50mm Magazine Issue1.

Page 1

ACTION MAN Ace captures an amazing summer of fern

50mm GALLERY 15 Top Photos taken with a 50mm lens

TECHNIQUE Learn new photo skills with the help of our top experts

50mm

issue 1, September 2011 | first edition

MAGAZINE

BEYOND CANDID

+

There’s more to photography besides candid shots.

hot summer Latest The Long, Hot Summer Images.

EXCLUSIVE INTERVIEW

world of ferns Picture Style Techniques, Says Ace.

ช่างภาพ: โดย ภัสสร มโนรส ชื่อภาพ: บังเอิญ (HAPPEN) บรรยาย: “บังเอิญที่ลมพัด บังเอิญที่เธอยิ้ม บังเอิญที่เธอ มองดอกไม้ และบังเอิญที่ฉันเก็บมันออก​มาเป็นภาพถ่าย

from the experts Street Photography Techniques D.I.E by Noppadol Weerakitti

| to subscribe to 50mm magazine, please contact us at 50mm Group@gmail.com | http://www.facebook.com/groups/50mm.eyes/ |


3. Member Talk First Edition

CONTENTS

เมือ่ มี GROUP นีข้ น้ึ มา จึงสนใจอยากรูว้ า่ คนอืน่ เอาไปถ่ายอะไร ยังไงบ้าง เลยขอเข้า มาเป็นสมาชิกตัง้ แต่รนุ่ แรกๆ 6. Street Photography

แนวคิด D.I.E ยังมีประโยชน์ในการคัดเลือก รูป และเป็นไกด์ไลน์ส�ำ หรับช่างภาพในการ ตัดสินใจว่าจะเก็บภาพไหนไว้ 10. Beyound Candid

การถ่ายภาพในระดับเอว ช่วยทำ�ให้ได้ภาพ ในบริเวณที่มีผู้คนแออัด โดยไม่ต้องยก กล้องขึ้นมา เทคนิคนี้เป็นเทคนิคหนึ่งที่ช่าง ภาพ Street Photography 12. hot summer Latest The Long, Hot Summer Images.

14. 50mm Gallery

15 TOP PHOTOS TAKEN WITH A 50mm LENS 16. World of Ferns

ก่อนทีเ่ ราจะถ่ายรูปเฟิรน์ ให้นา่ สนใจ เราคง ต้องจับจุดเด่นว่าว่าเฟิรน์ เป็นไม้ใบ ไม่มดี อก ขยายพันธ์โุ ดยสปอร์ 18.

สะ พายกล้อง ท่องโลก กับม่วนใจ๋

มีคนเคยบอกไว้วา่ “ไปอินเดีย ไม่รกั ก็ เกลียด กันไปเลย” ฉันยังไม่บอกหรอกนะว่า ฉันรักหรือเกลียดอินเดีย 24. 50mm. Review

50mm Ma g azine| September 2011

the best cool 50mm mag

EDITORIAL TEAM mrsung Sungkrit Executive Director mrsungphoto@gmail.com EDITORIAL STAFF Ace Chandhapradit saturngr@gmail.com Thanawat Thiasiriphet toon.ee@gmail.com Noppadol Weerakitti isupernova@gmail.com Eakkachai Ongpreechakul astiapixs@gmail.com Teeradej Lim teeradej4@yahoo.com Muanjaii Beeze besweety@gmail.com EXCLUSIVE INTERVIEW apicharn sirichote ounoun@me.com PROOFREADERS mrsung Sungkrit ADVISORS AND REASERCHERS Ace Chandhapradit

50mm Cool Ways to Add Technique and Creativity to Your Picture.

to subscribe to 50mm magzine, please contact us at 50mm Group@gmail.com | http://www. facebook.com/groups/50mm.eyes/

28. oun Sirichote Interview

Copyright © 2011 50mm Magazine

ผมน่าจะเป็นช่างภาพทีอ่ อกมาจากหนังสือ รุน่ สุดท้ายทีถ่ า่ ยภาพด้วยฟิลม์ 2|

50mm magazine


เรือ่ ง-ภาพ โดย Teeradej

MEMBER TALK กิจกรรมหนึ่งที่มีเสมอของ 50mm Group ก็คือ การนัดไปเดิน เล่นถ่ายรูป ที่มีชื่อว่า “50mm Walk” ทุกครั้งที่มีการนัดหมาย จะมีคำ�ถามเสมอว่า “อยากไป แต่ไม่รู้จักใคร” ผมไม่ ใ ช่ ช ่ า งภาพ เพี ย งแค่ ช ื ่ น ชอบการถ่ า ยภาพเท่ า นั ้ น และยิ ่ ง เฉพาะเลนส์ 50MM ที ่ ม ี อ ยู ่ ซ ึ ่ ง แทบจะไม่ ค ่ อ ยนำ � ออกมาใช้ เ ท่ า ไหร่ เนื ่ อ งจากความรู ้ ส ึ ก ในขณะนั ้ น มั น ช่ า งลำ � บากเหลื อ เกิ น ในการถ่ า ยภาพ ยิ ่ ง มาเจอกั บ กล้ อ งที ่ ไ ม่ ใ ช่ FULL FRAME มุ ม มั น ยิ ่ ง แคบเข้ า ไปอี ก

ผมซือ้ เลนส์ตวั นีม้ าเพราะเคยเห็นคนอืน่ ถ่าย PORTRAIT แล้วสวย ประกอบกับราคาทีไ่ ม่แพงนัก โดยหวังว่าจะเอามาถ่าย PORTRAIT ได้สวย เหมือนคนอืน่ แต่เลนส์กค็ อื เลนส์มนั ไม่ใช่ของวิเศษทีจ่ ะบันดาลให้เกิดสิง่ ที่ อยากได้ หลังจากหมดความพยายาม เลนส์ตวั นัน้ ก็ถกู กองไว้ในกล่องของ มัน เมือ่ มี GROUP นีข้ น้ึ มา จึงสนใจอยากรูว้ า่ คนอืน่ เอาไปถ่ายอะไร ยัง ไงบ้าง เลยขอเข้ามาเป็นสมาชิกตัง้ แต่รนุ่ แรกๆ สมาชิกหลายคนในนัน้ ส่วนใหญ่กเ็ ป็นพวกทีเ่ คยเห็นชือ่ เห็นรูปมาจากเวปสองหาว ช่วงแรกความ เคลือ่ นไหวน้อยมาก นานๆ จะมีคนมาโพสต์รปู สักทีหนึง่ จนกระทัง่ ... วันหนึง่ คุณซุง คนก่อตัง้ กรุป๊ ได้มกี ารเชิญชวนให้ไปเดินเล่นถ่ายรูปกัน มีชอ่ื เรียกอย่างเก๋วา่ “50mm Walk” นัดหมายกันวันที่ 14 สิงหาคม 2553 (ควรถือว่าวันนีเ้ ป็นวันเกิดของกรุป๊ ด้วยนะ) สถานทีค่ อื ปากคลองตลาด กำ�หนดการมีรายละเอียดอย่างคร่าวๆ (คร่าวมากๆ) ทำ�นองนี้ เริม่ ตี 5 ถ่ายรูปทีป่ ากคลองตลาด เสร็จเวลาประมาณ 8 โมงเช้า เจอกัน หน้าร้านทอง (ชือ่ อะไรจำ�ไม่ได้แล้ว) พร้อมแนบลิงค์วดิ โี อรายการท่องเทีย่ ว รายการหนึง่ แล้วบอกว่าให้ดใู นวิดโี อช่วงเวลาเท่านีจ้ ะมีสามล้อผ่านหน้า ร้านทอง ทีน่ ดั หมายกันไว้ ผมตัดสินใจลงชือ่ ขอไปด้วย อยากเห็นว่าคนอืน่ เวลาไปทริปถ่ายรูป เขาทำ�อย่างไรกันบ้าง หวังว่าจะได้เห็นการทำ�งานของ เหล่ามืออาชีพจริงๆ ซึง่ ส่วนตัวเองไม่เคยไปเลย

CANON EOS1000D EF50MM F1.8 เปิดหน้ากล้อง F2 S1/50

CANON EOS1000D EF50MM F1.8 เปิดหน้ากล้อง F6.3 S1/80 ก่อนถึงวันนัด คืนนัน้ ฝนตกตลอดทัง้ คืน ผมตืน่ ขึน้ มาตอนตี 3 กว่า กังวล ว่าถ้าฝนไม่หยุดตก คงไม่ได้ไปแน่ ตี 4 แล้วฝนยังคงเทลงมาไม่มที ที า่ ว่า จะหยุด ผมตัดสินใจอาบนํา้ แต่งตัวรอไว้กอ่ น สองจิตสองใจว่าจะไปดีไหม คิดว่าถ้าเบีย้ วก็คงไม่เป็นไร เนือ่ งจากไม่เคยเห็นหน้าค่าตากัน อย่างมาก ก็แอบออกไปจากกรุป๊ นี้ ตี 5 กว่าๆ ฝนเริม่ ซา ผมตัดสินใจเรียกแท็กซี่ ถึง ปากคลองตลาดประมาณ 6 โมงเช้านิดๆ ลงจากรถก็คว้างซิครับ เกิดมา ปากคลองตลาดได้แต่นง่ั รถผ่านตอนสายๆ แล้วมานีจ่ ะไปไหนยังไง จะ เจอใครมัง่ คำ�ถามมากมายเกิดขึน้ ในหัว แต่ไหนๆ ก็มาแล้ว ถ่ายอะไรไป ก็ได้ เจอหรือไม่เจอใครก็ชา่ งมัน คิดว่ามาถ่ายรูปคนเดียวเหมือนปกติกแ็ ล้ว กัน จึงเดินเข้าซอกนัน้ ออกซอกนี้ พลันก็คอยมองหาใครทีใ่ ช้เลนส์ 50mm บ้าง ปรับตัวพักหนึง่ ก็เริม่ สนุกกับการถ่ายรูป ผูค้ นทีน่ น่ั ดีมาก น่าจะเคยชิน กับการทีถ่ กู คนถ่ายรูปมากมาย ไม่มปี ฎิกริ ยิ ารังเกียจอะไร แค่เราอย่าไป ขวางทีท่ างทำ�มาหากินก็เป็นพอ ถ่ายโน่นถ่ายนีพ่ กั ใหญ่กไ็ ม่เห็นเจอใคร จนสายๆ เดินสวนกับชายคน หนึง่ คิดว่าคนนีน้ า่ จะใช่ จึงเข้าไปทักว่ามาจาก 50mm ใช่ไหม คำ�ตอบคือ ใช่ครับ ผมชือ่ ซุงครับ เดีย๋ วเจอกันตามทีน่ ดั นะครับ แล้วก็แยกย้ายกันไป ถึงเวลานัด 8 โมงเช้า ปรากฏว่าทริปนัน้ มีไปแค่ 3 คน (คนลงชือ่ สัก 10 คน ได้) เราได้ไปเสวนากันต่อที่ “ออนล็อกหยุน่ ” คุยกันเรือ่ งถ่ายรูป โพรเซสรูป ได้ความรูก้ ลับมาพอควร นัน่ คือจุดเริม่ ต้นของผมในกรุป๊ นี้ และกิจกรรมนี้ ก็ยงั ดำ�เนินต่อมาจนถึงครัง้ ที่ 6 แล้ว มีสมาชิกเพิม่ ขึน้ มาเรือ่ ยๆ พร้อมกับ มิตรภาพ เพือ่ นใหม่ๆ ทริปหลังๆ สำ�หรับผมเหมือนการมาเจอเพือ่ น มา เดินคุยกัน มากกว่าการถ่ายรูป หากย้อนกลับไปคำ�ถามข้างต้นทีว่ า่ “อยากไป แต่ไม่รจู้ กั ใคร” คำ�ตอบ ทีผ่ มจะตอบคือ “ถ้าไม่ไปสักครัง้ แล้วจะรูจ้ กั คนอืน่ ได้อย่างไร” ข้อดีของ การออกทริป คือ ได้เพือ่ น, ได้เห็นมุมมองของคนอืน่ ในการถ่ายรูป หลัง การออกทริป เราจะเห็นว่า ทำ�ไมคนอืน่ ถึงเห็นสิง่ นี้ แต่เราไม่เห็น, เราเห็น แต่ท�ำ ไมเราไม่ถา่ ย, เราถ่ายแต่ท�ำ ไมมุมไม่เหมือนคนอืน่ สิง่ เหล่านีท้ �ำ ให้ เวลาเราถ่ายรูปช่วยให้เราละเอียดขึน้ จากเพือ่ นในโลกเสมือน กลายมา เป็นเพือ่ นในโลกจริงๆ 50mm GROUP นี้ มีสมาชิกดีๆ ทุกคนวางอัตตาไว้ขา้ งนอก พูดคุยกัน อย่างเพือ่ น อย่างพีๆ่ น้องๆ กัน หวังว่าจะเป็นเช่นนีต้ ลอดไป Semtember 2011|50mm 50mm Ma g azine

|3


Street Photography | By Noppadol Weerakitti

4|

50mm Ma g azine| September 2011


Kiss of the day

Semtember 2011|50mm Ma g azine

|5


Street Photography | By Noppadol Weerakitti

D E SIG N ( D ) , INFORM ATI ON (I )

และ E M OT I ON (E) ห รื อ D.I.E ค ื อแ น ว ค ิ ดใน ก าร ถ่ า ยภา พแน วสตรี ท โ ฟโ ตก ราฟฟี ่ ข อง เ ครก ซ ี เ ม ท โค ( C R AIG SEMETKO ) ช ่ างภ าพ ชา วอ เมริ ก ั น ผ ู ้ เ คย ม ี น ิ ท รรศก ารผลงานภ าพถ ่ า ย ร่ ว ม ก ั บ อองรี กาติเยร์-เบรสซง

โดยเครกได้อธิบายแนวคิดนีว้ า่ Design คือภาพนัน้ ต้องมีการ ออกแบบ (โดยช่างภาพ) ว่าจะจัดคอม โพสิชนั อย่างไร ให้แสงเงาแบบไหน สีสรรตัดกันหรือกลมกลืนกันอย่างไร มุมก้มหรือมุมเงย การออกแบบดัง กล่าวทำ�ให้ภาพถ่ายทีไ่ ด้มคี วามแตก ต่างจากภาพทีเ่ กิดการถ่ายภาพแบบ สแน็ป (Snap) ยกตัวอย่างงานของ กาติเยร์-เบรสซง ทีเ่ ด่นเรือ่ งการจัด คอมโพสิชนั อิงตามรูปแบบเรขาคณิต (Geography) ก็ถอ ื เป็นการออกแบบ อย่างหนึง่ เป็นต้น Information คือภาพนัน้ ต้อง มีการส่งสารบางอย่างออกมา ไม่ ว่าจะเป็นเรือ่ งทางสังคมการเมือง 6|

50mm Ma g azine| September 2011

ประวัตศิ าสตร์ แฟชัน่ ทีอ่ งิ กับช่วงเวลาทีท่ �ำ การ บันทึกภาพ ในฐานะทีม่ นั เป็นส่วนหนึง่ ของ ภาพถ่ายแนวสารคดี (Documentary) และ นีจ่ งึ ทำ�ให้ชา่ งภาพสตรีทนิยมใช้เลนส์ 35mm หรือ 50mm ในการถ่ายภาพ เพราะเลนส์ชว่ ง นีจ้ ะได้ภาพทีผ่ นวกเอาสภาพแวดล้อมรอบตัว แบบเข้ามาอยูใ่ นกรอบภาพด้วย ในแนวทาง เดียวกับ Environmental Portrait คือไม่ได้ ถ่ายให้เห็นเฉพาะรูปร่างหน้าตา แต่ให้เห็นด้วย ว่ากำ�ลังอยูใ่ นสภาพแวดล้อมแบบไหน ตึกราม บ้านช่องอย่างไร ผูค้ นรอบข้างแต่งตัวกันอย่างไร ประมาณนัน้ Emotion คือภาพนัน้ ต้องสือ่ อารมณ์บาง อย่างให้คนดูรสู้ กึ “อิน” ไปด้วย ไม่วา่ จะเป็น ขบขันแปลกใจ เศร้า ดีใจ เหงา รวมถึงแสดงให้ เห็นถึง Decisive moment ก็อยูใ่ นส่วน Emotion นีเ้ ช่นกัน ภาพสตรีทหลายภาพก็มค ี วาม

เด่นด้าน D บางภาพดีทาง I บางภาพดีแบบ D+E แต่ภาพสตรีททีด่ ตี อ้ งประกอบด้วย D+I+E อยูใ่ นภาพเดียวกัน วันไหนใครถ่ายได้ภาพแบบ นีก้ ต็ อ้ งฉลองกันหน่อยหล่ะแน่นอนว่าในการถ่าย ภาพสตรีทนัน้ เราคงไม่มเี วลาเทคมาคิดถึงเจ้า D.I.E นีก้ อ่ นการกดชัตเตอร์แต่ละครัง้ เครกบอก ว่าเคล็ดลับก็คอื ช่างภาพต้องฝึกฝนโดยการถ่าย ภาพ ถ่ายภาพและถ่ายภาพจนมันเข้าไปอยูใ่ น จิตใต้ส�ำ นึกโดยอัตโนมัติ เหมือนกับที่ กาติเยร์-เบ รสซง เคยกล่าวไว้วา่ “ภาพถ่าย 10,000 ภาพ แรกคือผลงานทีแ่ ย่ทส่ี ดุ ของช่างภาพทุกคน” แนวคิด D.I.E ยังมีประโยชน์ในการคัดเลือกรูป และเป็นไกดไลน์ส�ำ หรับช่างภาพในการตัดสิน ใจว่าจะเก็บภาพไหนไว้ จะทิง้ หรือลบภาพไหน หลักง่ายๆ คือภาพไหนทีห่ าไม่เจอทัง้ D.I.E ก็ ลบทิง้ ไปได้เลย อีกทัง้ ทำ�ให้บรรณาธิการภาพ หรือช่างภาพสามารถอธิบายได้วา่ ทำ�ไมถึงเลือก ภาพนัน้ (เพราะครบองค์ประกอบของ D+I+E ) ไม่เลือกภาพโน้น (เพราะมีแต่ D ไม่มี I และ E)


เทคนิคการถ่ายภาพสตีท โฟโตกราฟฟี่แบบ D.I.E Design (D), Information (I) และ Emotion (E) หรือ D.I.E คือแนวคิดในการถ่ายภาพแนว สตรีท โฟโตกราฟฟีข่ อง เครก ซีเมทโค (Craig Semetko) ช่างภาพชาวอเมริกนั ผูเ้ คยมี นิทรรศการ ผลงานภาพถ่ายร่วมกับ อองรี กาติเยร์-เบรสซง (Henri Cartier-Bresson) ในปี2008 ในงานทีช่ อ่ื ว่า “Street Photography - From Classic to Contemporary:Henri Cartier-Bresson and Craig Semetko” ที่ Open Shutter Gallery เมืองดูแรนโก รัฐโคโลราโด ใครสนใจสามารถติดตามผลงาน ของช่างภาพคนนีไ้ ด้ท่ี http://semetko.com/

STREET PHOTOGRAPHY D.I.E. DESIGN INFORMATION EMOTION

By Carig Semetko Semtember 2011|50mm Ma g azine

|7


BEYOND CANDID | BY THANAWAT THIASIRIPHET

8|

50mm Ma g azine| September 2011


Still chasing...

Semtember 2011|50mm Ma g azine

|9


BEYOND CANDID การถ่ า ยภาพในระดั บ เอว ช่ ว ยทำ � ให้ ไ ด้ ภ าพในบริ เ วณที ่ ม ี ผ ู ้ ค นแออั ด โดยไม่ ต ้ อ งยกกล้ อ งขึ ้ น มา เทคนิ ค นี ้ เ ป็ น เทคนิ ค หนึ ่ ง ที ่ ช ่ า งภาพ Street Photography ชอบใช้ ก ั น การตั ้ ง ระยะโฟกั ส ควร ปรั บ เป็ น ระบบ Manual อาจจะตั ้ ง เป็ น 3-5 เมตร หรื อ 5-inf

BY THANAWAT THIASIRIPHET

10 |

50mm Ma g azine| September 2011

สิง่ แรกทีผ่ มจะเขียนถึงและสำ�หรับผมถือว่าเป็น สิง่ ทีส่ �ำ คัญมากกว่าการเก็บภาพทีอ่ อกมาสวย คือการเอาใจเขา มาใส่ใจเรา เวลาทีถ่ า่ ยภาพ แคนดิต เราควรจะให้ความเคารพในพืน้ ทีส่ ว่ นตัว ของคนทีถ่ กู ถ่ายและคนรอบข้างด้วย

ทีส่ ดุ รูจ้ กั อุปกรณ์ทใ่ี ช้เป็นอย่างดีเพือ่ ให้สามารถ ใช้งานได้อย่างคล่องแคล่ว การจินตนาการภาพ ทีต่ อ้ งการไว้ในใจก่อนทีจ่ ะยกกล้องขึน้ มาถ่าย จะช่วยตรงจุดนีไ้ ด้เป็นอย่างดี การใช้เลนส์ระยะ โฟกัสเดีย่ วเช่น 50mm หรือ 135mm ติดกล้อง ไว้ตลอดเวลาจะสร้างความชำ�นาญและสามารถ ไม่ลกุ ลํา้ พืน้ ทีส่ ว่ นตัวของคนอืน่ จนเกินไปและ สร้างเฟรมของภาพไว้ในใจได้ ไม่สนใจแต่การถ่ายภาพจนเกะกะขวางทางคน รอบข้าง การถ่ายอากัปกิรยิ าทีด่ ไู ม่ดตี วั อย่างเช่น สังเกตสภาวะแวดล้อมรอบข้าง ในพืน้ ทีแ่ ออัด จังหวะทีอ่ า้ ปากกว้างตักอาหารเข้าปาก หรือ พยายามระวังสิง่ กีดขวางเพือ่ ไม่ให้โผล่มาบัง นอนหลับ ก็เป็นสิง่ ทีค่ วรหลีกเลีย่ ง ควรจะคิด ภาพโดยไม่จ�ำ เป็น ในบริเวณทีผ่ คู้ นพลุกพล่าน เสมอว่าถ้าคนทีถ่ กู ถ่ายมาเห็นรูปทีเ่ ราถ่ายแล้วจะ พยายามรอจังหวะ แต่ในบางสถานการณ์ ใช้ ต้องไม่รสู้ กึ อับอาย ในกรณีทต่ี วั แบบเป็นเด็กอาจ ฉากหน้า Foreground และฉากหลัง Backจะมีขอ้ ยกเว้นได้ เพราะรูปออกไปทางน่ารักน่า ground ให้เป็นประโยชน์ในการสร้างเรือ ่ งราว เอ็นดูมากกว่า ตัวอย่างทีเ่ ห็นกันบ่อยก็คอื การใช้ปา้ ยโฆษณา เข้ามาเล่นกับตัวแบบทีเ่ ดินผ่าน หรือนัง่ อยูเ่ พือ่ ความเร็วเป็นสิง่ สำ�คัญในการถ่ายภาพแคนดิต รอ การรอให้คนเดินผ่าน จะให้ความร้สู กึ ถึงการ ระยะเวลาทีย่ กกล้องขึน้ มาถ่ายควรจะทำ�ให้ได้สน้ั เคลือ่ นไหว


การสบสายตาเกิดขึน้ ในช่วงเสีย้ ววินาทีแต่ เป็นสาเหตุหลักทีท่ �ำ ให้ตวั แบบรูส้ กึ ระแวงได้ หลีกเลีย่ งการสบตากับคนทีเ่ ราคิดจะถ่าย การ มองไปรอบๆเพือ่ หาตัวแบบจะทำ�เหมือนกับการ มองผ่านๆ อาจจะทำ�ท่าทางเหมือนถ่ายรูป สิง่ ของหรือวิวทีอ่ ยูข่ า้ งหลัง ในกรณีทเ่ี ดินสวนกับ ตัวแบบ เราสามารถทีจ่ ะยกกล้องขึน้ มาก่อนเพือ่ ให้ตวั แบบเดินเข้ามาหาเราเอง เมือ่ ถ่ายเสร็จแล้ว เราก็ไม่ยกกล้องขึน้ มาเช็คภาพหลังจอในทันที หรือ ทำ�ท่าเหมือนปรับนูน่ ปรับนีไ่ ปเรือ่ ยๆ จนเขา เดินผ่านไป จะทำ�ให้คนทีถ่ กู ถ่ายไม่รสู้ กึ ว่า ตัว เองเป็นเป้าหมาย พยายามหลีกเลีย่ งการถ่ายจากข้างหลังโดย ไม่เห็นหน้า การเห็น Facial Expression ถือ เป็นสิง่ สำ�คัญในการบอกอารมณ์ของรูป คน ทีเ่ ริม่ ถ่ายแคนดิตตอนแรกๆในบางครัง้ จะยังมี ความกลัวทีจ่ ะยกกล้องขึน้ มาถ่ายจากด้านหน้า

ทำ�ให้พลาดโอกาสทีจ่ ะได้รปู สวยๆหลายครัง้ เรา สามารถรอจังหวะทีแ่ บบหันข้างแล้วจึงถ่ายได้เช่น กัน ในบางกรณีภาพจากด้านหลังโดยไม่เห็นหน้า ก็สามารถให้ความรูส้ กึ ฉงนและลึกลับได้เช่นกัน อย่าเผลอถ่ายแต่รปู Headshot หรือใส่ตวั แบบเข้าไปเต็มเฟรมในเวลาทีเ่ ราใช้เลนส์ทางยาว โฟกัสสูงๆในการถ่าย พยายามเปิดพืน้ ทีใ่ นรูป เพือ่ สร้างเรือ่ งราวด้วย การถ่ายภาพในระดับเอว ช่วยทำ�ให้ได้ภาพ ในบริเวณทีม่ ผี คู้ นแออัด โดยไม่ตอ้ งยกกล้องขึน้ มา เทคนิคนีเ้ ป็นเทคนิคหนึง่ ทีช่ า่ งภาพ Street Photography ชอบใช้กน ั การตัง้ ระยะโฟกัส ควรปรับเป็นระบบ Manual อาจจะตัง้ เป็น 3-5 เมตร หรือ 5-inf แล้วแต่ลกั ษณะของงรูปที่ ต้องการ ควรจะดูสภาพของแสงแล้วปรับ ISO ให้สงู พอ เพือ่ ให้ได้ Speed Shutter ทีเ่ ร็วกว่า 1/500s

หมัน่ ออกถ่ายภาพบ่อยๆ การไปถ่ายภาพ ในทีเ่ ดิมซํา้ ๆก็เป็นการทำ�ให้ผคู้ นในพืน้ ทีร่ สู้ กึ คุน้ เคยกับเรา ทำ�ให้การถ่ายภาพ Candid สามารถ ทำ�ได้อย่างสะดวกขึน้ นอกจากนีย้ งั ทำ�ให้เรารูจ้ กั สถานทีด่ ขี น้ึ รูท้ ศิ ทางและระยะเวลาทีแ่ สงเหมาะ กับการถ่ายรูปในลักษณะต่างๆ อีกด้วย การดูภาพผูอ้ น่ื เพือ่ ศึกษามุมมองและเป็นแรง บันดาลใจ จะกระตุน้ ให้เราอยากออกไปถ่ายรูป มากขึน้ นอกจากภาพถ่ายแล้ว การดูภาพยนต์ หรือหนังสัน้ และโฆษณาต่างๆ ยังเป็นตัวอย่าง ทีด่ ใี นการศึกษาการวางองค์ประกอบภาพและ ทิศทางของแสงอีกด้วย

Semtember 2011|50mm Ma g azine

| 11


hot summer Latest The Long, Hot Summer Images. BY ACE CHANDHAPRADIT

ลั ก ษณะทั ่ ว ไปของเฟิ ร ์ น ในสกุ ล นี ้ เป็ น เฟิ ร ์ น ดิ น เฟิ ร ์ น เกาะหิ น หรื อ เฟิ ร ์ น เกาะอาศั ย ที ่ เ ริ ่ ม จากพื ้ น ดิ น มี ข นาดเล็ ก ถึ ง ขนาดกลาง

ADIANTUM

เฟิรน์ ก้านดำ� (Adiantum) ถิน่ กำ�เนิด: ตามป่าฝนเขตร้อนทัว่ ไป ชอบขึน้ ตามเขาหินปูนใกล้นา้ํ ตกหรือ ซอกหินปูนทีม่ คี วามชุม่ ชืน้ สูง การปลูกเลีย้ ง: ชอบความชืน้ แต่นา้ํ ไม่แฉะขังในเครือ่ งปลูก เครือ่ งปลูกใช้ดนิ ปนกาบมะพร้าวสับและอืน่ ๆทีท่ �ำ ให้เครือ่ งปลูกโปร่ง ระบายนํา้ ได้ดี แสงรำ�ไร หรือแสงทีผ่ า่ นการกรองมาแล้ว ไม่สามารถทน แสงแดดทีส่ อ่ งโดยตรงแรงๆได้

เฟิ ร ์ น ในสกุ ล Microsorum ชนิ ด ที ่ ม ี ผ ู ้ น ำ � พั น ธุ ์ เ ข้ า มาจากต่ า งประเทศ และเป็ น ที ่ น ิ ย มปลู ก เลี ้ ย งกั น ในบ้ า นเรา ส่ ว นมากมาจากประเทศฟิ ล ิ ป ปิ น ส์ และอิ น โดนี เ ซี ย

เฟิ ร ์ น สกุ ล นี ้ ท ี ่ เ รารู ้ จ ั ก กั น ดี คื อ เฟิ น บลู หรื อ เฟิ ร ์ น บลู ใ บริ ้ ว Phlebodium กระจายพั น ธุ ์ อ ยู ่ ใ นเขตร้ อ นของอเมริ ก า ในป่ า ดิ บ ชื ้ น และ ป่ า ดิ บ เขา ที ่ ม ี ค วามชุ ่ ม ชื ้ น ตลอดปี

MICROSORUM

PHLEBODIUM

เฟิรน์ ไมโครซอรัม่ (Microsorum) ถิน่ กำ�เนิด: ตามป่าฝนเขตร้อนทัว่ ไป มีทง้ั ขึน้ บนดินและเกาะบนคาคบไม้ มี หลายพันธุท์ ง้ั ใบขนาดเล็กและใบยาวร่วม 1 เมตรก็มี ลำ�ต้นเป็นเหง้าเลือ้ ย ใบมีหลายลักษณะ ในรูปนีเ้ ป็นพันธุท์ ก่ี ลายพันธุจ์ ากการผสมขึน้ ในโรงเรือน การปลูกเลีย้ ง: ชอบความชืน้ แต่นา้ํ ไม่แฉะขังในเครือ่ งปลูก เครือ่ งปลูกใช้ดนิ ปนกาบมะพร้าวสับและอืน่ ๆทีท่ �ำ ให้เครือ่ งปลูกโปร่งระบายนํา้ ได้ดี แสงรำ�ไร หรือแสงทีผ่ า่ นการกรองมาแล้ว 12 |

50mm Ma g azine| September 2011

เหง้าของเฟิรน์ บลูใบริว้ (Phlebodium aureum cv. Mandianum) ถิน่ กำ�เนิด: ตามป่าฝนเขตร้อนทัว่ ไป เกาะอาศัยบนคาคบไม้ มีหลายพันธุ์ ทัง้ ใบขนาดเล็กและใบยาวกว่า 1 เมตรก็มลี �ำ ต้นเป็นเหง้าเลือ้ ยมีขนปกคลุม การปลูกเลีย้ ง: ชอบความชืน้ แต่นา้ํ ไม่แฉะขังในเครือ่ งปลูก เครือ่ งปลูกใช้ กาบมะพร้าวสับและอืน่ ๆทีท่ �ำ ให้เครือ่ งปลูกโปร่ง ระบายนํา้ ได้ดี แสงรำ�ไร หรือแสงทีผ่ า่ นการกรองมาแล้ว ไม่สามารถทน แสงแดดทีส่ อ่ งโดยตรงแรงๆได้


พื ช ในวงศ์ น ี ้ มี เ พี ย งสกุ ล เดี ย ว เป็ น สกุ ล เดี ่ ย ว คื อ Selaginellaceae จากซากฟอสซิ ล ทำ � ให้ ท ราบว่ า พื ช สกุ ล นี ้ ป รากฎขึ ้ น บนโลกใบนี ้ และได้ ม ี การพั ฒ นาเปลี ่ ย นแปลงเป็ น แบบต่ า งๆ ในระหว่ า ง Carboniferous Period พวกมั น ยั ง คงลั ก ษณะโบราณเอาไว้ ไ ด้ บางคนจึ ง เรี ย กมั น ว่ า ฟอสซิ ล มี ช ี ว ิ ต Living Fossing

SELAGINELLACEAE

เฟิรน์ นกนารี (Selaginellaceae) ถิน่ กำ�เนิด: ตามป่าฝนเขตร้อนทัว่ ไป ชอบความชุม่ ชืน้ สูงสมํา่ เสมอตลอด เวลา การปลูกเลีย้ ง: ชอบความชืน้ แต่นา้ํ ไม่แฉะขังในเครือ่ งปลูก เครือ่ งปลูกใช้ดนิ ร่วนทีท่ �ำ ให้เครือ่ งปลูกโปร่ง ระบายนํา้ ได้ดี แสงรำ�ไร หรือแสงทีผ่ า่ นการกรองมาแล้ว ไม่สามารถทน แสงแดดทีส่ อ่ งโดยตรงแรงๆได้

เฟิ ร ์ น ในสกุ ล นี ้ หลายชนิ ด มี ค วามสวยงาม มี ก ารนำ � มาปลู ก เลี ้ ย งประดั บ สวน ทำ � ให้ ด ู ช ุ ่ ม ชื ้ น เป็ น ธรรมชาติ โดยเฉพาะเฟิ ร ์ น ข้ า หลวงหลั ง ลาย Asplenium nidus ที ่ เ รารู ้ จ ั ก กั น ดี

เฟิ ร ์ น ก้ า นดำ � เป็ น เฟิ ร ์ น ที ่ ห ลายๆ คนหลงใหลในความอ่ อ นช้ อ ย สวยงาม ด้ ว ยก้ า นสี ด ำ � เล็ ก อ่ อ นโค้ ง ด้ ว ยใบเป็ น แผ่ น เกล็ ด เล็ ก ๆ ทั ้ ง ยั ง มี ม ากมายหลากหลายสายพั น ธุ ์ ป ลู ก ให้ เ ลื อ กสะสม

ASPLENIUM NIDUS

ADIANTUM

เฟิรน์ ข้าหลวงหลังลาย (Asplenium nidus) ถิน่ กำ�เนิด: ตามป่าฝนเขตร้อนทัว่ ไป เป็นเฟิรน์ เกาะอาศัยตามคาคบไม้สงู ๆ ในป่า สปอร์เป็นแถวเรียงเป็นลายด้านหลังใบ การปลูกเลีย้ ง: ชอบความชืน้ แต่นา้ํ ไม่แฉะขังในเครือ่ งปลูก เครือ่ งปลูกใช้ กาบมะพร้าวสับและอืน่ ๆทีท่ �ำ ให้เครือ่ งปลูกโปร่ง ระบายนํา้ ได้ดี แสงรำ�ไร หรือแสงทีผ่ า่ นการกรองมาแล้ว ไม่สามารถทน แสงแดดทีส่ อ่ งโดยตรงแรงๆได้

เฟิรน์ ก้านดำ� (Adiantum) ถิน่ กำ�เนิด: ตามป่าฝนเขตร้อนทัว่ ไป ชอบขึน้ ตามซอกเขาหินปูนใกล้นา้ํ ตก หรือทีม่ คี วามชุม่ ชืน้ สูง ต้นนีก้ ลายพันธุจ์ ากการเพาะสปอร์จากอินโดนีเซีย การปลูกเลีย้ ง: ชอบความชืน้ แต่นา้ํ ไม่แฉะขังในเครือ่ งปลูก เครือ่ งปลูกใช้ ดินปนกาบมะพร้าวสับและอืน่ ๆทีท่ �ำ ให้เครือ่ งปลูกโปร่งระบายนํา้ ได้ดี แสง รำ�ไร หรือแสงทีผ่ า่ นการกรองมาแล้ว ไม่สามารถทนแสงแดดทีส่ อ่ งโดยตรง แรงๆได้ Semtember 2011|50mm Ma g azine

| 13


< RAIN ..

ทุกครัง้ ทีฝ่ นตก ก็จะกระตุน้ จิตให้รตู้ วั ว่า ตอนนัน้ เรารูส้ กึ เช่นไร. ..เป็นไปตามธรรมชาติของมนุษย์ทม่ี จี ติ ใจ อ่อนไหว.เมือ่ มีอะไรมาสัมผัส...รูส้ กึ ได้วา่ ... เหงา...และใช้บรรยากาศทีท่ �ำ ให้เหงา ..สร้างสรรค์ผลงานมากมายจะสัมผัสได้กบั อารมณ์ของผูส้ ร้างสรรค์เลยทีเดียว... Canon 550D len Canon 50mm. f/1.4 1/4000sec. ISO

ROSE OF EMOTION > ดอกกุหลาบสื่อถึง...ความรู้สึกแห่งรัก... By aJFaranG

Canon 550D le

By aJFaranG

LOOK AT..ME เมือ่ คุณมองภาพนี้ สายตาคูน่ น้ั ของเธอ เหมือนมีบางสิง่ บางอย่างทีต่ อ้ งการจะบอก กับคุณ แต่ คำ�ตอบทีไ่ ด้นน้ั อาจทำ�ให้คณ ุ ต้องตกใจ เพราะคำ�ตอบแท้ทจ่ี ริงแล้ว กลับ กลายเป็นสิง่ ทีใ่ จของคุณ...อยากทีจ่ ะบอก กับเธอ...ต่างหากล่ะ By Soravich Leartmaneekarn (Neng kc)

Canon 350D l 50mm/f1.8 l 1/200s f3.2 ISO 400

< BEHIND HER 50 MM. “

“ในจังหวะที่เธอกดชัตเตอร์ อยากรู้เหลือ เกินว่าเธอมองเห็นอะไรในช่วง 50 มม.ของ เธอ” Canon 60D/ EF 50mm F/1.8

โดย ภัสสร มโนรส

NIKON D80 เลนส์นคิ อน 50mm. f/1.8 1/320sec. ISO

< ปลายฟ้า... > แสงยามเช้า ทีภ่ เู ก็ต็ เป็นช่วงจังหวะที่ เฝ้ารอ เป็นสัญญาณ บอกถึงเวลา สีสนั การเดินทาง ของชีวติ ได้เริม่ ขึน้ อีกครัง้ นึง...

By Taliew Zung

DEAR TADA VARICH > “ภาพถ่ายเซตนี้ ได้รบั แรงบันดาลใจจาก ผลงานของคุณ ธาดา วาริช ค่ะ” โดย ภัสสร มโนรส

14 |

50mm g alllery | September 2011

Canon 60D/ EF 50mm F/1.8

Canon 350D | len 50mm/f1.8 | f8 1/100s ISO 100


คู่กันระหว่างทาง > จะมาจากไหน จะไปทีไ่ หน จะชอบหรือ ไม่ชอบ จะรูจ้ กั กันมาก่อนหรือไม่ ระหว่าง ทางเราก็บงั เอิญมาคูก่ นั ได้ ปลายทางจะ เป็นยังไง ขึน้ อยูก่ บั อนาคต (เชียงคานยามเช้าครับ)

By Sevendeman Rachata

en Canon 50mm. f/1.4 1/2000sec. ISO

Canon EOS 550D + EF50mm f/1.8I I ISO 1600 | 1/200 sec | f2.0

< บอบบาง อ่อนไหว

สิ่งเล็กๆที่สำ�คัญ... >

เปรียบกับวัยเด็กทีอ่ อ่ นไหว บอบบางทัง้ ร่างกายและจิตใจ เมือ่ โตขึน้ ผ่านร้อน ผ่าน หนาว ความบอบบางอ่อนไหวก็จะกลาย เป็นความเข้มแข็งและมัน่ คง เหมือนใบโพธิ์ ทีห่ นามากเมือ่ โตขึน้ และไม่คอ่ ยจะผลัดใบ นัน่ เอง

ในสิง่ ทีเ่ ราสัมผัสได้กอ่ นมักจะเป็นสิง่ ที่ ใหญ่ๆกว่าหรือโดดเด่นกว่า ทำ�ให้เรามักจะ มองข้าม กับสิง่ เล็กๆทีอ่ าจจะมองข้ามหรือ ไม่ได้มองมัน แต่นน่ั ..อาจเป็นสิง่ สำ�คัญทีส่ ดุ กว่าสิง่ ทีเ่ ราเห็นมัน... By Taliew Zung

By Ace Chandhapradit

Canon 500D | len 50mm/f1.8 | f2.8 1/80s ISO

< SUMMER “ช่วงฤดูรอ้ น...ณ สวนรถไฟ ในช่วงบ่าย วันหนึง่ ค่ะ ^^”

By Pan Yawan

Canon 500D/ EF 50mm. f/1.4

HERE > “ทีน่ .่ี ..ทีห่ ลายคนเรียกกันว่า สวนพอต เทรตแห่งชาติ”

By Pan Yawan

Canon 500D/ EF 50mm. f/1.4 Semtember 2011| 50mm

g allery | 15


หลายสิบปีก่อนผมได้ตระเวนท่องเที่ยว ไปตามทะเล เกาะแก่ง และป่าเขา ไปกับ เพื่อนๆผมที่เป็นช่างภาพประจำ�อยู่ตาม นิตยสารท่องเที่ยวชื่อดังหลายฉบับที่มีวาง แผงมาจนปัจจุบันนี้ และผมได้ค้นพบว่า ผมต้องการจำ�ลองบรรยากาศที่ผ่านพบมา

WORLD OF FERNS SHOWS CLOSE UP DEPTH OF FILL STUDY 16 |

50mm Ma g azine| September 2011

ผมจึงเลือกทีจ่ ะปลูกเฟิรน์ ทีบ่ า้ นไว้เต็มไปหมด แปะไว้กบั ต้นไม้บา้ ง ห้อยบ้าง แขวนบ้าง ก็สดุ แล้วแต่จะพอใจ และด้วยความทีผ่ มรักการถ่าย ภาพด้วย จึงพยายามทีจ่ ะถ่ายทอดความงาม ของเฟิรน์ ชนิดต่างๆลงสูด่ จิ ติ อลไฟล์ เพือ่ เฝ้าดู ความเจริญเติบโตในแต่ละช่วงอายุของมันก่อนที่ เราจะถ่ายรูปเฟิรน์ ให้นา่ สนใจ เราคงต้องจับจุด เด่นว่าว่าเฟิรน์ เป็นไม้ใบ ไม่มดี อก ขยายพันธ์โุ ดย สปอร์ ลำ�ต้นเป็นเหง้าทอดเลือ้ ย และมีรากเกาะ ไปตามทีม่ นั อาศัยอยู่ ฉะนัน้ เวลาเราถ่ายภาพให้ น่าสนใจก็คงต้องจับเอาลักษณะเด่นเหล่านีเ้ ป็น หลักเพือ่ ให้ภาพทีถ่ กู ถ่ายทอดออกมามีความเป็น เฟิรน์ ชนิดนัน้ จริงๆ ซึง่ ผมขอสรุปเทคนิคการถ่าย รูปเฟิรน์ เป็นข้อๆดังนี้

1.ต้องใช้การถ่ายรูปแบบ Close Up วิธนี ้ี เป็นการนำ�เสนอทีด่ ที ส่ี ดุ ในการดึงเอาจุดเด่น ของลักษณะใบ ซึง่ เป็นทัง้ ใบประกอบคู่ และใบ ประกอบเดีย่ วให้โดดเด่นออกมา ในลักษณะใบ ทัง้ สองแบบนีม้ คี วามสวยงามแตกต่างกันออก ไป บางสายพันธุป์ ลายใบมีแฉกฝอย ใบบิดเป็น เกลียว ใบเป็นฟันเลือ่ ย ใบเป็นแผง ฯลฯ ซึง่ ใน กรณีของผูท้ ไ่ี ม่สนั ทัดเรือ่ งเฟิรน์ ผมขอแนะนำ�ให้ ดูรวมๆทัง้ ต้นก่อน สังเกตุความโดดเด่นและน่า สนใจในความคิดของตัวเอง จากนัน้ ก็ลองมอง ผ่านช่องมองภาพของกล้องเพือ่ ทำ�การครอบใน มุมทีต่ วั เองต้องการ การ CU มากน้อย ก็ขน้ึ อยู่ กับลักษณะของเฟิรน์ ชนิดนัน้ ๆและมุมมองตา กล้องเอง เฟิรน์ หลายพันธุม์ เี หง้าทีม่ ขี นปกคลุม ก็เป็นเสน่หอ์ ย่างหนึง่ ทีไ่ ม่ควรมองข้าม หรือจะ พลิกใต้ใบเพือ่ ดูสปอร์วา่ มีการเรียงตัวกันสวยงาม ไหม เท่านีเ้ ราก็พอจะได้ภาพทีม่ คี วามน่าสนใจ จากการใช้เลนส์ CU ได้เป็นอย่างดี 2.สภาพแสงเฟิรน์ เป็นพืชทีต่ อ้ งการแสงทีผ่ า่ น

BY ACE CHANDHAPRADIT

WORLD OF FERNS

ผมเป็นคนหนึ่งที่ชื่นชอบธรรมชาติความชุ่ม ชื้นของป่าฝนเขตร้อนที่ดูสงบ เยือกเย็น และ สดชื่น กลิ่นไอเย็นๆของละอองหมอก เคล้า กับไอจากดิน และหยดน้ำ�ใสๆเม็ดเล็กๆที่ เรียงราย ระเกะระกะอยู่รอบๆตัว ก็สร้าง ความ ชื่นฉ่ำ�ใจเมื่อยามได้สัมผัสในทุกๆครั้ง ด้วยความประทับใจเหล่านี้ ผมจึงพยายาม เสาะหาสิ่งเหล่านี้มาไว้ให้ใกล้ตัวมากที่สุด นั่นก็คือ ที่บ้านผมเอง


WORLD OF FERNS SHOWS CLOSE UP DEPTH OF FILL STUDY

การกรองมาแล้วโดยร่มเงาของต้นไม้ใหญ่ทม่ี แี สง รำ�ไร ฉะนัน้ การเลือกเวลาถ่ายรูปคงต้องคำ�นึงถึง จุดนีด้ ว้ ย เพราะแสงจะมีผลโดยตรงต่อความเร็ว ชัตเตอร์และรูรบั แสง บางครัง้ การถ่ายทอด ลักษณะเด่นของเฟิรน์ ชนิดต่างๆก็ตอ้ งการความ คมชัดทุกจุด หรือบางอย่างก็ตอ้ งการ DOF เพียง ตืน้ ๆ เพือ่ บดบังความรกและไม่นา่ สนใจของส่วน อืน่ ๆ ทีไ่ ม่ตอ้ งการให้เห็นเด่นชัด เราจึงควรเลือก เวลาช่วงเช้าประมาณ 8.00 น. - 10.00 น. ก็จะ ได้แสงทีส่ วยงาม ส่วนตอนบ่ายก็ประมาณ 13.00 น. - 16.00 น. เท่านัน้

ซีดแสดงว่าได้แดดไม่พอ หรือใบสีเข้มไปแสดงว่า ได้รบั ธาตุไนโตรเจนสูงเกินไป รูปเฟิรน์ ทีส่ วยควร จะต้องออกสีเขียวใสๆหรือเขียวเข้มจะดูสดชืน่ ทีส่ ดุ 3.การถ่ายย้อนแสงเฟิรน์ มีเส้นร่างใยที่ สวยงามแตกต่างกันออกไป ดูประดุจลวดลาย ทีถ่ กู บรรจงเขียนด้วยศิลปินฝีมอื ดี จุดนีเ้ องทีเ่ รา สามารถถ่ายทอดความเป็นเฟิรน์ ชนิดนัน้ ๆออก มาได้ ทีว่ า่ ย้อนแสงนัน้ ไม่ได้หมามความว่าย้อน แสงกันตรงๆจังๆนะครับ แต่ผมหมายถึงเมือ่ แสง ตกกระทบบนใบ ส่วนใดส่วนหนึง่ ทีน่ า่ สนใจ ผม ก็จะเดินอ้อมไปด้านหลังเฟิรน์ ต้นนัน้ แล้วถ่ายรูป เพราะถ้าเช้าหรือเย็นมากเกินไปแสงสีเหลือง จากมุมเฉียงบ้าง ตรงบ้าง แต่ไม่ได้ยอ้ นตรงไป อาจมีผลต่อความสวยงามของใบเฟิรน์ โดยรูปที่ ยังพระอาทิตย์เลย แค่นเ้ี ราก็จะได้ภาพทีม่ เี ส้น ออกมาจะติดสีเหลืองมาด้วย ซึง่ เฟิรน์ ทีส่ มบูรณ์ ร่างใบของเฟิรน์ ทีส่ วยงามไว้ดเู ล่น หรือเฟิรน์ บาง ชนิดอย่างเช่นเฟิรน์ ใบมะขาม หรือเฟิรน์ ก้าน และได้รบั แสงทีเ่ พียงพอ จะมีใบออกเขียวใสๆ ถ้าใบมีสอี มเหลืองแสดงว่าโดนแดดจัด ถ้าสีเขียว ดำ� ก็สามารถถ่ายรูป ย้อนแสงได้จงั ๆเป็นภาพ Silhouette ทีโ่ ชว์ฟอร์มใบได้สวยอีกเช่นกัน 4.การสร้างสภาพแวดล้อมให้ดสู มจริง ตามที่ ผมกล่าวข้างต้นว่าเฟิรน์ แสดงถึงความชุม่ ชืน้ ของ ป่าฝน ฉะนัน้ บางครัง้ หลังจากทีผ่ มรดนํา้ ให้เฟิรน์ เป็นฝอยๆ ก็จะเกิดหยดนํา้ เล็กๆ เกาะอยูต่ าม ใบและก้านใบ จังหวะนี้ นีเ่ องทีเ่ ราสามารถสร้าง สรรค์ รูปทีอ่ อกมาให้ดสู มจริงแบบธรรมชาติใน ป่าหลังฝนตกได้เป็นอย่างดี 5.ใบอ่อนหรือยอดอ่อนก็เป็นจุดเด่นของเฟิรน์ ดินเกือบจะทุกชนิดจะมีใบอ่อนใหม่ทม่ี ว้ นๆเป็น แบบตัว Question Mark นัน่ เพราะมันป้องกัน ตัวเองจากแมลงทีจ่ ะมากัดกิน ยอดอ่อนในระยะ ทีย่ งั ไม่แผ่ขยายออก จุดนีเ้ องทีเ่ ฟิรน์ แต่ละชนิด จะมีลกั ษณะทีไ่ ม่เหมือนกันซะทีเดียว ซึง่ เราจะ ต้องสังเกตุ คะเนมุมและความสวยงามกันเอง ซึง่ สุดแล้วแต่มมุ มองของแต่ละคนทีจ่ ะสร้างสรรค์ รูปให้ออกมาได้นา่ สนใจมากน้อยเพียงใด Semtember 2011|50mm Ma g azine

| 17


หรือ ชาอินเดีย ภาพโดย... ม่วนใจ๋ CHAI

ร้านขาย

สะ พายกล้อง “อยากเห็นโลก ต้องออกไปดูโลก” เหตุผลที่ ทำ�ให้ฉนั ออกเดินทาง เพราะฉันอยากมองเห็น โลกในอีกมุมหนึง่ ด้วยตาของฉันเอง ไม่ใช่จากรูป ถ่ายตามนิตยสาร เวบไซต์ หรือปากคำ�ของคน อืน่ และด้วยความทีเ่ ป็นคนชอบถ่ายรูป ฉันจึง ใช้วธิ นี เ้ี ก็บเรือ่ งราวระหว่างการเดินทางของฉัน

“ฉันอยากไปอินเดีย” ฉันเอ่ยกับเพือ่ น “ไปทำ�ไม อินเดีย ไม่เห็นน่าไปเลย น่ากลัวจะตาย สกปรก ด้วย แขกตัวก็เหม็น” หนึง่ ในประโยคคำ�ถาม และคำ�พูดยอดฮิตจากเพือ่ นสาวเกือบทุกคนของ ฉัน “ก็ฉนั อยากไป” คำ�ตอบสัน้ ๆของฉัน ทำ�ให้ เพือ่ นๆ ต้องเลิกถาม

BANGKOK DELHI JODHPUR UDAIPUR DELHI BANGKOK

18 |

50mm Ma g azine| September 2011

การเดินทางไปอินเดียครัง้ แรกของฉัน เป็นการ ตัดสินใจแบบไม่คอ่ ยได้คดิ แต่กว่าจะได้ไปจริงๆ ก็ 6 เดือนให้หลังๆจากการตัดสินใจวันนัน้ ไม่ใช่ อะไร เทีย่ วแบบประหยัดเราต้องรอโปรโมชัน่ ถูกๆ แต่กว่าฉันจะได้ตว๋ั มานีเ่ หนือ่ ยเอาการทีเดียว ตอนจองตัว๋ ฉันเลือกวันทีม่ โี ปรโมชัน่ แต่พอฉัน กรอกข้อมูล กด SUBMIT ตัว๋ มันดันขึน้ ราคา!! เหมือนมันจะรูว้ า่ ฉันเล็งอยูน่ านว่าจะไปวันนี้ เป็น อย่างนีอ้ ยูส่ ามสีร่ อบ จนฉันท้อใจ บอกตัวเอง ว่า ถ้าคราวนีไ้ ม่ได้อกี ไม่ไปแล้ว(ว๊อยย) โชคดี ทีฉ่ นั และเพือ่ นเป็นพวกว่า๊ งว่าง เลยเลือ่ นวันไป ได้เรือ่ ยๆ และแล้วฟ้าก็ดลบันดาลให้ฉนั ได้ไป อินเดีย ในทีส่ ดุ ฉันก็ได้ตว๋ั เครือ่ งบินมาไว้ในมือ แรกเริม่ ฉันวางแผนไปด้วยกัน 4 คน แต่ถงึ เวลา จริง 2 คนไม่วา่ ง เลยเหลือฉันกับเพือ่ นสาวอีก หนึง่ คน จริงๆฉันแอบวิตกเล็กๆว่า เราผูห้ ญิงสอง คนจะไปกันรอดไหมเนีย่ แต่กเ็ อาน่า แค่อนิ เดีย จะไปกลัวอะไร ไม่ตายหรอก คนอินเดียพูดภาษา อังกฤษได้ ภาษาอังกฤษของฉันก็ถอื ว่า อยูใ่ น เกณฑ์มแี ฟนฝรัง่ ได้กแ็ ล้วกัน (ฮาาา) ทัง้ หมดนี้ ก็เลยเป็นทีม่ าของ 2 กระเหรีย่ งสาวตะลุยเมือง


อยากเห็นโลก ต้องออกไปดูโลก เหตุผลที่ทำ�ให้ฉันออกเดินทาง เพราะฉันอยากมองเห็น โลกในอีกมุมหนึ่งด้วยตาของฉันเอง ไม่ใช่จากรูปถ่ายตามนิตยสาร เวบไซต์หรือจากปากคำ� ของคนอื่น และด้วยความที่เป็นคนชอบถ่ายรูป ฉันจึงใช้วิธีนี้เก็บเรื่องราว “ฉันอยากไปอินเดีย” ไปทำ�ไมอินเดีย ไม่เห็นน่าไปเลย น่ากลัวจะตาย สกปรกด้วย แขกตัวก็เหม็น หนึ่งใน ประโยคคำ�ถามและคำ�พูดยอดฮิตจากเพื่อนสาวเกือบทุกคนของฉัน “ก็ฉันอยากไป” คำ�ตอบสั้นๆของฉัน

เรือ่ ง-ภาพ โดย ม่วนใจ๋

ท่องโลก กับม่วนใจ๋ แขก ฉันถูกเตือนหลายเรือ่ งมากมาย เรือ่ งความ สะอาด เรือ่ งนํา้ ดืม่ เรือ่ งนํา้ แข็ง เรือ่ งห้องนํา้ เรือ่ ง โดนแขกหลอก เรือ่ งนัน่ โน่นนีส่ ารพัด โอ้ยย! อย่าเยอะ ไม่ตอ้ งไปเลยดีไหมเนีย่ กลัวกันยิง่ กว่า คนจะไปกันซะอีก แต่ทกุ คนเตือนก็เพราะเป็น ห่วงฉันนัน่ แหละ ฉันเข้าใจ ก่อนเดินทางก็มเี รือ่ ง ตืน่ เต้นมากมาย ทริปอินเดียของฉันท่าจะมีแวว สนุกปนปวดหัวเยอะจริงๆ เริม่ ตัง้ แต่ เพือ่ นบอก ไปด้วยไม่ได้ 2 คนและเปลีย่ นเส้นทางก่อนไป 1 สัปดาห์ ขอวีซา่ ได้กอ่ นเดินทาง 3 วัน

จองตัว๋ รถไฟ ในอินเดีย

เส้นทางแรกทีว่ างแผนไว้คอื กรุงเทพ DELHI - UDAIPUR - JAIPUR - AGRA - DELHI - กรุงเทพ ภายใน 1 อาทิตย์ แต่ดๆู แล้ว เราจะ เหนือ่ ยเกินไป และไม่สนุก ฉันถือคติทว่ี า่ “จุด หมายปลายทางไม่ส�ำ คัญเท่าเรือ่ งราวระหว่าง ทางทีเ่ ราได้พบเจอ” ฉันจึงเปลีย่ นแผนใหม่ เป็น กรุงเทพ - DELHI - JODHPUR - UDAIPUR - DELHI - กรุงเทพ จากนัน้ ฉันก็จดั การจองตัว๋ รถไฟผ่านเวบ http://www.irctc.co.in แค่เรา มี CREDIT CARD หรือ DEBIT CARD รูว้ นั เวลา สถานทีๆ่ แน่นอนแล้ว เราก็สามารถจองตัว๋ รถไฟ ในอินเดียได้งา่ ยๆ เรียบร้อยแล้วก็แค่ปริน๊ ท์ใบ ทีเ่ ราจองมาเก็บไว้ จากนัน้ ก็เมล์ไปจองโรงแรม ทีพ่ กั ล่วงหน้าในคืนแรก เนือ่ งจากเทีย่ วบินของ ฉันเป็นเทีย่ วดึก จึงต้องจองทีพ่ กั ไว้ลว่ งหน้าก่อน เพราะคงไม่มเี วลาไปเดินหา การจองทีพ่ กั ก็แค่ เมล์ไปถามราคา มีหอ้ งว่างไหม แล้วก็บอกเขา ว่าจะไปวันไหน ยังไม่ตอ้ งจ่ายตังค์ แค่นน้ั แหละ เมือ่ จัดการทุกสิง่ อย่างเรียบร้อยแล้ว ก็แค่รอวัน เดินทางอย่างตืน่ เต้นแค่นน้ั เอง Tips:

การจองตัว๋ รถไฟผ่านเวบ ดูดๆี ว่าเป็น WAITING LIST หรือ ตัว๋ CONFIRMED แล้ว สถานีรถไฟในเดลีมหี ลายสถานี เช็คให้แน่ใจ

ว่าขึน้ สถานีไหน? การขอวีซา่ อินเดียดู ได้ทน่ี ่ี

ถ่ายรูปไว้เป็นหลักฐาน โทรไปเช็คทีโ่ รงแรมว่า ฉันจองไว้จริงหรือเปล่า ให้ฉนั กรอกข้อมูล ชือ่ พ่อ ใช้เวลาทำ�แค่ 1 วัน ชือ่ แม่ ฉันแอบสงสัย(มัน) จะอยากรูช้ อ่ื พ่อฉันไป ทำ�ไมกัน (ฮ่าาา) ฉันไม่ได้รสู้ กึ หงุดหงิดกับความ พอกันที(อี) เดลี! เคร่งครัดและระเบียบการของเขาหรอกนะ อาจ เทีย่ วบินของฉันออกเวลา 19.50 น บิน LOW จะเป็นเพราะว่าทีน่ ม่ี เี หตุวางระเบิดกันบ่อยก็ได้ COST ต้องทำ�ใจ บนเครือ่ งมีคนไทยบ้าง ฝรัง่ นิด และฉันออกจะสนุกซะด้วย ทีไ่ ด้เจออะไรแปลกดี หน่อย แขกอินเดียเต็มลำ� ฉันรูส้ กึ แปลกใจมากที่ ถ้าเป็นเมืองไทยเดินไปเซเว่น ก็ซอ้ื ซิมได้แล้ว และ แทบจะไม่ได้กลิน่ แขกๆ เหมือนตอนทีเ่ ราพบเจอ พนักงานขายซิมโทรศัพท์กอ็ อกจะตลกดี สงสัย พวกเขาตอนอยูบ่ นรถไฟฟ้า หรือท้องถนนทัว่ ไป นานๆจะเจอกระเหรีย่ งไทยแบกเป้ มากันสองคน กว่าเครือ่ งของเราจะไปถึงสนามบินอินทิราคาน ระหว่างรอซือ้ ซิม ฉันก็ได้โอกาสถามพนักงาน ธี ก็ประมาณ 11.00 น. เวลาทีอ่ นิ เดียจะช้ากว่า เรือ่ งรถทีจ่ ะพาเราไปทีพ่ กั บ้านเรา 1.30 ชม. สิง่ แรกทีเ่ ราสองคนต้องการคือ แลกเงินรูปี ซือ้ ซิมโทรศัพท์ จากทีอ่ า่ นมา แท๊กซีแ่ ละสามล้อทีอ่ นิ เดีย…เยอะ น่าเสียใจทีไ่ ม่มไี มโครซิมสำ�หรับ iPhone4 นับ มาก เราไม่ควรเรียกแท็กซีด่ ว้ ยตัวเอง ทีส่ นาม เป็นความโชคดีทเ่ี พือ่ นฉันยังใช้ iPhone3G อยู่ บินจะมีเค้าเตอร์ prepaid taxi (แท็กซีแ่ บบจ่าย เพราะเรามีความจำ�เป็นต้องใช้ Internet ระหว่าง ก่อน) แค่เดินไปแจ้งเจ้าหน้าทีว่ า่ จะไปทีไ่ หน กี่ การเดินทางกว่าฉันจะได้ซมิ โทรศัพท์มาไว้ใน คน มีกระเป๋าใบใหญ่ไหม เขาก็จะคิดราคามา ครอบครอง ก็เหนือ่ ยมาก เนือ่ งจากทีอ่ นิ เดีย แล้วออกใบเสร็จมาให้เราสองใบ ไว้ให้คนขับใบ เคร่งครัดมากเรือ่ งการซือ้ ซิม ฉันโดนตรวจวีซา่ นึงตอนขึน้ รถ และอีกใบนึงไว้ให้ตอนถึงทีห่ มาย http://www.ivac-th.com/

CA MERA,L E N ,S D C ARD ,S TORE AN D VI S A - M Y GEAR BY MUANJAII BEEZE

Semtember 2011|50mm Ma g azine

| 19


I N T I RA K AN T I AI RPORT - D EL HI BY MUANJAII BEEZE

DELHI

“ตืน่ แต่เช้าเพราะนอนไม่หลับ (ฮาาา) ออกไปดูชวี ติ ผูค้ นและหาอะไรกิน กันดีกว่า”

อาหารเช้ามือ้ แรกของฉันชวนเลีย่ นมาก เราสองคนมองหน้ากันแล้วก็ หลั ง จากเช็ ค อิ น เรี ย บร้ อ ย พนั ก งานพาเดิ น ไปห้ อ งพั ก น่ า กลั ว มาก หัวเราะ จะไปกันรอดไหมเนีย่ -*- แต่ไม่เป็นไร เราพกมาม่ามากันคนละ 6 (อ๊ า กกก) ทางเดิ น มื ด ๆโทรมๆ พอเปิ ด ห้ อ งพั ก ปุ ๊ บ เราสองคนอยากจะหั ว ห่อ ฮ่ะๆคนอินเดียส่วนใหญ่ไม่ทานเนือ้ สัตว์ เขาจะเป็นมังสวิรตั กิ นั ถ้ามีเนือ้ เราะทั ้ ง น ํ ้ า ตา ห้ อ งพั ก กากมาก น่ า กลั ว มาก สัตว์กจ็ ะมีแต่ไก่กบั แกะ ทีพ่ กั ของฉันอยูย่ า่ น PAHAR GANJ ก็ประมาณ 370 รูปี โดนชาร์จเพิม่ นิดหน่อย เนือ่ งจากมันดึกแล้ว จากสนามบินไปย่านทีพ่ กั ของฉัน ระยะทาง ก็คล้ายๆจากสุวรรณภูมเิ ข้าเมืองนัน่ แหละ นีถ่ า้ ฉันมาเทีย่ วบินรอบกลาง วัน ก็ไม่ตอ้ งนัง่ แท็กซีห่ รอก เพราะทีน่ ก่ี ม็ รี ถไฟฟ้าเข้าเมืองเหมือนกัน เรียก ว่า METRO

แถวนัน้ มีทแ่ี ลกเงินหลายร้าน เรทต่างกันนิดหน่อย 9 โมงเช้าคนขับ แท็กซีค่ นั เมือ่ คืนมารับ แต่มใี ครอีกคนมาด้วย ฉันแอบหวาดระแวง เพราะ อ่านมาเยอะเรือ่ งกลโกงของคนอินเดีย ก่อนขึน้ รถก็เลยต้องถามเขาอีกรอบ ว่า สองคนนี่ 500 รูปนี ะ ไปทีๆ่ ฉันต้องการทัง้ หมด ตอนเย็นไปส่งฉันทีส่ ถานี รถไฟ OLD DELHI นะ และถามว่าทำ�ไมต้องมีใครอีกคนมาด้วย คนทีม่ า ด้วย พูดมาก มากๆ เขาแนะนำ�ตัวให้เรียกเขาว่า SUPERMAN บอกว่าจะ แท็กซีพ่ าเราวนหลายรอบมาก เราสองคนแอบกังวล เพราะดึกแล้ว มาพาเราเทีย่ ว ไม่คดิ ตังค์เพิม่ นัง่ รถไปสักพักฉันถามว่า เราจะไปทีไ่ หนก่อน แผนทีก่ ม็ ใี ห้ ทำ�ไม(แก)หาไม่เจอ! คนขับรถพาเรามาจอดหน้าออฟฟิศแห่ง คนขับเงียบตลอดทาง SUPERMAN ตอบฉันว่า เราต้องไปเปลีย่ นรถก่อน หนึง่ เขียนป้าย LONELY PLANET หน้าตาเหมือน สนง. ททท. บ้านเรา เพราะแท็กซีส่ ดี �ำ วิง่ เฉพาะรับส่งสนามบิน ต้องเปลีย่ นเป็นสีขาว (แอบงง) แล้วบอกให้เราลงไปถามว่า โรงแรมนีม้ นั อยูต่ รงไหน? กว่าฉันจะถึงทีพ่ กั ก็ จากนัน้ เขาก็พาเราไปจอดหน้าออฟฟิศ LONELY PLANET ทีพ่ าเรามาเมือ่ ปาเข้าไปตีหนึง่ กว่า ก่อนคนขับแท็กซีไ่ ป เขาถามว่า พรุง่ นีเ้ ราสองคนจะไป คืน บอกว่ารอเปลีย่ นรถทีน่ ก่ี อ่ น (ชักแหม่งๆแล้ว) ฉันและเพือ่ นเข้าไปนัง่ รอ เทีย่ วไหน เหมารถเขาไหม 500 รูปี พาไปรอบเมืองเดลี RED FORT, INDIAN ผูช้ ายในออฟฟิศคนเดียวกับเมือ่ คืน ทำ�ท่าเฟรนด์ลม่ี าก ถามนัน่ นีพ่ วกเรา GATE, และทีอ่ น่ื ๆ เราสองคนปรึกษากันแล้ว ก็โอเคตอบตกลง ขีเ้ กียจหา มากันสองคนเหรอ มากีว่ นั จะไปไหนกัน กลับเมือ่ ไหร่ พยายามเก็บข้อมูล ทางไปเอง และกว่ารถไฟของเราจะออกก็เกือบ 6 โมงเย็น เลยตกลงให้เขา เราตลอด มารับตอน 9 โมงเช้า แล้วเราก็พลาด! ตอนไปถามมันว่า สถานีรถไฟทีฉ่ นั ต้องไปขึน้ เย็นนีค้ อื หลังจากเช็คอินเรียบร้อย พนักงานพาเดินไปห้องพัก น่ากลัวมาก (อ๊า OLD DELHI ใช่ไหม เพราะใน E-TICKET ทีฉ่ นั พิมพ์มา มันเขียนแต่วา่ DEL. กกก) ทางเดินมืดๆโทรมๆ พอเปิดห้องพักปุบ๊ เราสองคนอยากจะหัวเราะทัง้ มันขอดูตว๋ั จากฉัน บอกว่าใช่ท่ี OLD DELHI แต่วา่ ตัว๋ คุณยังไม่คอนเฟิรม์ นํา้ ตา ห้องพักกากมาก น่ากลัวมาก แถมมีคนนอนอยูข่ า้ งนอกข้างๆห้อง เลยนี่ คุณต้องโทรไป RE-CONFIREMED ตัว๋ ก่อนนะ ถึงจะไปได้ เอาแล้วไง! ของเราอีกต่างหากแต่ท�ำ ยังไงได้ ดึกมากแล้ว คงไปหาทีอ่ น่ื ไม่ได้ เงินก็จา่ ย (ตรู)งง ผูช้ ายคนนัน้ ทำ�เป็นใจดี จัดแจงโทรศัพท์ไปการรถไฟให้เรา เพราะ ไปแล้ว เหนือ่ ยก็เหนือ่ ย อยากนอนเต็มที แต่จะนอนหลับไหม นํา้ ก็ไม่ได้ซอ้ื กลัวเราเปลืองเงินค่าโทรศัพท์ แต่คนในโทรศัพท์บอกว่าตัว๋ เต็มหมดแล้ว มา มีตดิ ตัวอยูแ่ ค่ครึง่ ขวด จะต้มนํา้ กิน แต่เห็นกาต้มนํา้ แล้วไม่กล้าใช้ นอน เต็มไปจนถึงวันทีเ่ ราจะกลับ แล้วก็วางไป ตอนแรกฉันไม่ได้เป็นคนคุยกับ ดีกว่า T_T เดีย๋ วก็เช้าแล้ว คนในโทรศัพท์เอง ทุกอย่างมาจากปากคำ�ของผูช้ ายในออฟฟิศ 20 |

50mm Ma g azine| September 2011


SUPERMAN Bangkok - Delhi - Udaipur - Jaipur - Agra - Delhi - Bangkok พอถึ ง สถานี ร ถไฟ ฉั น โดนสามล้ อ รุ ม จะให้ ไ ปด้ ว ย ด้ ว ยความที ่ อ ารมณ์ เสี ย มากๆ ฉั น เลยตะโกนบอกพวกเขาว่ า อย่ า มายุ ่ ง กั บ ฉั น ไม่ ง ั ้ น ฉั น จะแจ้ ง ตำ � รวจ!! มันคงรูแ้ ล้วว่าหลอกเราไม่ได้แน่แล้ว มันเลยปล่อยเราไป ออกมาหน้า ออฟฟิศ นาย SUPERMAN มันยังเดินตามเรามา ทำ�ตัวเป็นคนดี บอกว่า เดีย๋ วมันไปส่งทีส่ ถานีรถไฟ เพราะมันรับเรามาจากนัน่ พอขึน้ รถมันจัดแจง บอกว่าเดีย๋ วมันโทรไปเช็คให้วา่ ตัว๋ ของฉันใช้ได้ไหม แล้วหันมาบอกฉันว่า ตัว๋ ใช้ได้แหละ ตอนนัน้ หน้าฉันเป็นบาทาไปแล้ว หงุดหงิดมาก ไม่ตอบอะไร ใครทัง้ นัน้ ฉันเสียเวลาไปหลายชัว่ โมงตรงนี้ ฉันเริม่ กังวลว่าตัว๋ จะใช้ไม่ได้ ผูช้ ายคนนัน้ เลยเสนอทางเลือกให้เรา โดย การวางแผนทริปให้เราใหม่ แล้วให้เราเหมาทัวร์ของมัน ฉันเริม่ รูแ้ กวมันแล้ว เลยแกล้งถามว่าเท่าไหร่ มันบอกว่าคนละ $300 ฉันและเพือ่ นบอกมันว่า ไม่เอาหรอกแพง พวกเรายังเป็นนักศึกษาอยูน่ ะ (เราสองคนหน้าเด็ก ฮ่าา) มันเลยถามฉันว่า แล้วฉันจะเอาไง ฉันบอกว่าฉันอยากได้แค่ตว๋ั รถไฟ อย่า มายุง่ กับชีวติ ฉัน ฉันจะไปทีๆ่ ฉันอยากไปเท่านัน้ มันจึงจัดแจงโทรไปใหม่ แล้วบอกเราว่า มีตว๋ั แต่วา่ คุณต้องจ่ายใต้โต๊ะนะ ราคาแพงกว่าปรกติ ฉัน ถามว่าเท่าไหร่ มันบอกราคามา ซึง่ แพงกว่าเดิมเยอะมาก ฉันจึงบอกให้ เพือ่ นใช้โทรศัพท์ของเพือ่ นโทรไปการรถไฟ ซึง่ โทรเท่าไหร่กไ็ ม่ตดิ แต่พอมัน โทรทีเดียวติด(มันโทรหาใครกันแน่..วะ) แถมโยนโทรศัพท์มาให้เพือ่ นฉันคุย กับใครก็ไม่รู้ บอกเป็นเจ้าหน้าทีก่ ารรถไฟ แล้วก็บอกแต่วา่ ตัว๋ เต็มตลอดจน วันฉันกลับ ผูช้ ายในออฟฟิศก็พยยาามยัดเยียดทัวร์ให้ฉนั และเพือ่ นตลอด เวลา ตอนแรกแอบโง่ ยังเชือ่ มันอยูว่ า่ ตัว๋ เต็ม ตัว๋ ทีเ่ รามีใช้ไม่ได้ แต่โดนยัด เยียดมากๆ ฉันเลยเริม่ รูแ้ ล้วว่ามันจะมาหลอกเราแน่ๆ เลยบอกมันว่า ไม่ เอาแล้ว ฉันจะไปสถานีรถไฟ ทัวร์รอบเมืองอะไรของมันวันนีฉ้ นั ก็ไม่เอาแล้ว แล้วด่ามันเป็นภาษาไทยกับเพือ่ น (ฮ่ะๆ)

พอถึงสถานีรถไฟ ฉันโดนสามล้อรุมจะให้ไปด้วย ด้วยความทีอ่ ารมณ์ เสียมากๆ ฉันเลยตะโกนบอกพวกเขาว่า อย่ามายุง่ กับฉัน ไม่งน้ั ฉันจะแจ้ง ตำ�รวจ!! เข้าไปในสถานีรถไฟ NEW DELHI ถามยามว่า ฉันจะไปเช็คตัว๋ ที่ ตรงไหนว่าใช้ได้ไหม ยามบอกต้องไปอีกทีน่ งึ (ตรู) งงอีกแล้ว มันจัดแจง เรียกสามล้อ และต่อราคาให้ฉนั บอกสามล้อให้พาฉันไปเช็คตัว๋ รถไฟ พอ ถึงที่ กลายเป็น AGENCY ทัวร์อกี แล้ว (โว้ยยย) เราเดินขึน้ ไปเช็คตัว๋ ว่าใช้ได้รปึ า่ ว พอเช็คเสร็จ คนเช็คบอกใช้ได้ แต่ รถไฟชัน้ เนีย้ ไม่ดเี ลยนะ มันหาให้ใหม่เอาไหม ตอนนีฉ้ นั เลิกโง่แล้ว บอก มันว่า ไม่เป็นไร ใช้ได้กข็ อบคุณ ฉันออกมาเรียกสามล้อ จะไปสถานีรถไฟ OLD DELHI สามล้อเสนอหน้ามาก บอกให้เราไปคอนเฟิรม์ ตัว๋ ทีน่ เ่ี ดีย๋ วจะ พาไป แล้วมันก็พาฉันไปส่งทีเ่ อเจนซีท่ วั ร์อกี ที่ (แง๊) ไหนๆก็มาแล้ว ฉันเลย ให้มนั เช็คให้อกี รอบ ซึง่ ตัว๋ ของฉันใช้ได้ ไม่มปี ญ ั หา และมันก็พยายามจะ อัพเกรดตัว๋ ให้ฉนั ฉันเบือ่ มาก (อยากจะกรีด๊ ด) บอกมันว่าไม่ตอ้ งไม่เอาแล้ว และเดินออกมา เรียกสามล้อจะไปสถานีรถไฟ OLD DELHI (พืน้ ทีห่ มด อด เล่าต่อ ..ไว้มาอ่านต่อกันเล่มหน้านะคะ)

Semtember 2011|50mm Ma g azine

| 21


50mm Review | By Eakkachai Ongpreechakul

NIKON D7000 SIGMA 50MM/F1.4 AT F1.4 SPEED 1/4000+0.7 STOPWB : DIRECT SUNLIGHT + B6 PICTURE CONTROL VIVID SAT+2

22 |

50mm Ma g azine| September 2011


50mm Review

ขอบม่วงเยอะมัย้ ? ผมเซทค่ากล้อง (Picture Control) ไป เยอะนะครับ ปกติใช้งานยังไงเทสก็เลยใช้อย่างนัน้ ส่วนใหญ่ ทีผ่ มถ่ายไม่คอ่ ยจะมีสถานการณ์ทต่ี อ้ งย้อนแสงจ้าๆ อะไร แบบนัน้ อันนีก้ ลางแดดเปรีย้ งๆ ที่ 1.4 ครับ ครอป 100% คมใช้ได้ครับ แนวหลังคาสีขาวก็ยงั ไม่เห็นขอบม่วงซักเท่า ไหร่ อันนีถ้ า้ มีโอกาสได้ถา่ ยอีกจะมาบอกเล่าให้ฟงั อีกรอบ ครับ ใช้เป็นเลนส์ตดิ กล้องเดินถ่ายได้เรือ่ ยๆ สบายๆ ฮะ จะ เหมาะมากถ้าใช้กบั กล้องฟูลเฟรมอย่าง D3s D700 ขึน้ ไป ครับ แต่กบั ตัวคูณ ก็ไม่ถอื ว่าขีเ้ หร่อะไร แต่ดว้ ยนํา้ หนักกว่า ครึง่ กิโล ถือนานๆ ก็ไม่คอ่ ยจะรูส้ กึ ว่าเป็นเลนส์ฟกิ ซ์ซกั เท่า ไหร่ครับ - -” มันเมือ่ ยนิวนิด๊ ดดด ปล.ไม่มเี งาดำ�วิกเนตทีข่ อบภาพนะครับ (กับ D7000) เดินเพลินๆ ตัวเดียวเอาอยูค่ รับ อย่างทีบ่ อก ผมชอบมาก ในเวลาทีฟ่ า้ กำ�ลังมืดๆ เดินแบบลืมขาตัง้ กล้องไปได้เลย ย้อนแสงพอมีแฟลร์หน่อยๆ ยิง่ ช่วงคํา่ มืด ขอแค่พอเห็น คอนทราส เลนส์ตวั นีจ้ ดั ภาพดีๆ ให้ได้ครับ เรียกได้วา่ เดิน ถ่ายเล่นเพลินจนเลยเวลากินข้าวเย็นบ่อยฮะ เอาเป็นว่าสำ�หรับผมเลนส์ตวั นี้ ตอบโจทย์หลายๆอย่าง ให้ มิตทิ ด่ี ใี นระยะทีก่ �ำ ลังเหมาะ โฟกัสเร็วทันใจ เงียบ ขอบม่วง น้อย แฟลร์มใี ห้เห็นบ้างเวลาย้อนแสงหนักๆ และโดยเฉพาะ ในทีแ่ สงน้อย คม สีสวย ทีส่ �ำ คัญใส่ฮดู้ หล่อมาก!! เกือบลืมเรือ่ งสำ�คัญสำ�หรับบางคนฮะ โบเก้ ที่ 1.4 กลมดิก๊ ครับ - -” เลนส์ดี สีสวย คุณภาพเยีย่ ม สุดคุม้ !! ข้อเสียทีผ่ มคิดว่าพอจะลืมๆได้ 1. ราคาทีส่ งู ไปนิดราคา กระทบไหล่เลนส์คา่ ยเลยทีเดียว 2. นํา้ หนักทีม่ ากไปซัก หน่อย หากลดลงซัก 1-2 ขีดจะเยีย่ มมาก

Semtember 2011|50mm Ma g azine

| 23


เรือ่ ง-ภาพ โดย Eakkachai Ongpreechakul

50 MM. COOL

STREET - T WI L I GHT BY EAKKACHAI ONGPREECHAKUL

WAYS

TO ADD TECHNIQUE AND CREATIVITY TO YOUR PICTURE

หากจะพูดถึง NORMAL PRIME ไวแสงทีม่ ี ขายทัว่ ไปในท้องตลาด ชือ่ ของ SIGMA 50mm/ F1.4 DG EX HSM คงเป็นเลนส์นอกค่ายลำ�ดับ ต้นๆ ทีเ่ ป็นหนึง่ ในตัวเลือกของใครหลายคน และ บางคนถึงขนาดเอาไปเปรียบเทียบกับเลนส์คา่ ย ตัวท็อปๆ เลยทีเดียวในฐานะทีผ่ มเป็น USER เจ้าของเลนส์ตวั นีจ้ งึ ขอมาพูดคุย เล่าให้ฟงั ว่าเจ้า เลนส์นอมอลตัวนีป้ น็ ยังไง และทำ�อะไรได้บา้ ง

สเปคคร่าวๆ รหัสทีพ่ มิ พ์ไว้ทต่ี วั เลนส์ 50mm/ F1.4 อันนีแ้ น่นอน บอกชือ่ ช่วง และรูรบั แสงปกติ ตัวอักษร DG ของ SIGMA คือ ใช้กบั กล้อง Full Frame Sensor ได้ ใช้กบั Full Frame จะใช้งาน ทางยาวโฟกัส 50 mm แต่ถา้ ใช้กบั กล้องทีม่ ตี วั คูณ จะเทียบเท่า 75 mm (ตัวทีผ่ มนำ�มาใช้คอื Nikon D7000 ทางยาวโฟกัส X1.5 นะครับ) แต่ไม่ ว่าจะคูณด้วยเท่าไหร่เลนส์ยงั คงให้ทศั นมิตทิ ่ี 50 mm เหมือนเดิม

S I GMA 50MM/ F 1 .4 BY EAKKACHAI ONGPREECHAKUL

ถัดมารหัส EX เป็นรหัสเลนส์เกรดโปรของ SIGMA จะเป็นรุน่ ทีม่ เี ส้นขอบทองพาดตรงขอบ กระบอกหน้าเลนส์ HSM (Hyper Sonic Motor) เป็นเลนส์ทม่ี มี อเตอร์ในตัวเงียบ เร็ว สามารถ ใช้กบั บอดีก้ ล้องทีไ่ ม่มมี อเตอร์ได้ (เช่นรุน่ Nikon D3100 D5100) ใช้ชน้ิ เลนส์ทง้ั หมด 8 ชิน้ 6 กลุม่ Number of Diaphragm Blades 9 ใบ รูรบั แสง เปิดกว้างสุดได้ท่ี F1.4 และแคบสุดที่ F16 นํา้ หนักประมาณครึง่ กิโล (ไม่ผดิ นะครับ ประมาณ 500 กว่ากรัม น่าจะหนักทีส่ ดุ ของรุน่ นีใ้ นท้อง ตลาด) หน้าเลนส์ 77 mm ขนาดเท่าเลนส์เกรด โปรทัว่ ไป ตัวเลนส์แรกเห็นครัง้ แรก ต้องสะดุดใจนิดหน่อย กับขนาดทีใ่ หญ่ของมัน เรียกได้วา่ ใหญ่สดุ ในรุน่ ของมันแล้ว หน้าตาคล้ายเลนส์ 85 mm หน้า เลนส์ขนาด 77 mm เข้าใจว่าเพือ่ ให้ไม่ตดิ ขอบ มืดเวลาทีเ่ ปิดรูรบั แสงกว้างสุด หน้าเลนส์ใหญ่ เวลาใส่กบั กล้องเล็กแล้วหัวกล้องจะทิม่ ลง (ตอน ใส่กบั D5000) แต่กบั D300 D90 D7000 ถือแล้ว

24 |

50mm Ma g azine| September 2011

กระชับ คอนโทรลนํา้ หนักบาลานซ์ดคี รับ ด้วยตัว เลนส์ทม่ี ขี นาดรูรบั แสงทีก่ ว้าง ผมเลยจะเทสอะ ไร ทีม่ นั พอจะทำ�ได้บา้ งนะครับส่วนมากผมจะ เทสถ่ายในทีม่ ดื ๆ ซะส่วนใหญ่ บางช่วงเวลาทีผ่ มถ่ายภาพบนรถเมล์ เวลาใกล้ จะห้าทุม่ แล้วรถเคลือ่ นทีโ่ ยกเยกไปมา โฟกัสยัง เร็วพอจะถ่ายได้ อันนีช้ อบมาก เป็นเลนส์ HSM โฟกัสไวมาก กดปุบ๊ ติดปับ๊ ใช้กบั กล้องรุน่ ใหม่ๆ ดัน ISO นิดหน่อย ก็สแนปหยุดการเคลือ่ นไหว ของรถแล่นกลางถนนได้ เวลาประมาณห้าทุม่ ไฟ หน้ามาบุญครองดับสนิท แต่ไฟจากป้ายรถเมล์ ยังคงเอาไหวอยู่ กับ ISO 4000 สปีดที่ 250 เร็ว พอจะหยุดความเคลือ่ นไหวอะไรในสถานการณ์ แบบนีไ้ ด้ฮะ ปล.เวลาเลือกออโต้โฟกัสแล้ว ถ้าคิดว่ามันยัง ไม่เข้าเป๊ะ เราสามารถหมุนโฟกัสแมนนวลช่วย ได้นะครับ ตัวโฟกัสรุน่ นีเ้ ป็นระบบ Full-Time MANUAL OVERIDE ตรงวงแหวนโฟกัสหนืดๆ พอสมควร แต่ไม่แน่ใจว่าใช้ไปนานๆ มันจะลืน่ ขึน้ หรือเปล่านะครับ


ผมมีความรูส้ กึ ว่าเจ้า SIGMA ตัวนี้ จะโฟกัส ได้ดใี นทีม่ ดื มากกว่าทีส่ ว่างนะครับ กดปุบ๊ โฟกัสเข้าปับ๊ ใบนีถ้ า่ ยตอนทุม่ นึงคลืน่ จาก เรือด่วนซัดเข้าโป๊ะแรงครับ โป๊ะโยกไปมา ตลอด บางเวลาขาตัง้ มันก็ท�ำ หน้าทีแ่ บบนี้ ไม่ได้ครับ แสงจะหมดแล้วตอนทุม่ เศษๆ หา โฟกัสย้อนแสงแบบนีย้ ากพอสมควร เพราะ แบบไม่มแี สงสะท้อนอะไรให้จบั คอนทราส เลย - -” 5 ใบ วืดไปซะ 3 กลัน้ ใจนิง่ ๆแล้ว กดมา

อันนีค้ วามรูส้ กึ ส่วนตัวล้วนๆ นะครับ รูส้ กึ ว่า ในทีม่ ดื ๆ โฟกัสของ SIGMA ยังเร็วกว่าของ ค่ายแบบรูส้ กึ ได้ บอดี้ D7000 เหมือนกันที่ เค้าว่ากันว่าโฟกัสเลนส์รนุ่ ใหม่เร็วปรูด๊ แต่ ของค่ายถ้าเข้าเป้า แทบไม่ตอ้ งยํา้ เลย แม่น กว่าพอสมควร ไว้มโี อกาสจะลองหามา เทสกันอีกทีครับ ครัง้ นีแ้ ค่อยากลอง ความเร็วในทีม่ ดื เฉยๆ ฮะ

NIKON D7000 SIGMA 50MM/F1.4 AT F1.4 1/640S ISO 1000 DAYLIGHT BLUE+3

NIKON D7000 SIGMA 50MM/F1.4 AT F1.4 1/80S ISO 1000 DAYLIGHT BLUE+4 BRIGHTNESS +1 ADL HIGHT Semtember 2011|50mm Ma g azine

| 25


Exclusive Interview | oun Sirichote

26 |

50mm Ma g azine| September 2011


oun Sirichote

Semtember 2011|50mm Ma g azine

| 27


OUN

SIRICHOTE

ผมน่ า จะเป็ น ช่ า งภาพที ่ อ อกมาจากหนั ง สื อ รุ ่ น สุ ด ท้ า ยที ่ ถ ่ า ยภาพด้ ว ยฟิ ล ์ ม ผมก็ ย ั ง ทำ � งานอย่ า งฟิ ล ์ ม นะ คิ ด คร่ า วๆแล้ ว ทำ � บางที SKETCH บางที ก ็ ไ ม่ ไ ด้ ท ำ � ทุ ก คนก็ ร ู ้ ว ่ า ดิ จ ิ ต อลมั น ดี และดี ข ึ ้ น เรื ่ อ ยๆ

apicharn sirichote: ได้เล่าประวัตสิ ว่ นตัว ของเขาว่า.. เรือ่ งเด็กๆผมจำ�ไม่ได้หรอกครับ มี แต่คนเล่าให้ฟงั แต่สง่ิ ทีท่ �ำ ให้เรือ่ งเล่ามันจริงขึน้ มาก็เรือ่ งทีเ่ ล่าจากรูปนีล่ ะ่ พ่อถ่ายเก็บไว้ ทัง้ พ่อ และแม่เป็นคนชอบถ่ายรูป และเล่นกล้องด้วย พ่อล้างเองอัดเอง ส่วนแม่ถา่ ยรูปเสร็จก็เอาให้พอ่ (ฮ่าๆ) พ่อเป็นหมออยูใ่ นตึกเอ๊กซเรย์ โรงพยาบาล ทีพ่ ษิ ณุโลก หลังเลิกงานห้องทำ�งานพ่อก็กลาย เป็นห้องมืด 50MM: อะไรทีเ่ ริม่ ทำ�ให้เข้าสูก่ ารถ่ายภาพ apicharn sirichote: คนทีท่ �ำ ให้ผมเกิด ความรูส้ กึ อยากจะถ่ายภาพคือแม่ และพ่อ เวลาไปเทีย่ ว แม่จะมีกล้องทีแ่ ม่เรียกว่ากล้อง ปัญญาอ่อน คล้องคอไปด้วยเสมอ แม่บอกว่า เราใช้อย่างนีด้ แี ล้วเพราะว่ากล้องน่ะฉลาดแต่ คนถ่ายไม่ฉลาด กล้องคิดให้หมด ก็จริงอย่างแม่ บอกเวลาแม่ลา้ งอัดและส่งรูปมาให้ดู ฟิลม์หนึง่ ม้วน แม่ถา่ ยสวยทุกรูป แม่ถา่ ยได้เราก็อยาก ถ่ายบ้าง 50MM: ก่อนหน้านัน้ หรือในช่วงวัยเรียน ได้มี โอกาสสัมผัสกับการถ่ายภาพยังไงบ้าง apicharn sirichote: กล้องตัวแรกทีแ่ ม่ให้ เพราะคุณลุงทีร่ า้ นเมไล(ร้านถ่ายรูปเก่ามาก)ที่ พิษณุโลกยุให้แม่ซอ้ื เป็น Kodak รุน่ (จำ�ไม่ได้)ใช้ ฟิลม์ 126 ใช้งา่ ย แต่มว้ นแรกออกมามืด เพราะ 28 |

50mm Ma g azine| September 2011

ผมนึกว่าถ่ายท่ไ่ี หนก็ได้ ม้วนแรกไม่ส�ำ เร็จกล้อง นัน้ ก็เลยถูกเก็บไว้ในตูต้ ง้ั แต่นน้ั 50MM: อุปกรณ์ตวั แรกๆ ทีม่ โี อกาสได้ใช้เป็น พวกอะไรบ้าง apicharn sirichote: ถ้ากล้องตัวแรกทีเ่ ป็น เรือ่ งเป็นราวเลยคงจะเป็น PENTAX SUPER A กับเลนส์ smc A 50mm 1.4 ทัง้ กล้องและเลนส์ ดีมาก ดีมากๆ ได้มาตอนประถมห้า คนขาย กล้องทีร่ า้ นญีป่ นุ่ บอกว่าถ้าจะเอา เอาตัวนีด้ กี ว่า อย่าเอาเลยกล้องกดอย่างเดียว จำ�ได้วา่ ทัง้ หมด ราคาเจ็ดพันบาท(สมัยนัน้ ) ไม่มใี ครสน ลองผิด ไม่เคยถูกมาตลอดหลังแม่บอกว่าไม่ไหวนะ ค่า ต่างๆมันแพง ลองหาหนังสือมาอ่าน หรือจดไว้สิ เวลาถ่ายทุกครัง้ ตอนนัน้ เวลาเราถ่ายอะไรก็จะ จดค่าไว้ทกุ ครัง้ จดบ่อยๆจนรูแ้ น่วา่ แสงแบบนี้ วัดแสงได้เท่าไหร่ เผือ่ เท่าไหร่จะออกมาอย่างที่ คิด มันก็เริม่ สนุก มาเรือ่ ยๆจน มัธยมสาม จาก ทีถ่ า่ ยหมา แมว รัว้ บ้านและของแถวๆบ้าน ก็ได้ เริม่ เอากล้องมาถ่ายเพือ่ นทีโ่ รงเรียน ทุกครัง้ ทีแ่ ม่ ลงมากรุงเทพ แม่จะเพิม่ เงินพิเศษให้จ�ำ นวนหนึง่ ไม่มากแต่พอจะซือ้ ฟิลม์ และล้างอัดได้สองสาม

ม้วน ตัง้ แต่เริม่ ใช้ PENTAX SUPER A มาก็ใช้ เลนส์ 50mm มาตลอดจนเข้ามหาวิทยาลัย เรา เรียนทีห่ อการค้า เรียนนิเทศ เอกวารสาร ตอน นัน้ สอบเข้ามหาวิทยาลัยไม่ตดิ ดังคาด คิดว่าจะ เรียนให้จบปริญญา อะไรก็ได้ แต่รอู้ ยูว่ า่ จบอะไร ก็จะทำ�งานถ่ายภาพ เท่านัน้ ตัง้ ใจมาตัง้ แต่เด็กๆ จากทีช่ อบถ่ายรูปเรือ่ ยเปือ่ ย ก็เริม่ ถ่ายแบบ มีโจทย์ ตัง้ ให้ตวั เองแล้วก็ท�ำ ตามนัน้ ทีไ่ ม่เรือ่ ย เปือ่ ยเพราะเริม่ รูว้ า่ ค่าใช้จา่ ยตรงนีม้ นั แพง 50MM: ช่วงแรกๆทีเ่ ริม่ เข้าสูก่ ารถ่ายภาพ ตอน นัน้ สนใจถ่ายภาพประเภทไหนเป็นพิเศษ apicharn sirichote: ผมชอบถ่ายภาพคน ถ่าย สิง่ ทีเ่ ขาเรียกว่าแฟชัน่ ก็คงได้ แต่ผมชอบถ่าย ภาพคนมากกว่า ชอบคุย อยากรูจ้ กั ได้แอบมอง เขาในช่องสีเ่ หลีย่ มเล็กๆ ได้บนั ทึก ก่อนจะเรียน จบผมเริม่ รูจ้ กั กล้องยีห่ อ้ อืน่ มากขึน้ รูจ้ กั CANON เลยได้เปลีย่ นมาเป็น CANON เริม่ ใช้และเริม่ ชอบ ช่วงนัน้ มีเหตุการณ์พฤษภา 2535 เพิง่ จบไปปีตอ่ มาเดินไปบอกอาจารย์วา่ อยากไปฝึกงานที่ THE NATION เท่านัน้ และก็ได้ไปจริงๆได้ลอง สนามจริง เหมือนพีๆ่ เขาทำ�กัน ชอบ แล้วก็รวู้ า่ ชอบแต่คงจะไม่เหมาะ แต่กร็ สู้ กึ ว่าโชคดีทไ่ี ด้ ทดลองทำ� 50MM: งานแรกทีท่ �ำ และมีรายได้จากการถ่าย ภาพ อยากให้เล่าคร่าวๆว่าเข้าไปสัมผัสได้ยงั ไง และทำ�ในหน้าทีอ่ ะไร ในตอนเริม่ ต้น apicharn sirichote: งานแรกทีท่ �ำ แล้วได้เงิน จากถ่ายภาพคือ รับปริญญา ทีร่ นุ่ พีห่ ามาให้


INTERVIEW สนุกดี แต่กร็ วู้ า่ เราไม่ชอบ ไม่ชอบบรรยากาศ ทีแ่ ต่ละคนชอบเอาอุปกรณ์มาอวดกัน เรามี PENTAX SUPER A เลนส์ 50mm หลังๆก็ไม่ไป อีก(เป็นคนเรือ่ งมาก) งานแรกทีท่ �ำ คือสกุลไทย ทำ�งานได้เงินเดือน ได้ประสบการณ์ ได้รจู้ กั คนมากมาย ครัง้ หนึง่ พี่ ธีรภาพ โลหิตกุล คุยกับผมว่า มีทไ่ี หนทีเ่ ขาจะ จ้างเราถ่ายรูปแถมมีฟลิ ม์ ให้ใช้ฟรีๆอีก ผมยัง จำ�ได้ถงึ เวลานี้ ออกจากสกุลไทยไปอยูห่ นังสือ อาหารชือ่ HEALTH & CUISINE และต่อมาที่ แพรว สุดสัปดาห์ ทุกวันถ่ายภาพเยอะมาก ใช้ ทุกอย่างทีม่ ี ได้ใช้ฟลิ ม์ ประเภทต่างๆเยอะมาก ได้ทดลองสิง่ แปลกในการทำ�ภาพ ได้คดิ สนุกๆ 50MM: ส่วนใหญ่เรียนรูก้ ารทำ�งานจาก ประสบการณ์ หรือจากความรู-้ จินตนาการของ ตัวเอง เพราะว่า? apicharn sirichote: สิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ ตอนเด็กๆ จะทดลองเอง แต่พอมีเพือ่ นทีช่ อบเหมือนกัน รุน่ พีท่ ท่ี �ำ งานเวลามีอะไรก็ถาม ผมค่อนข้างโชคดีท่ี มีคนแนะนำ�เสมอๆ 50MM: อะไรคืออุปสรรค-ปัญหา ทีเ่ จอบ่อย ทีส่ ดุ ในการทำ�งาน แล้วแก้ไขยังไง? apicharn sirichote: ปัญหาเจอบ่อย แต่มนั เป็นเรือ่ งสนุก ปัญหาไม่คอ่ ยเป็นเรือ่ งการถ่าย ภาพแต่จะเป็นเรือ่ งการจัดการ เรือ่ งคน เรือ่ ง อารมณ์ ทีเ่ ราก็ตอ้ งเข้าไปมีสว่ นร่วม 50MM: ขบวนการขัน้ ตอนในการทำ�งาน ทีต่ อ้ ง วางแผนทุกครัง้ ก่อนเริม่ ทำ�งาน มีมย้ั อยากให้ อธิบาย? ถ้าไม่มเี พราะอะไร apicharn sirichote: เวลาทำ�งานมีวางแผน บ้างแต่ไม่ใช่วางระยะยาวเผือ่ ใจเสมอถ้าทำ�ไม่ได้ และก็บอ่ ยกับความคิดทีเ่ ตรียมมามักไม่ได้ใช้แต่ ความคิดแก้ปญ ั หาทีส่ องมักได้ผล สนุกดีเวลาที่ ต้องแก้ปญ ั หาหน้างานในเวลาน้อยๆ

50MM: อยากทราบทัศนะคติ ทีม่ ตี อ่ ดิจติ อล กับฟิลม์ ข้อดี-ข้อเสีย ชอบการทำ�งานแบบไหน มากทีส่ ดุ apicharn sirichote: ผมน่าจะเป็นช่างภาพ ทีอ่ อกมาจากหนังสือ รุน่ สุดท้ายทีถ่ า่ ยภาพ ด้วยฟิลม์ ไม่รวู้ า่ มันต่างกันมากไหมในเรือ่ งของ เทคนิค แต่โลกมันก็เปลีย่ นโชคดีทเ่ี ราใช้ CANON เปลีย่ นแค่กล้องแต่เลนส์เราใช้ของเดิม ทีม่ ี ผมก็ยงั คงทำ�งานอย่างฟิลม์ นะ คิดคร่าวๆ แล้วทำ� บางที SKETCH บางทีกไ็ ม่ได้ท�ำ ทุกคนก็ รูว้ า่ ดิจติ อลมันดี และดีขน้ึ เรือ่ ยๆ ดิจติ อลมันตอบ เราอย่างทีเ่ ราต้องการได้ถา้ เรามีสง่ิ ทีต่ อ้ งการใน ใจ ทำ�อย่างทีค่ ดิ ไม่ใช่ท�ำ อย่างไม่คดิ ไม่อยากให้ เทคโนโลยีมากลืนเรา แล้วขัน้ ตอนจะน้อยลงถ้า เรารูว้ า่ จะทำ�อะไร ก็คดิ ก่อนทำ� 50MM: ใช้โปรแกรม ตกแต่งภาพเองหรือเปล่า อยากทราบทัศนะคติกบั การใช้โปรแกรมตกแต่ง ภาพ และมีความคิดยังไงกับคำ�ว่า “จบทีห่ ลัง กล้อง” apicharn sirichote: ผมไม่เคยจบทีห่ ลัง กล้อง พยายามทำ�ให้กลางๆ เอาเงา เอาแสง อย่างทีอ่ ยากได้ แล้วไปทำ�ต่อ ถ่ายเป็น RAW FILE งานทีท่ �ำ ผมใช้โปรแกรมทำ�รูปอยูส่ ามตัว APERTURE,CAPTURE ONE PRO,PHOTOSHOP CS4 ใช้ของลิขสิทธิ์ เมือ่ ก่อนลงโปรแกรมผีๆ หลายตัว แต่ตอนนีค้ ดิ ใหม่ คิดว่าเราทำ�งาน เรา ได้คา่ จ้าง คนทีเ่ ขาคิดเขาก็ใช้สมอง เราทำ�งานก็ เหมือนกัน ต้องไม่เห็นแก่ตวั ทำ�ให้มนั ถูกต้อง

หลายคน ถ้าฝรัง่ จะมี HERB RITTS, SANTE DORAZIO, MARIO TESTINO, ELLEN VON UNWERTH คนไทยผมชอบ วชิรา วิชยั สุทธิกลุ ,พี่ โจ สุรตั น์ ส่วนใหญ่ผมชอบภาพคน ภาพ SNAP SHOT มากกว่าภาพวิว ชอบงานทีด่ ดู บิ ๆ แต่ไม่ สกปรก งานทีไ่ ม่คดิ มาก 50MM: มีค�ำ แนะนำ� อะไรบ้างสำ�หรับคนที่ กำ�ลังจะก้าวเข้าสูอ่ าชีพช่างภาพ หรือคนทีส่ นใจ อยากจะจริงจังในงานสายอาชีพนี้ ต้องเริม่ ต้น ยังไงบ้าง? apicharn sirichote: ถ้าใครอยากทำ�งานถ่าย ภาพ ลองเอางานไปเสนอตามหนังสือต่างๆ ลอง ทำ�งานตามโจทย์ทกุ วัน เราได้ยนิ บ่อยๆว่าภาพ แบบนีไ้ ม่ยาก ถ่ายได้สบายๆ ไม่มอี ะไรฝากเรือ่ ง ถ่ายภาพแต่อยากฝากว่าความมัน่ ใจน่ะดี แต่ใช้ ให้ถกู เวลา ไม่ใช่แค่เรือ่ งถ่ายรูปแต่กบั ทุกเรือ่ งเลย 50MM: นอกจากงานทีท่ �ำ แล้ว ชีวติ ประจำ�วัน ชอบถ่ายภาพอะไรมากทีส่ ดุ ใช้อะไรถ่าย? apicharn sirichote: ทุกวันก็ยงั ถ่ายรูป วันไหน ทีไ่ ม่มงี านก็ถา่ ยรูป ใช้ iPhone บ่อย ถ่ายรูปลูก ถ่ายทุกอย่าง

50MM: มีอะไรทีอ่ ยากจะทำ�มากทีส่ ดุ แล้วยังไม่ ได้ท�ำ หรือยังไปไม่ถงึ 50MM: ช่างภาพทีช่ น่ื ชอบ และพยามนำ�มาเป็น apicharn sirichote: สิง่ ทีอ่ ยากทำ�ตอนนีไ้ ม่ แบบอย่างหรือว่าต้นแบบ มีมย้ั เพราะอะไร? เกีย่ วกับถ่ายรูปแต่อยากลงแข่งวิง่ มาราธอน apicharn sirichote: งานช่างภาพทีช่ อบมี Semtember 2011|50mm Ma g azine

| 29


Exclusive Interview | oun Sirichote

50MM: หลังจากทีไ่ ด้สมั ภาษณ์ อ้วน อย่างเป็นเรือ่ งเป็น ราว จากก่อนหน้านีท้ ร่ี จู้ กั กันมาร่วมสามปี ไม่เคยคุยเรือ่ งนี้ กันเลย จากบทสัมภาษณ์จะเห็นว่า อ้วนมีความผูกพันกับ งานถ่ายภาพมาตัง้ แต่เด็กๆสะสมประสบการณ์ แนวคิด มา เรือ่ ยๆ จนกระทัง้ มาเป็นช่างภาพอาชีพ ต้องขอขอบคุณอ้วนจริงๆครับ ทีไ่ ด้เปิดโลกส่วนตัว ให้เราได้ เรียนรู้ และรูส้ กึ เป็นเกียรติอย่างยิง่ ทีอ่ ว้ นมาเป็นแขกรับเชิญ ให้สมั ภาษณ์ กับ 50mm Magazine เล่มแรกของเรา และ เราก็เชือ่ ว่า อ้วนสามารถทีจ่ ะเป็นนักวิง่ มาราธอนได้ ตามที่ ตัง้ ใจไว้ครับ

http://www.oun-sirichote.com http://ounsirichote.wordpress.com/ http://vimeo.com/oun http://www.portfolios.net/ounoun http://www.twitter.com/ounisoun http://facebook.com/oun.oun.oun

30 |

50mm Ma g azine| September 2011


oun Sirichote

Semtember 2011|50mm Ma g azine

| 31


“พ่อหลวง” ออกเดินทางท่องเทีย่ ว มาถึง จ.อุตรดิตถ์ มี โอกาสไปเดินตลาดเทศบาล 5 ยามเย็น และ ได้เดินไปเห็น แผงหนึง่ ซึง่ วางพระบรมฉายาลัก ษ์ ของในหลวงของเรา ซึง่ ส่วนหนึง่ ก็แปลกใจ ว่า ปกติตามตลาดนัดจะไม่คอ่ ยมี จึงได้เก็บภาพ มาให้ชม เพราะว่านีค่ อื สิง่ ทีห่ าไม่ได้ทไ่ี หนยกเว้น ประเทศไทย ทีพ่ อ่ หลวงของเราเป็นทีย่ ดึ เหนีย่ ว จิตใจของคนไทยทัง้ ชาติทท่ี ง้ั เคารพและเชิดชู เสมอมา เราเกิดเป็นคนไทยเกิดบนผืนแผ่นดินไทยเรา ทุกคนโชคดีแล้วครับ ทีม่ พี อ่ หลวงทีท่ ง้ั รักและทัง้ ห่วงใยประชาชน และเราก็ควรทีจ่ ะตอบแทนคุณ ของแผ่นดินจะมากหรือน้อยก็ควรทีจ่ ะทำ�บ้าง แล้วท่านลงมือทำ�หรือยัง โดย เคน ท่องเทีย่ วทัว่ ไทย

Nikon D90 | len 50mm/f1.8 ข้อมูลภาพ ISO1600 f2.8 1/80s

“ทรงกลด” วันทีฝ่ นพรำ� แหงนหน้าดูฟา้ เห็นพระอาทิตย์ทรงกลดพอดี เลยหยิบกล้องมาถ่าย ไม่อยากถ่าย ให้เห็นทัง้ วง เอาแค่เห็นส่วนโค้งก็พอ ภาพออกมาไม่มคี อนทราสต์เลย ใช้ Aperture คำ�สัง่ Auto Enhance แต่มน ั เข้มไป เลยไปดึงๆ โดยปรับพวก Exposure ให้มนั สว่างขึน้ หน่อยก็เสร็จเรียบร้อย By Teeradej

GALLERY “สนุกจริง” รอยยิม้ ของเด็ก มักสดใสและแสดงความ รูส้ กึ มาได้อย่างเต็มทีจ่ ริงใจ ไม่ตอ้ งห่วงสวย ไม่ตอ้ งห่วงว่าคนอืน่ จะมองยังไง สดใจจริงใจ สนุกสนานได้เต็มที่ ต่างจากผูใ้ หญ่เราทีต่ อ้ งห่วง รอบข้าง และ รักษาภาพลักษณ์ของเราให้ดดู ใี น สายตาคนอืน่ เสมอ Nikon D700 + 50 1.4G ISO200 F1.6@1/3200s

By Tikhamporn Chinook Auscharanuwat

Canon 60D | EF50mm | f5.6 1/3200sec


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.