ระดับพลังงาน และ ตารางธาตุ Miss CHADAMAS
SRICHANAWAT
ระดับพลังงานของ Atomic Orbital พลังงานของอิเล็กตรอนขึ้นกับระดับพลังงานของออร์บทิ ัลของ อิเล็กตรอนตัวนั้น ระบบ 1 อิเล็กตรอน เช่น H-อะตอม หรือไอออนอื่น ๆ ระดับพลังงานของออร์บิทัลขึ้นกับเลขควอนตัมหลัก (n) เท่านั้น atomic orbital ที่มี n เท่ากันจะมีพลังงานเท่ากัน
เช่น 2s = 2px = 2py = 2pz <3s = 3pz=3dxy … ระดับพลังงานของ อะตอมไฮโดรเจนหาได้จาก สมการของบอห์ร 1 En 13.605 2 eV n
2
ระดับพลังงานของ atomic orbital ระบบหลายอิเล็กตรอน ได้แก่อะตอมหรือไอออนที่มี e- สอง ตัวขึ้นไป ระดับพลังงานของออร์บิทัลจะขึ้นกับค่า n,l ระดับพลังงานย่อยเรียงตามค่า l เช่น 3s 3p 3d ระดับพลังงานนี้ ไม่ขึ้นกับค่า ml ยกเว้นอยู่ในสนามแม่เหล็ก ถ้า n และ l เท่ากันจะมีระดับพลังงานเท่ากัน เช่น px= py=
pz 1sการที่ออร์บิทอลต่างกันมีพลังงานเท่ากันเรียก degeneracy 2s 3s 4s 5s
2p 3p 3d 4p 4d 4f 5p 5d 5f 5g
1s 2s 2p(3) 3s 3p(3) 4s 3d(5) 4p(3) …
พลังงานเพิม่ ขึน้ 3
ระดับพลังงานของ atomic orbital
ระดับพลังงานของ atomic orbital สาหรับระบบทีม่ ีอิเล็กตรอน ตัวเดียว(ไฮโดรเจน)และระบบที่มีหลายอิเล็กตรอนแตกต่างกัน เนื่องจากมีการเลื่อนระดับพลังงาน
4
การบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทลั Na = 1s2 2s2 2p6 3s1 S = 1s2 2s2 2p6 3s2 3p4 3d 2p
4f 4d 3p
3s
4p 4s
2s
1s 5
โครงแบบอิเล็กตรอน โครงแบบอิเล็กตรอน (Electron Configuration) คือ การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมหรือโมเลกุล
เป็นการระบุวา่ อิเล็กตรอนแต่ละตัวอยู่ทไี่ หนมีสมบัตอิ ย่างไร (กาหนด n,l,ml,ms ของอิเล็กตรอนแต่ละตัว) โครงแบบอิเล็กตรอนมีผลต่อสมบัตทิ างกายภาพและเคมีของ อะตอมหรือโมเลกุล เช่น C มีอิเล็กตรอน 6 ตัว แต่ละตัวมีเลขควอนตัมอย่างไร? • อิเล็กตรอนอยู่ทไี่ หน • แต่ละตัวมีพลังงานแตกต่างกันอย่างไร 6
การจัดเรียงโครงแบบอิเล็กตรอน 1. หลักของเพาลี (Pauli exclusion principle) e– ในอะตอมเดียวกันไม่สามารถมีเลขควอนตัมทั้งสี่ตวั เหมือนกันทุก ประการได้
ถ้าเลขควอนตัม 3 ตัวแรกเหมือนกันแสดงว่าอยูใ่ นออร์บิทัลเดียวกัน แต่ละ orbital มี e- ได้มากที่สุด 2 ตัว แต่อิเล็กตรอนทั้งสองต้องมี ms
ต่างกัน (หมุนในทิศทางตรงกันข้ามกัน)
2.หลักของเอาฟบาว (Aufbau principle) บรรจุ e- ในออร์บิทลั ทีม่ พี ลังงานต่าสุดจนเต็มก่อนแล้วจึงบรรจุ eในออร์บิทลั ทีม่ พี ลังงานสูงขึ้น 3.กฎของฮุนด์ (Hund’s law) การบรรจุ e- ในออร์บทิ ลั ทีม่ พี ลังงานเท่ากัน จะต้องบรรจุให้มี eเดีย่ วมากทีส่ ุด (สปินขึ้น) 7
การบรรจุ แบบที่ 1
e
ในออร์บทิ ลั
ใช้ หรือ หรือ แทนออร์บทิ ลั
= e- สปินขึน้ = e- สปินลง = e คู่ = e- เดีย่ ว
แบบที่ 2 เขียนเป็นตัวเลขและตัวอักษร แสดงชนิดของออร์ บิทัล (12, 2s, 2p etc.) และจานวนอิเลกตรอนในออร์ บิทัลเช่น 1s2 (มี e- 2 ตัวใน 1s-orbital) 2p6 (มี e- 6 ตัวใน 2p-orbitals – px, py, pz)
8
ลาดับการบรรจุ
e
บรรจุอเิ ล็กตรอนจากระดับพลังงานต่าก่อน การบรรจุ e- ในออร์บิทลั ทีม่ พี ลังงานเท่ากัน ให้บรรจุให้มี e- เดีย่ วมากทีส่ ดุ ลาดับการบรรจุอาจดูได้จากผังการเติมอิเล็กตรอน
1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p6 5s2 4d10 5p6 6s2… 10
18
36
54
ประจุบวก บรรจุอเิ ล็กตรอนให้ครบปกติแล้วค่อยดึง อิเล็กตรอนออกจากวงนอกสุด (n มากสุด) ตามจานวน ประจุบวก ประจุลบ เพิม่ อิเล็กตรอนตามจานวนประจุ แล้วบรรจุ อิเล็กตรอนตามปกติ 9
ลาดับการบรรจุ
e
สาหรับออร์บทิ ลั ทีม่ รี ะดับพลังงานทีเ่ ท่ากัน (degeneracy) ถ้าทุกๆออร์บิทลั มี e- เต็ม การบรรจุเต็ม px
py
dxy
pz
dyz
dzx
dx2-y2 dz2
ถ้าทุกๆออร์บิทลั มี e- เพียงครึง่ เดียว การบรรจุครึง่ s
dxy
dyz
dzx
dx2-y2 dz2
ความเสถียร
การบรรจุเต็ม การบรรจุครึ่ง แบบอืน่ ๆ 2p3 เสถียรกว่า 2p4 3d10 เสถียรกว่า 3d5 เสถียรกว่า 3d7 10
ตัวอย่างการหาโครงแบบอิเล็กตรอน 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p6 5s2 4d10 5p6 6s2 …
10
18
36
54
2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d6 = [Ar] 4s2 3d6 Fe = 1s 26
เอาอิเล็กตรอนออกจากวงนอนสุด (4s2) สองตัวจะได้
2+ = 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s0 3d6 Fe 26 22Ti = 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d2 เอาอิเล็กตรอนออกจาก
วงนอกสุด (4s2 และ 3d2) สองและหนึ่งตัวจะได้
3+ = 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s0 3d1 Ti 22 24Cr = 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d4 เนื่องจากระดับพลังงาน
4s และ 3d ใกล้กัน จะมีการสลับที่อิเล็กตรอนเพื่อให้เสถียรขึ้นตามกฎ ของฮุนด์ (4s2 3d4 4s1 3d5) จะได้ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6
4s1 3d5 16S2- = 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6
11
ตัวอย่าง การบรรจุอเิ ล็กตรอน #eH
1
He
2
Li
3
C
6
O
8
Ne
10
Na
11
1s
2s
2px
2py
2pz
3s
1s1
1s2 1s2 2s1 1s2 2s2 2p2
1s2 2s2 2p4 1s2 2s2 2p6 1s2 2s2 2p6 3s1 หรื อ
[Ne] 3s1
12
ตารางธาตุ (Periodic Table) ตารางธาตุคือรูปแบบการจัดเรียงธาตุต่างๆ ตามลาดับของเลข อะตอม(จานวนโปรตอน) ตารางธาตุในปัจจุบันมีรากฐานมา จากตารางธาตุของ Dmitri Mendeleev ธาตุที่จัดเรียงในตารางธาตุจะแบ่งออกเป็น หมู่ (group, colume) มีทั้งหมด 18 หมู่ คาบ (period, row) มีทั้งหมด 7 คาบ
*แถวที่ 8 และ 9 ถูกแยกออกมาจากคาบที่ 6 และ 7 เรียกว่า พวก inner transition elements หรือ rare earth elements
ธาตุที่อยู่ในหมู่เดียวกันจะมีสมบัติคล้ายคลึงกัน
13
ตารางธาตุ
14
หมูธ่ าตุในตารางธาตุ หมู่ของธาตุ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม A ตั้งแต่ IA – VIIIA ( หมู่ O )
หมู่ IA – VIIIA เรียกว่า ธาตุเรพรีเซนเททีฟ หมู่ IA (Alkali metal) มีความเป็นโลหะมากสุด หมู่ IIA (Alkali earth) หมู่ VIIA (Halogen) มีความเป็นอโลหะมากที่สุด หมู่ VIIIA (Noble gas) เป็นแก๊สเฉื่อย
กลุ่ม B ตั้งแต่ IIIB ถึง IIB (ระหว่างหมู่ IIA และ IIIA เริ่ม คาบที่ 4 ) ธาตุในกลุ่มนีเ้ ป็นโลหะทัง้ หมด เรียกว่า Transition Metal
ธาตุที่ 58-71 (Lantanides) ในคาบที่ 6 และธาตุที่ 90-103 (Actinides) ในคาบที่ 7 ถูกแยกไว้ด้านล่าง รวมเรียกว่า innertransition ซึ่งมีสมบัติคล้ายกัน และไม่มีการแบ่งหมู่
15
ตารางธาตุและโครงแบบอิเล็กตรอน 3s2
Maximum n
3s2
4d7
3d7
4p3
4p3
1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p6 5s2 4d10 5p6 6s2 4f14 5d10 6p6 7s2 2
10
18
36
54
86 16
วาเลนซ์อเิ ล็กตรอน (Valence Electron) วาเลนซ์อเิ ล็กตรอน คืออิเล็กตรอนวงนอกสุด (n มากสุด)ของ อะตอม เป็นอิเล็กตรอนทีม่ สี ว่ นสาคัญในการเกิดปฏิกิริยาเคมี จานวนวาเลนซ์อเิ ล็กตรอนขึน้ กับหมูข่ องอะตอม (ใช้ได้กบั หมู่ A1A8) นิยามของวาเลนซ์อิเล็กตรอนใช้ได้ดกี บั อะตอมใน s และ p block เท่านัน้ 11Na = 1s22s22p63s1
P Fe
15 26
= [Ne] 3s1 = 1s22s22p63s23p3 = [Ne] 3s23p3 = 1s22s22p63s23p64s23d6 = [Ar] 4s23d6
17
โครงแบบอิเล็กตรอนและสมบัติของอะตอม การจัดโครงแบบอิเล็กตรอนของอะตอมส่งผลถึงสมบัติต่างๆของ อะตอม เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอิเล็กตรอนและนิวเคลียส (ค่า
n ที่มากที่สุด และ ประจุบวกของโปรตอน) ขนาดของอะตอมและไอออน พลังงาน • Ionization energy (IE) • Electron affinity (EA) • Electron negativity (EN)
ประจุของโปรตอนเพิม่ n เพิม่
18
ขนาดของอะตอม
19
ขนาดของอะตอมและไอออน(+/-)
20
Ionization Energy (IE) พลังงานที่ต้องใช้เพื่อดึงอิเล็กตรอนออกจากอะตอมเพื่อให้เกิดไอออน บวก 1st Ionization Energy
A(g) A+(g) + eฏ 2nd Ionization Energy
A+(g) A2+(g) + eฏ
21
Electron Affinity (EA)
พลังงานทีค่ ายออกมาเมื่ออะตอมในสภาวะแก๊สรับอิเล็กตรอนและกลายเป็น ไอออน -1 A(g) + eฏ Aฏ(g)
22
Electronegativity (EN)
ความสามารถของอะตอมหรือโมเลกุลในการดึงดูดอิเล็กตรอนที่ใช้ในการ สร้างพันธะ
23
The END