อะตอมและโครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom)
Miss CHADAMAS SRICHANAWAT
แบบจาลองอะตอมในยุคเริม่ ต้น O C John Dalton: สสารประกอบด้วยอนุภาคที่เล็ก ที่สุดคืออะตอม ซึ่งแบ่งแยกไม่ได้ อะตอมของธาตุ เดียวกันจะเหมือนกัน และอัตราส่วนของอะตอม CO CO ในสารประกอบมีอัตราส่วนที่แน่นอน JJ Thompson: อะตอมเป็นทรงกลมของประจุบวก - และมีอิเล็กตรอนฝังอยู่ทั่วทรงกลม - - Ernest Rutherford: อะตอมมีอนุภาคประจุบวก รวมอยู่ที่แกนกลางเรียก นิวเคลียส และมี อนุภาคประจุลบ(อิเล็กตรอน) วิ่งอยู่รอบ ๆ + ปริมาตรส่วนใหญ่ของอะตอมเป็นที่ว่าง - ++ 2
-
2
ส่วนประกอบของอะตอม อนุภาคหลักในอะตอมคือ
โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน ปัจจุบน ั ได้มกี ารตรวจพบอนุภาคอืน่ ๆหลายร้อยชนิดในอะตอม
ชนิดของอะตอมกาหนดโดยจานวนโปรตอน (เลขอะตอม) มวลของอะตอมกาหนดหยาบๆ โดยจานวนจานวนโปรตอนและ นิวตรอน เรียกว่า เลขมวล มวลจริง(เฉลีย่ )ของอะตอมหาได้จากเลข มวลอะตอม (atomic mass) ซึ่งดูได้จากตารางธาตุ 3
อนุภาคในอะตอม อนุภาค
ประจุ หน่ วย คูลอมบ์
มวล amu
g
อิเล็กตรอน
-1
1.6 x 10-19
0.000549
9.110 x10-28
โปรตอน
+1
1.6 x 10-19
1.007277
1.673x10-24
นิวตรอน
0
0
1.008665
1.675x10-24
amu = atomic mass unit = (1/12) mass of one 12C atom 1.67377 x 10-24 g 4
สัญลักษณ์ธาตุ (Atomic Symbols) A c X: ตัวย่อของชือ่ ธาตุ Z Z: เลขอะตอม (Atomic number) จานวนโปรตอน A: เลขมวล (Atomic Mass number) จานวนโปรตอน+นิวตรอน c: ประจุ จานวนโปรตอน = Z จานวนนิวตรอน = A-Z จานวนอิเล็กตรอน = Z-(c) Isotope: ธาตุชนิดเดียวกันแต่เลขมวลต่างกัน (นิวตรอนไม่เท่ากัน) Isotone: ธาตุต่างชนิดกันแต่มจี านวนนิวตรอนเท่ากัน Isobar: ธาตุตา่ งชนิดกันแต่มเี ลขมวลเท่ากัน
X
5
ตัวอย่ างสัญลักษณ์ ธาตุ 12 6 13
C Carbon C Carbon 13 N Nitrogen
Cl Cl 2 Mg 56 2 26 Fe
6p 6n 6e 6p 7n 6e 7p 6n 7e
Chlorine
17p 17e
Chloride ion
17p 18e
Magnesium ion 12p 10e Iron (II) ion
26p 30n 24e 6
จุดเริ่มต้นของทฤษฎีใหม่ ทฤษฎี classical mechanics ล้มเหลวใน การอธิบายระบบบางระบบเช่น Blackbody radiation Photoelectric effect Line Spectrum
7
การแผ่รงั สีของวัตถุดา (Black Body Radiation) วัตถุดา(blackbody) คือวัตถุที่สามารถดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ ในทุกช่วงความถี่ (ไม่มีการสะท้อน) และสามารถแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EM) ออกมาในทุกช่วงความถี่ที่ความเข้มต่าง ๆ กัน รังสีทสี่ ะท้อน ออกมาทาให้เรา มองเห็นวัตถุเมือ่ มี แสงตกกระทบ
การดูดกลืนและสะท้อนคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
รังสีทแี่ ผ่ออกมาทาให้ วัตถุเปล่งแสง* (ขึน้ กับความถีท่ ี่ แผ่ ออกมา) Energy
การดูดกลืนพลังงาน* และแผ่คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า 8
การแผ่รงั สีของวัตถุดา การแผ่รงั สีของวัตถุดาขึน้ กับอุณหภูมิ ที่อุณหภูมิต่า วัตถุจะแผ่รังสี
ความถีต่ ่า เช่น IR มาก ที่อุณหภูมิสงู วัตถุจะแผ่รงั สี Visible (เปล่งแสง)หรือ UV ออกมามาก
Classical mechanic ไม่ สามารถอธิบายพฤติกรรม ของวัตถุดาได้ โดยเฉพาะที่ อุณหภูมสิ งู ๆ
9
กาเนิดของทฤษฎีควอนตัม Max Planck สามารถอธิบายการแผ่ รังสีของวัตถุดาได้ โดย อาศัยสมมติฐานว่ า ในวัตถุดามีตัวสั่น (oscillator) มากมาย ตัวสั่นแต่ ละชนิดจะ ดูดกลืนและแผ่ คลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้าที่ความถี่เฉพาะเท่ านัน้ เมื่อตัวสั่นเกิดการสั่น มันจะแผ่ พลังงานออกมาในรู ปคลื่น แม่ เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีลักษณะเป็ นก้ อนเรียกว่ า ควอนตัม โดย พลังงานขึน้ กับความถี่ ()
E = h
h
h = Planck’s constant = 6.626 x 10-34 Js = ความถี่ (s-1) 10
Photoelectric Effect อัลเบิรต์ ไอน์สไตน์ เสนอว่าแสงเป็นก้อนพลังงาน (photon)
อนุภาคแสง 1 โฟตอน ทีม่ คี วามถี่ มีพลังงาน E = h (1 ควอนตัม) ถ้าโฟตอนทีก่ ระทบกับผิวโลหะมีพลังงานมากเพียงพอ ( threshold frequency) จะทาให้อเิ ล็กตรอนหลุดจากผิวโลหะได้ (photoelectron) พลังงานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอนขึน้ กับความถีข่ องแสงทีต่ กกระทบ Light
vacuum
e
A
11
สเปกตรัม(Spectrum) แสงทีม่ องเห็นประกอบด้วยคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งอาจมีความยาว Sun light คลืน่ ต่าง ๆ กัน สเปกตรัมต่อเนือ่ ง: แสงสีขาว ประกอบไปด้วยแสงสีม่วงจนถึง สีแดงซึ่งมีความยาวคลื่นต่างกัน สเปกตรัมเส้น (สเปกตรัมของ อะตอม) แสงที่ประกอบด้วยคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าความถี่เฉพาะและ ไม่ต่อเนื่องจานวนหนึ่ง
H
He
Hg
U
12
สเปกตรัมของไฮโดรเจน เมื่ออะตอมไฮโดรเจนได้รบั พลังงาน จะเปล่งคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าออกมา ทีม่ คี วามถีเ่ ฉพาะตัว
Energy
H
J.R.Rydberg เสนอสมการสาหรับหาสเปกตรัมของ Hatom ที่ความยาวคลื่นต่างๆ ทุกชุด 1 1 1 1.09678 10 2 2 cm n1 n2 1
5
1.09678 x 105 = ค่าคงที่ของ Rydberg n1 , n2 เป็นเลขจานวนเต็ม และ n2 > n1 13
แบบจาลอง H-atom ของBohr (1) Niels Bohr เสนอแบบจาลองอะตอมโดยอาศัยทฤษฎีของ Planck 1. e- เคลือ่ นทีใ่ นวงโคจรรอบนิวเคลียสเป็นวงกลมโดยมีโมเมนตัม เชิงมุมเป็นจานวนเท่าของค่าคงทีม่ ลู ฐานค่าหนึง่ คือ ค่าคงทีข่ อง Planck (h) The Bohr model of Hydrogen atom
h mvr n n 2
proton
e– เคลือ่ นทีโ่ ดยไม่สญ ู เสียพลังงาน
และอยูใ่ นสถานะคงตัว n บอกระดับพลังงาน
n=1 n=2 n=3
electron 14
แบบจาลอง H-atom ของBohr Bohr เสนอสมการหา En ของอิเล็กตรอนของอะตอม H 2 2 me Z 2 e 4 1 E 2 2 h n 2 2 4 2 m Z e e เมื่อ Z=1 (H atom) 13.605 eV 2 h 1 En 13.605 2 eV n
15
แบบจาลอง H-atom ของBohr (2) 2. ถ้ าอิเล็กตรอนเปลี่ยนวงโคจร จะมีการดูดหรื อคายพลังงาน ถ้ าเปลี่ยนจากระดับ ni ไป nf s E = Enf Eni = hrad –1
nf > ni Enf > Eni , E > 0 ดูดพลังงาน nf < ni Enf < Eni , E < 0 คายพลังงาน
n=4 n=3
2 1 nucleus electron
พลังงาน
3
Balmer Series (UV/VIS)
n=2
คายพลังงาน E= E4-E2 Lyman Series (UV)
n=1 16
ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจน อิเล็กตรอนมีพลังงานเป็นลบแสดงว่า อิเล็กตรอนกับโปรตอนมีแรงดึงดูดกัน อิเล็กตรอนยิ่งมีพลังงานมากยิ่งมี อิสระเสรีในการเคลื่อนที่มาก (หนี ห่างจากนิวเคลียสมากขึ้น)
1 En 13.605 2 eV n
17
แบบจาลอง H-atom ของBohr สมการหารัศมีวงโคจรที่มีระดับพลังงาน n 2 rn n a0 a0 รั ศมีข องBohr 0.529 10
10
m 0.529 A
สมการสาหรับหาสเปกตรัมของ H-atom 1 1 1 1.09737 10 2 2 cm n f ni เมือ่ n f ni 1
5
18
แบบจาลอง H-atom ของBohr ข้อจากัดของแบบจาลองของ Bohr
ใช้ได้กับอะตอมหรือไอออนที่มี e- ตัวเดียว เช่น H, He+ ,
Li2+ ตัวอย่าง จงคานวณหาความยาวคลื่นและพลังงานของรังสีที่H-atom - ตกจาก n = 3 มายัง n = 2 เปล่งออกมา เมื อ ่ e 1 1 5 1 1
1.09737 10 2 2 15241.25 cm 2 3 1 1 cm 6.561110 5 cm 6.561110 7 m 15241.25 1 1 1 1 E Enf Eni 13.605 2 2 13.605 2 2 eV n 2 3 f ni 1.8896 eV คายพลังงาน
19
สมมติฐานของเดอบรอยล์ Louis de Broglie เสนอว่าสสารมีสมบัติเป็นทั้งคลื่นและ อนุภาคในเวลาเดียวกัน (wave-particle duality) ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติความเป็นคลื่นและอนุภาคอธิบาย โดย สมการความยาวคลื่นของเดอบรอยล์ hc
h E cp p
h mv
อนุภาคที่มีมวลน้อย (เช่น อิเล็กตรอน) จะแสดงสมบัติความเป็น
คลื่นชัดเจน (อิเล็กตรอนสามารถเลี้ยวเบน แทรกสอดได้ดี) เดอบรอยล์เสนอแบบจาลองอะตอมว่าอิเล็กตรอนเป็นคลื่นนิ่ง เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสในวงโคจรที่เสถียร
20
ออร์บทิ ลั ของอะตอม (Atomic Orbital) ออร์บิทัลคือที่อยู่ของอิเล็กตรอนหรือบริเวณที่มีโอกาสพบ อิเล็กตรอน พลังงานของอิเล็กตรอนขึ้นกับระดับพลังงานของออร์บิทัล ออร์บิทัลมีได้หลายแบบ แตกต่างกันที่ รูปร่าง ขนาด
ระดับพลังงาน ทิศทาง
ชนิดของออร์บิทัลกาหนดโดยเลขควอนตัม (n, l, ml) แต่ละออร์บิทัลสามารถมีอิเล็กตรอนได้มากที่สุดสองตัว (อาจ ไม่มีเลยก็ได้) อิเล็กตรอนที่อยู่ในออร์บิทัลเดียวกัน สามารถระบุโดยใช้เลข ควอนตัมสปิน (ms) 21
เลขควอนตัม (Quantum Numbers) ผลเฉลยของสมการคลื่นของโชรดิงเจอร์เกี่ยวข้องกับเลขควอนตัม 1. เลขควอนตัมหลัก (n) เลขจานวนเต็มบวก: 1,2,3… บอกระดับพลังงานหลัก / ขนาดของออร์บิทัล (rn-e)
2. เลขควอนตัมเชิงมุม (l)
เป็นเลขจานวนเต็มขึ้นกับค่า n มีคา่ ตั้งแต่ 0,1,2… , n-1 มีชื่อเรียกเฉพาะสาหรับ l คือ 0s 1p 2d 3f 4g 5h … บอกระดับพลังงานย่อย / รูปร่างของออร์บิทัล
3. เลขควอนตัมแม่เหล็ก (ml)
เป็นเลขจานวนเต็มขึ้นกับค่า l มีค่าตั้งแต่ -l, -l-1,…, 0,…, l-1, l บอกทิศทางการวางตัวของออร์บิทลั /ระดับพลังงานย่อยในสนามแม่เหล็ก
4. เลขควอนตัมสปิน (ms)
มีค่า + ฝ , - ฝ บอกทิศทางการหมุนรอบตัวเองของ e- (ตาม/ทวนเข็มนาฬิกา) 22
เลขควอนตัม ชุดของเลขควอนตัม (n,l,ml,ms) มีไว้เพือ่ ระบุอเิ ล็กตรอน
n บอกว่าอิเล็กตรอนอยู่หา่ งจากนิวเคลียสเท่าใด l และ ml บอกว่าบริเวณทีจ่ ะพบอิเล็กตรอนรอบๆนิวเคลียสมี รูปร่างอย่างไร ms บอกว่าอิเล็กตรอนมีทิศทางการหมุนอย่างไร พลังงานของอิเล็กตรอนขึ้นกับพลังงานของออร์บิทลั (n,l,ml) ที่ มันอาศัยอยู่
23
ตัวอย่าง
เลขควอนตัมที่เป็นไปได้ถา้ n=2 2
n
s
l ml
เลขควอนตัม
p
(l=0)
0
ms -ฝ, ฝ
–1 -ฝ, ฝ
2,0,0,-ฝ
(l=1)
l
0 -ฝ, ฝ
+1 -ฝ, ฝ
2,0,0, ฝ
=0 2,1,-1,-ฝ
n–1
2,1,-1, ฝ
ml 2,1,0,-ฝ = –l l 2,1,0, ฝ
ms2,1,1,-ฝ = –ฝ,+ฝ 2,1,1, ฝ
จานวนออร์บิทัล (ดูจาก ml ทั้งหมด) = 4 จานวนอิเล็กตรอนทั้งหมดที่เป็นไปได้ = 8
(ดูจากจานวนชุดของเลขควอนตัมซึง่ เท่ากับ 2 เท่าของจานวนออร์บิทลั ) 24
จานวนออร์บทิ ลั และอิเล็กตรอน atomic orbital
n=1
1s
n=2
2s 2p(3)
n=3
3s 3p(3)
3d(5)
n=4
4s 4p(3)
4d(5)
4f(7)
32e–
n=5
5s 5p(3)
5d(5)
5f(7) 5g(9)
50e–
n l (จานวน ml)
2e–
8e– 18e–
25
รูปร่างของออร์บทิ ลั -- s orbitals 1. s-orbital (l = 0; ml = 0) รูปร่างของออร์บิทัลเป็นทรงกลม
ค่า n เพิ่มขนาดออร์บิทัลเพิ่ม ขนาด 1s 2s 3s 4s
1s 2s
1s
…
2s 26
รูปร่างของออร์บทิ ลั -- p orbitals 2. p-orbital (l = 1; ml = +1, 0, -1) ลักษณะเป็นรูปดัมเบลหรือ lobe 2 lobe p-orbital มี 3 ออร์บิทัล px py pz ค่า n เพิ่มขนาดออร์บิทัลเพิ่ม ml = -1 (px)
z
ml = +1 (pz)
ml = 0 (py)
x
27
รูปร่างของออร์บทิ ลั -- d orbitals 3. d- orbital (l = 2; ml = +2,+1, 0,-1,-2) ลักษณะเป็นรูปดัมเบลคู่ หรือ lobe 4 lobe
d-orbital มี 5 ออร์บิทลั lobe อยู่ระหว่างแกน xy, xz, yz เรียกว่า dxy, dxz, dyz
orbitals lobe อยู่บนแกน xy เรียกว่า dx2 -y2 orbital lobe อยู่บนแกน z เรียกว่า dz2 orbital
dz2
dxy, dxz, dyz, dx2-y2 28
รูปร่างของออร์บทิ ลั -- d orbitals รูปร่างของ d-orbital
29