจมี ป จ จั ย ที่ ไม เอื้ ออํ า นวยตอกระบวนการดังกลาว ผูเขีย นจึงไดนําเสนอถึงปจจัยที่สงผล กระทบตอการจัดกระบวนการละครที่อาจทําใหกระบวนการไมประสบความสําเร็จตามที่ควรไว ดังนี้ 1. จํ า นวนของนั กการละครที่มีความรูความเชี่ย วชาญในศาสตรดานการละครเพื่ อ การ พัฒนาการเรียนรูยังไมเพียงพอตอสภาพปญหาของสังคมไทย 2. การไดรับการสนับสนุนเรื่องของงบประมาณ และทรัพยากรที่อํานวยความสะดวกตอการ จัดกิจกรรมจากหนวยงานของภาครัฐและเอกชนยังไมเพียงพอ และตอเนื่อง 3. บุคคลโดยทั่วไปในสังคมไทยยังขาดความเขาใจเกี่ยวกับสารัตถะหรือแกนแทของการใช กิจกรรมการละครเพื่อการพัฒนาการเรียนรู ปจจัยดังกลาวในขางตนเปนเพียงมุมมองและประสบการณของผูเขียน หากจะใหผูเขียนเสนอ แนวทางเพื่อมิใหปจจัยดังกลาวเปนอุปสรรคตอการจัดกระบวนการละครในการพัฒนาสังคมนั้น ควร เริ่มจากการเปดโอกาสใหนักการละครรุนใหมไดเรียนรู และพัฒนากระบวนการรวมกับนักการละครที่ มีความรูความเชี่ยวชาญในศาสตรดานการละครใหมากยิ่งขึ้นเพื่อเปนการผลิตนักการละครที่มีคุณภาพ และเพียงพอตอสภาพปญหาของสังคม และนอกจากนี้นักการละครควรนําเสนอถึงคุณประโยชนของ การละครกับการพัฒนาสังคมใหกับบุคคลโดยทั่วไปในสังคมเกิดความเขาใจซึ่งจะสงผลตอการไดรับ การสนับสนุนเรื่องของงบประมาณ และทรัพยากรที่อํานวยความสะดวกจากหนวยงานของรัฐ และ เอกชนเปนลําดับ การใชกระบวนการดานการละครเพื่อการพัฒนาของสังคมไทยมีหลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยูกับความเชี่ยวชาญ กลุมเปาหมาย สภาพปญหา และจุดประสงคของการเรียนรู ยกตัวอยาง เชน ละครในการศึกษา (DIE หรือที่เปนศัพทเฉพาะ Drama-in-Education ) เปนการใชละครเปนสื่อ การเรียนรูโดยใชหัวขอหรือประเด็นทางสังคม ละครประเภทนี้มักจะพบในประเทศอังกฤษ ละคร ประเด็ น ศึ กษา (TIE หรื อที่เ ป น ศั พทเฉพาะ Theatre-in-Education) เปน การใชล ะครเพื่ อเรี ย นรู


การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 333 |

ประเด็นตาง ๆ ที่นาสนใจ และละครสรางสรรค (Creative Drama) เปนกิจกรรมการเรียนรูที่เปด โอกาสใหผูรวมกิจกรรมไดเรียนรูรวมกัน อยางอิสระผานกระบวนการละคร ซึ่งการละครในแต ล ะ รูปแบบก็มีวิธีการ และจุดมุงหมายที่แตกตางกันออกไป

ลักษณะของละครสรางสรรค ละครสร า งสรรค (Creative Drama) เปน กระบวนการเรีย นรูท างเลื อ กที่ส ามารถใช เ ป น เครื่องมือในการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนไดในหลากหลายมิติทั้งทางดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญาเพื่อเสริมสรางใหเปนมนุษยที่สมบูรณ อันเนื่องมาจากละครสรางสรรค เ ปน กระบวนการเรี ย นรูที่เ ป ดโอกาสทางความคิด จิน ตนาการ ผานการแสดงออกทางภาษาและการ เคลื่อนไหวรางกายอยางมีปฏิสัมพันธกลุมตามบทบาทสมมุติอยางมีอิสระที่ปราศจากผูชมอยางเปน ทางการ โดยมี ผู นํ า กิ จ กรรมหรื อครูผูส อนเปน ผูกระตุน ใหเกิ ดการแสดงออกเชิงสรางสรรค ต าม วัตถุประสงคของแผนการจัดการเรียนรูโดยเนนใหเด็กและเยาวชนเปนศูนยกลางแหงการเรียนรูอยาง แทจริง มีการวัดและประเมินผลตามสภาพความเปนจริง ตลอดจนสะทอนใหเห็นถึงทักษะการอยู รวมกับผูอื่นในสังคมอันจะนําไปสูความเขาใจตนเองและผูอื่นไดอยางถองแท ดังนั้น ละครสรางสรรค จึงเปนกิจกรรมที่ไมไดมุงเนนความงามหรือสุนทรียะทางการแสดง แตมีจุดมุงหมายเพื่อสงเสริมการ เรียนรูที่เกิดขึ้นในกระบวนการเปนสําคัญ ซึ่งลักษณะดังกลาวมีความแตกตางไปจากละครเวทีสําหรับ เด็ก ดังที่ อุทัยวรรณ ปนประชาสรร (2540: 42) ไดกลาวเปรียบเทียบเอาไว ดังนี้ องคประกอบ ความมุงหมาย

บทละคร

กํากับการแสดง ฉาก

ละครเวทีสําหรับเด็ก มุ งเน น ผลงานการแสดงเพื่ อ ความ บันเทิงหรือสุนทรียะสําหรับผูชมเปน สําคัญ มี บ ทละครที่ ใ ช สํ า หรั บ แสดงแบบ สมบู ร ณ โ ดยผานการตรวจสอบจาก ผูใหญหรือผูที่เกี่ยวของตามขั้นตอน มีผูกํากับการแสดงอยางเปนทางการ มีฉากประกอบการแสดงอยางเต็ม รูปแบบเพื่อสรางจินตนาการแกผูชม

ละครสรางสรรค มุงเนนกระบวนเรียนรูและแสดงออก ตามจินตนาการของผูเขารวมกิจกรรม อยางมีอิสระ บทละครได ม าจากผู เ ข า ร ว มกิ จ กรรม ชวยกันคิดขึ้นเองโดยไดรับคําแนะนําจาก ครูหรือผูนํากิจกรรมในการหาขอเท็จจริง ไมมีผูกํากับการแสดงอยางเปนทางการ ใชฉากบางเล็กนอยเพื่อสรางจินตนาการ สําหรับผูแสดงเองแตมิใชจุดเนนที่สําคัญ ของกิจกรรม


การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 334 |

องคประกอบ เครื่องแตงกาย

ผูแสดง

ละครเวทีสําหรับเด็ก ละครสรางสรรค มีเครื่องแตงกายประกอบการแสดง มีเครื่องแตงกายประกอบการแสดงบาง อ ย า ง เ ต็ ม รู ป แ บ บ เ พื่ อ ส ร า ง เล็กนอยโดยสามารถใชต ามสภาพของ จินตนาการแกผูชม ท อ งถิ่ น แต มิ ใ ช จุ ด เน น ที่ สํ า คั ญ ของ กิจกรรม แสดงได ตามบทบาทที่กําหนดไว ใ น ผู แ สดงดํ า เนิ น เรื่ อ งตามความคิ ด และ บทละคร ตามความต อ งการของผู จินตนาการของตนเองอยางอิสระ พยายาม กํากับการแสดง กํากับการแสดงดวยตนเองผานบทละครที่ รวมกันคิด

แผนการจัดกระบวนการเรียนรูละครสรางสรรค การจัดกระบวนการเรียนรูเปนหัวใจสําคัญของละครสรางสรรคที่จะสงเสริมใหกิจกรรม ประสบความสํ า เร็ จตามเป าหมายของผูนํากิจกรรมหรือผูออกแบบกิจ กรรมไดกําหนดไว ซึ่งผู นํ า กิจกรรมควรคํานึงถึงองคประกอบของการออกแบบแผนการจัดการเรียนรูไว ดังนี้ 1. กํ า หนดกลุ ม เป า หมาย คื อ ผู นํ า กิ จ กรรมควรกํ า หนดลั ก ษณะสํ า คั ญ ของ กลุมเปาหมายใหชัดเจน และทําความเขาใจถึงพัฒนาการทางดานรางกาย อารมณ พื้นฐานความรู และประสบการณของกลุมเปาหมาย เพื่อออกแบบกิจกรรมใหสอดคลองกับกลุมเปาหมาย 2. กําหนดเปาหมายของกิจกรรม คือ ผูนํากิจกรรมควรกําหนดผลสัมฤทธิ์หลัก จากการทํากิจกรรมละครสรางสรรคอาจเปนดานทักษะ ความรู หรือความเขาใจหลักที่ผูนํากิจกรรม คาดหวังใหเกิดกับกลุมเปาหมายหลังจากผานการจัดกิจกรรมการเรียนรูครบเสร็จสิ้นทุกกิจกรรม 3. กําหนดวัตถุประสงค คือ ผูนํากิจกรรมควรกําหนดผลการเรียนรูในลักษณะ เฉพาะเจาะจงที่คาดหวังวาจะเกิดกับกลุมเปาหมายภายในแผนการจัดการเรียนรูนั้น ๆ โดยการเขียน วั ต ถุ ป ระสงค ค วรเขี ย นเป น ลั ก ษณะเชิ ง พฤติ ก รรมที่ แ สดงออกทั้ ง ทางด า นทั ก ษะและความรู ที่ มี รายละเอียดชัดเจนของแตละกิจกรรมหรือของแตละแผนการจัดการเรียนรูเพื่อใหไปถึงเปาหมายหลัก 4. การออกแบบกิจกรรม ผูนํากิจกรรมควรออกแบบกิจกรรมใหครบตาม 3 ขั้น คือ กิจกรรมจูงใจ (ขั้นนําเขาสูกิจกรรม) ขั้นเตรียมความพรอมกอนแสดงละคร (ขั้นเตรียม) และขั้น การแสดงละคร (ขั้นเรียนรู) และควรกําหนดเวลาในการดําเนินกิจกรรมทุกขั้นตอน 5. กําหนดการวัดและประเมินผลกิจกรรม ผูนํากิจกรรมควรกําหนดรูปแบบและ วิธีการการวัดและประเมินผลไวในแผนการจัดการเรียนรูใหชัดเจน ซึ่งถือวาองคประกอบสุดทายของ แผนการสอนที่มีความสําคัญมากที่สุด เพราะเปนขั้นตอนที่กลุมเปาหมายและผูนํากิจกรรมตองใช ความเปนกลางในการประเมินคุณคาของการเรียนรูที่เกิดขึ้นจากการแสดงรวมกัน


การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 335 |

ละครสรางสรรคในมุมมองของสังคมไทย จากการสํารวจมุมมองของผูคนผานแบบสอบถามออนไลน โดยใชวิธีการเลือกแบบบังเอิญ (Haphazard or Accidental Sampling) ซึ่งเปนการเลือกกลุมตัวอยางเทาที่มีอยูหรือที่ไดรับความ รวมมือ (หทัยชนก พรรคเจริญ, 2555: 29-30) ซึ่งพบวา มีผูใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถาม จํ า นวน 379 คน โดยสามารถจํ า แนกเป น อาจารย ใ นสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาจํ า นวน 28 คน ครู ใ น สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จํานวน 41 คน นักวิชาการ จํานวน 41 คน นักศึกษาที่กําลัง ศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาตรี (ด า นศิ ล ปะการแสดง) จํ า นวน 48 คน นั ก ศึ ก ษาที่ กํ า ลั ง ศึ ก ษา (ด า น ศึกษาศาสตร ครุศาสตร หรือวิชาชีพครู) จํานวน 52 คน และบุคคลในสถานะอื่น ๆ อีกจํานวน 169 คน มีมุมมองตอละครสรางสรรค ดังตอไปนี้ มุมมองดานจุดมุงหมายของละครสรางสรรค พบวา มีผูคนเขาใจถึงจุดมุงหมายของละคร สรางสรรควาเปนการแสดงเพื่อความบันเทิง จํานวน 120 คน คิดเปนรอยละ 31.70 มีผูคนเขาใจถึง จุดมุงหมายของละครสรางสรรคที่มุงพัฒนากระบวนการเรียนรูเปนสําคัญจํานวน 72 คน คิดเปนรอย ละ 19.00 และยังมีผูคนไมแนใจในจุดมุงหมายอีกจํานวน 187 คน คิดเปนรอยละ 49.30 จากสถิติ ดังกลาวสะทอนใหเห็นวามีผูคนจํานวนมากที่สุดยังไมแนใจถึงจุดมุงหมายของละครสรางสรรค และมี ผูคนอีกจํานวนมากที่ยังเขาใจผิดถึงจุดมุงหมายของละครสรางสรรควาเปนการแสดงเพื่อความบันเทิง ซึ่งแทที่จริงแลวละครสรางสรรคเปนการจัดกระบวนการเรียนรูที่มุงเนนใหเกิดการพัฒนาแกผูเขารวม กิจกรรมเปนสําคัญมากกวาจะเปนศิลปะการแสดงที่มุงความบันเทิง มุ ม มองด า นกลุ ม เป าหมายของละครสรา งสรรค พบว า มี ผู ค นเข า ใจถึ งกลุ ม เป าหมายที่ เหมาะสมกับการใชละครสรางสรรคมีวัยเด็กและเยาวชนจํานวน 200 คน คิดเปนรอยละ 52.80 วัย ผูใหญ 48 คน คิดเปนรอยละ 12.70 ทุกเพศทุกวัยจํานวน 40 คน คิดเปนรอยละ 10.60 และยังไม แนใจในกลุมเปาหมายอีกจํานวน 91 คน คิดเปนรอยละ 24.00 จากสถิติดังกลาวสะทอนใหเห็นวามี ผูคนจํานวนมากยังขาดความเขาใจถึงกลุมเปาหมายของการนํากระบวนการเรียนรูละครสรางสรรคไป พัฒนา ซึ่งแทที่จริงแลวการนํากระบวนการของละครสรางสรรคไปพัฒนาสามารถใชไดกับทุกเพศทุก วัยไมจําเปนตองเปนเพียงกลุมเปาหมายในวัยเด็กและเยาวชนเทานั้น มุมมองของละครสรางสรรคกับการพัฒนาดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา พบวา มี ผู ค นเข า ใจถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของละครสร า งสรรค ส ามารถพั ฒ นาด า นร า งกาย อารมณ สั ง คม และสติปญญาได จํานวน 119 คน คิดเปนรอยละ 31.40 ไมสามารถพัฒ นาด านรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญาไดจํานวน 67 คน คิดเปนรอยละ 17.70 และยังไมแนใจถึงประสิทธิภาพของ ละครสรางสรรคอีกจํานวน 193 คน คิดเปนรอยละ 50.90 จากสถิติดังกลาวสะทอนใหเห็นวามีผูคน จํานวนมากที่สุดยังไมแนใจวากระบวนการเรียนรูละครสรางสรรคจะสามารถพัฒนาทางดานรางกาย


การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 336 |

อารมณ สังคม และสติปญญาได ซึ่งแทที่จริงแลวกระบวนการของละครสรางสรรคสามารถพั ฒนา มนุษยใหมีความสมบูรณทั้งทางดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญาไดเปนอยางดี มุมมองดานลักษณะของละครสรางสรรค พบวา มีผูคนเขาใจวาเปนการแสดงละครจากบท ละครที่แตงขึ้นที่สมบูรณ มีผูกํากับการแสดง มีองคประกอบการแสดงที่สอดคลองกับเรื่อง และมีผูชม อยางเปนทางการจํานวน 130 คน คิดเปนรอย 34.30 เปนการแสดงละครในลักษณะบทบาทสมมุติ อยางไมเปน ทางการ จํานวน 71 คน คิดเปนรอยละ 18.70 และยังไมแนใจถึ งลั กษณะของละคร สรางสรรคอีกจํานวน 178 คน คิดเปนรอย 47.00 จากสถิติดังกลาวทําใหทราบวายังมีผูคนที่ยังไม แนใจวาละครสรางสรรคมีลักษณะเปนอยางไร และมีผูคนอีกจํานวนมากที่เขาใจวาละครสรางสรรค เป น การแสดงละครที่ ต อ งมี บ ทละครที่ ส มบู ร ณ มี ผู กํ า กั บ การแสดง มี อ งค ป ระกอบการแสดงที่ สอดคลองกับเรื่อง และมีผูชมอยางเปนทางการ ซึ่งแทที่จริงแลวละครสรางสรรคเปนการแสดงละคร ในลักษณะบทบาทสมมุติ ไมจําเปนตองมีผูกํากับการแสดง ไมจําเปนตองมีองคประกอบการแสดงที่ สอดคลองกับเรื่องก็ได และไมจําเปนตองมีผูชมการแสดงอยางเปนทางการ โดยสวนมากมักจะแสดง ใหกับเพื่อนหรือผูรวมกิจกรรมในครั้งนั้นชมเพื่อเปนการเรียนรูรวมกันมิไดมุงเนนความสุนทรียะดาน การแสดงเปนสําคัญ มุมมองของผูคนในสังคมไทยที่มีตอละครสรางสรรค จะเห็นไดวาผูคนโดยสวนใหญยังขาด ความเขาใจเกี่ยวกับจุดมุงหมาย กลุมเปาหมาย คุณคาดานการพัฒนา และรวมไปถึงลักษณะของละคร สร า งสรรค ซึ่ง สะท อ นให เ ห็ น ว า กระบวนการละครสร างสรรค ยัง เป น เรื่ อ งใหมสํา หรั บ บริบ ทของ สังคมไทย ดังนั้น ควรมีการสนับสนุนและสงเสริมใหนํากระบวนการดังกลาวมารับใชสังคมในบริบท ตาง ๆ

นักการละครสรางสรรคกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนในบริบทสังคมไทย ตลอดระยะเวลากวา 40 ปที่ผานมา ละครสรางสรรค ไดเขามีบทบาทสําคัญในฐานะเปน เครื่องมือการจัดการเรียนการสอนแกเด็กและเยาวชนในสถานศึกษาตั้งแตระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จนถึ ง ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา โดยจุ ด เริ่ ม ต น นั้ น เกิ ด จากสายศิ ล ปะการแสดงละคร คื อ เริ่ ม ต น โดย รองศาสตราจารยอรชุมา ยุทธวงศ คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ราว พ.ศ. 2517 ได ไปศึกษาระดับมหาบัณฑิต ดานการละครจากมหาวิทยาลัยฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา ตอมาจึงได มี ก ารจั ด การเรี ย นการสอนรายวิ ช าดั ง กล า วในระดั บ อุ ด มศึ ก ษาอี ก หลากหลายสถาบั น โดยมี จุดมุงหมายใหศิลปนหรือนักการละครสามารถนําเทคนิคและกระบวนการละครสรางสรรคไปใชพัฒนา เด็กและเยาวชนในสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ (ธนสิน ชุตินธรานนท, 2560: 204-205) นักการละครสรางสรรคของไทยไดนํากระบวนการละครสรางสรรคไปพัฒนาเด็กและเยาวชน ไดเปนผลสําเร็จครอบคลุมจุดมุงหมายเชิงพัฒนาทางการศึกษาทั้ง 3 จุดมุงหมาย ไดแก ดานพุทธิพิสัย


การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 337 |

หมายถึง การใชละครสรางสรรคเปนเครื่องมือในการพัฒนาความสามารถทางสติปญญา ดานจิตพิสัย หมายถึ ง การใช ล ะครสรา งสรรค เปน เครื่องมือในการพัฒ นาดานอารมณความรูสึก ทัศนคติ การ ตระหนักรูในคุณคาและความสําคัญกับชีวิตและสังคม และดานทักษะพิสัย หมายถึง การใชละคร สรางสรรคเปนเครื่องมือในการพัฒนากลามเนื้อ ประสาทสัมผัสของกลามเนื้อ และการเคลื่อนไหว นอกจากนี้ ผูเขียนยังไดดําเนินการศึ กษางานวิจัยที่ ไดใชกระบวนการละครสรางสรรค มา พั ฒ นาเด็ กและเยาวชนพร อ มกั บ ยกตัว อยา งสภาพป ญ หาและผลของการวิจั ย ที่เ กิ ด ขึ้น ในบริ บ ท สังคมไทยออกเปน 3 ดาน คือ ดานพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัยเพื่อใหสังคมเห็นถึงคุณคาและ ความสําคัญของละครสรางสรรคกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน ดังนี้ 1. ละครสรางสรรคกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนดานพุทธิพิสัย จรรยา ชูสุวรรณ (2559) กลาวถึงสภาพปญหาของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนวัดอมรินทรารามที่ขาดทักษะภาษาไทย ทั้งทางดานการอาน การเขียน การฟง การพูด การ ใช ภ าษา และด า นวรรณคดี ส งผลใหนักเรีย นมีผ ลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาในรายวิช าภาษาไทยต่ํ า หลังจากดําเนินการวิจัย พบวา การใชกระบวนการละครสรางสรรคมีประสิทธิผลตอการพัฒนาทักษะ ภาษาไทยดานการอาน ดานการเขียน ดานการฟง ดานการพูด ดานการใชภาษา และดานวรรณคดี ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป ที่ 5 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ละครสรางสรรคกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนดานจิตพิสัย สุดาพร นิ่มขํา (2560) กลาวถึงสภาพปญหาของเด็กกําพราที่ไดรับผลกระทบจาก เอดส ที่มีจํานวนมากขึ้นทุก ๆ ป ซึ่งเด็กที่ไดรับผลกระทบจากเอดสตองเผชิญกับปญหาทั้งดานรางกาย คือ สุขภาพของเด็กที่ติดเชื้อจะไมแข็งแรง และมีพัฒนาการทางรางกายที่ชา ประกอบกับดานจิตใจ คือ เด็กมักจะรูสึกกลัวความสูญเสียภาวะจิตใจที่บอบช้ําเหลานี้สงผลใหเด็กรูสึกไมมั่นคงในชีวิต รูสึก เปนปมดอย ไมรูสึกวาชีวิตมีคุณคา ไมมีความหวังกับอนาคต จึงสงผลใหเด็กขาดทักษะทางสั งคม เนื่องจากคิดวาตนเองนั้นเปนที่รังเกียจของสังคม หลังจากดําเนินการวิจัย พบวา เด็กกําพราที่ไดรับ ผลกระทบจากเอดส มีคะแนนทักษะทางสังคม รอยละ 66.88 และการเปรียบเทียบทักษะทางสังคม กอนและหลังการใชละครสรางสรรค พบวาเด็กกําพราที่ไดรับผลกระทบจากเอดส ไดคะแนนเฉลี่ย กอนการจัดกิจกรรมเทากับ 3.41 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ .83 คะแนนเฉลี่ยหลังการจัดกิจกรรม เทากับ 4.85 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ .38 ผลตางของคาเฉลี่ยเทากับ 1.44 ทั้งนี้มีทักษะทาง สังคมสูงกวากอนการจัดกิจกรรมละครสรางสรรค แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .01 3. ละครสรางสรรคกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนดานทักษะพิสัย โกมล ศรีทองสุข (2560) กลาวถึงเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทําใหหลาย ครอบครัวตองชวยกันทํางานเพื่อความอยูรอดในสังคมปจจุบัน ดังนั้น พอและแมจึงไมมีเวลาเลี้ยงลูก ปลอยใหอยูกับญาติ พี่เลี้ยงหรือนําไปฝากตามสถานรับเลี้ยงเด็กตาง ๆ บางกลุมเลี้ยงลูกแบบเอาใจใส


การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 338 |

มากจนเกินไป คอยชวยเหลืออยูตลอดเวลา ดวยสาเหตุดังกลาวอาจทําใหเด็กไมรูจักการชวยเหลือ ตนเองและจะส ง ผลกระทบแก ตัว เด็ กในอนาคต หลังจากดําเนิน การวิจั ย พบวา กิจ กรรมละคร สรางสรรคเพื่อพัฒนาทักษะการชวยเหลือตนเองในกิจวัตรประจําวันของเด็กกอนวัยเรียน ประกอบไป ดวยชุดกิจกรรม 3 ชุด แยกเปน 12 แผน และพบวาเด็กกอนวัยเรียนที่ไดรับการจัดกิจกรรมละคร สรางสรรคมีการพัฒนาสูงกวากอนทํากิจกรรม รอยละ 100 และเมื่อมาพิจารณาเปนรายดานแลว พบวาเด็กสามารถเขาใจและเรียนรูในเรื่องของดานความสะอาดไดดีที่สุด รองลงมาคือดานการแตงตัว และสุดทายดานการรับประทานอาหารและดานการขับถาย

แนวทางบูรณการละครสรางสรรคกับการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน การสนั บ สนุ น ให เด็ กและเยาวชนไดกลายเปน ผูเลน หรือผูแสดงที่สําคัญ เปน การสงเสริม ความสามารถในการทํางานดวยวิธีการทางศิลปะ สะทอนใหเห็นบทบาทของความเปนพลเมืองที่ใช ปญญาในการแกไขปญหา การบูรณการละครสรางสรรคกับการจัดเรียนการสอนในชั้นเรียนในระดับ การศึกษาชั้นพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ไดแบงออกเปน 8 กลุมสาระการเรียนรู ซึ่งผูเขียนจึงไดนําเสนอแนวทางไวสําหรับผูที่ สนใจ ดังนี้ แนวทางการพัฒนา สงเสริมพัฒนาการดาน รางกาย เสริมสรางทางอารมณเชิง สุนทรียะ ทักษะการเรียนรูทางสังคม

เพิ่มพูนทางดานสติปญญา

บทบาทของละครสรางสรรค เปนเครื่องมือในพัฒนากลไกของ รางกาย เปนเครื่องมือสงเสริมคุณคาของ ความงามดวยกระบวนการทาง ศิลปะ เปนเครื่องมือสงเสริมเรียนรู ทักษะชีวิต สังคม ประวัติศาสตร และสิ่งแวดลอม เปนเครื่องมือสงเสริมความรูทาง สติปญญา

กลุมสาระการเรียนรู กลุมสาระฯสุขศึกษาและพล ศึกษา กลุมสารฯศิลปะ (ศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป) กลุมสาระฯสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมและการงานอาชีพ และเทคโนโลยี กลุมสาระฯ คณิตศาสตร ภาษาไทย วิทยาศาสตรและ ภาษาตางประเทศ


การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 339 |

อย า งไรก็ ตามหลั กสู ตรดั งกลาวไดเปดโอกาสใหส ถานศึ กษาหรือ ครูผูส อนสามารถจั ด ทํ า หลักสูตรสถานศึกษาที่ มีการบูร ณาการกับชุ มชน ทองถิ่น และออกแบบแผนการจั ดการเรีย นรู ใน ระดับชั้นตาง ๆ ไดอยางยืดหยุนโดยคํานึงถึงลักษณะความเหมือนและความแตกตางของผูเรียน ความ เหมาะสมของกิจกรรมตอวัยของผูเรียน การปรับกิจกรรมใหสอดคลองกับอัตลักษณความเปนปจเจก ชน และภูมิปญญาวัฒนธรรม ตลอดจนบริบทของชุมชนหรือสังคม โดยเนนใหผูเรียนเปนศูนยกลาง แหงการเรียนรู สามารถพัฒนาตามความถนัด ความสนใจของผูเรียนไดอยางเต็มศักยภาพ

ละครสรางสรรคในบริบทของการอุดมศึกษาของไทย ปจจุบันสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยไดเปดสอนละครสรางสรรคอยางจริงจังเชนเดียวกับ ตางประเทศในคณะดานศิลปะการแสดง และดานศึกษาสตรหรือครุศาสตร ทั้งระดับปริญญาบัณฑิต และระดั บ บั ณฑิ ตศึ กษา เช น จุ ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัย ศิลปากร และมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ธนสิน ชุตินธรานนท, 2560:205) นอกจากนี้ยังมี หลั กสู ตรแขนงผู ป ระกอบการสั งคมดานการละคร ของสถาบัน อาศรมศิล ปกับ วิทยาลัย กุมุทาลั ย คณะละครมรดกใหมที่มุงผลิตบัณฑิตใหนํากระบวนการของละครไปพัฒนาสังคมไทย อยางไรก็ตามผูเขียนตองการนําเสนอถึงความสําคัญของการบรรจุรายวิชาหรือกิจกรรมละคร สรางสรรคไวในหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ที่มุงผลิตบัณฑิตใหเปนกระบวนกร ศิลปน หรือนักการละคร ใหมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น และสามารถประยุกตใชองคความรูเกี่ยวกับกระบวนการละครไปพัฒนาสังคม และประเทศชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งการบรรจุรายวิชาดังกลาวไวในหลักสูตรระดับอุดมศึกษา เปนการสงเสริมใหบัณฑิตรูจักการนําองคความรูไปชวยเหลือสังคม เพื่อเปนการพัฒนาคนไทยใหเปน มนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรม สามารถอยูรวมกับ ผูอื่นไดอยางมีความสุข อีกทั้งยังเปนการขยายฐานองคความรูใหกับบุคคลโดยทั่วไปไดเขาใจเกี่ยวกับ ลักษณะ และคุณคาของละครสรางสรรคที่เปนมากกวาศิลปะการแสดงเพื่อความบันเทิงอยางที่เขาใจ กันในปจจุบัน

ละครสรางสรรคในมุมมองที่สอดคลองพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ละครสรางสรรคเปนละครที่มิไดมุงเนนความบันเทิงแกผูชม แตเปนละครที่มุงเนนในเรื่องของ กระบวนการที่จะนําไปสูการเรียนรูเปนสําคัญซึ่งมีความแตกตางจากละครเวทีทั้งจุดมุงหมายและ ลั กษณะ โดยครู ผู ส อนจะเป น ผู กระตุน ใหเกิดการแสดงออกเชิงสรางสรรคตามวัตถุป ระสงค ข อง แผนการจัดการเรีย นรู ที่ได กําหนดเอาไว ตลอดจนสะทอนใหผูรว มกิจ กรรมเห็น ถึงทักษะการอยู รวมกับผูอื่นในสังคม ละครสรางสรรคมีลักษณะจัดการเรียนรูและวัดประเมินผลตามทฤษฎีการเรียนรู


การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 340 |

ของเบนจามิน บลูม โดยผูนํากิจกรรมหรือครูผูสอนจะสังเกตพัฒนาการทั้ง 3 ดาน คือ ดานพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ด า นทั ก ษะพิ สั ย (Psychomotor Domain) และด า นจิ ต พิ สั ย (Affective Domain) ของผูรวมกิจกรรมเปนสําคัญเพื่อใหผูรวมกิจกรรมเปนศูนยกลางในการเรียนรูอยางแทจริง และยังสอดคลองกับกรวยประสบการณการเรียนรูของเอ็กการ เดล ซึ่งเปนประสบการณที่เกิดจากการ เรียนรูในรูปแบบของนาฏการ (ละคร) ถือวาเปนการเรียนรูในเชิงรุก (Active) ดังนั้น จะสังเกตเห็นไดวาทั้งกระบวนการจัดการเรียนรูและการวัดและประเมินผลในละคร สรางสรรคสอดคลองกับหลักการและแนวทางการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ 2542 ที่กําหนดไวในมาตรา 6 ที่วาดวยเรื่องของการพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งทางดาน รางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา รวมไปถึงกระบวนจัดการเรียนรูที่พึงประสงคในมาตรา 24 ที่วาดวยเรื่องของการจัดเนื้อหาสาระใหสอดคลองตามความสนใจของผูเรียน ฝกทักษะการคิด การ จัดการปญหา กลาเผชิญกับสถานการณ เรียนรูจากประสบการณจริง สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงาม จัดบรรยากาศการเรียนรูที่เอื้อตอการเรียนรูเพื่อการพัฒนาอยางเต็มศักยภาพอยาง สม่ําเสมอ สวนการวัดและประเมินผลยังสอดคลองกับมาตรา 26 ที่วาดวยเรื่องของการประเมินผูเรียน นั้นควรพิจารณาถึงพัฒนาการ ความประพฤติ พฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรม และทดลองการ จัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับผูเรียน แตอยางไรก็ตามปาริชาติ จึงวิวัฒนาภรณ (2546:2) ยังไดกลาว ว า ระบบการศึ ก ษาของไทยที่ ผ า นมามั ก มองขา มความสํ า คัญ ของการใชก ระบวนการของละคร สรางสรรคในการสรางประสบการณการเรียนรู ละครสรางสรรคถูกใชเปนเพียงแคสื่อในการเสริม กิจกรรมมากกวาจะเปนวิธีการเรียนรู

บทสรุป กระบวนการจั ดการเรี ย นรูและการวัดและประเมิน ผลในละครสรางสรรคส อดคล อ งกั บ หลักการและแนวทางการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ป พ.ศ. 2542 แกไข เพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 และฉบับที่ 3 พ.ศ. 2553 ทั้งบริบทของการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ซึ่งสามารถใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนใหเปนมนุษยที่ สมบูรณไดหลากหลายมิติทั้งทางดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา โดยกระบวนการดังกลาว เนนใหผูเขารวมกิจกรรมเปนศูนยกลางแหงการเรียนรูที่สะทอนใหเห็นถึงทักษะการอยูรวมกับผูอ่ืนใน สั งคมอั น จะนํ า ไปสู ความเข า ใจตนเองและผูอื่น ไดอยางถองแทผานเรื่องราวที่รวมกัน แตงขึ้นและ แสดงออกในลักษณะบทบาทสมมุติอยางสรางสรรค


การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 341 |

เอกสารอางอิง กระทรวงศึกษาธิการ (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพ.ศ. 2542 ที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ: องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ. กิ ต ติ รั ตน ปลื้ มจิ ตร และพฤหั ส พหลกุล บุตร. (ม.ป.ป.). เมล็ดพัน ธุแหงปญ ญา การเดิน ทางของ เยาวชน บนหนทาง นั ก การละครสะท อ นป ญ ญา. กรุ ง เทพฯ: มู ล นิ ธิ สื่ อ ชาวบ า น (มะขามปอม) โกมล ศรีทองสุข. (2560). กิจกรรมละครสรางสรรคเพื่อพัฒนาทักษะการชวยเหลือตนเองในกิจวัตร ประจําวันของเด็กกอนวัยเรียน. หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาศิลปการแสดง ศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. จรรยา ชูสุวรรณ. (2559). ประสิทธิผลละครสรางสรรคเพื่อพัฒนาทักษะภาษาไทย ของนักเรียนชั้น ประถมศึ ก ษาป ที่ 5. หลั ก สู ต รปริ ญ ญานิ เ ทศศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช านิ เ ทศศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ฐานชล จันทรเรือง. (2556, กันยายน-ธันวาคม). วารสารวิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร. มหาวิทยาลัยบูรพา. ปที่ 21 ฉบับที่ 37 ( ก.ย.-ธ.ค. 2556 ) หนา175-176. ธนสิ น ชุ ติ น ธรานนท . (2560, ตุ ล าคม-ธั น วาคม).วารสารวิ ช าการมหาวิ ท ยาลั ย หอการค า ไทย มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร. ปที่ 37 ฉบับที่ 4 ( ต.ค.-ธ.ค. 2556 ) หนา 195-207. ปาริชาติ จึงวิวัฒนาภรณ. (2547). ละครสรางสรรคสําหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จํากัด. ภารณี คุรุวัฒนะ. (2526). ละครสรางสรรคสําหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัย ศรี-นครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. รัศมี เผาเหลืองทอง และ พนิดา ฐปนางกูร. (2548). นโยบายการสงเสริมศิลปะการละครเพื่อการ พัฒนาเยาวชน. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. รุงอรุณ ไสยโสภณ. (2551). การศึกษาทางเลือก. ใน เอกสารสาระหลักการและแนวคิดประกอบการ ดําเนินงาน กศน.: คัมภีร กศน. (หนา 31-32). กรุงเทพฯ: สํานักงานสงเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. วิรัตน ผดุงชีพ. (2560). วิชาการศึกษา. เชียงใหม: บริษัท วี วี บุคส เอ็ดยูเคชั่น. สุ ช าดา จั ก รพิ สุ ท ธิ์ แ ละคณะ. (2548). การศึ ก ษาทางเลื อ ก: โลกแห ง การเรี ย นรู น อกโรงเรี ย น. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. สุดาพร นิ่มขํา. (2560). ละครสรางสรรคเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของเด็กกําพราที่ไดรับผลกระทบ จากเอดส. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.


การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศนเชิงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปกรรมศาสตร | 342 |

หทั ย ชนก พรรคเจริ ญ . (2555). เทคนิ ค การเลื อ กตั ว อย า งแบบบั ง เอิ ญ . ใน โครงการสั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติการ การเตรี ย มความพรอ มคณะอนุก รรมการสถิติร ายสาขาของสํานั กงานสถิ ติ แหงชาติ. หนา 29-30. กรุงเทพฯ: สํานักงานสถิติแหงชาติ. อุทัยวรรณ ปนประชาสรร. (2540). การละครสําหรับครูประถม. กรุงเทพฯ: ภาควิชาหลักสูตรและการ สอน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.