การปลูกไผ่ตง

Page 1

กรมสงเสริมการเกษตร


คํานํา ไผเปนพืชทีส่ ามารถนํามาใชประโยชนไดมากมายทั้งทางตรงและทางออม เชน ทําเปนเครื่องใชในครัวเรือน เครื่องจักสานตางๆ เฟอรนิเจอร เยื่อกระดาษ และหนอก็นํามาใช รับประทานไดอีกดวย สวนประโยชนทางออมก็คอื ชวยปองกันการพังทลายของดินตามบริเวณ ริมตลิ่งแมน้ําลําคลอง ชวยชะลอความเร็วของกระแสน้ําและกระแสลมไดเปนอยางดี

ปจจุบันนี้ ไผมีความสําคัญทางดานอุตสาหกรรมมากขึ้น มีการนําไผมาใชเปน วัตถุดบิ สําหรับการผลิตสินคาตาง ๆ เชน กระดาษ ไหมเทียม และไมไผอดั โดยเฉพาะไมไผอดั นัน้ เปนผลิตภัณฑที่ตลาดมีความตองการสูง นอกจากนี้ไมไผยังมีคุณสมบัติพิเศษที่แตกตางไปจาก ไมชนิดอื่น คือไมไผเมื่อแหงแลวจะมีการขยายและหดตัวนอยมาก จึงนิยมนํามาทําเปนไมแบบ ในการกอสราง หรือใชเปนวัสดุสําหรับตกแตงบานเรือน เนื่องจากไมไผมลี วดลายของเนื้อไมที่ สวยงามแตกตางไปจากไมชนิดอื่นนั้นเอง

สําหรับการปลูกไผตงนั้น สวนใหญมุงเนนการผลิตหนอเปนสําคัญ เนื่องจาก หนอมีรสชาติดีและมีคุณคาทางอาหารสูง จึงเปนที่นิยมของคนทั่วไป นอกจากนี้ยังนํามาแปรรูป เปนหนอไมปบสามารถสงขายยังตลาดตางประเทศไดอกี ดวย ดังนั้นไผตงจึงเปนพืชทีน่ าสนใจ ปลูกพืชหนึง่ เนือ่ งจากมีประโยชนมากมายตามที่กลาวมาแลว และยังมีแนวโนมความตองการ ในตลาดสูงขึ้นดวย

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

สภาพภูมิอากาศ ไผตงสามารถปลูกไดดีเกือบทุกสภาพภูมิอากาศในประเทศไทย โดยทั่วไป จะตองมีความชื้นเหมาะสม คือมีฝนตกเฉลี่ยประมาณ 1,000 มิลลิเมตรตอป

สภาพพื้นที่ปลูก ควรปลูกในพืน้ ทีร่ าบ นํา้ ทวมไมถงึ ดินทีใ่ ชปลูกควรเปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย มีการระบายนํ้าไดดี

ฤดูปลูก การปลูกไผตงควรปลูกชวงตนฤดูฝนประมาณเดือนพฤษภาคม - สิงหาคม เนื่องจากในชวงนี้จะมีฝนตกชุก ดินจะไดรับน้ําและมีความชุมชื้นสม่ําเสมอ ไผตงจะตั้งตัวไดเร็ว หลังจากปลูกแลวหากเกิดฝนทิ้งชวง จําเปนตองรดน้ําเพื่อเพิ่มความชุมชื้นในดินสักระยะหนึ่ง ไผตงก็จะเจริญเติบโตเร็วขึ้น

การใหน้ําไผตงที่ปลูกใหมทําใหไผตงเติบโตดีขึ้น

การปลูกไผตง

1


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

พันธุไผตง พันธุไผตงทีก่ รมสงเสริมการเกษตรแนะนําใหปลูก ไดแก 1. ไผตงดํา ไผตงชนิดนีจ้ ะมีลาํ ตนสีเขียวเขมอมดํา ใบสีเขียวเขม หนาใหญและมองเห็นรองใบ ไดชัดเจน หนอจะมีขนาดปานกลาง นํ้าหนักโดยเฉลี่ย 3 - 6 กิโลกรัม หนอไมไผตงชนิดนี้จะมี รสหวาน กรอบ เนื้อเปนสีขาวละเอียดและไมมีเสี้ยน จึงเปนพันธุที่นิยมปลูกเพื่อผลิตหนอและ ทําไผตงหมก ซึ่งจะเปนการชวยเพิ่มคุณภาพของหนอใหดีขึ้นไปอีก ไผตงพันธุนี้เปนพันธุที่ให หนอที่มีคุณภาพจนเปนที่รูจักกันโดยทั่วไปในชื่อ “ ไผตงหวาน ”

ตนและหนอไผตงดํา

การปลูกไผตง

2


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

2. ไผตงเขียว ไผตงเขียวชนิดนี้จะมีลําตนเล็กและสั้นกวาไผตงดํา สีของลําตนจะเปนสีเขียว เนื้อไมบาง ไมคอยแข็งแรง ถามีลมแรง ๆ จะทําใหหักพับลงมาไดงาย ใบบางสีเขียวเขม มีขนาดปานกลาง จับแลวไมสากมือ หนอมีนํ้าหนัก 1 - 4 กิโลกรัม หนอไมไผตงชนิดนี้จะมี รสชาติหวานอมขื่นเล็กนอย เนื้อเปนสีเขียวอมเหลือง นอกจากนี้แลวไผตงเขียวยังทนตอสภาพ แหงแลงไดดี เหมาะที่จะปลูกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จึงมีผนู ิยมปลูกกันมากเชนเดียวกับ ไผตงดํา

ตนและหนอไผตงเขียว

การปลูกไผตง

3


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การขยายพันธุ ไผตงสามารถขยายพันธุได 6 วิธีคื อ การขยายพันธุด วยการเพาะเมล็ ด การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การแยกกอหรือเหงา การชําปลอง การปกชําแขนงและการตอน ซึ่งในแตละวิธีจะมีการปฏิบัติดังนี้ 1. การเพาะเมล็ด ไผตงเมื่อหมดอายุขัยจะออกดอกและตาย ปกติไผตงจะเริ่มออกดอกในเดือน พฤศจิกายน - มกราคม โดยเมล็ดไผตงจะเริม่ แกและรวงหลน ประมาณเดือนมีนาคม - เมษายน เกษตรกรสามารถนําเมล็ดไผตงทีไ่ ดไปทําการเพาะตอไปโดยวิธีการดังนี้ 1.1 การเก็บเมล็ดพันธุ •

เมล็ดไผตงเมือ่ แกจดั จะรวงลงพืน้ เกษตรกรควรถางและทําความสะอาด

โคนตน เพื่อความสะดวกในการรวบรวมเมล็ดไผตง หรือถาเขยาตนใหเมล็ดรวงจากตน ก็ควร จะใชวัสดุหรือตาขายรองรับเมล็ดพันธุ •

รวบรวม เมล็ดพันธุไผตงทีไ่ ด แลวทําการฝดดวยกระดงเพือ่ คัดเมล็ดเสีย ออกเหลือไวแตเมล็ดที่สมบูรณ •

นําเมล็ดทีส่ มบูรณมาขัดนวดและฝดเอาเปลือกออก แลวนําไปตากแดด ประมาณ 1 วั น ก็สามารถนําเมล็ดไปเพาะได ในกรณีที่ตอง เก็บเมล็ดพันธุไวเพาะ ควรคลุกดวยสารเคมีเซฟวิน (เอส - 85) เพื่อปองกันแมลงและไมควรเก็บเมล็ดไวเกิน 1 เดือน เพราะจะทําให

เปอรเซ็นตความงอกลดลง เมล็ดไผตง

การปลูกไผตง

4


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

1.2 วิธีการเพาะกลาไผตง •

เมล็ดไผตงที่จะนํามาเพาะควรขัดเอาเปลือกนอกออกกอนเพื่อให

เมล็ดงอกเร็วขึ้นและเติบโตอยางสม่ําเสมอ •

นําเมล็ดไปแชน้ํา 2 คืน หรือแชเมล็ด ดวนน้ําอุนกอนประมาณ

2 ชั่วโมงแลวแชน้ําอีก 1 คืน •

นําเมล็ดขึ้นจากน้ําแลวหอหุมเมล็ดดวยผา รดน้ําใหชื้นอยูเสมอ

ประมาณ 2 คืน เมล็ดจะเริ่มงอก •

นําเมล็ดที่เริ่มงอกไปเพาะในแปลงเพาะที่มีขี้เถาแกลบผสมดินและ

ทรายรองพื้นหนาประมาณ 4 นิ้ว หวานเมล็ดแลวกลบดวยดินหนาประมาณ 1 เซนติเมตร คลุมแปลงดวยวัสดุคลุมดิน เชน หญาแหง และฟางขาว •

หลังจากเพาะเมล็ดลงในแปลงแลวประมาณ 15 วัน จะไดตนกลาทีมี

ความสูงประมาณ 2 - 3 นิ้ ว ใหทําการย ายกลาที่แข็งแรงลงในถุงเพาะ และอนุ บาลไวใน เรือนเพาะชําหรือที่รมรําไรประมาณ 6 - 8 เดือน แลวนําไปปลูกตอไป

ตนกลาไผตงที่เพาะจากเมล็ด

การปลูกไผตง

5


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

2. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เปนการนําตนกลาที่ไดจากการเพาะเมล็ดมาขยายพันธุ ใหไดปริมาณมาก ๆ เพื่อแกปญหาการขาดแคลนตนพันธุ ตลอดจนการแกไขปญหาตนพันธุ ที่มาจากการเพาะชํากิ่งแขนงที่ออกดอกและตาย เพราะกิ่งแขนงที่นํามาจากตนแมจะมีอายุ เทากับตนแม ฉะนั้นเมื่อตนแมออกดอก กิง่ แขนงที่นําไปปลูกก็จะออกดอกตายดวยเชนกัน แตการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อตองอาศัยขัน้ ตอนและเทคนิคทางวิชาการมาก จึงควรเปนหนาที่ของ หนวยงานราชการหรือบริษัทเอกชนทีม่ ีความชํานาญเปนผูดําเนินการผลิต 3. การขยายพันธุโดยการแยกกอหรือเหงา การขยายพันธุวิธีนี้จะตองคัดเลือกเหงาที่มีอยู 1 - 2 ป จะตัดใหตอสูงประมาณ 50 - 80 เซนติเมตร แลวทําการขุดเหงากับตอออกจากกอตนแมเดิม โดยระวังอยาใหตาทีค่ อเหงาแตก เสียหายได เพราะตานี้จะแตกเปนหนอตอไป สวน “ หนอเจา” ซึ่งเปนหนอที่ขุดขึ้นมามีขนาด เล็ก สามารถแยกกอไปปลูกไดเชนกัน การขยายพันธุวิธีนี้จะไดเหงาแมที่สะสมอาหารอยูมาก จึงมีอัตราการรอดตายสูง ทําใหหนอแข็งแรงและไดหนอเร็วกวาวิธีขยายพันธุโดยการใชกิ่ง แขนงหรือลํา อีกทั้งยังไดพันธุตรงกับสายพันธุเดิม แตเกษตรกรไมนิยมที่จะขยายพันธุโดยวิธีนี้ เนื่องจากเสียเวลา แรงงาน และสิ้นเปลืองคาใชจายมาก

การขยายพันธุโดยการแยกกอหรือเหงา

การปลูกไผตง

6


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

4. การขยายพันธุโดยการชําปลอง การขยายพันธุวิธีนี้จะตองทําการคัดเลือกลําที่มีอายุประมาณ 1 ป แลวนํามา ตัดเปนทอนๆ แตละทอนมี1 ขอ โดยจะตองตัดตรงกลางทอนใหรอยตัดทั้งสองหางจากขอ ประมาณ 1 คืบ และตองตัดใหมีแขนงติดอยูดวยยาวประมาณ 1 คืบ จากนั้นจึงนําไปชําใน แปลงเพาะชํา โดยวางใหขออยูระดับดินและใหตาหงายขึ้น ระวังอยาใหตาไดรับอันตราย เพราะจะทําใหหนอไมงอก หลังจากนั้นจึงใสน้ําลงในปลองไผตงใหเต็ม การขยายพันธุวิธีนี้จะตองหมั่นดูแลรดน้ําใหความชุมชื้นอยูเสมอ (คอยเติมนํ้า ใหเต็มปลองไผเสมอ) หลังจากนั้นประมาณ 2 - 4 สัปดาห จะพบหนอและรากแตกออกมา เมื่อหนอและรากแข็งแรงเต็มที่ ซึ่งจะใชเวลาประมาณ 6 - 12 เดือน ก็ทาํ การยายปลูกได

ขอ

ใสน้ําใหเต็ม

กิ่งแขนงที่แตกใหม

การขยายพันธุโดยใชปลองกิ่งตัดหรือใชลํา

การปลูกไผตง

7


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

5. การขยายพันธุโดยการใชกิ่งแขนงปกชํา กิ่งแขนงคือ กิ่งที่แยกออกจากลําตนไผตรงบริเวณขอ ซึ่งโคนกิง่ แขนงจะมีราก งอกเห็นไดเดนชัด การขยายพันธุโดยการใชกิ่งแขนงเปนวิธีการที่ไดรับความนิยมอยางแพร หลายเพราะสะดวกและงาย โดยกิ่งแขนงที่จะนํามาใชขยายพันธุจะตองมีลักษณะดังนี้ •

ใหเลือกกิ่งแขนงที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 1 - 1.5 นิ้ว

รากของกิง่ แขนงมีสีนํ้าตาลหรือนํ้าตาลอมเหลืองและมีรากฝอยแตกจากราก

ใหเลือกกิง่ แขนงทีใ่ บยอดคลีแ่ ลว และกาบหุมตาหลุดออกหมดแลวเชนกัน

แขนงแลว

ใหเลือกกิ่งแขนงทีม่ อี ายุ 4 - 6 เดือน ถาเปนกิ่งคางปจะยิ่งดี

ลักษณะของกิ่งแขนงที่จะนํามาปกชํา

การหักกิ่งแขนงที่จะนํามาปกชํา

การปลูกไผตง

8


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

ขั้นตอนในการปกชํากิ่งแขนง เมื่อไดคัดเลือกกิ่งแขนงแลว ใหทําการตัดแยกกิ่งแขนงออกจากลําไผ จากนั้น ตัดปลายกิ่งออกใหเหลือกิ่งยาวประมาณ 80 - 100 เซนติเมตร การปกชําควรจะทําในชวง ปลายฤดูฝนประมาณเดือนกันยายน - ตุลาคม ซึ่งเปนชวงที่มีกิ่งแขนงมาก โดยปฏิบัติตาม ขั้นตอนดังนี้ •

เตรียมแปลงเพาะชําโดยการไถพรวนดิน ควรตากดินทิง้ ไวประมาณ 2 สัปดาห หรือมากกวานั้น ในกรณีพื้นที่เปนที่ดอนนํ้าทวมไมถึง ควรทําการยอยดินและปรับพื้นที่ให สม่ําเสมอ และถาเปนที่ลุมควรทําการยกรองเพื่อใหมี การระบายนํ้าไดดี • ขุดรองในแนวเหนือ - ใต ลึกประมาณ 15 เซนติเมตร แตละรองหางกันประมาณ 30 เซนติเมตร เพื่อใหกิ่งแขนงไดรับแสงแดดทั่วถึงกันทุก ๆ ดาน นํากิ่งแขนงมาวางเรียงเปนแถว แลวใชดินกลบใหแนน • นํากิ่งแขนงปกชําลงในรองใหหางกัน ประมาณ 15 - 20 เซนติเมตรกลบดินแลวใหแนน แลวรดน้ํา ตามทันที หลังจากนั้นควรทําหลังคาดวยทางมะพราว เพือ่ พรางแสงแดดและหมัน่ ดูแลรดนํา้ ทุกวันหรือวันเวนวัน • หลังจากปกชํ าแลวประมาณ 6 - 8 เดือน กิง่ แขนงทีช่ าํ ไวจะแตกแขนงไดใบและรากทีแ่ ข็งแรงพรอม การปกชํากิ่งแขนงในแปลงเพาะชํา ที่จะยายลงปลูกในแปลง การปกชํากิ่งแขนงอาจทําการ เพาะชําในถุงพลาสติกสีดําขนาด 8 x10 นิ้ว ก็สามารถ เจริญเติบโตไดดีเชนกัน ถามีการขนยายกลาไปในระยะทางไกล ๆ ควรยายกลาลงชําในถุงพลาสติกทิ้งไวประมาณ 1 เดือน เพื่อใหตนกลาที่ชําไวแตกแขนง ใบ และราก สามารถ การปกชํากิ่งแขนงในถุงพลาสติก ตั้งตัวได และมีความแข็งแรง การปลูกไผตง

9


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

6. การขยายพันธุไผตงโดยวิธีการตอน การตอนไผตงเปนวิธีที่กาํ ลังไดรับความนิยมมากในปจจุบันเพราะทําไดสะดวก รวดเร็ว อัตราการรอดตายสูง คาใชจายต่ํา มีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้ 1. การเตรียมตุมขุยมะพราว เพื่อนําไปหุมกิ่งแขนงไผตงใหออกราก โดยนําขุยมะพราว มาแชน้ําบีบน้ําใหพอหมาดๆ นํามาใสถุงพลาสติกขนาด 4 x 6 นิ้ว จากนั้ น รั ด ปากถุ ง ให แ น น หากตอนหน า แล ง จะใช ตุ ม เป ย ก หน า ฝนจะใช ตุ ม แห ง รูปตุมขุยมะพราวที่จะนําไปตอน 2. การเลือกกิ่งแขนง กิ่งที่เหมาะสมที่จะตอนจะมีลักษณะคลายคลึงกับการเลือก กิ่งแขนงที่นาํ มาปกชํา(วิธีที่ 5) คือมีลักษณะดังนี้ 2.1 กิง่ ทีใ่ บยอดคลีแ่ ลว และกาบหุม ตาหลุดออกหมดแลวเชนกัน กิ่งแขนงที่เหมาะสําหรับการตอน 2.2 กิ่งที่ไมออ นหรือแกเกินไป 2.3 กิ่งที่มีรากงอกออกมาบางแลว 3. บากกิ่งแขนง โดยใชเลื่อยตัดเหล็กบากกิ่งแขนงเขาไป 3/4 สวน เพื่อให ออกรากดีขนึ้ ใชตุมขุยมะพราวที่เตรียมไวหุมโคนกิ่งแขนง 4.ใชตุมขุยมะพราวที่เตรียมไวหุมโคนกิ่งแขนงที่บากเตรียมไว เมือ่ หุม แขนงไผประมาณ 15 วัน รากแขนงไผจะเริม่ งอกยาว จะสัง เกตเห็ นในตุมขุยมะพร าวมี รากฝอยงอกยาวเต็มถุง จึงตัด กิ่งแขนงไปชําในถุงพลาสติกขนาด 5 x 8 นิ้ว ประมาณ 30 วัน จากนั้นนําไปปลูกในแปลงตอไป กิ่งแขนงที่รากงอกแลว

ชําในถุงพลาสติกขนาด 5 x 8 นิ้ว

การปลูกไผตง

10


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การเตรียมดิน ใหทําการเตรียมดินในชวงฤดูแลง โดยการไถพรวนดินแลวตากดินทิง้ ไวประมาณ 2 สัปดาห จากนั้นทําการยอยดินและปรับพื้นที่ใหสม่ําเสมอ สําหรับพื้นที่ดอนน้ําทวมไมถึง แตถา เปนการปลูกในทีล่ มุ ควรทําการยกรองปลูกเพือ่ ใหมกี ารระบายน้ําไดดี ในชวงการเตรียมดิน ถาดินปลูกไมคอยดีนักก็ควรปรับปรุงดินโดยการใสปุยคอกหรือปุยหมัก เพื่อปรับปรุงดินให รวนซุยและมีการระบายน้ําที่ดี

การปลูก หลังจากเตรียมดินเสร็จเรียบรอยแลว ใหขดุ หลุมปลูกขนาด กวาง x ยาว x สูง เทากับ 50 x 50 x 50 เซนติเมตร โดยขุดแยกดินบนและดินลางออกเปน 2 กอง จากนั้นให ใสปุยหินฟอสเฟต 1 กระปองนม (ประมาณ 300 - 500 กรัม) ปุยคอกหรือปุยหมัก 1 บุงกี๋ (ประมาณ 1 กิโลกรัม) และสารเคมีกําจัดแมลง ฟูราดาน 1 - 1.5 ชอนแกง(ประมาณ 10 - 15 กรัม) ตอหลุม ผสมคลุกเคลากับดินบนใหทั่ว ใสกลบลง ในหลุม จากนั้นนํากิ่งพันธุที่เตรียมไวลงปลูก โดย ปลูกใหลกึ เทากับระดับดินเดิม พูนดินบริเวณโคนตน ดินผสมปุย ใหเนินสูงขึน ้ เล็กนอย ใชไมปก เปนหลักผูกยึดตนไผ เพื่อปองกันลมโยก หลังจากนั้นรดน้ําตามทั นที และเพื่อปองกันความร อนใหแกตนไผ ควรใช การปลูกตนกลาไผตงที่ไดจากการชํากิ่งแขนง ทางมะพราวหรือวัสดุอื่นชวยพรางแสงแดดจนกวา ตนกลาจะมีใบใหญ และตัง้ ตัวไดแลวจึงคอยเอาออก ซึ่งการนํากิ่ งพันธุหรือ ตนกล าลงปลูกจะมีความ แตกตางกัน โดยการปลูกไผตงทีไ่ ดจากการชํากิง่ แขนง ควรใชตนกลาจากการชํากิ่งแขนงทีม่ ีความสมบูรณ เจริญเติบโตดี ปราศจากโรคและแมลง มีขนาด เส น ผ า ศู น ย ก ลางไม น อ ยกว า 2.5 เซนติ เ มตร สูงไมนอยกวา 80 เซนติเมตร นํามาปลูกในหลุม ปลูกโดยใหกงิ่ พันธุเ อียงทํามุม 45 องศา กับพืน้ ดิน การปลูกตนกลาไผตงที่ไดจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ สวนการปลูกไผตงที่ไดจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ควรใชตน กลาทีม่ อี ายุไมนอ ยกวา 14 เดือน สูงไมนอ ยกวา 60 เซนติเมตร มีระบบรากฝอย แผกระจายและสมบูรณ ไมขดมวนงออยูก น ถุง นําตนกลามาปลูกตรงกลางหลุมทีเ่ ตรียมไว การปลูกไผตง

11


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การปลูกพืชแซม ในชวง 1 - 2 ปแรก ตนไผตงจะมีขนาดเล็กอยู ควรจะปลูกผัก พืชไร หรือไมผลอายุสนั้ เปนพืชแซมเพื่อเสริมรายได เชน กลวย มะละกอ เปนตน หลังจากไผตงโตแลวแตยังมีชองวาง ใหแสงแดดสองผานไดเล็กนอย ก็ยังสามารถปลูกพืชที่ทนรมไดดีเปนพืชแซม เชน กระชาย หรือ พืชสมุนไพรอีกหลายชนิดที่ทนรมและไดผลดีเชนกัน ในสวนที่ไมไดปลูกพืชแซม อาจจะ ปลูกพืชคลุมดินเพื่อรักษาหนาดินและความชื้นภายในดิน เชน ถั่วลาย เพอราเลีย คุดซู โดย หวานเมล็ดพันธุในอัตรา 2 - 3 กิโลกรัมตอไร

การปลูกมะละกอเปนพืชแซม

การใหน้ํา การปลูกไผตงในระยะแรก จะตองคอยดูแลรดน้ําใหชุมชื้นอยูเสมอ หลังจากนั้น เมื่อไผตงตัง้ ตัวไดดีแลว (อายุเกิน 1 ปแลว) อาจเวนระยะการใหน้ําไดบาง เพราะตนไผตงจะ แข็งแรงและทนตอสภาพแลงไดดขี นึ้ ซึง่ ปริมาณการใหน้ําจะขึน้ อยูก บั สภาพดิน ความชืน้ ของดิน และในชวงฤดูแลงควรหาวัสดุเชน หญาแหง ฟางแหง คลุมบริเวณโคนตนเพื่อรักษาความชื้น ใหกับดิน การปลูกไผตง

12


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การใสปุย ในชวงปแรก ไผตงจะสามารถใชธาตุอาหารจากปุยที่ใสคลุกเคลากับดินที่ปลูกได แตหลังจากนั้น เมื่อไผตงเจริญเติบโตและตั้งตัวไดแลว จะตองมีการไถพรวนและใสปุยหลังจาก เก็บหนอขาย โดยจะทําการตัดแตงกอและไถพรวนเพือ่ กําจัดวัชพืชในชวงเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน กอนที่ดินจะแหง เพราะถาดินแหงจะไถพรวนไดยาก สวนการใสปุ ยจะใสในชวงเดือน มีนาคม - เมษายน โดยใสปุยคอกหรือปุยหมักในอัตรา 1 - 1.5 ตันตอไร (ประมาณ 40 - 50 กิโลกรัมหรือ 4 - 5 บุงกี๋ตอกอ)หรืออาจใชปุยเคมีสูตร 15 - 15 - 15 อัตรา 2 - 4 กิโลกรัม ตอกอรวมกับปุยคอก แตถาตองการเรงการแตกหนอก็ใหใสปุยยูเรียสูตร 46 - 0 - 0 ในอัตรา 1 - 2 กิโลกรัมตอกอ โดยโรยรอบๆกอ อยาใหโดนหนอเพราะอาจจะทําใหหนอเนาได หรือ อาจใสปุยสูตร 13 - 13 - 21 เพิ่มดวยในอัตรา 1 กิโลกรัมตอกอ (ใสพรอมกับปุยยูเรีย) ขอทีค่ วรระวังในการใสปยุ คือ ไมควรใสปยุ เคมีเพียงอยางเดียวเพราะจะทําให กอไผทรุดโทรมเร็ว ตองใสพรอมกับปุยคอกหรือปุยหมักทุกครั้ง

การใสปุยรอบ ๆ โคนตน

การปลูกไผตง

13


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การไวลําและการแตงกอ การไวลําและการแตงกอมีขั้นตอนในการปฏิบัติดังนี้ ระยะที่1 เมื่อไผตงมีอายุไดประมาณ 1 ป จะเริ่มมีการแทงหนอ 5 - 6 หนอ ในระยะนี้ยังไมควรตัดหนอโดยเด็ดขาด ควรปลอยใหเปนลําตอไป และใหตัดกิ่งแขนงเล็กๆ บริเวณโคนตนทิ้งเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน

1 ลําแมปที่1

1

1 1

การไวลําระยะที่ 1

ระยะที่2 เมื่อไผตงมีอายุได 2 ปจะมีหนอแทงขึ้นมา 5 - 6 หนอ ในปนี้จะไมมี การตัดหนอ ยังคงปลอยใหเปนลําตอไป แตถามีหนอเนา ลําคดเอียง แคระแกร็น และกิ่งแขนง ใหตัดทิ้งไป 2 2 1 1

ลําแมปที่1

1 2

1 2

ลําแมปที่2

การไวลําระยะที่ 2

การปลูกไผตง

14


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

ระยะที่ 3 เมื่อไผตงมีอายุได 3 ป จะมีลําประมาณ10 - 12 ลํา และมีหนอ พอที่จะตัดขายได ควรเริ่มตัดหนอจากกลางกอกอน แลวขยายวงออกมารอบนอกกอ สวนหนอ ทีอ่ ยูด า นนอกควรมีการรักษาไวเพือ่ ทําเปนลําแม โดยใหเลือกหนอทีอ่ วบใหญและอยูใ นลักษณะ ที่ขยายออกเปนวงกลม จึงจะทําใหกอใหญขึ้น มีหนอมากขึ้นในปถัดไป นอกจากนี้ยังจะชวยให การเขาไปตัดหนอและการดูแลรักษาทําไดสะดวกมากขึ้น

3 3

ลําแมปที่ 3

2

ลําแมปที่ 2

2 3 2 3

ลําแมปที่1ถูกตัดออก

2 3

การไวลําระยะที่ 3

ในการตัดแตงกอนั้นควรจะทําการติดตอกันทุกๆปหลังจากการเก็บเกี่ยวในชวง ปลายฤดูฝนประมาณเดือนพฤศจิกายน – มกราคม ซึ่งเปนชวงที่ไผตงชะงักการเจริญเติบโต ชั่วคราว หรือที่ชาวบานเรียกวา “ การลางกอไผ ” การตัดแตงกิ่งจะตัดแตงกิ่งที่เปนโรค มีแมลง และลําที่มีอายุตั้งแต 3 ปขึ้นไปทิ้ง โดยใหเหลือลําแมไวประมาณ 5 - 10 ลําตอกอ เพื่อคอย ค้ําจุนและบังลมใหกับลําที่เพิ่งแตกใหม นอกจากนี้การตัดแตงกอควรตัดแตงลําที่แกโดยตัดให ติดดินหรืออยูเหนือพื้นดินประมาณ 5 เซนติเมตร เพื่อลําแมจะไดไมตองสงอาหารไปเลี้ยง ลําแมเดิมอีก เพราะลําที่มีอายุ 3 ปขึ้นไป จะแกและไมแตกหนออีก นอกจากนี้ควรตัดหนอที่ เนา แคระแกร็น และคดงอออกดวย เมื่อปฏิบัติไดดังนี้แลวจะทําใหไดหนอไมที่มีขนาดใหญ และสมบูรณ การปลูกไผตง

15


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

แมลงศัตรูของไผตง แมลงศัตรูของไผตงที่สํารวจพบและมีการระบาดอยูบางในขณะนี้ไดแก 1.แมลงประเภทเจาะไชหนอและปลองออน เปนแมลงที่มีอนั ตรายมากที่สุด โดยเฉพาะในระยะที่ไผตงกําลังเจริญเติบโตจากหนอออนเปนลําตน แมลงพวกนี้ไดแก ดวงงวง ปกแข็ง จะเจาะทําลายกัดกินเนื้อเยื่อออนนุมของปลองภายใตกาบหุมหนอที่กําลังเจริญเติบโต ทําใหหนอและปลายยอดออนเนาและหักตาย 2. แมลงประเภทเพลีย้ แปง เปนแมลงทีช่ อบเกาะอยูต ามหนอออนหรือตามใบออน เพื่อดูดน้ําเลี้ยง จะมองเห็นเปนกอนยาวเหมือนแปง ทําใหกาบใบและยอดหงิกงอ ชะงักการ เจริญเติบโต การปองกันกําจัด 1. เมื่อพบวามีการระบาดของโรคและแมลงในแปลงปลูกไผตง ใหใชสารเคมี ปองกันและกําจัดศัตรูพืช เชน มาลาไธออน หรือเซฟวิน ผสมน้ําราดที่หนอและเหงา 2. ใชตัวห้ําหรือตัวเบียนเขาทําลายโรคและแมลงดวยกันเอง เชน เมคโตสตีส ซึ่งเปนแบคทีเรียชนิดหนึ่ง โดยนํามาผสมน้ําแลวพนตามใบ 3. การปองกันและกําจัดดวยวิธกี ล วิธนี สี้ ามารถทําไดโดยการปรับสภาพแวดลอม ของพืน้ ทีเ่ พือ่ ชวยลดอันตรายจากโรคและแมลง เชน การตัดกิง่ แขนง การตัดลําแหงๆออกจากกอ เพื่อใหมีการระบายอากาศ และรับแสง หรือ การปลูกพืชชนิดอื่นแซม ซึ่งเปนวิธีที่งาย และ ประหยัดที่สุด

การปลูกไผตง

16


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การผลิตไผตงนอกฤดู ในชวงฤดูแลงไผตงจะไมมีหนอ หนอไมในชวงนี้จึงมีราคาแพงในสภาพพื้นที่ ที่มีน้ําอุดมสมบู รณ เกษตรกรหากตองการผลิตหนอไมไ ผตงนอกฤดูก็สามารถปฏิบัติ ได โดยเกษตรกรควรติดตั้งระบบน้ําเพื่อรดตนไผตงเพราะปกติไผตงตองการน้ําประมาณวันละ 120 ลิตร/กอ/วัน (6ปบ/กอ/วัน)จึงจะใหผลผลิตดี นอกจากน้ํา ควรใสปุยคอก เชน มูลไก อัตรา 15 - 30 กก./กอ และใสปุยเคมีสูตร 46 - 0 - 0 อัตรา ½ กก./กอ/เดือน เพื่อเสริมให ไผตงออกหนอดีขึ้น สําหรับขั้นตอนการปฏิบัติควรดําเนินการดังนี้ ขั้นตอนการปฏิบัติ

พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.

1. ตัดแตงกอไผตง 2. ใสปุยคอก 3. ใสปุยเคมีเดือนละครั้ง 4. ทําไผตงหมก 5. หยุดตัดหนอเริ่มไวลํา

การทําหนอไมไผตงหมก (ไผตงหวาน) หนอไมไ ผตงหมกหรือไผตงหวาน เปนหนอไม ที่ตลาดมีความตองการมาก ราคาสูงกวาหนอไมไผตงธรรมดา เนื่องจากมีรสชาติและคุณภาพของหนอดีกวา คือจะเปนหนอ ที่อวบ เนื้อขาว ออนนิ่มและหวานกรอบ จะสามารถสังเกตความแตกตางไดคือ สีของหนอไมไผ ตงหมกจะเปนสีน้ําตาลอมเหลือง สวนหนอไมไผตงธรรมดาจะมีสีน้ําตาลดํา ฤดู ที่ เ หมาะสมในการทํา หน อ ไม ไ ผ ต งหมกคื อ ช ว งฤดู ฝ นประมาณเดื อ น เมษายน - พฤษภาคม ซึ่งจะเปนชวงที่หนอไมเริ่มแทงหนอ พันธุที่นิยมทําเปนไผตงหมก คือ ไผตงจีนหรือไผตงดํา แตปจจุบันก็มีการนําเอาไผตงเขี ยวมาทําไผตงหมกมากขึ้ น ทั้ง นี้เพื่อ ปรั บปรุงคุณภาพของหนอไผตงเขียวใหดีขึ้นและทัด เที ยมกับไผตงดําด วย การปลูกไผตง

17


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การทําหนอไมไผตงหมก คือ การปองกันไมใหหนอไมถูกแสงแดด ซึ่งสามารถทําไดหลายวิธีดังนี้ 1. การใชขี้เถาแกลบ หรือใชแกลบหมัก ในฤดูฝนเมือ่ หนอไผตงโผลพน ผิวดินไดประมาณ 2 - 3 นิว้ (ประมาณครึง่ ฝามือ) ใหเอาปบกนทะลุหรือถุงมาครอบหนอ แลวเอาขี้เถาแกลบใสใหเต็ม เมื่อหนอไผตงโตสูงพนปบ หรือถุงขึ้นมาประมาณ 1 นิ้ว ก็เอาปบหรือถุงและขี้เถาแกลบออกมาและตัดหนอได การหมกดวยวิธนี จี้ ะทําใหตดั หนอไดงา ย หนอไมสกปรกและยังทําใหหนอหวานขึน้ เนื่องจากขี้เถาแกลบมีธาตุอาหารโปแตสเซียมอยูดวย แตถาตองการทําจํานวนมากๆ ก็จะมี ปญหาในบางพื้นที่ที่หาปบ และขี้เถาแกลบยาก ปจจุบันเกษตรกรจึงนิยมใชแกลบเการวมกับ ถุงพลาสติกสีดํา ซึ่งเปนวัสดุที่หาไดงาย มีน้ําหนักเบาสะดวกในการปฏิบัติงาน แกลบเกานั้นเตรียมการโดยการรดน้ําใหชุมทิ้งไวหลายๆ วัน จากนั้นนํามากรอก ใสถงุ พลาสติกแลวรัดปากถุง เมือ่ จะใชกน็ ําไปกดใหหนอไมแทงทะลุกน ถุงเขาไป จากนัน้ อีก 3 วัน ก็สามารถยกถุงออกและตัดหนอไมได ทั้งนี้พลาสติกบรรจุแกลบอาจใชไดหลายครั้งและหาก หมดสภาพแลวยังสามารถเทไวรอบๆ กอไผเพื่อปรับปรุงดินอีกดวย

การทําหนอไมไผตงหมก โดยการใชถุงพลาสติกสีดําบรรจุแกลบ

การปลูกไผตง

18


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

2.การใชดินพอก ในกรณีที่หาปบและขี้เถาแกลบไมไดก็สามารถใชดินบริเวณรอบๆกอไผมาพอก ปดหนอใหสงู ประมาณ 1 ศอก พอหนอโผลพน ดินทีพ่ อกไดประมาณ 1 นิว้ ก็ทําการตัดหนอได ในการทําหนอไมไผตงหมกหรือหนอไมไผตงหวานโดยวิธใี ชดนิ พอกมีขอ ควรคํานึง คือ จะทําใหเราไมสามารถเลีย้ งลําแมทแี่ ข็งแรงสมบูรณทสี่ ดุ ได เนือ่ งจากมักมีการขุดหนอไปขาย จนลืมนึกถึงการเลี้ยงลําแม หรือบางทีก็ไมทราบตําแหนงของหนอที่ควรจะเปนลําแมเพราะถูก ดินกลบไว ฉะนั้นลําที่ปลอยใหเปนลําแมอาจเปนลําที่ไมดีพอ รวมทั้งการกําหนดระยะหาง (หรือการเดินกอ) ก็ทําไดยากและเมื่อมีการพูนดินขึ้นทุกป แลวเอาดินที่พูนออกหรือเอาออก ไมหมด จะทําใหกอไผลอย สงผลใหกอไผท รุ ดโทรมไดเร็ วและออกหนอนอ ยในปถัดไป การแกไขปญหาดังกลาวอาจทําไดดังนี้ 1. ทําการหมกปเวนป หรือหมกสองปแลวปลอยตามปกติ 1 ป หรือแบงพื้นที่ หมกเปนแปลงๆ แยกกัน ทัง้ นีเ้ พือ่ ใหไผตงทีผ่ า นการหมกมีลําแมทสี่ มบูรณเต็มที่ ผลผลิตจะได ไมลดลงในปถัดไป 2. มีการหมกกอเวนกอ เพื่อที่จะเลี้ยงลําแมที่สมบูรณได 3. หมกเพียงครึ่งกอ ( สลับซาย - ขวา ) 4. ตองเอาดินที่พูนโคนออกทุกป หลังตัดหนอแลว

การทําหนอไมไผตงหมกโดยใชดินพอก

การปลูกไผตง

19


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การตัดหนอ ไผตงจะเริม่ แทงหนอตัง้ แตเดือนพฤษภาคม - ตุลาคม สําหรับชวงทีแ่ ทงหนอมาก คือ เดือนกรกฎาคม - สิงหาคม ไผตงมีอายุ 3 ปขึ้นไป จะสามารถตัดหนอไดทุก 4 - 5 วัน แตถามีการบํารุงรักษาที่ดีจะสามารถตัดหนอไดวันเวนวัน การตัดหนอควรทําในตอนเชามืด เพื่อที่จะไดหนอไมที่สดสงตลาด เพราะถาตัดทิ้งไวนานๆ จะทําใหความหวานลดลง สําหรับ เครื่องมือที่ใชในการตัดหนอไมไผตง คือ เสียมหางปลา ซึ่งทางดานคมปลายเสียมมีหนากวาง ประมาณ 3 - 4 นิ้ว ในการตัดหนอนัน้ จะตองใชความชํานาญพอสมควรในการพิจารณาเลือกตัดหนอ ใหไดขนาดที่เหมาะสม คือจะตองเลือกตัดหนอทีไ่ มออนหรือแกจนเกินไป ขนาดความยาวของ หนอประมาณ 1 ฟุต ตัดใหมีตาเหลืออยูประมาณ 2 - 3 ตา นับจากกาบใบที่ 1 - 3 แลวตัด บริเวณกาบที่ 3 ซึ่งจะเหลือตาอยูและใหหนอในปถัดไป สวนหนอที่ไมแข็งแรง มีขนาดเล็กหรือ หนอตีนเตาใหตัดออก เพราะถาปลอยทิ้งไวก็จะไมมีประโยชน ทําใหกอไผสูงชะลูดไมแพรขยาย ออกไปในแนวกวางเปนวงกลม เพราะลําแมทไี่ มดแี ละยังทําใหมกี ารแทงหนอนอยในปถดั ไป

การตัดหนอไมไผตง

การปลูกไผตง

20


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

ปฏิทินการปฏิบัติดแู ลไผตง เดือน การปฏิบัติดูแลรักษา ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ปลูก กําจัดวัชพืช ใสปุยปกติ ใสปุยเรง ไถพรวนกอนดินแหง ตัดแตงแขนงและลํา หมกหนอ (ตงหมก) เก็บเกี่ยวผลผลิต

ไผที่ปลูกใหมๆ

ไผที่โตแลว

“ หนอไม “ ผลผลิตจากไผ

ผลิตภัณฑจากไผ

การปลูกไผตง

21


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

เอกสารอางอิง กรมสงเสริมการเกษตร.2537. การปลูกไผตง.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณ การเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด. กิสณะ ตันเจริญ และสุพล ธนูรักษ.2538.ไผตง. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณ การเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด พัฒนา นรมาศ .2533. ไผตง. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จํากัด.

ที่มา กรมสงเสริมการเกษตร.2537.การปลูกไผตง.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด เรียบเรียง : กิสณะ ตันเจริญ วินัย นิลสัย วรรณวาท แกวคําแสน จัดทํา : ปฏิวัติ วงศรัตนธรรม ถายภาพ : จงกลนี คลายคลึง

จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร การปลูกไผตง

22


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.