เครื่องเทศ

Page 1


คํานํา เครื่องเทศเปนผลิตผลที่ไดมาจากสวนตาง ๆ ของพืช เชน เปลือก ใบ ดอก ผล เมล็ด ฯลฯ ที่นํามาใชในการปรุงแตงกลิ่น สี และรสอาหาร เครื่องเทศยังชวยในการ ถนอมอาหาร เพราะพืชเครือ่ งเทศจะมีกลิน่ หอมจากน้ํามันหอมระเหยเปนสวนประกอบหลัก ซึ่งชวยฆาหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย จึงทําใหอาหารไมบูดเสีย นอกจากนี้ เครื่องเทศทุกชนิดยังเปนเครื่องยามีสรรพคุณทางยาสมุนไพรดวย เครื่องเทศเปนพืชพื้นเมืองของประเทศเขตรอน เครื่องเทศที่มีการคาและ การใชกันทั่วโลกไดแก พริกไทย กระวาน กานพลู อบเชย วานิลลา จันทนเทศ เปนตน เอกสารฉบับนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการปลูกจนถึงการเก็บเกี่ยวเครื่องเทศ 4 ชนิด ที่ไมมีการปลูกเปนการคาจริงจังในประเทศไทย คือ กานพลู จันทนเทศ อบเชย และวานิลลา ซึ่งพืชเหลานี้สามารถเปนพืชทางเลือกใหมที่จะสรางรายไดแกเกษตรกรตอไป กรมสงเสริมการเกษตร 2546

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


สารบัญ เรื่อง

หนา

กานพลู

1- 8

จันทนเทศ

9 - 15

อบเชย

16 - 23

วานิลลา

23 - 31

เอกสารอางอิง

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

33

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


กานพลู

กานพลู กานพลู คือ ดอกทีย่ งั ไมบานของตนไมชนิดหนึง่ ในวงศเมอรเทซีอเี ชนเดียวกับ ยูคาลิปตัส ภาคเหนือเรียก จันจี่ มีตนกําเนิดในประเทศอินโดนีเซีย ตนกานพลูสูงประมาณ 12 - 15 เมตร เปนไมเนื้อแข็ง ไมผลัดใบ ใบเปนรูปหอก ใบออนสีแดงชมพู ดอกกานพลู ออกเปนชออยูท ปี่ ลายกิง่ ลักษณะเหมือนดอกชมพู และจะผสมเกสรในดอกเดียวกัน ดอกออนมี สีเขียวแลวคอย ๆ จางลง จนเปนสีเหลืองและสีชมพู ดอกทีบ่ านแลวจะมีสีแดงเขม ผลกานพลู คลายผลหวา มีเนื้อสีดําเมล็ดนิ่ม

ตนกานพลู

ใบ ผล และเมล็ดกานพลู

สภาพแวดลอมที่เหมาะสม กานพลูเปนพืชทีเ่ จริญไดดใี นเขตรอนชืน้ และชอบความชืน้ สูง มีฝนตกสม่ําเสมอ ตลอดป หรือมีปริมาณน้าํ ฝนประมาณ 2,000 - 3,000 มิลลิเมตรตอป อุณหภูมเิ ฉลีย่ ประมาณ 24 - 33 องศาเซลเซียส สภาพพื้นที่ควรเปนดินรวนปนทราย หนาดินลึกมีอินทรียวัตถุสูง การระบายน้ําดี หากการระบายน้ําไมดีจะทําให ตนกานพลูสลัดใบและชะงักการเจริญเติบโต ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

1


กานพลู ความเปนกรดดางของดินประมาณ 5.5 - 6.5 สามารถปลูกไดในพื้นที่สูงตั้งแตระดับน้ําทะเล จนถึงที่มีความสูง 800 - 900 เมตร แหลงผลิตกานพลู ไดแก จังหวัดจันทบุรี นราธิวาส ชุมพร ยะลาและปตตานี การขยายพันธุ กานพลูสามารถขยายพันธุไ ดหลายวิธี เชน การเพาะเมล็ด การตอน การทาบกิง่ หรือการชํากิ่งออน แตวิธที ี่นิยมกันมากที่สุดคือวิธกี ารเพาะเมล็ด เนื่องจากจะทําใหไดกานพลู ที่มีระบบรากแข็งแรง เมล็ดกานพลูจะมีการสูญเสียความงอกไดเร็วมาก เมล็ดที่ไดจากผลที่ เก็บเกี่ยวใหม ๆ จะมีความงอกประมาณรอยละ 90 หลังจากนั้นความงอก จะลดลงอยาง รวดเร็ว การเพาะเมล็ดจึงควรทําทันที โดยวิธีการปฏิบัติ ดังนี้ 1. เลือกเมล็ดพันธุกานพลูจากตนที่มีผลผลิตสูง ทรงพุมสวย เลือกเก็บผลสุก สีดําสมบูรณ ไมมีแมลงเขาทําลาย โดยเลือกเก็บเฉพาะผลที่อยูบนตนเทานั้น ไมควรนําเมล็ด ที่หลนใตตน เหี่ยวแหงมาเพาะ 2. นําเมล็ดกานพลูดังกลาวไปแชน้ํา นานประมาณ 3 ชั่วโมง แลวลอกเอาเนื้อ หุมเมล็ดออก 3. นําไปเพาะในกระบะทราย รดน้ําเชา - เย็น พอชืน้ และควรเพาะในเรือนเพาะชํา 4. เมล็ดกานพลูจะงอกหลังจากเพาะเมล็ดไดประมาณ 2 สัปดาห ตนกานพลู งอกสูงประมาณ 5 - 7 ซม. จึงควรทําการยายลงชําในถุง พลาสติกที่ บรรจุดิ นผสม ( ดิน : แกลบ : ปุยคอก : ในอัตรา 3 : 2 : 1 ) 5. ใชเวลาประมาณ 12 เดือน ตนกานพลูจะสูงประมาณ 50 ซม. จึงทําการยาย ลงแปลงปลูก แตกอนทีจ่ ะนําตนกลากานพลูไปปลูก ตองหมัน่ เอาตนกานพลู ออกรับแดดบาง เปนครั้งคราว เพื่อใหตนกลาแข็งแรง และทนทานตอสภาพแวดลอมดีขนึ้

แกะเมล็ดเพื่อเพาะ

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

แปลงเพาะกลา

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

2


กานพลู การเตรียมดิน ควรทํากอนฤดูฝน โดยกําหนดระยะปลูกระหวางตนและระหวางแถว 8 x 8 เมตร อัตราการใชพันธุ 25 ตนตอไร แลวทําการขุดหลุมปลูก ขนาดประมาณ 50 x 50 x 50 ซม. ตากดินไวประมาณ 1 สัปดาห เพื่อกําจัดโรคแมลงบางสวนที่ติดอยูในดิน นําหญาแหงมารอง กนหลุมเพื่อชวยระบายน้ํา ใสปุยคอก 5 กก. ตอหลุมผสมคลุกเคลากับดินรองที่กนหลุม การเตรียมหลุมควรเตรียมลวงหนากอนปลูก 2 - 4 สัปดาห การปลูก นําตนกลากานพลูที่แข็งแรงมาปลูกในหลุมที่เตรียมไว ควรทําไมค้ําตนเพื่อ ปองกันลมพัด จากนั้นหาใบมะพราวหรือวัสดุอื่นมาใหรมเงาในระยะแรกที่ปลูกใหม เพื่อลด ความแรงของแสงแดด การปลูกอาจปลูกรวมกับพืชชนิดอื่น เชน หมาก จันทนเทศ เพื่อชวย พรางแสงใหรมเงา เพราะที่แจงกิ่งกานพลูจะแหงงาย การดูแลรักษา - การตัดแตง โดยทัว่ ไปจะไมมกี ารตัดแตงทรงพุม ยกเวนในกรณีทมี่ กี งิ่ กระโดง เกิดขึ้นตองตัดทิ้ง เพือ่ ใหลําตนมีตนหลักเพียงตนเดียว จะทําใหทรงพุมแผกระจายไดดีและใหผลผลิตสูง - การทํารมเงา ในชวงระยะเริ่มปลูก โดยใช ทางมะพราวเพื่อชวยลดความแรงของแดด และลดการ

ชอดอกกานพลู

คายน้ําของพืช หรือการปลูกพืชรวม เชน กลวย และตัดทิ้งเมือ่ กานพลูอายุ 3 ป

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

3


กานพลู - การใหน้ํา ควรมีการใหน้ําในระยะแรกทีม่ กี ารปลูก ในหนาแลงหรือชวงทีฝ่ นทิง้ ชวง - การใหปยุ หลังจากปลูกไดประมาณ 4 เดือน ควรใสปยุ คอก หรือปุย หมัก อัตราตนละ ½ - 1 ปบ เมือ่ ตนกานพลูโตมากขึน้ การใสปยุ ก็จะเพิม่ ขึน้ ดวย ตนกานพลูมอี ายุได 2 ป หลังจากปลูกลงแปลง จะเริม่ มีทรงพุม และสูงประมาณ 1 เมตร ในชวงนีค้ วรใสปยุ คอกรวมกับ ปุยสูตร 15 - 15 - 15 อยางนอยปละ 2 ครั้ง โดยใชปุยคอก 2 - 3 ปบตอตน สวนปุยสูตร 15 -15 - 15 ควรใสประมาณ 1 - 2.5 กิโลกรัมตอตน โดยแบงใสปล ะ 2 - 3 ครัง้ การเก็บเกี่ยว กานพลูจะเริ่มใหผลผลิตตั้งแตอายุ 5 - 6 ปขึ้นไป และจะใหผลผลิตสูงสุดเมื่อ ประมาณ 15 - 20 ป และจะคงใหผลผลิตถึง 60 ป กานพลูจะใหดอกในเดือนสิงหาคม ถึง กันยายน และจะโตเต็มทีเ่ ก็บเกี่ยวไดราวเดือนธันวาคม ถึง มกราคม ใชเวลาตั้งแตออกดอก ถึงเก็บเกี่ยวดอกตูมเปนเวลาประมาณ 4 - 5 เดือน หากปลอยใหดอกเจริญเปนผล ผลจะสุก ประมาณเดือนพฤษภาคม

ระยะเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

4


กานพลู การเก็บเกี่ยวดอกตูม ระยะเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม คือ เมื่อดอกเริ่มเปลี่ยนจาก เขียวเปนแดงมีสีชมพูเรื่อ ๆ ดอกตูมเกินไปหรือบานจะมีคุณภาพไมดี เนื่องจากดอกกานพลู ออกดอกที่ปลายกิ่งเปนชอ แตละชอมีดอก 3 - 20 ดอก และดอกแกไมพรอมกัน ใชกรรไกร หรือมีดตัดแตงคม ๆ เลือกเก็บเฉพาะดอกตูมที่โตเต็มที่แลวกอนที่จะบาน การเก็บอยาใหกิ่ง ไดรับความกระทบกระเทือน หากกิ่งไดรับความบอบช้ําจะทําใหกานพลูออกดอกนอย หรือ ไมออกดอกเลยในปตอ ไป ควรใชพะองหรือบันไดเก็บดอกกานพลู เพือ่ หลีกเลีย่ งการโนมกิง่ แรง ผลผลิต ผลผลิตดอกกานพลูสดเฉลีย่ 6 - 10 กก. ตอตนตอป หรือประมาณ 150 - 250 กก. ตอไร และจะเพิ่มมากขึน้ กวานี้เมื่อมีอายุมากขึน้ วิธีการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวพืชเครื่องเทศที่เหมาะสมเปนสิ่งจําเปนมากเพื่อ รักษาคุณภาพของสี กลิ่น ของเครื่องเทศใหคงอยูเมื่อนําไปใช วิธีการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว กานพลูก็เชนเดียวกับการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวเครื่องเทศโดยทั่วไป มีวิธีปฏิบัติ ดังนี้ 1. การทําความสะอาด และคัดแยกผลผลิตที่ไดมาตรฐาน 1.1 เด็ดดอกกานพลูออกจากกาน สําหรับเครื่องเทศชนิดอื่นอาจตองมี การตัดแตง เชน การตัด หั่น ลอกเปลือก หรือลดขนาดใหเหมาะสมสม่ําเสมอ จะทําใหพืช สามารถทําแหงไดอยางสม่ําเสมอ 1.2 คัดแยกดอกบานที่ปะปนมาออก 1.3 คัดแยกสิ่งปลอมปน เชน หิน ดิน ทราย สวนของพืชทีป่ ะปน 1.4 คัดแยกสวนที่เนาเสีย มีโรคแมลงออกจากสวนที่มีคุณภาพดี 1.5 หากมีสิ่งสกปรกติดมา ควรลางทําความสะอาด ชําระสิ่งสกปรก และสิ่งที่ติดมากับพืช ขณะทําการเก็บเกี่ยวออกใหหมด ผึ่งใหแหงและนําไปทําแหงโดยเร็ว

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

5


กานพลู 2. การทําใหแหง เครื่องเทศสวนใหญแลวจะใชในรูปแหง ซึ่งจะตองทําให แหงสนิทปราศจากเชื้อรา โดยที่ยังรักษาคุณภาพของสีและกลิน่ ใหมากที่สุด วิธีการทําแหงโดย การตากแหงหรืออบแหง จนเหลือความชื้น ที่เหมาะสมแกการเก็บรักษา ซึ่งโดยทั่วไปควรมี ความชื้นไมเกินรอยละ 12 วิธีการลดความชื้นนิยมใชทั่วไป ไดแก 2.1 การตากแดด อาจตากในภาชนะโปรงสะอาด การตากแดดควรมี ลานตากยกจากพื้น มีหลังคาพลาสติกคลุม เพือ่ ปองกันการเจือปนของฝุนผง ดอกกานพลูที่ นํามาตากแดดใชเวลาประมาณ 4 - 5 วัน 2.2 การอบแหง เปนอีกวิธีหนึ่งทีส่ ามารถทําใหเครื่องเทศแหงโดยใช ลมรอน ซึง่ ตองใชอณ ุ หภูมแิ ละระยะเวลาในการอบทีแ่ ตกตางกันไป ตามชนิดและปริมาณของพืช เปนวิธีที่สะดวก ประหยัดเวลาและไดวัตถุดิบแหงที่มีคุณภาพดี ดอกกานพลูเมื่อแหงแลวจะ เปลี่ยนจากสีแดงเปนสีน้ําตาลปนแดง การอบแหงหรือตากแดดควรระวังไมใหดอกแหงเร็ว เกินไป เพราะจะทําใหดอกมีลักษณะเหี่ยวยน และเปราะหักงาย ดอกสด 3 กิโลกรัมได ดอกแหง 1 กิโลกรัม 3. การเก็บรักษาเครื่องเทศแหง 3.1 ควรเก็บในทีส่ ะอาด เย็น ไมอบั ชืน้ มีอากาศถายเทไดดหี รือเก็บในหองเย็น 3.2 เก็บในภาชนะทีป่ ด สนิท เชน ถุงพลาสติก ถุงฟลอยด 3.3 โดยทัว่ ไปไมควรเก็บนานเกินกวา 1 ป เพราะจะสูญเสียกลิน่ สี ทีต่ อ งการไป

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

6


กานพลู ตลาดและคุณภาพ คุณภาพกานพลูทตี่ อ งการคือ ดอกตูมสีน้ําตาลแดง ความยาว 2 - 2.5 เซนติเมตร ไมดํา กลิ่นหอมแรง รสเผ็ด ดอกไมเหี่ยวยน หรือเปราะ แตกหักงาย ไมมีกลิ่นอับ การซื้อขายกานพลู ยังไมมีการจัดชั้นคุณภาพ แตแยกเปนชนิดกานดอก และ ดอกแหง ตลาดรับซือ้ หลักไดแก รานขายยาแผนโบราณ รายขายสงตลาดจักรวรรดิ ตลาดทรงวาด และโรงงานแปรรูปเครื่องเทศ ตลาดตางประเทศมีการซื้อขายกานพลูทั้งดอกกานพลู กานดอก กานพลู น้ํามันใบกานพลูกลั่นดวยไอน้ําจากตน กิ่ง ใบ น้ํามันกานพลู น้ํามันกานดอกกานพลู และน้ํามันโอริโอเรซินของกานพลู สกัดจากดอกหรือใบกานพลู การใชประโยชน กานพลูเปนที่นิยมเพราะมีสารยูจีนอลอยูถึง 90 เปอรเซ็นต ดอกกานพลูเปน แหลงน้ํามันกานพลูที่ดีทสี่ ุด เพราะมีน้ํามันอยูถึง 16 - 17 เปอรเซ็นต กานดอกและใบก็มี น้ํามันเหมือนกันแตมีปริมาณนอย น้ํามันกานพลูใชในอุตสาหกรรมสบู เครื่องสําอาง น้ําหอม ซอส ของดอง ของแชอิ่ม ผลิตภัณฑเนื้อ และทันตกรรม ในทางยามีฤทธิ์เปนยาชาเฉพาะที่ ขับลมและฆาเชื้อโรค

ดอกกานพลูที่มีคุณภาพ

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

7


กานพลู ปฎิทินการผลิต พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. มค. กพ. มีค. เมย.

งานที่ปฏิบัติ ฤดูปลูกกานพลู ใสปุยครั้งที่1 ใสปุยครั้งที่2 เริม่ ออกดอกในปที่ 6 - 60ป เก็บเกี่ยวดอกตูม ใชเวลา ตั้งแตออกดอกถึงเก็บเกีย่ ว ดอกตูมประมาณ 2 - 3 เดือน เก็บผลแกเมื่อจะทําพันธุใช เวลาตัง้ แตออกดอก เก็บผล ประมาณ 9 - 10 เดือน เก็บเมล็ดพันธุเพื่อเพาะ ขยายพันธุตอไป

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

8


จันทนเทศ

จันทนเทศ จันทนเทศ เปนผลไมทมี่ รี สชาติพเิ ศษคือ หวาน รอน จันทนเทศนหรือจันทรบา น เปนไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ลักษณะใบดก หนาทึบและมีสีเขียว ลักษณะของเนื้อไม สีนวลมีกลิน่ หอม เนือ่ งจากมีน้ํามันหอมระเหย ลูกจันทนเทศเปนผลชนิดฉ่าํ น้ํา ขนาดประมาณ ลูกหมาก เมื่อแกจัดเต็มที่จะแตกครึ่ง มีรกที่หุมเมล็ดสีแดงสด เปนแผนบางมีหลายแฉกหุม เมล็ดอยู รกคือสวนทีค่ นทัว่ ไปเรียกวาดอกจันทน เมล็ดเปนเมล็ดเดีย่ ว เปลือกแข็งสีน้ําตาลออน เปนมัน เมื่อกระเทาะเปลือกแข็งออกจะไดเนื้อในเมล็ดที่มีกลิ่นหอม ซึ่งเรียกวา ลูกจันทน

ผลจันทนเทศ

ใบจันทนเทศ

สภาพแวดลอมที่เหมาะสม ตนจันทนเทศสามารถขึ้นไดในสภาพของดินเกือบทุกชนิด แตดินที่เหมาะสม ควรเปนดินรวนปนทราย ที่มีอินทรียวัตถุสูง เจริญไดดีในเขตอุณหภูมิอากาศรอนชื้น ตองการ ปริมาณน้ําฝนปละ 2,000 - 2,500 มิลลิลติ ร สามารถขึน้ ไดในพืน้ ทีท่ มี่ คี วามสูงจากระดับน้ําทะเล จนถึงความสูงประมาณ 900 เมตร

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

9


จันทนเทศ พันธุ จันทนเทศมีแหลงปลูกสําคัญที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ชุมพร และพังงา โดย เปนพันธุพ นื้ เมือง ยังไมมกี ารศึกษาปรับปรุงพันธุ พันธุจ นั ทนเทศทีด่ ี เปนพันธุจ ากอินโดนีเซีย ซึ่งลูกจันทนเทศจะมีผลยาวรี กลิ่นหอมแรง รกหรือดอกจันทนเทศมีขนาดใหญ เนื้อหนา และกลิ่นหอมแรงกวาพันธุของไทย การขยายพันธุ - นิยมขยายพันธุโดยการเพาะเมล็ด เนื่องจากเปนพืชอายุยาว โดยนําเมล็ด จันทนเทศมาเพาะในกระบะเพาะชํา รดน้ําเชา - เย็น เมล็ดจะงอกภายใน 8 สัปดาห โดยทั่วไป มีความงอกประมาณรอยละ 60 หลังงอก1เดือน ยายลงถุงเพาะชํา เมื่อตนสูงประมาณ 1 ฟุต อายุ 1 ป จึงยายลงปลูกในหลุม - การปลูกจันทนเทศโดยวิธีไมอาศัยเพศ ไดแก การตอน การทาบกิ่ง พบวา วิธีการตอนจะไดผลดี ซึ่งมีขอดีคือ ชวยยนระยะเวลาในการใหผลผลิตเร็วขึ้น สามารถให ผลผลิตไดในปที่2 และยังสามารถเลือกตนที่มีดอกตัวเมียไดตามความตองการ เปนการลด คาใชจายเรื่องตนทุน ตลอดจนทําใหตนไมสูงสามารถเก็บเกี่ยวไดงาย

การเพาะกลาจันทนเทศ

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

10


จันทนเทศ อัตราการใชพันธุตอไร ประมาณ 25 - 36 ตน การเตรียมดิน การเตรียมดินสําหรับปลูกจันทนเทศ ขุดหลุมกวางประมาณ 50 ซม. ลึก 50 ซม. ใสปุยคอกหรือปุยหมักรองพื้นกนหลุม การปลูก - การปลูกโดยการใชกลาจากการเพาะเมล็ด ใชตน กลาสูงประมาณ 1 ฟุต ลงปลูกใน หลุมปลูก ระยะระหวางตนและระหวางแถวประมาณ 6 - 7.5 เมตร x 6 - 7.5 เมตร - เนื่องจากจันทนเทศมีดอกตัวผูและดอกตัวเมียอยูคนละตน ดังนั้นตนที่มี เฉพาะเกสรตัวผูจะปลูกไวเพื่อผสมเกสรเทานั้น โดยทั่วไปการเพาะเมล็ดสวนใหญจะพบตน ที่มีเฉพาะเกสรตัวผู และตนที่มีเฉพาะเกสรตัวเมียอยางละครึ่ง ซึ่งจะทราบวา ตนใดเปนตน เกสรตัวผูหรือเกสรตัวเมีย ก็ตอเมื่อไดปลูกจนเจริญเติบโตออกดอกแลวเทานั้น จึงจําเปนตอง ปลูกเผื่อไวและโคนตนเกสรตัวผูทิ้งเสียบาง โดยทั่วไปในแปลงปลูกใหมีตนที่มีเกสรตัวเมีย 10 ตน ตอตนเกสรตัวผู 1 ตน - กอนจันทนเทศจะใหผลผลิตควรมีการปลูกพืชแซมอายุสนั้ เพือ่ เปนรายไดเสริม หรือถานําจันทนเทศไปปลูกเปนพืชแซมในสวนผลไมที่เปนพืชหลักในแปลง ควรพิจารณา ความเหมาะสมของขนาดทรงพุมของไมแตละชนิด เพื่อไมใหเบียดชิดจนเกินไป จะทําให ผลผลิตลดลง ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

11


จันทนเทศ

แปลงปลูกจันทนเทศ

การดูแลรักษา - การทํารมเงา ในระยะแรกของการปลูก ตนจันทนเทศตองการรมเงาเพื่อ การเจริญเติบโตมาก จึงควรปลูกพืชอื่นแซมใหรมเงาดวย - การใหน้ํา ควรมีการใหน้ําอยางสม่ําเสมอ - การกําจัดวัชพืช บริเวณโคนตนจันทนเทศตองหมั่นกําจัดวัชพืชที่จะมาแยง น้ําและแรธาตุอาหารตางๆ รวมทั้งตองคอยปลูกซอมตนที่ตายไป และไมควรกวาดใบไมแหง หรือขยะมาสุมบริเวณโคนตน เพราะอาจทําใหตนจันทนเทศตายได การเก็บเกี่ยว จันทนเทศสามารถเก็บเกีย่ วผลผลิตไดเมือ่ อายุ 6 ปขนึ้ ไป ตนจันทนเทศออกดอก ตลอดป โดยออกดอกมากเดือนพฤษภาคม ผลจะเริ่มแกภายหลังจากที่ดอกบานแลวประมาณ 6 - 9 เดือน ควรเก็บเกี่ยวผลแกจัด ผิวสีเหลืองนวลจนถึงสม ซึ่งถาแกจัดมากผลจะแตก ออกเปน 2 ซีก และถาปลอยทิ้งไวนานเกินไป จะทําใหผลจันทนเทศมีสีคล้ํามากขึ้น และทําให คุณภาพลดลง และอาจจะถูกแมลงเขาทําลายได การเก็บควรใชตะกรอหรือไมสอยจากตน ระวังอยาใหรวงลงดิน เพราะจะทําใหผลผลิตช้ําเสียหายได

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

12


จันทนเทศ ผลผลิต ตนจันทนเทศอายุ 6 - 10 ป สามารถใหผลผลิตไดประมาณ 1,500 - 2,000 ผล ตอตนตอป หรือคิดเปนดอกจันทนแหงประมาณ 40 - 70 กิโลกรัม และลูกจันทน 250 - 300 กิโลกรัมตอไร โดยตนจันทนเทศจะใหผลผลิตสูงเมื่ออายุ 15 - 30 ป การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวไดนํามาแยกเปนลูกจันทนเทศและดอกจันทร ดังนี้ - ดอกจันทนเทศ คือสวนของรกหุม เมล็ด มีลกั ษณะเปนเยือ่ บาง ๆ คลายรางแห มีสสี ม แดง และรัดติดแนนอยูก บั เมล็ด ตองลอกออกโดยนํามาบีบดวยมือหรือใชไมเล็กๆใหแบน ตองระวังอยาใหแตกหรือหัก นําไปตากแดดหรืออบแหงทีอ่ ณ ุ หภูมปิ ระมาณ 60 องศาเซลเซียส นาน 3 - 4 ชัว่ โมง ผลสดประมาณ 1,000 ลูก สามารถเก็บรกจันทนเทศแหงได 1 กิโลกรัม - ลูกจันทนเทศ คือสวนของเมล็ดทีม่ ีเปลือกแข็ง สีน้ําตาลรูปรางยาวรี - เมื่อลอกเอารกหรือดอกจันทนเทศออกแลว นําไปตากแดดหรืออบแหง ซึ่ง ตองใชเวลานานกวาการตากรกจันทนเทศ เพราะมีขนาดและน้ําหนักสดมากกวา หากตากแดด ใชเวลาประมาณ 3 - 4 วัน ควรหมั่นกลับลูกจันทนเทศใหแหงอยางสม่ําเสมอ เพื่อปองกันการ เนาเสียและเชื้อรา เมื่อแหงสนิทเนื้อในเมล็ดจะหดตัว จะสังเกตไดโดยนํามาเขยาจะมีเสียงดัง น้ําหนักลดลงประมาณรอยละ 25 เมล็ดจันทนเทศประมาณ 20 ลูก ไดน้ําหนักแหง 1 กิโลกรัม เมื่อกระเทาะเปลือกจะไดเนื้อในที่มีกลิ่นหอม แตโดยสวนใหญแลวเกษตรกรจะจําหนายทั้ง เปลือกโดยไมกระเทาะ

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

13


จันทนเทศ ตลาดและคุณภาพที่ตองการ จันทนเทศสามารถนําไปใชประโยชนไดหลายสวน จึงมีผูรับซื้อผลสดที่สวน นําไปแปรรูป และเกษตรกรอาจแปรรูปจําหนายเอง โดยเนื้อผลสดจะนําไปทําจันทนกรอบ หรือจันทนอับ จําหนายเปนอาหารประเภทอาหารวาง นอกจากนี้ยังสามารถทําเปนเยลลี่ แยม หรือลูกกวาด รกและเมล็ดจันทนเทศนําไปจําหนายใหกับรานขายยาแผนโบราณ คุณภาพทีต่ อ งการ คือ ดอกจันทนเทศมีขนาดใหญ เนือ้ หนาไมแตกหัก แหงสนิท และปราศจากเชือ้ รา สําหรับลูกจันทนเทศทีม่ คี ณ ุ ภาพดีจะขึน้ อยูก บั ขนาด แหงสนิท และมีกลิน่ หอม การใชประโยชน จันทนเทศใชเปนเครื่องเทศแตงกลิ่นอาหาร รวมทั้งแตงกลิ่นเครื่องดื่มชนิด ที่มีแอลกอฮอลและไมมแี อลกอฮอล แตงกลิ่นอาหารจําพวกเนื้อ ซุป ขนมหวาน อาหารวาง ลูกจันทนเทศและดอกจันทนเทศใชในทางยาสมุนไพร โดยใชเปนยาขับลม แกทอ งอืดทองเฟอ ชวยยอยอาหาร

ผลสุกและรกหุมเมล็ด

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

รกจันทนเทศ

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

14


จันทนเทศ ปฏิทินการผลิต มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค.

งานที่ปฏิบัติ ปลูก ใสปุย ชวงออกดอกมาก เก็บเกีย่ วผลแกจดั ตลอดป ชวงผลผลิตออกมาก

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

15


อบเชย

อบเชย อบเชย แบงตามแหลงผลิตและคุณภาพของอบเชยไดเปน 5 ชนิดคือ อบเชย ศรีลังกา ปลูกมากในประเทศศรีลังกา ตอนใตของอินเดีย หมูเกาะซิซิลีและบราซิล อบเชยที่ ไดจากศรีลงั กามีคณ ุ ภาพดีกวาอบเชยทีไ่ ดจากแหลงอืน่ อบเชยชวาหรืออบเชยอินโดนีเซียพบ มากแถบเกาะสุมาตรา เกาะชวา และทางฝงตะวันตกของติมอร อบเชยจีน พบในสภาพปา และพื้นที่เพาะปลูกในมณฑลกวางสี ประเทศจีนและพมา อบเชยญวน มีลักษณะคลายอบเชย จีนมากแตมีรสหวาน และอบเชยไทย เปนไมผลัดใบพบตามปาดงดิบทั่วไป และภาคใตของ ประเทศไทย อบเชยเปนไมพุมขนาดใหญที่ไมผลัดใบ ในสภาพธรรมชาติทรงพุมอาจสูง ตั้งแต 10 - 15 เมตร เสนผาศูนยกลางลําตนประมาณ 30 - 50 เซนติเมตร แตอบเชยปลูก จะมีการดูแลรักษาโดยตัดแตงกิ่งทรงพุม ซึ่งมักจะสูงไมเกิน 2 - 2.5 เมตร กิ่งอบเชยจะแตก ขนานกับพืน้ ดินหรือโคงลงหาดิน เปลือก ลําตน และใบมีกลิน่ หอม ผลอบเชยมีขนาด 1.5 - 2 เซนติเมตร จากดอกบานจนถึงผลแกใชเวลาประมาณ 6 เดือน

ใบอบเชย ตนอบเชย

16 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


อบเชย สภาพแวดลอมที่เหมาะสม อบเชยชอบอากาศรอนชื้น ดินที่เหมาะสมเปนดินรวนซุยมีอินทรียวัตถุสูง ระบายน้ําดี ดินที่เปนทรายจัดจะทําใหตนโตชา แตคุณภาพอบเชยแหงจะดี ดินเหนียวทําให เปลือก ลําตนหยาบ และหนาทําใหคุณภาพต่ํา อบเชยสามารถขึ้นไดในทีร่ าบจนกระทั่งที่สูง จากระดับน้ําทะเล 600 เมตร อุณหภูมิระหวาง 20 - 30 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1,250 - 2,500 มิลลิเมตรตอป และไมควรมีชวงแลงเกินไป พันธุ พันธุอบเชยที่ดีจะมีเปลือกและใบที่มีกลิ่นหอม ซึ่งพันธุจากประเทศศรีลังกา มี กลิ่นหอมและเปนที่นิยมของตลาดโลกมากกวาอบเชยไทย การขยายพันธุ อบเชย สามารถขยายพันธุไดหลายวิธี ดังนี้ 1. การเพาะเมล็ด ใหนําเมล็ดมาเพาะโดยเร็วหลังจากแกะเอาเปลือกผลออก แลว เพราะเมล็ดจะสูญเสียความงอกอยางรวดเร็ว หลังจากแกะเมล็ดจากเปลือกผล (วัน) 3 วัน 14 วัน 40 วัน

เปอรเซ็นตการงอกของตน 94 52 ไมงอกเลย

17 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


อบเชย การเก็บเมล็ดพันธุค วรหอผลกอนทีจ่ ะสุกเพือ่ ปองกันนกจิก เมล็ดทีย่ งั มีความงอกดี จะใชเวลาในการงอกประมาณ 20 - 25 วัน แตบางทีอาจจะเปน 32 - 42 วัน ควรเพาะใน แปลงเพาะที่มีแสงรําไร โดยฝงเมล็ดเปนแถวหางกันประมาณ 50 ซม. ฝงเมล็ดลึกประมาณ 2.5 ซม. หลังจากตนกลาสูงประมาณ 15 ซม. หรือประมาณ 4 เดือนหลังจากเพาะ ใหยา ยลงถุง และเลี้ยงไวอีกประมาณ 4 - 5 เดือน จึงยายปลูกลงแปลง เมื่อสภาพอากาศเหมาะสม 2. การแยกกอ ทําโดยการตัดตนแกใหต่ํากวาระดับผิวดินปกติ 15 ซม. แลว กลบดินใหมิด ปลอยใหตอแตกกิง่ ใหมและสรางรากแลวแยกกิ่งที่มีรากไปปลูก 3. วิธีการตอน จะมีเปอรเซ็นตออกรากคอนขางต่ํา และใชเวลานานซึ่งจะใช เวลาประมาณ 2 เดือน เมื่อรากงอกเต็มถุงแลว จึงยายปลูก การปลูก อบเชย เปนพืชทีม่ กี ารเจริญเติบโตสูง แตในชวงแรกการปลูกจะมีการเจริญเติบโต คอนข างชา ระยะปลูกของตนอบเชยใช ระยะระหวางตน 2 เมตร และแถว 2 เมตร ชวงแรกควรใชรม เงาบั งบาง การทํารมเงาชั่ วคราวจะชวยใหมีการแตกกิ่งใหมและมีการ เจริญ เติบโตดีขึ้นกวาการปลูกกลางแจง การเตรียมหลุมปลูก ควรขุดหลุมขนาด 30 x 30 x 30 ซม. แลวรองกนหลุม ดวยปุยหมักหรือปุยคอก อัตรา 10 กก.ตอหลุม ร็อกฟอสเฟตอัตรา 200 กรัมตอหลุมและ ปุยเคมีสูตร 15 - 15 - 15 อัตรา 100 กรัมตอหลุม

18 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


อบเชย การดูแลรักษา 1. การคลุมโคนตน เพือ่ ชวยรักษาความชืน้ ในดินและปองกันการเจริญของวัชพืช 2. การกําจัดวัชพืช ควรมีการกําจัดออกเปนครัง้ คราว โดยเฉพาะวัชพืชประเภทเถาเลือ้ ย 3. การใหปุยเพื่อชวยในการเจริญเติบโต ใชปุยผสม NPK ในอัตราสวน 2 : 1 : 1 ในชวงปที่ 1 ใชอัตรา 32 กิโลกรัมตอไร ปที่2 ใชอัตรา 64 กิโลกรัมตอไร และ อัตรา 96 กิโลกรัมตอไร ในปที่3 โดยแบงใส 2 ครั้ง ๆ ละครึ่งป ในชวงตนและปลายฤดูฝน สําหรับปุยคอก 20 กิโลกรัมตอตนตอป แบงใส 2 ครั้งเชนเดียวกัน ขอควรระวัง คือ หากใช ปุยมากเกินไปจะมีผลกระทบตอกลิ่นของเปลือกอบเชยได 4. การใหน้ํา ชวงฤดูแลงควรใหน้ําอยางนอยเดือนละ 2 ครั้ง 5. โรคและแมลง ปญหาไมคอยพบมากนัก เนื่องจากยังไมมกี ารปลูกเปน การคาจริงจัง โรคที่พบไดแก โรคราสีชมพู เกิดจากเชื้อราเขาทําลายในชวงฤดูฝน ทําใหเกิด แผลสีชมพูออ นบนเปลือกลําตนและกิ่งออน เชื้อราจะเขาทําลายเยื่อเจริญ ทําใหกิ่งและลําตน ตายไปในที่สุด ปองกันกําจัดโดยใชสารปองกันกําจัดเชื้อราที่มีสวนผสมทองแดง การตัดแตงกิ่ง การปลูกอบเชยแบบการคา จะตองปลูกในลักษณะทีม่ กี ารตัดแตงใหตน อบเชย แตกกอมีหลายตนตอกอ เมือ่ แตละตนมีขนาดพอเหมาะจะเก็บเกีย่ ว โดยตัดตนออกใหหมด ทั้งกอ ปลอยใหมีการแตกกิ่งหรือตนออกมาแทนใหม ทําไปเชนนี้จนผลผลิตต่ําลงจึงรื้อ แปลงปลูกใหม

19 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


อบเชย อบเชยเป นพืชที่เอาส วนของเปลือกลําตนและเปลือกกิ่งมาใชประโยชน การตัดแตงกิ่งมีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มจํานวนกิ่งตอตนใหมากขึ้น เพื่อจะทําใหผลผลิตสูง หลังจากปลูกไป 2 - 3 ปแลว จะตัดสวนของลําตนออก ใหเหลือตอสูงจากพื้นดินเพียง 10 - 15 ซม. แลวกลบดินใหมิดเพื่อเรงการแตกกิ่งใหม เมื่อกิง่ แตกออกมาแลวใหเลือกกิ่งที่ ตรงและมี ลักษณะการเจริญ เติบโตที่ดีไว เพียง 4 - 6 กิ่ง เลี้ยงกิ่ง เหล านี้ไว จนมี ความสูง ประมาณ 2 - 3 เมตร และมีเสนผ าศูนยก ลางประมาณ 1 - 5 ซม. จึ งทําการเก็ บเกี่ยว ในระหวางนี้จะตองคอยตัดกิ่งขางออกบาง เพื่อใหไดกิ่งกระโดงที่ตรงดี อาจปลอยใหกอมี ปริมาณกิ่งทีแ่ ทงพนดินมากขึ้นทุกปจนมากที่สุดเมื่ออายุได 8 ป การเก็บเกี่ยวและการลอกเปลือกอบเชย 1. ชวงเวลาที่เหมาะสมในการตัดกิ่งคือฤดูฝนโดยอาจสังเกตดูวาใบออนสีแดง เริ่มเปลี่ยนเปนสีเขียวออน ควรตัดกิ่งตอนเชาและใชมีดตัดทดสอบกิ่งดูจะพบวามีน้ําเมือก ออกมาจากรอยตัด แสดงวาเปนชวงที่เหมาะสม หรืออาจทดสอบโดยใชปลายมีดแซะเปลือก วาลอกงายหรือไม 2. กิ่งที่เหมาะสมในการตัดควรมีอายุกิ่งประมาณ 9 - 12 เดือน มีขนาด เสนผาศูนยกลางกิง่ ประมาณ 3 ซม. มีเปลือกสีน้ําตาลออน มีกระขาวทีเ่ ปลือก โดยตัดเหนือดิน ประมาณ 6 - 10 ซม. กิ่งยาวประมาณ 2 เมตร 3. ริดกิง่ ขางและใบออก สวนทีร่ ดิ ออกสามารถนําไปกลัน่ ทําน้ํามันหอมระเหยได แลวนํากิ่งที่ไดไปลอกเปลือกในโรงเรือน 4. นํากิ่งที่ตัดมาทําการขูดผิวเปลือกออกดวยมีดโคง ซึ่ง มีดตองทําด วย สแตนเลสหรือทองเหลือง 5. นวดเปลือกที่ขดู ผิวแลวดวยแทงทองเหลือง เพื่อใหเปลือกลอกออกจาก สวนของเนื้อไมไดงาย และชวยใหเกิดการแตกตัวของเซลเปลือกทําใหมีกลิ่นหอม 20 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


อบเชย 6. ใชมีดควั่นรอบกิ่ง เปนชวงๆ ดานบนและล างหางกันประมาณ 30 ซม. (แตถาสามารถลอกเปนแผนยาวตลอดกิ่งไดกไ็ มจําเปนตองควั่นเปนชวงๆ) แลวใชปลายมีด กรีดตามยาวจากรอยควัน่ ดานบนมาดานลางทัง้ สองขางของกิง่ ใชมดี ปลายมนคอยๆแซะเปลือก ใหลอกหลุดจากเนื้อไมจะไดเปลือกขนาดสี่เหลี่ยมผืนผา 2 ชิ้น ทําเชนนี้จนหมดทั้งกิง่ ในการ ลอกแตละครั้ง จะมีเศษของเปลือก ซึ่งไมสามารถลอกใหเปนแผนได เชนตามรอยขอของกิ่ง หรือปุมปม สวนนี้จะใชบรรจุอยูในเปลือกที่ลอกไดอีกครั้ง ในการตัดกิ่งแตละครั้งควรลอกให เสร็จสิ้นภายในวันเดียวกัน เพราะถาทิ้งขามวันจะทําใหลอกเปลือกยาก 7. นําเปลือกอบเชยที่ลอกไดมามัดเปนกําและหอดวยกระสอบปานหรือเสื่อ เพื่อเก็บความชื้นและทิ้งไวในที่รม 1 คืน เพื่อบมใหเปลือกเกิดการเหี่ยวและหดตัว ทําใหงาย ตอการบรรจุเศษชิ้นเปลือกและมวนในวันรุงขึ้น 8. นําเปลือกทีเ่ ปนแผนสีเ่ หลีย่ มสมบูรณเรียงซอนเกยตอๆกัน โดยใชปลายเล็ก ซอนปลายใหญ และใชเศษของเปลือกที่ลอกได ชิ้นเล็กๆบรรจุภายในเปลือกเรียงตอกันไป จนไดความยาวแทงประมาณ 42 นิ้ว ใชมือคลึงมวนใหขอบทั้งสองขางของเปลือกนอกซอนกัน และคลึงมวนใหเปนแทงตรง ผึ่งในที่รมที่มีลมโกรกดี เชน บริเวณใตหลังคาโรงเรือน และ หมั่นนําแทงอบเชยมานวดคลึงและกดใหแนนทุกวันจนแหง เพื่อใหไดแทงอบเชยที่เปนแทง เล็กตรง ซึ่งจะใชเวลาประมาณ 5 วัน อบเชยจึงแหงสนิท ไมควรนําไปตากแดดในชวงนี้เพราะ จะทําใหเปลือกแหงเร็วเกินไป ซึ่งจากการทดลองพบวา เปลือกอบเชยที่ตากแดดจะแหง ภายใน 1 - 2 วัน และเกิดการโกงงอและบิดไมเปนแทงกลม ซึ่งเปนลักษณะที่ไมดี อบเชยที่ ผานขบวนการลอกและผึ่งในที่รมจะมีสีน้ําตาลออนปนเหลือง หลังจากนั้นอาจนําแทงอบเชยนี้ ไปตากแดดอีก 1 วัน เพื่อใหแหงสนิท โดยใชกระสอบปานคลุมเพื่อปองกันความรอนจัดของ แสงแดดที่อาจมีผลใหเกิดการระเหยของน้ํามันหอมระเหยได 9. นําแทงอบเชยที่ผานขบวนการบมแหงซึ่งมีลักษณะเปนแทงมามัดรวมกัน และใชกรรไกรตัดสวนปลายที่ไมเรียบรอยออก บรรจุลงในกระสอบปาน 21 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


อบเชย

ขั้นตอนการทําอบเชยแทง

ผลผลิต ผลผลิตเปลือกอบเชยแหง 8 - 10 กก./ไร เปลือกทีล่ อกจากสวนกลางของลําตน ที่ขึ้นอยูบริเวณกลางของกอ จะใหอบเชยแหงที่มีคุณภาพดีที่สุด นอกจากนี้ใบและกานที่ถูก เลาะออกในการลอกเปลือก สามารถนําไปกลั่นดวยไอน้ําไดน้ํามันใบอบเชย ตลาดและคุณภาพ อบเชยไมมีการปลูกเปนการคาจริงจังในประเทศไทย จึงตองนําเขาเพื่อบริโภค ปละหลายสิบลานบาท คุณภาพของอบเชยทีต่ ลาดตองการขึน้ อยูก บั ขนาดความยาว สี และกลิน่ ความสะอาดปราศจากสิ่งเจือปน ชิ้นสวนถูกแมลงทําลายและเชื้อรา อบเชยที่มีคุณภาพดีจะมา จากสวนของลําตน ถามาจากกิ่งกานคุณภาพจะต่ํากวา มีสีเหลืองเขมไมดําคล้ํา แทงอบเชยที่ดี ควรมีขนาดเสนผาศูนยกลางไมเกิน 1 ซม. และมีความหนา เปลือก สี และคุณภาพสม่ําเสมอ การใชประโยชน อบเชยใชในอุตสาหกรรมอาหาร ใชแตงกลิ่นขนมหวาน เหลา เภสัชภัณฑ สบู และ ยาชองปาก สรรพคุณทางยา มีฤทธิ์ฆา เชื้อจุลินทรีย เปนยาขับลม

อบเชยที่มีคุณภาพ

22 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


อบเชย ปฏิทินการผลิต มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค.

งานที่ปฏิบัติ เตรียมดิน ปลูก ใหน้ํา โดยเฉพาะชวงฤดูแลง กําจัดวัชพืช ตัดตนเมื่ออายุ 2 - 3 ป เพื่อใหแตกกอ

ใสปุย ครั้งที่ 1

ใสปุย ครั้งที่ 2

เก็บเกี่ยว

ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

23


วานิลลา

วานิลลา วานิลลา เปนพืชทีจ่ ดั อยูใ นตระกูลกลวยไม เปนพืชเถาเลือ้ ย อายุการใหผลผลิต หลายป เถาจะเลือ้ ยพันไปบนคางหรือไมยนื ตนอืน่ ๆ โดยธรรมชาติจะอาศัยรากเปนตัวยึดเกาะ ลําตน มีลักษณะเปนเถายาวสีเขียว อวบน้ํา ขนาดของลําตนขึ้นอยูกับความ สมบูรณของเถา เถาเมือ่ โคงงอจะหักงาย ใบ

มีลกั ษณะแบน อวบน้ํา ใบกวาง ปลายใบเรียว กานใบสัน้

ราก มีสีขาว เปนรากอากาศคอนขางยาว รากแตกออกตรงขามกับใบ รากบริเวณโคนจะแตกออกเปนแขนง ชอดอก ออกจากตรงซอกใบ ไมมกี า นชอดอก แตละตนมีประมาณ 4 ชอ ดอก แตละชอจะมีดอกเฉลี่ย 15 ดอก มีสีเหลืองอมเขียว กลีบดอกหนา ดอกมีขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 10 เซนติเมตร กานดอกสั้นหรือแทบไมมี กลีบเลี้ยงมี 3 กลีบ รูปรางยาวรี กลีบดอกมี 3 กลีบ สองกลีบดานบนมีลกั ษณะคลายกลีบเลีย้ ง อีกกลีบหนึง่ เปลี่ยนเปนรูปปากแตร จะมีขนาดสั้นกวากลีบดอกอื่น ปลายปากแตรแยกเปน 3 สวน และ ขอบหยักไมสม่ําเสมอ มีเกสรตัวผู 1 อัน ประกอบดวย อับละอองเกสรตัวผูอยู 2 อัน สวนของ เกสรตัวผูและเกสรตัวเมียจะแยกออกจากกัน โดยมีเยื่อบางๆกั้นอยู เยื่อนี้เรียกวา โรสเทลลัม (Rosetellum) ซึง่ เปนสวนสําคัญทีท่ ําใหละอองเกสรตัวผูไ มสามารถถายลงไปผสมกับเกสรตัวเมีย ไดจึงตองชวยผสมเกสร ฝก

มีลักษณะคลายทรงกระบอกแคบ โปงตรงปลายฝกมี 3 มุม ฝกยาว

9.5 - 20 เซนติเมตร กวาง 1.2 - 1.4 เซนติเมตร ภายในฝกจะมีเมล็ดอยูจ ํานวนมาก

24 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


วานิลลา

ดอก และฝกวานิลลา

พันธุ พันธุวานิลลาที่ปลูกเปนการคาในปจจุบันมีอยู 3 พันธุคือ วานิลลา แพลนนิโฟเลีย (Vanilla planifolio) ปลูกทางแถบตะวันออกเฉียง ใตของเม็กซิโก วานิลลา ปอมโปมา (Vanilla pompoma) หรือวานิลลอนปลูกในอเมริกากลาง วานิลลา ตาฮาเทนซิส (Vanilla tahatensis) หรือเรียกวา วานิลลาตาฮิติ ปลูกมากในประเทศตาฮิติ ในจํานวน 3 พันธุ พันธุแ พลนนิโฟเลีย มีคุณภาพฝกดีที่สุด แตพันธุปอมโปมา จะตานทานโรคเนาไดดีกวาทุกพันธุ สภาพแวดลอมที่เหมาะสม วานิลลา สามารถเจริญเติบโตไดดีในเขตรอนชื้น ระหวาง 25 องศาเหนือถึง 25 องศาใต ของเสนศูนยสูตร ตั้งแตระดับน้ําทะเลจนถึงสูงกวาระดับน้ําทะเล 2,000 ฟุต ปริมาณฝนระหวาง 850 - 2,000 มม.ตอป วานิลลาตองการการกระจายตัวของฝนอยาง สม่ําเสมอ สําหรับการออกดอก อุณหภูมิที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของวานิลลาอยูที่ 21 - 23 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพันธ 60 - 80 เปอรเซ็นต 25 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


วานิลลา วานิลลาตองการแสงทีเ่ หมาะสมในการเจริญเติบโตและใหผลผลิตและแสงยังมี ผลตอน้ําหนัก และกลิน่ ของฝกวานิลลา วานิลลาตองการแสงเพียง 30 - 50 เปอรเซ็นตโดยเฉพาะ ในชวงฤดูกาลออกดอกและชวงที่ฝกวานิลลาจะเริ่มสุก ถาไดรับแสงจัดเกินไปใบวานิลลา จะเหลืองและมีแผลไหม เถาจะออนแอในชวงขาดน้ํา และจะออนแอตอโรครากเนาในฤดูฝน ในสภาพที่มีรมเงามากเกินไป ใบจะมีสีเขียวจัด เถาจะเล็ก ใบเล็ก มีการออกดอกติดฝกนอย วานิลลาไมทนตอสภาพลมแรงจัด ในการปลูกวานิลลาจึงตองปลูกพืชทําแนวบังลมดวย วานิลลาชอบดินทีมอี นิ ทรียวัตถุสงู มีการระบายน้ําดี ความเปนกรด - ดางของดิน ควรอยูระหวาง 6 - 7 และไมควรเปนดินเหนียวจัด การปลูกวานิลลา วานิลลาขยายพันธุโ ดยการปกชํา โดยใชเถายาวประมาณ 1 ฟุต จะทําใหวานิลลา เจริญเติบโตออกดอกภายใน 3 - 4 ป แตถา ใชเถายาวประมาณ 1 เมตร จะทําใหออกดอกเร็วขึน้ การปกชํา ใหปก ชําในถุงจะสะดวกกวาการปกชําในกระบะ เพราะตองยายลงถุง อีกครัง้ จะทําใหรากกระทบกระเทือน หลังการปกชํา 1 เดือน จะออกรากใหมและแตกยอดใหม การเตรียมพืน้ ทีป่ ลูกวานิลลา ควรเตรียมไวตงั้ แตชว งฤดูแลง และเตรียมปกชํา ตนไมที่วานิลลาจะเลื้อยเกาะในชวงกลางฤดูฝน หรือปลูกไว 1 ป กอนที่จะนําวานิลลามาปลูก ไมยืนตนที่เหมาะสมไดแก แคฝรั่ง ยอปา เปนตน แตถาจะใชคางแบบพริกไทย ก็สามารถ ปลูกวานิลลาไดเลย แตการใช คางโดยเฉพาะจะตองใชต าขายพรางแสง 50 เปอร เซ็นต ชวยพรางแสงใหวานิลลาด วย ค างที่ไมมีชีวิต นี้ อาจเป น เสาซี เมนตสูง 2.5 เมตร ฝงดิน ลึก 0.5 เมตร เพื่อใหคางสูงประมาณ 2 เมตร เพราะถาสูงกวานี้จะมีปญหาในการเก็บเกี่ยว ผลผลิตและการดูแลรักษา โดยเฉพาะในชวงที่วานิลลาออกดอก

26 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


วานิลลา ระยะปลูกทีเ่ หมาะสมของวานิลลา ควรใชระยะ 1.5 x 2 เมตร ขุดหลุมขนาด กวาง ยาว ลึก ดานละ 1 ฟุต นําดินจากหลุมที่ขุดขึ้นมาผสมกับปุยหมัก และปุยเคมีสูตร 15 - 15 - 15 และ 0 - 3 - 0 รวมกับโดโลไมท อัตราอยางละ 100 กรัม กอนเตรียมดิน ที่สําคัญคือ อยาลืมทําคางกอนเตรียมดิน ถาเปนคางมีชีวิตก็ตอ งปลูกลวงหนาประมาณ 1 ป ดังที่กลาวมาแลว วิธีการปลูก ใหนํากิ่งวานิลลาที่ไดจากการปกชํา โดยใชความยาวของเถา จํานวน 5 - 7 ขอ ปลูกลงหลุมปลูกทีเ่ ตรียมไว หลุมละ 2 - 3 กาน ควรยกแปลงปลูกใหสูงกวา พื้นที่เดินเล็กนอย ปลูกกิ่งชําวานิลลาใหชิดโคนตน หลุมละ 2 - 3 ตน สวนเถาที่เหลือใชเชือก ผูกติดไวกับคาง เพื่อชวยใหเกาะกับค างไดดีขึ้น เมื่อปลูก แลวใหนําวั สดุ เช น เศษหญา ขุยมะพราว มาคลุมรอบ ๆ โคนตน เพื่อรักษาความชื้นในดิน

การปลูกวานิลลาแบบใชเสาคางปูนและคางมีชีวิต

การใหปุย ปุย สูตร 15 - 15 - 15 ใสในชวงเดือนพฤษภาคม - มิถนุ ายน ปุย สูตร 13 - 13 - 21 ใสในชวงเดือนกันยายน - ตุลาคม ปุย สูตร 12 - 24 - 12 ใสในชวงเดือนธันวาคม - มกราคม ปุย ทางใบสูตร 21- 21 - 21 ฉีดพนในชวงเดือนมิถนุ ายน - สิงหาคม ปุย ทางใบสูตร 15 - 30 - 15 ฉีดพนในชวงเดือนธันวาคม - กุมภาพันธ ปุยทางใบสูตร 10 - 20 - 30 ฉีดพนในชวงเดือนกันยายน - ตุลาคม 27 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


วานิลลา การกําจัดวัชพืช การกําจัดวัชพืชรอบ ๆ โคนตน ไมควรกระทําเพราะจะทําให ระบบรากกระทบกระเทือน ใชวธิ ถี อนหญาออกบางไมตอ งพรวนดินรอบ ๆ โคนตน ควรใชวสั ดุ คลุมดินรอบ ๆ โคนตน เพือ่ ชวยรักษาความชืน้ ในดิน ใชหญาแหง ฟางขาว กาบมะพราว คลุม บริเวณโคนตนอยางสม่ําเสมอตลอดป การใหน้ํา ในชวงเดือนพฤศจิกายน - เมษายน ชวงออกดอกไมควรใหน้ํามาก เกินไป เพราะวานิลลาตองการสภาพขาดน้ําประมาณ 2 เดือน เพือ่ กระตุน การออกดอก การแตงทรงพุม ควรทําการตัดเถาที่ไมสมบูรณ เถาที่ไมใหผลผลิตอีกแลว ออกใหหมด เพื่อควบคุมใหยอดมีความอุดมสมบูรณ แข็งแรง ควรทําการจัดเถาวานิลลาที่สูง ขึน้ เรือ่ ยๆ ใหโนมเถาลงมาแนบคางขึน้ ๆ ลงๆ อยาใหเถาสูงเกินคาง จะทําใหไมสะดวกเวลาจะ ผสมเกสร การตัดแตงกิง่ ทําโดยวิธตี ดั ยอดของตนวานิลลาประมาณ 10 - 15 เซนติเมตร ในชวง กอนและหลังฤดูกาลออกดอก และหลังจากเก็บเกีย่ วฝกแลว ตนแกและเถาทีไ่ มแข็งแรงควรตัดทิง้ และ ควรตัดแตงพืชทีเ่ ปนรมเงาใหวานิลลาไดรบั แสงแดดเพียง 30 - 50 % การผสมเกสร วานิลลาเปนพืชในตระกูลกลวยไม ทีไ่ มสามารถผสมเกสรตัวเองได เนือ่ งจากลักษณะทางพฤกษศาสตรของดอกวานิลลา ทําใหแมแตแมลงก็มโี อกาสชวยผสมเกสร ไดนอยมาก ดังนั้น จึงตองชวยผสมเกสรดวยมือ ซึ่งทําไดตั้งแตเชาถึงสิบโมงเชา การบานของ ดอกวานิลลาจะบานเพียง 1 วัน ซึ่งนับเปนชวงเวลาที่มีความสําคัญในการปฏิบัติงานของ เกษตรกรทีป่ ลูกวานิลลา ในตนเดียวกันควรผสมไมเกิน 10 - 12 ชอๆ ละประมาณ 7 ฝก ขึน้ อยูก บั ความสมบูรณของตน และลักษณะของฝกทีด่ ี คือ ตรงไมโคงงอ หากมีความชํานาญ พบวา จะใช เวลาในการผสม 45 วินาที ถึง 1 นาที ตอดอก

28 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


วานิลลา การผสมเกสรดวยมือ มีวิธีการดังนี้ 1. เขี่ยละออกเกสรตัวผูทั้ง 2 อัน ลงในฝามือ 2. ใชน้ําหยดลงบนละอองเกสรตั วผู ใชป ลายไมเขี่ยใหละอองเกสรตั วผู กระจายทั่วและแตะละอองเกสรใหติดปลายไม 3 ใชไมอกี อันหนึ่งเขี่ยผนังโรสเทลลัมใหเปดออก แลวเอาไมที่มีละอองเกสร อยูตรงปลายแตะบนยอดเกสรตัวเมีย หลังจากผสมเสร็จแลว หากผสมติด ดอกจะไมรวง และ เจริญเติบโตอยางรวดเร็ว จนถึงสัปดาหที่ 8 จะคงที่

ศัตรูที่สําคัญของวานิลลา โรคที่สําคัญของวานิลลาที่พบอยูเสมอๆ คือ โรครากเนา ใบ และ เถาเนา โรคนี้จะเริ่มระบาดในชวงฤดูฝนระหวางเดือนมิถุนายน - สิงหาคม โดยเชื้อจะเขาทําลายที่ราก บริเวณโคนตน ตอมาจะลุกลามไปที่ใบ เถาและรากอากาศ จนเนาดําแลวทําใหตนตายในที่สุด เชื้อสาเหตุโรคไดติดมากับวัสดุปลูกตั้งแตกอนนํามาใช การปองกันกําจัดควรใชวิธีการปองกัน และตัดสวนที่เปนโรคออกจากแปลงปลูก 29 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


วานิลลา การเก็บเกี่ยวและผลผลิต วานิลลามีอายุเก็บเกี่ยวประมาณ 2 - 3 ป หลังปลูก หลังจากออกดอกติดผล แลวประมาณ 7 - 9 เดือน จึงทําการเก็บเกี่ยวฝก การเก็บเกี่ยวจะเก็บเมื่อฝกแกเต็มที่และ เริ่มสุก โดยสังเกตจากปลายฝกเปลี่ยนจากสีเขียวเปนสีเหลือง การเก็บใชมีดตัดหรือมือปลิด วานิ ลลาจะไดผลผลิตฝกสดประมาณ 30 - 150 ฝกตอตนฝกสดประมาณ 5 - 6 กิโลกรัม เมื่อผานกระบวนการทําแหงจะไดประมาณ 1 กิโลกรัม ผลผลิตสูงเมื่ออายุ 7 ป จนถึง 15 ป จึงตองมีการปลูกทดแทน การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว กรรมวิธีในการบมฝกวานิลลาและทําใหแหง มีหลายวิธีดังนี้ วิธีที่1 แชฝกวานิลลาในน้ํารอน 63 - 65 องศาเซลเซียส นาน 3 นาที และผึ่ง ใหสะเด็ดน้ํา หอดวยผาฝายสีดํา แลวนํามาเก็บไวในกลองไมนาน 2 - 3 วัน จากนั้นนํามาอบ ที่อุณหภูมิ 45 - 50 องศาเซลเซียส เปนเวลานาน 3 - 4 ชั่วโมง ทุกวัน ทําซ้ําเชนนี้ 6 - 8 วัน แลวนํามาบมในลังไมที่รมนาน 3 เดือน โดยมัดรวมกัน วิธีที่2 แชฝกวานิลลาในน้ํารอน 63 - 65 องศาเซลเซียส นาน 3 นาที และผึ่ง ใหแหง หอดวยผาฝายสีดํา แลวนํามาเก็บไวในกลองนาน 2 - 3 วัน แลวนํามาบมในลังไมที่รม นาน 3 เดือน วิธีที่3 แชฝกวานิลลาในน้ํารอน 80 องศาเซลเซียส นาน 10 นาที ทํา 3 ครั้ง ทุก 30 นาที ผึง่ ใหแหงแลวหอดวยผาฝายสีดําใสในลังไมนาน 2 - 3 วัน นํามาตากแดด 2 ชัว่ โมง ทุกวันนาน 7 วัน จนกระทั่งฝกเริ่มนิ่ม หลังจากนั้นบมในรมจนกระทั่งน้ําหนักลดลงเหลือ 1/3 นาน 3 เดือน 30 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


วานิลลา วิธีที่4 นึ่งฝกวานิลาที่อุณหภูมิ 60 - 70 องศาเซลเซียส นาน 36 - 48 ชั่วโมง นําไปมวนในผาฝายสีดํานาน 24 ชั่วโมง แลวนํามาตากแดดวันละ 2 - 3 ชัว่ โมง นาน 5 - 6 วัน หลังจากนั้นเก็บไวในลังไมที่รม ที่มีการระบายอากาศไดดีนาน 2 - 3 เดือน คุณภาพฝกวานิลลาที่ดี จะเกิดขึ้นเมื่อผานการบมและหมักแลว ตองมีกลิ่นและ รสชาติดี มีความยาวมากกวา 20 เซนติเมตร ฝกออนนิ่ม สีออกดํา มีน้ํามันเยิ้ม มีกลิ่นแรง ไมมีรอยแผล ความชื้นของฝก 30 - 40 เปอรเซ็นต ฝกคุณภาพต่ําจะแข็ง แหงเกินไป ผอมมี สีน้ําตาล มีกลิ่นนอย ซึ่งคุณภาพจะขึ้นกับกระบวนการบม

ฝกวานิลลา

การใชประโยชน วานิลลาเปนพืชเครื่องเทศที่มีการใชประโยชนโดยการนําฝกมาหมักและบมให เกิดกลิ่น จากนั้นนําไปสกัดสารที่ใหกลิ่นและรสชาติ นํามาปรุงแตงรสอาหารโดยเฉพาะ ไอศกรีมช็อกโกแลต ขนมหวาน และลูกกวาด นอกจากนี้ ยังนําไปใชในอุตสาหกรรมยาและ น้ําหอมดวย

31 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


เอกสารอางอิง กนกวรรณ วัฒนโยธิน. 2544. การลอกเปลือกอบเชย. หนังสือพิมพกสิกร ปที่ 79 ฉบับที่ 2 มีนาคม - เมษายน 2544. โรงพิมพกรมวิชาการเกษตร , กรุงเทพฯ. กนกวรรณ วัฒนโยธิน . มปป. จันทนเทศและผลิตภัณฑทไี่ ดจากผลจันทนเทศ. สถาบันวิจยั พืชสวน .(อัดสําเนา) กรมวิชาการเกษตร . 2544. รายงานผลงานวิจยั ประจําป 2543 - 2544. โรงพิมพกรมวิชาการเกษตร , กรุงเทพฯ. กรมเศรษฐกิจการพาณิชย . 2532. คูม อื แนะนําพืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศทีม่ ศี กั ยภาพ ในการสงออก. กระทรวงพาณิชย , กรุงเทพฯ. (อัดสําเนา) นิจศิริ เรืองรังษี . 2534 .เครือ่ งเทศ. คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. โรงพิมพจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย , กรุงเทพฯ. รุง รัตน เหลืองนทีเทพ . 2540. พืชเครือ่ งเทศและสมุนไพร. สํานักพิมพโอเดียนสโตร , กรุงเทพฯ. วราวุธ ชูธรรมธัช . มปป. วานิลลา. สถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร. (อัดสําเนา) ศิรพิ งษ พัฒนวิบลู ย . 2538. อบเชยเครือ่ งเทศทีน่ า สนใจ. สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงประเทศไทย, กรุงเทพฯ. (อัดสําเนา) สถานีทดลองพืชสวนดอยมูเซอ . อบเชย . สถาบันวิจยั พืชสวน , กรมวิชาการเกษตร. (อัดสําเนา) สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย . 2546. วานิลลา. (อัดสําเนา) สถาพร รายา . 2534 . เครือ่ งเทศพืชพันธุป รุงรสแหงชีวติ . เจริญวิทยการพิมพ , กรุงเทพฯ.

32 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


ที่มา กรมส ง เสริ ม การเกษตร. 2547. เครื่ อ งเทศ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด. ที่ ป รึ ก ษา เรี ย บเรี ย ง

: :

เฉลิ ม เกี ย รติ โภคาวั ฒ นา ภั ส รา ชวประดิ ษ ฐ ศุ ภ วรรณ เคี่ ย นเมธี ขวั ญ ลาภ โรจน วุ ฒิ ม งคล สํานักสงเสริมและจัดการสินคาเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร

พิมพครั้งที่1 : จํานวน :

2546 4,000 เลม

จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

33 ผลิตและเผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร

สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.