การปลูกกุยช่าย

Page 1

การปลูกกุยชาย

กรมสงเสริมการเกษตร 2548


การปลูกกุยชาย ยชายเปนพืชผักอยูในวงศ เดียวกับหอม กระเทียม มีถิ่นกําเนิดในประเทศจีน นิยมบริโภคในเอเซียทั่วไป เปนพืช ขามป มี 2 สายพันธุ คือ กุยชายใบ และกุยชายดอก ⇒ สภาพแวดลอมที่เหมาะสม ในสภาพแวดลอมทีม่ ีชวงแสงสั้น อุณหภูมิต่ํา กุยชายจะพักตัว หยุดชะงักการเจริญ การทําลายระยะพักตัวสามารถทําไดโดยการ เพิ่มชวงแสง (เปดไฟในเวลากลางคืน) หรือผานอุณหภูมิต่ําเปนระยะเวลานานในสภาพชวง แสงยาว จะกระตุนใหเกิดการเจริญของดอก ในบางสายพันธุต องการอุณหภูมิ ต่ํา สําหรับการเจริญเติบโตของดอก อุณหภูมิที่เหมาะสําหรับการเจริญเติบโต ของกุยชาย คือ 20°ซ ⇒ สภาพดินที่เหมาะสม กุยชายชอบดินที่รวนซุย มีหนาดินหนา อินทรียว ัตถุสูง ระบายน้ํา ไดดี คา pH ของดินอยูระหวาง 6.5 – 6.8

หนาที่1


การปลูกกุยชาย

Document Title

⇒ วิธีการปลูก 1. การปลูกโดยการเพาะเมล็ด (เมล็ดพันธุหนัก 3–4 กรัมมีจํานวน 1,000 เมล็ด กอนเพาะควรแชเมล็ด ในน้ําผสมปุยโพแทสเซียมไนเตรท ( 13 – 0 – 50 ) เขมขน 0.1 % นาน 1 ชั่วโมง แลวนําออกมาใสในผาเปยก เก็บในตูเย็นดานลาง (5°ซ )เปนเวลา 3–5 วัน รักษาความชื้นในวัสดุเพาะ สม่ําเสมอ เพื่อชวยในการงอกของเมล็ดจึงนําออกมาผึ่งใหผิวแหง การหยอด เมล็ดอาจใชถาดเพาะและหยอดเมล็ด 3 – 5 เมล็ด ตอหลุม อุณหภูมิที่ เหมาะสมสําหรับการงอกของเมล็ดอยูร ะหวาง 15 – 20°ซ เมล็ดจะงอกภายใน เวลา 7 – 14 วัน อายุกลา 55 – 60 วัน หลังเพาะเมล็ด ระยะปลูก 12 – 20 ตนตอ ตารางเมตรหรือใชระยะปลูก30 x 30 เซนติเมตร ขึ้นอยูกับสายพันธุและความ อุดมสมบูรณของดินใชจํานวนตนกลา 3 – 4 ตนตอหลุม 2. ปลูกโดยการแยกกอ ใชตนแมพันธุอายุ 6 เดือนขึ้นไป ขุดและ แยกกอปลูก กอนปลูกควรตัดใบออกไปบาง เพือ่ ลดการคายน้ํา ตัดรากให เหลือยาว 1 – 2 เซนติเมตร ปลูก 3 – 4 ตนตอหลุม การปลูกกุยชายแตละ แปลงใชเวลา 3 ป หลังจากนัน้ ควรทําการแยกกอและเตรียมแปลงปลูกใหม ⇒ การใสปุย - หลังเตรียมดินควร ใสปุยหมัก ปุยคอกอัตรา 2 กิโลกรัมตอ ตารางเมตร หนาที่2


Document Title

การปลูกกุยชาย

- หลังยายปลูก 7 วัน ควรใส ปุย 21–0 – 0 (แอมโมเนีย ซัลเฟต ) ในดินที่เปนดาง อัตรา 10กิโลกรัมตอไร หรือ 13 – 0 – 0 – 26 ( แคลเซียมไน เตรท ) ในดินที่เปนกรด อัตรา 15 กิโลกรัมตอไร - หลังยายปลูกทุก 3 เดือน ใสปุยหมัก/ปุยคอก อัตรา 1 กิโลกรัม ปุย 13 – 13 – 21 อัตรา 25 กิโลกรัมตอไร และ 21 – 0 – 0 ในดิน ทีเ่ ปนดาง อัตรา 1 กิโลกรัมตอไรหรือ 13 – 0 – 26 ในดินทีเ่ ปนกรด อัตรา 15 กิโลกรัม ตอไร - หลังการเก็บเกี่ยว ใสปุย 21 – 0 – 0 ในดินที่เปนดาง อัตรา 10 กิโลกรัมตอไร หรือ 13 – 0 – 26 ในดินที่เปนกรดอัตรา 15กิโลกรัมตอไร - วิธีการใสปุยหลังยายปลูก เจาะหลุมหางจากตน 10 เซนติเมตร ดานใดดานหนึ่ง และใสอีกดานหนึ่งในครั้งตอไปสลับดานกัน - ฉีดพนปุยเกล็ด หรือปุยน้าํ ที่มีธาตุอาหารหลักและธาตุอาหาร รอง ในรูป สารละลายทางใบ ทุก ๆ สัปดาห ⇒ การคลุมแปลงปลูก ควรใชวัสดุคลุมแปลงปลูก เชนฟางขาวเพื่อลดอุณหภูมิดิน รักษา ความชืน้ และปองกันวัชพืช ถาไมคลุมแปลงปลูกควรพรวนดินตื้น ๆ เพื่อกําจัด วัชพืช

หนาที่3


การปลูกกุยชาย

Document Title

⇒ การใหน้ํา ควรใหน้ําสม่ําเสมอ พืชจะชะงักการเจริญในกรณีที่ขาดน้าํ และ การใหน้ํามากเกินไปอาจทําใหรากและเหงาเนา ใบเหลืองตาย ระบบการใหน้ําที่เหมาะสมคือแบบน้ําหยด อาจจะใชระบบพน ฝอยหรือทดน้ําเขาแปลงแตควรระวังในกรณีที่ใบเปยกโรคจะเขาทําลายไดงาย ⇒ การผลิตกุยชายขาว ระยะที่เหมาะสมสําหรับการ ผลิตกุยชายขาวคือ 3 เดือนหลังยาย ปลูก (90วัน) เพื่อใหไดผลผลิตสูง นิยมปลูกในเดือนกรกฎาคม เริม่ เก็บเกีย่ วใน เดือนตุลาคม – มีนาคม - ใชมีดทีค่ มตัดใบออกใหชิดดินทั้งกอ ( ขายเปนกุยชายเขียว ) - ใชกระถางดินเผาครอบตน โดยใชกระถางทรงกระบอก ขนาด ปากกวาง 7 นิ้ว กนกระถางกวาง 8 นิว้ คลุมสูง 12 นิ้ว ครอบใหชิดดินและปด ไมใหแสงผานเพื่อใหเปนกุยชายขาว ( ในประเทศจีนนิยมใชอุโมงคไมไผปด ดวยฟางหรือกระดาษหนา ) - ทยอยครอบและเก็บเกี่ยว ในปริมาณตามความตองการของ ตลาด - หลังเก็บเกี่ยว 1 เดือน (ปลอยใหใบเจริญ ) ตัดใบออกขายเปน กุยชายเขียวและเริ่มครอบใหมกระถางใหม เพื่อผลิตกุยชายขาว

หนาที่4


การปลูกกุยชาย

Document Title

⇒ การเก็บเกี่ยว กุยชายเขียว สามารถเก็บเกี่ยว 3 – 9 ครั้งตอป ขึ้นอยูกับพันธุ สภาพแวดลอมและการดูแลรักษาระยะเวลาเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมคือเดือน ตุลาคม – มีนาคม กุยชายขาว เก็บเกี่ยวหลังจากใชกระถางครอบหรือคลุมแปลง ประมาณ 2 อาทิตย เก็บเกี่ยวเมือ่ ใบมรความยาว 20 เซนติเมตร ตัดโคนใบชิดดิน ลางดวยน้ําเย็น ตัดแตงสวนที่ถูกทําลายโดยโรค แมลง หรือแผลที่เกิดจากการขนสง และเศษวัชพืชอื่นที่ปลอมปนเก็บไวในที่ รมปองกันแสงอาทิตยในระหวางเก็บรักษาและขนสง เก็บเกี่ยวระยะดอกตูม ตัดโคนกานดอกยาว

กุยชายดอก

30 – 40 เซนติเมตร ใบมีอัตราการหายใจและคายน้ําสูง ควรเก็บรักษาในที่มี อุณหภูมิตา่ํ ความชืน้ สัมพันทสูง โดยบรรจุในถุงพลาสติก เก็บในอุณหภูมิ 0° องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพันท 95 %

เรียบเรียงโดย

:

รศ. นิพนธ ไชยมงคล สาชาพืชผัก มหาวิทยาลัยแมโจ

ผลิตและเผยแพรโดย :

กลุมสือ่ สงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี หนาที่5


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.