การปลูกผักหลังน้ำลด

Page 1

การปลูกผักหลังน้ําลด การปลูกผักในพืน้ ทีท่ ปี่ ระสบอุทกภัย เมือ่ น้ําลดแลว ตองพิจารณา ดังนี้ 1. ชนิดผักทีจ่ ะปลูก เลือกปลูกผักทีม่ อี ายุสนั้ เก็บผลผลิตไดเร็ว เปนผักทีน่ ยิ มบริโภค ถาปลูกขายใหคํานึงถึงความตองการของตลาดดวย 2. พันธุที่ใช เลือกพันธุใหเหมาะสมกับสภาพดินฟาอากาศ และสภาพพื้นที่ ควรเปนพันธุที่ทนทานตอสภาพแวดลอมไดดี 3. การเตรียมดินและการจัดการดิน 3.1 หลังน้ําลดในระยะแรกที่ดินยังเปยกอยู หามคนและสัตวเลี้ยงเขาไป เหยียบย่ําในแปลงปลูก รวมถึงหามนําเครือ่ งจักรเขาไปในพืน้ ที่ เพราะจะทําใหโครงสรางของดิน ที่เปยกชุมน้าํ อยูมากมีการอัดแนน ทําใหเกิดผลเสียตอการไหลซึมของน้ํา และเมื่อดินเริ่มแหง โครงสรางของดินจะจับกันแนนและแข็งตัวมาก ทําใหยากตอการปรับปรุงดิน เพือ่ ปลูกผักใหไดผลดี 3.2 ในพื้นที่ยังมีน้ําทวมขังอยูบาง ควรหาทางระบายน้ําออกจากพื้นที่ให เร็วที่สุด เชน การขุดรองระบายน้ําเพื่อใหเกิดทางน้ําไหลออกจากแปลงโดยเร็ว 3.3 การเตรียมดินกอนปลูกผัก หากดินแหงพอจะขุดได ใหทําการขุดและ ตากดินไว 2 – 3 วัน เพื่อใหดินแหงมากขึ้น และควร หาปุยหมักหรือปุยคอกเกาคลุกเคลาดินเพือ่ ใหดนิ มี คุณสมบัตทิ างกายภาพในการปลูกพืชทีด่ ขี นึ้ และเปนการ เพิม่ ความอุดมสมบูรณแกดนิ รวมทัง้ อาจมีการใชปนู ขาว หรือโดโลไมทในการปรับปรุงดินดวย เพือ่ ปองกัน ปญหาโรครากเนา

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


2 4. วิธีการปลูก 4.1 หากสภาพพื้นที่ยังมีน้ําทวมขังอยูหรือสภาพดินยังแฉะมาก ควรใช วิธกี ารเพาะกลาแลวยายปลูก จําทําใหผกั เจริญเติบโตไดดกี วา และลดความเสีย่ งตอโรครากเนา และโคนเนาในระยะการงอกและระยะกลา 4.2 หากพืน้ ทีเ่ ริม่ มีสภาพทีแ่ หง และสามารถขุดดินได ควรเตรียมดินปลูกไว อาจใชวิธีหวานเมล็ด หรือหยอดเมล็ดลงแปลงปลูก โดยใหระยะหางระหวางตนพอสมควร รวมถึงการใชน้ําปูนใสรดตนกลาและตนผักอาทิตยละ 1 – 2 ครัง้ จะชวยลดการระบาดของโรค ที่เกิดจากเชื้อราได 5. การดูแลรักษา มีการใสปยุ และดูแลปองกันกําจัดโรคแมลงอยางสม่ําเสมอตามคําแนะนํา 6. ขอควรระวัง 6.1 การปลูกผักหลังน้ําลด หากดินมีสภาพพืน้ ทีช่ นื้ แฉะมากเกินไป อาจมีปญ  หา เมื่อหวานเมล็ดไปแลว ตนกลาอาจเกิดปญหาโรครากเนา จึงตองมีการปรับปรุงดินดวยปูนขาว เพือ่ ปรับปรุงดินใหสภาพเปนดางเล็กนอย จะทําใหลดการระบาดของโรคได อัตราปูนขาวที่ใช 200 – 300 กิโลกรัมตอไร 6.2 การปลูกผักหลังน้ําลด ใหระมัดระวังดูแลเรื่องการใหน้ําอยางสม่ําเสมอ โดยเฉพาะเมื่อเมล็ดงอกและเจริญเติบโตเปนตนกลา และหากดินเริ่มแหงมากขึ้น ตองมีการ ใหน้ําพอประมาณ เพือ่ ไมใหดนิ รัดตนกลาหรือตนพืชและตายในทีส่ ดุ ซึง่ ไมใชปญ  หาดานโรคพืช 6.3 หากสภาพแวดลอมมีความชืน้ ในอากาศสูงมาก อาจประสบปญหาเชือ้ ราได ควรระมัดระวังอยาปลูกผักใหแนนเกินไป หากหวานเมล็ดและตนกลาแนนมากใหถอนตนกลา และเวนระยะหางระหวางตนพอสมควร รวมถึงการใชน้ําปูนใสรดตนกลา และตนผักอาทิตยละ 1 – 2 ครั้ง จะชวยลดการระบาดของโรคที่เกิดจากเชื้อราได วิธีการทําน้ําปูนใส โดยใชปนู ขาว 5 กิโลกรัม ผสมน้ํา 20 ลิตร กวนใหเขากันทิง้ ไว 1 คืนใหตกตะกอน หลังจากนั้นใหนําน้ําปูนใสที่ตกตะกอนและผสมกับน้ํา อัตราประมาณ 1 : 5 รดแปลงผัก อยางสม่ําเสมอ กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


3 การดูแลรักษา การใสปุย ชนิดผัก

ผักบุง จีน

วิธีการปลูก

หวาน

คะนา

หวาน ถอนแยก

ผักสลัด

เพาะกลา ยายปลูก เมือ่ อายุ 14 วัน

ผักกวางตุง หวาน ถอนแยก

ผักกาดขาว หวาน ถอนแยก หวานและ ถอนแยก ผักทาหไฉ ระยะ 30 X 30 ซม. เพาะกลา ผักไดโตเกียว ยายปลูก เมือ่ อายุ 14 วัน

ครั้งที่ 1

ครั้งที่ 2

อายุ 14-20 วัน อายุ 7-10 วัน ใสปยุ 46-0-0 ใสปุย 46-0-0 อัตรา 40-50 กก./ไร ผสม 15-15-15 อัตรา 40-50 กก./ไร อายุ 14 วันหลังงอก อายุ 28 วัน ใสปุย46-0-0 ใสปุย 15-15-15 อัตรา 40-50 กก./ไร อัตรา 40-50 กก./ไร อายุ 7 วันหลังยายกลา อายุ 14 วันหลังยายกลา ใสปุย15-15-15 ใสปุย46-0-0 อัตรา 40-50 กก./ไร อัตรา 40-50 กก./ไร อายุ 7-10 วันหลังงอก อายุ 20-25 วัน ใสปุย46-0-0 ใสปุย15-15-15 อัตรา 40-50 กก./ไร อัตรา 40-50 กก./ไร อายุ 14 วันหลังงอก อายุ 28 วัน ใสปุย 15-15-15 ใสปุย 46-0-0 อัตรา 40-50 กก./ไร อัตรา 40-50 กก./ไร

ครั้งที่ 3

อายุ 38-40 วัน ใสปุย15-15-15 อัตรา 40-50 กก./ไร อายุ 21 วัน ใสปุย 15-15-15 อัตรา 40-50 กก./ไร

อายุ 38 วัน ใสปุย 15-15-15 อัตรา 40-50 กก./ไร

อายุ 14 วันหลังงอก อายุ 21 วัน ใสปุย46-0-0 ใสปยุ 15-15-15 อัตรา 40-50 กก./ไร อัตรา 40-50 กก./ไร อายุ 18 วัน ใสปุย อายุ 5 วันหลังยายกลา อายุ 12 วัน ใสปยุ 15-15-15 15-15-15 อัตรา ใสปุย46-0-0 อัตรา 40-50 กก./ไร อัตรา 40-50 กก./ไร 40-50 กก./ไร

ครั้งที่ 4

อายุการ เก็บเกี่ยว

-

อายุ 21-25 วัน

-

อายุ 40-45 วัน

-

อายุ 40-45 วัน

-

อายุ 30-35 วัน

-

อายุ 40-45 วัน

-

อายุ 30-35 วัน

-

อายุ 35-40 วัน

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


4 การดูแลรักษา(ตอ) การใสปุย ชนิดผัก

ผักโขมจีน

ผักชีไทย

ขึ้นฉาย

วิธีการปลูก

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 3

เพาะกลา อายุ 7 วันหลังยายกลา อายุ 14 วัน ใสปยุ 15-15-15 ใสปยุ 46-0-0 ยายปลูก เมือ่ อายุ 14 วัน อัตรา 40-50 กก./ไร อัตรา 40-50 กก./ไร อายุ 38 วัน อายุ 14 วันหลังงอก อายุ 28 วัน ใสปุย15-15-15 ใสปยุ 15-15-15 หวาน ถอนแยก ใสปุย 46-0-0 อัตรา 40-50 อัตรา 40-50 กก./ไร อัตรา 40-50 กก./ไร กก./ไร อายุ 38 วัน อายุ 14วันหลังกลางอก อายุ 28 วัน ใสปุย15-15-15 ใสปุย 15-15-15 หวาน ถอนแยก ใสปุย 46-0-0 อัตรา 40-50 อัตรา 40-50 กก./ไร อัตรา 40-50 กก./ไร กก./ไร

ผักหวานบาน ตนพันธุ

ชะอม

ครั้งที่ 1

ตนพันธุ

รองกนหลุมดวยปุย 15-15-15 ผสมปุยคอก

อายุ 30-35วัน อายุ 10-15 วัน ใสปุยคอก ใสปุย 15-15-15 อัตรา 40-50 อัตรา 40-50 กก./ไร กก./ไร

รองกนหลุมดวยปุย 15-15-15 ผสมปุยคอก

อายุ 30-35 วัน อายุ 15-20 วัน ใสปยุ คอก ใสปุย 15-15-15 อัตรา 40-50 อัตรา 40-50 กก./ไร กก./ไร

ครั้งที่ 4

อายุการ เก็บเกี่ยว

-

อายุ 30-35 วัน

-

อายุ 40-45 วัน

-

อายุ 45-50 วัน

อายุ 38 วัน ใสปุย 15-15-15 อัตรา 40-50 กก./ไร อายุ 40-45 วัน ใสปุย 15-15-15 อัตรา 40-50 กก./ไร อายุ 50-60 วัน ใสปุย 15-15-15 อัตรา 40-50 กก./ไร

อายุ 40-45 วัน

อายุ 70-90 วัน

ที่มา : แผนพับเรื่อง การปลูกผักหลังน้ําลด. 2549. โรงพิมพสํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร เรียบเรียงโดย อรสา ดิสถาพร ผูอ ํานวยการสวนสงเสริมการผลิตผัก ไมดอกไมประดับและสมุนไพร สํานักสงเสริมและจัดการสินคาเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.