เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี
การเกิดปฏิกริ ิยาเคมี หมายถึง กระบวนการ ที่สารตัง้ ต้นเปลี่ยนไปเป็น สารผลิตภัณฑ์
ปฏิกริ ยิ าเคมี หมายถึง การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ กับสารแล้ว ส่งผลให้ได้สารใหม่ทมี่ คี ณ ุ สมบัตเิ ปลีย่ นไปจากเดิม โดยในการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี จะต้องเกิดจากสารตัง้ ต้น (reactant) ทาปฏิกริ ยิ ากัน แล้วเกิดเป็นสารใหม่ เรียกว่า ผลิตภัณฑ์ (product)
ปฏิกริ ยิ าเคมีมหี ลายชนิด เมือ่ เกิดปฏิกริ ยิ ามีการเปลีย่ นแปลงที่ สังเกตเห็นได้ คือ มีฟองแก๊ส ตะกอน หรือความ ร้อนเกิดขึน้ หรือสีของตะกอนเปลีย่ นไป อุณหภูมิ เพิ่มขึ้นหรือลดลง
* ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ แล้วให้พลังงานความร้อนออกมา เรียกว่า ปฏิกริ ยิ าคายความร้อน * ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ แล้วให้ความร้อนกับสิง่ แวดล้อม ทาให้สภาพแวดล้อมมีอณ ุ หภูมลิ ดลง เรียกว่า ปฏิกริ ยิ าคายความร้อน
ปฏิกริ ยิ าเคมีแบ่งออกได้ 5 ชนิด ได้แก่ 1. ปฏิกิริยาการรวมตัว 2. ปฏิกิริยาการสลายตัว 3. ปฏิกิริยาการแทนที่เชิงเดี่ยว 4. ปฏิกิริยาการแทนที่เชิงคู่ 5. ปฏิกิริยาสะเทิน
A +Z -------> AZ AZ -------> A +Z A + BZ -------> AZ + B AX+BZ -------> AZ + BX HX+BOH -------> BX + HOH
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
ปฏิกริ ยิ าการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต ( NaHCO3 )
โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตหรือโซเดียมไบคาร์บอเนต หรือ เรียกกันทั่วไปว่า โซดาทาขนม เป็นสารเคมีที่นามาใช้ ประโยชน์อย่างกว้างขวาง เช่น ทาคาราเมล ใส่ในน้าต้มผักทา ให้ผักมีสีเขียว ใช้เป็นส่วนผสมของผงฟู
ผงฟูเมื่อได้รับความร้อน โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต จะ สลายให้ CO2 ดังนี้
2NaHCO3
ความร้อน
Na2CO3
+
H2O
+
CO2
ประโยชน์ในการดับไฟป่า โดยโปรยผง NaHCO3 จากเครื่องบินลงบริเวณเหนือ ไฟป่า ความร้อนจากไฟป่าจะทาให้สาร NaHCO3 สลายตัว ให้แก๊ส CO2 ดังนี้ 2NaHCO3
ความร้อน
Na2CO3
+
H2O
+
แก๊ส CO2 ที่เกิดขึ้นเป็นแก๊สที่หนักกว่าอากาศ จึงปก คลุมไม่ให้เชื้อเพลิงได้รับแก๊สออกซิเจน ทาให้บรรเทาหรือ หยุดการเผาไหม้ลงได้
CO2
ปฏิกริ ยิ าการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ( H2O2)
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ เป็นสารใช้ฟอกสีผมและฆ่าเชื้อ โรค โดยปกติจะสลายตัวไปเองอย่างช้า ๆ ให้น้าและออกซิเจน เกิดขึ้น ดังสมการ แสงสว่างและความร้อนจะช่วยเร่งให้เกิดการ สลายตัวเร็วขึ้น ดังนั้น จึงต้องเก็บไว้ในทีม่ ืด หรือในภาชนะสี น้าตาลเข้ม และในที่เย็น
2H2O2
2H2O
+
O2
ปฏิกริ ยิ าการสลายตัวของแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3)
ปฏิกิริยาการสลายตัวของหินปูน (CaCO3) ด้วยความร้อน ให้แก๊ส CO2 และปูนขาว ( CaO) นามาใช้ในอุตสาหกรรมการ ผลิตปูนซีเมนต์ ซึ่งมีปูนขาวเป็นส่วนผสมหลัก ปฏิกิริยาระหว่าง หินปูนหรือแคลเซียมคาร์บอเนตกับกรดกามะถันหรือกรดดินประสิว ซึ่งมีอยู่ในฝนกรด เกิดเป็นแคลเซียมซัลเฟต (CaSO4) หรือ แคลเซียมไนเตรต Ca(NO3)2 และแก๊ส CO2 ดังสมการ
ปฏิกริ ยิ าการสลายตัวของแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) CaCO3 CaCO3
+ +
H2SO4 2HNO3
CaSO4
+
CO2
+
H2O
Ca(NO3)2
+
CO2
+
H2O
ปฏิกิริยานี้เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้รูปปั้น รูปแกะสลัก ตึมรามบ้าน ช่อง และสิ่งก่อสร้างที่ทาด้วยหินปูนหรือหินอ่อนเกิดการสึกกร่อน
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ( SO2 ) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์เป็นแก๊สที่ไม่มีสี มีกลิ่นกรด มีจุดเดือด –10 องศาเซลเซียส แหล่งที่มาของซัลเฟอร์ไดออกไซด์มาจาก 2 แหล่งคือ 1. กระทาของมนุษย์ 2. จากธรรมชาติ
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ( SO2 ) แหล่งจากการกระทาของมนุษย์สูงถึง 1/3 ของปริมาณทีม่ าจากแหล่ง ธรรมชาติ สาคัญที่สุดได้แก่ การเผาไหม้เชื้อเพลิง (fossil fuel) เช่นถ่าน หิน และน้ามันปิโตรเลียม เพราะเชื้อเพลิงเหล่านี้มีสารประกอบของซัลเฟอร์ (S) ปะปนอยู่ด้วย ถ่านหินจากบางแหล่งมีปริมาณกามะถันสูงถึงร้อยละ 3 โดยมวล ส่วนน้ามันปิโตรเลียมมีประมาณร้อยละ 0.5 โดยมวลฉะนั้นเมื่อ เผาไหม้เชื้อเพลงที่มีกามะถัน จึงได้แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ดังสมการ
S +
O2
SO2
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ( SO2 ) การเผาไหม้บางครั้งอาจเกิดซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ (SO3 ) ขึ้น บ้างแต่ปริมาณไม่มากนัก ถ้าอากาศชื้นมาก SO2 อาจรวมกับ H2O ไปเป็นกรดซัลฟิวรัส ซึ่งสามารถเปลี่ยนไปเป็นกรดซัลฟิวริกได้ H2SO4 ถ้ากรด H2SO4 ที่ รวมกับน้า กลายเป็นฝนและตกลงมาบนพื้นดินก็จะกลายเป็นฝนกรด
ออกไซด์ของไนโตรเจน ไนโตรเจนสามารถรวมกับออกซิเจนเกิดเป็นออกไซด์ได้หลาย ออกไซด์ ในบรรดาออกไซด์ทงั้ หมดของไนโตรเจน มีเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ NO และ NO2 ที่ปล่อยสู่บรรยากาศเป็นปริมาณโดยน้ามือของมนุษย์ ได้แก่ การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง เช่น การเผาไหม้น้ามันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์หรือ เครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม แก๊ส NO ที่เกิดขึ้น สามารถเกิดปฏิกิริยากับ O2 หรือ O3 ไปเป็นแก๊ส NO2 ซึ่งรวมกับละอองน้าในอากาศหรือน้าฝนไป เป็นกรดไนตริก HNO3 ซึ่งเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทาให้น้าฝนมีสมบัติเป็นกรด จึง ก่อให้เกิดมลภาวะกับสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกับกรดซัลฟิวริก
ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก (Fe2O3.H2O ) สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบ เมื่อเหล็กสัมผัส กับน้าและความชื้น จะค่อย ๆ สึกกร่อน กลายเป็นเหล็กออกไซด์ หรือ ที่เรารู้จักกันว่า สนิมเหล็ก (Fe2O3.H2O ) ดังสมการ
4Fe
+
3O2
+ H2O
2Fe2O3.H2O
The
EnD