การปลูกผัก

Page 1

การปลูกผัก ผัก เปนพืช ที่ทุกครัวเรื อนบริ โภคเปนประจํา อาหารเกือ บทุกชนิดมักจะมีผัก ไมอยางใดก็อยางหนึ่งรวมอยูด วยเพราะผักมี ความสําคัญนานัปการ มีคุณค าอาหารสูง ประกอบไปดวยวิตามินและแรธาตุตาง ๆ เปนประโยชนตอรางกาย ชวยเสริมสรางใหรางกาย แข็งแรง มีพลังงาน มีภูมิตานทานโรค นอกจากนี้ยังใชเปนเครื่องชูรสอาหารบางชนิดดวย ผักเปนพืชทีม่ ีอายุคอนขางสั้น มีระยะเวลาการเก็บเกี่ยวคอนขางเร็ว จึงสามารถปลูกหมุนเวียน ไดปละหลายครั้งบนพื้นที่เดียวกัน พืชผัก หมายถึง พืชที่เราใชสวนตาง ๆ เชน ใบ ลําตน กานใบ ดอก ชอดอก ราก หัว มาบริโภคไมวาจะสดหรือทําใหสุกกอน ชนิดของพืชผักมี 5 ชนิด คือ 1. ผักที่ใชใบเปนอาหาร เชน ผักกาด กะหล่ําปลี ผักบุง กวางตุง โหระพา 2. ผักที่ใชลาํ ตนเปนอาหาร เชน กะหล่ําปม ขิง ขา มันฝรั่ง 3. ผักที่รากเปนอาหาร เชน มันเทศ ผักกาดหัว รากผักชี แครอท 4. ผักที่ใชดอกเปนอาหาร เชน บรอคโคลี่ กะหล่ําดอก ดอกกุย ชาย 5. ผักที่ใชผลเปนอาหาร เชน แตงกวา มะเขือ ถั่วฝกยาว พริก ชนิดของผักที่ควรปลูกในฤดูตาง ๆ การปลูกผักใหถกู ฤดูกาลจะทําใหไดผกั ทีม่ คี ณ ุ ภาพดี ดังนัน้ จึงควรเลือกปลูกผัก ดังนี้ ผักที่ควรปลูกในฤดูตนฝน คือ ตั้งแตเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกรกฎาคม ไดแก หอมแบง ผักกาดเขียวกวางตุง ผักบุง คะนา พริกตาง ๆ มะเขือตาง ๆ ผักกาดหัว ผักกาดหอมจีน ผักกาดเขียวเล็ก ผักกาดขาวเล็ก บวบ มะระ ฟกเขียว แฟง แตงกวา ขาวโพดหวาน ถั่วฝกยาว ถั่วพุม น้ําเตา ถั่วพู ถั่วแปบ ผักบุงจีน ผักที่ควรปลูกปลายฤดูฝน ผักใดที่ปลูกตนฤดูฝนไดก็ปลูกไดผลดีในปลายฤดูฝน ยิ่งกวานั้นยังปลูกผักฤดูหนาวไดอีกดวย เชน กะหล่ําปลี กะหล่ําดอก กะหล่าํ ปม ถั่วลันเตา

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


2 หอมหัวใหญ บีท แครอท แรดิช ผักชี ผักกาดเขียวปลี ผักกาดขาวปลี ผักกาดหอมหอ ขาวโพดหวาน แตงเทศ แตงโม พริกยักษ พริกหยวก ฟกทอง มะเขือเทศ ขึ้ นฉาย ผักทีค่ วรปลูกในฤดูรอ น ไดแก ผักทีท่ นรอนไดดี และทนความแหงแลงพอสมควร และถึงแมวาจะปลูกในฤดูรอนผักบางอยางก็ตอ งรดน้ํา เชา – เย็น ตองพรวนดินแลวคลุมดวย ฟางขาว เพื่อรักษาความชุมชื้นไวใหพอ เชน ขาวโพดหวาน ขาวโพดเทียน บวบ มะระ ถั่วฝกยาว ถั่วพุม น้ําเตา แฟง ฟกทอง ถั่วพู คะนา ผักกาดเขียวกวางตุง ผักกาดหอม ผักชี ( ผักกาดหอม และผักชี นั้น ควรทํารมรําไรใหดวย ) ผักกาดขาวเล็ก ผักกาดเขียวใหญ มะเขือมอญ ผักและพืชบางอยางทีค่ วรปลูกไวรบั ประทานตลอดป ไดแก พืชทีท่ นทานปลูกครัง้ เดียว รับประทานไดตลอดป เชน สะระแหน ผักชีฝรั่ง หอมแบง แมงลัก โหระพา กะเพรา ผักตําลึง ( ปลูกขึ้นตามรั้วหรือทําเปนแปลง ทําคางใหก็ได ) ผักบุงไทย ( ปลูกเปนแพลอยน้ําในสระ ในคลอง ) กระชาย ขา ตะไคร บัวบก มะแวง มะเขือพวง ( สองอยางนี้ปลูกริมรั้ว ) พริกชี้ฟา พริกขี้หนู มะเขือตาง ๆ พืชตนใหญ กระถิน แค มะนาว มะกรูด มะรุม ชะอม กลวย มะละกอ ออยมอริชชั หรือ ออยขาไก สําหรับเคี้ยวเปนของหวาน (หรือใสกนหมอตมเค็มปลาทู) มะขาม (ปลูกไว สองสามตนก็พอ) การเตรียมดินปลูกผัก การเตรียมดิน ในการปลูกพืชผักเปนสิง่ สําคัญเพราะพืชผักสวนใหญมเี มล็ดขนาดเล็ก มีระบบรากที่ละเอียดออน หากการเตรียมดินไมดี จะกระทบกระเทือนตอการงอกของเมล็ด และการเจริญเติบโตของผักได จึงตองปรับสภาพดินใหเหมาะกับการเจริญเติบโตดวยความ พิถีพถิ ัน ขุดดินใหลึก 1 หนาจอบ พลิกหนาดินตากไวประมาณ 7 – 10 วัน เพื่อฆาไขแมลง และศัตรูพืชบางชนิด แลวจึงถอนหญา แลวใสปุยคอกจากมูลสัตวหรือปุยหมัก

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


3 การปลูกผัก ตามทีไ่ ดกลาวไวแลววา ผักมีมากมายหลายสิบชนิดดวยกัน วิธปี ลูกจึงมีหลายประเภท แตกตางกันออกไป แบงออกเปนประเภทใหญ ๆ ได 4 ประเภท ดังนี้ 1. ประเภทที่ตองเพาะเมล็ดกอนแลวจึงยายปลูก เปนพืชผักที่มีเมล็ดราคาแพง ขนาดเล็ก การดูแลรักษาระยะกลาตองการความพิถีพิถันมากกวาพืชผักอื่น ผักเหลานี้ไดแก กะหล่ําดอก กะหล่ําปลี ผักกาดขาวปลี หอมหัวใหญ มะเขือเทศ พริก เปนตน 2. ประเภทที่หวานเมล็ดลงในแปลงไดเลย ไดแก ผักชี ผักกาดเขียวกวางตุง ผักกาดเขียวปลี คะนา ผักประเภทนี้มีอายุสั้น โตเร็ว มีระยะปลูกถี่ เมล็ดหางายและราคาถูก แบงออกเปน 2 วิธี คือ - โดยการหวานเมล็ดใหกระจายทั่วทั้งแปลงที่ไดเตรียมดินไวเปนอยางดีแลว แลวใชปุยคอกหรือปุยหมักที่สลายตัวดีแลวโรยทับลงไปบาง ๆ คลุมปดดวยฟางหรือหญาแหง สะอาดบาง ๆ รดน้ําดวยฝอยละเอียดใหชุมและทั่วถึง เมื่อตนกลางอกและมีใบจริงประมาณ 1 – 2 ใบ ใหเริม่ ถอนแยกและเลือกตนทีอ่ อ นแอไมสมบูรณและเบียดชิดแนนออกเสีย พรอมกับ จัดระยะปลูกใหพอเหมาะ - โดยการโรยเปนแถว วิธีนี้จะชวยใหประหยัดเมล็ดพันธุไดมากกวาวิธีหวาน การโรยเมล็ดใหเปนแถวลึก 0.5 – 1.0 ซม. ควรใหเมล็ดในแถวหางกันพอสมควร เมือ่ ตนกลา งอกควรเริ่มถอนแยกตนที่ออนแอไมสมบูรณและเบียดกันออกทิ้งเสีย 3. ประเภทที่ใชปลูกเปนหลุม ไดแก พวกทีม่ ีเมล็ดโต ไดแก ถั่วฝกยาว ถั่วลันเตา กระเจี๊ยบเขียว ถั่วพุม ถัว่ แขก มะระ แตงโม แตงกวา ฟกทอง ผักกาดหัว เปนตน วิธีปลูกให หยอดเมล็ดโดยตรงในแปลงหลุมละ 2—3 เมล็ด ลึกลงไปในดินประมาณ 1.2—2.5 ซม. กลบดวยดินละเอียดที่ผสมปุยหมัก ปุยคอก เมื่อตนกลามีใบจริงประมาณ 2 ใบ ใหถอนตน ที่ออนแอทิง้ เหลือไวเพียงหลุมละ 1 ตน 4. ประเภทที่ใชสวนตาง ๆ เชน ตน รากและหัวปลูก ไดแก หอมแบง กระเทียม กระชาย ขิง ขา ตะไคร เปนตน

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


4

การเพาะเมล็ดผักสามารถทําได 3 วิธี คือ 1. วิธีการเพาะในแปลงปลูก จะทําการเพาะเมล็ดในแปลงเมือ่ ตองการตนกลาจํานวนมาก เชน การทําสวนชุมชน

ขั้นตอนที่ 1 เตรียมแปลงและปรับปรุงสภาพดิน

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


5 ขั้นตอนที่ 2 ฆาเชื้อในแปลงปลูก

โดยการเผาฟางบนหนาดิน

โดยการราดน้ําเดือดบนแปลง กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


6

ขั้นตอนที่ 3 หยอดและกลบเมล็ด

ขั้นตอนที่ 4 คลุมดวยฟาง

ขั้นตอนที่ 5 รดน้ําโดยรดใหเปน ฝอยละเอียด

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


7

ขั้นตอนที่ 6 เมื่อกลาปรากฏใบจริงแลวใหถอนกลาออกจัดระยะ ใหตนกลามีระยะหางกัน 5 ซม.

ขั้นตอนที่ 7 ทําโครงตาขายงาย ๆ คลุมแปลงเพื่อปองกันตนกลา จากการปะทะของฝนและแสงแดดจัด

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


8 2. เพาะในกระบะเพาะ เปนวิธีที่สะดวก และสามารถเคลื่อนยายกระบะไดงาย ขนาดของกระบะเพาะ กวาง 33 ซม. ยาว 50 ซม. สูง 7 ซม.

กระบะเพาะอาจทํามาจากไมหรือพลาสติกก็ได

ปุยหมัก

ดิน

ขี้เถาแกลบ

ทราย

วัสดุ กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


9

หยอดเมล็ดและกลบเมล็ด

รดน้ําโดยใหเปนฝอยละเอียด หรือใชบัวรดน้ํา

ตัดหรือดึงตนกลาทีไ่ มตองการออก เมื่อใบจริงปรากฏ

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


10 3. วิธีการเพาะเมล็ดในภาชนะ

การเพาะกลาในกระถางหรือถุงหรือในภาชนะอื่นๆ ทําใหตนแข็งแรง มีโอกาสรอด 100 % เมือ่ ยายลงปลูกในแปลง เนือ่ งจากรากจะไดรบั ความเสียหายนอยมาก

ภาชนะสําหรับหยอดเมล็ด - วัสดุธรรมชาติทยี่ อ ยสลายได เชน กระทงใบกลวย วัสดุพนื้ บานอืน่ ๆ ถุงกระดาษ - ถุงพลาสติกใบเล็ก ๆ ก็สามารถใชได

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


11

ดิน

ปุยหมัก

ทราย

ขี้เถาแกลบ

วัสดุปลูกเหมือนวิธีเพาะกลาในกลองหรือกระบะเพาะ

หยอดเมล็ดและกลบ

ถาตนกลามีใบจริงคูแรกแลวและมีตนกลามากเกินไปใหถอนออก

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


12

วิธีการยายกลา

สามารถยายกลาไดเมื่อกลามีอายุ 3 – 5 สัปดาห

หากเพาะกลาในกลองหรือกระบะ ในชวง 7 – 10 วัน กอนยายกลา ควรใชมีดตัดดินขนาด 5 X 5 ซม. เพื่อแยกตนกลาออกจากกัน

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


13

การทําตนกลาใหแข็งแรง

ถาเพาะตนกลาโดยทําที่บังรมใหตองเปดใหตนกลาไดรับแสงแดดจัด 1 – 2 สัปดาห กอนยายตนกลา

ลดปริมาณน้ําที่ใหลง เพื่อใหตนกลาเจริญเติบโตชาลง ลําตนใหญขึ้นไมอวบน้ํา และเนื้อเยื่อพืชแข็งแรง การทําใหตนกลาแข็งแรงกอนยาย ทําใหเมื่อยายกลาลงแปลงไมจาํ เปนตองหาวัสดุ บังแดดใหตนกลา

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


14

เมื่อไหรจึงยายกลา

ควรยายกลาในชวงเวลาบายหากเปนวันที่มีแสงแดดจัด

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


15

ยายกลาอยางไร

ทําการยายกลาดวยความระมัดระวัง ในหลุมปลูกและกลบดิน

กดเบา ๆ ที่หลุมปลูก เพื่อใหรากสัมผัสกับดิน

ใหน้ําแกตนกลาทันที

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


16

การเตรียมดินปลูกผัก

ทําไมตองเตรียมดินใหละเอียด เพื่อสรางสภาวะใหเหมาะสม - การงอกของเมล็ด - การตั้งตัวของตนกลา - การจัดการพืช เพื่อกําจัดวัชพืช เชื้อโรคในดิน เพื่อปรับความสามารถในการอุมน้ํา การระบายน้ํา การระบายอากาศในดิน

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


17

เมล็ดขนาดใหญตอ งการความประณีตในการเตรียมดินนอยกวาเมล็ดขนาดเล็ก ขุดและทุบหนาดิน พรวนหรือยอยดินใหมีขนาดที่เหมาะสม

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


18

ปรับปรุงโครงสรางของดินโดยใชปุยคอกหรือปุยหมักที่สลายตัวดีแลว อัตรา 2 กก./ตรม.

หากดินเปนดินเหนียวมากควรผสมทราย จนกระทั่งดินมีสภาพดีขึ้น

ทําหลุมปลูกตามระยะปลูกทีก่ าํ หนด

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


19

การทําแปลงปลูกผัก พื้นที่ปลูกผักตามแนวลาดเอียง คือเปนการปองกันการชะลางพังทลายของดินโดย การลดอัตราความเร็วของการไหลบาของน้ําหนาผิวดิน

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


20

ตัวอยางการปลูกผักแตละประเภท 1. ประเภทที่ตองเพาะเมล็ดกอนแลวจึงยายปลูก ไดแก กะหล่าํ ดอก กะหล่าํ ปลี ผักกาดขาวปลี หอมหัวใหญ มะเขือเทศ พริก ตัวอยาง การปลูกผักกาดขาวปลี มีลักษณะกาบใบสีขาว สะอาด กรอบ หวาน ใชประกอบ อาหารไดทงั้ ดิบและสุก เปนพืชผักทีม่ อี ายุการเก็บเกีย่ วสัน้ สามารถปลูกไดตลอดป ชอบดินรวน ความชื้นในดินสูงและชอบที่โลงแจงไดรับแสงแดดตลอดวัน การเตรียมแปลงเพาะกลา 1. ขุดดินใหลึก 1 หนาจอบ ตากแดดไว 5 – 7 วัน 2. ยอยดินใหละเอียด แลวใสปุยคอกหรือปุยหมักลงไปผสมคลุกเคลาใหเขากัน ( แปลงเพาะกลา 1 ตารางเมตร ใชปุยคอก 2 กิโลกรัม ) 3. ใชไมขดี เปนรองเล็ก ๆ หางกันรองละ 1 คืบ โรยเมล็ดลงไปเกลีย่ ดินกลบบาง ๆ ใชฟางหรือหญาแหงคลุมรดน้ํา การเตรียมแปลงปลูก ขุดดินลึก 1 หนาจอบ ตากดินไว 7 – 10 วัน ใชจอบยอยดินใหละเอียด ใสปยุ คอก หรือปุย หมักในอัตรา 2 บุง กี๋ ตอแปลง ขนาด 1 X 4 เมตร ใชระยะปลูกระหวางตน 50 เซนติเมตร ระหวางแถว 60 เซนติเมตร การยายกลามาปลูก 1. กลาที่เหมาะจะยายปลูกควรมีใบจริง 3 – 5 ใบ 2. ควรยายกลาเวลาเย็นแดดออน 3. สําหรับกลาที่เพาะรวมกันในกระบะหรือแปลงเพาะ กอนยายกลาออกไปควร รดน้ําแปลงกลาเสียกอน สวนกลาที่เพาะในกระทงหรือถุงตองงดการรดน้ํา 1 วัน 4. ในการยายควรจับเบา ๆ เอาไมบาง ๆ และใหมีดินและรากติดไปดวยมาก ๆ 5. ถอนกลาแลวรีบนําไปปลูกทันทีไมควรทิ้งไวจนเหี่ยว

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


21

6. เลือกปลูกแตตน ทีแ่ ข็งแรง ลําตนตรง ไมคดไมงอ ใบสมบูรณไมฉกี ขาด ยอดไมดว น 7. เวลาปลูกควรตั้งตนใหตรง แลวกดดินรอบโคนตนใหแนนพอสมควร 8. เมื่อปลูกกลาเสร็จแลวใหรีบรดน้ําทันที การดูแลรักษา 1. การใหน้ํา - รดน้ําเวลาเชา – เย็น ไมควรรดตอนแดดจัด - รดแตพอชุม อยาใหโชก - เมื่อผักยังเล็กอยูใหรดดวยบัวฝอยละเอียด จนกวาผักจะโตพอตัง้ ตัวไดจึงจะใช บัวฝอยหยาบรด 2. การใหปุย เมือ่ ยายกลามาปลูกแลว 2 – 3 อาทิตย โดยโรยบาง ๆ ระหวางแถวแลวพรวนดินกลบ รดน้ําทันที การปองกันกําจัดศัตรูพืช เมื่อพบหนอนหรือแมลงกัดกินพืช ใหใชมือเก็บทิ้ง หรือใชน้ําสกัดจากสมุนไพร ปองกันกําจัดแมลง การเก็บเกี่ยวผลผลิต ผักกาดขาวปลี อายุเก็บเกี่ยว 65 – 90 วัน หลังจากยายปลูก 2. ประเภทที่หวานเมล็ดลงในแปลง ไดแก ผักชี ผักกาดเขียวกวางตุง ผักกาดขาวปลี คะนา ตัวอยาง การปลูกผักกาดเขียวกวางตุง เปนผักที่มีระบบรากตื้น การเตรียมแปลงปลูก 1. ขุดดินลึก 1 หนาจอบ แลวตากดินไว 5 – 7 วัน

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


22 2. หลัง 7 วัน ใสปุยคอกหรือปุยหมัก 2 กิโลกรัมตอแปลง 1 ตารางเมตร แลวยกแปลงสูง 1 ศอก กวาง 1 เมตร ยาวตามความตองการ วิธีการปลูก ทําได 2 วิธี 1. การปลูกแบบหวานเมล็ดโดยตรง - เมล็ดพันธุผักกาดเขียวกวางตุง มีขนาดเล็ก กอนหวานใหผสมทรายโดยใช อัตราสวน เมล็ดพันธุ 1 สวน ทราย 3 สวน - หวานเมล็ดใหทั่วแปลงอยางสม่ําเสมอ - หลังหวานเมล็ดกลบดินทับบาง ๆ - คลุมดวยฟางหรือเศษหญาแหงหนาประมาณ 2 เซนติเมตร รดน้ําใหชุม - หลังจากงอกได 20 วัน ควรทําการถอนแยกจัดใหมีระยะหางระหวางตน 20 – 25 เซนติเมตร 2. การปลูกแบบโรยเมล็ดเปนแถว - ทํารองลึก 1.5 – 2 เซนติเมตร ( 1 ขอนิ้วมือ ) โรยเปนแถวใหระยะหางระหวาง แถวหางกัน 20 – 25 เซนติเมตร - นําเมล็ดพันธุผสมทรายทําการโรยหรือหยอดเปนแถวตามรอง - กลบดวยปุยหมักบาง ๆ หรือฟางขาวรดน้ําใหชุม - หลังจากปลูกได 20 วัน หรือตนกลามีใบ 4 – 5 ใบ จึงทําการถอนแยกในแถว จัดระยะหางระหวางตนใหหางกัน 20 – 25 เซนติเมตร การดูแลรักษา 1. การใหน้ํา อยางนอยวันละ 1 ครั้ง 2. พรวนดินและกําจัดวัชพืชทิ้งหลังหวานหรือโรยเมล็ดประมาณ 20 วัน การปองกันและกําจัดศัตรูพืช 1. พบหนอนหรือแมลงใหใชสารสกัดชีวภาพรด หรือใชมือเก็บทิ้ง 2. ไมควรหวานเมล็ดผักใหแนนเกินไป 3. แปลงปลูกมีการระบายน้ําดี กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


23

การเก็บเกี่ยวผลผลิต อายุการเก็บเกี่ยวผลผลิต 45 – 55 วัน เลือกตนที่มีขนาดตามตองการ แลวใชมีด ตัดโคนตน 3. ประเภทที่ใชปลูกเปนหลุม ไดแก พวกที่มีเมล็ดโต เชน ถั่วฝกยาว ถั่วลันเตา กระเจี๊ยบเขียว ถั่วพุม ถัว่ แขก มะระ แตงโม แตงกวา ฟกทอง ผักกาดหัว ตัวอยาง การปลูกฟกทอง เปนพืชผักทีจ่ ดั อยูใ นกลุม พืชตระกูลแตง ไดแก แตงกวา แตงราน ฟกแฟง มะระ บวบ แตงโม แคนตาลูป เปนพืชที่มีวิตามินเอสูง การเตรียมดิน 1. ขุดดินลึก 1 หนาจอบครึ่ง ตากแดดทิ้งไว 7 – 10 วัน 2. เก็บวัชพืชออกใหหมด 3. ใสปุยคอกหรือปุยหมัก 1.5 กิโลกรัม ตอ 1 ตารางเมตร 4. ใชจอบกลบปุยแลวปรับหนาดินใหสม่ําเสมอทั่วแปลง การปลูก 1. หยอดเมล็ดหลุมละ 3 – 5 เมล็ด ลึก 3 –5 เซนติเมตร แลวกลบหลุมโดยการ นําฟางขาวมาคลุม 2. ระยะปลูก ระหวางตน 3 เมตร ระหวางแถว 3 เมตร การดูแลรักษา 1. เมื่อตนกลางอกมีใบจริง 2 – 3 ใบใหถอนแยกตนที่ไมสมบูรณออกทิ้ง เหลือไว หลุมละ 1 - 2 ตน 2. รดน้ําทุกวัน 3. ใสปุยคอกหรือปุยหมักเมื่อตนกลามีใบจริง 4 ใบ และใสอีกครั้งเมื่อฟกทองเริ่ม ออกดอกโดยใสโรยรอบ ๆ ตน แลวรดน้ํา

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


24 การปองกันกําจัดศัตรูพืช 1. ปลูกมะระลอมรอบตนฟกทอง เพราะมะระจะตานทานตอเพลี้ยไฟไดดี หรือ ปลูกมะระแซมในแปลงที่ปลูกฟกทอง การเก็บเกี่ยว 1. ฟกทองจะเก็บผลผลิตไดเมือ่ อายุประมาณ 90 – 120 วัน หรือสังเกตจากสีเปลือก จะกลมกลืนเปนสีเดียวกัน 2. ผลจะมีนวลขึ้นเต็มทั้งผล 3. วิธีเก็บผลผลิตควรตัดใหเหลือขั้วติดไวดวยพอประมาณ เพื่อชวยใหเก็บรักษา ไดนานขึ้น ตัวอยาง การปลูกถั่วฝกยาว การเตรียมดิน ขุดดินลึก 1 หนาจอบ ใสปุยคอกหรือปุยหมัก ทิ้งไว 2 – 3 วัน การปลูก 1. ขุดหลุมลึก 2 นิ้ว ใสปุยคอกลงไปหลุมละ 1 กํามือ 2. หยอดเมล็ดลงไป 3 เมล็ด แลวกลบดิน เอาหญาแหง ฟางแหงปดทับและรดน้ําทันที 3. หลังจากปลูกไปแลว 7 – 15 วัน เริ่ม มีใบ 2 – 3 ใบ 4. เลือกตนที่สมบูรณไว 2 ตนตอหลุม

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


25 การดูแลรักษา 1. การใหน้ํา ใหทุกวัน แตระวังอยาใหดินแฉะ จะทําใหตนเนา และชวงออกดอก และติดฝกอยาใหขาดน้ํา 2. การทําคาง ใชไมสงู 2 เมตร ปกหลุมละ 1 อัน ปกเอียงเขาหากึง่ กลางแปลงเปนคู แลวมัดเขาดวยกัน 3. การใสปยุ ปลูกไปแลว 20 วัน ใสปยุ คอก หรือปุย หมักรอบ ๆ โคนตน 1 กํามือ การเก็บเกี่ยว หลังจากปลูกไปแลว 60 – 90 วัน ก็เก็บผลผลิตได

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


26

4. ประเภทที่ใชสวนตาง ๆ เชน ตน ราก และหัวปลูก ไดแก หอมแบง กระเทียม กระชาย ขิง ขา ตะไคร ตัวอยาง การปลูกกระชาย เจริญไดดีในดินรวนปนทราย การระบายน้ําดี การเตรียมดินและปลูก 1. ขุดดินลึก 1 หนาจอบ ตากแดดไว 7 วัน 2. ยกเปนแปลงทําหลุมปลูกลึก 1 หนาจอบ 3. ใชระยะปลูก ระหวางตน 20 เซนติเมตร ระหวางแถว 20 เซนติเมตร 4. นําพันธุกระชายมาปลูกแลวกลบดินและนําฟางขาวมาคลุมรดน้ําใหชุม การดูแลรักษา 1. การใหปุย ปุยที่ใชควรเปนปุยคอกหรือปุยหมัก - ใสครั้งแรก เมื่อกระชายแตกกอ 3 – 4 ตน ใสโดยหวานใหทั่วแปลง - ใสครั้งที่ 2 เมื่อกระชายแตกกอ 5 – 6 ตน 2. การใหน้ํา ให 2 – 3 วันตอครั้ง การเก็บเกี่ยว 1. เก็บเกี่ยวไดเมื่อกระชายอายุ ตั้งแต 5 – 6 เดือน จนถึง 10 – 12 เดือน 2. การเก็บเกี่ยวใชมือถอนหรือจอบขุด

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


27

ตัวอยาง การปลูกหอมแบง การเตรียมดิน 1. ขุดดินลึก 1 หนาจอบ ตากดินไว 5 – 7 วัน 2. ใสปุยคอกหรือปุยหมัก จํานวน 8 กิโลกรัมตอตารางเมตร คลุกเคลาลงในดิน พรวนยอยผิวหนาดิน การปลูก 1. ใชหัวแยกออกเปนกลีบ ตัดใบแหง ๆ และรากเกาทิ้ง 2. นํากลีบที่เลือกไวหอผาเปยกทิ้งไว 1 วัน แลวนําไปปลูก 3. กอนปลูกรดน้ําแปลงปลูกใหชุม 4. ระยะปลูก ระหวางตน 12 เซนติเมตร ระหวางแถว 15 เซนติเมตร 5. ปลูกเสร็จใชฟางขาวหรือหญาแหงคลุมรดน้ําตลอดแปลง การดูแลรักษา 1. การใหน้ําใหน้ํา เชา - เย็น 2. การพรวนดิน กําจัดวัชพืช ตองทําอยางสม่ําเสมอ การเก็บเกี่ยว อายุการเก็บเกี่ยว 50 – 60 วัน หลังปลูก เลือกเก็บหอมที่โตเต็มที่ แตกกอใหม สีเขียวสด

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


28

รูปแบบการทําเกษตรผสมผสาน แปลงที1่ แปลงที่ 2 แปลงที3่

ที่มา : กรมสงเสริมการเกษตร.2547. คูม ือการปลูกพืชผัก-ไมผลและการขยายพันธุพ ืชขั้นพื้นฐาน. โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันตามพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี จัดทําโดย กลุมงานโครงการพระราชดําริ กองพัฒนาการเกษตรพื้นที่เฉพาะ กรมสงเสริมการเกษตร กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.