การปลูหน่อไม่ฝรั่งอินททรีย์

Page 1

จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สวนสงเสริมและเผยแพร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร :


การปลูกหนอไมฝรั่งอินทรีย การปลูกหนอไมฝรั่งอินทรีย “ หนอไมฝรั่งอินทรีย ” เปนพืชผักที่มี บทบาทสําคัญของประเทศ ตลาดตางประเทศมีความ ตองการสูง เนื่องจากผูบริโภคสวนใหญมีความมั่นใจ ในระบบการผลิตเกษตรอินทรียที่มีความปลอดภัยใน ตัวเองสูง หนอไมฝรั่งอินทรียประกอบดวย วิตามินเอ ซี บี บีคอมเพล็กซ ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุเหล็กสูง ปลูกมากที่จงั หวัด สระแกวและกาญจนบุรี การปลูกหนอไมฝรั่งอินทรียจะตอง พิจารณาความอุดมสมบูรณของดิน มีการปรับปรุง บํารุงดินโดยการใชสารอินทรีย เชน ปุยพืชสด ปุย คอก ปุย หมัก ปุย อินทรียน ้ํา หลีกเลีย่ งการใชสารเคมีทกุ ชนิด ที่กอใหเกิดมลพิษทัง้ คน สัตว สิ่งแวดลอม รักษาความ สมดุลของธรรมชาติ

สภาพแวดลอมที่เหมาะสม หนอไมฝรั่งอินทรียเจริญเติบโตไดดีที่อุณหภูมิ ระหวาง 27 – 30 องศาเซลเซียส มีแสงแดดจัดไมมี รมเงา ดินมีความเปนกรดดางที่ 6.0 – 7.5 มีการ ระบายน้ําดี ถายเทอากาศดี หนาดินลึกไมนอยกวา 50 – 70 เซนติเมตร มีแหลงน้ําที่สะอาดปราศจาก สารพิษปนเปอนตลอดฤดูปลูก ตองสงตัวอยางดินและน้ําตรวจสารพิษปนเปอนกอนปลูก จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


2 การเตรียมดินกอนปลูก ใชรถแทรกเตอรผาน 3 ไถดะลึกประมาณ 30 – 40 เซนติเมตร ตากดินทิ้งไว 15 – 30 วัน เพือ่ กําจัดวัชพืชและโรคแมลงในดิน ใสวัตถุปรับโครงสรางดิน เชน เปลือกถั่วตาง ๆ ซังขาวโพด แกลบ อัตรา 3 – 4 ตัน/ไร หรือใช ปุยอินทรีย เชน ปุยหมัก ปุยคอก ในดินรวนและ ดินทราย อัตรา 3 ตัน/ไร ไถพรวนหวานพืช ตระกูลถั่ว กรณีใชแกลบดิบ ควรหมักในดิน ไมต่ํากวา 4 เดือน เพือ่ ชวยใหดนิ โปรงรวนซุยอุม น้ําไดดี ระบายน้ําดี แลวจึงไถยกรองแปลงปลูก ขนาดกวาง 2 เมตร ยาวตามแนวพื้นที่แตไมควรเกิน 50 เมตร

พันธุที่ใชปลูก 1. พันธุ ยูซี 157 เปนพันธุล กู ผสมใหผลผลิตดี หนอใหญ ปลายหนอและโคนหนอ ยาวเรียวเสมอกัน นําเขาจากไตหวัน 2. พันธุ แอทลาส เปนพันธุลูกผสมใหผลผลิตดี หนอยาวเรียวเสมอกัน นําเขา จากสหรัฐอเมริกา

จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


3 การเพาะกลา กอนปลูกตองเพาะกลาโดยเตรียมเมล็ดพันธุหนอไมฝรั่งอินทรียและถุงพลาสติก สีดําขนาด 4 x 6 นิ้ว นําเมล็ดพันธุที่จะเพาะแชน้ําหมักชีวภาพอัตรา 10 ซีซี/น้ํา 20 ลิตร ทิ้งไว 2 ชั่วโมง แลวนําเมล็ดพันธุมาหอผาที่ชื้นทิ้งไว ในที่รม 1 – 2 วัน ใหเมล็ดขาวงอกปริ่ม เล็กนอย รดน้ําในถุงพลาสติกใหชื้นแลวจึงนํา เมล็ดหยอดลงในถุงเพาะกลาที่เตรียมไว แปลงตนกลาควรรดน้ําทุกวันและใหปุยชีวภาพ ฉีดพนอัตรา 20 ซีซ/ี น้ํา 20 ลิตร ทุก 7 – 10 วัน เพื่อเรงการเจริญเติบโตและใสปุยหมักอัตรา 1 – 2 ชอนโตะ/ตนทุก 30 วัน ถามีโรคแมลง ระบาดปองกันดวยน้ําหมักสมุนไพร

วิธีการปลูก นําตนกลาหนอไมฝรั่งอินทรียที่มีอายุ 3 – 4 เดือน โดยคัดตนกลาที่แข็งแรง สมบูรณที่ขนาดใกลเคียงกัน ปลูกในแปลงที่เตรียมไว แปลงยกรองขนาดกวาง 2 เมตรยาวตาม พื้นที่ไมเกิน 50 เมตร ติดตั้งระบบน้ําให เรียบรอย ขุดหลุมลึก 15 – 20 เซนติเมตร ระยะระหวางแถว 1.50 เมตร ระหวางตน 40 เซนติเมตร ใสปุยหมักรองกนหลุม ๆ ละ 1 – 2 กํามือ รดน้ําใหชื้นกอนนําตนกลาลงปลูก การ ยายตนกลาลงปลูกควรเปนชวงทีม่ แี สงแดดออน ๆ เวลาบายใกลเย็น จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


4 การปฏิบตั ิดูแลรักษา การใหน้ํา ควรใหน้ําอยางสม่ําเสมอ ผลผลิตจะมีคุณภาพดี ชวงยายตนกลาลง แปลงปลูก ควรใหน้ําวันละ 1 ครัง้ ทุกวันหรือวันเวนวัน ขึน้ อยูก บั สภาพดิน อุณหภูมิ ฝน แปลงที่ มีความชืน้ สูงไมจําเปนตองใหน้ํา การใหน้ําในชวงเก็บเกีย่ วผลผลิตตองใหทกุ วันและไมควรให ตอนเย็นจะทําใหเกิดโรคระบาดได การใหน้ําใน พืน้ ทีด่ อน ระบบสปริงเกอร จะชวยชะลางโรคและ แมลงบางชนิดได เชน เพลีย้ ไฟ เปนตน การใหปุย ปุยหมักชีวภาพ ปุย มูลสัตวตาง ๆ ตองผานขบวนการหมักทุกครั้ง กอนนําไปใช ปุยหมักชีวภาพ ชวงตนกลาอายุ 0 – 4 เดือน ใชอัตรา 500 – 700 กิโลกรัม/ไร ทุก 30 วัน ชวงพักตน ใชอตั รา 500 – 700 กิโลกรัม/ไร ชวงเก็บเกี่ยวใชอัตรา 250 – 300 กิโลกรัม/ไร ทุก15 วัน ปุย น้ําชีวภาพ เพือ่ เรงการเจริญเติบโต ฉีดพนทางใบอัตรา 20 – 30 ซีซ/ี น้ํา 20 ลิตร ทุก 7 – 10 วัน

การทําราวเชือก หลังจากปลูกได 3 – 4 เดือน ควรทําราวเชือกเพื่อค้ําทรงตน โดยปกเสา ตําแหนง หัวทายแปลงตรงกับแถวที่ ปลูก ขึงเชือกไนลอนเปนระยะยาว 1 – 2 แถว เพื่อค้ํา ลําตน ไมใหกระทบกระเทือนผลผลิตจะออกนอย จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


5 การตกแตงและการพักตัว หลังจากเก็บเกี่ยวหนอไมฝรั่งอินทรียได 2 -3 เดือน ตนหนอไมเริ่มโทรม ผลผลิตจะลดลง จําเปนตองตัดแตงตน โดยการ ถอนแยกตนทีเ่ หลืองและโทรมมีโรคแมลงรบกวนทิง้ คัดเลือกตนที่แข็งแรงไว 4 – 5 ตน/กอ เลี้ยงไว เปนตนแม การพักตน เกษตรกรตองงดการเก็บเกีย่ ว เปนเวลา 1 เดือน

การพูนดินกลบโคนตน การเขาไปทํางานในแปลง การถอน การเก็บเกี่ยวผลผลิต สภาพดินในแปลงจะ ยุบตัวลง รากหนอตื้น รวมถึงการดึงเอาแรธาตุใน ดินไปใช จําเปนตองใชปยุ อินทรีย ปุย คอก ปุย หมัก เพิ่มธาตุอาหารในดินพรอมกับพูนดินกลบโคนตน ทุกครั้ง เพื่อใหหนอเกิดขึ้นมาใหมมีความสมบูรณ

การปองกันกําจัดวัชพืช หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีทุกชนิด ควบคุมกําจัดวัชพืชใชวิธีกล เชน การเตรียม ดินที่ดี การถอนดวยมือและวิธีเขตกรรมอื่น ๆ การปองกันกําจัดโรคพืช หามใชสารเคมีทุกชนิด ใชพันธุตานทานตรวจแปลงอยางสม่ําเสมอ หากพบตน ที่เปนที่เปนโรค ใหเก็บทิ้งเผาทําลาย ใชสารสกัดสมุนไพร เชน ฟาทะลายโจร บอระเพ็ด สะเดา จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


6 หญาใตใบ เปลือกแค เปลือกมังคุด ขมิ้น ตะไคร กระชาย กามปู และสมอดุง เปนตน การปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืช แมลงศัตรูพชื ที่สําคัญไดแก เพลี้ยไฟ หนอนกระทูกัดตน หนอนกระทูผัก หนอน กระทูหอม ปองกันกําจัด ดังนี้ 1. ใชสมุนไพรประเภทฆาเพลี้ยและแมลง เชน หางไหล ขอบชะนาง แดงขาว หนอนตายหยาก ใบนอยหนา พญาไรใบ แสยก เมล็ดมะกล่ํา 2. ใชสมุนไพรรสขมไลแมลง เชน ฟาทะลายโจร บอระเพ็ด สะเดา พญาไรใบ 3. ใชสมุนไพรเปรี้ยวไลแมลง เชน เปลือกสม มะกรูด มะนาว มะขาม 4. ใชสมุนไพรหอมระเหยไลแมลง เชน ตะไครหอม โหระพา กระเพรา ผักชี สาบเสือ พริกไทย ขิง ขา กระทกรก 5. ใชจลุ นิ ทรียค วบคุม เชน การใชแบคทีเรีย ไสเดือนฝอย ใชเชือ้ ราไตรโคเดอรมา 6. รักษาความสมดุลทางธรรมชาติ ศัตรูธรรมชาติ ตัวห้ํา ตัวเบียน 7. จัดสภาพแวดลอมใหเหมาะสม ทําลายวัชพืชที่เปนแหลงวางไขแมลงผีเสื้อ

จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


7 การเก็บเกี่ยวผลผลิตหนอไมฝรั่งอินทรีย หลังจากปลูกหนอไมฝรัง่ อินทรียได 3 – 4 เดือน หนอไมฝรั่งอินทรียจะ เจริญเติบโตเร็วมาก จะโผลพนดินไมเกิน 3 วัน ตองเก็บหนอมาจําหนายทันที ถาปลอยไว สวนของปลายหนอจะบาน กลายเปนหนอตกเกรด

วิธีเก็บเกี่ยวทําไดโดย ใชมือจับที่โคนหนอที่ติดกับดินที่มคี วามเขียวที่ 20 – 25 เซนติเมตร แลวดึงขึ้น ในแนวตรง หากไมตรงจะทําใหหนอหัก ในระหวางการเก็บเกี่ยวระวังอยาใหหนอไมฝรั่ง กระทบกระเทือน จะทําใหหนอทีเ่ กิดใหมนอ ยลง ไมควรจับหนอแรงเกินไปจะทําใหช้ําหรือหักได ชวงการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม เวลา 06.00 – 09.00 นาฬิกา

จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


8 การทําความสะอาดและการคัดเกรด หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต ตองนําหนอไมฝรั่งอินทรียไวในที่รม ไมตากแดด มีอากาศถายเทสะดวก ทําความสะอาดโคนหนอ ไมใหเปยกสวนยอดของหนอ ควรใชน้ําสะอาด หรือน้ําประปาลางหนอไมฝรัง่ อินทรีย หามใชน้ําคลองลางโดยเด็ดขาด ลางดินทีต่ ดิ มาแลวตัดแตง ใหยาว 25 เซนติเมตร ตองเปลี่ยนน้ําลางหนอไมฝรั่งอินทรียทุกครั้งในแตละชุด บล็อกและมีด ตองทําความสะอาดอยูเสมอ การคัดเกรดตองลางมือใหสะอาด ไมไวเล็บยาว รัดยางพลาสติก มัดละ 1 กก.

การขนสง ตะกราใสหนอไมฝรั่งอินทรีย และฟองน้ําตองทําความสะอาดอยูเสมอ ตองมีฟองน้ําบุรอบตะกราและปดทับขางบน หนอไมฝรั่งอินทรีย ตะกราควรบรรจุไมเกิน 20 กก. หามนําผาหรือวัสดุอื่นใดหอหุมโดย เด็ดขาด หามใชยางรัดตะกราหนอไมฝรั่งอินทรียแนนเกินไป จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


9 การตลาด บริษัท สวิฟท จํากัด รับซื้อผลผลิตในราคาประกัน ณ จุดรับซื้อในแหลงปลูก เกรด A ตูม ราคา 48 บาท เกรด A บาน ราคา 41 บาท เกรด A ตูมเขียว 20 ซม. ราคา 40 บาท

ผลผลิตและผลตอบแทน หนอไมฝรั่งอินทรียปลูกครั้งเดียวสามารถเก็บเกี่ยวได 5 – 6 ป โดยเฉลี่ย 1 ไร จะไดผลผลิต 1.5 – 2.5 ตัน ลงทุนระยะแรกไรละ 40,000 – 60,000 บาท สามารถเก็บเกี่ยว ผลผลิตได 5 – 6 ป ผลตอบแทน 180,000 – 200,000 บาท

จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


10 เอกสารอางอิง กรมสงเสริมการเกษตร. 2545.การสงเสริมการปลูกหนอไมฝรั่งครบวงจร กรุงเทพมหานคร กรมสงเสริมการเกษตร. 2540.หนอไมฝรั่ง กรุงเทพมหานคร วิเชียร ใจจิตร.2545.ศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนจังหวัดสระแกว เรียบเรียง

:

อภิชาติ ผลเกิด

ที่ปรึกษา

:

พรทิพย สุคนธสิงห ศิลปชัย ยุกติรัตน สุพจน ชัยวิมล สํานักพัฒนาคุณภาพสินคาเกษตร สวนสงเสริมและบริการพัฒนาคุณภาพสินคา กลุมงานสงเสริมและพัฒนาเกษตรอินทรีย โทร. 0 – 2955 – 1515 โทรสาร. 0 – 2940 – 6170

ÐÐÐÐÐÐÐÐ

จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.