หน่วยการเรียนรู ้
สารชีวโมเลกลุ
Miss CHADAMAS SRICHANAWAT
สารชี วโมเลกุล • สารอาหาร คือ ส่ วนที่รับประทานเข้าไปแล้วมีประโยชน์ต่อ ร่ างกาย • สารอาหารที่ให้พลังงานมี 3 ประเภท คือ – คาร์โบไฮเดรต – โปรตีน – ไขมัน
สารชี วโมเลกุล • สารชีวโมเลกุล : สารอินทรี ยท์ ี่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจน เป็ นองค์ประกอบหลัก ประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และกรดนิวคลีอิก
แผนภาพแสดงบทบาททีส่ าคัญของสารชีวโมเลกลุ ในร่ างกาย
เป็ นส่วนหนึ่งในการ รักษาสมดุลของน้ า และกรด-เบส
ใช้ในการเจริ ญเติบโต
บทบาทของ สารชี วโมเลกุล
สลายให้พลังงาน ช่วยให้ผิวหนังชุ่มชื่น สุขภาพผมและเล็บดี
เป็ นส่วนประกอบ ของฮอร์โมน เอนไซม์ และระบบภูมิคุม้ กัน
ถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม
ไขมันและกรดไขมัน กรดไขมันเป็ นกรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร R-COOH ต่ างจากกรดอินทรีย์ทั่วไปคือ • ตรงหมู่ R ส่วนมากเป็ นไฮโดรคาร์บอนที่อิ่มตัวหรื อ ไม่อิ่มตัวก็ได้ • โครงสร้างหมู่ R ส่วนมากเป็ นแบบสายยาว
ไขมันและกรดไขมัน • จานวนอะตอมของคาร์บอนทั้งหมดจะเป็ นเลขคู่เสมอ เพราะกรดไขมันเกิดจากการรวมตัวของคาร์บอนทีละ 2 อะตอมจากโมเลกุลของกรดอะซิติก • จานวนอะตอมของคาร์บอนในกรดไขมันอาจ ประกอบด้วยคาร์บอนตั้งแต่ 12 อะตอมจนถึง 26 อะตอม แต่ที่พบมากที่สุดคือ จานวน 14 , 16 หรื อ 18 อะตอม
ไขมันและกรดไขมัน กรดไขมันแบ่ งเป็ น 2 ชนิดตามโครงสร้ างของหมู่ R คือ • กรดไขมันอิม่ ตัว : เป็ นกรดไขมันที่หมู่ R เป็ น ไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว ประกอบด้วยพันธะเดี่ยว ทั้งหมด มีสูตรเป็ น CnH 2n+1 COOH
• กรดไขมันไม่ อมิ่ ตัว : เป็ นกรดไขมันที่หมู่ R เป็ น ไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว มีพนั ธะคู่ระหว่างคาร์บอน กับคาร์บอน 1 พันธะหรื อมากกว่านั้นอยูใ่ น โครงสร้าง โดยจะมีจานวนอะตอมของ H ลดลงทีละ 2 อะตอม ต่อ 1 พันธะคู่ มีสูตร CnH 2n-1COOH
สมบัตบิ างประการของกรดไขมันอิม่ ตัวและกรดไขมันที่ ไม่ อมิ่ ตัว • กรดไขมันที่อิ่มตัวมีจุดหลอมเหลวสูงกว่ากรดไขมัน ไม่อิ่มตัวเมื่อมีจานวนคาร์บอนเท่ากัน เพราะมวลของ โมเลกุลของกรดไขมันที่อิ่มตัวจะมากกว่ากรดไขมันที่ ไม่อิ่มตัว
• ที่อุณหภูมิหอ้ งกรดไขมันอิ่มตัวมีสถานะเป็ นของแข็ง ส่วนกรดไขมันไม่อิ่มตัวมีสถานะเป็ นของเหลว
• กรดไขมันอิ่มตัวเมื่อมีจานวนอะตอมของคาร์บอนที่มี จานวนพันธะคู่มากจุดหลอมเหลวจะยิง่ ลดลง ตามลาดับ • ไขมันและน้ ามันเป็ นส่วนประกอบเอสเทอร์จากกรด ไขมันกับกลีเซอรอล เรี ยกว่า กลีเซอไรด์ ไขมันที่ได้ จากสัตว์มีลกั ษณะเป็ นของแข็งอ่อน ส่วนน้ ามันที่ได้ จากพืชมีลกั ษณะเป็ นของเหลวที่อุณหภูมิหอ้ ง
• น้ ามันมีสถานะเป็ นของเหลวที่อุณหภูมิหอ้ งเพราะมี ส่วนประกอบมาจากกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัวมากกว่าที่มา จากกรดไขมันอิ่มตัว • กรดไขมันจะมีลกั ษณะแข็งที่อุณหภูมิหอ้ ง เนื่องจากมี ส่วนประกอบที่มาจากกรดไขมันอิ่มตัวมากกว่าที่มาจาก กรดไขมันไม่อิ่มตัว
สมบัตบิ างประการของไขมันและนา้ มัน • ไม่ละลายในน้ า แต่ละลายได้ดีในตัวทาละลายที่เป็ น สารอินทรี ย ์ เช่น เบนซิน และละลายได้เล็กน้อยใน เอทานอล • มีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ าจึงลอยอยูบ่ นผิวน้ า
ปฏิกริ ิยาเคมีของไขมันและนา้ มัน • ปฏิกริ ิยาการรวมตัวของไขมันและนา้ มัน – ปฏิกริ ิยารวมตัวกับไฮโดรเจน โดยมี Ni เป็ นตัวเร่ ง จะได้ไขมัน ซึ่งเป็ นส่วนประกอบที่อิ่มตัว เป็ น ปฏิกิริยาที่ใช้ผลิตเนยเทียมจากน้ ามันพืช
ปฏิกริ ิยารวมตัวกับเฮโลเจน โดยเฮโลเจนจะเข้าทา ปฏิกิริยากับส่วนที่มาจากกรดไขมันไม่อิ่มตัว โดยมี HgCl2 เป็ นตัวเร่ ง ปริ มาณ I2 เป็ นกรัมที่เข้าทาปฏิกิริยาอย่างสมบูรณ์ กับไขมันและน้ ามัน 100 กรัม จะเรี ยกว่า ไอโอดีนนัมเบอร์ น้ ามันจากพืชมีไอโอดีนนัม เบอร์สูงกว่าไขมันจากสัตว์ แสดงว่า ในน้ ามันจาก พืชมีส่วนประกอบที่มาจากกรดไขมันไม่อิ่มตัว มากกว่าไขมันสัตว์ แต่ไขมันสัตว์เกิดการเหม็นหื น ง่ายกว่าไขมันพืชเนื่องจากน้ ามันพืชมีวิตามินอีเป็ น สารกันหืน
การเหม็นหืน : การที่น้ามันมีกลิน่ และรสเปลีย่ นไปจากเดิม • การเหม็นหืน เกิดจากนา้ มันเกิดปฏิกริ ิยา 2 ประเภท ดังนี้ – ปฏิกริ ิยาไฮโดรไลซิส ไขมันหรื อน้ ามันพืชมีน้ า ปะปนอยูจ่ ะเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส โดยมี แบคทีเรี ยเป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยา จะได้กรดไขมันซึ่งทา ให้กลิ่นของน้ ามันพืชและไขมันเปลี่ยนไป
– ปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน เกิดจากออกซิเจนในอากาศ เข้าทาปฏิกิริยาตรงตาแหน่งพันธะคู่ในไขมันและ น้ ามัน โดยมีความร้อนเป็ นตัวช่วยให้เกิดปฏิกิริยา ได้เร็วขึ้น
ประโยชน์ ของไขมันและน้ามัน • ปฏิกริ ิยาสปอนนิฟิเคชัน หรือ การไฮโดรไลส์ ด้วยเบสแก่ : เป็ นปฏิกิริยาการเตรี ยมสบู่ โดยการผสมไขมันหรื อ น้ ามันกับ สลล. โซเดียมไฮดรอกไซด์ และให้ความร้อน โดยผ่านไอน้ าลงในสารผสมเป็ นเวลา 12 ชัว่ โมง แล้ว เติมโซเดียมคลอไรด์ลงไปเพื่อแยกสบู่ออกจาก สลล. ได้ สบู่บริ สุทธิ์แล้วเติมสี กลิ่น และทาให้เป็ นก้อน และ
ได้กลีเซอรอลเป็ นผลพลอยได้จากกระบวนการผลิต สบู่ นาไปใช้ในอุตสาหกรรมเครื่ องสาอาง ใช้เป็ น สารให้ความหวานในอาหารและยา
ชื่ อการทดลอง ประโยชน์ จากไขมัน • จุดประสงค์
การทดลอง ประโยชน์ จากไขมัน วิธีทาการทดลอง • ใส่ น้ ามันมะพร้าวจานวน 20 cm3 ในบีกเกอร์ขนาด 250 cm3 • เติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 2.5 mol/dm3 จานวน 10 cm3 ลงในน้ ามันมะพร้าว คนให้สารผสมกัน • ต้มประมาณ 10 นาที และทิง้ ไว้ให้เย็น • ใช้แท่งแก้วคนสาร เขี่ยไขที่เกิดขึ้นใส่ ในหลอดทดลองขนาดกลาง แล้วทดสอบการเกิดฟองกับน้ ากลัน่ • นาเสนอและสรุ ปผลการทดลอง
ตารางบันทึ กผลการทดลอง การทาปฏิกิริยากับ การทาปฏิกิริยากับน้ากลั่น ชนิดของน้ามัน สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (เกิดฟอง/ไม่เกิดฟอง) แล้วนาไปต้ม 10 นาที
ไข (waxes) ไขที่พบในพืชจะเคลือบอยูท่ ี่ผวิ ของ ผลไม้ ใบไม้และก้าน ทาหน้าที่ป้องกันการสูญเสี ยน้ า ของพืช ป้ องกันการทาลายจากเชื้อราและศัตรู พืช ขนาดเล็ก ไขที่พบในสัตว์จะเคลือบอยูท่ ี่ผวิ หนังและขน ที่ เห็นชัด คือ ไขที่เคลือบอยูท่ ี่บนขนนกและขนเป็ ด ทา หน้าที่ป้องกันไม่ให้เปี ยกน้ า
โปรตีน โปรตีน : เป็ นสารอินทรี ยท์ ี่มีองค์ประกอบหลักคือ C , H O , N บางชนิดอาจมีสารอื่นมาเสริ ม เช่น P, I , S , Fe โปรตีนเป็ นพอลิเมอร์ ในธรรมชาติเกิดจากกรดอะมิโน มารวมตัวกันจานวนมาก
โปรตีน สู ตรทัว่ ไปเป็ นดังนี้ หมู่อะมิโน
NH2
หมู่อลั คิล
R
C H
COOH
หมู่คาร์ บอกซิ ล
โปรตีน • กรดอะมิโนอาจแสดงสมบัติเป็ นกรด กลางหรื อเบส แล้วแต่จานวนหมู่ -COOH และหมู่ NH2 ทั้งหมดใน โมเลกุล • กรดอะมิโนที่จาเป็ นต่อร่ างกายมนุษย์มี 8 ชนิด ได้แก่ วาลีน ลิวซีน ไอโซลูซีน เฟนิลอะ ลานีน ไลซีน ทริ ปโตเฟน ทรี โอนีน และ เมไทโอนีน ซึ่งได้รับจากการรับประทานอาหารเข้าไป
โปรตีน • ปฏิกริ ิยาของกรดอะมิโน – สารที่เกิดจากกรดอะมิโนมารวมตัวกันเรี ยกว่า สารประกอบเปปไตด์ – การเกิดพอลิเปปไตด์จดั เป็ นกระบวนการ พอลิเมอร์ไรเซชันอย่างหนึ่ง
การทดลอง การทดสอบโปรตีนในอาหาร • ใส่ ไข่ขาว 2 cm3 ลงในหลอดทดลองขนาดเล็ก เติมสารละลายโซเดียม ไฮดรอกไซด์ 2.5 mol/dm3 จานวน 1 cm3 • เติมสารละลายคอปเปอร์ (II)ซัลเฟต 0.1 mol/dm3 ลงไป 5 หยด สังเกต และบันทึกผลการเปลี่ยนแปลง • ทาการทดลองซ้ าในข้อ 1 และ 2 แต่ใช้อาหารอื่น ๆ ที่นกั เรี ยนสนใจ เช่น นมถัว่ เหลือง นมสด น้ ามันพืช ข้าวจ้าวบดละเอียด เป็ นต้น สังเกตและบันทึก ผลที่ได้ • นาเสนอและสรุ ปผลการทดลอง ***สมบัติเฉพาะตัวของโปรตีน คื อทาปฏิ กิริยากับสารละลายคอปเปอร์ (II)ซัลเฟต ในสภาพที่เป็ นเบส ให้ สารที่มีสีม่วงหรื อชมพู***
ตารางบันทึ กผลการทดลอง ชนิดของอาหาร ข้าวจ้าวบดละเอียด นมสด นมถั่วเหลือง น้ามันพืช ไข่ขาว
ผลการสังเกต เติมสารละลาย เติมสารละลาย โซเดียมไฮดรอกไซด์ คอปเปอร์(II)ซัลเฟต
คาถามเพื่อการสรุ ปผลการทดลอง • อาหารที่นามาทดสอบเกิดการเปลี่ยนแปลงที่เหมือน หรื อต่างกันอย่างไร • อาหารชนิดใดบ้างที่มีโปรตีน ทราบได้อย่างไร
โปรตีน – ใน สปก. เปปไตด์ กรดอะมิโนจะมาเชื่อมกันด้วย พันธะโคเวเลนต์ระหว่าง -COOH ของกรดอะมิโน ชนิดหนึ่งกับไนโตรเจนในหมู่ -NH2 ของกรดอะมิโน ชนิดหนึ่ง เรี ยกพันธะนี้วา่ พันธะเปปไตด์ – การเขียนโครงสร้างสารประกอบเปปไตด์จะเขียนหมู่ อะมิโนอิสระทางซ้าย และหมู่คาร์ บอกซิ ลอิสระไว้ ทางขวา
โปรตีน
H2N
H
O
H
H
O
H
H
O
C
C
N
C
C
N
C
C
R
R
พันธะเปปไตด์
R
OH
• การแปลงสภาพโปรตีน คือ การที่โครงสร้างของ โปรตีนถูกทาลายลงไปทาให้ไม่สามารถทางานได้ เหมือนเดิม เช่นเมื่อโปรตีนได้รับความร้อน หรื อ สัมผัสกับสารละลายกรดหรื อเบส หรื อโลหะหนัก
ตาราง 1.3 ประเภทและหน้ าที่ของโปรตีนบางชนิดใน ร่ างกายมนุษย์ ประเภท เอนไซม์
หน้ าที่
ย่อยสลายซูโครส ย่อยสลายโปรตีน โครงสร้าง สร้างเอ็นและกระดูกอ่อน สร้างผม ขน ผิวหนัง และเล็บ ลาเลียง ลาเลียงออกซิเจน สาร ฮอร์โมน เพิม่ ประสิ ทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสในร่ างกาย ทาให้ร่างกายเจริ ญเติบโตอย่างปกติ แอนติบอดี ภูมิคุม้ กัน
ตัวอย่ างของโปรตีน ซูเครส ทริ ปซิน คอลลาเจน เคราติน ฮีโมโกลบิน อินซูลิน ฮอร์โมนเจริ ญเติบโต อิมมูโนโกลบูลิน
ตาราง 1.4 คุณค่ าทางชี ววิทยาของโปรตีนจากแหล่ ง อาหารบางชนิด โปรตีนจากแหล่งอาหาร ไข่ นมวัว เนื้อสัตว์และปลา ข้าว ข้าวโพด ถัว่ ลิสง ข้าวสาลี
คุณค่าทางชีววิทยา 100 93 75 86 72 56 44
ตาราง 1.5 ปริ มาณโปรตีนโดยประมาณ สาหรั บเด็กวัย ต่ าง ๆ ที่มีนา้ หนักแตกต่ างกัน อายุ(ปี )
น้ าหนัก(กิโลกรัม)
3 – 12 เดือน 1–6 7 – 12 13 - 20
X X X X
ปริ มาณโปรตีนที่กาหนด (กรัม/วัน) 2X 1.5X 1.2X X
คาร์ โบไฮเดรต • เป็ นสารที่สะสมพลังงานในรู ปของไกลโคเจน และเป็ น องค์ประกอบของเซลล์ • ประเภทของคาร์ โบไฮเดรต – นา้ ตาลโมเลกุลเดี่ยว (Monosaccharide) : น้ าตาลและ คาร์โบไฮเดรตที่โมเลกุลมีขนาดเล็กและไม่สามารถจะ เกิดไฮโดรไลส์ให้เป็ นโมเลกุลที่ง่ายกว่านี้ได้อีกแล้ว ส่ วนใหญ่จะมี C 5 และ 6 อะตอม มีสูตรทัว่ ไป คือ CnH2nOn มอนอแซ็กคาไรด์แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ
คาร์ โบไฮเดรต O
1. แอลโดส ได้แก่ น้ าตาลที่มีหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ ; อยูใ่ นโมเลกุล เช่น ไรโบส (n = 5) กลูโคส และ กาแลกโตส(n = 6) 2. คีโตส ได้แก่ น้ าตาลที่มีหมู่คาร์บอนิล ; C อยูใ่ นโมเลกุล เช่น ฟรุ กโตส (n = 6) O
C
H
คาร์ โบไฮเดรต • กลูโคสเป็ นน้ าตาลที่พบได้ทวั่ ไป มีรสหวานและละลายน้ า ได้ดี มีในผลไม้ต่าง ๆ ในกรณี ที่เป็ นเบาหวาน จะมีกลูโคส สะสมอยูใ่ นเลือดสู ง ถ้ามากกว่า 160 มิลลิกรัม/100 ลูกบาศก์เซนติเมตรของเลือดขึ้นไป ร่ างกายจะขับออกมา ทางปัสสาวะ
คาร์ โบไฮเดรต – นา้ ตาลโมเลกุลคู่(Disaccharide) : คาร์โบไฮเดรตที่เมื่อ ถูกไฮโดรไลส์แล้วจะได้มอนอแซ็กคาร์ไรด์ 2 โมเลกุล มีสูตรทัว่ ไป คือ CnH(2n-2)O(n-1) ที่พบบ่อยได้แก่ มอล โตส แลกโตส ซูโครส และเซลโลไบโอส • มอลโตส = กลูโคส + กลูโคส • ซูโคส = กลูโคส + ฟรุ กโตส • แลกโตส = กลูโคส + กาแลกโตส
คาร์ โบไฮเดรต – พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide) : คาร์ โบไฮเดรตทีเ่ มือ่ ถูกไฮโดรไลส์ แล้วจะได้ มอนอแซ็กคาร์ ไรด์ หลายโมเลกุล มีสูตรทัว่ ไปเป็ น (C6H10O5)n เมือ่ นาแป้ งมาไฮโดรไลส์ โดยใช้ กรดเจือจางทีอ่ ณ ุ หภูมิ หรือเอนไซม์ เป็ นตัวเร่ งปฏิกริ ิยาจนเกิดปฏิกริ ิยาสมบูรณ์ จะได้ กลูโคส
คาร์ โบไฮเดรต • ปฏิกริ ิยาของคาร์ โบไฮเดรต – ปฏิกริ ิยากับสารละลายเบเนดิกต์ : สารละลายเบเนดิกต์มี สี ฟ้าใสประกอบด้วย คอปเปอร์(II)ซัลเฟต โซเดียม คาร์บอเนต และโซเดียมซิเตรต เมื่อนาน้ าตาลมาต้มกับ สารละลายเบเนดิกต์ จะได้ตะกอนสี แดงอิฐของ คอปเปอร์ (I)ออกไซด์
คาร์ โบไฮเดรต – ปฏิกริ ิยากับสารละลายไอโอดีน : สารละลายไอโอดีน โพแทสเซี ยมไอโอไดด์ ใช้ทดสอบแป้ งจะให้สีน้ าเงิน เข้ม – ปฏิกริ ิยากับการหมัก : กระบวนการหมัก หมายถึง การ หายใจของพืชและสัตว์ช้ นั ต่า โดยไม่ใช้ออกซิเจนใน กระบวนหมัก อาจใช้แป้ ง น้ าตาล หรื อเซลลูโลสเป็ น สารตั้งต้น
ตาราง แสดงการทดสอบพวกคาร์ โบไฮเดรต สารละลายที่ ต้องการทดสอบ น้ าตาลทราย
การเปลี่ ยนแปลง เมื่อเติม สลล. ไอโอดี น ไม่เปลี่ ยนแปลง
การเปลี่ ยนแปลง เมื่อเติม สลล. เบเนดิ กต์ ไม่เปลี่ ยนแปลง
แป้ง
สี น้ าเงินเข้ม
ไม่เปลี่ ยนแปลง
น้ าตาลทรายเมื่อถูก ไฮโดรไลส์แล้วต้ม กับกรดแล้วเติมเบส แป้งเมื่อถูกไฮโดร ไลส์แล้วต้มกับ HCl
ไม่เปลี่ ยนแปลง
ตะกอนสี แดงอิ ฐ
ไม่เปลี่ ยนแปลง
ตะกอนสี แดงอิ ฐ
คาร์ โบไฮเดรต • จากตารางสรุ ปได้วา่ แป้ งและนา้ ตาลทรายเป็ นคาร์ โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรต
น้ าตาลโมเลกุลเดี่ยว
น้ าตาลโมเลกุลคู่
กลูโคส กาแลกโตส ฟรุ กโตส
แลกโตส(น้ าตาลในน้ านม ซูโครส(น้ าตาลทราย)
ต้องต้มเพื่อย่อยให้ได้ ทดสอบกับ โมเลกุลเดี่ยว สารละลายเบเนดิกส์ ไม่ให้สีกบั สารละลายเบเนดิกส์ สี สม้ หรื อสี แดงอิฐของ Cu2O ต้มกับกรดหรื อเบส(ย่อย) ทดสอบกับสารละลายเบเนดิกส์
น้ าตาลหลายโมเลกุล แป้ ง ไกลโคเจน เซลลูโลส ทดสอบกับ สารละลายไอโอดีน สี น้ าเงิน
กรดนิวคลีอิก กรดนิวคลีอิกมี 2 ชนิด ได้แก่ • กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (DNA) พบในนิวเคลียส ของเซลล์ ทาหน้าที่เป็ นสารพันธุกรรม • กรดไรโบนิวคลีอิก (RNA) พบในนิวเคลียสและไซ โทพลาซึมของสิ่ งมีชีวติ ทาหน้าที่สงั เคราะห์โปรตีน ภายในเซลล์
• ทั้งDNA และ RNA เป็ นโมเลกุลขนาดใหญ่ ประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรี ยกว่า นิวคลีโอไทด์ • นิวคลีโอไทด์แต่ละหน่วยประกอบด้วย 3 ส่วน คือ โมเลกุลของน้ าตาลไรโบส N-เบส และหมู่ฟอสเฟต
แบบฝึ กหั ดท้ ายบท • สารชีวโมเลกุลคืออะไร มีความสาคัญต่อร่ างกายอย่างไร • กรดไขมันอิ่มตัวและไม่อิ่มตัวมีองค์ประกอบเหมือนและแตกต่างกัน อย่างไร เราควรบริ โภคน้ ามันที่มีกรดไขมันประเภทใด • นักเรี ยนควรใช้เกณฑ์อะไรในการเลือกซื้ อน้ ามันเพื่อประกอบ อาหารประจาวัน • โปรตีนจากไข่มีคุณค่าทางชีววิทยา 100 หมายความว่าอย่างไร
• มอนอแซ็กคาร์ ไรด์และไดแซ็กคาไรด์ เหมือนและต่างกันอย่างไร • ผักและผลไม้จาเป็ นต่อร่ างกายอย่างไร • นักเรี ยนที่มีน้ าหนักตัวมากหรื ออ้วนเกินไป จะมีวธิ ี ลดอย่างไร โดย ไม่เกิดอันตราย • คนปกติควรมีคอเลสเทอรอลในเลือดเท่าไร และเพื่อเป็ นการ ป้ องกันมิให้มีปริ มาณไขมันในเลือดสู งเกินไป ควรยึดหลักในการ บริ โภคอาหารอย่างไร
เฉลยแบบฝึ กหั ด สารชี วโมเลกุล • นักเรี ยนคิดว่า วัยรุ่ นที่นิยมรักษารู ปร่ างให้ผอมบางปราศจากไขมัน มีโอกาสขาดวิตามินหรื อไม่ เพราะเหตุใด ตอบ มี เพราะ ไขมันช่วยละลายวิตามินหลายชนิดที่จาเป็ นต่อร่ างกาย เช่น วิตามิน A D E K • ไขมันและน้ ามันเหมือนหรื อต่างกัน อย่างไร ตอบ มีท้ งั ส่ วนที่เหมือน และ ต่างกัน คือ มีส่วนประกอบที่เรี ยกว่า ไตรกลีเซอไรด์ ส่ วนที่ต่างกันคือ ไขมัน เป็ นของแข็ง น้ ามัน เป็ น ของเหลว
• ระหว่างน้ ามันสัตว์และน้ ามันพืช น้ ามันชนิดใดเหม็นหื นง่ายกว่า กัน เพราะเหตุ ตอบ น้ ามันสัตว์เหม็นหื นง่ายกว่าน้ ามันพืช เพราะน้ ามันพืชมีวติ ามิน อี เป็ นสารกันหื น จึงเหม็นหื นช้ากว่า • นักเรี ยนมีวธิ ี การใดที่จะช่วยชะลอการเหม็นหื นของน้ ามันที่ใช้ใน ครัวเรื อน ตอบ ปิ ดฝาให้สนิททุกครั้งหลังใช้
• เหตุใดนักโภชนาการจึงไม่แนะนาให้บริ โภคอาหารทอดที่ใช้น้ ามันเก่า ทอด ซ้ า ๆ ตอบ น้ ามันที่ทอดซ้ า ๆ จะเกิดสารอนุมูลอิสระ ซึ่ งเป็ นสาเหตุของการเกิด โรคมะเร็ง และทาให้รสชาติอาหารและกลิ่นที่เปลี่ยนไป ไม่น่า รับประทาน • ในการปรุ งอาหารที่ทาด้วยเนื้ อสัตว์โดยใช้ความร้อนหรื อบีบมะนาวใส่ โปรตีนจะแปลงสภาพหรื อไม่ เพราะเหตุใด ตอบ แปลงสภาพ เพราะ เมื่อโปรตีนได้รับความร้อนหรื อสัมผัสกับสารละลาย กรด-เบส หรื อไอออนของโลหะหนัก โครงสร้างทางกายภาพของโปรตีน จะถูกทาลายลง ทาให้โปรตีนเปลี่ยนสภาพไปไม่สามารถทางานได้ เหมือนเดิม
• น.ร. คิดว่าถ้าร่ างกายมีฮีโมโกลบินน้อยกว่าระดับมาตรฐานจะเป็ น อย่างไร ตอบ เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ หายใจติดขัด • ถ้านักเรี ยนขาดอิมบูโมโกลบินจะเป็ นอย่างไร ตอบ ภูมิคุม้ กันต่า
• เด็กในวัยเจริ ญเติบโตและผูส้ ู งอายุควรรับประทานไข่เป็ นส่ วนหนึ่ง ของอาหารประจาวันหรื อไม่ เพราะเหตุใด ตอบ เด็กควรรับประทานเพราะไข่ช่วยในการเจริ ญเติบโต แต่ผสู ้ ู งอายุไม่ควรรับประทาน เพราะ ไข่แดงมีคอเลสเทอรอลสู ง • อาหารโปรตีนที่มีคุณภาพสู ง ส่ วนใหญ่มาจากแหล่งใด ตอบ อาหารจาพวก เนื้อ นม ไข่
• ถ้านักเรี ยนเฉพาะอาหารมังสวิรัติ นักเรี ยน จะมีโอกาสขาด สารอาหารโปรตีนหรื อไม่ เพราะเหตุใด ตอบ มี เพราะอาหารจากพืชมีกรดอะมิโนจาเป็ นไม่ครบ เทียบเท่ากับ เนื้อสัตว์ • นักเรี ยนควรเลือกรับประทานอาหารโปรตีนจากแหล่งใด เพราะเหตุ ใด ตอบ เนื้อ นม ไข่ เพราะให้โปรตีนสู ง และหาซื้ อได้ง่าย
แบบฝึ กหั ด • เหตุใดแพทย์จึงให้กลูโคสทางเส้นเลือดกับผูป้ ่ วยก่อนและหลังการ ผ่าตัด หรื อให้กบั ผูป้ ่ วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารตามปกติได้ ตอบ กลูโคส เป็ นโมเลกุลที่เล็กที่สุดที่ร่างกาย ดูดซึ มเข้าสู่ เซลล์ที่ผนัง ลาไส้เล็กและนาไปใช้ได้ทนั ที • นักเรี ยนมีวธิ ี ตรวจน้ าตาลกลูโคสในปั สสาวะได้อย่างไร ตอบ สังเกตเมื่อเราปั สสาวะทิง้ ไว้แล้วมีมดมาตอมหรื อไม่ ถ้ามีแสดง ว่า มดได้กลิ่นน้ าตาลจากปั สสาวะจึงมาตอม หรื อนาปั สสาวะส่ งให้ แพทย์ตรวจ
• นักเรี ยนจะชะลอความเสี่ ยงต่อการเป็ นโรคเบาหวานได้อย่างไร ตอบ เลี่ยงอาหารที่มีส่วนประกอบของแป้ งและน้ าตาล ออกกาลังกาย สม่าเสมอ ตรวจร่ างกายเป็ นประจาทุกปี • แพทย์มกั สั่งคนไข้ที่เป็ นโรคเบาหวานให้ งด หรื อลด อาหาร ประเภทแป้ ง เพราะเหตุใด ตอบ เพราะแป้ งเมื่อย่อยสลายแล้วสุ ดท้ายก็จะกลายเป็ นน้ าตาล จึงเป็ น ผลให้ระดับน้ าตาลในเลือดสู งขึ้นได้
• การดื่มเครื่ องดื่มที่มีปริ มาณเอทิลแอลกอฮอล์สูง ๆ มีประโยชน์และ โทษต่อร่ างกายอย่างไร ตอบ การดื่มเครื่ องดื่มที่มีปริ มาณเอทิลแอลกอฮอล์สูง ๆ ทาให้เกิด อาการมึนเมา ขาดสติ ทรงตัวไม่ได้ เป็ นเหตุให้เกิดอุบตั ิเหตุได้ ง่าย
• ทาไมก่อนการแข่งขัน นักกีฬาจึงควรบริ โภคอาหารประเภทน้ าตาล ให้มากกว่าอาหารที่มีไขมันหรื อโปรตีนสู ง ตอบ เพราะอาหารประเภทน้ าตาล เป็ นอาหารประเภทแรกที่ร่างกาย จะนามาใช้เมื่อต้องการพลังงาน นักกีฬาจึงต้องรับประทานอาหารที่ มีน้ าตาลมาก ๆ ก่อนการแข่งขัน
แบบฝึ กหั ดท้ ายบท • สารชีวโมเลกุลคืออะไร มีความสาคัญต่อร่ างกายอย่างไร ตอบ สารชีวโมเลกุลคือ สารอินทรี ยท์ ี่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็ น องค์ประกอบหลัก ประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และกรด นิวคลีอิก มีความสาคัญต่อร่ างกาย คือ – ใช้ในการเจริ ญเติบโต – เป็ นส่ วนประกอบของฮอร์โมน เอนไซม์ และระบบภูมิคุม้ กัน – ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม – ช่วยให้ผิวหนังชุ่มชื่นสุ ขภาพผมและเล็บดี – เป็ นส่ วนหนึ่งในการรักษาสมดุลของน้ าและกรด-เบส – สลายให้พลังงาน
• กรดไขมันอิ่มตัวและไม่อิ่มตัวมีองค์ประกอบเหมือนและต่างกัน อย่างไร เราควรบริ โภคน้ ามันที่มีกรดไขมันประเภทใด ตอบ มีโครงสร้างที่เหมือนกันคือส่ วนของหมู่คาร์ บอกซิ ล ส่ วนที่ ต่างกันคือ กรดไขมันอิ่มตัว เป็ นพันธะเดี่ยว ส่ วนกรดไขมันไม่ อิ่มตัวจะมีพนั ธะคู่หรื อพันธะสามอยูใ่ นโมเลกุล • นักเรี ยนควรใช้เกณฑ์อะไรในการเลือกซื้ อน้ ามันเพื่อใช้ประกอบ อาหาร ตอบ ราคา กรดไขมันอิ่มตัวและไม่อิ่มตัว การปรุ งอาหาร
• โปรตีนจากไข่มีคุณค่าทางชีววิทยา 100 หมายความว่าอย่างไร ตอบ โปรตีนจากแหล่งอาหารที่ร่างกายสามารถนาไปสร้างเนื้ อเยือ่ ได้ 100 % • มอโนแซ็กคาไรด์และไดแซ็กคาไรด์ เหมือนและต่างกันอย่างไร ตอบ มอโนแซ็กคาไรด์ เป็ นน้ าตาลโมเลกุลเดี่ยว ไดแซ็กคาไรด์เป็ น น้ าตาลโมเลกุลคู่ ถ้าเอา ไดแซ็กคาไรด์มาสลายจะได้มอโนแซ็กคา ไรด์ 2 ตัว
• ผักและผลไม้จาเป็ นต่อร่ างกายอย่างไร ตอบ ผักและผลไม้เป็ นแหล่งที่ให้วติ ามินและเกลือแร่ ให้เส้นใย ช่วย กระตุน้ ลาไส้ใหญ่ให้เคลื่อนไหว ขับถ่ายง่าย ท้องไม่ผกู ลดการเกิด โรคริ ดสี ดวงทวาร โรคผนังลาไส้โป่ งพอง มะเร็ งลาไส้ใหญ่ • น.ร.ที่มีน้ าหนักตัวมากหรื ออ้วนเกินไป จะมีวธิ ี ลดอย่างไร โดยไม่ เกิดอันตราย ตอบ ออกกาลังกายสม่าเสมอ ลดและเลี่ยงอาหารพวกแป้ ง น้ าตาล ไขมัน ทานผักและผลไม้ให้มาก ไม่กินจุกจิก ทานข้าวให้ตรง ตามเวลา พักผ่อนให้เพียงพอ
• คนปกติควรมีปริ มาณคอเลสเทอรอลในเลือดเท่าไร และเพื่อป้ องกัน มิให้มีปริ มาณไขมันในเลือดสู งเกินไป ควรยึดหลักในการบริ โภค อาหารอย่างไร ตอบ 100 มิลลิกรัม ควรเลี่ยงอาหารที่ให้คอเลสเทอรอลสู ง เช่น ไข่ ไก่ ตับ อาหารทะเล (กุง้ หมึก หอย)