การปลูกพริกหวานหรือพริกยักษ์

Page 1

กรมสงเสริมการเกษตร 2548


การปลู ก พริ ก หวานหรื อ พริ ก ยั ก ษ

หนา 1

การปลูกพริกหวานหรือพริกยักษ พริกหวานหรือพริกยักษ ( SWEET PEPPER / BELL PEPPER ) ชื่อวิทยาศาสตร Capsicum annuum

ริกหวาน อยูในตระกูล มะเขือ ( Solanaceae ) ซึ่งเปนตระกูลเดียวกับ มะเขือเทศ ยาสูบ มันฝรั่ง ฯลฯ พริกเปนพืชขามป แตที่ปลูกเปนการคา สวนใหญจะปลูกฤดูเดียว ทําใหมีสายพันธุใหม จํานวนมาก มีความแตกตางกันทั้งในดานความสูง ขนาดทรงพุม ขนาดของใบ จํานวนดอก ตอชอ ลักษณะขนาด สีของผล ตลอดจนรสชาติและความเผ็ด ผลมีลักษณะกลมยาวขนาดใหญ พริกหวาน สีเขียว จะเปนที่ตองการของตลาด แตเมื่อแกจะเปลี่ยนเปนสีแดง หรือ เหลือง สม หรือมวง ►

สภาพแวดลอม

พริกหวานตองปลูกในโรงเรือนที่ควบคุมอุณหภูมิไดเพราะตองการสภาพอากาศ อบอุน ความชื้นในอากาศต่ํา ไมทนทานตอน้ําคางแข็ง อุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับการเจริญ อยูระหวาง 20 – 25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิกลางคืนไมเกิน 20 องศาเซลเซียส ในดานการผลิตเมล็ดพันธุ ในอุณหภูมิต่ําสามารถทําใหผลเจริญโดยไมมีเมล็ด


การปลู ก พริ ก หวานหรื อ พริ ก ยั ก ษ

หนา 2

หรือมีเมล็ดนอยอุณหภูมิในระยะกอนดอกบาน อุณหภูมิหลังดอกบาน

จะมีอิทธิพลตอการติดของเมล็ด

มากกวา

การปลูกในฤดูหนาวควรควบคุมใหอุณหภูมิอากาศในโรงเรือนสูงกวาขางนอก 5 องศา เพื่อชวยในการเจริญเติบโต ทําใหทรงพุมสูง ►

สายพันธุท ี่ใชปลูก การปลูกพริกสีในโรงเรือน

ควรเลือกสายพันธุที่เหมาะสมสําหรับการปลูกใน

โรงเรือน เชน

พันธุสีเขียว - แดง Cubico , Pluona

พันธุสีเหลือง Golden Belle , Marengo , Orobelle

พันธุสีสม Ariane ,Valencia

การเพาะกลา

เมล็ดพริกจะงอกชากวาเมล็ดพืชตระกูลมะเขืออื่นๆ วัสดุเพาะควรประกอบดวย ปุยหมัก ปุยคอกเกา ขี้เถาแกลบ และปุยเคมีสูตร 12 – 24 –12 เมล็ดพันธุพริกหนัก 10 กรัม จะมีเมล็ด 2,300 ถึง 2,600 เมล็ด ใชเมล็ดพันธุ 20 – 40 กรัมตอพื้นที่ปลูก 1 ไร จะไดตนกลา 3,200 – 3,500 ตน การจัดการเมล็ดกอนเพาะ ควรแชเมล็ดในน้ําผสมเบนเลท และแคปแทนอยาง ละ 6 กรัม ตอน้ํา 1 ลิตร เปนเวลา 30 – 60 นาที เพื่อปองกันโรคที่ติดมากับเมล็ด และใหเมล็ด


การปลู ก พริ ก หวานหรื อ พริ ก ยั ก ษ

หนา 3

งอกเร็ว สม่ําเสมอ หลังจากนั้นนําออกมาลาง และนําไปแชน้ําอุน 50 องศาเซลเซียส เปนเวลา 10 นาที และแชใน KNO3( โพแทสเซียมไนเตรท ) เขมขน 0.1 – 0.2 % และใชผาเปยกหมาด ๆ หุมไวประมาณ 1 – 2 วัน หรือจนกระทั่งเริ่มมีรากสีขาวออกมา อยาใหรากงอกยาวเพราะจะ ทําใหไมสะดวกในการหวาน อุณหภูมิดิน 30 องศาเซลเซียส จะเหมาะสมสําหรับการงอกของเมล็ด โดยจะ งอกภายในเวลา 6 – 10 วัน การเพาะในอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียสเมล็ดจะงอกชา หลังจากที่เมล็ดเริ่มงอก นําไปหยอดในถาดเพาะ ใหลึก 1 ซม. กลบเมล็ดและ ฉีดพนสารเคมี เชน เซฟวิน 85 เพื่อปองกันมดและแมลงอื่น ๆ การใหน้ํากอนเมล็ดงอก ไมควรใหน้ํามาก และใหน้ําวันละสองครั้งเชา – เย็น เมื่อตนกลาเริ่มเจริญในระยะแรกจะรดน้ําวันละหนึ่งครั้ง ตอจากนั้นจะใหน้ําสองถึงสามวัน ตอครั้งขึ้นอยูกับสภาพดินและสภาพอากาศ ►

การดูแลรักษาและการปลูก

ในระยะที่ตนกลากําลังเจริญเติบโต ควรฉีดพนดวยปุยน้ําหรือปุยเกล็ดที่มีธาตุ อาหารหลักและธาตุรอง ทุก 3 – 5 วัน ฉีดพนสารเคมี เชน ไดเทน เอ็ม 45 ผสมกับเซฟวิน 85 และปุยน้ําทุก 7 วัน ยายตนกลาเมื่อมีใบจริง 3 – 4 ใบ หนึ่งอาทิตยกอนถอนตนกลา ควรลดการใหน้ําเพื่อใหตนกลาชะงักการเจริญ ตนกลาจะแข็งแรงและมีอาหารสํารองสําหรับการเจริญของรากใหม


การปลู ก พริ ก หวานหรื อ พริ ก ยั ก ษ

หนา 4

ระยะปลูก

การปลูกในโรงเรือนจะใชระยะ 50 x 100 – 120 เซนติเมตร การปลูกพริกสีแดง เหลือง มวง นิยมปลูกในโรงเรือน เนื่องจากมีอายุการเก็บเกี่ยวชากวาสีเขียวใชวิธีการตัดแตงกิ่ง และปลูกเปนแถวเดี่ยวกลางแปลง ระยะปลูกที่เหมาะสมสําหรับพริกหวาน คือ ระยะปลูก 40 x 50 ซม. กอนปลูกควรใหน้ํา เพื่อใหมีความชื้นพอเพียง การปลูกในดินทีข่ าดน้ํา ดินจะดึงน้ํา จากพืช ทําใหพืชเหี่ยวตาย การปลูกควรปลูกใหลึกกวาสวนโคนเล็กนอย เพื่อไมใหตน เคลื่อนไหว ►

การใสปุยหลังปลูก

สูตรปุยที่เหมาะสมกับพริกหวาน คือ ใสปุยหมักรวมกับปุยเคมี สูตร 8 - 24 - 0 อัตรา 100 กก. / ไร แบงใส 4 ครั้ง ดังนี้ ใสปุยครั้งที่หนึ่ง หลังยายกลาปลูก 7 วัน หรือจากที่พืชตั้งตัวได โดยโรยรอบ ๆ ตน หางจากตน 10 ซม. ใสปุยครั้งที่สอง หลังยายปลูก 27 วัน หรือเมื่อพริกสูง 30 ซม. ซึ่งจะเริ่มออกดอก ชุดแรก ควรใสระหวางแถว การใสปุยครั้งที่สาม หลังจากยายปลูก 47 วัน หรือมีความสูงประมาณ 50 ซม. โรยระหวางรองทางเดินทั้งสองขาง เพื่อชวยในการเจริญของดอกผลชุดหลัง ซึ่งจะมีเปนจํานวน มาก การใสปุยครั้งที่สี่ ใสหลังจากยายปลูก 67 วัน โดยโรยระหวางรองทางเดิน ทั้งสองขาง


การปลู ก พริ ก หวานหรื อ พริ ก ยั ก ษ

หนา 5

การใสปุยเพิ่มสามารถสังเกตจากความสมบูรณของพืช ควรฉีดพนดวยปุยน้ําที่ ธาตุอาหารครบทุกอาทิตย ในระยะติดผลควรฉีดพนดวย ยูเรีย เขมขน 0.25 % ทุก 15 วัน เพื่อให พืชสมบูรณ เพิ่มผลผลิตและคุณภาพดี เมื่อผลแรกเริ่มเจริญควรเด็ดออก เนื่องจากผลจะดึงอาหารไปใชในการเจริญ เปนผลทําใหสวนยอดชะงักการเจริญเปนสาเหตุใหตนไมไมคอยโตทําใหผลผลิตและคุณภาพ ต่ําลง ►

การใหน้ํา พริกหวานเปนพืชที่ไมทนทานตอสภาพการขาดน้ํา หรือการใหน้ํามากเกินไป

พริกตองการน้ํา 400 – 1,000 มิลลิเมตร ตลอดฤดูปลูก ควรใหน้ําอยางพอเพียงและสม่ําเสมอ ระยะที่ยายปลูกใหมควรดูแลใหมีความชื้นอยางพอเพียง แตไมควรใหมากจนน้ําขัง แฉะ จะ ทําใหรากเนา ตายไดงาย การปลูกในดินทราย ตองใหน้ําบอยครั้งกวาดินเหนียว ระยะที่มีหมอกลงจัดควร ใหน้ําในตอนบายเพื่อใหหนาดินแหงกอนค่ํา นอกจากนี้การทดน้ําเขาตามรองประมาณ 1/3 ของความสูงของแปลง จะดีกวาใหแบบพนฝอย ►

การควบคุมและกําจัดวัชพืช

การใชวัสดุคลุมดินจะชวยรักษาความชื้นในดินและควบคุมวัชพืช ถาหากใชฟาง คลุมควรเปนฟางเกาเนื่องจากเพลี้ยจะชอบสีเหลืองถาใชฟางใหมคลุมจะทําใหเกิดโรคใบหด การใชพลาสติกสีดําคลุมดิน ทําใหเพิ่มอุณหภูมิดิน ดังนั้นควรคลุมดินดวย พลาสติกสีน้ําเงิน ซึ่งสะทอนแสงและชวยลดปริมาณแมลงปากดูด ควบคุมวัชพืชรักษาความชื้น และลดอุณหภูมิในดิน ผลการทดลองหลายแหงพบวาการคลุมดินดวยพลาสติกสีน้ําเงิน และ


การปลู ก พริ ก หวานหรื อ พริ ก ยั ก ษ

หนา 6

ใหปุยในรูปสารละลายแบบระบบน้ําหยดสามารถชวยเพิ่มผลผลิต เพิ่มขนาดของผล และ ชวย ใหเก็บเกี่ยวไดเร็วขึ้น ►

การตัดแตงกิ่งและการปลิดผล

เนื่องจากพริกหวานเปนพืชที่ตองการทั้งผลผลิตและคุณภาพดังนั้นจึงจําเปนตอง มีการตัดแตงกิ่งเพื่อใหลําตนโปรง เพิ่มอัตราการหมุนเวียนของอากาศ ลดการระบาดของโรค เกิดความสมดุลในการสรางอาหารและการใชอาหาร สําหรับการเจริญเติบโต ผลผลิตและ คุณภาพของผล ตลอดจนยืดเวลาเก็บเกี่ยว จํานวนกิ่งและจํานวนผลตอตนขึ้นอยูกับพันธุ ฤดูปลูก และมาตรฐานความตองการของตลาด โดยทั่วไปจะตัดแตงใหเหลือ 2 – 6 กิ่ง โดย คัดเลือกกิ่งที่สมบูรณ การตัดแตงใหเหลือ 2 กิ่งจะใหผลขนาดใหญและคุณภาพสูง ปจจุบัน การปลูกพริกสี นิยมปลูกตัดแตง 2 กิ่งและปลูก 2 ตนตอหลุม เพื่อเพิ่มผลผลิตตอพื้นที่ ►

การใชฮอรโมนชวยในการเจริญ จิบเบอเรลลิค แอซิด ( GA 3 ) ชวยในการเจริญเติบโตของพริก โดยเฉพาะ

การปลูกในสภาพอุณหภูมิต่ํา การเจริญเติบโตชา ใชความเขมขน 100 – 500 ppm เริ่มฉีดพน หลังยายปลูก 2 อาทิตย และฉีดทุกๆ 2 อาทิตย นอกจากนี้ GA 3 สามารถชวยในการติดและการเจริญของผล ฉีดพนทุก 1 – 2 อาทิตย ในระยะที่ดอกบาน อาจจะใชความเขมขนสูงในพื้นที่ปลูกที่มีปญหาในการผสม เกสรและการติดของผล ►

GA 3 ชวยใหผลมีขนาดใหญและติดผลมาก

การเก็บเกีย่ ว

การเก็บเกี่ยวพริกหวานขึ้นอยูกับสายพันธุและฤดูปลูก โดยทั่วไปจะเก็บเกี่ยวเมือ่ อายุ 70 – 130 วัน หลังยายปลูก พริกหวานสีเขียวเก็บเกี่ยวเมื่อผลเจริญเต็มที่ ผลแข็ง ผิวเรียบ


การปลู ก พริ ก หวานหรื อ พริ ก ยั ก ษ

หนา 7

เปนมัน หลังจากระยะสุกเขียว ผลจะเริ่มเปลี่ยนสีเปนสีมวง / แดง / เหลือง เอทธีลีน ( ethylene : C 2 H 4 ) จะชวยเรงการพัฒนาสีของผล ระยะเก็บเกี่ยวขึ้นอยูกับระยะทางที่จะสงไปตลาด ตลาดในทองถิ่น เก็บเกี่ยวเมื่อ ผลเปลี่ยนสี 80 % สวนตลาดที่หางไกล เก็บเกี่ยวเมื่อเริ่มเปลี่ยนสี 35 – 60 % การเก็บเกี่ยวจะใชมีดที่บางและคม ตัดขั้วดานที่ติดกับลําตน ไมควรปลิดผล เนื่องจากจะทําใหลําตนฉีกขาด ควรใหมีขั้วติดผล เพื่อปองกันการเนาจากการเขาทําลายของโรค ที่แผลซึ่งเกิดจากการหลุดของขั้วแตควรระวังขั้วอาจจะทําใหผลอื่น ๆ เกิดแผลในระหวางการ ขนสง หลังเก็บเกี่ยว ควรลางทําความสะอาดดวยคลอรีนเขมขน 300 ppm และใชน้ํา อุณหภูมิ 53 องศาเซลเซียส เพื่อปองกันผลเนา การลดความรอนที่สะสมอยูในผลกอนระยะเวลาเก็บเกี่ยว โดยรักษาอุณหภูมิ ของผลใหอยูระหวาง 9 – 10 องศาเซลเซียส การลดอุณหภูมิเฉียบพลันโดยใช forced air cooling หรือ hydrocooling หรือ vacuum cooling จะชวยยืดระยะเวลาการเก็บรักษา แตหลังจาก hydrocooling ควรใชพัดลมเปาใหแหงเร็วที่สุด เพื่อปองกันการเขาทําลายของโรคผลเนา การเคลือบผิวจะชวยลดการคายน้ํา ปองกันผลเหี่ยวและปองกันการเกิดแผล ระหวางการขนสง การหอผลดวย moisture – retentive films เชน perforated polyethylene ชวยใหเก็บรักษาไดนานกวาปกติ 1 อาทิตย ►

อุณหภูมิในการเก็บรักษา ผลพริกหวานไมทนทานตอสภาพอุณหภูมิต่ํา ไมควรเก็บรักษาต่ํากวา

7 องศาเซลเซียส อุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับการเก็บรักษาอยูระหวาง 8 – 9 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงกวา 12 องศาเซลเซียส กระตุนใหเกิดการพัฒนาของสี


การปลู ก พริ ก หวานหรื อ พริ ก ยั ก ษ

หนา 8

แมลงศัตรูพริกหวาน 1. ไรขาว ลักษณะการทําลาย ไรขาวจะดูดน้ําเลี้ยงที่ใบของพริก ทําใหเกิดใบมวนงอหงิกและหัวโกรน การปองกันและกําจัด • หมั่นตรวจดูยอดตนพริกสม่ําเสมอ เมื่อพบไรขาว ควรฉีดพนดวยกํามะถันผง ชนิดละลายน้ําไดใหทั่วใตใบ โดยเฉพาะใบที่อยูสวนยอด และฉีดวันเวนวัน เมื่อเริม่ ระบาด 2 – 3 ครั้ง และเริ่มฉีดใหมเมื่อพบศัตรูระบาด • เนื่องจากไรขาวจะระบาดมากในอุณหภูมิสูงและแหงแลงจึงปองกันโดยรักษา แปลงปลูกใหมีความชื้นสูง โดยรดน้าํ ใหสม่ําเสมอ 2. เพลี้ยไฟ ลักษณะการทําลาย

เพลี้ยไฟจะดูดน้ําเลี้ยงและทําใหเกิดอาการยอดหดหรือใบหงิก โดยใบออนที่ยอดเรียว ยาวโคงงอลง ขอบใบงอ ใบมีขนาดเล็กลง ผิวใบมีจุดสีน้ําตาลใบเหลืองและแข็งกรอบ เมื่อแตะ ใบออนเพียงเบา ๆ ก็จะหลุดรวงอยางงายดาย การปองกันกําจัด • ควรฉีดพนดวยสารเคมีประเภทดูดซึม จะใหผลดีและตองฉีดพนใหทั่วยอดและใต ใบ ซึ่งศัตรูชนิดนี้หลบซอนตัวอยู พริกอาจจะแตกยอดใหมแตจะใหผลผลิตต่ํา การ ฉีดสารเคมีควรฉีดเวลา 10.00 – 11.00 น. • ในพื้นที่ ๆ ปลูก ใหม ๆ อาจจะใชสารเคมีเชน เซฟวิน 85 บาซูดิน หรือ ไดอะซิโนน


การปลู ก พริ ก หวานหรื อ พริ ก ยั ก ษ

หนา 9

3. เพลี้ยออน ลักษณะการทําลาย เพลี้ยออนจะดูดน้ําเลี้ยงที่ใบสวนยอดทําใหยอดหงิก โดยใบพริกจะแสดงอาการ หยัก เปนคลื่นและหงิก ใบจะดาง และมีขนาดเล็กลง พืชจะชะงักการเจริญและผลผลิตต่ํา การปองกันกําจัด • ฉีดสารเคมีเชน เซฟวิน 85 4. หนอนกระทูผัก ลักษณะการทําลาย หนอนกระทูผักมักจะพบเขาทําลายในระยะที่พริกโตหรือตกพุม ขณะที่หนอนยังเปน ตัวออนการระบาดทําความเสียหายไมรุนแรง การเขาทําลายในระยะผลออน จะกัดตรงโคนกาน สวนที่ติดกับผลเปนรูใหญ ถาหากเปนตัวออนจะเขาไปกัดกินไสและเมล็ดในฝก สวนหนอนตัว โตเต็มวัยจะกัดพริกเปนรูจนถึงไส และยายไปทําลายผลอื่นตอไป หนอนชนิดนี้จะระบาดทั่วไป โดยเฉพาะบริเวณที่ปลูกพืชผัก ฝายและถั่ว ติดตอกัน ตลอดป การทําลายรุนแรงมักจะพบในฤดูฝน การปองกันและกําจัด • ใชสารเคมีเชน เซฟวิน 85 5. หนอนแมลงวันแตง ลักษณะการทําลาย เจาะผลทําใหผลเนา มีหนอนอยูขางใน ผลที่ถกู ทําลายจะมีสีไมสม่ําเสมอและรวงกอน ผลสุก ถาหากสังเกตดูทั่วผล จะพบรูเล็ก ๆ อยูกงึ่ กลางผล ซึ่งเกิดจากแมลงวันแตงวางไข


การปลู ก พริ ก หวานหรื อ พริ ก ยั ก ษ

หนา 10

การปองกันและกําจัด • ใชสารเคมีเชน เซฟวิน 85 6. หนอนเจาะผลมะเขือเทศ ลักษณะการทําลาย จะระบาดตลอดทั้งปโดยหนอนจะวางไขตามยอดออนและดอกออน ตัวหนอนที่ออก จากไขจะกัดกินใบออนกานดอกหรือกลีบดอก การเขาทําลายระยะที่พริกเปนผลเล็ก หนอนจะ เจาะเขาไปกัดกินในผลทําใหผลรวงหรือเนาทําความเสียหายรุนแรงกวาหนอนกระทูผัก การปองกันกําจัด • ฉีดพนดวยสารเคมี เชน แลนเนท ►

โรคพริกหวาน 1. โรคตนและใบไหม ลักษณะอาการ โรคนี้เกิดกับพริกไดทุกระยะของการเจริญ และทุกสวนของพืช ขึ้นอยูกับระยะการเจริญ

และสวนของพืชที่ถูกทําลาย การเขาทําลายในระยะตนออน อาการจะคลายกับการทําลาย ของโรคโคนเนา โดยเชือ้ สาเหตุจะเขาทําลายบริเวณโคนตน แผลจะมีลกั ษณะคลายโดน น้ํารอนลวก ทําใหตนกลาลมพับลง และแหงตาย สวนการทําลายในระยะที่ตนโต จะทําใหเกิด อาการรากเนา ลําตน กิ่ง จะเกิดเปนแผลสะเก็ด ใบไหม ผลแหงหรือเนา โรคนี้จะระบาดมากในสภาพที่มีความชื้นสัมพัทธและอุณหภูมิสูงอุณหภูมิที่เหมาะ สําหรับการเขาทําลายของเชื้อสาเหตุอยูระหวาง 8 – 38 องศาเซลเซียส การปองกันและกําจัด • โรคนี้เปนโรคที่สามารถติดมากับเมล็ดพันธุ ดังนั้นกอนเพาะควรแชเมล็ดในน้ําอุน


การปลู ก พริ ก หวานหรื อ พริ ก ยั ก ษ

หนา 11

50 องศาเซลเซียสเปนเวลา 20 นาที • ฉีดพนดวยสารเคมีเชน มาเน็บ ไซเน็บ 2. โรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อรา ลักษณะอาการ เชื้อสาเหตุจะเขาทําลายราก หรือสวนของตนที่อยูระดับและอยูใตดินเมื่อรากสวนใหญ ถูกทําลายพืชจะแสดงอาการ โดยใบที่อยูตอนลางเหลืองและรวงมาก ทําใหทรงพุมบางตา ตอจากนั้นจะมีอาการเหี่ยวในเวลากลางวันชวงที่มีแดดรอนจัด และฟนในตอนเชาสลับกัน 2 – 7 วัน แลวจะเหี่ยวอยางถาวรไมมีการฟนอีก เชื้อสาเหตุจะระบาดรุนแรงในสภาพอุณหภูมิและความชื้นในดินสูงอุณหภูมิที่เหมาะสม สําหรับการเจริญเติบโตอยูระหวาง 24 ถึง 28 องศาเซลเซียส ถาหากต่ํากวา 17 หรือสูงกวา 38 องศาเซลเซียส การเจริญจะชาหรือไมเจริญเลย การปองกันและกําจัด • โรคนี้เปนโรคที่สามารถติดมากับเมล็ดพันธุ ดังนั้นกอนเพาะควรแชเมล็ดในน้ําอุน 50 องศาเซลเซียส เปนเวลา 20 นาที • ควรปรับสภาพดินใหเปนกลาง เนื่องจากเชื้อสาเหตุจะเจริญไดดีในดินที่เปนกรดจัด • ใสปุยอินทรียเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินและเพื่อใหดินรวนซุย มีการระบาย น้ําดี • ใชสารเคมีเชน เบนเลทผสม แคปเทนและน้ํา อัตรา 6:6:100 ราดกนหลุมกอนปลูก และราดโคนตนหลังยายปลูก 15 วัน


การปลู ก พริ ก หวานหรื อ พริ ก ยั ก ษ

หนา 12

3. โรครากเนาโคนเนา ลักษณะอาการ โคนตนจะเนาสีน้ําตาล ในดินแถวโคนตนมีเสนใยราสีขาว ซึ่งบางสวนจะเจริญขึ้นไป เกาะอยูตามโคนและรากตนพริก จะสังเกตเห็นเม็ดราสีขาว น้ําตาลออนหรือน้ําตาลแกขนาดเทา เมล็ดผักกาด ปะปนอยูกับเชื้อราดังกลาว ตนที่โรคเขาทําลาย แสดงอาการใบเหลือง และเหี่ยว ตายในที่สุด การปองกันและกําจัด • โรคนี้เปนโรคที่สามารถติดมากับเมล็ดพันธุ ดังนั้นกอนเพาะเมล็ดควรแชเมล็ด ในน้ําอุน 50 องศาเซลเซียส เปนเวลา 20 นาที • ปลูกพืชหมุนเวียนอยางนอย 5 ป • ใชปูนขาวคลุกหนาดินกนหลุมกอนปลูก • ใชสารเคมี เชน เทอราคลอ ราดบริเวณโคนตน 4. โรคใบดาง จากเชื้อไวรัส ลักษณะอาการ ใบพริกจะดาง มีสีเหลืองสลับเขียว ใบหยักเปนคลื่น บิดงอ อาการดางเปนลายไม สม่ําเสมอ บางแหงจะมีลายดางมากบางแหงจะมีนอย เกิดขึ้นประปรายทั่วใบ ถาหากเขาทําลาย ระยะตนกลาจะแคระแกร็นไมใหผลผลิต การแพรระบาดของโรคเกิดขึ้นโดยเพลี้ยออน เปนตัว พาหะ การปองกันและกําจัด • ฉีดสารเคมีปองกันเพลี้ยออน ( แมลงปากดูด )


หนา 13

การปลู ก พริ ก หวานหรื อ พริ ก ยั ก ษ

ลักษณะผลที่ผิดปกติ อาการตายนึ่งของผล อาการเริ่มแรกผิวของผลดานที่โดนแสงอาทิตยสอง จะปรากฎแผลสีขาว นิ่ม และยุบตัว แผลอาจจะมีขนาดใหญถึง 1/3 ของผล จะเกิดมากในสภาพที่ความเขมแสงและ อุณหภูมิสูง พืชมีทรงพุมขนาดเล็ก ใบไมสามารถปกคลุมผลได อาการกนเนา การปลูกพืชในสภาพที่ขาดแคลเซียม PH ต่ํา ขาดหรือมีน้ํามากเกินไป สวนปลาย ของผล จะเกิดเปนแผลซ้ํา ตอจากนั้นแผลจะแหง สีน้ําตาล หลังจากนั้นเชื้อโรคจะเขาทําลาย ทําใหเนื้อเยื่อเปลี่ยนเปนสีดํา

เรียบเรียงโดย รศ. นิพนธ ไชยมงคล สาขาพืชผัก ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร

มหาวิทยาลัยแมโจ

จัดทํา/เผยแพรทางเว็บไซดโดย กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.