การปลูกผักบุ้งจีน

Page 1

กรมสงเสริมการเกษตร


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


สารบัญ

ผักบุงจีน

1

แหลงปลูกทีส่ ําคัญ

2

คุณคาทางอาหาร

3

สภาพแวดลอมที่ตองการ

3

พันธุผักบุงจีน

4

ลักษณะทางพฤกษศาสตร

5

ชนิดผักบุงจีน

6

การปลูกผักบุงจีน

6

การดูแลรักษา

8

คุณภาพผักบุงจีนเพื่อการสงออก

9

แมลงศัตรูและการปองกันกําจัด

10

โรคผักบุงและการปองกันกําจัด

11

เอกสารอางอิง

12

ที่มา / จัดทําและเผยแพรโดย

13

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


ผักบุงจีน

1

ผักบุงที่ปลูกในประเทศไทย มี 2 ประเภท คือ

ผักบุงไทย

1. ผักบุงไทย ( Ipomoea aquatic Var. aquatica ) มีลักษณะดอกสีมวงออน กานสีเขียวหรือมวงออน ใบสีเขียวเขมและกานใบสีมวง

ผักบุงจีน

2. ผักบุงจีน ( Ipomoea aquatica Var. reptans ) มีลักษณะดอกและ กานดอกสีขาว ใบสีเขียว กานสีเหลืองหรือขาว

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


2 ผัก บุ ง จีน นิย มนํ ามาประกอบอาหารกวางขวางกว าผั ก บุง ไทย จึ ง นิย1มปลู ก เปนการคาอยางแพรหลาย ทั้งการปลูกเพื่อบริโภคสดและการผลิตเมล็ดพันธุ ปจจุบันผักบุงจีน ได พั ฒ นาเป น พื ช ผั ก ส ง ออกที่ มี ค วามสํ า คั ญ โดยส ง ออกทั้ ง ในรู ป ผั ก สดและเมล็ ด พั น ธุ การสงออกเฉพาะผักบุง จีนเพือ่ บริโภคสดไมมตี วั เลขทีแ่ นนอน เพราะมีขอ มูลรวมผักบุง จีนในหมวด ผั ก สดอื่ น ๆ ได แ ก ผั ก สดชนิ ด ต า ง ๆ ตลาดที่ สํ า คั ญ คื อ ฮ อ งกง มาเลเซี ย และสิ ง คโปร จากสถิติในแตละปจะมีพื้นที่ปลูกประมาณ 135,000 ไร ผลผลิตสดประมาณ 150,000 ตัน และมีพื้นที่ปลูกเพื่อผลิตเมล็ดพันธุประมาณ 8,000 ไร ผลผลิต 1,700 ตัน

แหลงปลูกที่สําคัญ ผักบุงจีนสามารถปลูกไดทั่วประเทศ โดยมีแหลงเพาะปลูกที่สําคัญ ไดแก จังหวัดเชียงใหม เชียงราย ลําพูน นาน นครสวรรค อุตรดิตถ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย อุบลราชธานี สุรินทร นครพนม ภาคกลาง จั ง หวั ด กรุ ง เทพมหานคร นนทบุ รี ปทุ ม ธานี พระนครศรีอยุธยา ภาคตะวันออก จังหวัดสมุทรปราการ นครนายก ฉะเชิงเทรา ชลบุรี จันทบุรี ระยอง ภาคตะวันตก จังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรี ราชบุรี สมุทรสงคราม ภาคใต จังหวัดสงขลา ภูเก็ต พัทลุง นครศรีธรรมราช ชุมพร ภาคเหนือ

สํ าหรับแหลง ผลิต เมล็ด พั นธุผัก บุ ง ที่สํา คั ญ ได แก จั ง หวั ด อุ ทั ยธานี สุ โ ขทั ย กําแพงเพชร ศรีสะเกษ และชัยนาท กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


3 คุณคาทางอาหาร

1

ผั ก บุ ง จี น เป น พื ช ผั ก ที่ นิ ย มรั บ ประทานกั น มาก มี คุ ณ ค า ทางอาหารสู ง ประกอบดวยไวตามินและแรธาตุที่จําเปนตอรางกาย โดยเฉพาะไวตามินเอซึ่งเชื่อกันวาบํารุง สายตา มีปริมาณสูงถึง 9,550 หนวยสากล ในสวนที่รับประทานไดสด 100 กรัม หรือ 6,750 หน ว ยสากล ในส ว นที่ รั บ ประทานได เ มื่ อ สุ ก แล ว 100 กรั ม นอกจากนี้ ยั ง มี แคลเซี่ ย ม ฟอสฟอรัส และไวตามินซี เปนสวนประกอบสําคัญดวย

สภาพแวดลอมที่ตอ งการ ผักบุงจีน สามารถปลูกได ทั้งบนบกและในน้ํา และสามารถปลูกไดในดินแทบ ทุกชนิด ดินที่เหมาะสมในการปลูกผักบุงจีน เพื่อการบริโภคสดควรเปนดินรวนหรือดินรวน ปนทราย ผักบุงจีนชอบขึ้นในดินที่ชื้นแฉะ ตองการความชื้นในดินสูงมาก อุณหภูมิที่เหมาะสม ในการเจริญเติบโตอยูในชวงทีส่ งู กวา 25 องศาเซลเซียส ตองการแสงแดดเต็มที่ ซึง่ ประเทศไทย สามารถปลูกไดตลอดทัง้ ป กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


4 พันธุผักบุงจีน

1

พันธุผ กั บุง จีน ทีป่ ลูกในปจจุบนั สวนใหญจะเปนพันธุก ารคา ทัง้ ทีผ่ ลิตเมล็ดพันธุใน ประเทศไทย และนําเขามาจากตางประเทศ เชน ไตหวัน ซึ่งมีการตั้งชื่อพันธุตามบริษัทตาง ๆ กันไป ดังนี้ 1. เมล็ดพันธุของหนวยราชการ เมล็ ด พั น ธุ ผั ก บุ ง จี น ในประเทศที่ ไ ด รั บ การคั ด เลื อ ก และปรั บ ปรุ ง พั น ธุ จ าก กรมวิชาการเกษตร ศูนยวิจัยพืชสวนพิจิตร คือ พันธุพิจิตร 1 ซึ่งมีลักษณะเดน คือ ผลผลิตโดยเฉลี่ย 3,415 กิโลกรัมตอไร มี ใบแคบเรียวยาว ตรงกับความตองการของตลาด และมีลักษณะใบชูตั้ง ลําตนสีเขียวออน ไมมี การทอดยอดกอนการเก็บเกี่ยว ไมมีการแตกแขนงที่โคนตน ลักษณะลําตนสม่ําเสมอกัน ทําใหสะดวกและประหยัดแรงงานในการตัดแตงใบและแขนงที่โคนตนกอนนําสงตลาด 2. เมล็ดพันธุของบริษัท 2.1 บริษัท อิสท เวสท ซีด จํากัด ตราศรแดง พันธุยอดไผ 9 ลักษณะเดน คือ ใบเรียวเล็กสม่ําเสมอ น้ําหนักดี ลําตนสวย และแข็งแรง ไมหักงายเมื่อเจอลมแรง พันธุเลิศพันธุ ลักษณะเดน คือ ลําตนใหญไมมีหนาม ไมแตกกอ ตนและใบ สีเขียวออน น้ําหนักตอตนสูง อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 20 – 25 วัน 2.2 บริษัท เจียไต ตราเครื่องบิน ลักษณะเดน คือ ลําตนตรงสวย ไมเลื้อย มีการแตกแขนงนอย ใบเรียวยาว เก็บเกี่ยวไดเร็ว 2.3 บริษัท เพื่อนเกษตรกร พั น ธุ ล าด จ ลี ฟ ( เบอร 931 ) ลั ก ษณะเด น คื อ ใบใหญ สี เ ขี ย วสด เจริญเติบโตไดดีในสภาพดินและอากาศโดยทั่ว ๆ ไป แข็งแรง และมีรสชาติดี กรอบ อรอย

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


5 ลักษณะทางพฤกษศาสตร

1

ผักบุง จีน มีชอื่ สามัญทีใ่ ชเรียกแตกตางกันไป ในภาษาอังกฤษวา water convolvulus หรือ kang – kong เปนพืชในตระกูล Convolvulaceae มีชื่อวิทยาศาสตรวา Ipomoea aquatica Forsk. Var. reptan มีถิ่นกําเนิด อยูในเขตรอน พบไดทั่วไปในอัฟริกา และเอเชียเขตรอน จนถึงมาเลเซีย และออสเตรเลีย ราก ผักบุงจีนมีรากเปนแบบรากแกว มีรากแขนงแตกออกทาง ดานขางของรากแกว และยังสามารถแตกรากฝอย ออกมาจากขอของลําตน ไดดวย โดยมากจะเกิดตามขอที่อยูแถว ๆ โคนเถา ลําตน ผักบุงจีนเปนไมลมลุก ในระยะแรกของการเจริญเติบโต จะมีลําตนตั้งตรง ระยะตอไปจะเลื้อยทอดยอดไปตามพื้นดินหรือน้ํา ลําตนมีสีเขียว มีขอและปลอง ขางในกลวง รากจะเกิดที่ขอทุกขอที่สมั ผัสกับพื้นดินหรือน้ํา ที่ขอมักมี ตาแตกออกมาทั้งตาใบและตาดอก โดยตาดอกจะอยูดานใน สวนตาใบจะอยูดานนอก ใบ เปนใบเดี่ยว มีขอบใบเรียบ รูปใบคลายหอก โคนใบกวางคอย ๆ เรียวเล็กไป ตอนปลาย ปลายใบแหลม ที่โคนใบเปนรูปหัวใจ ขอบใบเรียบหรือเปนคลื่น ใบมีความยาวประมาณ 7 – 15 เซนติเมตร กานใบยาว 3 – 8 เซนติเมตร ดอกและชอดอก ดอกเปนดอกสมบูรณ มีลักษณะเปนชอ มีดอกตรงกลาง 1 ดอก และดอกดานขางอีก 2 ดอก โดยดอกกลางจะเจริญกอน แตละดอกประกอบดวยกลีบเลีย้ งสีเขียว 5 อัน กลีบดอกเชือ่ มติดกันเปนรูปกรวย ดานนอกมีสขี าว ดานในมีสมี ว ง ในฤดูวนั สัน้ (วันละ 10 – 12 ชัว่ โมง) จะออกดอก มีฝกและเมล็ด ในฤดูวันยาวจะเจริญเติบโตทางลําตน และใบผักบุงจีนมีการผสมเกสร เปนแบบผสมตัวเอง และมีการผสมขามดอกบาง เนื่องจากลมและแมลง ดอกผักบุงจีนจะเริ่มบานใน เวลาเชา ละอองเกสรตัวผูและยอดเกสรตัวเมียพรอมที่จะผสมเวลา 10.00 – 15.00 น. ระยะเวลา หลังผสมจนผสมติดประมาณ 3 – 4 วัน และจากผสมติดจนเมล็ดแกประมาณ 40 – 50 วัน ผล เปนผลเดี่ยวรูปรางคอนขางกลม มีขนาดใหญที่สุดที่อายุประมาณ 30 วัน หลังดอกบาน มีเสนผาศูนยกลางเฉลี่ย 1.42 เซนติเมตร หลังจากนั้นจะมีขนาดเล็กลง ลักษณะ ผิวภายนอกเหี่ยวยน ขรุขระ ไมแตก เมื่อแหงสีของผลแกจะมีสีน้ําตาลหรือน้ําตาลเขม ใน 1 ผล มี เมล็ด 4 – 5 เมล็ด เมล็ด มีรูปรางเปนสามเหลี่ยมฐานมน สีน้ําตาล เปลือกหุมเมล็ด มีสี 3 ระดับ คือ สีน้ําตาลออน สีน้ําตาลแก และสีน้ําตาลดํา มีขนาดเล็ก ความกวางโดยเฉลี่ย 0.4 เซนติเมตร ยาว 0.5 เซนติเมตร ผักบุง จีนเปนพืชทีม่ อี ตั ราการพักตัวสูง โดยจะพักตัวในลักษณะของเมล็ดแข็ง (hard seed) หรือทีเ่ รียกวา เมล็ดหิน จาการศึกษาพบวาเมล็ดสีเขมกวาจะมีเปอรเซ็นตเมล็ดแข็งสูงกวา กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


6 ชนิดผักบุงจีน

1

ผักบุงจีน จําแนกตามขนาดและรูปรางของใบออกไดเปน 2 ชนิดคือ 1. ชนิดใบแคบ ใบมีลักษณะเหมือนปลายหอก คือ ปลายใบแหลมเรียว สามารถปรับตัวไดดีในสภาพดินชื้น 2. ชนิดใบกวาง มีรูปรางคลายหัวใจ มีสวนกวางและสวนยาวใกลเคียงกัน ใหผลผลิตมากกวาชนิดใบแคบถึง 2 เทา นอกจากนี้ ยังสามารถแบงตามลักษณะสีของลําตนได 2 ชนิด คือ 1. ชนิดลําตนสีเขียว มีลําตนขนาดเล็ก เหนียว มักปลูกในที่ดอน 2. ชนิดลําตนสีขาว มี ลํ า ต น ขนาดใหญ และคุ ณ ภาพดี ก ว า ลํ า ต น เขี ย ว นิยมปลูกในที่ลุม

การปลูกผักบุงจีน 1. การเลือกพื้นที่ปลูก ในการปลูกนั้นควรเลือกปลูกในที่มีการคมนาคมขนสง สะดวก สภาพที่ดอน น้ําไมทวม หรือเปนสวนผักแบบยกรอ ง เชน เขตภาษีเจริญ บางแค กรุงเทพฯ บางบัวทอง นนทบุรี นครปฐม และราชบุรี เปนตน ลักษณะดินปลูกควรเปนดินรวน หรือดินรวนปนทราย เพือ่ ถอนตนผักบุง จีนไดงา ย และควรอยูใกลแหลงน้ําเพื่อสะดวกในการรดน้ําในชวงการปลูก และทําความสะอาดตนและ รากผักบุงจีนในชวงการเก็บเกี่ยว 2. การเตรียมดิน ผักบุง จีนเปนพืชผักทีม่ รี ะบบรากตืน้ ในการเตรียมดินควรไถดะ ตากดินไวประมาณ 15 – 30 วัน แลวดําเนินการ ไถพรวน และขึ้ น แปลงปลู ก ขนาดแปลงกว า ง 1.5 – 2 เมตร ยาว 10 – 15 เมตร เวนทางเดิน ระหวางแปลง 40 – 50 เซนติเมตร เพื่อสะดวกใน การปฏิบัติดูแลรักษา ใสปุยคอก ( มูลสุกร เปด ไก วั ว ควาย ) หรื อ ปุ ย หมั ก ที่ ส ลายตั ว ดี แ ล ว กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


7 คลุกเคลาลงไปในดิน พรวนยอยผิวหนาดินใหละเอียดพอสมควร ปรับหลังแปลงใหเรียบเสมอกัน อยาใหเปนหลุมเปนบอ เมล็ดพันธุผักบุงจีนจะขึ้นไมสม่ําเสมอทั้งแปลง ถาดินปลูกเป1นกรด ควรใสปูนขาวเพื่อปรับระดับพีเอชของดินใหสูงขึ้น 3. วิธีการปลูก 1) ก อ นปลู ก นํ า เมล็ ด พั น ธุ ผั ก บุ ง จี น ไปแช น้ํ า นาน 6 – 12 ชั่ว โมง เพื่อ ให เมล็ดพั นธุ ผัก บุ งจีนดูด ซั บน้ําเข าไปในเมล็ด มีผลให เมล็ ด ผักบุง จีนงอกเร็วขึน้ และสม่ําเสมอกันดี เมล็ดผักบุง จีนทีล่ อยน้ําจะเปนเมล็ดพันธุ ผักบุงจีนที่ไมสมบูรณ ไมควรนํามาเพาะปลูก ถึงแมจะขึ้นไดบางแตจะไม สมบูรณแข็งแรง อาจจะเปนแหลงทําใหเกิดโรคระบาดไดงาย 2) นํ า เมล็ ด พั น ธุ ผั ก บุ ง จี น ที่ ดี ไ ม ล อยน้ํ า มาหว า นให ก ระจายทั่ ว ทั้ ง แปลง ใหเมล็ดหางกันเล็กนอย จํานวนเมล็ดที่ใชหวานสําหรับแปลง ปลูก 1 ไร ประมาณ 13 – 15 กิโลกรัมตอไร หรือ 30 ลิตรตอไร ผักบุงจีนใชเวลาในการงอกเพียง 48 ชั่วโมง ระยะแรกของการ เจริญเติบโตจะใหลําตนตั้งตรง หลังจากงอกได 5 – 7 วัน จะมี ใบเลี้ ย งโผล อ อกมา 2 ใบ มี ลั ก ษณะปลายใบเป น แฉก ไมเหมือนกับใบจริงเมื่อตนโต ในระยะสองสัปดาหแรกจะมีการ เจริญเติบโตทางลําตนอยางรวดเร็วจนกระทัง่ อายุประมาณ 30 – 45 วัน การเจริญเติบโตจะเปลี่ยนไปในทางทอดยอดและแตกกอ สําหรับผักบุงจีนที่หวานดวยเมล็ด การแตกกอจะมีนอยมาก การแตกกอเปนการ แตกหนอออกมาจากตาที่อยูบริเวณโคนตนที่ติดกับราก มีตาอยูรอบตน 3 – 5 ตา เมื่อแตกเถา ออกมาแลวจะเจริญทอดยอดยาวออกไปเปนลําตน มีปลองขอ และทุกขอจะใหดอกและใบ 3) นํ าดินรวนหรือ ขี้เถาแกลบดํ าหวานกลบ เมล็ดพันธุผักบุงจีนหนาประมาณ 2 – 3 เทาของความหนา ของเมล็ด หรือประมาณ 0.5 เซนติเมตร แตถา แหลงทีป่ ลูกนัน้ มี เศษฟางขาว ก็ใชฟางขาวคลุมแปลงปลูกบาง ๆ เพื่อชวย เก็ บ รั ก ษาความชื้ น ในดิ น หรื อ ทํ า ให ห น า ดิ น ปลู ก ผั ก บุ ง จี น ไมแนนเกินไป 4) รดน้ํ า ด ว ยบั ว รดน้ํ า หรื อ ใช ส ายยางติ ด ฝกบัวรดน้ํา หรือเรือรดน้ํา ใหความชื้นแปลงปลูกผักบุงจีนทุกวัน ๆ ละ 1 – 2 ครั้ง ประมาณ 2 — 3 วัน เมล็ดพันธุผักบุงจีนจะงอกเปนตนผักบุงตอไป กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


8 การดูแลรักษา

1

1. การใหน้ํา ผักบุง จีนเปนพืชทีช่ อบดินปลูกทีช่ มุ ชืน้ แตไมแฉะจนมีน้ําขัง ฉะนั้นควรรดน้ําผักบุงจีนอยูเสมอทุกวัน ๆ ละ 1 – 2 ครั้ง ยกเวนชวงที่ฝนตกไมตองรดน้ํา อยาใหแปลงปลูก ผั ก บุ ง จี น ขาดน้ํ า ได จะทํ า ให ผั ก บุ ง จี น ชะงั ก การเจริ ญ เติ บ โต คุณภาพไมดี ตนแข็งกระดาง เหนียว และเก็บเกีย่ วไดชา กวาปกติ 2. การใสปุย ผักบุงจีนเปนพืชผักที่บริโภคใบและตน มีอายุการเก็บเกี่ยวสั้น ถา ดินปลูกมีความอุดมสมบูรณ หรือมีการใสปุยคอก เชน มูลสุกร มูลเปด ไก เปนตน ซึง่ ปุย คอกดังกลาวเปนปุย ทีม่ ี ไนโตรเจนสูงอยูแ ลวไมจําเปนตองใสปยุ เคมีกไ็ ด แตถาดินปลูกไมค อยอุดมสมบูรณ นอกจาก ตองใหปุยคอกแลวควรมีการใสปุยทางใบที่มี ไนโตรเจนสู ง โดยหว า นปุ ย กระจายทั่ ว ทั้ ง แปลงกอนปลูก และหลังการปลูกผักบุงจีน ไดประมาณ 7 – 10 วัน ซึ่งการใหปุยครั้งที่ 2 นั้น หลังจากหวานผักบุงจีนลงแปลงแลว จะตองมีการรดน้ําแปลงปลูกผักบุงจีนทันที อยาใหปุย เกาะอยูท ซี่ อกใบ จะทําใหผกั บุง จีนใบไหม ในการใสปยุ เคมีครัง้ ที่ 2 นัน้ จะใชวธิ กี ารละลายน้ํารด 3 – 5 วัน ตอครั้งก็ได โดยใชอัตราสวนปุยยูเรีย 10 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร จะเปนการชวยให ผักบุงจีนเจริญเติบโตดี และเก็บเกี่ยวไดเร็วขึ้น 3. การพรวนดินและกําจัดวัชพืช ถามีการเตรียมดินดี มีการใสปยุ คอกกอนปลูก และมีการหวานผักบุงขึ้นสม่ําเสมอกันดี ไมจําเปนตองพรวนดิน เวนแตในแหลงปลูกผักบุงจีน ดังกลาวมีวัชพืชขึ้นมาก ควรมีการถอนวัชพืชออกจากแปลงปลูกอยูเสมอ 7 – 10 วันตอครั้ง ในแหลงที่ปลูกผักบุงจีนเพื่อการบริโภคสดเปนการคาปริมาณมาก ควรมีการพนสารคลุมวัชพืช กอนปลูก 2 – 3 วัน ตอจากนั้นจึงคอยหวานผักบุงจีนปลูก จะประหยัดแรงงาน ในการกําจัด วัชพืชในแปลงปลูกผักบุงจีนไดดีมากวิธีการหนึ่ง 4. การเก็บเกี่ยว หลังจากหวานเมล็ดพันธุผักบุงจีน ลงแปลงปลูกได 20 – 25 วัน ผักบุงจีนจะเจริญเติบโต มีความสูง ประมาณ 30 – 35 เซนติเมตร ใหถอนตนผักบุงจีนออกจากแปลง ปลู ก ทั้ ง ต น และราก ควรรดน้ํ า ก อ นถอนต น จะถอนผั ก บุ ง จี น ได สะดวก รากไมขาดมาก หลังจากนั้นลางรากใหสะอาด เด็ดใบและ แขนงที่โคนตนออก นํามาผึ่งไว ไมควรไวกลางแดด ผักบุงจีนจะ เหี่ยวเฉาไดงาย จัดเรียงตนผักบุงจีนเปนมัด เตรียมบรรจุภาชนะ เพื่อจัดสงตลาดตอไป กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


9 1

คุณภาพผักบุงจีนเพื่อการสงออก

1. ตองมีความสด มียอดติดอยูลําตนอวบ แตไมยาวเกินไป ความยาวมาตรฐาน ประมาณ 10 – 12 นิ้ว ( วัดจากโคนถึงยอด ) 2. ใบและลําตนสีเขียวไมเหลืองช้ําและเหี่ยวเฉา ใบตองไมมีรู 3. ตัดรากใหหมด ไมมีดินหรือทรายปนมา และตองปราศจากสารพิษตกคาง ในผลผลิต อันอาจเปนอันตรายตอผูบริโภค 4. สวนใหญตลาดฮองกงนิยมพันธุ ไตหวัน ซึ่ งใหลักษณะต นสี เขียวสด อวบ ใบไมเหี่ยวช้ํางาย ตนทุนและผลตอบแทนในพื้นที่ 1 ไร ตนทุนการผลิตทั้งหมด 5,400 ผลผลิตรวม 2,200 ราคาขายไดเฉลี่ย 5 รายไดรวม 11,000 รายไดสุทธิ 5,600

บาท/ไร กก./ไร บาท/กก. บาท บาท/ไร

คุณคาทางอาหารผักบุงจีนสดและสุกแลว

ผักบุงจีน

% กากน้ํา

% น้ํา

% เถา

% % % % แคลอรี่ แคลเซี่ยม ฟอสฟอรัส เหล็ก ซัลเฟอร โปรแตสเซี่ยม โปรตีน ไขมัน ไฟเบอร คารโบไฮเดรต (มก.) (มก.) (มก.) (มก.) (มก.) รวมไฟเบอร

สด

28

90

1.3

2.7

0.4 1.1

5.6

30

30

42

2.5

44

469

สุกแลว

-

92.5 1.0

2.4

0.2

3.9

21

21

44

1.4

-

-

0.8

ผักบุงจีน

วิตามินซี

วิตามินเอ

วิตามินบี 1

วิตามินบี 2

ไนอาซิน

สด

47

9550

0.09

0.16

0.8

สุกแลว

10

6750

0.05

0.13

0.7

ที่มา : FAO, 1980 หมายเหตุ : คํานวณจาก ผักบุงสด 100 กรัม ในสวนที่รับประทานได กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


10 แมลงศัตรูและการปองกันกําจัด

1

1. เพลี้ยออน ( Aphid.) Aphis gossypii ( Aphidiae ) ลักษณะ ตั ว อ อ นที่ มี สี ต า ง ๆกั น ส ว นใหญ สี เ ขี ย วเข ม จนเกื อ บดํ า แตถาหากตัวออนเกิดใตกลุมใบที่หนาแนนมากและอุณหภูมิสูง ตัวออนอาจมีขนาดเล็กกวา 1 มิลลิเมตร และสีซีดเหลืองหรือเกือบขาว ชีพจักร ในเขตรอนบานเราจะไมออกเปนไข แตออกลูกเปนตัวตามใบ ของพืชและชอดอก ตัวออนจะแกใน 4 – 20 วัน ขึ้นอยูกับอุณหภูมิ และจะใหตัวออนประมาณ 20 – 140 ตัวตอครั้ง ทุก 2 – 9 วัน การทําลาย ดูดกินน้ําเลี้ยงพืช การปองกัน ใชสารเคมีพิษตกคางนอยที่สุด หรือไมควรใชเลย

2. ผีเสื้อหัวกะโหลก ( Death, s head Moth )Acherontia lachesis ( Sphingidae ) ลักษณะ 10 – 12 เซนติเมตร

ตัวหนอนมีสีเขียว มีแถบสีเหลืองขอบฟาขางลําตัว ขนาดโตเต็มที่

การทําลาย ตัวหนอนกัดกินใบ ชีพจักร ผี เ สื้ อ วางไข สี เ ขี ย วเป น ใบเดี่ ย วตามใบพื ช อาศั ย ระยะไข ฟ ก ประมาณ 5 วัน ออกเปนตัวหนอนกัดกินใบประมาณ 3 สัปดาห เขาดักแดในดินระยะดักแด ประมาณ 2 สัปดาห ตัวแกเปนผีเสื้อสีน้ําตาล การปองกัน ใชสารเคมีพิษตกคางนอยที่สุด

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


11 โรคผักบุงและการปองกันกําจัด

1

1. โรคราสนิมขาว ( White Rust ) สาเหตุ

เชื้อรา Albugo ipomoea – aquaticae Sawada เปนเชื้อราชั้นต่ํา

อาการ จุดสีเหลืองซีดดานบนของใบ ดานใตใบตรงกันขามจะเปนตุม นูนเล็ก ๆ ขนาด 1 – 2 มิลลิเมตร อาจพบลักษณะปุม ปม หรือบวมพองโตขึน้ ในสวนของกานใบและลําตน การปองกันรักษา 1. เมื่อมีโรคระบาด ใหฉีดพนใตใบดวยเมตาแล็กซิล ( metalaxyl ) สลับกับ แมนโคเซ็บ ( mancozeb) ตามอัตราที่แนะนําบนฉลาก หากมีฝนตกชุกใหผสมสารจับใบ 2. คลุกเมล็ดกอนปลูกดวยเมตาแล็กซิล ( metalaxyl ) และเลือกใชเมล็ดจาก แหลงที่ไมมีโรคระบาดมากอน 3. ดูแลระบบการใหน้ําในแปลงปลูก อยาใหชื้นแฉะจนเกินไป 2. โรคใบไหม ( Leaf blight ) สาเหตุ

เชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas compestris pv. ( pathovar กําลังอยูในขั้นตอนของการทดสอบ )

อาการ เกิดจุดตุมใสเล็ก ๆ ใตใบ ตอมาจุดแผลจะขยายออกกลายเปน สีน้ําตาล – สีดํา ฉ่ําน้ํา ใบจะเหลืองซีดและแหงเหี่ยวรวงหลนจากตน การปองกันรักษา 1. เก็บรวบรวมพืชที่เปนโรค เผาทําลาย 2. ใชปนู ขาวอัตรา 500 กิโลกรัมตอไร คลุกดินแลวตากดินไวอยางนอย 1 เดือน 3. ปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียน

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


12 เอกสารอางอิง

1

กรมการคาภายใน.2531.รายงานการศึกษาเรื่องผักบุงจีน. ( อัดสําเนาเย็บเลม) กรมวิ ช าการเกษตร.2537. ประกาศกรมวิ ช าการเกษตร เรื่ อ งการั บ รองพั น ธุ ผั ก บุ ง จี น พันธุพิจิตร1. ( อัดสําเนา ) กรมวิ ช าการเกษตร.2543.มาตรฐานการผลิ ต พื ช อิ น ทรี ย ข องประเทศไทย.โรงพิ ม พ ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, กรุงเทพฯ. กรมสงเสริมการเกษตร.2537.สถิติพื้นที่ปลูกพืชผัก.กองแผนงานและโครงการพิเศษ. นรินทร พูลเพิ่ม.2536.การปลูกผักบุงจีน การผลิตเมล็ดพันธุผัก. กองขยายพันธุพืช กรมสงเสริมการเกษตร. เมืองมวน ทวนทวี และสุธรี ตั น ทวนทวี .2532.หลักการปลูกผัก 1. โรงพิมพทวั่ ฮัว่ ซิน,กรุงเทพฯ. สุเทวี ศุขปราการ และพวงทอง ยินอัศวพรรณ.2536.การผลิตเมล็ดพันธุผักบุงจีน การผลิตเมล็ดพันธุผัก.กองขยายพันธุพืช กรมสงเสริมการเกษตร.

ที่มา กรมสงเสริมการเกษตร.มปป.การปลูกผักบุงจีน.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด

จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.