ECO Challenge: Digital transformation

Page 1

Issue Number 01 Volume 13

OCT-DEC '17


2

Governor’s Talk ตุลาคม - ธันวาคม 2560

นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

Mr. Verapong Chaiperm I-EA-T Governor

Digital คลื่นลูกที่ 4.0 การเข้าสู่ “ยุคเทคโนโลยีดิจิทัล” ในปัจจุบันไม่เพียงท�ำให้โลก ทั้งใบเกิดการคิดค้นเครื่องมือต่างๆ ออกมาตอบสนองให้การด�ำเนิน ชีวิตให้สะดวกสบายขึ้นเท่านั้น แต่ยังเข้าไปมีบทบาทส�ำคัญในเชิง อุตสาหกรรมด้วย โดยเฉพาะแนวคิดเกี่ยวกับ Digital Transformation ทีแ่ ม้จะยังเป็นเรือ่ งใหม่สำ� หรับแวดวงอุตสาหกรรมในขณะนี้ แต่กส็ ร้าง ผลดีมหาศาลต่ออุตสาหกรรมที่น�ำร่องเปลี่ยนแปลงไปเป็น Digital Technology Eco Challenge ฉบับนี้ จึงอยากพาผู้อ่านไปรู้จักกับธุรกิจต่างๆ ที่น�ำ แนวคิดเทคโนโลยีดิจิทัลเข้าไปปรับใช้ไม่ว่าจะเป็นการวางยุทธศาสตร์ พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมพิเศษด้านเทคโนโลยี การปรับตัวสู่ดิจิทัล ของอุตสาหกรรมยานยนต์ หรือแม้แต่การรับมือกับสภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนไปด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ทั้งนี้ เพื่อย�้ำชัดถึงสภาพธุรกิจและ สังคมโลกในอนาคตที่ไม่ช้าหรือเร็วก็ต้องถูกปรับเข้าสู่ยุคเทคโนโลยี ดิจิทัลอย่างแน่นอน ส�ำหรับประเทศไทย ในช่วง 1- 2 ปีทผี่ ่านมา มีการคาดการณ์จากกลุม่ นักการตลาดว่าไทยอาจต้องใช้เวลาถึง 4 ปี ในการปรับตัวเข้าสูแ่ วดวง ดิจิทัลอย่างจริงจัง หากเป็นเช่นนั้นจริงภาวะเศรษฐกิจประเทศก็คง น่าเป็นห่วงไม่น้อย แต่ทว่า ในช่วงปีที่ผ่านมานี้ หลายองค์กรได้ น�ำแนวคิดดิจิทัลเข้ามาปรับใช้กับธุรกิจอย่างแพร่หลาย ซึ่งถือเป็น สัญญาณที่ดีที่จะท�ำให้ประเทศไทยก้าวไปบนเส้นทาง 4.0 ได้อย่าง มั่นใจ เพราะการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วเช่นนี้ คู่แข่งที่น่ากลัวไม่ใช่ ประเทศหนึ่งประเทศใดแต่คือตัวเราเองต่างหาก ฉะนั้น ต้องกล้าที่จะ เปลี่ยน และที่ส�ำคัญ ต้องเปลี่ยนให้ได้เร็วที่สุด โดยมุ่งหวังให้วารสาร ฉบับนี้เป็นคู่มือ คู่คิด น�ำระบบดิจิทัลมาสู่การด�ำเนินธุรกิจของท่าน ตลอดไปนะครับ

Digital: the 4.0th Wave

Stepping into “digital era” not only makes the whole world innovate tools and devices to facilitate people’s lives, but also plays a significant part in industrial world, specifically the Digital Transformation concept. Although it’s a new concept for industrial field, it has proved to give a great benefit to the pioneers who decided to adopt Digital Technology in their business. Eco Challenge this month would like to introduce those businesses to you. You are about to discover how they came up with the strategies to develop technological industrial zones, what automobiles industry did to digitally transform themselves, or even how some of them utilized digital technology to handle the changing environment. Our focus is to point out that sooner or later, it will be inevitable for every business and everyone around the world to embrace digital technology into our lives. During the past 1-2 years, some marketers have estimated that it would probably take up to 4 years for Thailand to fully transform to digital environment. If the estimation is accurate, we can say the economic would be quite a big concern. However, so far we have seen many organizations already incorporate digital concepts to their businesses and it is likely that more and more would follow. This is a good sign that Thailand will be on the right track to become 4.0. With this rapid change, the competitors are not other countries, but it is actually ourselves. We must be confident to change, and most importantly, just do it as soon as possible. We hope that this newsletter would serve as something that encourages you to start thinking about bringing digital to your business.


eco challenge magazine October - December 2017

01010101010101

01010101010101 01010101010101 01010101010101 01010101010101 01010101010101

Issue Number 01 Volume 13 # OCT-DEC ’17

02 04 12

Governor’s Talk Digital คลื่นลูกที่ 4.0 Digital: the 4.0th Wave

Industry Trends ดิจิทัลกับการเปลี่ยนแปลงใน อุตสาหกรรมยานยนต์ Digital transformation in automotive industry

Talent Development จับตา Digital Park และนโยบายพัฒนา อุตสาหกรรมดิจิทัลระดับอาเซียน Digital Park and the ASEAN Digital development Policies

STARTUP

SME

PROMOTION

คณะที่ปรึกษา

นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม นางสาวฐานันดร์ พิทักษ์วงศ์ นายอัฐพล จิรวัฒน์จรรยา นางสาวสมจิณณ์ พิลึก นายจักรรัฐ เลิศโอภาส นางสาวกฤตยาพร ทัพภะทัต นายวิฑูรย์ อยู่ทิม

บรรณาธิการ

นางสุวัฒนา กมลวัทนนิศา

ผู้ช่วยบรรณาธิการ

นางสาวปคุณดา ชั้นบุญ

ผู้ว่าการ กนอ. รองผู้ว่าการ (สายงานบริหาร) รองผู้ว่าการ (สายงานยุทธศาสตร์และพัฒนา) รองผู้ว่าการ (สายงานกิจการพิเศษ) รองผู้ว่าการ (สายงานปฏิบัติการ 1) รองผู้ว่าการ (สายงานปฏิบัติการ 2) รองผู้ว่าการ (สายงานปฏิบัติการ 3)

รองผู้ว่าการ (สายงานบริการและลูกค้าสัมพันธ์)

ผู้อ�ำนวยการกองประชาสัมพันธ์

18

24 30 35 กองบรรณาธิการ

Cover Challenge

Digital transformation

Eco Explorer นิคมอุตสาหกรรมสีเขียว กรณีศึกษา โครงการเขตนิคมอุตสาหกรรมสีเขียว ในประเทศเกาหลีใต้ Greening Industrial Parks A Case Study on South Korea’s Eco Industrial Park Program

Asean Area เปิดกล้องส่องอินโดฯ Indonesia through the Lens

News & Activities

นางสริสา สุวรรณกูฎ นางสาวจันทร์ธร ศรีธัญรัตน์ นายพิชัย จันทร์แสงศรี นายวันฉัตร กรรณสมบัติ นายวรพล วรบุตร นางสาวรักชริน ทองหงษ์ นางสาวหิรัณยา รุจางกูร นางสาวณัฐสุภากมล วิเศษสิงห์ นางสาวญาธิป สุขสุเมฆด�ำรง นางสาวพิมพ์ณดา บุญยสิริสิทธิ์

ฝ่ายสมาชิก

นางสาวณันวดี ทับมา นางปริษา คุณาทรฐิติ

ออกแบบและจัดพิมพ์

บริษัท หนึ่งเก้าสองเก้า จ�ำกัด

3


4

Industry Trends ตุลาคม - ธันวาคม 2560

ดิจิทัลกับการเปลี่ยนแปลง ในอุตสาหกรรมยานยนต์

ลองหลับตานึกดูว่า หากตื่นขึ้นมาแล้วพบว่าโลกนี้ไม่มี รถยนต์ อี ก ต่ อ ไป การด� ำ เนิ น ชี วิ ต เราจะเปลี่ ย นไปมาก แค่ไหน แน่นอนว่าคนยุคนี้ส่วนใหญ่อาจนึกภาพไม่ออก เพราะทุ ก คนเกิ ด มาก็ รู ้ จั ก รถยนต์ แ ล้ ว ทั้ ง นั้ น แต่ จ ะมี ใครสั ง เกตบ้ า งหรื อ ไม่ ว ่ า รถยนต์ ที่ เ ราเห็ น ตั้ ง แต่ เ กิ ด กั บ รถยนต์ ที่ ใ ช้ อ ยู ่ ใ นปั จ จุ บั น นี้ มี ก ารพั ฒ นาและความ เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา

ผลดีของการเปลี่ยนแปลงนั้นมักจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค เสมอมา แต่ส�ำหรับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมยานยนต์แล้ว นี่คือ “ความท้าทายอย่างที่สุด” โดยเฉพาะเมื่ออุตสาหกรรม ยานยนต์ทั่วโลกก�ำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่อยู่ ในตอนนี้ เทคโนโลยีดิจิทัลก็ยิ่งเริ่มเข้ามามีส่วนส�ำคัญต่อการ ปรับตัวของธุรกิจมากขึน้ ซึง่ นอกจากจะช่วยลดต้นทุนการผลิตแล้ว ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการได้อีกด้วย ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมาบทบาทอุตสาหกรรมยานยนต์กลายเป็น สิง่ จ�ำเป็นต่อการด�ำเนินชีวติ ของชนชัน้ กลางในหลายประเทศอย่าง แยกไม่ออก และคาดว่าจะเติบโตได้ 35% ต่อปี ไปจนถึงปี พ.ศ. 2563 โดย World Economic Forum (WEF) 2560 วิเคราะห์ถึง แนวโน้ม Digital transformation of industries ของอุตสาหกรรม

ยานยนต์อีก 6-7 ปีข้างหน้าว่า จะมีมูลค่าเพิ่มขึ้นอีก 3.1 ล้าน ล้านดอลลาร์สหรัฐ จากมูลค่าเดิม 0.67 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ เนื่องจากการน�ำแนวคิดเกี่ยวกับดิจิทัลเข้ามาใช้ในอุตสาหกรรม ยานยนต์ ซึ่งจะสอดรับเป็นอย่างดีกับปัจจัยการเปลี่ยนแปลง ส�ำคัญในปัจจุบัน 3 ข้อ ได้แก่ 1. พฤติ ก รรมการบริ โ ภคที่ ไ ด้ รั บ ความสะดวกเพิ่ ม ขึ้ น ในการ เดินทางไปยังที่ต่างๆ ของผู้บริโภค ซึ่งกระตุ้นให้เกิดการกระจาย เม็ดเงินในพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลก 2. นวัตกรรมเกี่ยวกับการผลิตยานยนต์ที่มีแนวโน้มที่จะถ่ายทอด เทคโนโลยีไปยังฐานการผลิตอื่นๆ ซึ่งจะท�ำให้กระบวนการผลิต ของอุตสาหกรรมยานยนต์เกิดการกระจายตัวและพัฒนาต่อยอด ประสิทธิภาพให้สูงขึ้น 3. การบริหารจัดการสมัยใหม่ เช่น ลักษณะการว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะด้าน รูปแบบการเป็นหุน้ ส่วนธุรกิจกับตัวแทนจ�ำหน่ายและ ซัพพลายเออร์ เป็นต้น สิง่ เหล่านีล้ ว้ นบ่งชีถ้ งึ พฤติกรรมการบริโภคทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปอย่าง รวดเร็ว พร้อมๆ กับการที่อุตสาหกรรมยานยนต์จะต้องปรับตัว ตามให้ทัน


eco challenge magazine October - December 2017

Digital transformation in automotive industry

Just imagine, when you wake up and find out the world without cars. How much life will we change? Of course, most people today may not imagine. Everyone is born knowing cars and rarely notice that the cars we see today have been developed and changed over time. The good point of changing is always beneficial to the customers. But it is the “big challengeâ€? for the automotive entrepreneur, especially when the global automotive industry is facing a big change now. Digital technology is becoming more and more important on the business transformation. As the technology will reduce production costs and also improve management efficiency. Over the past years, the role of the automotive industry has been changed. Cars have become an essential means for the lives of the middle class in many countries. It is expected to grow by 35% annually until 2020. The World Economic Forum (WEF) 2017 analyzes the trend of digital transformation in the automotive industry over the next 6-7 years will be increased to 3.1 trillion U.S. dollars from 0.67 trillion U.S. dollars

5

due to the industry develops the digital transformation concept aligns with the three key factors. 1) Consumption behavior of the customer which the cars facilitate the traveler to go to various places and motivate them to spend all over the world. 2) Innovation is one factor in automotive industry trend to transfer the technology of production to other sites. This knowledge sharing will make the manufacturing process of the automotive industry more expanding and more productive. 3) Modern management, players across the value chain need to think how to hire professionals and how to form a business partnership among distributors and suppliers. These are all indications of fast-changing consumer behavior, along with the fact that the automotive industry needs to transform itself to meet customer expectation.


6

Industry Trends ตุลาคม - ธันวาคม 2560

เมื่อทุกอย่างขึ้นอยู่กับดิจิทัล รถยนต์ในอนาคตไม่เพียงต้องมีระบบความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพเท่านั้น แต่ระบบ ความปลอดภัยนัน้ ต้องท�ำงานได้สมั พันธ์กบั สภาพการขับขีแ่ ละกฎระเบียบการจราจรด้วย ไม่ว่าจะเป็นสภาพถนน ภูมิประเทศ รูปแบบพาหนะบนท้องถนน หรือแม้แต่พฤติกรรม โดยรวมด้านการขับขี่ ฯลฯ ดังนั้นในอุตสาหกรรมยานยนต์จึงจ�ำเป็นต้องคิดค้นและน�ำ เทคโนโลยีทปี่ ระมวลผลด้านความปลอดภัยได้อย่างแม่นย�ำเข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต และออกแบบ ซึ่งนอกจากจะท�ำให้ได้ยานยนต์ที่มีอุปกรณ์ควบคุมความปลอดภัยที่มี ประสิทธิภาพเป็นส่วนประกอบส�ำคัญแล้ว อุปกรณ์เหล่านีย้ งั ท�ำหน้าทีบ่ นั ทึกข้อมูลต่างๆ เพื่อใช้ปรับปรุงและพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ต่อไปได้เป็นอย่างดีด้วย แนวโน้มการน�ำระบบดิจิทัลเข้ามาใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์ ไม่เพียงส่งผลให้ผู้ผลิต รถยนต์ต้องปรับตัวตามเท่านั้น แต่ยังสร้างความท้าทายและโอกาสส�ำหรับผู้รับจ้างผลิต หรือ OEM อีกด้วย เนื่องจากในอนาคตจ�ำเป็นต้องมีการน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามา ใช้ในสายงานการผลิต หากผู้รับจ้างผลิตไม่มีเทคโนโลยีการผลิตที่ดี หรือไม่สามารถรับ การถ่ายทอดเทคโนโลยีจากบริษัทยานยนต์ได้ ก็อาจประสบปัญหาต่อการด�ำเนินธุรกิจ ในอนาคตได้

ตั ว อย่ า งที่ เ ห็ น ชั ด เจนเกี่ ย วกั บ Digital disruption ในอุ ต สาหกรรมยานยนต์ ก็คือ การเปลี่ยนแปลงของผู้ประกอบการ ยานยนต์ ใ นสหรั ฐ อเมริ ก า หลั ง จากที่ National Traffic Safety Administration (NHTSA) องค์กรด้านความปลอดภัยใน ยานยนต์ของสหรัฐฯ พยายามน�ำงานวิจัย ทางวิ ศ วกรรมยานยนต์ ม าปรั บ ใช้ จ ริ ง บนท้องถนน โดยประกาศให้ยานยนต์ใน สหรัฐฯ ต้องมีซอฟต์แวร์ทสี่ ง่ ผ่านข้อมูลการ ขับขี่ระหว่างกันได้ อีกทั้งยังต้องเชื่อมโยง ข้ อ มู ล ไปยั ง ซอฟต์ แวร์ ที่ ค วบคุ ม ความ ปลอดภัยอืน่ ๆ ได้ดว้ ย ส่งผลให้อตุ สาหกรรม ยานยนต์ ต ้ อ งปรั บ ตั ว ตามกฎระเบี ย บ ที่ อ อกมาอย่ า งเร่ ง ด่ ว น ซึ่ ง ถื อ เป็ น การ เปลี่ ย นโฉมหน้ า การผลิ ต และการใช้ ยานยนต์จากอดีตไปอย่างสิ้นเชิง


eco challenge magazine October - December 2017

Digital disruption: When everything is upon digitization The future cars not only have the effective safety systems, but they have to work aligned with the driving conditions and traffic regulations. Whether there are road conditions, terrain, vehicles, all manners of automobile driving and overall driving behavior. The automotive players need to initiate and develop the precision safety technology in production and design. These devices have to work accurately in term of recording the data for future improvement and developing the car engines in the future.   Take as a whole, adopting digital disruption in automotive industry force the manufacturer to improve their structure and production line. These digital-related challenges are reshaping traditional original equipment manufacturers (OEMs) to focus on the opportunity in the future and explore solutions to develop the production model and transfer technology to the business partner. Otherwise, they will encounter the intense market competition in the future.

7

One example of digital disruption in the automotive industry in the United States, recently, National Traffic Safety Administration (NHTSA) reported in the automotive engineering research that it would make vehicle-to-vehicle communications mandatory. The vehicles are moving toward total connectivity among devices, databases, driving pattern, and traffic condition relates to the security control software. This multi-model connected digital technology will force automotive players to develop themselves to align with regulation urgently; this digital disruption would make a significant changing phase in automotive production from the past completely.


8

Industry Trends ตุลาคม - ธันวาคม 2560

จ�ำนวน (คน) บอกทิศทาง ปัจจุบันจ�ำนวนประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองทั่วโลกมีจ�ำนวน 3.7 พันล้านคน และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นอีก 66% ในปี พ.ศ. 2593 ทั้งนี้ พบว่าผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองจะมีความเป็นอยู่ที่เกี่ยวข้องกับระบบ ดิจิทัลแทบทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเกี่ยวกับการท�ำงาน การซื้อสินค้า การ สื่อสาร เป็นต้น นั่นเพราะพวกเขาเชื่อว่าจะท�ำให้ชีวิตมีความ สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้เองรัฐบาลประเทศต่างๆ จึงพยายามคิดหาวิธีจัดการ สภาพแวดล้อมในเมืองที่ก�ำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว เพื่อกระจาย ความหนาแน่นของประชากรและการเข้าถึงเทคโนโลยี ซึ่งอาจ ส่งผลต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ในภาพรวมได้ เพราะหากมีการ ขยายชุมชนเมืองให้ใหญ่ขึ้น ความจ�ำเป็นด้านการเดินทางก็จะ ตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นการคาดการณ์ถึงแนวโน้มการ ขยายเมืองจึงเป็นเรือ่ งทีผ่ ปู้ ระกอบการยานยนต์ไม่อาจมองข้ามได้ ขณะเดียวกันการท�ำความเข้าใจด้านประชากรศาสตร์ก็จะส่งผลดี ต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ด้วยเช่นกัน เพราะจะท�ำให้เข้าใจความ ต้องการของลูกค้า ตลอดจนพฤติกรรมการบริโภคเกี่ยวกับสินค้า ยานยนต์ได้ทางหนึ่ง เช่น การน�ำข้อมูลด้านประชากรศาสตร์และ

ภูมิศาสตร์มาวิเคราะห์ จะพบว่าแหล่งรายได้ของอุตสาหกรรม ยานยนต์ในปี พ.ศ. 2556 มาจากประชากรที่อายุ 55-64 ปี ซึ่ง เป็นกลุ่มที่ต้องการซื้อรถใหม่ ส่งผลให้อุตสาหกรรมยานยนต์มี การเติบโตเพิม่ ขึน้ 35% ซึง่ ส่วนใหญ่มาจากประเทศบราซิล รัสเซีย อินเดีย และจีน เป็นต้น การจับตาเกีย่ วกับการคาดการณ์ทเี่ พิม่ ขึน้ ของประชากรทัว่ โลกจาก 7 พันล้านคน เป็น 1 หมืน่ ล้านคน ในปี พ.ศ. 2593 โดยระหว่างนี้ ปี พ.ศ. 2573 จะพบว่าจ�ำนวนผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ซึ่งเป็น ฐานลูกค้าดิจิทัลเดิมจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ในขณะที่ประชากรอีก จ�ำนวน 3 พันล้านคน ที่เคยเป็นเด็กจะกลายเป็นคนท�ำงานที่มี ก�ำลังซื้อ ซึ่งถือเป็นประชาชนชั้นกลางในกลุ่มตลาดเกิดใหม่ ดังนั้นเมื่อพิจารณาจากจ�ำนวนประชากรในอนาคตแล้ว ย่อม บ่งชีไ้ ด้วา่ โอกาสเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ยงั มีอยูอ่ กี มาก ทว่าการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตและการบริหารจัดการให้ ตรงกับพฤติกรรมการบริโภคของผู้คนต่างหากที่จะชี้เป็นชี้ตาย ในธุรกิจยานยนต์


eco challenge magazine October - December 2017

9

The population determines the destination. Currently, the majority of the population live in the urban area at 3.7 billion, this number is predicted to swell to 66% by 2050. Urban consumers are more sophisticated and more digitally engaged in how they live, work, buy and communicate. They believe digital technology facilitates their life. To manage these rapidly growing urban environments, many governments try to manage their citizens’ move through the dense urban landscapes via reducing congestion and increase technology assessment. This focus on congestion management has significant implications for the automotive industry as a whole, and for consumers who move through these environments on a regular basis. These crucial factors are the key that automotive players should not overlook. In the meantime, understanding on demographics will be beneficial to automotive industry because it is the key to understand and anticipate consumer needs, aspirations and behaviors. From the analysis in 2013,

the main revenue of automotive industry came from the people aged 55 to 64, the group most likely to buy a new car. Following this trend, the automotive sale growth approximately 35% came from the market in Brazil, Russia, India, and China. The global population is growing, aging and evolving. From 7 billion today, the number of people will hit 11 billion by 2050. The proportion of the world’s population over 60 years old will double by 2030 and will be the digital-based customers. An estimated 3 billion of young people are expected to enter the middle class who are affordable to buy, mostly in emerging markets This continuing demographic changing determines the opportunity and growth of the automotive industry. However, developing the production process and offer the right service to match with the customer behavior will be the crucial points of the future of automotive business.


10

Industry Trends ตุลาคม - ธันวาคม 2560

ขับเคลื่อน ดิจิทัลกับการเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมยานยนต์ การปรับเปลี่ยนสู่ Digital transformation in automotive industry นั้น แม้จะ เป็นความท้าทายต่อผูป ้ ระกอบการทีเ่ กีย ่ วข้อง แต่ขณะเดียวกันก็มผ ี ป ู้ ระกอบการ จ�ำนวนไม่น้อยที่ประเมินถึงความคุ้มค่าที่จะเกิดขึ้น และเริ่มลงทุนปรับเปลี่ยน รู ป แบบการผลิ ต ต่ า งๆ เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของผู ้ บ ริ โ ภคไป บ้างแล้ว โดยค�ำนึงถึง 3 ปัจจัยที่ส�ำคัญ คือ พฤติกรรมการบริโภค นวัตกรรม และเทคโนโลยี และการบริหารจัดการสมัยใหม่ อาทิ

1. เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภค โดยนักเดินทางสามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆ จาก เทคโนโลยีการสือ่ สารไร้สาย โดยการวิเคราะห์ขอ้ มูล ตลอดจนระบบ Cloud computing กับ เทคโนโลยีใหม่ ซึง่ ได้รบั ความชืน่ ชมอย่างมาก กระทัง่ ถูกพัฒนาต่อยอดไปยังอุตสาหกรรม ยานยนต์ เช่น รถยนต์รุ่นใหม่ๆ มีการใส่ระบบการวางแผนการเดินทาง การเชื่อมต่อ ข้อมูลจากมือถือและระบบภายในรถยนต์ อาทิ Apple ได้มีการสร้างซอฟต์แวร์ Apple’s CarPlay ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันที่จะท�ำให้นักเดินทางเข้าถึงระบบความบันเทิงและข้อมูล ต่างๆ เป็นต้น นอกจากนีย้ งั มีคา่ ยรถยนต์ใหญ่อย่าง Jaguar และ Land Rover ทีน่ ำ� เสนอ ระบบใหม่ให้ผู้ขับขี่สามารถบังคับรถผ่านเครื่องมือสื่อสารได้อีกด้วย

IOT

2. เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยี ในช่วงหลายปี ทีผ่ า่ นมามีการคิดค้นระบบ Driverless car or autonomous vehicle (AV) ซึ่งเป็นระบบการจัดการเชื่อมต่อระบบ ต่างๆ ให้ท�ำงานร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นการใช้เรดาร์ กล้อง และเซ็นเซอร์ การสแกน ระบบ GPS เพื่อเชื่อมต่อกับ ระบบการเดินทางสาธารณะต่างๆ ตัวอย่างเช่น บริษัท General Motors ได้มีการคิดค้นระบบช่วยเหลือผู้ขับขี่ รถยนต์รายใหม่ เช่น ระบบช่วยขับขี่ไม่ให้ข้ามเลน ระบบ ช่วยในการจอดรถ นอกจากนีย้ งั มีนวัตกรรมอืน่ ๆ ทีพ่ ฒ ั นาไปพร้อมกันด้วย อาทิ ระบบแฮนด์ฟรีเมื่อขึ้นทางด่วน จะท�ำให้รถวิ่งด้วย ความเร็วเท่ากันตลอดเส้นทาง หรือการขับขี่ด้วยตนเอง Self-driving ได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่อง โดยเป็นระบบ ที่ช่วยการขับขี่ให้ปลอดภัยที่พัฒนาโดย Google Auto LLC เป็นต้น


eco challenge magazine October - December 2017

11

3. เกี่ ย วกั บ การบริ ห ารจั ด การ ระบบดิ จิ ทั ล อาจผลั ก ดั น ให้ รูปแบบการบริหารจัดการทางธุรกิจมีพัฒนาการมากขึ้น เช่น การ ขยายบทบาทจากผู้รับจ้างผลิต (OEM) จากเดิมที่เป็นแบบ B2B อย่างเดียวไปเป็นผู้บริโภคโดยตรงได้ด้วย ขณะที่บางกลุ่มสร้าง ความร่วมมือในการที่จะน�ำระบบดิจิทัลมาใช้ในกระบวนการผลิต เพือ่ ลดต้นทุนส่วนเกินต่างๆ โดยใช้ 3D ซึง่ นอกจากท�ำให้คณ ุ ภาพ การผลิตเพิ่มขึ้นแล้ว ยังลดต้นทุนของสินค้าอีกด้วย นอกจากนีย้ งั มีความพยายามเชือ่ มโยงการขายกับผูบ้ ริโภคโดยตรง ซึ่งผู้บริโภคอาจได้รับประโยชน์จากการสร้างประสบการณ์ตรง ก่อนซื้อสินค้า เช่น การทดลองขับ การก�ำหนดรายละเอียดใน ยานยนต์ ซึ่งจะสร้างความเฉพาะตัวของสินค้าได้ การพูดคุยที่ บ้านของลูกค้าแทนทีจ่ ะไปทีโ่ ชว์รมู หรือผ่านทางระบบดิจทิ ลั (วิธนี ี้ Honda น�ำไปใช้บริการที่อินเดียแล้ว) เป็นต้น

Digital transformation in automotive industry Digital transformation in automotive industry is the challenge to all players in the industry, yet many automotive entrepreneurs are questioning on the value of return on investment by starting invest in adjustment on production process to meet the customer expectations. These 3 key factors are the important points to be considered. 1) Consumption Behavior. All travelers can easily access the data with wireless communication technology, data analytics, and cloud computing is relatively popular today. Digital technology is part of new car production by installing the intelligent route planning system; it connects the data between mobile phone and the car system. Through OEM partnerships, Apple’s CarPlay software gives drivers wireless access to certain iOS features directly from the vehicle’s builtin infotainment system. Besides, the big automotive players, Jaguar and Land Rover have introduced self-learning intelligent cars by Integrating with the users’ mobile phones, it can change comfort controls, entertainment choices, and offer navigation guidance. 2) Innovation and Technology. Over the past years the driverless car or autonomous vehicle (AV) is invented, operated by millimeter-wave radars, cameras, ultrasonic sensors, LIDAR scanners, GPS technology, vehicle-to-vehicle and vehicle-to-infrastructure connectivity, and proprietary algorithms working seamlessly together to perform the entire dynamic driving task in all situations and conditions throughout an entire journey. For instance, the General Motors created the assisted driving feature such as crash avoidance, lane warning, and automatic parking assistance. Additionally, there are many developments of innovation technology, such as hand-free driving on the toll-way with

ทั้งนี้แม้ยังไม่อาจสรุปได้ว่า Digital transformation ส่งผลต่อ อุตสาหกรรมยานยนต์มากน้อยเพียงใด แต่การมีโครงสร้างพืน้ ฐาน ออกมารองรับแนวคิดเหล่านี้ในหลายประเทศแล้ว ก็ท�ำให้มั่นใจ ได้ว่า การเปลี่ยนแปลงไปสู่ Digital transformation ไม่ใช่เรื่อง ไกลตัวอีกต่อไป และผู้ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยานยนต์ก็ต้อง ปรับตัวให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงนี้ให้รวดเร็วพอ หากไม่อยาก ตกขบวน Digital Trends นี้ controlling the same speed along the journey or other technology called “self-driving” which develop by Google Auto LLC to navigate themselves through mixed traffic conditions on all roads and highways. 3) Modern Management. Digitization will likely drive substantial improvements in the value chain through enhanced efficiencies. For example, OEMs seek to expand themselves from B2B through their dealerships to a businessto-consumer model. Another example is 3-D printing. It is bound to play a greatly expanded role in parts production to reduce cost. Other digital disruptive retail model offers the end user connect directly with the company. Honda is among the OEMs in India transferring the whole purchase experience through digital technology to the customer’s home. All discussion about colors and options, test drive and the negotiation are done at the customer’s home. The buyer never needs to step into the showrooms. Although it is hard to conclude that digital transformation will affect the automotive industry in which level. Many countries prepare their infrastructure to support this concept. The transition of digital transformation is not the visualization anymore but all automotive players have to adapt quickly to the new challenge of the digital trend.


12

Talent Development ตุลาคม - ธันวาคม 2560

จับตา

Digital Park และนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรม ดิจิทัลระดับอาเซียน

DIGITAL IN SOUTHEAST ASIA TOTAL POPULATION

644.1

MILLION URBANISATION:

48%

INTERNET USERS

ACTIVE SOCIAL MEDIA USERS

MOBILE ACTIVE MOBILE SUBSCRIPTIONS SOCIAL USERS

339.2 305.9 854.0 272.6

MILLION PENETRATION:

53%

MILLION MILLION MILLION PENETRATION: vs. POPULATION: PENETRATION:

47%

133%

42%

DIGITAL GROWTH IN SOUTHEAST ASIA INTERNET USERS

ACTIVE SOCIAL MEDIA USERS

MOBILE SUBSCRIPTIONS

ACTIVE MOBILE SOCIAL USERS

ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ดิจิทัลในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกเติบโต เพิ่มขึ้น 15% โดยมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจ�ำนวนกว่า 1.9 พันล้าน คน ผลการวิจัยเหล่านี้เป็นข้อพิสูจน์ถึงความเร็วการเชื่อมต่อแบบ ดิจิทัลและอุปกรณ์เคลื่อนที่ก�ำลังมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง ชีวิตของผู้คนในภูมิภาค ขณะที่ผู้บริโภคชาวเอเชียในปัจจุบัน ใช้สื่อสังคมออนไลน์มากกว่า 1.4 พันล้านราย โดย 95% เข้าถึง แพลตฟอร์ ม ผ่ า นโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ และคาดว่ า อี ก ไม่ น านผู ้ ใช้ อินเทอร์เน็ตใหม่ๆ ในภูมิภาคจะเป็นกลุ่มที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ เท่านั้น ส� ำ หรั บ ในปี ที่ ผ ่ า นมา พบว่ า ผู ้ ใช้ สื่ อ สั ง คมออนไลน์ ใ นเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียนเพิ่มขึ้น 31% โดยมีผู้ใช้บริการ สังคมออนไลน์จ�ำนวน 72 ล้านคน มีบรูไนเป็นผู้น�ำในการใช้สื่อ สังคมออนไลน์ โดยเป็นอันดับ 3 ในการจัดอันดับโลก รองจาก กาตาร์และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ขณะที่ชาวสิงคโปร์มีผู้ใช้สื่อ สังคมออนไลน์มากกว่าสามในสี่ ส่วนลาวและพม่ามีการใช้สื่อ สังคมออนไลน์หนึ่งในสี่

การเชื่อมต่ออุปกรณ์เคลื่อนที่ +31%

SINCE JAN 2016

+31%

SINCE JAN 2016

+80 MILLION +72 MILLION

+8%

SINCE JAN 2016

+62 MILLION

+36%

SINCE JAN 2016

+73 MILLION

ทั้งนี้ การสมัครสมาชิกโทรศัพท์มือถือในภูมิภาคอาเซียนเติบโต ดีกว่าค่าเฉลี่ยทั่วโลก อีกทั้งแนวโน้มผู้ใช้จ�ำนวนมากจะยังคงมี sim ที่ใช้งานอยู่มากกว่าหนึ่ง sim โดยพบว่าในแต่ละประเทศ มีการเชื่อมต่อบรอดแบนด์ยังอยู่ที่ 45 เปอร์เซ็นต์ของจ�ำนวน


eco challenge magazine October - December 2017

13

Digital Park and the ASEAN Digital development Policies

Digital growth has been accelerating over the past 12 months in Asia Pacific up to 15% , with the number of internet users around the region of more than 1.9 billion people. The latest data showed that the speed broadband connectivity and mobile devices are changing the lives of people in the region. More than 1.4 billion Asian consumers now use social media, with 95% of them accessing platforms via mobile devices and it’s likely pass that milestone in the future, with most new internet users in the region now mobile-first and only. Social media users in Southeast Asia (ASEAN) also grew by 31% over the past year, with 72 million people using social platforms. Brunei ranks the third of social media use behind Qatar and the United Arab Emirates. Meanwhile, Singaporeans use social medial more than three-quarters and one-quarter of the populations of Laos and Myanmar are using social media today.

สมาชิกทั้งหมด ซึ่งหมายความว่าการเชื่อมต่อข้อมูลแบบเคลื่อนที่ ส่วนใหญ่ท�ำงานช้าเกินไปเพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการส่งข้อความ แบบ over-the-top (OTT) กรณีเช่นนีท้ ำ� ให้ในบางประเทศ อาทิ กัมพูชา จึงยังคงมีการสมัครรับข้อมูลทีใ่ ช้งานอยูก่ บั ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์มอื ถือ มากกว่าหนึ่งรายซึ่งช่วยให้พวกเขาสามารถใช้ประโยชน์จากข้อเสนอ ภายในเครือข่ายและบริการแบบรวม ทัง้ หมดนีแ้ สดงให้เห็นถึงช่องทาง และโอกาสการเติบโตของธุรกิจบรอดแบรนด์อีกมากในอาเซียน การเติบโตของแพลตฟอร์มแบบศูนย์รวมทีเ่ น้นอุปกรณ์เคลือ่ นที่ อาทิ WeChat ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกันหลากหลายรูปแบบในเครื่องเดียว ได้รับความนิยมอย่างสูงในประเทศจีน และดูเหมือนว่าจะเริ่มเข้ามา ใช้แพร่หลายในอาเซียนด้วย แต่ถงึ กระนัน้ ตลาดยังคงเปิดกว้างส�ำหรับ แบรนด์อื่นที่สามารถตอบสนองแรงจูงใจและพฤติกรรมที่แตกต่าง ออกไปของลูกค้าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อยู่ ไม่วา่ จะเป็นการสร้าง สินค้าหรือบริการใหม่ๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากเทคโนโลยีใหม่ๆ หรือแม้แต่การ เชื่อมต่อที่ดียิ่งขึ้น เช่น อีโมจิและสติกเกอร์ วิดีโอสตรีมมิงสดกับภาพ ซ้อนทับแบบเรียลไทม์ซง่ึ คล้ายกับ Line ของ Snapchat หรือการโต้ตอบ ระหว่างผู้ใช้ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สิ่งเหล่านี้จะเป็นตัวกระตุ้น ให้เกิดการใช้ดิจิทัลมากขึ้นทั้งสิ้น ด้วยเหตุผลเหล่านี้ท�ำให้หลายประเทศในอาเซียนต้องปรับตัวเพื่อ รองรับอุตสาหกรรมดิจิทัลขนานใหญ่ โดยเฉพาะการจัดให้มี Digital Park

Mobile Connectivity

In Southeast Asia, the number of the mobile subscriptions grew well ahead of the global average and it’s likely that many users continue to carry on more than one active SIM. In some country, broadband connections are still in the minority at 45% of all subscriptions, meaning that most mobile data connections are too slow to facilitate over-the-top (OTT) messaging and VOIP services, which likely caused most Cambodians, continue to keep going active subscriptions with more than one mobile service provider, which allows them to take advantage of intranetwork deals and bundled services. As a result, there’s still plenty of room for growth in the mobile broadband market in this region. The growth of integrated of the mobile-centric platforms such as WeChat that bring a variety of connected services together into one offering, this platform is popular in China and likely expand to ASEAN. However, the market remains wide open for any brand that can address the distinction of the Southeast Asian customer’s motivation and behavior. There are many more players looking to carve out their niche market by offering the new products and services with new technology and improved connectivity to deliver the next iteration of emoji and stickers, live-streaming video with real-time overlays – much like Snapchat’s lenses or Line chat, so things are rising up the number of digital usage. As the digital grow rapidly in this region, there are many countries had transformed their structures to build a Digital Park.


14

Talent Development ตุลาคม - ธันวาคม 2560

มาเลเซียกับการเปิดเขตเศรษฐกิจ ดิจิทัลเสรีแห่งแรกของโลก นาจิบ ราซะก์ นายกรัฐมนตรีมาเลเซียประกาศว่า สิ่งที่ก�ำลัง จะเกิ ด นั้ น ถื อ เป็ น เขตเศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล เสรี แ ห่ ง แรกของโลก (Digital Free Zone) บนพืน้ ทีม่ ากกว่า 60 เอเคอร์ เป็นการผนวก กิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ การค้ า ระหว่ า งโลกเสมื อ นกั บ โลก ใบจริงเข้าไว้ด้วยกัน โดยรัฐบาลมาเลเซียร่วมกับแจ๊ค หม่า เจ้าของอาลีบาบา ผลักดันให้ Digital Free Trade Zone เริ่มต้น ก่อสร้างและเปิดตัวความร่วมมืออย่างเป็นทางการเมื่อเดือน พฤศจิกายน ปี 2017 นี้ ซึง่ จะช่วยส่งเสริมการค้าดิจทิ ลั ยุคใหม่ ทั้ง e-commerce และ e-payment อย่างจริงจัง ซึ่งเศรษฐกิจ ดิจิทัลและตลาดใหม่เชื่อมจีน-อาเซียนนี้จะปรากฏรูปธรรมว่า การเชื่ อ มการค้ า -การเงิ น -การบริ ก าร โดยจะกลายเป็ น เทคโนโลยีการเงินยุคใหม่ที่สร้างสีสันและเปลี่ยนรูปแบบชีวิต อย่างมาก หากมาเลเซียสามารถเป็นศูนย์กลางระดับภูมภิ าคทีเ่ ชือ่ มต่อกับ Hub ภูมิภาคอื่นๆ ได้แล้ว คาดว่าปริมาณการขนส่งสินค้าทาง อากาศของมาเลเซียจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า จากระดับปัจจุบัน ประมาณ 7 แสนตันต่อปี เป็น 1.3 ล้านตันต่อปี ภายในสิบปี นอกจากนี้ยังเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินค้าจาก 6 ชั่วโมง เป็น 3 ชั่วโมง ในส่วนของบริการ (Service Level Agreement: 90%) (SLA) และในส่วนปรับปรุง Cargo Terminal Operations (CTO) จาก 4 ชั่วโมง เป็น 90 นาที การก่อตัง้ เขตเศรษฐกิจดิจทิ ลั เสรีแห่งแรกของโลก เป็นนโยบาย ด้ า นภาษี ที่ ดึ ง ดู ด และจู ง ใจให้ เ กิ ด การค้ า และบริ ก ารใหม่ บนโลกอินเทอร์เน็ตและดิจทิ ลั โดยจะลดภาษีเพือ่ ให้คนเข้าถึง สมาร์ ท โฟนและคอมพิ ว เตอร์ อี ก ทั้ ง เพิ่ ม ระดั บ ความเร็ ว ของสัญญาณบรอดแบนด์ให้สงู ขึน้ ตลอดจนส่งเสริมนวัตกรรม ใหม่ๆ โดยเน้นเงินทุนเงินอุดหนุนไปที่กลุ่ม SMEs และ Start Up เป็นส�ำคัญ อันที่จริงแล้วไม่ใช่แค่มาเลเซียประเทศเดียวที่ต้องเร่งขยับ ตั ว เองรั บ คลื่ น ความเปลี่ ย นแปลงใหญ่ ยุ ค เศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล ไทยเราเองก็ขยับไปก่อนแล้วจากการตั้งกระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม การประกาศใช้ระบบ Prompt pay ซึง่ เป็น e-payment ภาครัฐ ฉะนั้ น ห้ ว งเวลานี้ เป็ น จั ง หวะที่ ท ้ า ทายของสถาบั น การเงิน แบบเดิมอย่างยิง่ การโอนเงินผ่านแอปพลิเคชันโดยประชาชน ประเทศหนึง่ ไปยังประชาชนอีกประเทศหนึง่ ผ่านหน้าจอมือถือ ก�ำลังเคลื่อนมาแทนที่บัตรเครดิตและบัตรเดบิตผ่านสถาบัน การเงินแบบเดิม นี่เป็นภาพใหญ่ที่ก�ำลังเคลื่อนโถมทับเข้ามา ในกระแสที่ดิจิทัลก�ำลังมาแรง

STARTUP

SME

PROMOTION

Malaysia Redefines Cross-Border Trade with Digital Free Trade Zone

Dato’ Sri Mohd Najib Tun Abdul Razak, the Prime Minister of Malaysia, together with Jack Ma, founder and Executive Chairman of Alibaba Group, launched the world’s first Digital Free Trade Zone (DFTZ) which will be developed over a 60-acre plot. DFTZ will provide physical and virtual zones to facilitate SMEs to capitalize on the convergence of exponential growth of the internet economy and crossborder. The physical zone comprises of the eFulfillment Hub and Satellite Services Hub while the virtual zone consists of the eServices Platform. It also marks a new phase of collaboration between Malaysian and Chinese businesses through the goods trading provide services, e-commerce and e-payment activities. The eFulfillment hub at KLIA Aeropolis DFTZ Park is expected to double the growth in Malaysia’s air cargo volume from the current level of about 700,000 tons a year to 1.3 million tons a year within ten years. Adding KLIA Aeropolis DFTZ Park will optimize border clearance and handling from 6 hours to 3 hours with 90% Service Level Agreement (SLA), and improve Cargo Terminal Operations (CTO) from 4 hours to 90 minutes With the announcement of Budget 2017, there was a introduction of the world’s first digital free trade zone and digital hub, which aim to boost SME and Start UP competitiveness in the digital Malaysian internet business, which include the tax benefit of buying smartphones/tablets & Internet subscriptions, developing the facilities to support the high speed internet broadband and support new initiative business model. At the regional level, Thailand also takes a similar stance of digital transformation by established the Ministry of Digital Economy and Society and rolled out a national digitalpayment system- PromptPay. A great success of national money transfer and e-payment system through the mobile phone between individuals and between individuals and businesses would also be more effective, convenient, and secure. This will lead to the big challenge of digital technology for the banking business.


15

eco challenge magazine October - December 2017

จีนกับนโยบายอุตสาหกรรมเทคโนโลยี ขณะที่เทคโนโลยี 4G ที่เริ่มใช้ในปี 2010 โดดเด่นเรื่องความเร็ว ในการใช้โมบายอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยี 5G ถือเป็นเทคโนโลยี สื่อสารยุคถัดไป ผู้ให้บริการโทรคมนาคมทั้งในประเทศญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป และจีน ต่างก�ำลังพัฒนาเทคโนโลยีนี้อย่าง เต็มที่ เพื่อจะผลักดันให้เปิดใช้บริการได้จริงในอีก 5 ปีข้างหน้า โดยสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศหรือ ITU ก็เริม่ มีนโยบาย เกี่ยวกับการวางมาตรฐานเทคโนโลยี 5G แล้วเช่นกัน

5G

มีการคาดการณ์ว่าในปี 2568 ความต้องการใช้ข้อมูลจะเพิ่มขึ้น จากปี 2553 ถึง 1,000 เท่า เทคโนโลยี 5G จะกลายเป็นสิ่งส�ำคัญ ที่สามารถรองรับความต้องการข้อมูลปริมาณมากนั้นได้ ส่งผล ให้การเชื่อมต่อท�ำได้ทีละมากๆ อย่างมีคุณภาพและความเร็วสูง ประเทศจีนเป็นตลาดอินเทอร์เน็ตที่ใหญ่ที่สุดของโลกและคาดว่า จะเป็นผู้น�ำในการใช้ 5G ทั่วโลก รวมถึงเป็นผู้น�ำในการพัฒนา แนวคิด IoT (Industrial Internet of Things) อีกสิบปีข้างหน้า ทั้งนี้ จีนและสหภาพยุโรปก�ำลังด�ำเนินการร่วมกันทั้งในด้านการวิจัย และการทดลองใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถของตัวเอง เพื่อให้ 5G IoT มีความเร็วที่สุด ซึ่งนอกจากจะเกี่ยวกับเรื่องของ แพลตฟอร์มแล้ว ยังรวมถึงกลยุทธ์ต่างๆ ที่จะสนับสนุน 5G ผ่าน การสื่อสารบนมือถือในอนาคตด้วย การวิจัยร่วมและความร่วมมือทางธุรกิจและการลงทุนร่วมกัน ใน Internet ของโทรคมนาคม เน้นให้เกิดการเจรจาในหมู่ผู้น�ำ อุตสาหกรรมและผู้แทนระดับสูงของสถาบันยุโรปและรัฐบาลจีน เพื่อให้พร้อมรับทั้งเทคโนโลยีเก่าและใหม่ ขณะที่การพัฒนาจะ ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจให้เติบโตมากขึ้น การก้าวสู่ 5G จะท�ำให้ เกิดการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานอีกมาก โดยหน่วยงานภาครัฐ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องมีการวางแผนการพัฒนาทางด้าน เทคโนโลยีใหม่ ทั้งการพัฒนาคนให้พร้อมและตระหนักถึงการใช้ เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์สูงสุดด้วย

China Techno industry policy

As a revolutionary technology in the communication development history, 4G has been launched in 2010 with high speed internet technology. Recently, many communications service providers in Japan, USA, Europe, and China has made a lot of effort in developing 5G technology, the next generation commercial network. On a global scale, International Communication Union (ITU) has finalized “Vision” of the 5G mobile broadband connected society and their “IMT5050 and beyond” program sets to develop the global standardization for 5G. Recently, the forecast predicts that that the demand for data capacity will likely be 1,000 times in 2025. This 5G technology will be the crucial technology of huge data transferring, super-fast, and transformative power of high bandwidth data. China has the world’s largest internet market by subscriber and network size and will be leading the new revolution of mobile technology, 5G mobile networks are going to open up new experiences and possibilities for the Internet of Things (IoT), media businesses, and consumers in the next ten years. Adding, China and the European Union (EU) signed a key partnership on developing 5G, including creating platform, strategy and future mobile communication network. The European and Chinese research and innovation ecosystems, mainly related to the key strategic domains of 5G and IoT, promoting the collaboration of the major Internet players, telecom operators and high tech companies from China and the EU together with high level executive leaders from government and private sector to support the investment of standard infrastructure, new technology and people.


16

Talent Development ตุลาคม - ธันวาคม 2560

บริษัท GE เปิดศูนย์ปฏิบัติการ Asia Digital Operations Center แห่งแรก ในสิงคโปร์ บริษัท GE (General Electric) เปิดศูนย์ปฏิบัติการ Asia Digital Operations Center แห่งใหม่ ศูนย์นจี้ ะเป็นแห่งแรกในเอเชียที่ GE สนับสนุนบริการและการด�ำเนินงานด้านไอทีทั่วโลก นอกจากนี้ ยังเป็นจุดเริ่มต้นของการลงทุนและความมุ่งมั่นของ GE ในการ พัฒนาขีดความสามารถด้านอุตสาหกรรมดิจทิ ลั ในสิงคโปร์ซงึ่ เป็น กลุ่มที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์ก โดย Asia Digital Operations Center แห่งใหม่จะให้บริการโครงสร้างพื้นฐานด้าน ระบบวิศวกรรมและระบบไอทีสำ� หรับ GE อีกทัง้ ยังเป็นการพัฒนา Industrial Internet of Things (IoT) และการประยุกต์ใช้แอปพลิเคชัน อัจฉริยะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานมากขึ้น ทั้งนี้ GE ได้ลงนามข้อตกลงกับ Spring Singapore ซึ่งเป็นศูนย์ ผู้ประกอบการสถาบันการศึกษาของสิงคโปร์ เพื่อสร้างขีดความ สามารถด้านอุตสาหกรรมดิ จิทัลในสิงคโปร์และภูมิภาค โดย ผู ้ เชี่ ย วชาญด้ า นวิ ศ วกรรมและระบบดิ จิ ทั ล จากทั้ ง สองบริ ษั ท จะออกแบบสร้างเครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูลและปัญญาประดิษฐ์ เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง สมรรถนะการด� ำ เนิ น งานเพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า ประหยั ด ค่าใช้จ่ายจากการบ�ำรุงรักษาได้เพิ่มขึ้น การร่วมมือกับ Spring Singapore ในการพัฒนาโครงการต่างๆ ของธุรกิจ SME/Start-up incubation ถือเป็นโครงการที่ส่งเสริม แนวคิดและโซลูชั่นดิจิทัลที่เป็นนวัตกรรมใหม่ในพื้นที่เทคโนโลยี IoT ส� ำ หรั บ อุ ต สาหกรรมในสิ ง คโปร์ แ ละในภู มิ ภ าคอาเซี ย น อีกทั้งยังเพื่อให้ขยายอุตสาหกรรมแอปพลิเคชัน อุตสาหกรรม แบบดิจทิ ลั ผ่านตลาด Predix Market Place ซึง่ ท�ำให้ผเู้ ริม่ ต้นธุรกิจ ในท้องถิ่นและ SMEs สามารถหาลูกค้ารายใหม่หรือคู่ค้าภายใต้ ฐานข้อมูลลูกค้าทั่วโลกของ GE ได้

GE Opens first Asia Digital Operations Center in Singapore

General Electric (GE) opened the first Asia Digital Operations Center in Singapore, the center provides round-the-clock infrastructure, systems engineering and IT support. In addition, GE is partnering Singapore grid operator SP Group to develop capabilities in Industrial Internet of Things (IoT) and intelligent applications to enhance the reliability and efficiency of Singapore’s power network. GE also signed agreements with Spring Singapore to develop an incubation program for technology startups, and with Singapore Institute of Management’s entrepreneurship center, Platform E, to create tools that make use of data analytics and artificial intelligence to improve asset performance and reduce unplanned downtime in network operations, which will be cost saving for the customer for predictive maintenance. The collaboration between GE and with local partners will help the tech community manage the growing opportunities in Predix Market Place and that the group’s new center will provide Singaporeans with many exciting opportunities and business partner pf GE’s customer data based in the digital industrial economy.


eco challenge magazine October - December 2017

17

เขตส่งเสริมอุตสาหกรรม และนวัตกรรมดิจิทัล เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล คือ พื้นที่เศรษฐกิจ ใหม่ที่จะเป็นศูนย์กลางการค้าการลงทุนด้านอุตสาหกรรมและ นวัตกรรมดิจิทัลของภูมิภาค ที่มุ่งเน้นให้เกิดการลงทุนในธุรกิจ ดิจิทัลควบคู่กับการสร้างสรรค์นวัตกรรมดิจิทัลเชิงพาณิชย์ เพื่อ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอุตสาหกรรมดิจิทัลไทย ตลอดจนยกระดับ และพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมไอซี ที เ ดิ ม ไปสู ่ อุ ต สาหกรรมดิ จิ ทั ล ยุคใหม่ (New S-Curve Digital Industry) ที่เป็นกลไกส�ำคัญในการ เปลี่ยนผ่านประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมจึงศึกษาความเป็นไปได้ ของการจั ด ตั้ ง เขตส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมและนวั ต กรรมดิ จิ ทั ล รวมถึงจัดท�ำแผนแม่บทการขับเคลื่อนการด�ำเนินงานของเขต ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมและนวั ต กรรมดิ จิ ทั ล เพื่ อ ให้ เ ป็ น พื้ น ที่ เศรษฐกิจใหม่ทรี่ องรับการลงทุนในธุรกิจดิจทิ ลั อย่างสมบูรณ์แบบ และเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ให้กบั ทุกภาคส่วน ทั้ ง นี้ เ พื่ อ กระตุ ้ น ให้ เ กิ ด การปรั บ เปลี่ ย นการผลิ ต และพั ฒ นา เทคโนโลยีของธุรกิจดิจทิ ลั เดิมทัว่ ประเทศ ทัง้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และระบบบริการที่อาศัยการออกแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ ทีร่ องรับกับการพัฒนาเทคโนโลยีอจั ฉริยะ (Pervasive Intelligent Technology Architecture) ตลอดจนสนับสนุนให้มีการถ่ายทอด เทคโนโลยี จ ากระดั บ สากลให้ กั บ ธุ ร กิ จ ดิ จิ ทั ล ไทย โดยจั ด ท� ำ มาตรการส่งเสริมทั้งทางภาษีและมิใช่ภาษี และสร้างบรรยากาศ ที่เอื้อต่อการลงทุนภายในพื้นที่ Digital Park Thailand นอกจากจะเป็นยุทธศาสตร์ทางด้าน คมนาคมขนส่งและนิคมอุตสาหกรรมแล้ว ยังเป็นจุดยุทธศาสตร์ ที่ส�ำคัญทางด้านการสื่อสารความเร็วสูงของไทย เนื่องจากเป็น ทีต่ งั้ ของสถานีดาวเทียมและสถานีเคเบิลใต้นำ�้ ทีเ่ ป็นเส้นทางหลัก ของการเชื่อมไฟเบอร์ออปติกภายในประเทศกับต่างประเทศ ซึ่ง ในปัจจุบันประเทศสิงคโปร์และฮ่องกงเปรียบเสมือนศูนย์กลาง อินเทอร์เน็ต (Internet Hub) ของอาเซียน แต่หากพิจารณาตาม สถานที่ตั้งแล้ว ประเทศไทยถือว่ามีความได้เปรียบ เนื่องจาก การเป็นจุดเชื่อมต่อระบบเคเบิลใยแก้วใต้น�้ำไปยังต่างประเทศ ดังนั้นหากมีการพัฒนา Digital Park ที่เป็นรูปธรรมอย่างรวดเร็ว แล้ว ไม่เพียงจะส่งผลดีต่อโอกาสได้เปรียบทางการลงทุนเท่านั้น หากแต่ประสิทธิภาพด้านการสื่อสารที่จะต่อยอดไปยังสิ่งต่างๆ ยังอาจท�ำให้เรากลายเป็นศูนย์กลางด้านคมนาคมของอาเซียน ได้อีกด้วย

Digital Park Thailand

A new economic cluster in Thailand, Digital Park aimed predominately at digital business and technology industries for digital global players and digital biz innovators .This site will be the aspiration to create a complete digital ecosystem with clusters for digital media and immersive digital content. Adding, it will be strengthen industrial value chain leading to creation of future of the New S-Curve Digital Industry and it is essential key to meet the ambitions of Thailand 4.0. The Ministry of Digital Economy and Society have supported development and creation of infrastructure and digital plan to drive the digital economy in every dimension based on an integrated cooperation of all sectors in an attempt to be a partner across the region and country. The project will also support and complement existing industries, including hardware and software, providing further connectivity that will significantly boost the development with the Pervasive Intelligent Technology Architecture. Government will provide maximum incentive package both tax and non-tax measures and privileges for investors to do the business. Digital Park Thailand located on Eastern Economic Corridor (EEC), a special economic zone. The park is the center of ultra-high speed broadband infrastructure powered by CAT, with international submarine international submarine cable station, data center and satellite earth station cable station, data center and satellite earth station, it is likely developing as well as the ASEAN’s internet hubs in Singapore and Hong Kong. However, Thailand located in strategic location for submarine cable station. Ongoing major infrastructure improvements for Digital Park will be a significant transition which reflects a move from one society to another society with effective access to data and services through application of digital and innovation as a center park in this region.


18

Cover Challenge ตุลาคม - ธันวาคม 2560

Digit­al

Transformation

ในช่วง 1-2 ปีมานี้ ค�ำว่า Disrupt ไม่เพียงเป็นค�ำที่ติดหูมากขึ้นเท่านั้น แต่ยัง เป็นสัญลักษณ์การเปลี่ยนรูปแบบการแข่งขันโดยสิ้นเชิงอีกด้วย เนื่องจาก กระบวนการ Disrupt พิสูจน์ให้เห็นว่าสามารถส่งผลให้บริษัทมีอายุขัยเฉลี่ย สั้นลงจาก 60 ปี มาเป็น 18 ปี และสามารถสร้างบริษัทที่มีมูลค่าเกินกว่า 1,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ให้เติบโตขึ้นมาภายในเวลาไม่กี่ปี เมื่อเทียบกับสมัยก่อน ที่ต้องใช้เวลาหลายทศวรรษ ดังนั้นจึงปฏิเสธไม่ได้ว่าการด�ำเนินธุรกิจแบบเดิม จ�ำเป็นต้องเปลี่ยนและปรับตัวให้ก้าวทันอย่างรวดเร็ว หากยังต้องการอยู่บน ความเปลี่ยนแปลงนี้ต่อไป

ทั้งนี้แม้ที่ผ่านมาหลายองค์กรพยายามลงทุนด้านไอทีอย่างเข้มข้น แต่ทว่าผลลัพธ์ที่ได้ กลับไม่ได้ผลอย่างที่คิดไว้ ด้วยเหตุผลส�ำคัญที่ว่าเครื่องมือดิจิทัลต่างๆ เหล่านี้ไม่ได้ เปลีย่ นสิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ขององค์กร นัน่ ก็คอื วิธคี ดิ หรือความเชือ่ ของผูบ้ ริหารและพนักงาน ทุกคนในองค์กร ฉะนัน้ สิง่ ทีจ่ ะช่วยให้องค์กรสามารถด�ำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพในยุค ดิจติ อลได้ จึงจ�ำเป็นต้องท�ำ Digital Transformation ให้เกิดขึน้ กับองค์กรอย่างรวดเร็วทีส่ ดุ


eco challenge magazine October - December 2017

19

The past 1-2 years we have seen the word “disrupt” become only what we frequently heard, but also the symbol of ultimate change of competition. Disrupt process has proved to shorten the life span of companies from 60 to 18, on the other hand it can make companies with the value higher than 1,000 USD thrive within a few years which could take up to decades in the past. Thus we can see now that a company’s traditional operation should be transformed in order to keep up with the pace if it is surrounded by changes.

Digital Transformation คืออะไร Digital Transformation คือ การเปลี่ยนวิธีคิดอย่างมีกลยุทธ์ ให้เข้าไปถึง ฐานรากทุกส่วนในองค์กร โดย Digital Transformation ไม่ใช่เพียงเรื่อง เกี่ยวกับเทคโนโลยี หรือแค่วางโครงสร้างพื้นฐานด้านไอที หรือแม้แต่ เพียงแค่นำ� เทคโนโลยีมาใช้ในองค์กรเท่านัน้ แต่เป็นเรือ่ งเกีย่ วกับกลยุทธ์ และวิธีคิดใหม่ในการด�ำเนินการในองค์กร ซึ่งเป็นการคิดใหม่ในทุกมิติ และจ�ำเป็นต้องอาศัยการมีสว่ นร่วมของทุกคนในองค์กร ไม่ใช่แค่ตงั้ แผนก ดิจิทัลหรือมอบหมายให้คนใดคนหนึ่งท�ำ Digital Transformation เป็นลักษณะของกระบวนการน�ำเรื่องดิจิทัล เข้ามาสอดแทรกในการบริหารจัดการองค์กรและการท�ำงานต่างๆ ของ ทุกแผนกและของทุกคน โดยจะเริ่มต้นจาก Mindset เพื่อให้เข้าใจว่า 1. ในขณะที่ Disrupt เป็นเรือ่ งปกติทเี่ กิดขึน้ องค์กรก็ยงั สามารถคงอยูไ่ ด้ โดยใช้ ดิ จิ ทั ล กั บ เทคโนโลยี เ ป็ น ตั ว ผลั ก ดั น การด� ำ เนิ น งานให้ มี ประสิทธิภาพ 2. ความมีประสิทธิภาพด้วยการใช้ดจิ ทิ ลั ในกระบวนการท�ำงานนัน้ ท�ำให้ องค์กรประหยัดเงินทีร่ วั่ ไหลจากกระบวนการต่างๆ หรือกระบวนการ ที่ไม่เกิดประโยชน์ 3. เพื่ อ ดึ ง ดู ด พนั ก งานที่ มี ค วามสามารถ เพราะการที่ อ งค์ ก รมี ประสิทธิภาพและมีความน่าสนใจ ท�ำให้พนักงานใหม่ๆ หรือคนที่มี ความสามารถอยากไปท�ำงานด้วย เพื่อใช้เป็นที่แสดงความสามารถ ในตัวของพวกเขา

Despite the intense investment on IT, many organizations do not receive the expected results. Apparently digital devices do not change the most significant point of the organization. It is the mindset or belief of the management and everyone in the organization. What drives an organization to operate effectively in this digital era is what we call Digital Transformation which should happen in the organization as soon as possible.

What is Digital Transformation?

Digital Transformation is strategic thinking. It touches every part of an organization down to the root. Digital Transformation is not only technology related or IT infrastructure or the implementation of technology, but it is strategy related and an innovative thinking of how an organization must be operated. It covers all dimensions and involves everyone in the organization, not only the digital related department or a group of assigned persons. Digital Transformation is a process that incorporates digital in the management and tasks of every department and everyone. It should start with having a mindset to understand that: 1. Disrupt is a normal process. The organization is still there but driven by digital and technology to ensure effective operation. 2. The effectiveness from digital utilization is cost-saving and the organization can avoid unnecessary or useless spending. 3. It attracts competent employees. Effective and interesting organization is attractive for new people to work with as they would like to show how competent they are.


20

Cover Challenge ตุลาคม - ธันวาคม 2560

Systems of Intelligence

Empower your employees

Engage your customers

Optimize your operations

Transform your product

Digital Transformation ท�ำอย่างไร

How to Implement สิ่งส�ำคัญในการท�ำ Digital Transformation ให้ประสบความส�ำเร็จ Digital Transformation?

นอกจากต้องเข้าใจการแข่งขันในแต่ละอุตสาหกรรมว่าเปลี่ยนไป อย่างไรแล้ว ยังต้องทราบว่าเทคโนโลยีอะไรทีจ่ ะเข้ามามีบทบาท และเปลี่ยนรูปแบบในการแข่งขัน และส่งผลกระทบต่อองค์กร อย่างไรอีกด้วย นอกจากนี้องค์กรเองก็จ�ำเป็นต้องทบทวน เพื่อ ก�ำหนด Vision และ Mission ใหม่ รวมถึงค�ำนิยามและคุณค่า ในการด�ำเนินงานของตนเองให้สอดคล้องและทันกับการแข่งขัน ที่เปลี่ยนแปลงไป องค์กรต้องสร้างเพือ่ นร่วมงานแบบดิจทิ ลั ทีช่ าญฉลาด เพือ่ ท�ำงาน ร่วมกันกับพนักงานโดยการสร้างระบบสนับสนุนความฉลาดของ องค์กร (Smart Support System) ระบบสนับสนุนความฉลาด ขององค์กรจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถรวบรวมทรัพยากร ข้อมูลที่มีคุณค่าที่กระจัดกระจายอยู่อย่างกว้างขวางมหาศาลทั้ง ภายในองค์กรและภายนอกองค์กรมาสังเคราะห์เชิงลึกตามบริบท ของความรู้ที่ต้องการ เพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ขณะเดียวกันก็ต้องสร้างสภาพแวดล้อมของ การท�ำงานร่วมกันของพนักงานด้วย เพราะในช่วงของการเริ่มต้น ปฏิรูปองค์กรนั้น ขอบเขตการท�ำงานขององค์กรอาจจะยังไม่ ชัดเจนพอ

Disrupt ไม่เคยหยุด อั น ที่ จ ริ ง กระบวนการ Disrupt ทางธุ ร กิ จ เกิ ด ขึ้ น ตลอดเวลา ที่ผ่านมา อาทิ การเปลี่ยนแปลงจากกล้องฟิล์มมาเป็นกล้อง ดิจิทัล ที่ท�ำให้ธุรกิจกล้องดิจิทัลเติบโต และธุรกิจฟิล์มอย่างโกดัก ต้องล่มสลาย หรือการเปลีย่ นแปลงจากมือถือปุม่ กดมาเป็นมือถือ จอสัมผัส ท�ำให้ Apple ผงาดขึน้ มาเป็นผูน้ ำ� ตลาด ขณะทีเ่ จ้าตลาด เดิมอย่าง Nokia นั้นต้องขายธุรกิจทางมือถือทิ้งไป

Successful digital transformation requires only the understanding of how industrial competition has changed, but also what technology would play a big part to change that competition and how it could impact the organization. Moreover, the organization itself should review its vision and mission, definition, and value of its operation to align with the changing competition. The organization needs to create smart digital coworker to work with employees. Smart Support system should be established because it will enable employees to collect valuable information that is dispersed everywhere both inside and outside the organization to perform in-depth analysis in the context of required knowledge in order to make quick and effective decision. At the same time the harmonized atmosphere should be created as well because during the beginning of any transition, the scope of work is always ambiguous. To make digital transformation successful, the organization, specifically the management, should understand the following principles:

Disrupt never sleeps

Disrupt is actually in the air e.g. from films to digital camera. Digital camera business has been growing a great deal while Kodak films disappeared. Another example is the mobile phones with buttons have been replaced by touch screens and Apple has become the most powerful market leader while the former giant like Nokia had its mobile phone section sold.


eco challenge magazine October - December 2017

ทั้งนี้เพื่อให้กระบวนการท�ำ Digital Transformation ประสบความ ส�ำเร็จ ตัวองค์กรโดยเฉพาะผู้บริหารใหญ่ทั้งหลายนั้นต้องเข้าใจ หลักการต่อไปนี้คือ เข้ า ใจประสบการณ์ ข องผู ้ ค น โดยลดการคิ ด เกี่ ย วกั บ การใช้ เทคโนโลยีต่างๆ ลงบ้าง แต่หันมาเข้าใจและแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับ กลุ่มเป้าหมายขององค์กรเพิ่มขึ้น การมีวัฒนธรรมองค์กรที่ให้โอกาสความคิดเห็นต่างๆ หรือความ เป็นไปได้ในความคิดต่างๆ เพื่อให้ทุกคนรู้สึกว่าเขาคือส่วนหนึ่ง ที่ส�ำคัญขององค์กร ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ นโยบาย Google ที่ปล่อยให้พนักงานมีเวลาว่างเพื่อพัฒนาสินค้าหรือบริการใหม่ๆ ที่ตัวเองสนใจขึ้นมาจนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่เราใช้ทุกวันนี้ หรือ อีกตัวอย่างหนึ่งคือ Kodak เคยมีพนักงานที่คิดเรื่องกล้องดิจิทัล มาตั้งแต่ปี 1975 แต่ไม่มีใครสนใจ โดยเฉพาะเจ้านาย จนส่งผล ให้บริษัทต้องล่มสลายไปจากตลาดในที่สุด กระบวนการ Disrupt Business Model ตัวเองก่อนที่ใครจะท�ำ ตัวอย่างคือ การที่ Facebook ให้พนักงานพยายามคิดอะไรก็ได้ ที่ท�ำลาย Facebook ลง เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์หรือธุรกิจนี้ก่อนที่ จะมีใครท�ำขึ้นมา เป็นต้น

21

สร้างดิจิทัลเข้าไปในฐานรากขององค์กร โดยทุกคนต้องไม่มองว่า เรื่องดิจิทัลเป็นหน้าที่ของคนใดคนหนึ่ง หรือแผนกใดแผนกหนึ่ง ในองค์กร แต่จะต้องกลายเป็นเรื่องที่ทุกแผนกเรียนรู้และใช้งาน พร้อมมีความเข้าใจเหมือนกัน เมื่อมีความเข้าใจในเรื่องความ ส�ำคัญและใช้ดิจิทัลเป็นในทุกแผนกแล้ว ก็ยังต้องส่งต่อเพื่อหา ความร่วมมือกับภายนอกองค์กรด้วย จ้างคนที่มีความเข้าใจในเรื่องดิจิทัลเข้ามาเปลี่ยนองค์กรหรือให้ ค�ำปรึกษาในระดับบริหาร ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้กันเพื่อการ เปลีย่ นแปลงบริษทั ทีท่ ำ� ให้เข้าใจดิจทิ ลั มากพอ เช่น Disney จ้างคน จาก Twitter หรือ Facebook มาเป็นบอร์ด หรือ McDonald จ้าง อดีตผู้บริหาร Amazon และ Yahoo ไปเป็น Cheif Digital Officer หรือการหาเสียงแบบใหม่ของนักการเมืองอย่าง Obama อดีต ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ที่น�ำคนจาก Facebook มาเป็นที่ปรึกษา ในเรื่องการใช้ดิจิทัล เป็นต้น การใช้เครื่องมือที่เป็น Software ต่างๆ เพื่อให้สามารถท�ำงานได้ เร็วขึ้น ตัดสินใจได้เร็วขึ้น โดยเฉพาะเครื่องมือการท�ำงานดิจิทัล ต่างๆ ที่มีความ Real-time มากขึ้น

They should understand what experience people have gone through. They should know how to think less about technology and pay more attention to understanding and solving problems or target people.

They should come up with a Disrupt Business Model before anyone does it. For example, Facebook asked its employees to think of anything that could destroy Facebook in order to handle such destruction before anyone does it.

Organizational culture that encourages people to say what they think or lets everyone know that their idea can become possible is necessary. It makes everyone know they are a part of the organization. The most obvious example is Google. Google allows its employees to have free time to think about or innovate new products or services that they are interested in and yes these products and services are what we are using today. Another example is Kodak. There was once an employee who had an idea of digital camera since 1975 but no one cared, especially the bosses. As a result, the company disappeared from the market.

Incorporate digital to organization foundation. No one should ever think that digital is only someone’s job. It is everyone’s job to learn and use it with the same understanding. When everyone understands that it is significant and knows how to use it, advance to another step by seeking external cooperation. Hire someone with a thorough understanding of digital to help transform the organization or serve as an executive consultant. This is the common method when a company needs to change. For example, Disney invited people from Twitter or Facebook to become one of board committee. McDonald’s hired former executive of Amazon and Yahoo to work as Chief Digital Officer. The former US President Barak Obama ran his election campaign by asking Facebook people to serve as a digital consultant, etc. The use of software can fasten the works and decision makings, especially digital devices will be working more real-time.


22

Cover Challenge ตุลาคม - ธันวาคม 2560

บริบทของการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม เพื่อรองรับประเทศไทย 4.0 การเปลี่ยนแปลงองค์กรสู่ดิจิทัลให้ประสบความส�ำเร็จในระดับ องค์กรและระดับประเทศ จ�ำเป็นต้องอาศัยปัจจัย 2 ส่วน ได้แก่ ปัจจัยภายใน ซึ่งองค์กรสามารถควบคุมได้ เช่น พนักงานภายใน องค์กรขาดความรู้และความสามารถทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล หรือองค์กรขาดวัฒนธรรมในการท�ำงานที่พร้อมจะเปลี่ยนแปลง วิธีการหรือกระบวนการอยู่ตลอดเวลาและขาดความตั้งใจจริง ในการเปลีย่ นแปลงองค์กรสูด่ จิ ทิ ลั เป็นต้น ประการต่อมาคือ ปัจจัย ภายนอก ซึ่งมักจะเป็นปัจจัยที่อยู่เหนือการควบคุมขององค์กร เช่น การมีนโยบายสนับสนุนจากภาครัฐ กฎระเบียบทีเ่ ป็นอุปสรรค ต่อการเกิดนวัตกรรม แผนการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล เป็นต้น การสร้างพื้นที่ให้เกิดความส�ำเร็จที่สมบูรณ์ของ Digital transformation เพื่อให้เกิดบรรยากาศ (Ecosystem) โดยรวมที่เอื้อต่อ การพัฒนาในระดับประเทศนั้น จ�ำเป็นต้องอาศัยการขับเคลื่อนที่ สอดคล้องกันร่วมกันทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกองค์กร โดยเริม่ จากองค์กรควรจะเริม่ ปฏิรปู จากปัจจัยภายในก่อน โดยการ ให้พนักงานเข้ามามีส่วนร่วมในการก�ำหนดเป้าหมายและปฏิรูป องค์กรร่วมกัน ซึ่งถือได้ว่าเป็นปัจจัยพื้นฐานที่ส�ำคัญที่สุดปัจจัย หนึ่ง และต้องเปลี่ยนแปลงด้วยวิธีการแบบดิจิทัล จากนั้นภาครัฐ ก็ควรมีนโยบายรองรับองค์กรที่ขับเคลื่อนในลักษณะ Digital transformation ร่วมกัน โดยอาจจัดเป็นพื้นที่เฉพาะขึ้นมาเฉพาะ ดังเช่นการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอร์: Smart Park ที่ จ.ระยอง บริบทของการพัฒนาอุตสาหกรรมส�ำหรับรองรับ S-Curve และ New S-Curve ซึ่งเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่อ อนาคต และเป็นเครื่องมือในการผลักดันให้ประเทศก้าวเข้าสู่ ประเทศไทย 4.0 ซึ่งจะเป็นการต่อยอดจาก 5 อุตสาหกรรมเดิม ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์

อัจฉริยะ อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วกลุม่ รายได้ดแี ละการท่องเทีย่ ว เชิงสุขภาพ การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรม แปรรูปอาหาร เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่ไทยมีฐานการผลิต อยู่แล้วหรือมีศักยภาพในการพัฒนาสูง ผู้ประกอบการสามารถ พัฒนาต่อยอดการผลิตได้งา่ ยกว่า หรือใช้เงินลงทุนน้อยกว่า ได้แก่ 1. อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ (Robotics) ได้แก่ หุ่นยนต์ที่ใช้ใน อุตสาหกรรมต่างๆ อุตสาหกรรมยานยนต์ หุน่ ยนต์ดา้ นการแพทย์ 2. อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ (Aviation and Logistics) ได้แก่ กิจการสาธารณูปโภคและบริการเพื่อการขนส่ง ศูนย์รวม กิจการโลจิสติกส์ทันสมัย การบริการและซ่อมบ�ำรุงอากาศยาน (Maintenance, Repair and Overhaul: MRO) อุตสาหกรรม การผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน ธุรกิจมูลค่าสูงที่ต้องการความเร็ว จากการขนส่งทางอากาศ (Time Sensitive Product) อากาศยาน ไร้คนขับ (Drone) การผลิตชิ้นส่วนอากาศยานระบบน�ำทางต่างๆ เป็นต้น 3. อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (Biofuels and Biochemicals) ได้แก่ อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพครบวงจร เคมี ชีวภาพและพลาสติกชีวภาพ (Biochemical/Bioplastic) การพัฒนา เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)


eco challenge magazine October - December 2017

Digital Transformation in the Development of Industrial Estates for Thailand 4.0 Era

Successful digital transformation either organizationally or nationally requires 2 factors. Internal factor is controllable. For example, the employees lack of digital technology related knowledge, or the organization does not have a culture that makes everyone ready for changes or lacks of intention to implement digital transformation. External factor is mostly uncontrollable. For example, support policy from government, regulations that are innovation barriers, investment plan for digital infrastructure, etc. To create a place with completely successful digital transformation to establish an ecosystem that would facilitate national development needs a drive that integrates both internal and external factors. To start with, an organization should have internal transformation. Employees should be involved to set the goal and realize the transformation plan. This is considered one of the most significant transformation foundations. Changes must be made digitally. Government sector then regulates the policy that accommodates digital transformation. A specific area could be designated just like special economic zone in cluster: Smart Park, at Rayong province. Smart Park is a designated area to accommodate S-Curve and New S-Curve, which are the main mechanisms that drive economic into the future. It is also something that will realize Thailand 4.0. This is the expansion from the existing 5 industries: new automobile industry, smart electronics industry, high income tourism and healthcare tourism industry, agriculture and biotechnology, and food processing industry. They are the industries with capacity

4. อุตสาหกรรมดิจิทัล (Digital) ได้แก่ สมองกลฝังตัว (Embedded Software) ซอฟต์แวร์ช่วยในการบริหารจัดการ (Enterprise Software) เนือ้ หาดิจทิ ลั (Digital Content) ระบบความปลอดภัยในโลก ไซเบอร์ (Cyber Security) เทคโนโลยีอนิ เทอร์เน็ตเชือ่ มต่ออุปกรณ์ (Internet of Thing) เมืองอัจฉริยะ (Smart City) สื่อและแอนิเมชัน สร้างสรรค์ (Creative Media and Animation) 5. อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub) ได้แก่ การ บริการทางการแพทย์ การแพทย์ทางไกลผ่าน ICT เพือ่ การติดตาม ปรึกษา วินิจฉัย และรักษา การผลิตเครื่องมือแพทย์ ผลิตภัณฑ์ ส�ำหรับผูส้ งู อายุ การผลิตยา ยาประเภทชีววัตถุตน้ แบบ (Biologic) ชีววัตถุคล้ายคลึง (Biosimilar) เป็นต้น ทั้งหมดนี้คือสิ่งหนึ่งที่ยืนยันถึงการที่จะเข้ามามีบทบาทส�ำคัญใน อนาคตของ Digital transformation โดยจะเห็นได้วา่ ตราบใดทีม่ นุษย์

23

or potential already, and the entrepreneurs can expand their productivity more easily and require less capital investment. These industries include: Robotics: robots in various industries such as automobiles, medical robots, etc. Aviation and Logistics: infrastructure and communication service, modern logistics hub, maintenance, repair, and overhaul: MRO, aircraft parts manufacturing, time sensitive product, drone, navigating aircraft parts manufacturing, etc. Biofuels and Bio chemicals: Bio-Chemical / Bioplastic, Bioeconomy, etc. Digital industry: embedded software, enterprise software, digital content, cyber security, Internet of Things, smart city, creative media and animation Medical hub: medical service, remote medical service via ICT for monitoring, consultation, diagnosis, and treatment, medical equipment and supplies manufacturing for the elderly, Biologic or Biosimilar manufacturing, etc. All of these are something to confirm that digital transformation is coming soon. We can see that as long as human still keep thinking and coming up with new technologies, they need products and services that could meet the rapidly changing lifestyle. To catch up with these changes, the organizations need digital technology that accommodates such rapid changes. Therefore we can say that sooner or later, every business sector will transform itself into digital. However, it is those who can change right now that are likely to take advantage of the business in the future. So it is time now that every organization should review its goal and strategy and to seriously implement digital transformation to make sure that it will be thriving and standing strong in the rapidly changing world.

คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ ขึ้นอยู่ตลอดเวลา พวกเขาก็ยังคงต้องการ รูปแบบผลิตภัณฑ์และบริการที่สอดคล้องกับการด�ำเนินชีวิตที่ เปลีย่ นไปให้มากทีส่ ดุ การทีอ่ งค์กรทัง้ หลายจะก้าวทันความต้องการ ของผู้คนเหล่านั้นได้ทัน ก็จ�ำเป็นต้องมีระบบ Digital technology รองรับการปรับเปลีย่ นทีร่ วดเร็วด้วย ดังนัน้ คงไม่แปลกนักหากจะ กล่าวว่า ไม่วา่ ช้าหรือเร็วทุกภาคส่วนของธุรกิจต้องมีการปรับเปลีย่ น ไปสู่ดิจิทัลอย่างแน่นอน แต่ทว่าธุรกิจที่ปรับเปลี่ยนได้เร็วกว่า ในวันนี้ต่างหาก ที่สามารถมีแนวโน้มที่จะชิงความได้เปรียบทาง ธุรกิจได้ในอนาคต ฉะนั้นคงถึงเวลาแล้วที่ทุกองค์กรต้องทบทวน เป้าหมายและกลยุทธ์ในลักษณะ Digital transformation อย่าง จริ ง จั ง เพื่ อ ให้ ธุ ร กิ จ เติ บ โต มั่ น คงและอยู ่ ไ ด้ ท ่ ามกลางโลกที่ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว


24

Eco Explorer ตุลาคม - ธันวาคม 2560

Greening Industrial Parks A Case Study on South Korea’s Eco Industrial Park Program

นิคมอุตสาหกรรมสีเขียว กรณีศึกษาโครงการ เขตนิคมอุตสาหกรรมสีเขียวในประเทศเกาหลีใต้ ภายใต้กระแสภาวะ “ลดโลกร้อน” ดูเหมือนว่า “พื้นที่อุตสาหกรรม” จะถูกมองว่า มีส่วนสร้างผลกระทบให้เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจนที่สุด

แต่ในเมื่อเราไม่อาจหยุดยั้งการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมซึ่งผูกโยงกับระบบเศรษฐกิจสังคม โดยรวมได้ ท�ำให้มนุษย์เราต้องคิดหาวิธีที่จะท�ำให้พื้นที่อุตสาหกรรมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ได้อย่างลงตัว เฉกเช่นเดียวกับวิธีการที่ประเทศ “เกาหลีใต้” พยายามผลักดันให้การเติบโต ทางเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม ช่วงเวลาหลายทศวรรษทีผ่ า่ นมา พืน้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษนับมีสว่ นส�ำคัญต่อการเติบโตอย่าง รวดเร็วของประเทศเกาหลีใต้ แต่ถึงกระนั้นพื้นที่อุตสาหกรรมก็ส่งผลกระทบที่รุนแรงกับ สิง่ แวดล้อมในประเทศ จนเกิดผลเสียต่อประชาชนโดยรวมด้วยเช่นกัน ดังนัน้ รัฐบาลจึงก�ำหนด พื้นที่เฉพาะขึ้นส�ำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมที่จะมีบทบาทส�ำคัญในกระบวนการต่างๆ เรียกว่า Industrial Complex’s (ICs) โดยนอกจากจะเป็นกลไกการสร้างการเติบโตของประเทศแล้ว ยังเป็นพืน้ ทีท่ มี่ บี ทบาทส�ำคัญในการเปลีย่ นจากอุตสาหกรรมการผลิตเบาในทศวรรษที่ 1960 ไปเป็นอุตสาหกรรมหนักในทศวรรษ 1970 ขณะเดียวกันในปี 1980 ก็มุ่งเน้นด้านเทคโนโลยี และบริการเพิ่มเข้าไปด้วย


eco challenge magazine October - December 2017

25

Under the “Global Warming” trend, it seems like “industrial space” is considered to have the most impact on the environment. Since we cannot stop the development of the industry, which is linked to the overall economy, we must think about the ways to make the environment more environmentally friendly just like the way in which “South Korea” tries to drive economic growth along with environmental protection. Over the past several decades, the special economic zone has played an important role in the rapid growth of South Korea. Nevertheless, industrial space has had a severe impact on the environment in the country leading to the impact on the people. Therefore, the government sets up a niche specifically for industries that will play an important role in various processes. The area is called Industrial Complexes (ICs). Apart from serving as a mechanism of national growth, it is also a significant factor of transforming light manufacturing industry in 1960s to heavy industry in 1970s, and by 1980 its focus will be including technology and services. In the 1980s, the South Korean government began issuing regulations on emissions and environmental safety. Later, in 1990, legislation was introduced that laid the foundation for environmental policy that is the Act to promote an environmentally friendly industrial structure. The Ministry of Trade, Industry and Economy (MOTIE) is primarily responsible for implementing the National Clean Development Mechanism “The Korean National Cleaner Production Center (KNCPC)”. In particular, the 2003 Eco-Industrial Park (EIP) eco-industrial park project was designed to promote innovation and environmental sustainability. However, during the first two years of KNCPC’s ICs scheme, we found that private sector had not been quite cooperative due to the centralized government. Most of the action plans did not take key investor’s concern into account, resulting in slow growth rate.

ในช่วงปี 1980 รัฐบาลเกาหลีใต้เริ่มออกกฎระเบียบเกี่ยวกับการ ปล่อยมลพิษและความปลอดภัยด้านสิง่ แวดล้อมขึน้ ต่อมาในปี 1990 ได้ออกกฎหมายซึ่งถือเป็นรากฐานนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม นั่นคือ พระราชบัญญัติเพื่อส่งเสริมโครงสร้างอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม โดยมีกระทรวงการค้าอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจ (MOTIE) เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการด�ำเนินการผ่านศูนย์การผลิตที่สะอาด แห่งชาติเกาหลี The Korean National Cleaner Production Center (KNCPC) โดยเฉพาะโครงการที่เปิดพื้นที่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศในปี 2003 ที่ชื่อ The National Eco-Industrial Park หรือ EIP เพื่อส่งเสริม การพัฒนานวัตกรรมควบคูค่ วามยัง่ ยืนด้านสิง่ แวดล้อมของอุตสาหกรรม อย่างไรก็ดีการด�ำเนินงานใน ICs ช่วงสองปีแรกของ KNCPC นั้น พบว่าไม่ได้รับความร่วมมือจากภาคเอกชนเท่าที่ควร เนื่องจากระบบ การบริหารจัดการยังเป็นขั้นตอนทางราชการที่สั่งการจากส่วนกลาง ท�ำให้แผนปฏิบัติการส่วนใหญ่ไม่ค่อยค�ำนึงถึงความต้องการของ นักลงทุนหลัก ส่งผลให้อัตราการเติบโตมีไม่มากนัก


26

Eco Explorer ตุลาคม - ธันวาคม 2560

ออกแบบ EICs ในปี 2005 กระทรวงการค้าอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจจัดตัง้ The Korea Industrial Complex Corporation (KICOX) ขึ้นมาเป็นองค์กรส�ำหรับบริหารจัดการพื้นที่อุตสาหกรรม ICs ในโครงการ EIP โดยเฉพาะ ด้วยการระดมผู้มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน อุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อมเข้ามาท�ำงานร่วมกัน ท�ำให้ได้รับความร่วมมือจากภาค เอกชนทุกฝ่าย ทั้งผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไป ส่งผลให้ธุรกิจเกาหลีในขณะนั้น เริม่ ฟืน้ ตัวดีขนึ้ ไม่เพียงกลายเป็นพืน้ ทีศ่ นู ย์กลางด้านอุตสาหกรรมเท่านัน้ แต่ยงั เป็นพืน้ ที่ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ Eco Industrial Complex’s (EICs) ด้วย ทั้งนี้ KICOX มีการก�ำหนด เป้าหมายอย่างชัดเจนแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ตั้งแต่ปี 2005-2019 ได้แก่

ระยะที่ 1 (2005-2009) KICOX เน้ น สนับสนุนผูเ้ ชีย่ วชาญด้านต่างๆ เพือ่ พัฒนา ICs รวมถึงผลักดันให้เกิดการรวมทุนขยาย ธุรกิจในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน และดึงดูด บริษัทที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงให้เข้ามา ลงทุนใน ICs จากนั้นเมื่อโครงการ EIP เริ่ ม ปรากฏผลส� ำ เร็ จ อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม KICOX จึงวางแผนประชาสัมพันธ์โครงการ นี้ในระดับภูมิภาค เพื่อเสริมสร้างการมี ส่วนร่วมทางธุรกิจในวงที่กว้างขึ้น

ระยะที่ 2 (2010-2014) พบว่าได้รับความ ร่วมมือจากผู้ประกอบการและนักลงทุน มากขึ้นร้อยละ 57 เมื่อเทียบกับระยะที่ 1 เนื่ อ งจากมี ก ารอ� ำ นวยความสะดวกใน กระบวนการมาตรฐานต่างๆ ทั้ ง นี้ พื้ น ที่ เ ศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรมขยาย อย่ า งมากจากปี 1960 จนถึ ง ปี 2015 โดยมีพื้นที่กว่า 1,400 ตารางกิโลเมตร มี จ�ำนวนบริษัท 80,000 บริษัท ภายใต้พื้นที่ เศรษฐกิจอุตสาหกรรม ซึง่ สร้างผลตอบแทน ให้ กั บ ประเทศอย่ า งมหาศาล โดยเมื่ อ สิน้ สุดระยะที่ 2 เมือ่ ปี 2015 ปรากฏว่าพืน้ ที่ แห่งนี้สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจรวมทั้งสิ้น 928.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งคิดเป็น 63% ของจีดพี ที งั้ ประเทศ และมีการจ้างงาน เพิ่มขึ้นเป็น 1.2 ล้านคน นอกจากนี้ยัง พบว่าในปี 2005-2014 มีการลงทุนใหม่ๆ ในงานวิจัยและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อุตสาหกรรม ท�ำให้เกิดการสร้างงานกว่า 848 ต�ำแหน่ง รวมถึงส่งเสริมการพัฒนา เทคโนโลยี แ ละการขึ้ น สิ ท ธิ บั ต รใหม่ ถึ ง จ�ำนวน 56 ฉบับ และยังมีอกี กว่า 100 ฉบับ ที่รอการพิจารณา

ระยะที่ 3 (2015-2019) KICOX ได้รับ การยื่ น เสนอโครงการลงทุ น กว่ า 595 โครงการ โดย 388 โครงการ ได้รับทุน สนับสนุนในโครงการวิจัยและการพัฒนา เพิ่มเติม ส่วนอีก 197 โครงการ อยู่ใน ระหว่ า งพิ จ ารณา โดยทุ ก โครงการใน พื้นที่ Eco Industrial Complex’s จะต้อง มีการน�ำระบบ Industrial symbiosis (IS) ซึ่ ง เป็ น ระบบส� ำ หรั บ ลดมลภาวะต่ า งๆ เข้ามาปรับใช้กับการผลิตด้วย ส่งผลให้ พื้นที่แห่งนี้ได้รับประโยชน์ทั้งทางตรงและ ทางอ้อม ไม่ว่าจะเป็นการลดการปล่อย ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ จ� ำ นวน 6.48 ล้ า นตั น และก๊ า ซพิ ษ อื่ น ๆ กว่ า 1.09 ล้ า นตั น โดยบริ ษั ท ที่ เข้ า ร่ ว มโครงการ ได้รับผลประโยชน์ ท�ำให้มีรายได้เพิ่มขึ้น 1.85 ล้านล้านวอน หรือประมาณ 1.68 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เนื่องจากสามารถ ประหยั ด ทรั พ ยากรในการจั ด จ� ำ หน่ า ย ของเสีย


eco challenge magazine October - December 2017

EICs Design

In 2005, the Ministry of Trade, Industry and Economy established ‘The Korea Industrial Complex Corporation (KICOX)’ as the organization for managing industrial areas, ICs in the EIP program, by mobilizing the expertise of the industry and the environment to work together, the cooperation of all private sectors, entrepreneurs and the public. As a result, the Korean business started to recover. Not only it has become the industrial hub, it is also an ecoindustrial area ‘Eco Industrial Complex’s (EICs). The KICOX is clearly defined in three phases, from 2005 to 2019, including the Eco Industrial Complex’s (EICs).

KICOX

ทั้งนี้ IS ได้มีการสนับสนุนโครงการวิจัยทางนวัตกรรมและการ พัฒนาเทคโนโลยีในการรีไซเคิลและในการใช้สนิ ค้าต่างๆ โดยเมือ่ ปลายปี 2015 ได้มีโครงการวิจัยท�ำการจดสิทธิบัตรเพิ่มขึ้นถึง 56 สิทธิบตั ร และยังมีสทิ ธิบตั รอีกกว่า 100 สิทธิบตั ร รอการพิจารณา อยู่ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีใหม่ๆ และ การท�ำธุรกิจรูปแบบใหม่ เช่น การอบไอน�้ำ การใช้ความร้อน การใช้แก๊ส รวมไปถึงการก�ำจัดของเสีย อย่างไรก็ดีตลอดระยะเวลาที่ด�ำเนินการโครงการ EIP ที่ได้รับ การยอมรับว่ามีประโยชน์ตอ่ เศรษฐกิจและสิง่ แวดล้อมควบคูก่ นั นี้ ต้องยอมรับว่าส่วนหนึง่ เกิดจากการระดมทุนอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการ จัดหาเงินทุนสนับสนุนเงินทุนทางด้านงานวิจัยต่างๆ ตามขนาด ของบริษัท เพื่อพัฒนาระบบการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ขณะเดียวกันรัฐบาลเกาหลีใต้ก็ยังให้การสนับสนุนภาคเอกชน ทั้งในส่วนของการให้เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือพิเศษในโครงการที่มี การใช้เทคโนโลยีที่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเป็นนวัตกรรมใหม่ และ ช่วยลดมลภาวะและอนุรักษ์ทรัพยากรด้วย

27

Phase 1 (2005 - 2009) KICOX is focused on supporting professionals to develop ICs, as well as encouraging the merger to expand the business in a similar way. When the EIP program began to show tangible results, KICOX planned to publicize this project at the regional level to enhance broader business engagement. Phase 2 (2010-2014) found 57% more cooperation from entrepreneurs and investors compared to Phase I, as it facilitated the standardization process. The industrial area expanded from 1960 to 2015 with an area of over 1400 square kilometers. There are 80,000 companies under the industrial economy which creates a huge return to the country. By the end of Phase 2 in 2015, the area generated a total economic value of $ 928.9 billion, accounting for 63% of GDP and employment increased to 1.2 million. In addition, between 2005 and 2014, new investments in industrial research and development have resulted in more than 848 jobs. There are also 56 new patent applications and more than 100 patents pending. Phase 3 (2015 - 2019) KICOX has submitted more than 595 project proposals of which 388 have received funding for additional research and development projects. All projects in the Eco Industrial Complex’s area will require an industrial symbiosis (IS). It is a system for reducing pollution to adapt to the production, as a result, this area benefits both directly and indirectly 6.48 million tons of carbon dioxide emissions and 1.09 million tons of other toxic gases. The participating companies benefited from an increase in revenue of 1.85 trillion won ($ 1.68 billion). It can save resources in the distribution of waste. IS has supported research projects on innovation and technology development in recycling and the use of various products. By the end of 2015, a research project, patent has increased to 56 patents and more than 100 patents pending. Most of the research is related to new technologies and new business model such as steam, heat use, gas, including waste disposal. However, throughout the duration of the EIP program, which has been recognized for its economic and environmental benefits. It must be acknowledged that part of this is due to the efficient mobilization of funds to facilitate the participation of the private sector in financing research funds at the company size to develop environmentally-friendly production systems. At the same time, the Korean government provides private sector support in terms of loans or grants and proven to be innovative and reduces pollution and resource conservation.


28

Eco Explorer ตุลาคม - ธันวาคม 2560

ถอดบทเรียนเพื่อเรียนรู้ หลายๆ โครงการของ Korea EIP ที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ อั น เนื่ อ งมาจากการบริ ห ารงานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและการ ร่วมมือกันของฝ่ายต่างๆ แม้จะได้รบั บทเรียนจากในช่วงสองปีแรก แต่รฐั บาลก็ได้พยายามหาทางปรับเปลีย่ นกลยุทธ์ได้อย่างรวดเร็ว ในการที่จะสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนร่วมหลักคือ ภาคเอกชน กลุ่มต่างๆ ไม่ว่าจะผ่านการจัดการประชุม การสัมมนา การจัด อบรม และการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารภายใต้ศูนย์ข้อมูลที่ บริหารจัดการโดย ICs การท�ำหน้าที่ประสานงานเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง ผู้ลงทุนด้วยกัน หรือภาครัฐที่มีต่อเอกชน หรือเอกชนที่มีต่อ ภาครัฐ ล้วนมีความส�ำคัญ โดยผู้ประสานงานต้องเป็นผู้ที่มีความ เชี่ยวชาญในโครงการนั้นๆ และต้องเป็นผู้ที่สนับสนุนให้บริษัท ต่างๆ ตลอดจนสือ่ ต่างๆ ให้ความสนใจและให้ความร่วมมือในการ ท�ำโครงการต่างๆ ให้ส�ำเร็จได้ นอกเหนือจากนี้การสร้างกลยุทธ์ โดยเน้นไปทีจ่ ดุ ศูนย์กลางเศรษฐกิจก็เป็นปัจจัยทีส่ ำ� คัญเช่นเดียวกัน โดยต้องน�ำเสนอผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและผลประโยชน์ ทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการลงทุนพร้อมๆ กันได้

Take Lessons to Learn

Many of Korea EIP’s projects have been successful due to the efficient management and cooperation of various parties. Even with lessons from the first two years, the government has been trying to find a way to quickly change its strategy to build relationships with key players such as the private sector. Through the organization of conferences, seminars, training sessions and information exchanges under the Information Center managed by ICs. The coordination to build positive relationship between investors, government sector towards private sectors or vice versa is essential. The coordinator is supposed to be an expert of such project and must be able to draw attention from companies and media to make sure the project is successful. Moreover, creating a strategy focusing on economic center is also important. Whilst the economic benefits is presented, the environmental benefits must be included accordingly. Another factor contributing to the success of the EIP is the allocation of public funds to encourage private sector collaboration, especially for research projects. This reduces the risk of private funding, to bring the trust. It also brings

ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จอีกอย่างหนึ่งของ EIP คือ การจัดสรร เงินทุนของภาครัฐเพื่อสนับสนุนให้เอกชนร่วมมือกันได้อย่าง เหมาะสม โดยเฉพาะด้านงานวิจัยโครงการต่างๆ ซึ่งช่วยลด ความเสี่ยงในการจัดหาทุนของเอกชนได้เป็นอย่างดี จนน�ำมาซึ่ง ความไว้เนื้อเชื่อใจกัน นอกจากนี้ยังท�ำให้เกิดการวิจัยร่วมกันด้วย ซึ่งเป็นผลส�ำคัญที่มีส่วนเข้ามามีบทบาทก�ำหนดคุณสมบัติและ เทคโนโลยีต่างๆ ที่ส�ำคัญต่ออุตสาหกรรมโดยรวม ผลส�ำเร็จของโปรแกรม EIP ที่อาศัยเวลาไม่กี่ทศวรรษนี้ ท�ำให้ หลายๆ ประเทศได้มีการน�ำไปประยุกต์ใช้ในประเทศของตน บ้างแล้ว เช่น กลุ่มอุตสาหกรรมในประเทศบังคลาเทศ หรือ แม้แต่ประเทศไทยก็มีการน�ำแนวคิดลักษณะนี้เข้ามากล่าวถึง บ้างแล้วในแวดวงอุตสาหกรรม แต่ทงั้ นีจ้ ะต้องไม่ลมื ว่าการพัฒนา อุตสาหกรรมควบคู่กับสิ่งแวดล้อมจ�ำเป็นต้องได้รับความร่วมมือ จากเอกชนเป็นส�ำคัญ และการจะได้รับความร่วมมือจากเอกชน ต้องท�ำให้พวกเขาไว้ใจให้ได้วา่ ทางภาครัฐสามารถตอบสนองความ ต้องการของเอกชนได้ พร้อมๆ กับวิธีการที่จะช่วยให้พวกเขา ลดมลภาวะในสิ่งแวดล้อมไปด้วยในตัว


eco challenge magazine October - December 2017

29

อุตสาหกรรมสีเขียว Eco Industry แบบไทยๆ

โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเชิงพื้นที่ (Eco Industrial Complex) หรืออุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) เน้นการ พัฒนาแบบมีสว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน ซึง่ นอกจากจะเน้นในเรือ่ ง การเพิม่ ผลผลิต การแข่งขันทางธุรกิจทางการค้าแล้ว ยังเน้นในเรือ่ ง สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และความรับผิดชอบ ต่ อ สั ง คมควบคู ่ กั น ไป รวมถึ ง การร่ ว มพั ฒ นาชุ ม ชนรอบข้ า ง ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นด้วย เป็นการพัฒนาที่สร้างความสมดุล ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม ท�ำให้อุตสาหกรรม อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างเป็นสุขและยั่งยืน มุ่งสู่สังคมปลดปล่อย คาร์บอนต�่ำ (Low Carbon Society) กรมโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งเป็นหน่วยงานในการก�ำกับดูแลและ ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมมีการบริหารจัดการการใช้ ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า จึงได้กำ� หนดโครงการอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เชิงพื้นที่ (Eco Industry Complex) ขึ้น และมอบหมายให้สถาบัน สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ด� ำ เนิ น งานให้ เ กิ ด การหมุ น เวี ย นการใช้ ข องเสี ย กลั บ มาเป็ น ทรั พ ยากร และลดการเกิ ด ของเสี ย โดยใช้ เ ทคโนโลยี ส ะอาด รวมถึ ง ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ข่ า วสารและความ ร่วมมือกันระหว่างโรงงาน ชุมชน และภาครัฐ (ข้อมูล : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย)

Green Industry Thai Eco Industry

The Eco Industrial Complex or Green Industry focuses on participatory development of all sectors. In addition to focusing on productivity and Trade Competition, it also focuses on environmental, safety, occupational health and social responsibility, including the development of community around the quality of life. It is a balanced economic development, environment and society. The industry is in harmony with the community contributing to the Low Carbon Society. Division of Industrial Factory which is a regulatory agency has encouraged the industrial entrepreneur to fully utilize and mange resources. To do so, Eco Industry Complex has been established and the Institute of Industrial Environment and FTI has been assigned to make sure that wastes are recycled and clean technology is used to reduce wastes. Information exchange and cooperation among plants, community, and public sector is also encouraged. Source: The Federation of Thai Industries

together research. It is important to have a role in defining the features and technologies and important to the industry as a whole. The economic benefits and environmental benefits of investment must be presented. The success of the EIP program for a few decades has led many countries to apply it in their respective country, such as industry in Bangladesh. Even Thailand has adopted this concept in the industry, but it must be remembered that the development of the industry together with the environment need to be cooperated with the private sector. And they must be trusted by the private sector to ensure that the public sector can meet the needs of the private sector at the same time and the way to help them reduce pollution in the environment.


30

Asean Area

ตุลาคม - ธันวาคม 2560

เปิดกล้องส่องอินโดฯ

ภายใต้ แ นวทางประชาคมอาเซี ย น 2025 “Forging Ahead Together” และ “ASEAN Economic Community (AEC) Blueprint 2016-2025” ที่พยายามผลักดันให้เกิดตลาดใหญ่ แห่งเดียวคือ “ตลาดอาเซียน” นี้ แสดงให้เห็นว่าทิศทางอนาคต ของการรวมตัวทางเศรษฐกิจอาเซียนจะดีขึ้น และช่วยให้มีความ เป็นประชาคมเศรษฐกิจแบบบูรณาการและมีการร่วมมือมากขึ้น ในอีก 10 ปีข้างหน้า IHS Global Insight รายงานว่า เศรษฐกิจของกลุม่ ประเทศอาเซียน ในปี 2017 นีจ้ ะมีอตั ราการเจริญเติบโต 4.6% ท�ำให้ขนาดเศรษฐกิจ ของอาเซียนไปอยู่ที่ระดับ 2.6 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสูงกว่า ปีที่แล้วถึง 1 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยมีเศรษฐกิจประเทศ อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์ และมาเลเซีย เป็นปัจจัยหลักในการขยายตัว ในช่วงที่ผ่านมา ทั้ ง นี้ มี การคาดการณ์ จ ากนั ก เศรษฐศาสตร์ ว ่ า ในบรรดากลุ่ม ประเทศอาเซียน “อินโดนีเซีย” มีแนวโน้มที่จะขยายตัวด้าน อุตสาหกรรมได้มากทีส่ ดุ เพราะไม่เพียงได้เปรียบในเรือ่ งของพืน้ ที่

ขนาดใหญ่ที่สุด (ประกอบด้วยเกาะมากกว่า 13,000 แห่ง) และ มีจ�ำนวนประชากรที่มากที่สุดคือ ประมาณ 261 ล้านคนเท่านั้น แต่สถานการณ์ทางการเมืองที่ดีขึ้น ตลอดจนการมีเสถียรภาพ ของสกุ ล เงิ น ก็ ส ่ ง ผลให้ เ ศรษฐกิ จ อิ น โดนี เซี ย ดี ขึ้ น ด้ ว ยเช่ น กั น ขณะเดียวกันยังมีการคาดการณ์วา่ กลุม่ ประชากรรายได้ปานกลาง ของอินโดนีเซียจะเติบโตขึ้นเป็น 18% ของ GDP ในอีก 5-10 ปี ข้างหน้า ซึ่งนั่นท�ำให้ประเทศนี้เป็นที่สนใจของนักลงทุนมากขึ้น เรื่อยๆ อินโดนีเซียเป็นประเทศทีม่ เี ศรษฐกิจทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ มีอุตสาหกรรมหลักคือ ธุรกิจการเกษตร อุตสาหกรรม ยานยนต์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สิง่ ทอ อาหารและเครือ่ งดืม่ โดยรัฐบาลมีแผนที่จะพัฒนานิคมอุตสาหกรรม 14 เขต ในอีก 4 ปีข้างหน้า ซึ่งจะสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค เลยทีเดียว นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มงบประมาณค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ โครงสร้างพื้นฐานอื่นอีกด้วย ไม่ว่าจะเป็นด้านคมนาคม ด้านการ ผลิตกระแสไฟฟ้า (ตอบสนองการใช้งานที่เพิ่มขึ้น 96.6% ในอีก 3 ปีข้างหน้า) เป็นต้น


eco challenge magazine October - December 2017

Indonesia through the Lens

With ASEAN 2025 schemes of “Forging Ahead Together” and “ASEAN Economic Community (AEC) Blueprint 2016-2015” aiming to realize “ASEAN Hub”, it is clear that AEC is heading to the right way which would lead to a more integrated economy and collaboration within the next 10 years. IHS Global Insight reported that in 2017, the economy of ASEAN will be growing by 4.6% which means the economic size would be climbing up to 2.6 trillion US dollars, or 1 hundred thousand million US dollars higher than last year. The main actors who play the important part of this growth include Indonesia, Philippines, and Malaysia. It is estimated by the economists that of all ASEAN countries, “Indonesia” is most likely to have the biggest industrial expansion. This is not only because of the vast area the country has (more than 13,000 islands) and 261 million population, but also the promising political situation. Moreover, the stability of its currency also results in better economy. It is also predicted that the middle income population would increase up to 18% of GDP within 5-10 years, this means that Indonesia will surely become the most attractive destination for investors. Indonesia has the biggest economic scale in South East Asia. Its main businesses include to agriculture, motor, electronics, garment, food and beverage. The government is now planning to develop 13 industrial estates in the south of Java island within the next 5-7 years. This is going to be the regional business growth for sure. The government is also planning to increase budget for other relevant infrastructure projects such as transportation and power plants (to accommodate the increasing needs of 96.6% in the next 3 years).

31

กระตุ้นเศรษฐกิจผ่าน Specific Economic Zone นโยบายเศรษฐกิจส�ำคัญอย่างหนึ่งของอินโดนีเซียที่ผลักดันให้ ดึงดูดนักลงทุนมาจากทั่วโลกก็คือ การกระตุ้นเศรษฐกิจผ่าน การลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ หรือ Specific economic zone (SEZs) เพื่อเปิดกว้างส�ำหรับการลงทุนจากต่างประเทศให้เข้าถึง โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ โดยนักลงทุนต่างชาติจะได้รับอนุญาต ให้มีอสังหาริมทรัพย์เป็นของตนเองได้ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่ง ที่ผ่านมากฎหมายไม่อนุญาตให้ชาวต่างชาติถือครองที่ดินได้ นอกจากนีน้ กั ลงทุนได้รบั ยกเว้นภาษีมลู ค่าเพิม่ (VAT) ในการน�ำเข้า วัตถุดิบเป็นระยะเวลา 5-10 ปี จากเดิมที่ต้องเสียร้อยละ 2-20 นอกจากนี้ สิ น ค้ า อุ ต สาหกรรมที่ ผ ลิ ต ในเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษนี้ จะได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อขายตลาดภายในประเทศ ขณะเดียวกันธุรกิจการท่องเที่ยว ร้านอาหาร และธุรกิจบันเทิง ทีต่ งั้ อยูใ่ นเขตเศรษฐกิจพิเศษนีก้ จ็ ะได้รบั การลดหย่อนภาษีรอ้ ยละ 50-100 ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้อินโดนีเซียได้ก�ำหนดเขตเศรษฐกิจพิเศษไว้ 8 แห่ง ด้วยกัน ได้แก่ 1. เขตเศรษฐกิจพิเศษ Tanjung Lesung (บันเตน) 2. เขตเศรษฐกิจพิเศษ Sei Mangkei (สุมาตราตอนเหนือ) 3. เขตเศรษฐกิจพิเศษ Palu (สุลาเวสีตอนกลาง) 4. เขตเศรษฐกิจพิเศษ Bitung (สุลาเวสีตอนเหนือ) 5. เขตเศรษฐกิจพิเศษ Mandalika (นูซาเติงการาตะวันตก) 6. เขตเศรษฐกิจพิเศษ Morotai (โมลุกกะตอนเหนือ) 7. เขตเศรษฐกิจพิเศษ Tanjing Api-Api (สุมาตราตอนใต้) 8. เขตเศรษฐกิจพิเศษ Maloi Batuta Trans Kalimantan (กาลิมนั ตัน ตะวันออก)

นิคมฯ เมืองอิเหนา Indonesian Industrial Estates อินโดนีเซียมีนิคมอุตสาหกรรม 74 แห่ง บนพื้นที่ 30,000 เฮกตาร์ ซึ่ง ตั้งอยู่บนเกาะชวา 55 แห่ง บนพื้นที่ 22,795.90 เฮกตาร์ สุมาตรา 16 แห่ง บนพื้นที่ 4,493.45 เฮกตาร์ กาลิมันตัน 1 แห่ง บนพื้นที่ 546 เฮกตาร์ และสุลาเวสี 2 แห่ง บนพื้นที่ 2,204 เฮกตาร์ เขตชวา ตะวันตกมีพื้นที่อุตสาหกรรมมากที่สุด คิดเป็นเกือบร้อยละ 74 ของ ทรัพย์สินอุตสาหกรรมของประเทศ

There are 74 industrial estates on 30,000 hectare. 55 is located on the 22,795.90 hectare of Java island. 16 is on 4,493.45 hectare of Sumatra island. 1 on 546 hectare of Kalimantan island, and 2 on 2,204 hectare of Sulawesi island. West Java alone owns the most industrial area, or 74% of all industrial assets of the country.

74

industrial Estates

30,000 hectare


32

Asean Area

ตุลาคม - ธันวาคม 2560

Economic boost up through Specific Economic Zone

One of the most significant economic policies of Indonesia that attracts investors from all around the world is the economic boost up scheme in specific economic zones (SEZs). Investors from all over the world are welcome to access diversified infrastructures it could offer. Foreign investors are allowed to own property in SEZs, which never happened previously. Furthermore, VAT is exempted for investors who import raw materials. Apart from VAT-exempted industrial products manufactured in SEZs and sold domestically, tourism, food, and entertainment business located in SEZs are also entitled to 50-100% tax deduction as well.

โครงสร้างพื้นฐานที่ไม่ควรมองข้าม การกระตุ้นเศรษฐกิจเพื่อชักชวนนักลงทุนภายในเขต SEZs นี้ มี การยื่นเสนอสิทธิประโยชน์หลักทางการลงทุนอยู่หลายประการ ได้แก่ การลดภาษีเงินได้ของนิติบุคคลจาก 20-100% เป็นระยะ เวลา 25 ปี การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มในการน�ำเข้าวัตถุดิบ การ ยกเว้นภาษีสำ� หรับสินค้าทีผ่ ลิตและขายภายในประเทศอินโดนีเซีย สิ ท ธิ ใ นการถื อ ครองที่ ดิ น เป็ น เวลา 30 ปี จากเดิ ม ที่ ก� ำ หนด ให้เพียง 10 ปี ทัง้ หมดนีถ้ อื เป็นหนึง่ ในเป้าหมายพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจพิเศษทีพ่ ยายาม จะสนับสนุนให้มีการสร้างโครงสร้างพื้นฐานเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็น เส้นทางคมนาคม ไฟฟ้า และการพัฒนาทักษะแรงงาน เนื่องจาก ทีผ่ า่ นมาอุปสรรคส�ำคัญของการพัฒนาอุตสาหกรรมในอินโดนีเซีย คือ การขาดความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) โดยเฉพาะเส้นทางคมนาคมทีเ่ ชือ่ มระหว่างเกาะต่างๆ ทัง้ ทางบก และทางเรือ ในรายงาน Global Competitiveness Report 2015-2016 จาก World Economic Forum (WEF) ระบุว่า อินโดนีเซียเป็นประเทศ ทีม่ กี ารพัฒนาด้านสาธารณูปโภคอันดับที่ 62 ของโลก จากทัง้ หมด 140 ประเทศ โดยนับตั้งแต่ช่วงปลายทศวรรษ 1990 เป็นต้นมา

Specific economic zones include: 1. Tanjung Lesung (Banten) 2. Sei Mangkei (North Sumatra) 3. Palu (Central Sulawesi) 4. Bitung (North sulawesi) 5. Mandalika (West Nusa Tenggara) 6. Morotai (North Moluska) 7. Tanjing Api-Api (South Sumatra) 8. Maloi Batuta Trans Kalimantan (East Kalimantan)

การขยายตัวของโครงสร้างพื้นฐานของอินโดนีเซียไม่สามารถ รองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งได้ หลังจากเกิดวิกฤติ การเงินในเอเชีย ส่งผลให้การเติบโตทางเศรษฐกิจของอินโดนีเซีย ไม่สามารถบรรลุถึงขีดสุดได้ โดยเฉพาะต้นทุนส่วนเกินที่มาจาก โครงสร้ า งด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ โดยหอการค้ า และอุ ต สาหกรรม อินโดนีเซีย (Kadin Indonesia) ระบุว่า ความแตกต่างของระดับ ราคาสินค้าทีเ่ กิดจากภาคการขนส่งนีค้ ดิ เป็นสัดส่วนประมาณ 17% ของค่าใช้จา่ ยทัง้ หมดเลยทีเดียว ซึง่ นัน่ ท�ำให้เกิดความแตกต่างของ ระดับราคาสินค้าในหมู่เกาะต่างๆ เช่น ราคาข้าวหรือปูนซีเมนต์ ในอิ น โดนี เซี ย ตะวั น ออกจะแพงกว่ า พื้ น ที่ แ ถบเกาะชวาหรื อ สุมาตรา เนื่องจากมีต้นทุนการขนส่งที่เพิ่มขึ้นนั่นเอง นอกจากนีป้ ญ ั หาทีพ่ บบ่อยมากในการลงทุนภาคอุตสาหกรรมคือ พลังงานไฟฟ้าที่ไม่เพียงพอ ซึ่งแม้อินโดนีเซียจะมีแหล่งพลังงาน ที่อุดมสมบูรณ์ แต่ก็มักจะเกิดปัญหาไฟดับบ่อยครั้ง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งพื้นที่นอกเมืองใหญ่ๆ อาทิ ในเกาะชวา บาหลี เป็นต้น ดังนั้นนักลงทุนที่มีแผนจะเข้าไปลงทุนในอินโดนีเซีย จึงไม่ควร พิจารณาจากเงือ่ นไขสิทธิประโยชน์เพียงอย่างเดียว แต่ควรศึกษา เกี่ยวกับความเสี่ยงด้านโครงสร้างพื้นฐานที่รองรับอุตสาหกรรม ทั้งระบบของอินโดนีเซียด้วย เพื่อจะได้ปรับการลงทุนได้อย่าง เท่าทันการเปลี่ยนแปลง


eco challenge magazine October - December 2017

The infrastructures that shouldn’t be overlooked

To boost up the economy and attract the investors in SEZs, many privileges have been offered to the investors. This includes corporate income tax deduction from 20 – 100% for 25 years, VAT exemption for raw materials import, tax exemption for products manufactured and sold in Indonesia, the right to own property from 10 years to 30 years. All of the mentioned are the goals of SEZs to make infrastructures available including transportation routes, electricity, and workforce efficiency development. In the past, the main obstacle of industrial development in Indonesia was the lack of infrastructures, specifically the routes that linked islands together either on land or by ships. The Global Competitiveness Report 2015 – 2016 from World Economic Forum (WEF) stated that of all 140 countries, Indonesia ranks the 62nd of all the countries with significant infrastructure development. From late 90s onwards, the

33

expansion of infrastructure in Indonesia was not efficient enough to accommodate the powerful economy of the country after Asia’s financial crisis. Consequently, economic growth was limited and did not achieve the highest goal as expected, specifically the excessive cost incurred from logistics. Kadin Indonesia stated that the difference of pricing caused by logistics was approximately 17% of all costs. That’s why product prices of different islands e.g. rice, cement, in east Indonesia is higher than the Sumatra island. It is because of the higher cost of delivery. Besides, one of the most frequently found problems in industrial investments is power insufficiency. Despite the abundance of energy resources, Indonesia experiences frequent blackouts, specifically the rural area like Java, Bali, etc. Investors planning for investment in Indonesia should not think only about the offered privileges, they must keep in mind the risk of infrastructure issues that are supposed to handle the whole industrial systems as well in order to simultaneously adjust their investment in order to maintain their feasibility.

ขณะทีภ่ าคธุรกิจบริการ นายจ้างของแรงงานต่างชาติจะต้องมีการ จัดท�ำแผนการใช้แรงงานต่างชาติ โดยต้องระบุเหตุผลในการใช้แรงงาน ต่างชาติตำ� แหน่งนัน้ ๆ ตลอดจนค่าจ้าง จ�ำนวนคน สถานทีท่ ำ� งาน ระยะเวลาการจ้าง และจ�ำนวนแรงงานท้องถิน่ ทีจ่ ะท�ำงานด้วย

ส่องวิถีชีวิตในอินโดนีเซีย เมื่อตัดสินใจได้ว่าอินโดนีเซียมีความน่าสนใจ ต่อมาข้อพิจารณา ต่อไปที่ส�ำคัญไม่แพ้กันในการตัดสินใจเข้าไปลงทุนในอินโดนีเซีย ก็คอื การพิจารณาเกีย่ วกับวิถชี วี ติ ของผูค้ นในประเทศนี้ ตลอดจน กฎเกณฑ์เงื่อนไขด้านธุรกิจและการลงทุนต่างๆ โดยผู้ที่ต้องการ ไปลงทุนควรหาข้อมูลเพิ่มเติม ไม่ว่าจะเป็นการเตรียมใบอนุญาต ท�ำงานและถิ่นที่อยู่และที่พัก การด�ำเนินการพิธีการศุลกากร การ เรียนรูว้ ธิ กี ารแปลความหมายของการสือ่ สาร เนือ่ งจากอินโดนีเซีย มีความแตกต่างด้านประเพณีและเชื้อชาติอย่างมาก ส�ำหรับผู้ที่ต้องการเข้าไปท�ำงานในอินโดนีเซีย ต้องศึกษากฎ ระเบียบและขั้นตอนการน�ำเข้าแรงงาน ตามกฎกระทรวงแรงงาน ฉบับที่ PER 02/MEN/III/2008 ซึ่งระบุว่า การอนุญาตให้แรงงาน ต่างชาติท�ำงานได้ ผู้นั้นจะต้องถือวีซ่าอินโดนีเซีย โดยธุรกิจ ที่สามารถจ้างแรงงานต่างชาติได้คือ ส�ำนักงานตัวแทนการค้า ระหว่างประเทศ ส�ำนักงานตัวแทนของบริษทั ในต่างประเทศ หรือ ส�ำนักข่าวต่างประเทศ บริษัทลงทุนของต่างประเทศ บริษัทลงทุน ของอินโดนีเซีย บริษัทที่ด�ำเนินงานเพื่อโครงการของรัฐ และ โครงการช่วยเหลือต่างๆ สถาบันเพื่อสังคม การศึกษา วัฒนธรรม และศาสนา

อย่างไรก็ดีเมื่อมองภาพรวมของการเข้าไปลงทุนและใช้ชีวิตใน อินโดนีเซียแล้ว แม้จะมีข้อดีอยู่ค่อนข้างมาก ไม่ว่าจะเป็นความ สมบูรณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ตลาดขนาดใหญ่ ฯลฯ แต่ทั้งนี้ ก็มีข้อควรระวังและพิจารณาให้มากด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะใน 6 ประเด็นส�ำคัญคือ 1. ประชากรส่วนใหญ่มีฐานะยากจน 2. กฎหมายและกฎระเบียบบางอย่างไม่มคี วามชัดเจนและโปร่งใส 3. ระบบราชการที่มีกระบวนการมาก ซับซ้อน และยุ่งยาก ยังมี ปัญหาเรื่องการคอร์รัปชันในระบบราชการ 4. มีการก�ำหนดมาตรการทางการค้าในลักษณะที่เป็นการกีดกัน ทางการค้า เช่น มาตรการห้ามน�ำเข้า ใบอนุญาตน�ำเข้า มาตรการด้านสุขอนามัย เป็นต้น 5. ตลาดอินโดนีเซียมีการแข่งขันสูง โดยเฉพาะสินค้าราคาถูกจาก ต่างประเทศ เช่น จากจีน เวียดนาม และอินเดีย เป็นต้น 6. การให้สิทธิประโยชน์ในการลงทุนของอินโดนีเซียยังค่อนข้าง น้อย แม้จะมีการรวมกฎหมายลงทุนของนักลงทุนในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติเป็นฉบับเดียวกันแล้วก็ตาม จะเห็นได้ว่าการเข้าไปลงทุนใน “อินโดนีเซีย” แม้จะมีความสดใส ตามการคาดการณ์ดา้ นเศรษฐกิจ แต่ทว่าก็มคี วามเสีย่ งทีม่ องข้าม ไม่ได้เช่นกัน โดยเฉพาะ “เขตเศรษฐกิจพิเศษ” ทีแ่ ม้จะมีเงือ่ นไขและ กฎเกณฑ์ที่เอื้อประโยชน์ด้านการลงทุนที่ดี แต่ต้นทุนแฝงที่มากับ โครงสร้างพืน้ ฐานทีย่ งั ไม่เพียงพอก็อาจท�ำให้การลงทุนเกิดปัญหา ได้เช่นเดียวกัน


34

Asean Area

ตุลาคม - ธันวาคม 2560

foreigners’ investment companies, Indonesia’s investment companies, companies responsible for the execution of government tasks, and projects for social, educational, cultural, and religious benefits. As for service sector, the employers of immigrants are required to have the plan that specifies why they need the immigrants to work in that particular positions, compensation, number of hires, location, hire duration, and number of local employees. With many benefits one might have in terms of the abundance of natural resources, the size of market, etc, however, there are also cautions and things to consider, specifically these 6 points: 1. The majority of population is poor

Working & Living in Indonesia

2. There are still incoherent laws and regulations. 3. Complicated government system and corruption issues.

Already attracted to Indonesia? Then things to consider at this step which are as important as the decision to invest is the lifestyle of people here, business legislations and investments. Investors should learn more about work permit, residential areas and where to stay, customs process, and communication interpretation. Please keep in mind that there are many cultural and ethical differences in Indonesia.

4. Certain trade measures are actually trade barriers e.g. import prohibition, import permits, healthcare measures, etc. 5. High competition especially low cost products from China, Vietnam, and India. 6. Limited benefits from the investment despite the integrated investment laws.

If you are planning to work in Indonesia, you need to learn about rules and regulations of immigrants in labor market according to the Ministry of Labor PER 02/MEN/III/2008 which stated that only the immigrants with legal Indonesian visa will be permitted to work. Businesses with permission to employ immigrants include international trade agencies, agencies of international companies, international news agencies,

We can see that although a promising economic future, investment in “Indonesia” still has some risks that should not be overlooked, specifically the SEZs. Despite the attractive condition for investment, the latent cost that comes with the insufficient infrastructures could also be problematic.

รายชื่อนิคมอุตสาหกรรมส�ำคัญทั้ง 14 เขต ที่อยู่ในแผนพัฒนา No 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

Area

Investment (IDR)

Size (Hectares)

Main Industry

Sei Mangkei, Simalungun, North Sumatra

9.5 trillion

2,002

CPO processing

Kuala Tanjung, Batu Bara, North Sumatra

4.5 trillion

1,000

Aluminium

Tanggamus, Lampung

17.5 trillion

3,500

Maritime

Ketapang, East Kalimantan

4 trillion

1,000

Aluminium

Mandor, Landak, West Kalimantan

1.22 trillion

306

Rubber processing

Batulicin, South Kalimantan

2.12 trillion

530

Steel

Jorong, South Kalimantan

-

-

Bauxite and palm oil

Palu, Central Sulawesi

12.5 trillion

1,500

Rattan, agro

Morowali, Central Sulawesi

49.7 trillion

1,200

Ferronickel

Bantaeng, South Sulawesi

24.4 trillion

3,000

Ferronickel

Konawe, Southeast Sulawesi

28.7 trillion

5,500

Ferronickel

Bitung, North Sulawesi

2.5 trillion

Buli, East Halmahera

Bintuni Bay, West Papua

534

Agro, logistics

10 trillion

300

Ferronickel

51.5 trillion

2,112

ที่มา : Global Business Guide Indonesia, Indonesia’s Industrial Property sector : Rising Supply and Demand,

Fertiliser, petrochemical


eco challenge magazine

News & Activities

งานสัมมนาวิชาการ “Eco Innovation Forum 2017” ภายใต้แนวคิดเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในยุค 4.0

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) สถาบันสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ร่วมกัน จัดงานสัมมนาวิชาการ ประจ�ำปี 2560 “Eco Innovation Forum 2017” ภายใต้แนวคิดเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในยุค 4.0 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศใน บริบททีป่ ระเทศไทยได้ปรับตัวเข้าสูย่ คุ อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) รวมทั้งสร้างความตระหนัก เพิ่มความรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ต่อทิศทางการขับเคลือ่ นภาคอุตสาหกรรมสูก่ ารเป็นเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศอย่างรอบด้านและครอบคลุมในทุกมิติ และสื่อสารให้สังคม รับรู้ถึงความมุ่งมั่นของภาครัฐและเอกชน ในการร่วมกันพัฒนา ประเทศให้มีความสมดุลทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดย ก�ำหนดจัดงานขึ้นในระหว่างวันที่ 28-29 กันยายน 2560 ณ ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา Eco Innovation Forum 2017: Industry 4.0 Ecosystem.

Industrial Estate Authority of Thailand (I-EA-T) and the Federation of Thai Industries organized the Eco Innovation Forum 2017, which took place on 28-29 September 2017 at the Bangkok International Trade and Exhibition Centre (BITEC). The forum addressed the topic of the Industry 4.0 ecosystem, highlighting the importance of the industrial development goals. Diverse insights and opinions were intensely exchanged based on the way to shape the industrial ecosystem transformation in every areas and aimed to communicate the cooperation plan between the government and private sectors on the industrial development relate to the economic, social and environment.

October - December 2017

35

จิตอาสาพัฒนาชุมชน

ส�ำนักงานนิคมอุตสาหกรรมบางชัน ส�ำนักงานเขตคันนายาว สถานีต�ำรวจนครบาลบางชัน บริษัท โกลบอล ยูทิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด และหน่วยงานความมัน่ คง เขตคันนายาว ร่วมจัดกิจกรรม จิตอาสาพัฒนาชุมชน เพือ่ ท�ำความสะอาดเก็บกวาดขยะมูลฝอย เก็ บ ผั ด ตบชวาในคลองเพื่ อ การระบายน�้ ำ ให้ มี ประสิทธิภาพ ป้องกันน�้ำเน่าเสีย และเป็นการช่วยปรับปรุงภูมิทัศน์ใ ห้ เ ป็ น ที่พักผ่อนแก่ชุมชน มี นายบวรสิน นิยมตรง ผู้อ�ำนวยการเขต คันนายาว พ.ต.อ.อดิศักดิ์ ชูพันธ์ ผู้ก�ำกับการสถานีต�ำรวจ นครบาลบางชัน นางสาวกฤษฎาพร บุญอยู่ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานนิคมอุตสาหกรรมบางชัน และหน่วยงานความมั่นคง เขตคั น นายาว เข้ า ร่ ว มงาน โดยมี ป ระธานชุ ม ชนเกาะจวน นายสมาน หวังพิทักษ์ ให้การต้อนรับ Community Development Volunteerism

Bang Chan Industrial Estate Office, Khanna Yao District Office, Bangchan Police Station, Global Utility Service Co., Ltd. and Khanna Yao District Security Office participated in community volunteer activities to clean the garbage, dispose garbage, collect water hyacinth in the canal for efficient drainage, prevent spoilage, and help improving the landscape as a community retreat. Mr.Bowornsin Niyomtrong, Director of Khanna Yao District, Pol. Gen. Adisak Chuphan, Director of Bangchan Police Station, Ms. Krisadaporn Boonyoo, Director of Bang Chan Industrial Estate office and Khanna Yao Security Office were attended. The President of Kho Juan, Mr. Samarn Wangpitak, welcomed the guests.

งานสัมมนาเรื่อง ส่งเสริมและสนับสนุนผู้ด้อยโอกาส

26 กันยายน 2560 นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ผู้ว่าการ กนอ. ให้เกียรติเปิดงานสัมมนาเรื่อง ส่ง เสริมและสนับสนุนผูด้ อ้ ยโอกาส โดย คุณอภิชาติ การุณกรสกุล ประธานมูลนิธนิ วัตกรรมทาง สังคม และหัวข้อโครงการผลิตรถเข็น รถโยกคนพิการในนามโรงงานไทยวีล โดย คุณวิเชียร หัสถาดล รองประธานมูลนิธิคนพิการไทย และมอบเงินสนับสนุนรถเข็น (วีลแชร์) จ�ำนวน 10 คัน ให้มูลนิธิคนพิการไทย Seminar on Promoting and Supporting the Underprivileged

On 26th September, 2017, Mr.Verapong Chaiperm, the I-EA-T Governor, honored to open the seminar on promoting and supporting the underprivileged by Mr. Apichart Karunkornsakul, Chairman of the Foundation for Social Innovation and the topic of wheelchair production, the disabled wheel on behalf of Thai Wheel Factory by Mr. Wichian Hasathadol, Vice President of Thai Disability Foundation, donated 10 wheelchairs to the Thai Disability Foundation.


36

News & Activities ตุลาคม - ธันวาคม 2560

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม ลงพืน ้ ทีค ่ ณะรัฐมนตรีสญ ั จร จังหวัด พระนครศรีอยุธยา

คณะนักลงทุนจากประเทศญีป ่ น ุ่ เยีย ่ มชมสนามบินนานาชาติอต ู่ ะเภา นิคม อุตสาหกรรมแหลมฉบัง นิคมอุตสาหกรรมอีสเทริน ซีบอร์ด Vistec และ Gistda พร้อมฟังการบรรยายสรุป ตามโครงการ EEC Connecting Thailand and Japan to the Future.

13 กันยายน 2560 นางปนัดดา รุ่งเรืองศรี ผู้ช่วยผู้ว่าการ (สายงานบริการและลูกค้า สัมพันธ์) และนางสาวทัศนีย์ เกียรติภัทราภรณ์ ผู้ช่วยผู้ว่าการ (สายงานยุทธศาสตร์และ พัฒนา) ในฐานะผูแ้ ทนผูว้ า่ การฯ ร่วมกับส�ำนักงานเพือ่ การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออกและกระทรวงอุตสาหกรรม ต้อนรับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรี METI และคณะนักลงทุนจากประเทศญีป่ นุ่ เยีย่ มชมสนามบินนานาชาติอตู่ ะเภา นิคมฯ แหลมฉบัง นิคมฯ อีสเทิร์นซีบอร์ด Vistec และ Gistda พร้อมฟังการบรรยายสรุป ตามโครงการ EEC CONNECTING THAILAND AND JAPAN TO THE FUTURE Japanese investors visited U-Tapao International Airport Laem Chabang Industrial Estate, Eastern Seaboard Industrial Estale, Vistec and Gistda, take part in the presentation of EEC Connecting Thailand and Japan to the Future.

On 13rd September, 2017, Mrs. Panadda Rungruangsri, Assistant Governor, Service and Customer Relations and Ms. Tassanee Kiatpattraporn, Assistant Governor of Strategy and Development, as the Deputy Governor, together with the Eastern Economic Corridor Office and the Ministry of Industry, welcomed the Minister of Industry, METI Ministers and the visiting delegation from Japan to visit U-Tapao International Airport, Cooperative Hemaraj Vistec and Gistda together with the briefing on EEC CONNECTING THAILAND and JAPAN TO THE FUTURE

กนอ. ร่วมกับมูลนิธน ิ ค ิ มอุตสาหกรรมไทย จัดกิจกรรมในโครงการ “ท�ำดีเพือ ่ พ่อ” เพือ ่ น้อมถวายเป็นพระราชกุศลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ล อดุลยเดช

12 ตุลาคม 2560 กนอ. ร่วมกับมูลนิธินิคมอุตสาหกรรมไทย จัดกิจกรรมในโครงการ “ท�ำดีเพื่อพ่อ” เพื่อน้อมถวายเป็นพระราชกุศลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช น�ำโดย นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ผู้ว่าการ กนอ. พร้อมด้วยผู้บริหารระดับสูง พนักงาน ลูกจ้าง กนอ. ร่วมกันปลูกดอกดาวเรืองภายในบริเวณส�ำนักงานใหญ่ กนอ. และท�ำความสะอาดบริเวณส�ำนักงานและพื้นที่ใกล้เคียง พร้อมกันนี้ส�ำนักงานนิคม อุตสาหกรรมต่างๆ ทั่วประเทศ ต่างพร้อมใจกันจัดกิจกรรมในโอกาสนี้ด้วย Industrial Estate Authority of Thailand Together with the Thai Industrial Estate Foundation Organized activities in the project “Do Good to Dad” to bow to His Majesty King Bhumibol Adulyadej. On 12th October 2017, I-EA-T jointly with Thai Industrial Estate Foundation organized activities in the project. “Do Good thing for Father” to bow to His Majesty King Bhumibol Adulyadej, led by Mr. Verapong Chaiperm, I-EA-T Governor, together with senior executives, employees, grew sunflowers in the headquarters of the I-EA-T and cleaned the office and nearby areas as well as the office of industrial estates throughout the country were also organized activities on this occasion.

18 กันยายน 2560 นายอุตตม สาวนายน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม พร้อม คณะ ลงพื้ น ที่ ครม. สั ญ จร จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา เยี่ยมชมบริษัท เม็กเท็ค แมนูแฟ็คเจอริ่ง คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด พร้อมมอบนโยบายแก่ผู้บริหารสังกัด กระทรวงอุตสาหกรรมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง โดยมี นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ผู้ว่าการ กนอ. พร้ อ มด้ ว ยผู ้ บ ริ ห ารจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ เอกชน และผู้ประกอบการในนิคมฯ ร่วม ให้การต้อนรับ ณ ห้องประชุมชบา นิคม อุตสาหกรรมบางปะอิน Minister of Industry into the area, mobile cabinet, Phra Nakhon Sri Ayutthaya Province. On 18 th September, 2017, Mr.Uttama Savanayana, Minister of Industry together with the delegation to the area of Ayutthaya province visited Maxtech Manufacturing Corporation (Thailand) Co., Ltd. and gave policy to executives under the Ministry of Industry, Central Region, Mr. Verapong Chaiperm, I-EA-T Governor, along with executives from government agencies, private sector and entrepreneurs in the industrial estate. Welcomed at Chaba Conference Room, Bang Pa-in Industrial Estate.


eco challenge magazine October - December 2017

37

กนอ. รับรางวัลชมเชยจากโครงการส่งเสริมและสนับสนุน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560-2564)

18 กันยายน 2560 นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ผู้ว่าการ กนอ. และ คณะผู ้ บ ริ ห ารการนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย เข้ า ร่ ว ม กิจกรรมการด�ำเนินโครงการส่งเสริมและสนับสนุนการขับเคลื่อน ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ว ่ า ด้ ว ยการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564) จัดโดยส�ำนักงาน ปปช. ณ ห้อง ริชมอนด์ บอลรูม โรงแรมริชมอนด์ สไตลิช คอนเวนชั่น นนทบุรี โดย กนอ. ได้รับรางวัล 2 รางวัล ได้แก่ รางวัลชมเชยด้านรัฐวิสาหกิจ ที่ มี ก ารพั ฒ นาสู ่ ค วามเป็ น เลิ ศ ด้ า นคุ ณ ธรรมความโปร่ ง ใสในการ ด�ำเนินงาน (Transparency) และรางวัลชมเชยด้านความปลอดจาก การทุจริตในการปฏิบัติงาน (Corruption – Free)

กนอ. ซ้อมแผนป้องกันน�้ำท่วมนิคมอุตสาหกรรมใน พื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

19 ตุ ล าคม 2560 กนอ. โดย นายจั ก รรั ฐ เลิ ศ โอภาส รองผูว้ า่ การ กนอ. จัดซ้อมแผนป้องกันน�ำ้ ท่วมนิคมอุตสาหกรรม 3 แห่งในพืน้ ทีจ่ งั หวัดพระนครศรีอยุธยา ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรม สหรัตนนคร นิคมอุตสาหกรรมบ้านหว้า (ไฮเทค) และนิคม อุตสาหกรรม บางปะอิน ร่วมกับภาครัฐและผู้ประกอบการใน นิคมอุตสาหกรรม เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมป้องกันน�้ำ ท่วมในนิคมอุตสาหกรรม อีกทั้งเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมด้วย

Industrial Estate Authority of Thailand (I-EA-T) got an honorable mention of the project of supporting the National Anti-Corruption Strategy , Phase Three, 2017- 2021. September 18, 2017, Mr. Verapong Chaiperm, I-EA-T Governor, and management team attended the event of the National AntiCorruption Strategy, Phase Three, 2017- 2021, which organized by the Office of the National Anti-Corruption commission (ONACC), at Richmond Grand Ballroom, RICHMOND, The Stylish Conventional Hotel, Nonthaburi. This event, I-EA-T received two awards, which are an honorable mention of the Zero tolerance and excellence development in morality, and transparency in operations state enterprise award and Corruption – Free organization award.

Industrial Estate Authority of Thailand (I-EA-T) invited the media down to Industrial Estates in Ayutthaya. October 19, 2017, I-EA-T by Mr.Jakkarat Lertopas, Deputy Governor with the management team and business entrepreneur prepared the flood prevention plan for 3 areas, which include the Saha Rattana Nakorn Industrial Estate, Ban-Wa (Hi-Tech) Industrial Estate, Bang Pa-In Industrial Estate. This activity aimed to encourage confidential among entrepreneurs in the industrial estate.


38

News & Activities ตุลาคม - ธันวาคม 2560

ร่ ว มเสวนาเชิ ง นโยบาย “6 เดื อ น กั บ ความร่วมมือของรัฐ” ในกิจกรรมสัมมนา “อีอีซี แม่เหล็กเศรษฐกิจไทยเชื่อมโลก”

21 กั น ยายน 2560 นายวี ร พงศ์ ไชยเพิ่ ม ผู้ว่าการ กนอ. ร่วมเสวนาเชิงนโยบาย “6 เดือน กั บ ความร่ ว มมื อ ของรั ฐ ” ในกิ จ กรรมสั ม มนา “อีอีซี แม่เหล็กเศรษฐกิจไทยเชื่อมโลก” จัดโดย มติชน ร่วมกับส�ำนักงานระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก ในโอกาสครบรอบ 40 ปี โดยมี นายอุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อุตสาหกรรม กล่าวเปิดงานและปาฐกถาพิเศษ นอกจากนี้ ยั ง มี ป าฐกถาพิ เ ศษ “การลงทุ น รั ฐ เอกชน ในอีอีซี” โดย นายกอบศักดิ์ ภูตระกูล ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี ด้วย ณ ห้องบอลรูม ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ I-EA-T attended the “6 Months Cooperation with the government”, Round table discussion seminar the Eastern Economic Corridor (EEC)

September 21, 2017,) Mr. Verapong Chaiperm, Governor of Industrial Estate Authority of Thailand (I-EA-T) attended the round table discussion on the topic of the 6 months cooperation policy with government , EEC event organized by Mathichon together with the Eastern Economic Corridor , on the occasion of the 40th anniversary. Mr. Uttama Savanayana, Minister of Industry, and presided over the opening ceremony. Mr. Kobsak Phutrakul, assistant minister to the Prime Minister’s Office delivered keynote address “Investment of Government and Private Sectors for EEC projects”, at Grand ballroom, QSNCC

“กนอ.” เดินหน้าเจาะลึกโมเดลพื้นที่อีอีซี ตามแบบคันไซ ดึงความ มั่นใจญี่ปุ่นเข้าลงทุน หนุนอุตสาหกรรมการแพทย์ไทย

นายวี ร พงศ์ ไชยเพิ่ ม ผู ้ ว ่ า การ (กนอ.) เปิ ด เผยว่ า ภายหลั ง จากรั ฐ บาล ไทยได้ เ ชิ ญ ชวนนั ก ลงทุ น ประเทศญี่ ปุ ่ น มาศึ ก ษาดู ง านและให้ ทิ ศ ทาง การลงทุน ภายใต้โครงการระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ในช่วงที่ผ่านมา ขณะนี้เริ่มมีความชัดเจนในเรื่องการขับเคลื่อนให้เป็นรูปธรรม ทั้งในด้านกฎหมาย มาตรการส่งเสริมการลงทุน และการก�ำหนดขอบเขตพื้นที่ การลงทุนใน 10 กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย ส่งผลให้ กนอ. และส�ำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ได้นำ� คณะผูพ้ ฒ ั นานิคมอุตสาหกรรมร่วม กิจกรรมส่งเสริมการลงทุน (Road Show) พร้อมศึกษาดูงานการพัฒนาเขต เศรษฐกิจพิเศษยุทธศาสตร์คันไซ (Kansai) และดูงานด้านนวัตกรรมชีวภาพ การแพทย์ (Bio Medical) ณ ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 1-7 ตุลาคม 2560 เพื่อน�ำมาเป็นต้นแบบในการพัฒนาพื้นที่ EEC ที่ครอบคลุมใน 3 พื้นที่ คือ จังหวัด ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา ทั้งนี้เขตเศรษฐกิจพิเศษคันไซถือเป็นพื้นที่ที่มีการลงทุนในด้านนวัตกรรมชีวภาพ การแพทย์ (Kobe Biomedical Innovation Cluster : KBIC) ซึ่งเป็นคลัสเตอร์ทาง การแพทย์ที่ใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่น ที่มุ่งเน้นการพัฒนาด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี อุตสาหกรรมเครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ อีกทั้งยังเป็นศูนย์ทดสอบทางการ แพทย์แบบครบวงจรทันสมัย I-EA-T will focus on study the plausibility of EEC project with Kansai scheme to engage the Japanese Investors for the medical industry Mr.Verapong Chaiperm, I-EA-T Governor, said, since the EEC has been a heavily promoted project by the government as a new special economic zone to attract new foreign investment. The focal point of the government flagship development plan and policy will consist of the law and regulation, supporting investment plans, and the scope of investment in the 10 industry target group. Adding I-EA-T and BOI management team visited the Industrial Cluster in KANSAI and joined the Kobe Biomedical Innovation Cluster, during October 1-7, 2017, Kansai, Japan. He said, the I-EA-T had sought new ideas to contrive the development plan of EEC areas, which cover Rayong, Chonburi and Chachoengsao.

At the Kobe Biomedical Innovation Cluster, one of the largest biomedical clusters in Japan, research institutes highly specialized in the development of clinical applications and industrialization related to a variety of themes including pharmaceuticals, medical equipment, regenerative medicine, and other fields. This state-of-the-art research organization is the high bride center of medical hub.


นิคมอุตสาหกรรมสะเดา

ในเขตพั ฒนาเศรษฐกิจพิ เศษจังหวัดสงขลา SADAO INDUSTRIAL ESTATE IN SONGKHLA SPECIAL ECONOMIC ZONE

‘เลือกโอกาสขยายธุรกิจสู่อาเซียน เลือกนิคมอุตสาหกรรมสะเดา’

Logistics (warehouses and DCs)

Rubber industries and related business Processed agriculture, Food products and Halal Food products Textiles and leathers

Services and other business

Email : investment.1@ieat.mail.go.th Telephone. 02 2530561 Call Center. 02 2072700

www.ieat.go.th www.thaisez.com/songkhla.html


EVERYONE USES RUBBER PRODUCTS DAILY

เลื อ กลงทุ น ในอุ ต สาหกรรมยางพารา เลื อ ก ‘Rubber City’

Email : investment.1@ieat.mail.go.th Telephone. 02 2530561 Call Center. 02 2072700 www.ieat.go.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.