ไผ่เศรษฐกิจ

Page 1

ไผเศรษฐกิจ

ไผเศรษฐกิจ .... พืชอเนกประสงค

กรมสงเสริมการเกษตร


สารบัญ

เรื่อง

หนา

ไผไร

1

ไผรวก

2

ไผสีสุก

3

ไผเลี้ยง

4

ไผขาวหลาม

5

ไผซาง

6

ที่มา

กรมสงเสริมการเกษตร


12

ไผไร Gigantochloa albociliata

ไผไร

มีชื่อเรียกอีกหลายอยาง เชน ไผไฮ (อีสาน) ผาก ขาม (ใต) ไมคาย ไมผาก

ไมโล(เหนือ) เปนไมพื้นเมืองของไทยพบไดทั่วทุกภาคเฉพาะทีม่ ีความชื้นสูง ปาดงดิบ บริเวณ ที่หุบเขาลําหวยไหลผาน ขึ้นไดในสภาพแลงและปาเบญจพรรณ หรือปาโปรง ลักษณะเดน

เปนไผขนาดเล็ก ลําขึน้ แนนกอ ลํามีสเี ขียวแกมเทา ลําจะโคงมีความสูง

ประมาณ 3 - 4 เมตร ไมมีหนาม เสนผาศูนยกลางประมาณ 1.5 - 3 ซม. ขอนูนเห็นไดชัด ปลองยาวประมาณ 15 - 40 ซม. มีขนสั้นๆทั่วปลอง ผิวสาก ลําดานมีความเรียว เนื้อไมไผไรจะ หนาเนื้อตัน จึงไดชื่อวา Solid bamboo การใชประโยชน ใชหนอเปนอาหาร หนอไมไผไรเปนอาหารที่นิยมกันมาก เมื่อตมแลว จะไดรสชาติดี

โดยเฉพาะหนอที่ยงั ไมโผลพนดิน ชวงเวลาออกหนอยาวนาน ตั้งแตฤดูฝน

จนถึงปลายฤดูฝน จึงเปนพืชเศรษฐกิจและพืชอาหารที่สําคัญของชาวชนบท เนื้อไมละเอียด และเหนียวจึงทําเครื่องจักสานไดดี ทําเครื่องมือเครื่องใชในครัวเรือนและในงานเกษตรกรรม ลําไผไรตัดโคงจึงเหมาะแกการทําเฟอรนิเจอรไดหลายชนิด

กรมสงเสริมการเกษตร


23

ไผรวก Thyrsostachays siamensis

ไผรวกหรือฮวก (เหนือ, อีสาน) เปนไผพื้นเมืองดั้งเดิมของไทยมีขึ้นในทุกภาค ขึ้นได ในที่แหงแลง ที่สงู บนภูเขา หรือเนินสูง อากาศรอนแตไมชอบน้ําขังจนถึงชุม ชื้น ดินระบายน้ําดี มักจะพบขึ้นอยูครอบคลุมพื้นที่เปนบริเวณกวาง เชน จังหวัดกาญจนบุรี ลักษณะเดน

คือขึ้นเปนกอแนน ลําตนขนาดเล็ก ลําสูง 7 -15 เมตร ตรงเปลามี

กิง่ เรียวเล็กบริเวณปลายลํา ความโตของปลองประมาณ 4 - 7 ซม. และยาวประมาณ 15 - 30 ซม. บริเวณโคนเนื้อหนาเกือบตัน แตถัดขึ้นมาเนื้อจะบาง กาบหุม ลําสีฟางขาว บางออน จะหุมลํา อยูนาน การใชประโยชน หนอไมไผรวก (หนอฮวก) นิยมนํามาทําเปนอาหารประเภทตมหรือ แกง และนิยมนํามาตมอัดปบไวขายนอกฤดูกาล ลําไผรวก นิยมนํามาใชตบแตงเปนเฟอรนิเจอรภายในบาน เพราะมีความตรงเปลา สวยงามใชทําเปนดามรม เกษตรกรนิยมปลูกไผรวกไวเปนแนวรั้วบาน แนวเขตที่ดิน เพือ่ เปน แนวกันลม แลวนําลําไผมาใชทําเปนไมค้ํายันพืชกสิกรรมตาง ๆ ทําหลักเลี้ยงหอยแมลงภู ไมไผรวกแมจะมีขนาดเล็ก แตมีคุณประโยชนและมีคุณคาทางเศรษฐกิจมาก

กรมสงเสริมการเกษตร


34

ไผสีสุก Bambusa blumeana

ไผสีสุก เปนไมพื้นเมืองในหมูเกาะอินเดียตะวันออกและแปซิฟคตอนใต ไดแ ก เกาะชวา สุมาตรา เกาะบอรเนียว และโมลุกกะ แตนําปลูกในประเทศไทยนานมาแลว จึงมี ปลูกทัว่ ทุกภาคกระจายกันไปตามหมูบ า นทัว่ ไป ไผสสี กุ ขึน้ อยูต ามทีร่ าบลุม ริมหวยหรือริมแมน้ํา เจริญเติบโตไดดีเมื่อปลูกในพื้นที่ชุมชน ลักษณะเดน

คือ ขึน้ อยูก อแนนมากบริเวณโคน แตละลําจะมีการแตกกิง่ เปนขอตัง้ ฉาก

กับลําเปนจํานวนมาก ทีเ่ ปนจุดเดนคือ บริเวณขอของกิง่ จะมีหนามแหลมคมโคงแตกเปนกลุม ๆละ 3 อัน อันกลางจะยาวกวาอันอื่น บริเวณโคนปลองจะหนา ลําจะมีรู เปนไผขนาดกลางถึง ขนาดใหญ ลํายาว 15 - 25 เมตร ความโตของลํา 10 - 20 ซม. ผิวเรียบเปนมัน ขอไมพองออกมา ลําเมื่อออนมีสีเขียว เมือ่ แกจะมีสีเหลืองปนเขียว จึงไดขึ้นชื่อวาไผสีสุก การใชประโยชน หนอไผเมือ่ อยูใ ตดนิ จะรสดี เมือ่ โผลพน ดินมักนิยมนํามาทําหนอไมดอง มีสีขาวรสเปรี้ยว เก็บไดนาน เนื้อไมเนื้อหนาและเหนียวทนทานดีมาก ใชทําเครื่องจักสาน ทําที่อยูอาศัยในชนบท ใชทําคานแบกหามเพราะสปริงไดดีมากและใชทําเยื่อกระดาษ ในอดีต นิยมปลูกรอบหมูบาน เพื่อเปนแนวกันลม และเปนรั้วกันขโมย

กรมสงเสริมการเกษตร


45

ไผเลี้ยง Bambusa nana

ไผเลี้ยงหรือไผนอย (อีสานใต) ไผสรางไพร (อีสาน เหนือ) เปนไผที่นําเขามาจาก ประเทศจีนหรือญี่ปุน ไมพบในปาธรรมชาติของไทย เปนไผที่มลี ําสวยงามและแข็งแรง นิยมปลูกไวตามแนวรั้วบาน แนวเขตที่ดิน และตามหัวไรปลายนาทั่วไป เพื่อใชสอยเปนแนว กันลมและความสวยงาม ลักษณะเดน

ของไผเลี้ยงเปนไผขนาดกลาง ลําตรงเปลาสีเขียวบริเวณขอสีเขียว

เห็นไดชัด ไมมีหนาม แตกกิ่งบริเวณยอด ลํามีความยาวประมาณ 8 - 10 เมตร ความโต 3 - 8 ซม. เปนไผที่มีลั กษณะกอสวยงาม หนอออน มีเปลือกสีเหลืองหรื อเขียวอมเหลือง หุมเนื้อหนาเกือบตลอดทั้งลํา จึงมีความแข็งแรงและรับน้ําหนักไดมาก การใชประโยชน ไผเลี้ยงใชประโยชนไดกวางขวางมาก หนอนิยมนํามาทําอาหาร ลําไผเลีย้ งนิยมนํามาทําเปนเฟอรนเิ จอร โตะ เกาอี้ บันได และกอสรางอืน่ ๆ โปะเลีย้ งหอยแมลงภู ฯลฯ อุตสาหกรรมเฟอรนเิ จอรจากไผเลีย้ งทํารายไดใหแกผปู ลูก และผูป ระกอบการมาเปนเวลาชานาน ปจจุบันความตองการใชสอยเนื้อไมจากไผเลี้ยงยังมีมาก เหมาะสําหรับปลูกไวตามบานและ เรือกสวนไรนา

กรมสงเสริมการเกษตร


56

ไผขาวหลาม Cephalostachyum pergracile

ไผขาวหลาม เปนไผพื้นเมืองของไทยทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบไผขาวหลามขึ้นอยูเปนกลุมๆ ในปาเบญจพรรณ ปาผสมผลัดใบ ลักษณะเดน เปนไผขนาดกลาง ทิง้ ใบในชวงฤดูแลง สูง 8 - 20 เมตร เสนผาศูนยกลางลํา ประมาณ 5 - 9 ซม. ขอไมพองหรือปูดออกมา ใตขอ มีขนสีขาว เปนไผทมี่ เี นือ้ บาง ความหนาไมถงึ 5 มม. แตปลองจะยาว 30 - 50 ซม. กาบหุมลําหลุดรวงงาย กาบดานนอกสีดําหรือสีน้ําตาล ปนเหลืองเห็นไดชัด ลําอายุประมาณ 6 - 10 เดือน ใชทําขาวหลามไดอยางดี เผางาย ปอกงาย เพราะความ หนาของเปลือกนอย และมีเยือ่ บางๆ หลุดติดออกมาหุม ขาวทีใ่ สไวจงึ นิยมเรียกวา ไผขา วหลาม ไมนิยมกินหนอเพราะมีรสขมมาก การใชประโยชน ลําตนใชทํากระบอกขาวหลาม เครื่องจักสานตาง ๆ ทําไมกลอนใน การมุงหลังคาบานดวยแฝกหรือหญาคา สานเปนฝาบาน และใชเปนวัสดุตะแกรงแทนเหล็กเสน ในการเทพื้นคอนกรีต ไผขา วหลาม สมควรจะไดรบั การขยายพันธุแ ละปลูกในพืน้ ทีต่ า งๆทัว่ ทุกภาค เพือ่ สนับสนุน การทําขาวหลามในเขตบริการการทองเที่ยว

กรมสงเสริมการเกษตร


67

ไผซาง Dendrocalamus strictus

ไผซาง ไผนวลหรือไผตาดํา(กาญจนบุร)ี แพด(แมฮอ งสอน) วะมิเลอร วะเมปรี่ (กะเหรีย่ ง) เปนไผทองถิน่ ของประเทศไทยอีกชนิดหนึ่ง พบขึน้ ในปาดงดิบชื้นทั่วไป เชน บริเวณหุบเขา จังหวัดแมฮอ งสอน เชียงใหม และลําปาง ลักษณะเดน ของไผซางคือเปนไผไมผลัดใบ ลําตนสีเขียวออน ไมมหี นาม มีความสูง 6 - 18 เมตร มีความโต 3 - 9 ซม. เมือ่ ยังออนลํามีสีเขียวนวล แตเมื่อแกจะมีสีเขียวดานหรือ อมเหลือง ขอจะพองเล็กนอย ปลองยาว 15 - 50 ซม. ปลองมีเนื้อหนาโดยเฉพาะตรงโคน จะมี ปลองหนาจนเกือบตัน มีกิ่งขนาดเล็ก ตอนบนของลําใบหอยลง การใชประโยชน หนอ นิยมนํามาทําอาหารรสดีกวาหนอไผตง แตมขี นาดเล็กกวา ประโยชนในดานเนือ้ ไมนนั้ ถือไดวา มีความสําคัญในการทําเครือ่ งมือ เครือ่ งใช วัสดุทางการเกษตรและประมง ทําบวบสําหรับ ลองแพ ตลอดทั้งอุตสาหกรรมจักสาน และการกอสราง ใบ เปนอาหารสัตวพวกวัว ควาย มา สวนลําตนที่ออน และใบเปนอาหารของชาง ประโยชนของไผซางมีมาก จึงเหมาะสําหรับสงเสริมใหมีการพัฒนาอุตสาหกรรม การเกษตร

กรมสงเสริมการเกษตร


กรมสงเสริมการเกษตร

ที่มา เรียบเรียง

: แผนพับ ไผเศรษฐกิจ กรมสงเสริมการเกษตร : นิภทั ร ศิวติณฑุโก ทวีศักดิ์ ดวงทอง กลุมสงเสริมการผลิตไมยืนตน กรมสงเสริมการเกษตร จัดทําขึ้นเว็บไซตโดย : นางสาวอุมาภรณ อุดมผล นักศึกษาฝกงาน คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขต หาดใหญ นําเผยแพรทางเว็บไซตโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สวนสงเสริมและเผยแพร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.