Rubber

Page 1

ความรู้ พนื้ ฐานเกีย่ วกับยาง มิสชฎามาศ ศรี ชนะวัฒน์ ครู ผู้สอน วิทยาศาสตร์ สั งกัด มัธยมศึกษา

21/01/56

1


ยางคืออะไร ? ยางคือพอลิเมอร์ (Polymer) ชนิดหนึ่ง POLY (มาก) + MER (หน่วย)

----

----

โมเดลแสดงสายโซ่ โมเลกุลยาง 1 โมเลกุล ดังนั้น Polymer คือวัสดุ ที่มีโมเลกุลยาว ที่เกิดจากการ รวมกันของหน่วยเล็ก ๆ หลาย ๆ หน่ วย โดยเรี ยกหน่ วย เล็ก ๆ ที่มารวมกันนี้วา่ มอนอเมอร์(monomer) 21/01/56

2


พอลิเมอร์ โฮโมพอลิเมอร์ (Homopolymer)

ยางธรรมชาติ (NR) ยางบิวตาไดอีน (BR) ยางคลอโรพรีน (CR) 21/01/56

โคพอลิเมอร์ (Copolymer)

ยางสไตรีนบิวตาไดอีน (SBR) ยางไนไตร์ ล (NBR) ยางเอทิลนี โพรพิลนี ไดอีนมอนอเมอร์ (EPDM) ยางบิวไทล์ (IIR) 3


พอลิเมอร์ จะมีสมบัติเป็ นยางได้ กต็ ่ อเมือ่ ต้ องประกอบไปด้ วยสายโซ่ พอลิเมอร์ ทยี่ าวและหักงอได้ ต้ องมีอณ ุ หภูมกิ ารเปลีย่ นสถานะคล้ายแก้ว (Glass transition temperature, Tg) ต่ามาก ๆ สายโซ่ โมเลกุลอยู่ร่วมกันอย่ างไม่ เป็ นระเบียบ (amorphous) ต้ องมีจุดเชื่ อมโยง

21/01/56

Physical crosslink

Chemical crosslink

4


สมบัตทิ ั่วไปของยาง

F

ยางเป็ นพอลิเมอร์ ที่มีสมบัตเิ ด่ นหลายประการดังนี้ „ ความยืดหยุ่น (elasticity) หรือยืดหดได้ „ ความเหนียว (toughness) „ ต้ านทานการขัดถู (abrasion resistance) „ เชื่อมติดกับวัสดุอนื่ ๆได้ (bonding) 21/01/56

5


ประเภทของยาง ยางดิบ ยางธรรมชาติ นา้ ยาง

ยางสังเคราะห์

ยางแห้ ง

นา้ ยาง

ยางแห้ ง

กระบวนการผลิต 21/01/56

ผลิตภัณฑ์ ยาง (ยางคงรู ป) 6


ยางธรรมชาติ (Natural Rubber) น้ ายางข้น 60% DRC

Hevea Brasiliensis

น้ ายาง (latex) 30% DRC Centrifuge+NH3 รมควัน

acid

ยางแห้ง

ถุงยางอนามัย

ยางแผ่นรมควัน

ถุงมือยาง

ยางรถยนต์

ยางรถยนต์

จุกหัวนม

ยางรถบรรทุก

ชิ้นส่ วนรถยนต์

ยางล้อเครื่ องบิน

ฯลฯ

21/01/56

ยางแท่ง STR 5L, 5, 10, 20

7


ยางสังเคราะห์ (Synthetic Rubber) SBR

ยางล้อรถยนต์

21/01/56

BR

โมโนเมอร์ Polymerization ยางสังเคราะห์ NBR

CR

O-ring

สายพาน

ยางท่อน้ ามัน

ท่อยาง

ประเก็นน้ ามัน

กาวยาง

ยางขอบหน้าต่าง

EPDM ยางชิ้นส่วนรถยนต์ เช่น ยางขอบหน้าต่าง แก้มยางรถยนต์ ท่อ ยางหม้อน้ า

etc. Silicone

IR Butyl 8


ตารางเปรียบเทียบสมบัตขิ องยางแต่ ละชนิด สมบัติ ทนต่ อแรงดึง (ไม่มสี ารเสริมแรง) ทนต่ อแรงดึง (มีสารเสริมแรง) ทนต่ อการขัดถู ทนต่ อความร้ อน ทนต่ อแสง UV ทนต่ อโอโซนและสภาพอากาศ ทนต่ อนา้ มัน ทนต่ อกรดและด่ าง ความเป็ นฉนวนไฟฟ้า การซึมผ่านของก๊ าซ 21/01/56

ชนิดของยาง NR IR SBR BR NBR CR (X)IIR EPDM 1 2 5 6 5 3 4 5 1 2 2 4 2 2 3 3 4 4 3 1 2 3 4 3 5 5 4 4 3 3 3 2 4 4 3 3 3 2 2 1 4 4 4 3 3 2 2 1 6 6 5 6 1 2 6 4 3 3 3 3 4 2 2 1 1 1 2 2 5 4 2 2 5 5 4 4 2 3 1 4

หมายเหตุ 1 : ดีมากทีส่ ุ ด 6 : ด้ อยทีส่ ุ ด

9


กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ยาง การออกสู ตรยาง การผสมยาง

การรี ดยางให้เป็ นแผ่น การขึ้นรู ปยาง การทาให้ยางคงรู ป การตกแต่งผลิตภัณฑ์ยาง 21/01/56

10


การออกสู ตรเคมียาง ปัจจัยที่ตอ้ งพิจารณาในการออกสู ตรเคมียาง สภาวะการใช้งานของผลิตภัณฑ์ ต้นทุนการผลิต กระบวนการผลิต

คุณภาพดี

วิทยาศาสตร์ และศิลปะ

ราคาถูก 21/01/56

11


องค์ประกอบของการผสมเคมียาง 1. ยาง (rubber) 2. สารทาให้ยางคงรู ป (vulcanizing agent) 3. สารตัวเร่ งปฏิกิริยา (accelerator) 4. สารกระตุน้ และสารหน่วงปฏิกิริยา (activator and retarder) 5. สารป้ องกันการเสื่ อมสภาพ (antidegradant) 6. สารตัวเติม (filler) 7. สารทาให้ยางนิ่มและสารช่วยในกระบวนการผลิต (plasticizer and processing aid) 8. องค์ประกอบอื่น ๆ (miscellaneous ingredients) 21/01/56

12


ตัวอย่างสู ตรเคมีที่ใช้ในการผลิตดอกยางรถยนต์ องค์ ประกอบ ยาง SBR ยาง BR ZnO stearic acid CB (N234) Aromatic oil 6PPD Wax TBBS DPG 21/01/56 Sulfur

หน้ าที่ ยาง ยาง สารกระตุ้น สารกระตุ้น สารตัวเติมเสริมแรง สารทาให้ ยางนิ่ม สารป้ องกันการเสื่อมสภาพ สารป้ องกันการเสื่อมสภาพ สารตัวเร่ งปฏิกริ ิยาหลัก สารตัวเร่ งปฏิกริ ิยารอง สารทาให้ ยางคงรู ป

ปริมาณ (phr) 70 30 3 1.5 55 20 2 0.5 1 0.4 13 1.8


การผสมยาง จุดประสงค์ : เพื่อให้ส่วนประกอบ (สารตัวเติมและสารเคมีต่าง ๆ) ผสมเข้าไปในเนื้อยางได้อย่างทัว่ ถึง มีการกระจายตัว (distribution) และการแตกตัว (dispersion) ที่ดี CB 1 pellet Incorporation Distribution Dispersion

Masticated Rubber 21/01/56

1 agglomerate

1 aggregate

14


องค์ ประกอบสาคัญของการผสม (4M) ยางและสารเคมี (Materials)

เครื่ องผสม (Machinery) กระบวนการผสม

วิธีการผสม (Method) 21/01/56

ผูป้ ฏิบตั ิงาน (Man) 15


การคงรู ป (Curing or Vulcanisation) “การทาให้ยางคงรู ป” : การทาให้ยางมีโครงสร้างตาข่าย 3 มิติ เพื่อ ทาให้ยางมีรูปร่ างที่เสถียร มีความยืดหยุน่ สู งขึ้น พร้อมทั้งปรับ ปรุ งสมบัติดา้ นต่าง ๆ ของยาง เช่น ความทนต่อแรงดึง ความทน ทานต่อการฉีกขาด และความต้านทานต่อการขัดถู เป็ นต้น 21/01/56

16


โมเดลแสดงการคงรูปของยาง

Heat สารเคมี โมเลกุลยางก่อนการคงรู ป 21/01/56

โมเลกุลยางหลังการคงรู ป 17


สรุปขั้นตอนการผลิตชิ้นงานยางในโรงงานอุตสาหกรรม ยางและสารเคมี

เครื่ องผสม

ลูกกลิ้ง

การขึ้นรู ป

แม่พิมพ์

21/01/56

อบคงรู ป

อัดผ่านดาย

อบคงรู ป

เครื่ อง Calender 18


การทดลอง การออกสู ตรเคมียาง ลักษณะการวัลคาไนซ์

ยางคอมพาวด์

ความหนืดมูนนี่

ยางวัลคาไนซ์

ความทนทานต่อการฉี กขาด

ความทนทานต่อการล้าตัว

สมบัติแรงดึง 21/01/56

การบวมพองในน้ า

ความแข็ง

19


การทดลอง การออกสู ตรเคมียาง ลักษณะการวัลคาไนซ์

ยางคอมพาวด์

ความหนืดมูนนี่

การเสี ยรู ปถาวรหลังกด

ยางวัลคาไนซ์

การบวมพองในน้ า

ความต้านทานการขัดถู

ความทนทานต่อการฉี กขาด สมบัติแรงดึง 21/01/56

ความทนความร้อน/โอโซน

ความแข็ง

20


THANK YOU 21/01/56

21


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.