Annual Report Biotec 2016

Page 1

รายงานประจำป 2559

รายงานประจำป 2559

ศูนย พันธุว�ศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห งชาติ

ศูนย พันธุว�ศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห งชาติ

สำนักงานพัฒนาว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กระทรวงว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี 113 อุทยานว�ทยาศาสตรประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท 0 2564 6700 โทรสาร 0 2564 6701-5 www.biotec.or.th



ธ เป็นดั่ง แสงอรุณ อุ่นทั่วหล้า สถิตใน ใจชน ล้นปฐพี ดวงใจ ไทย ดั่งถูกคร่า มาจากอก ไทยทั้งผอง แซ่ซ้องมั่น ค�ำสัญญา

รักษ์ไพร่ฟ้า ทั่วถิ่นไทย ให้สุขี เจ็ดสิบปี ที่ทรงงาน สานสืบมา น�้ำตาตก ยามอรุณลับ ดับขอบฟ้า ขอเป็นข้า รองพระบาท ทุกชาติไป

น้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอันหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า คณะกรรมการ ผู้บริหาร และบุคลากร ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

ภาพ : เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ ผู้ประพันธ์ : วนนิตย์ วิมุตติสุข

AW Biotec 2559-��������.indd 1

7/22/2560 BE 17:45


รายงานประจำ�ปี 2559

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

ISBN : 978-616-12-0505-8

เอกสารเผยแพร่

พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2560 จำ�นวนพิมพ์ 700 เล่ม

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2560 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไม่อนุญาตให้คัดลอก ทำ�ซ้�ำ และดัดแปลง ส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้ นอกจากได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของลิขสิทธิ์เท่านั้น

Copyright © 2017 by:

National Center for Genetic Engineering and Biotechnology National Science and Technology Development Agency Ministry of Science and Technology 113 Thailand Science Park, Phahonyothin Road, Khlong Nueng, Khlong Luang, Pathum Thani 12120 Tel. 66 2564 6700 Fax. 66 2564 6701-5

จัดทำ�โดย

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 113 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำ�บลคลองหนึ่ง อำ�เภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ 0 2564 6700 โทรสาร 0 2564 6701-5 http://www.biotec.or.th

ค�ำอธิบายภาพประกอบปกหน้า : สายพันธุจ์ ลุ นิ ทรีย์ใหม่ทคี่ น้ พบในประเทศไทยปี 2559

AW Biotec 2559-��������.indd 2

7/22/2560 BE 17:45


สารบัญ

4 5 6 10 24 31 37 49

AW Biotec 2559-��������.indd 3

สารจากประธานกรรมการ สารจากผูอ้ ำ� นวยการ บทสรุปส�ำหรับผูบ้ ริหาร วิจยั และพัฒนาสร้างองค์ความรูส้ คู่ วามเป็นเลิศ พัฒนาต่อยอดสูก่ ารใช้ประโยชน์และสร้างผลกระทบ เตรียมความพร้อมของประเทศ ศึกษาเชิงนโยบาย พันธมิตรต่างประเทศ พัฒนาก�ำลังคน และส่งเสริมการเรียนรู้ สรุปผลงานส�ำคัญของไบโอเทค ปี 2555-2559 ภาคผนวก 49 สิทธิบตั ร และอนุสทิ ธิบตั ร และความลับทางการค้า 55 รางวัลแห่งความส�ำเร็จ 57 บทความตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ 63 โครงสร้างไบโอเทค 64 คณะกรรมการบริหารไบโอเทค 64 คณะกรรมการทีป่ รึกษานานาชาติ 64 คณะผูบ้ ริหารไบโอเทค

7/22/2560 BE 17:45


4

สารจากประธานกรรมการ

ในปีงบประมาณ 2559 เป็นปีสดุ ท้ายทีศ่ นู ย์พนั ธุวศิ วกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) ได้ด�ำเนินงานตาม วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละสอดคล้ อ งตามเป้ า หมายของแผนกลยุ ท ธ์ ฉบับที่ 5 (ปีงบประมาณ 2555-2559) ของส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในการส่ ง เสริ ม สนับสนุน และดําเนินงานวิจัยพัฒนาด้านเทคโนโลยีชีวภาพ การจั ด ตั้ ง หน่ ว ยวิ จั ย เฉพาะสาขาร่ ว มกั บ สถาบั น การศึ ก ษา ต่ า งๆ การสร้ า งและพั ฒ นาก� ำ ลั ง คน การสร้ า งโครงสร้ า ง พืน้ ฐาน เพือ่ สร้างองค์ความรูแ้ ละสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีนำ� ไป ประยุกต์ใช้เพือ่ ตอบโจทย์และแก้ปญ ั หาส�ำคัญของประเทศ และเป็น ปีทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลงทีมบริหารของไบโอเทค เนือ่ งจากเป็นปีทคี่ รบ วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของ ดร.กัญญวิมว์ กีรติกร ผูอ้ ำ� นวยการ ไบโอเทค เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2559 และคณะกรรมการ พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ได้อนุมัติการแต่งตั้ง ดร.สมวงษ์ ตระกูลรุ่ง เข้าด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการไบโอเทค ตัง้ แต่วนั ที่ 16 พฤษภาคม 2559 เป็นต้นมา

ที่ตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสียทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคชุมชน และสังคม ซึง่ ก่อให้เกิดผลกระทบโดยรวมต่อสังคมและประเทศชาติ (collective impact) มาอย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนีค้ วามสามารถ ของนักวิจยั ไบโอเทคยังเป็นทีป่ ระจักษ์ในระดับสากลดังแสดงได้จาก จ�ำนวนผลงานทางวิชาการและการได้รบั รางวัลทางวิชาการต่างๆ

ในนามของคณะกรรมการบริหารไบโอเทค ผมขอขอบคุณ คณะผู้บริหารและพนักงานไบโอเทค ดร.กัญญวิมว์ กีรติกร และอดี ต คณะผู ้ บริ หารไบโอเทค รวมทั้ ง หน่ ว ยงานพั น ธมิ ต ร ของไบโอเทคที่ ร ่ ว มกั น ผลั ก ดั น สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า น “เทคโนโลยี ชี ว ภาพ” จนน� ำ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ จ ริ ง ต า ม ค ว า ม ต ้ อ ง ก า ร ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ข อ ใ ห ้ ก� ำ ลั ง ใ จ ดร.สมวงษ์ ตระกู ล รุ ่ ง และที ม บริ ห ารชุ ด ใหม่ ใ นการน� ำ พา ไบโอเทคก้ า วไปกั บ ไทยแลนด์ 4.0 สู ่ อ งค์ ก รวิ จั ย ที่ ส� ำ คั ญ ในการน�ำพาสังคมไทยเข้าสู่ “สังคมฐานความรู้” น�ำความรู้ ความสามารถด้านเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อสร้างโอกาสให้กับ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น และเป็น เป็นทีช่ ดั เจนว่าผลส�ำเร็จของไบโอเทคในปีงบประมาณ 2559 พลังร่วมในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ชาติตอ่ ไป และตลอดระยะเวลา 5 ปี ของแผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับที่ 5 (ปี ง บประมาณ 2555-2559) เกิ ด จากการท� ำ งานร่ ว ม และการสนั บ สนุ น จากพั น ธมิ ต รในภาคส่ ว นต่ า งๆ ทั้ ง ใน และต่างประเทศ ท�ำให้ ไ บโอเทคได้ส ร้างองค์ความรู ้ พั ฒ นา เทคโนโลยี ฐ านที่ ส� ำ คั ญ เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มและสร้ า ง นายศักรินทร์ ภูมริ ตั น ความสามารถของประเทศในอนาคต รวมทั้งการด�ำเนินงาน ประธานกรรมการบริหารไบโอเทค

AW Biotec 2559-��������.indd 4

7/22/2560 BE 17:45


5

สารจากผู้อ�ำนวยการ

ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) มีเป้าหมายการด�ำเนินงานวิจยั และพัฒนาเพือ่ สร้างความสามารถ ด้านเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศ น�ำไปสู่การใช้ประโยชน์และ สร้างผลกระทบทั้งในเชิงพาณิชย์และการพัฒนาสังคมชุมชน โดยด�ำเนินงานสอดคล้องและเชื่อมโยงกับแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 5 (ปีงบประมาณ 2555-2559) ของส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จากการด� ำ เนิ น งานวิ จั ย และพั ฒ นาสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้านเทคโนโลยีชีวภาพมาอย่างต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ 2559 ไบโอเทคมีผลงานวิจยั ทัง้ ทีเ่ ป็นองค์ความรูแ้ ละการน�ำไปใช้ประโยชน์ ในภาคการผลิต เช่น สาร P218 ต้านเชื้อมาลาเรียดื้อยาได้รับ อนุมัติและอยู่ระหว่างด�ำเนินการทดสอบความปลอดภัยในระดับ การทดสอบครั้งแรกในมนุษย์เพื่อยื่นจดทะเบียน “ยาวิจัยใหม่” การค้ น พบสาเหตุ โ รคไข่ ป ลาสี แ ดงในปลานิ ล และปลาทั บ ทิ ม การพั ฒ นาเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพกระบวนการผลิ ต ยาอมแก้ ไ อ แผนโบราณ และได้ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานในพื้นที่ ท้ อ งถิ่ น เพื่ อ ขยายองค์ ค วามรู ้ จ ากการวิ จั ย สู ่ ชุ ม ชน เช่ น การถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ก ารผลิ ต เชื้ อ ราบิ ว เวอเรี ย ก� ำ จั ด แมลงศั ต รู พื ช การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ที่ ได้ มาตรฐาน การพัฒนาสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัย ได้แก่ โรงเรือนมาตรฐานความปลอดภัยทางชีวภาพ โรงงาน ต้ น แบบชี ว กระบวนการเพื่ อ อุ ต สาหกรรมชี ว ภาพ และการ พัฒนาก�ำลังคนด้านวิจัยและพัฒนา การเผยแพร่ความรู้ความ ก้าวหน้าของเทคโนโลยีชีวภาพสู่สาธารณะและชุมชน นอกจากนี้

AW Biotec 2559-��������.indd 5

ปีงบประมาณ 2559 เป็นปีสุดท้ายของแผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับที่ 5 ไบโอเทคจึงได้รวบรวมผลงานส�ำคัญและความก้าวหน้า ด้านเทคโนโลยีที่ ไบโอเทคได้ด�ำเนินการระหว่างปีงบประมาณ 2555-2559 ไว้ ในรายงานประจ�ำปีฉบับนีด้ ว้ ย การด�ำเนินงานของไบโอเทคที่ผ่านมาโดยการบริหารของ ดร.กัญญวิมว์ กีรติกร อดีตผู้อ�ำนวยการไบโอเทค มุ่งสร้าง ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูงและเกิดผลกระทบที่เป็นประโยชน์ ต่อประเทศ และยึดมั่นในจริยธรรมการวิจัยอย่างต่อเนื่อง การ ให้ความส�ำคัญในการส่งเสริมการสร้างความร่วมมืองานวิจัย กั บ พั น ธมิ ต รทั้ ง ในและต่ า งประเทศ การพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความท้าทายต่างๆ รวมทั้งผลักดันให้มีการพัฒนาระบบการสนับสนุนต่างๆ ที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งนี้ ผมในฐานะที่ ได้รับความไว้ วางใจให้เข้ามาบริหารไบโอเทคตัง้ แต่วนั ที่ 16 พฤษภาคม 2559 จะ สืบทอดแนวทางการบริหารเพือ่ ให้เกิดความต่อเนือ่ งในการพัฒนา ไบโอเทคและพัฒนาความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีชีวภาพของ ประเทศที่จะเป็นส่วนส�ำคัญหนึ่งในการน�ำประเทศสู่เศรษฐกิจ ฐานชีวภาพในอนาคต

นายสมวงษ์ ตระกูลรุง่ ผูอ้ ำ� นวยการไบโอเทค

7/22/2560 BE 17:45


6

บทสรุปผู้บริหาร Excellence

Relevance

Impact

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) ด�ำเนินการวิจัยและพัฒนา โดยมีเป้าหมายเพื่อการ พัฒนาเทคโนโลยีและใช้ความรูท้ างเทคโนโลยีชวี ภาพให้เกิดประโยชน์และสร้างผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ อย่างยั่งยืน และน�ำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของสังคม โดยให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินการร่วมกับ พันธมิตรทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ การสนับสนุนทุนวิจัย การเสริมสร้างโครงสร้าง พืน้ ฐานส�ำหรับการวิจยั ของประเทศ การร่วมผลิตและพัฒนาบุคลากรวิจยั ทีจ่ ะเป็นก�ำลังส�ำคัญทางด้านการพัฒนา เทคโนโลยีชีวภาพของประเทศ โดยในปีงบประมาณ 2559 ไบโอเทคมีผลการด�ำเนินงาน ดังนี้ การวิ จั ย และพั ฒ นาสร้ า งองค์ ค วามรู ้ สู ่ ค วามเป็ น เลิ ศ ไบโอเทคด�ำเนินการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความสามารถ ในการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพที่ส�ำคัญเพื่อเป็นฐานส�ำหรับ น�ำไปประยุกต์ ใช้ ในการพัฒนาและสร้างผลงานที่ตอบสนอง ต่อความต้องการของภาคการผลิตทางการเกษตร การแพทย์ และสาธารณสุข อุตสาหกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม โดย ในปีงบประมาณ 2559 ผลงานจากการวิจัยได้รับการตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติจ�ำนวน 223 บทความ ซึ่ง เป็นบทความตีพิมพ์ ในวารสารที่อยู่ใน citation index จ�ำนวน 196 บทความ เป็นบทความตีพิมพ์ ในวารสารที่มีค่า impact factor มากกว่ า 4 จ� ำ นวน 21 บทความ ได้ รั บ สิ ท ธิ บั ต ร ที่ยื่นจดในสหรัฐอเมริกา 1 ฉบับ ได้รับอนุสิทธิบัตร 30 ฉบับ ยื่นจดสิทธิบัตร 17 ค�ำขอ ยื่นจดอนุสิทธิบัตร 17 ค�ำขอ และ ยื่นจดความลับทางการค้า 16 ค�ำขอ นักวิจัยไบโอเทคได้รับ รางวั ล ทางวิ ช าการทั้ ง ในระดั บ ชาติ แ ละระดั บ นานาชาติ ร วม 24 รางวัล ตัวอย่างผลงานวิจยั ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ การพัฒนาสายพันธุ์ ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ทีม่ ลี กั ษณะทนน�ำ้ ท่วมและต้านทานเพลีย้ กระโดดสีนำ�้ ตาลเมือ่ น�ำไปทดสอบปลูกพบลักษณะการต้านทาน ทีค่ งตัว มีเมล็ดและคุณภาพหุงต้มใกล้เคียงข้าวขาวดอกมะลิ 105 ค้นพบสาเหตุที่ท�ำให้เกิดการระบาดโรคไข่ปลาสีแดงในปลานิล และปลาทั บ ทิ ม ซึ่ ง เกิ ด จากแบคที เ รี ย Hahella chejuensis

AW Biotec 2559-��������.indd 6

วัคซีนสุกร PRRSV ต้นแบบที่ผ่านการทดสอบความปลอดภัย เบือ้ งต้นในลูกสุกรและจะพัฒนาต้นแบบให้เหมาะสมกับสายพันธุท์ ี่ ระบาดในประเทศไทย การค้นพบว่าภูมคิ มุ้ กันต่อไวรัสเด็งกีส่ าเหตุ ของโรคไข้เลือดออกส่งเสริมให้เกิดการเพิ่มจ�ำนวนของไวรัสซิก้า ชุดตรวจวินจิ ฉัยและจ�ำแนกเชือ้ มาลาเรียด้วยเทคนิค LAMP-LFD ผ่านการทดสอบใช้จริงกับตัวอย่างเลือดผูป้ ว่ ยพบว่าให้คา่ ความไว และจ�ำเพาะต่อเชือ้ สูงมาก การพัฒนาต่อยอดสู่การใช้ประโยชน์ ไบโอเทคด�ำเนินการ ต่อยอดและประยุกต์ ใช้ผลงานวิจัยให้เกิดประโยชน์เชิงพาณิชย์ ในรูปแบบของการถ่ายทอดเทคโนโลยีและอนุญาตให้ ใช้สิทธิใน ทรัพย์สนิ ทางปัญญาจ�ำนวน 7 รายการ มีโครงการร่วมวิจยั และ รับจ้างวิจยั จ�ำนวน 65 โครงการ โดยเป็นโครงการใหม่ 26 โครงการ และโครงการต่อเนือ่ ง 39 โครงการ ได้ ใช้ความเชีย่ วชาญเพือ่ การ บริการด้านเทคนิควิเคราะห์ทดสอบให้แก่ภาครัฐและภาคเอกชน จ�ำนวน 19,824 รายการ จัดประชุมแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและ การเยีย่ มชมห้องปฏิบตั กิ ารทีเ่ กีย่ วข้องกับการวิจยั ด้านการตรวจ วินจิ ฉัยโรคพืชแบบหลายเชือ้ ในคราวเดียวให้แก่ผปู้ ระกอบการด้าน การเกษตร 22 คน และหน่วยงานภาครัฐ 4 คน นอกจากนี้ ไบโอเทค ได้ถา่ ยทอดเทคโนโลยีเพือ่ ประโยชน์ตอ่ สังคมและชุมชนชนบท ได้แก่ การร่วมมือกับกรมส่งเสริมการเกษตรเพือ่ ขยายผลกระบวนการ

7/22/2560 BE 17:45


7

ผลิตเชือ้ ราบิวเวอเรียทีม่ มี าตรฐาน โดยอบรมด้านเทคนิคต่างๆ ให้ แก่ศนู ย์สง่ เสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช การสนับสนุน ให้เกษตรกรปลูกพืชหลังนาที่เป็นปุ๋ยพืชสดเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ จ�ำหน่ายและร่วมกับหน่วยงานในท้องถิ่นเพื่อถ่ายทอดความรู้ ด้ า นหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก ารที่ ดี ใ นการผลิ ต อาหารและมาตรฐาน สุขลักษณะทีด่ ใี นการผลิตอาหาร ทัง้ นีจ้ ากการประเมินผลกระทบ ที่เกิดจากการน�ำผลงานวิจัยและพัฒนาไปใช้ประโยชน์จ�ำนวน 45 โครงการ พบว่าท�ำให้เกิดผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม ต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศรวม 2,501 ล้านบาท โดยเป็น ผลกระทบด้านการลงทุน 688 ล้านบาท การท�ำให้เกิดรายได้ เพิม่ ขึน้ 1,670 ล้านบาท การลดต้นทุน 21 ล้านบาท และลดการ น�ำเข้า 122 ล้านบาท

ของไบโอเทค จ�ำนวน 12 ทุน จาก 4 ประเทศ และรับนักศึกษา จากสถาบันการศึกษาในต่างประเทศเข้าฝึกอบรมการท�ำวิจัย ภายใต้ International Exchange Program จ�ำนวน 96 คน จาก 20 ประเทศ

การศึกษาเชิงนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพ ผลการด�ำเนินงาน ในปี 2559 ไบโอเทคศึกษาข้อมูลส�ำหรับการเตรียมความพร้อมรับมือ ต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี และนโยบายที่มีความส�ำคัญ ต่อการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ การจัดท�ำแผนที่ น�ำทางเทคโนโลยีฐานเป้าหมายของประเทศไทยในระยะ 10 ปี (ปี 2560-2569) การจัดท�ำแนวทางระมัดระวังล่วงหน้าด้านความ ปลอดภัยทางชีวภาพเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) และแนวทางปฏิบตั เิ พือ่ ความปลอดภัยทางชีวภาพ การพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีชวี ภาพ ไบโอเทคให้ความ ส�ำหรับการใช้จลุ นิ ทรียด์ ดั แปลงพันธุกรรมในสภาพควบคุมเพือ่ ใช้ ส�ำคัญกับการส่งเสริมการสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี ในระดับโรงงานต้นแบบและอุตสาหกรรม (ฉบับปรับปรุง) ชีวภาพทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เช่น สนับสนุนทุนวิจัย ระดับหลังปริญญาเอก 12 ทุน ทุนนักศึกษาระดับปริญญาเอก การใช้จา่ ยและรายได้จากการด�ำเนินงาน ไบโอเทคมีคา่ ใช้จา่ ย 5 คน ปริญญาโท 11 คนและปริญญาตรี 7 คน รวมทั้งรับ ทัง้ สิน้ 760.17 ล้านบาท จ�ำแนกเป็นค่าใช้จา่ ยตามพันธกิจหลักใน นักศึกษาปริญญาตรีเพือ่ ฝึกงาน 100 คน และไบโอเทคได้เผยแพร่ การด�ำเนินงานเป็นด้านการวิจยั และพัฒนา 527.20 ล้านบาท (69%) ความรูค้ วามก้าวหน้าของเทคโนโลยีชวี ภาพโดยการจัดฝึกอบรม ด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยี 29.17 ล้านบาท (4%) ด้านโครงสร้าง เชิงปฏิบัติการและประชุมสัมมนาวิชาการ 19 เรื่อง ให้แก่นักวิจัย พืน้ ฐาน 58.48 ล้านบาท (8%) ด้านการพัฒนาก�ำลังคน 25.43 นักวิชาการจากภาครัฐและเอกชนจ�ำนวน 1,663 คน หรือ 2,338 ล้า นบาท (3%) และด้า นการบริ หารจั ด การภายใน 119.89 คน-วัน รวมทั้งการสร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และ ล้านบาท (16%) เทคโนโลยีตอ่ สาธารณะโดยสือ่ สารผ่านช่องทางรายการโทรทัศน์ จัดกิจกรรมร่วมกับสือ่ มวลชน และร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรใน ไบโอเทคมีรายได้ที่ ได้รับการสนับสนุนและให้บริการต่างๆ พื้นที่ในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ จากหน่วยงานภายนอกทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ รวม 129.21 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในโรงเรียนชนบท ล้านบาท แบ่งเป็นรายได้จากการได้รบั ทุนอุดหนุนวิจยั การร่วมวิจยั และรับจ้างวิจยั 84.48 ล้านบาท และรายได้จากการให้บริการวิเคราะห์ การสร้างพันธมิตรวิจัยระดับนานาชาติ ไบโอเทคให้ความ ทดสอบ การจัดประชุมสัมมนาวิชาการ การถ่ายทอดเทคโนโลยีและ ส�ำคัญกับการสร้างความร่วมมือวิจยั ระดับนานาชาติเพือ่ ให้กา้ วทัน อืน่ ๆ 44.73 ล้านบาท ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี รวมทัง้ การเป็นทีร่ จู้ กั และยอมรับใน เวทีระดับโลก โดยมุง่ เน้นการสร้างพันธมิตรวิจยั การแบ่งปันความรู้ ด้านบุคลากร ไบโอเทคมีบคุ ลากรรวม 565 คน แบ่งเป็นวุฒิ การแลกเปลี่ยนและพัฒนาบุคลากรวิจัย โดยในการประชุมคณะ การศึกษาระดับปริญญาเอก 184 คน (32%) ปริญญาโท 207 คน ทีป่ รึกษานานาชาติประจ�ำปี 2559 ได้มกี ารแลกเปลีย่ นความคิดเห็น (37%) ปริญญาตรี 151 คน (27%) และต�ำ่ กว่าปริญญาตรี 23 คน และได้รบั ข้อเสนอแนะในด้านกลยุทธ์การด�ำเนินงานวิจยั การสร้าง (4%) หรื อ แบ่ ง ตามกลุ ่ ม งานเป็ น กลุ ่ ม บริ ห ารระดั บ สู ง และ ความประจักษ์ในเวทีนานาชาติ แลกเปลีย่ นประสบการณ์การท�ำงาน บริหารจัดการ 22 คน (4%) กลุม่ วิจยั และวิชาการ 470 คน (83%) วิจยั ให้ประสบความส�ำเร็จเกิดผลกระทบทีเ่ ป็นประโยชน์ ไบโอเทค และกลุม่ สนับสนุน 73 คน (13%) ได้ลงนามสัญญาความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันการศึกษา และสถาบันการวิจยั ใน 7 ประเทศ จ�ำนวน 10 หน่วยงาน สนับสนุน บุคลากรวิจัยจากประเทศเพื่อนบ้านเพื่อท�ำวิจัยในหน่วยวิจัย

AW Biotec 2559-��������.indd 7

7/22/2560 BE 17:45


8

วิสัยทัศน์ “ไบโอเทคเป็นพันธมิตรร่วมทางที่ดีสู่สังคมฐานความรู้ด้วย เทคโนโลยีชวี ภาพ”

บุคลากร

หน้าที่หลักที่ส�ำคัญ

565

184

ปริญญาเอก 32%

207

ปริญญาโท 37%

151 ปริญญาตรี 27% ด�ำเนินงานวิจยั และพัฒนาเพือ่ พัฒนาเทคโนโลยีฐานทีส่ ำ� คัญ และ 23 ต่ำกวาปริญญาตรี 4% การวิจยั และพัฒนาทีต่ อบสนองต่อการแก้ปญ ั หาและความต้องการ ของประเทศ รวมทั้งเชื่อมโยงและส่งเสริมให้มีการน�ำผลงานวิจัย และพัฒนาไปสูผ่ ู้ใช้ทงั้ เพือ่ การพาณิชย์และการน�ำไปพัฒนาสังคม � คัญ ชุมชนในเชิงสาธารณประโยชน์ โดยมุ่งหวังให้เกิดการใช้ความรู้ แนวทางการด�ำเนินงานที่สำ และประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพในการพัฒนาประเทศ ด้าน เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ เพื่อส่งมอบการใช้ประโยชน์ สังคมและเศรษฐกิจ ได้อย่างยัง่ ยืน รวมทัง้ การสร้างความพร้อม และเพื่อการสร้างผลกระทบสูง และความสามารถของประเทศ โดยการสนับสนุ นการลงทุ น AA การท� ำ งานร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานพั น ธมิ ต ร โดยเน้ น การใช้ โครงสร้างพื้นฐาน เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการวิจัย ทรั พ ยากรร่ ว มในการเอื้ อ ประโยชน์ ร ่ ว มกั น เพื่ อ ให้ เ กิ ด เฉพาะสาขาและการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรวิจยั ประสิทธิภาพและสร้างผลงานได้อย่างรวดเร็ว AA การพัฒนาบุคลากรวิจัย การเสริมสร้างอาชีพนักวิจัยด้วย กลไกการมีนกั วิจยั พีเ่ ลีย้ ง เสริมสร้างกลุม่ วิจยั ทีเ่ ข้มแข็ง และ เป้าหมายไบโอเทค ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนบุคลากรวิจัย ซึ่งน�ำไปสู่การ การวิ จั ย และพั ฒ นาเพื่ อ สร้ า งความสามารถด้ า นเทคโนโลยี พัฒนาความร่วมมือในการวิจยั ทัง้ ในและต่างประเทศ ชีวภาพของประเทศให้เกิดผลทั้งในเชิงความเป็นเลิศทางวิชาการ AA มีระบบการติดตามประเมินคุณภาพของการวิจยั และพัฒนา (Excellence) และเป็นความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์จากผลงาน ทั้งในระดับโครงการ ระดับหน่วยปฏิบัติการวิจัย และระดับ วิจยั ทัง้ ในเชิงพาณิชย์ และการพัฒนาสังคมและชุมชน (Relevance) องค์กรโดยผูท้ รงคุณวุฒแิ ละผูเ้ ชีย่ วชาญจากภายนอก เพือ่ ให้เกิดผลกระทบสูง (Impact)

คน

ผลการใช้จ่าย

16%

บริหารจัดการภายใน

8% โครงสรางพื้นฐาน 4% ถายทอดเทคโนโลยี

ทรัพยากร ชุมชนชนบท และผูดอยโอกาส

760.17 ล านบาท

3%

พัฒนากำลังคน

AW Biotec 2559-��������.indd 8

16%

ผลการใช จ าย

69%

24 % เกษตร

และอาหาร

15 % เทคโนโลยีฐาน

สุขภาพ และการแพทย

9%

บริหาร จัดการวิจัย

3%

2พลัง%งาน

และสิ่งแวดลอม

วิจัยและพัฒนา

7/22/2560 BE 17:45


9

รายงานประจ�ำปี 2559

ผลงานและรางวัล

ผลงานตีพิมพในวารสารวิชาการ ระดับนานาชาติ จำนวน บทความ

รางวัลทางวิชาการ

223

• ระดับนานาชาติ • ระดับชาติ

24 รางวัล 5 19

รางวัล รางวัล

ไดรับสิทธิบัตร ไดรับอนุสิทธิบัตร ยื่นจดสิทธิบัตร ยื่นจดอนุสิทธิบัตร ยื่นจดความลับทางการคา

1 30 17 17 16

ฉบับ ฉบับ คำขอ คำขอ คำขอ

รายได้จากหน่วยงานแหล่งทุนภายนอก ประเภทรายได ฝ กอบรม/สัมมนา 1.23 ลานบาท 1%

บริการเทคนิค/วิชาการ

40.40 ลานบาท 31%

129.21

รับจ าง/ร วมวิจัย

31.83 ลานบาท

ล านบาท

25%

ประเภทหนวยงาน

ลิขสิทธิ/สิทธิประโยชน 1.45 ลานบาท 1% ค าเช า/บริการสถานที่

เงินอุดหนุน 52.65 ลานบาท 41%

1.65 ลานบาท

44%

เอกชน 56.77 ลานบาท

42%

ภาครัฐ 54.27 ลานบาท

14%

ต างประเทศ 18.17 ลานบาท

1%

การประเมินผลกระทบ ประเภทโครงการ

ผลกระทบรวม

2,501 ลานบาท (45 โครงการ)

1,019

763

628

การเกษตรและอาหาร

การแพทย สาธารณสุข

สิ่งแวดลอม

688

122

21

ลดการนำเขา

ลดตนทุน

(33 โครงการ)

1,670

AW Biotec 2559-��������.indd 9

โครงสรางพื้นฐาน (2 โครงการ)

(2 โครงการ)

ประเภทผลกระทบ รายไดเพิ่มขึ้น

(8 โครงการ)

91

ลงทุนเพิ่มขึ้น

7/24/2560 BE 18:54


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

10

วิจัยและพัฒนา สร้างองค์ความรู้สู่ความเป็นเลิศ ไบโอเทคด�ำเนินการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความ สามารถในการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพที่ส�ำคัญเพื่อ เป็นฐานส�ำหรับการน�ำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาและ สร้างผลงานที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาค การผลิตทางการเกษตร การแพทย์และสาธารณสุข อุตสาหกรรม พลังงานและสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้เกิดการน�ำ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ม าช่ ว ยพั ฒ นาประเทศ ด้านคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ เพิ่มขีดความสามารถ ของการแข่งขัน และสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ

AW Biotec 2559-1.indd 10

7/24/2560 BE 6:26 PM


11

รายงานประจ�ำปี 2559

A

ไบโอเทคมุ ่ ง สร้ า งความสามารถด้ า น เทคโนโลยี ชี ว ภาพของประเทศ เพื่ อ ผลิ ต ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ เกิดประโยชน์ต่อ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และยึดมั่นใน จริยธรรมการวิจัย

ด้านทรัพยากรชีวภาพ : การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ อย่างยั่งยืน

การศึกษาด้านความหลากหลายทางชีวภาพ

มีเป้าหมายในการศึกษาความหลากหลายของเชื้อจุลินทรีย์ ในประเทศไทยโดยการส�ำรวจ ศึกษาอนุกรมวิธาน วิวัฒนาการ และการศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสิ่ ง มี ชี วิ ต เจ้ า บ้ า นกั บ จุลินทรีย์ ผลการด�ำเนินงานปี 2559 ค้นพบจุลินทรีย์สายพันธุ์ ไบโอเทคด�ำเนินงานวิจัยและพัฒนาเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ ใหม่จากแหล่งต่างๆ 19 สายพันธุ์ ได้แก่ แบคทีเรีย 7 สายพันธุ์ จากจุลินทรีย์ ให้ ได้อย่างคุ้มค่าและสร้างมูลค่าได้สูงสุด โดยได้ รา 9 สายพันธุ์ และเห็ด 3 สายพันธุ์ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการอนุรักษ์ทรัพยากร ชีวภาพ การจัดระบบการบริหารจัดการจุลินทรีย์และชีววัสดุ การค้นหาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากจุลินทรีย์ มีเป้าหมายในการค้นหาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพเพื่อใช้ ตามมาตรฐานสากล การประยุกต์ ใช้ทรัพยากรชีวภาพให้เกิด ประโยชน์ ในด้านต่างๆ เช่น ยา เอนไซม์ สารชีวภัณฑ์ และสารมูลค่าสูง ประโยชน์อย่างยัง่ ยืน โดยพัฒนาวิธกี ารตรวจหาสารออกฤทธิท์ างชีวภาพ การพัฒนา กระบวนการเลี้ยงจุลินทรีย์ ศึกษาสูตรโครงสร้างทางเคมีของ คลังเก็บรักษาจุลินทรีย์ สารสกัดจากจุลินทรีย์ สังเคราะห์หรือดัดแปรโมเลกุลทางเคมี (BIOTEC Culture Collection) พั ฒนาเทคโนโลยีการค้นหาเอนไซม์และยีนทีก่ ำ� หนดการสร้างเอนไซม์ คลังเก็บรักษาจุลนิ ทรียเ์ ป็นโครงสร้างพืน้ ฐานที่ไบโอเทคจัดตัง้ ขึน้ ตัง้ แต่ปี 2539 โดยมีวตั ถุประสงค์ในการเก็บรวบรวมจุลนิ ทรีย์ จากแหล่งทรัพยากรชีวภาพ พัฒนาระบบการสร้างโปรตีนในจุลนิ ทรีย์ ของประเทศเพือ่ การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชน์อย่างยัง่ ยืน ให้บริการ เจ้าบ้าน ผลการด�ำเนินงานปี 2559 ได้คน้ พบสารออกฤทธิท์ าง จุลินทรีย์แก่นักวิจัยสถาบันต่างๆ ทั่วประเทศ โดยมีการบริหาร ชีวภาพแบคทีเรียแอคติโนมัยสีท ราทะเล ราเอนโดไฟท์ ราแมลง จัดการและระบบการจัดเก็บรักษา และฐานข้อมูลจุลินทรีย์ที่เป็น และเห็ดต่างๆ รวมทัง้ สิน้ 224 สาร จ�ำแนกเป็นสารโครงสร้างใหม่ มาตรฐานสากล ผลการด�ำเนินงานถึงปี 2559 มีจำ� นวนจุลนิ ทรีย์ 85 สาร และสารทีท่ ราบโครงสร้างแล้ว 139 สาร ซึง่ มีฤทธิใ์ นการต้าน ทีเ่ ก็บรวบรวมสะสมทัง้ สิน้ 80,210 ตัวอย่าง เป็นกลุม่ ทีจ่ ำ� แนกแล้ว เชือ้ มาลาเรีย เชือ้ วัณโรค ต้านเซลล์มะเร็ง เป็นต้น 72.01% และกลุ่มที่ยังไม่สามารถจ�ำแนกได้ 27.99% มีการให้ จ�ำนวนสาร จ�ำนวนสาร รวมจ�ำนวนสาร กลุม่ จุลนิ ทรีย์ โครงสร้างใหม่ ทีท่ ราบโครงสร้าง ทีค่ น้ พบ บริการเตรียมจุลินทรีย์ ในงานวิจัยภายในและภายนอกจ�ำนวน 9 28 37 2,726 ตัวอย่าง ปัจจุบนั มีจำ� นวนจุลนิ ทรีย์ใน on-line catalogue แอคติโนมัยสีท ราทะเล 13 12 25 ส�ำหรับเผยแพร่ให้นักวิจัยภายนอกจ�ำนวน 10,608 ตัวอย่าง ราเอนโดไฟท์ 12 24 36 นอกจากนี้ มีวสั ดุชวี โมเลกุลทีเ่ ก็บรักษาจ�ำนวนทัง้ สิน้ 241 ตัวอย่าง ราแมลง 7 10 17 แบ่งเป็น vector 61 ตัวอย่าง host 25 ตัวอย่าง และ recombinant รา 13 27 40 155 ตัวอย่าง และเก็บรักษาตัวอย่างแห้งเห็ดราในพิพธิ ภัณฑ์เห็ดรา (BIOTEC Bangkok Herbarium) ที่ได้มาตรฐานสากล มีการให้ เห็ด 31 38 69 รวม 85 139 224 บริการรับฝากและยืมตัวอย่างเพือ่ การวิจยั จ�ำนวนทัง้ สิน้ 40,908 ตัวอย่าง

AW 10-64.indb 11

7/22/2560 BE 5:43 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

12

9

12

16

5

2

4 13

1

15

จุลนิ ทรียส์ ายพันธุ์ใหม่ทคี่ น้ พบในประเทศไทย 1. Kutzneria chonburiensis sp. nov. คัดแยกจากป่าบนภูเขา จ.ชลบุรี 2. Phytohabitans kaempferiae sp. nov. คัดแยกจากใบไม้ จ.อุบลราชธานี 3. Streptomyces verrucosisporus sp. nov. คัดแยกจากดินและทะเล จ.ชุมพร 4. Streptomyces phyllanthi sp.nov. คัดแยกจากล�ำต้นของต้นลูกใต้ ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5. Planomonospora corallina sp. nov. คัดแยกจากดินบริเวณรากของต้นไผ่ จ.พิษณุโลก 6. Acetobacter suratthanensis sp. nov. คัดแยกจากผลไม้ ใน จ.สุราษฎร์ธานี 7. Actinoplanes subglobosus sp. nov. คัดแยกจากดินในป่าเบญจพรรณ จ.ล�ำพูน 8. Cordyceps chiangdaoensis ราก่อโรคในตัวอ่อนของกลุม่ แมลงปีกแข็ง คัดแยกได้จาก จ.เชียงใหม่ 9. Cordyceps morakotii ราก่อโรคในมดกลุม่ Odontomachus คัดแยกได้จาก จ.เชียงใหม่ 10. Conoideocrella krungchingensis ราก่อโรคในเพลีย้ หอย คัดแยกได้จาก จ.นครศรีธรรมราช 11. Beauveria gryllotalpidicola ราก่อโรคในแมลงแยกได้จาก จ.นครราชสีมา 12. Beauveria loeiensis ราก่อโรคในแมลงคัดแยกได้จากฟาร์มใน จ.เลย 13. Moelleriella pongdueatensis ราก่อโรคในแมลงทีแ่ ยกได้จาก จ.เชียงใหม่ 14. Moelleriella phukhiaoensis ราก่อโรคในแมลงทีแ่ ยกได้จาก จ.ชัยภูมิ 15. Shrungabeeja longiappendiculata ราทีค่ ดั แยกได้จากล�ำต้นไผ่ จ.นครนายก 16. Durotheca macrostroma ราย่อยสลายไม้ทแี่ ยกได้จากต้น Castanopsis acuminatissima wood (Fagaceae) จ.ชัยภูมิ 17. Amanita gleocystidiosa เห็ดพิษชนิดใหม่ทแี่ ยกได้จาก จ.เพชรบูรณ์ 18. Amanita pyriformis เห็ดพิษชนิดใหม่ทแี่ ยกได้จาก จ.เชียงใหม่ 19. Amanita digitosa เห็ดพิษชนิดใหม่ทแี่ ยกได้จาก จ.ศรีสะเกษ

AW 10-64.indb 12

7/22/2560 BE 5:43 PM


13

รายงานประจ�ำปี 2559

การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ ในการควบคุมแมลง ศัตรูพืช

การใช้ประโยชน์จากจุลนิ ทรีย์ในการผลิตสารมูลค่าสูง

มุง่ เน้นการใช้รา Beauveria bassiana และโปรตีน Vip3A จาก แบคทีเรีย Bacillus thuringiensis ที่มีศักยภาพในการควบคุม แมลงศัตรูพชื เช่น หนอนกระทูห้ อม และเพลีย้ ต่างๆ มีผลงานและ องค์ความรูจ้ ากการวิจยั ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่

มีเป้าหมายการใช้จุลินทรีย์เป็นแหล่งผลิตกรดไขมันไม่อ่ิมตัว ได้แก่ กรดไขมันชนิดอะแรคชิโดนิค (arachidonic acid; ARA) กรด ไขมันชนิดแกมม่าลิโนเลนิค (gamma-linolenic acid; GLA) และกรด ไขมันชนิดไดโฮโมแกมม่าลิโนเลนิค (dihomo gamma-linolenic acid, DGLA) มีผลงานและองค์ความรูจ้ ากการวิจยั ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่

AA การพัฒนารา Beauveria bassiana เพือ่ ใช้เป็นสารชีวภัณฑ์

AA การพัฒนากระบวนการผลิตกรดไขมันชนิดแกมม่าลิโน-

คุณภาพสูงในการควบคุมแมลงศัตรูพชื ได้แก่ เพลีย้ กระโดด สีน�้ำตาล เพลี้ยอ่อน และเพลี้ยแป้ง การด�ำเนินงานปี 2559 ได้พฒ ั นาสูตรชีวภัณฑ์รา B. bassiana ทีป่ ระกอบด้วยเกลือ น�้ำตาลและสารพา ซึ่งพบว่าคงความมีชีวิตอยู่ของสปอร์รา มากกว่า 1 x 108 สปอร์ตอ่ กรัม ได้จนถึง 4 เดือนในการเก็บ รักษาที่อุณหภูมิ 25-35 องศาเซลเซียส โดยจะพัฒนาสูตร ผลิตภัณฑ์ ให้มีอายุการเก็บรักษาที่อุณหภูมิห้องให้นานขึ้น ต่อไป AA

AA การพัฒนาโปรตีน Vip3A จากแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis

เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการท�ำลายศัตรูพชื ได้แก่ หนอนกินใบจ�ำพวก หนอนผีเสือ้ หนอนกระทูผ้ กั การด�ำเนินงานปี 2559 ได้ศกึ ษา ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างและหน้าที่ของ Vip3A วิเคราะห์ หาตัวรับ (receptor) ที่จ�ำเพาะต่อโปรตีน Vip3A จากเซลล์ เยือ่ บุทางเดินอาหารของหนอนกระทูห้ อม โดยค้นพบต�ำแหน่ง ของโปรตีนทีจ่ บั กับ Vip3A อย่างชัดเจน เป็นโปรตีนมีขนาด ประมาณ 100-110 กิโลดัลตัน และ 60-70 กิโลดัลตัน ซึง่ คาดว่า โปรตีนทัง้ สองจะท�ำหน้าทีเ่ ป็นตัวรับซึง่ อยูร่ ะหว่างการวิเคราะห์ ชนิดของโปรตีนดังกล่าว

AW 10-64.indb 13

เลนิค (GLA) จากจุลินทรีย์ Mucor circinelloides เพื่อ น� ำไปประยุ ก ต์ ใ ช้ เป็ นวั ต ถุ ดิ บอาหารสั ต ว์ ท างเลื อก การ ด� ำ เนิ น งานปี 2559 ได้ พั ฒ นากระบวนการหมั ก รา M. circinelloides แบบแข็งในระดับขยายขนาด 200-300 กิโลกรัม และวิเคราะห์ตน้ ทุนการผลิต เพือ่ เป็นข้อมูลส�ำหรับ การพัฒนาสูเ่ ชิงพาณิชย์

พัฒนาการผลิตกรดไขมันชนิดไดโฮโมแกมม่าลิโนเลนิค (DGLA) จากรา Aspergillus oryzae สายพันธุ์ที่สะสม ลิปดิ สูงเป็นเซลล์เจ้าบ้าน การด�ำเนินงานปี 2559 ได้พฒ ั นา กระบวนการหมักแบบเหลว ศึกษาการควบคุมสภาวะการ เพาะเลี้ยงที่เหมาะสมส�ำหรับการสะสมลิปิดในเซลล์ พัฒนา สายพันธุร์ าดัดแปลงพันธุกรรม A.oryzae ทีม่ กี ารแสดงออก ของยีน diacylglycerol acyltransferase (DGAT) และศึกษา A. oryzae สายพันธุ์ดัดแปลงพันธุกรรมที่มีการสะสมกรด ไขมันสายยาวไม่อมิ่ ตัวชนิด DGLA ในไตรเอซิลกลีเซอรอล เพือ่ สร้างเทคโนโลยีฐานด้านการผลิตลิปดิ จากจุลนิ ทรีย์ โดยการ ปรับแต่งองค์ประกอบของกรดไขมันในนิวทรัลลิปดิ

7/22/2560 BE 5:43 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

14

ENZboost การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ ในการผลิตเอนไซม์ ส�ำหรับอุตสาหกรรมต่างๆ

มีเป้าหมายการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ การผลิตเอนไซม์ ที่ ได้จากจุลินทรีย์และประยุกต์ ใช้ ในกระบวนการผลิตในระดับ อุตสาหกรรมเป้าหมาย ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรม กระดาษ และอุตสาหกรรมสิง่ ทอ โดยมีผลงานและองค์ความรูจ้ าก การวิจยั ทีส่ ำ� คัญดังนี้ AA อุตสาหกรรมกระดาษ มุง่ เน้นการค้นหาเอนไซม์ทมี่ ศี กั ยภาพ

ENZbleach

ENZease

AA อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ มุง่ เน้นการพัฒนาเอนไซม์กลุม่ ย่อย

องค์ประกอบของเส้นใยพืชเพื่อเพิ่มคุณค่าของอาหารสัตว์ ผลงานวิจัยที่ผ่านมาได้พัฒนาเอนไซม์แมนนาเนสจากเชื้อ รา Aspergillus niger ซึ่งมีประสิทธิภาพเป็นสารเสริมใน อาหารสัตว์โดยใช้ชอื่ ว่า ENZboost การด�ำเนินงานปี 2559 ได้พฒ ั นาเทคโนโลยีการผสมสูตรและรูปแบบเอนไซม์แมนนาเนส ทีเ่ หมาะสมในระดับห้องปฏิบตั กิ าร และสภาวะการผลิตเอนไซม์ แมนนาเนสในระดับถังหมักขนาด 5 ลิตร ซึง่ จะพัฒนาสูตรเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพความทนร้อนต่อไป

ในการฟอกสีเยื่อกระดาษ ผลงานวิจัยที่ผ่านมาได้พัฒนา เอนไซม์ ไซลาเนสที่มีประสิทธิภาพในการฟอกสีเยื่อกระดาษ ของเยือ่ ยูคาลิปตัสโดยใช้ชอื่ ว่า ENZbleach การด�ำเนินงาน AA อุตสาหกรรมสิง่ ทอ มุง่ เน้นการพัฒนาเอนไซม์ทมี่ ศี กั ยภาพ ในปี 2559 ได้พฒ ั นาสูตรเอนไซม์ ENZbleach โดยผสมสาร ในการน�ำไปประยุกต์ ใช้ ในกระบวนการลอกแป้งและก�ำจัด เติมแต่งชนิดต่างๆ ท�ำให้เอนไซม์มีประสิทธิภาพการท�ำงาน สิ่งสกปรกบนผ้าฝ้ายแบบขั้นตอนเดียวส�ำหรับใช้ ในโรงงาน สูงขึ้นอย่างน้อย 20% และสารเติมแต่งยังช่วยยืดอายุการ สิ่งทอ ผลงานวิจัยที่ผ่านมาได้พัฒนาเอนไซม์อะไมเลสและ เก็บรักษาเอนไซม์ ได้นานกว่า 3 เดือนคงมีความสามารถใน เพคติเนสโดยใช้ชอื่ ว่า ENZease การด�ำเนินงานในปี 2559 การท�ำงานได้สูงถึง 70% นับจากวันที่ผลิต และได้ปรับปรุง ได้พฒ ั นาสูตรเอนไซม์และสารเติมแต่งทีช่ ว่ ยเพิม่ ประสิทธิภาพ เอนไซม์ ENZbleach ด้วยวิธี site-directed mutagenesis การท�ำงานของเอนไซม์ที่เหมาะสมต่อการน�ำไปใช้ ในขั้นตอน พบว่าเอนไซม์สามารถท�ำงานได้ดใี นสภาวะความเป็นด่างทีค่ า่ การจุ่ม-อัด-หมัก และการจุ่มแช่ ในระดับห้องปฏิบัติการและ pH 9 เป็นเวลาอย่างน้อย 1 ชัว่ โมง และเปรียบเทียบกับเอนไซม์ ระดับภาคสนาม รวมทั้งพัฒนากระบวนการผลิตเอนไซม์ ไซลาเนสดั้งเดิมพบว่ามีกิจกรรมการท�ำงานเพิ่มมากกว่า ENZease ด้วยวิธีการหมักในอาหารเหลวควบคู่การผลิต 2.5 เท่าทีอ่ ณ ุ หภูมิ 50 องศาเซลเซียส ด้วยวิธกี ารหมักบนอาหารแข็ง ซึง่ ประสบความส�ำเร็จในการน�ำ เอนไซม์ ไปใช้ ในโรงงานเอกชน และได้ทดสอบภาคสนามร่วม กับกลุม่ ผูผ้ ลิตผ้าฝ้ายพืน้ เมืองและผ้าหม้อห้อมในจังหวัดแพร่ พบว่าต้นทุนในการใช้เอนไซม์ตำ�่ กว่าการใช้สารเคมี

AW 10-64.indb 14

7/22/2560 BE 5:43 PM


15

รายงานประจ�ำปี 2559

ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ไบโอเทคด�ำเนินงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการ บ�ำบัดของเสียและการผลิตก๊าซชีวภาพ การออกแบบและพัฒนา เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูง เทคโนโลยีสะอาดและการลด ปริมาณของเสียในโรงงานอุตสาหกรรม การพัฒนาเอนไซม์เพือ่ ประยุกต์ใช้ในการแปรชีวมวลเป็นพลังงาน

งานวิจัยด้านพลังงานชีวภาพ

มีเป้าหมายการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพจาก ของเสียอุตสาหกรรมอาหารและแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เพือ่ บ�ำบัดของเสียและพลังงานทดแทน เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต ก๊าซชีวภาพ การพัฒนาเอนไซม์เพือ่ ประยุกต์ใช้ ในการแปรชีวมวล AA การพัฒนามัลติเอนไซม์เพื่อลดความหนืดของวัตถุดิบ ประเภทมั น ส� ำ ปะหลั ง ในการผลิ ต เอทานอล ศึ ก ษาการ เป็นเอทานอล การค้นหายีสต์ทมี่ ศี กั ยภาพในการผลิตเอทานอล มี ใช้ recombinant enzyme ทีม่ อี ยูใ่ น enzyme library เพือ่ ผลงานและองค์ความรูจ้ ากการวิจยั ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ เพิ่มประสิทธิภาพของเอนไซม์ ในกระบวนการผลิตเอทานอล จากมั นส�ำปะหลัง พบว่าเอนไซม์เอนโดโพลีกาแลคทูโรเนส AA การเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพ การด�ำเนินงาน เอนไซม์เพกเทตไลเอส และเอนไซม์เอนโดกลูคาเนส มีผลในการ ปี 2559 ได้พัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการบ�ำบัด ลดความหนืดของหัวมันส�ำปะหลังสดบด โดยมีการท�ำงาน ของเสียเพือ่ แก้ปญ ั หาการผลิตก๊าซชีวภาพทีม่ ไี ฮโดรเจนซัลไฟด์ แบบส่งเสริมกัน (synergy) ซึง่ ต้องหาสัดส่วนของเอนไซม์ทมี่ ี เจือปนสูง โดยได้ขอ้ มูลความเข้มข้นซีโอดี ความเข้มข้นซัลเฟต ประสิทธิภาพในการท�ำงานต่อไป และอัตราส่วนซีโอดีตอ่ ซัลเฟตต่อกระบวนการซัลเฟตรีดกั ชัน เพือ่ ลดความเป็นพิษของซัลไฟด์ และได้ขอ้ มูลการเพิม่ ปริมาณ จุลินทรีย์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพ และ งานวิจัยเพื่อการใช้ทรัพยากรน�้ำและพลังงานอย่างมี องค์ความรู้ในการผลิตเม็ดตะกอนจุลนิ ทรียท์ มี่ เี สถียรภาพใน ประสิทธิภาพ มีเป้าหมายเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต การใช้ทรัพยากร การบ�ำบัดน�ำ้ เสียทีม่ คี วามเข้มข้นสูง น�้ ำ และพลั ง งานของอุ ต สาหกรรมการผลิ ต แป้ ง มั น ส� ำ ปะหลั ง AA การผลิตเอทานอลจากชานอ้อย ศึกษาเชิงเทคนิคและเชิง การด�ำเนินงานในปี 2559 ได้ด�ำเนินงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาการ เศรษฐศาสตร์ของกระบวนการผลิตเอทานอลจากชานอ้อย สูญเสียแป้งมันส�ำปะหลังในระหว่างการผลิตซึ่งมีแป้งสูญเสียกับ โดยการใช้ ยี ส ต์ Scheffersomyces stipitis และ น�ำ้ เสียในขัน้ ตอนการเหวีย่ งแยกประมาณ 25-30% ของการสูญเสีย Saccharomyces cerevisiae พบว่าการใช้กลุ่มยีสต์ที่ แป้งทัง้ หมด และปัจจุบนั โรงงานอุตสาหกรรมเริม่ ใช้ ไฮโดรโคลนแทน ั นาและออกแบบไฮโดรโคลนให้เหมาะสม เหมาะสมในกระบวนการหมักแบบกึง่ กะทีม่ กี ารใช้เอนไซม์ในการ เครือ่ งเหวีย่ งแยก จึงได้พฒ เปลีย่ นชานอ้อยให้เป็นน�ำ้ ตาล จะช่วยเพิม่ ปริมาณเอทานอลได้ กับสมบัตนิ ำ�้ แป้ง ศึกษาข้อมูลปัจจัยทีม่ ผี ลต่อประสิทธิภาพในการ สูงสุดถึง 60 กรัมต่อลิตร และจากการจ�ำลองกระบวนการผลิต แยกแป้งและสิ่งเจือปน ท�ำให้ช่วยลดปริมาณแป้งที่สูญเสียไปกับ เอทานอลร่วมกับกระบวนการบดชานอ้อย พบว่าการหมักแบบ น�้ำเสียและควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์สุดท้ายได้ตามเกณฑ์ กึง่ กะด้วยการใช้กลุม่ ยีสต์ทเี่ หมาะสมสามารถผลิตเอทานอล มาตรฐาน นอกจากนี้ ไ ด้ จั ด ท� ำ ฐานข้ อ มู ล ค่ า มาตรฐานเชิ ง ได้สงู ถึง 250 กิโลกรัมต่อตันชานอ้อย โดยเอทานอลทีผ่ ลิต ประสิ ท ธิ ภ าพของการใช้ ท รั พ ยากรให้ กั บ กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรม จากชานอ้อยมีราคาใกล้เคียงกับราคาของเอทานอลที่ผลิต แป้งมันส�ำปะหลัง คู่มือกระบวนการผลิตแป้งมันส�ำปะหลัง และ จากมันส�ำปะหลังในปัจจุบัน ผลจากการวิเคราะห์แสดงให้ หนังสือรวบรวมกรณีตวั อย่างทีป่ ระสบความส�ำเร็จของอุตสาหกรรม เห็นว่ากระบวนการดังกล่าวช่วยลดปริมาณการใช้เอนไซม์ แป้งมันส�ำปะหลังไทยเพือ่ เป็นต้นแบบให้กบั โรงงานทีต่ อ้ งการปรับปรุง และเพิ่มผลผลิตเอทานอลได้ ซึ่งส่งผลให้ลดค่าใช้จ่ายใน กระบวนการผลิต ลดการใช้เชือ้ เพลิง การใช้นำ�้ และสารเคมี กระบวนการผลิตลง 44%

AW 10-64.indb 15

7/22/2560 BE 5:43 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

16

ด้านการเกษตรและอาหาร

AA ศึ ก ษาจุ ลิ น ทรี ย ์ ล ดปริ ม าณฮี ส ทามี น ในน�้ ำ ปลา มุ ่ ง เน้ น

มีเป้าหมายเพื่อศึกษาจุลินทรีย์ต้นเชื้อบริสุทธิ์และการใช้ ประโยชน์แบคทีเรียแลคติก การศึกษาความปลอดภัยในอาหาร การ ศึกษาเคมีอาหาร พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตแป้งและดัดแปรแป้งมัน ส�ำปะหลังเพือ่ เพิม่ การใช้ประโยชน์มนั ส�ำปะหลังในอุตสาหกรรมต่างๆ

วิ ธี ล ดปริ ม าณฮี ส ทามี น ด้ ว ยวิ ธี ท างชี ว ภาพ และน� ำ ไป ประยุกต์ ใช้ ในอุตสาหกรรมอาหารหมักที่มีเกลือสูง ผลการ ด�ำเนินงานปี 2559 ได้คัดแยกจุลินทรีย์อาเคียที่ชอบเกลือ ที่มีกิจกรรมของเอนไซม์ฮีสทามีนดีไฮโดรจีเนส จากการ คัดแยกจุลินทรีย์อาเคียได้พบว่าสายพันธุ์ Natrinemagari BCC24369 มีความสามารถในการลดฮีสทามีนได้สูง และ พบว่ากระบวนการผลิตเอนไซม์ดีไฮโดรจีเนสภายใต้สภาวะ ที่ไม่มีการนึ่งฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ Natrinemagari BCC24369 จะสามารถผลิตเอนไซม์สูงขึ้น 2.2 เท่า โดยมีค่ากิจกรรม การท� ำ งานไม่ แ ตกต่ า งจากเอนไซม์ ที่ ผ ลิ ต ได้ จ ากสภาวะ ทีผ่ า่ นกระบวนการนึง่ ฆ่าเชือ้

AA งานวิจัยจุลินทรีย์ โพรไบโอติก มุ่งเน้นการศึกษาวิจัยเชื้อ

AA การจัดท�ำเกณฑ์การปฏิบต ั ทิ ดี่ ีในการผลิตน�ำ้ ปลา ไบโอเทค

ไบโอเทคมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการ ปรับปรุงพันธุพ ์ ชื เศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญ การปรับปรุงพันธุก์ งุ้ กุลาด�ำ การพัฒนาวัคซีนสัตว์เศรษฐกิจ การพัฒนาด้านนวัตกรรม อาหาร

งานวิจยั ด้านนวัตกรรมอาหาร

จุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรคในอาหารสัตว์ เพื่อใช้ทดแทนยาปฏิชีวนะ โดยรวบรวมสายพันธุ์จุลินทรีย์ โพรไบโอติกจัดเก็บและสร้างคลังจุลินทรีย์ส�ำหรับน�ำไปใช้ ประโยชน์ ผลการด�ำเนินงานปี 2559 ได้จุลินทรีย์ ในกลุ่ม บิฟโิ ดแบคทีเรียม 607 ไอโซเลต กลุม่ แบคทีเรียกรดแลคติก 564 ไอโซเลต และกลุม่ แบคทีเรียอืน่ ๆ 447 ไอโซเลต ซึง่ แยกได้จาก น�ำ้ นมในคนและสัตว์ อุจจาระของทารกแรกเกิด และล�ำไส้สตั ว์

AA การประเมิ น ความเสี่ ย งของเชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย ์ ก ่ อ โรคตลอด

ร่วมกับส�ำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ และกรมประมง ศึกษาข้อมูลทางวิชาการเกีย่ วกับกระบวนการ ผลิ ต น�้ ำ ปลาให้ มี ค วามปลอดภั ย จากสารฮี ส ทามี น และ สารพิษโบทูลินัม ผลจากการศึกษาได้ข้อมูลกระบวนการ ผลิตน�้ำปลาจากทั้งในประเทศและต่างประเทศ และได้จัดท�ำ ร่างเกณฑ์การปฏิบัติที่ดีในการผลิตน�้ำปลา เพื่อน�ำเสนอ คณะกรรมการโคเด็กซ์สาขาสัตว์น�้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น�้ำ (CODEX) ผลการด�ำเนินงานปี 2559 ที่ประชุม CODEX ครัง้ ที่ 34 ณ เมืองอเลซัน ราชอาณาจักรนอร์เวย์ พิจารณา เห็นชอบต่อเกณฑ์การปฏิบัติฯ ให้อยู่ในมาตรฐานขั้นที่ 8 ซึง่ เป็นขัน้ ตอนสุดท้ายในการก�ำหนดมาตรฐาน และได้ประกาศใช้ ในทีป่ ระชุมใหญ่ CODEX Alimentarius Commission (CAC) ครัง้ ที่ 39 ณ กรุงโรม ประเทศอิตาลี

กระบวนการตั้งแต่การผลิตจนถึงการบริโภค มุ่งเน้นการ สร้างองค์ความรูเ้ กีย่ วกับแหล่งทีม่ า และการแพร่กระจายของ เชื้อก่อโรคในกระบวนการผลิตเพื่อหาแนวทางควบคุมและ ลดการปนเปือ้ น ผลการด�ำเนินงานปี 2559 ได้พบข้อมูลการ แพร่กระจายและข้อมูลพันธุศาสตร์ของเชือ้ แคมไพโลแบคเตอร์ ในกระบวนการผลิตเนื้อไก่ตั้งแต่พ่อแม่พันธุ์จนถึงโรงเชือด AA การแปรรูปแป้งมันส�ำปะหลังปราศจากกลูเตน ผลการ ด�ำเนินงานปี 2559 ได้พฒ ั นาต่อยอดการใช้ประโยชน์ฟลาว ในประเทศไทย และพบว่าฝูงไก่เนือ้ เป็นแหล่งทีม่ าหลักของการ มันส�ำปะหลังเป็นแป้งผสมเอนกประสงค์ปราศจากกลูเตน ปนเปือ้ นเชือ้ แคมไพโลแบคเตอร์ในเนือ้ ไก่ระหว่างกระบวนการผลิต และแป้งผสมที่มีฟลาวมันส�ำปะหลังในอัตราส่วนที่เหมาะสม สามารถน�ำมาใช้เตรียมแป้งพรีมกิ ซ์สำ� หรับผลิตภัณฑ์แพนเค้ก เชือ้ แคมไพโลแบคเตอร์เป็นเชือ้ ทีป่ นเปือ้ นในผลิตภัณฑ์จาก และวาฟเฟิลทีม่ คี ณ ุ ภาพดีกว่าแป้งพรีมกิ ซ์ทางการค้า สัตว์ โดยเฉพาะเนือ้ ไก่และผลิตภัณฑ์จากเนือ้ ไก่ ก่อให้เกิด อาการปวดท้องรุนแรงและอุจจาระร่วง แสดงอาการหลังจาก AA การพัฒนาเทคโนโลยีดัดแปรแป้งมันส�ำปะหลังเพื่อใช้ ใน ได้รบั เชือ้ ประมาณ 2-5 วัน อุตสาหกรรมอาหาร ปรับเปลีย่ นสมบัตทิ างกายภาพและหน้าที่ ของแป้งให้เหมาะสม ผลการด�ำเนินงานปี 2559 ได้พฒ ั นาการ ดัดแปรแป้งด้วยวิธีครอสลิงค์ ท�ำให้แป้งมันส�ำปะหลังแว็กซี่มี ความแข็งแรงและสามารถทนต่อสภาวะในการต้มทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู ได้ดี ให้แป้งเปียกทีม่ คี วามหนืด ความใสมากกว่าและการคืนตัว ต�ำ่ กว่าแป้งข้าวโพดแว็กซีด่ ดั แปรชนิดเดียวกัน

AW 10-64.indb 16

7/22/2560 BE 5:43 PM


17

รายงานประจ�ำปี 2559

งานวิจยั ด้านพืช

มีเป้าหมายในการใช้เทคโนโลยีชวี ภาพและพันธุวศิ วกรรมเพือ่ ปรับปรุงพันธุพ์ ชื เศรษฐกิจเพือ่ ให้ ได้สายพันธุพ์ ชื ทีต่ า้ นทานต่อโรค แมลงศัตรูพชื ทนต่อสภาพแวดล้อม ทนเค็ม ทนแล้ง

การพัฒนาพันธุ์มันส�ำปะหลัง เป้าหมายการปรับปรุงพันธุ์มันส�ำปะหลังที่ให้ผลผลิตเฉลี่ย ต่อพื้นที่สูงขึ้น มีคุณสมบัติแป้งตรงตามความต้องการใช้งาน ในอุตสาหกรรม ผลการด�ำเนินงานปี 2559 ได้แก่ AA ศึ ก ษากลไกการชั ก น� ำ และพั ฒ นาเป็ น รากสะสมอาหาร

ขนาดใหญ่และจ�ำนวนรากมาก โดยประยุกต์ใช้เทคนิคการแยก โปรตีนด้วยเครือ่ งอิเลคโตรโฟรีซสี แบบ 2 มิติ ร่วมกับเทคโนโลยี LC-MS/MS พบว่าโปรตีนทีม่ หี น้าทีใ่ นกระบวนการแบ่งเซลล์ การขยายขนาดของเซลล์และการสร้างแป้งจะมีการแสดงออก ในระดับสูงมากในช่วงระยะแรกของการพัฒนาไปเป็นรากสะสม อาหาร ความเข้าใจการท�ำงานของโปรตีนจะน�ำไปประยุกต์ รวมกับข้อมูลจีโนมและทรานสคริปโตมในฐานข้อมูลสาธารณะ เพือ่ ต่อยอดในการปรับปรุงพันธุม์ นั ส�ำปะหลัง AA การพัฒนาท่อนพันธุม์ นั ส�ำปะหลังปลอดโรคและมีคณ ุ ภาพดี

การพัฒนาพันธุ์อ้อย เป้าหมายเพื่อให้ ได้สายพันธุ์อ้อยที่มีผลผลิตและปริมาณ น�้ำตาลที่สูงขึ้น โดยน�ำเทคโนโลยีโอมิกส์และชีวสารสนเทศมา ใช้เพิม่ ประสิทธิภาพของการปรับปรุงพันธุ์ เพือ่ ให้ ได้สายพันธุอ์ อ้ ย อย่างน้อย 10-15 สายพันธุท์ มี่ ผี ลผลิตและปริมาณน�ำ้ ตาลสูง มี การเจริญเติบโต การแตกกอดีและไว้ตอดี ผลการด�ำเนินงานปี 2559 ได้เครือ่ งหมายโมเลกุล EST-SSR ทีส่ มั พันธ์กบั ความหวาน และล�ำดับนิวคลีโอไทด์จากเทคนิค RAD ในอ้อยลูกผสม 150 ต้น และได้ซอฟต์แวร์ส�ำหรับตรวจดีเอ็นเอแบบอัตโนมัติจากแถบของ ภาพอิเล็กโตรโฟรีซสิ เจล 1 มิติ โดยใช้เทคนิคการประมวลผลภาพ การพัฒนาพันธุ์ข้าว เป้าหมายการปรับปรุงพันธุข์ า้ วเพือ่ ให้ ได้ขา้ วทีต่ า้ นทานต่อโรค ศัตรูพชื ทนต่อสภาวะแวดล้อม และมีคณ ุ ค่าทางโภชนาการสูง โดย น�ำเทคโนโลยีเครือ่ งหมายโมเลกุลประยุกต์ใช้ ในการคัดเลือกยีนที่ ควบคุมลักษณะทีส่ ำ� คัญ ผลการด�ำเนินงานปี 2559 ได้แก่ AA สายพันธุข์ า้ วทีอ่ ยูใ่ นระหว่างการยืน่ จดรับรองพันธุจ์ ำ� นวน 1

สายพันธุ์ ได้แก่ พันธุข์ าวดอกมะลิ 105 ทนเค็ม และอยูร่ ะหว่าง การยืน่ จดคุม้ ครองพันธุพ์ ชื ใหม่จำ� นวน 1 สายพันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 ทนน�ำ้ ท่วมฉับพลัน

ด้วยเทคนิคการเพาะเลีย้ งเนือ้ เยือ่ โดยได้สร้างระบบการผลิต ท่อนพันธุ์ขนาดเล็กส�ำหรับพันธุ์พิรุณ 1 (การผสมระหว่าง AA ประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาสายพันธุข์ า้ วขาวดอกมะลิ 105 ทีม่ ลี กั ษณะทนน�ำ้ ท่วมและต้านทานเพลีย้ กระโดดสีนำ�้ ตาล ห้วยบงและห้านาที) และพันธุพ์ ริ ณ ุ 2 (การผสมระหว่างห้วยบง โดยใช้เทคนิครวมยีน และได้นำ� ไปทดสอบปลูกพบว่ามีลกั ษณะ 60 และห้านาที) พบว่าพันธุพ์ ริ ณ ุ 2 มีศกั ยภาพในการส่งเสริม การต้านทานทีค่ งตัว มีคณ ุ ภาพเมล็ดและคุณภาพการหุงต้ม เพือ่ การปลูกเป็นพันธุร์ บั ประทานใหม่ โดยต้องปลูกทดสอบ ใกล้เคียงข้าวขาวดอกมะลิ 105 นอกจากนีส้ ายพันธุข์ า้ วที่ได้ ท่อนพันธุ์ที่ได้จากต้นเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในแปลงเพื่อประเมิน มีลกั ษณะทางการเกษตรทีห่ ลากหลาย เช่น ช่วงเวลาในการ ผลผลิต ปริมาณแป้งและไซยาไนด์ ออกดอก ความสูง ผลผลิต ซึง่ จะเป็นทางเลือกแก่เกษตรกรให้ สามารถคัดเลือกพันธุท์ เี่ หมาะสมกับพืน้ ทีป่ ลูกในเขตนาน�ำ้ ฝน การพัฒนาพันธุ์ปาล์มน�้ำมัน แต่ละจังหวัดของประเทศไทย เป้าหมายการปรับปรุงพันธุ์ปาล์มน�้ำมันเพื่อให้มีปริมาณ น�ำ้ มันและผลผลิตทีส่ งู ขึน้ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ผลการตรวจ ด้วยภาพ ผลการด�ำเนินงานปี 2559 ได้ศกึ ษาโปรตีนทีเ่ กีย่ วข้อง AA ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างข้าวกับปริมาณธาตุเหล็กเพื่อ ปรับปรุงพันธุข์ า้ วให้สามารถปลูกในดินทีม่ สี ภาพเป็นกรดจัด กับลักษณะผลสุกและร่วงในระดับเซลล์ของปาล์มน�ำ้ มัน โดยพบว่า และเหล็กเป็นพิษ โดยพบต�ำแหน่งการกลายทีบ่ ง่ ชีค้ วามสัมพันธ์ ระยะการพัฒนาผลสุกเซลล์บริเวณ abscission zone (AZ) ซึง่ อยู่ กับลักษณะการสะสมปริมาณธาตุเหล็กในเมล็ด และทนต่อธาตุ ติดกับก้านดอกและเนือ้ เยือ่ ชัน้ กลางของดอกจะมีการสะสมเพกทิน เหล็กเป็นพิษในดินกรดจัด ซึง่ มีศกั ยภาพในการน�ำไปขยายผล ในปริมาณทีส่ งู และเพกทินจะมีการย่อยสลายในระยะการแยกของ เพื่อสร้างโมเลกุลเครื่องหมายชนิด indel ที่สามารถบ่งชี้ เซลล์หรือการร่วงของผลปาล์มน�ำ้ มัน สายพันธุ์ข้าวธาตุเหล็กต�่ำ หรือทนต่อธาตุเหล็กเป็นพิษใน ดินกรดจัดได้อย่างแม่นย�ำ

AW 10-64.indb 17

7/22/2560 BE 5:43 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

18

AA ศึกษาโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ�้ำในกุ้ง จากการค้นพบสาเหตุ

ไข่ปลาปกติ

ไข่ปลาติดเชื้อ

งานวิจยั ด้านกุง้ และสัตว์นำ�้

ของอาการโรคตายด่วนในกุ้ง (acute hepatopancreatic necrosis disease: AHPND) ซึ่งเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Vibrio parahaemolyticus จึงได้พฒ ั นาเทคนิคการตรวจเชือ้ V. parahaemolyticus ด้วยไพรเมอร์ AP4 โดยวิธี two-tube nested PCR และได้ถ่ายทอดให้เกษตรกรน�ำไปใช้พบว่า สามารถตรวจสอบในฟาร์มเกษตรกรได้ และได้คน้ พบว่าเชือ้ ไมโครสปอริเดียนเป็นเชือ้ ทีก่ อ่ โรคแฝงในกุง้ ทีต่ ดิ เชือ้ แบคทีเรีย VPAHPND ในกุง้

มีเป้าหมายการพัฒนาพ่อแม่พนั ธุก์ งุ้ กุลาด�ำจากการเพาะเลีย้ ง AA ศึกษากลไกการติดเชือ้ ระบบภูมคิ มุ้ กัน จุลนิ ทรีย์ในล�ำไส้กงุ้ เพื่อให้เข้าใจกลไกการตอบสนองของกุ้งต่อการติดเชื้อไวรัส (domestication) ศึกษาการเจริญเติบโตและระบบสืบพันธุ์กุ้ง และแบคทีเรียก่อโรค ศึกษากลไกการต้านทานโรคในกุง้ พัฒนา ศึกษากลไกการเกิดโรคและระบบภูมคิ มุ้ กันเพื่อพัฒนาแนวทางใน แนวทางการป้ องกันเชือ้ ก่อโรค ศึกษาแบคทีเรียในล�ำไส้กงุ้ เพือ่ การป้องกันเชือ้ ก่อโรคในกุง้ และสัตว์นำ�้ พัฒนาเป็นอาหารเสริมสุขภาพกุ้ง ผลการด�ำเนินงานในปี AA งานวิจัยโรคอุบัติ ใหม่ ในปลานิลและปลาทับทิม มุ่งเน้นหา 2559 ได้แก่ สาเหตุของอาการไข่ปลานิล ปลาทับทิม มีสแี ดงและไม่ฟกั ตัว AA ศึ ก ษายี น ในกลุ ่ ม เปปไทด์ ต ้ า นจุ ล ชี พ พบว่ า เปปไทด์ หรือเรียกว่าโรคไข่ปลาสีแดง โดยพบว่าเกิดจากแบคทีเรีย ต้านจุลชีพกลุ่ม crustin และ ALF มีฤทธิ์ในการลดการ Hahella chejuensis และได้พฒ ั นาเทคนิค PCR และ in situ ติดเชือ้ ก่อโรคในกุง้ และได้ประยุกต์ใช้โปรตีนรีคอมบิแนนท์ hybridization ส�ำหรับตรวจเชือ้ ในไข่ปลาแม่พนั ธุป์ ลานิลและ ALFpm ควบคุมแบคทีเรียทีเ่ กีย่ วข้องกับโรคตายด่วนและ ปลาทับทิม พบว่าเชือ้ จะมีการส่งผ่านจากแม่สลู่ กู และได้พฒ ั นา ไวรัสตัวแดงดวงขาว พบว่ากุง้ มีอตั ราการรอดตายเพิม่ ขึน้ เทคนิคการตรวจโรคทีส่ ะดวก ใช้งานง่ายราคาถูก AA พั ฒ นาระบบการผลิ ต อาร์ เ อ็ น เอสายคู ่ หรื อ RNA AA งานวิ จั ย ระบบสื บ พั น ธุ ์ ข องกุ ้ ง มี เ ป้ า หมายระยะยาวใน interference ซึ่งเป็นกระบวนการในการควบคุมการ การกระตุ้นการวางไข่ของแม่พันธุ์ โดยไม่ต้องตัดตา โดย แสดงออกของยีนโดยการยับยัง้ การสร้างโปรตีนทีม่ คี วาม ศึกษาหน้าที่ของยีนที่เกี่ยวข้องกับการเจริญของรังไข่และ จ� ำเป็นต่อการท�ำงานของไวรัส โดยเป็นเทคนิคในการ อัณฑะในกุ้งกุลาด�ำและขนาดของกุ้งได้ผลการแสดงออกที่ ป้องกันไวรัสก่อโรคในกุง้ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ การด�ำเนินงาน แตกต่างกันของยีนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารังไข่ โดยมี ปี 2559 ได้ ต ่ อ ยอดวิ ธี ก ารผลิ ต แบคที เ รี ย ที่ ส ร้ า ง รูปแบบการแสดงออกทีแ่ ตกต่างกันในแต่ละระยะการเจริญของ อาร์เอ็นเอสายคู่ต้านไวรัสตัวแดงดวงขาวในระดับขยาย รังไข่กงุ้ กุลาด�ำ และได้ขอ้ มูลต�ำแหน่งสนิปส์ของยีน farnesoic ขนาด และพัฒนาระบบการผลิตอาร์เอ็นเอสายคู่ด้วย acid O-methyltransferase (FAMeT) ซึง่ เกีย่ วข้องกับการ สาหร่ายแทนการใช้แบคทีเรีย Escherichia coli พัฒนารังไข่ และน�ำ้ หนักของรังไข่ องค์ความรูท้ ี่ได้ทำ� ให้เข้าใจ กลไกการเจริญพันธุข์ องกุง้ กุลาด�ำในบ่อเลีย้ งและน�ำไปพัฒนา เป็นเครือ่ งหมายโมเลกุลบ่งชีก้ ารเจริญพันธุ์ได้ AA งานวิ จั ย การเจริ ญ เติ บ โตของกุ ้ ง มุ ่ ง เน้ น การพั ฒ นา

เครือ่ งหมายโมเลกุลส�ำหรับคัดเลือกกุง้ ทีม่ ขี นาดใหญ่ โตเร็ว และพัฒนาเครื่องหมายไมโครแซทเทลไลต์ที่สามารถจ�ำแนก สายพันธุ์กุ้งเพื่อใช้คัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ที่เหมาะสมในการ ปรับปรุงพันธุ์ โดยได้ผลการวิเคราะห์สนิปส์ของยีนทีเ่ กีย่ วข้อง กับการเติบโตในขาว่ายน�้ำและเม็ดเลือดของกุ้งกุลาด�ำ โดย พบสนิปส์ 5 ต�ำแหน่งในยีน PmCyc พบสนิปส์ 13 ต�ำแหน่ง ในยีน PmCGR P-RCP รวมทัง้ ได้องค์ความรูเ้ กีย่ วกับสนิปส์ ของยีนทีส่ มั พันธ์กบั การเติบโตของกุง้ ทีจ่ ะน�ำไปสูก่ ารพัฒนา เครือ่ งหมายโมเลกุลในการคัดเลือกกุง้ โตเร็ว

AW 10-64.indb 18

AA การศึกษาประชากรแบคทีเรียในล�ำไส้กุ้ง ศึกษาความ

สามารถในการรักษาสมดุลของประชากรแบคทีเรียในล�ำไส้ กุ้งกุลาด�ำและกุ้งขาวที่ได้รับเชื้อ Vibrio harveyi พบว่า กุง้ ขาวมีอตั ราการรอดชีวติ สูงกว่า และยังพบว่าโครงสร้าง ประชากรของแบคทีเรียที่อยู่กับแพลงค์ตอนและตะกอน ในบ่อเพาะเลี้ยงมีความใกล้เคียงกับแบคทีเรียของกุ้ง มากกว่าแบคทีเรียในน�ำ้ AA ศึ ก ษาผลของอาหารที่ เ สริ ม ด้ ว ยกลุ ่ ม จุ ลิ น ทรี ย ์

(Aurantiochytrium limacinum) ซึง่ เป็นแหล่งกรดไขมัน ไม่อมิ่ ตัวสูงต่อคุณภาพของลูกกุง้ ทัง้ ด้านสัณฐาน ความ ต้านทานโรค สมรรถภาพในการเจริญเติบโต พบว่าลูกกุง้ ทีไ่ ด้รบั อาหารเสริมด้วย A. limacinum มีความสามารถใน การต้านทานแบคทีเรียก่อโรคและมีอตั ราการเจริญเติบโต ช่วงวัยอ่อนมากกว่าลูกกุง้ ที่ไม่ได้รบั อาหารเสริม

7/22/2560 BE 5:43 PM


19

รายงานประจ�ำปี 2559

ด้านสุขภาพและการแพทย์ ไบโอเทคด�ำเนินงานวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีชวี ภาพเพือ่ ตอบ โจทย์ปญ ั หาสาธารณสุขของประเทศด้านโรคอุบตั ิใหม่และอุบตั ซิ ำ�้ โดยมุ่งเน้นการพัฒนายาและค้นหาเป้าหมายของยาใหม่ การ พัฒนาวัคซีน การศึกษาองค์ความรู้พื้นฐานด้านกลไกการ เกิดโรค

การวิจยั ด้านวัคซีนสัตว์

การวิจัยด้านโรคมาลาเรีย

มีเป้าหมายการน�ำเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมและการผลิตใน มีเป้าหมายเพื่อการศึกษาเป้าหมายยาในวิถีการสังเคราะห์ รูปแบบวัคซีนรวมจะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการคุม้ กันโรค ลดการกด โฟเลต การศึกษาโครงสร้างเอนไซม์เป้าหมายยา กลไกการออก ภูมติ า้ นทานและมีความปลอดภัยต่อสัตว์ เพือ่ แก้ปญ ั หาการกลาย ฤทธิย์ า การดือ้ ยาต้านมาลาเรีย การออกแบบและสังเคราะห์สาร พันธุข์ องเชือ้ ในการผลิตวัคซีนชนิดเชือ้ เป็นอ่อนฤทธิใ์ นปัจจุบนั เพือ่ พัฒนายาต้านมาลาเรียมีผลงานและองค์ความรูจ้ ากการวิจยั ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ AA การพัฒนาวัคซีน PEDV ได้นำ� เทคโนโลยีรเี วอร์สเจเนติกส์ สร้างอนุภาคไวรัส PEDV ในหลอดทดลองและสามารถ AA ไบโอเทคได้ ด� ำ เนิ น การวิ จั ย และพั ฒ นายาต้ า นมาลาเรี ย เพาะเลีย้ งเซลล์ ได้อย่างเหมาะสมในหลอดทดลอง โดยได้วคั ซีน อย่างต่อเนื่อง โดยประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาสาร PEDV ต้นแบบหลายชนิดทีม่ กี ารแสดงออกของแอนติเจนหลัก P218 ที่มีประสิทธิภาพดีมากในการยับยั้งเชื้อมาลาเรีย ของไวรัส PEDV สายพันธุท์ รี่ ะบาดในประเทศไทยและอยูร่ ะหว่าง ดื้อยาที่มีการกลายพันธุ์ของเอนไซม์เป้าหมายยาที่ชื่อว่า การทดสอบในแม่สกุ รเพือ่ ประเมินประสิทธิภาพวัคซีน dihydrofolate reductase (DHFR) ปัจจุบนั สาร P218 ได้ ผ่านการทดสอบความปลอดภัยทางเภสัชวิทยาและความเป็น AA การพัฒนาวัคซีน PRRSV สามารถพัฒนาวัคซีนชุด primeพิษตามมาตรฐาน GLP และได้รบั การรับรองเพือ่ การทดสอบ boost ต้นแบบได้สำ� เร็จ และผ่านการทดสอบความปลอดภัย ครัง้ แรกในมนุษย์จาก Global Safety Board ของ Medicines เบือ้ งต้นในลูกสุกร และอยูร่ ะหว่างการพัฒนาวัคซีนต้นแบบให้ for Malaria Venture (MMV) โดยอยู่ระหว่างด�ำเนินการ เหมาะสมกับสายพันธุท์ รี่ ะบาดในประเทศไทยและขยายการผลิต ทดสอบความปลอดภัยในระดับการทดสอบครัง้ แรกในมนุษย์ วัคซีนในระดับอุตสาหกรรม เพือ่ ยืน่ จดทะเบียน “ยาวิจยั ใหม่” ไวรัส Porcine Epidemic Diarrhea (PEDV) ก่อให้เกิด โรคระบาดร้ายแรงซึ่งอันตรายต่อสุกรแรกคลอด ท�ำให้ เกิดอาการท้องเสียอย่างรุนแรงหลังได้รบั การติดเชือ้ ไวรัส ภายในเวลา 22-36 ชัว่ โมง ปัจจุบนั วัคซีนทีค่ วบคุมไวรัส PEDV ไม่สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของไวรัส PEDV ในประเทศไทยได้ซงึ่ สาเหตุหนึง่ เนือ่ งจากระบบภูมคิ มุ้ กันที่ เกิดจากการให้วคั ซีนแบบฉีดไม่ได้ผลดีเท่าทีค่ วร ไวรัส Porcine Reproductive and Respiratory Syndrome (PRRSV) ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมาก ต่อฟาร์มสุกรในประเทศไทย สุกรที่ได้รับเชื้อจะท�ำให้กด ภูมคิ มุ้ กัน เกิดการติดเชือ้ ในกระแสเลือดและท�ำให้แม่สกุ ร แท้ง และลูกสุกรล้มตายได้

AW Biotec 2559-1.indd 19

AA ศึกษากลไกการท�ำงานของเอนไซม์ที่มีคุณสมบัติการเป็น

เป้าหมายยาต้านมาลาเรียที่ดี จากองค์ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้ า งผลึ ก เชิ ง ซ้ อ นของเอนไซม์ ซี รี น ไฮดรอกซี เ มทิ ล ทรานเฟอเรส (SHMT) และการค้นพบโครงสร้างของสาร กลุ่ม pyrazolopyrans ที่มีความจ�ำเพาะสูงและมีฤทธิ์ยับยั้ง การท�ำงานของเอนไซม์ SHMT จึงได้พฒ ั นาสารยับยัง้ แม่แบบ ที่มีความสามารถยับยั้งการท�ำงานเอนไซม์ SHMT ระดับ นาโนโมลาร์และสังเคราะห์สารยับยั้งอื่นๆ ที่มีการปรับปรุง โครงสร้างให้มคี วามเสถียร ซึง่ จะมีประโยชน์ตอ่ ไปส�ำหรับการ ออกแบบสารยับยัง้ เอนไซม์ทจี่ ำ� เพาะต่อเชือ้ พลาสโมเดียมซึง่ เป็นสาเหตุของโรคมาลาเรีย

7/24/2560 BE 6:14 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

20

การวิจัยด้านโรคไข้เลือดออก

ด้านเทคโนโลยีชุดตรวจวินิจฉัย ทางชีวภาพ

ไบโอเทค ร่ ว มกั บ คณะแพทยศาสตร์ ศิ ริ ร าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ด�ำเนินงานวิจัยด้านโรคไข้เลือดออก โดยมีเป้าหมายเพื่อศึกษา องค์ความรูด้ า้ นพยาธิกำ� เนิดของโรคไข้เลือดออก การพัฒนาการ ไบโอเทคมุง่ เน้นการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี ไบโอเซนเซอร์เพือ่ ตรวจวินจิ ฉัย และการพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออก ผลงาน สร้างความสามารถความเข้มแข็งในการตรวจวิเคราะห์ทดสอบ ส�ำหรับประยุกต์ ใช้ ในอุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรม และองค์ความรูจ้ ากการวิจยั ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ อาหาร การแพทย์และสาธารณสุข AA การติดเชื้อไวรัสเด็งกี่สามารถท�ำให้เกิดการบาดเจ็บของ อวัยวะในร่างกาย ซึ่งตับเป็นอวัยวะหนึ่งที่ส�ำคัญของการ การพัฒนาชุดตรวจด้านการเกษตรและอาหาร มีเป้าหมายการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีชดุ ตรวจเชือ้ ก่อโรค ติ ด เชื้ อ ไวรั ส เด็ ง กี่ เ นื่ อ งจากเป็ น บริ เ วณที่ ไ วรั ส ใช้ ใ นการ เพิ่มจ�ำนวนให้มีปริมาณมากขึ้น กลไกการส่งสัญญาณ ทางการเกษตรและอาหาร เพือ่ ให้ ได้ชดุ ตรวจทีม่ ศี กั ยภาพในการ ภายในเซลล์ โดยผ่านทาง mitogen-activated protein ตรวจสูง แม่นย�ำ มีความสะดวกต่อการใช้งานในภาคสนามและ kinases (MAPKs) รวมถึง p38 MAPK มีบทบาทส�ำคัญใน ต้นทุนการตรวจไม่สงู เพือ่ เพิม่ ความสามารถในการแข่งขันในภาค การท�ำให้เซลล์ตบั เกิดการตายแบบ apoptosis จากเชือ้ ไวรัส การเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร ผลการด�ำเนินงานปี 2559 ได้แก่ เด็งกี่ จึงได้ศึกษาบทบาทของสารยับยั้ง SB203580 ซึ่งเป็น ตัวยับยั้ง p38 MAPK พบว่าภาวะการมีเม็ดเลือดขาวและ AA การพัฒนาเทคนิคบีดอะเรย์ ส�ำหรับการตรวจเชื้อก่อโรคใน พืชหลายชนิดและในหลายตัวอย่างได้ ในเวลาเดียวกัน โดย เกร็ดเลือดต�ำ่ มีแนวโน้มทีด่ ขี น้ึ ในหนูทดลอง ลดการบาดเจ็บ สามารถตรวจเชื้อก่อโรคพืชตระกูลแตงทั้งหมด 4 กลุ่มเชื้อ ของตับทีถ่ กู เหนีย่ วน�ำด้วยเชือ้ ไวรัสเด็งกี่ ในคราวเดียวกันคือ Acidovorax avenae subsp. citrulli (Aac), chilli vein-banding mottle virus (CVbMV, potyvirus), AA ศึกษาบทบาทของไวรัสเด็งกีต ่ อ่ การเพิม่ การติดเชือ้ ไวรัสซิกา้ watermelon silver mottle virus (WSMoV, tospovirus จากการศึกษาพบว่าพลาสม่าจากผูต้ ดิ เชือ้ ไวรัสเด็งกีส่ ามารถ serogroup IV) และ melon yellow spot virus (MYSV, เกิดปฏิกริ ยิ าข้ามสายพันธุก์ บั ไวรัสซิกา้ ส่งผลให้จำ� นวนเซลล์ tospovirus) มีความแม่นย�ำและความไวเทียบเท่ากับชุดตรวจ ทีต่ ดิ เชือ้ ไวรัสซิกา้ เพิม่ ขึน้ ผ่านการกระตุน้ ของแอนติบอดีชนิด ทางการค้า 100% antibody-dependent enhancement (ADE) องค์ความรู้ แสดงให้เห็นว่าภูมคิ มุ้ กันต่อไวรัสเด็งกีส่ ง่ เสริมให้เกิดการเพิม่ AA การพัฒนาเทคนิคแลมป์ร่วมกับการตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้า จ�ำนวนของไวรัสซิกา้ โดยใช้อปุ กรณ์ขวั้ ไฟฟ้าพิมพ์ ได้และเครือ่ งป้อนศักย์ ไฟฟ้าแบบ พกพา ในการวัดเชือ้ ทีป่ นเปือ้ นในอาหาร พร้อมทัง้ ได้ชดุ น�ำ้ ยา การวิจัยด้านวัณโรค แลมป์-เคมีไฟฟ้าส�ำหรับตรวจเชือ้ Vibrio cholera และ Vibrio มี เ ป้ า หมายเพื่ อ การพั ฒ นาวิ ธี ก ารตรวจวิ นิ จ ฉั ย วั ณ โรค parahaemolyticus และได้เทคนิคแลมป์สำ� หรับการตรวจเชือ้ การศึกษากลไกการดือ้ ยาต้านวัณโรค การศึกษาระบาดวิทยาของ Escherichia coli O157 โดยอยู่ระหว่างการค้นหาสภาวะ เชือ้ วัณโรคทีพ ่ บในประเทศไทย และการพัฒนาวัคซีนทีต่ อบสนอง ทีเ่ หมาะสมของการตรวจทางเคมีไฟฟ้าและพัฒนาเป็นชุดตรวจ ต่อเชือ้ วัณโรค มีผลงานและองค์ความรูจ้ ากการวิจยั ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ส�ำเร็จรูปพร้อมใช้ของแลมป์ในรูปแบบผงส�ำเร็จรูป AA การพั ฒ นาการตรวจวิ นิ จ ฉั ย เชื้ อ วั ณ โรคดื้ อ ยาปั จ จุ บั น พบการระบาดของเชื้ อ วั ณ โรคดื้ อ ยามากขึ้ น โดยเฉพาะ AA การพัฒนาชุดตรวจแลมป์นาโนโกลด์แบบแห้ง ส�ำหรับการ ตรวจวินิจฉัยเชื้อก่อโรคในกุ้งโดยใช้ตัวตรวจจับดีเอ็นเอที่ เชื้อวัณโรคดื้อยาหลายขนานซึ่งจะดื้อต่อกลุ่มยาหลักที่มี ติดฉลากอนุภาคทองค�ำนาโนประกอบเป็นชุดตรวจส�ำเร็จรูป ประสิทธิภาพในการฆ่าเชือ้ และยังพบเชือ้ ดือ้ ยาเกือบทุกขนาน แบบผงส�ำหรับตรวจหาเชื้อ Vibrio parahaemolyticus ที่ดื้อต่อกลุ่มยาส�ำรอง ผลการด�ำเนินงานปี 2559 ได้องค์ ชุดตรวจส�ำเร็จรูปแบบผงนี้ ท�ำให้แห้งเพือ่ ให้สะดวกในการน�ำไป ความรูเ้ กีย่ วกับยีน rrs ยีน rpsL และ ยีน gidB ทีเ่ กีย่ วข้อง ใช้ภาคสนามของเกษตรกร สามารถเก็บได้ที่ -20 องศาเซลเซียส กับการดื้อยาสเตรปโตมัยซิน (streptomycin) ของเชื้อ ระยะเวลา 3 เดือน หรือทีอ่ ณ ุ หภูมหิ อ้ งระยะเวลา 1 เดือน โดย วั ณ โรคในประเทศไทย ยี น ดื้ อ ยากลุ ่ ม ฟลู อ อโรควิ โ นโลน ได้ยนื่ จดอนุสทิ ธิบตั รเรือ่ งกรรมวิธกี ารตรวจหาเชือ้ แบคทีเรีย (fluoroquinolones) ของเชื้อวัณโรคในประเทศไทย และพบ V. Parahaemolyticus ก่อโรคตับตายเฉียบพลันในกุ้งเมื่อ การกลายพันธุ์ ในยีนไจเรสบี (gyrB) ทีก่ รดอะมิโนต�ำแหน่งที่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559 เลขทีค่ ำ� ขอ 1603000321 540 (E540D) ทีย่ งั ไม่เคยมีการรายงานมาก่อนซึง่ มีผลต่อการ ดือ้ ยากลุม่ ฟลูออโรควิโนโลน โดยองค์ความรูน้ จี้ ะน�ำไปพัฒนา ชุดตรวจวินจิ ฉัยเชือ้ วัณโรคดือ้ ต่อยาต่อไป

AW 10-64.indb 20

7/22/2560 BE 5:43 PM


21

รายงานประจ�ำปี 2559

การพัฒนาชุดตรวจด้านการแพทย์

มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยโรคที่มีความ ส�ำคัญและเป็นปัญหาทางสาธารณสุข เช่น โรคธาลัสซีเมีย วัณโรค โรคเบาหวาน และโรคที่เกิดจากความเสื่อมของกระดูกและข้อ ผลการด�ำเนินงานปี 2559 ได้แก่ AA การพัฒนาเครือ่ งมือตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้าขนาดพกพาด้วย

เมือ่ เปรียบเทียบกับเทคนิคพีซอี าร์ทวั่ ไปถึงประมาณ 10 เท่า มีความจ�ำเพาะต่อเชื้อทั้งสองชนิดมาก มีขั้นตอนที่ท�ำได้ ง่ายและสะดวกตั้งแต่การเตรียมตัวอย่างเลือดก่อนตรวจที่ ไม่ยุ่งยากท�ำให้ลดเวลาในการตรวจตัวอย่างจ�ำนวนมาก ไม่ ต้องใช้เครื่องมือที่มีราคาสูง และไม่จำ� เป็นต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะทาง รวมใช้เวลาในการตรวจเพียง 55 นาที โดยได้ ทดสอบใช้งานจริงกับตัวอย่างเลือดของผู้ป่วยพบว่าเทคนิค LAMP-LFD มีค่าความไวและความจ�ำเพาะต่อเชื้อมาลาเรีย แต่ละชนิดสูงมาก

เทคนิคแลมป์ (loop-mediated isothermal amplification: LAMP) ร่วมกับการตรวจหาเปปไทด์นิวคลีอิกแอซิด หรือ พี เ อ็ น เอ (peptide nucleic acid: PNA) หรื อ เรี ย กว่ า “LAMP-PNA” ส�ำหรับตรวจเชื้อวัณโรคที่ดื้อยาไรแฟมพิน AA การพัฒนาตัวกระตุน้ ปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์ตดิ ฉลากอนุภาคนาโน ของซิลกิ า ส�ำหรับการตรวจวัดเป้าหมายดีเอ็นเอหลายๆ ชนิด (rifampin) กับยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) ซึง่ เป็นยาอันดับแรก ในคราวเดียวกัน โดยใช้ตวั กระตุน้ ปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์ทแี่ ตกต่าง ที่ใช้ ในการรักษาวัณโรค โดยเทคนิคที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถ กันจ�ำนวน 4 ชนิด ให้ผลการตรวจวัดในรูปแบบเชิงคุณภาพ แยกผลการทดสอบระหว่างเชือ้ สายพันธุด์ งั้ เดิมและสายพันธุ์ และกึง่ เชิงปริมาณ โดยอาศัยการวัดความต่างศักย์ ไฟฟ้าเพียง ดือ้ ยาได้ ซึง่ จะท�ำการทดสอบประสิทธิภาพกับตัวอย่างจริงใน ครัง้ เดียวด้วยระดับการกระตุน้ ไฟฟ้าทีแ่ ตกต่างกัน เมือ่ น�ำมา โรงพยาบาลต่อไป ประยุกต์ ใช้ส�ำหรับการตรวจวัดการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ทีแ่ ตกต่างกัน 4 ชนิดในคราวเดียวกัน ได้แก่ ไวรัสไข้หวัดใหญ่ AA การพัฒนาเทคนิค Loop-mediated Isothermal amplification สายพันธุ์ A ชนิด H1N1, H3N2, H5N1 และไวรัสไข้หวัดใหญ่ (LAMP) ร่วมกับการใช้ lateral flow dipstick (LFD) เพือ่ น�ำ สายพันธุ์ B พบว่าสามารถตรวจวัดเชื้อไวรัสแต่ละชนิดได้ ไปใช้ส�ำหรับการตรวจวินิจฉัยและจ�ำแนกเชื้อมาลาเรียชนิด ในคราวเดียวกัน และสามารถตรวจวัดเชื้อไวรัสแต่ละชนิดที่ พลาสโมเดียม ฟาลซิปารัม (Plasmodium falciparum: Pf) ระดับเชือ้ น้อยทีส่ ดุ และพลาสโมเดียม ไวแวกซ์ (Plasmodium vivax: Pv) เป็นวิธี การตรวจทีม่ คี วามถูกต้องแม่นย�ำ มีความไวในการตรวจสูง

AW 10-64.indb 21

7/22/2560 BE 5:43 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

22

การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีฐาน ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ

Phage display technology เทคโนโลยี ก ารแสดง

เซลล์เจ้าบ้านรับฝากยีนทีต่ อ้ งการและชักน�ำให้เกิดการแสดงออก ของยีนและผลิตผลิตภัณฑ์ท่ีต้องการได้มากขึ้น การพัฒนาช่วย ท�ำให้ระบบการผลิตโปรตีนมีประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ โดยได้พฒ ั นา ระบบการแสดงออกและปรับปรุงการผลิตโปรตีนในจุลินทรีย์ รูปแบบต่างๆ ได้แก่

โปรตีนหรือเปปไทด์บนผิวฟาจ เป็นเทคนิคทีส่ ร้างโมเลกุลทดแทน แอนติบอดีทสี่ ามารถจับกับแอนติเจนเป้าหมายทีต่ อ้ งการได้ โดย ไม่จ�ำเป็นต้องมีขั้นตอนการฉีดกระตุ้นในสัตว์ทดลอง อีกทั้งยัง สามารถเพิม่ จ�ำนวนในเซลล์แบคทีเรียเจ้าบ้านได้อย่างไม่จำ� กัดใน สภาวะทีเ่ หมาะสม ดังนัน้ จะสามารถคัดกรอง (screening) และระบุ คุณลักษณะ (characterization) ได้ ในขั้นตอนเดียว ช่วยให้ สามารถคัดเลือกฟาจโคลนที่มีความจ�ำเพาะต่อเชื้อแบคทีเรีย เป้าหมายโดยไม่ต้องท�ำปฏิกิริยากับแอนติเจนอื่นๆ ที่ต้องการ ทดสอบภายในคราวเดียวกัน และใช้ระยะเวลาทีส่ นั้ ลง นอกจากนี้ การประดิษฐ์นี้ยังสามารถใช้ ในการคัดกรองฟาจที่แสดงโปรตีน หรือเปปไทด์บนผิวได้ครั้งละ 96 โคลนต่อถาดหลุม และทดสอบ กับแบคทีเรียเป้าหมายได้มากกว่า 1 ชนิดในหลุมเดียวกันอีกด้วย จึงสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพสูง (high throughput) ของเทคนิค ไมโครอะเรย์สำ� หรับการประยุกต์ใช้ในการคัดกรองฟาจโคลนทีแ่ สดง โปรตีนหรือเปปไทด์บนผิวที่สามารถจับจ�ำเพาะต่อเชื้อแบคทีเรีย เป้าหมายจากคลังฟาจได้

AA ระบบยีสต์ มุ่งเน้นพัฒนาระบบการผลิตโปรตีนเป้าหมาย

Genomics technology มุง่ เน้นการพัฒนา high throughput

ไบโอเทคด�ำเนินงานวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีทเ่ี ป็นฐานเพือ่ การ สร้างองค์ความรู้และสามารถต่อยอดผลงานผลิตภัณฑ์หรือ กระบวนการทีต่ อบสนองความต้องการในคลัสเตอร์วจิ ยั ต่างๆ เพือ่ สร้างศักยถาพและเพิม่ ขีดความสามารถได้ทนั ความก้าวหน้า เทคโนโลยีของโลก

Heterologous gene expression system และ recombinant proteins เป็นการพัฒนาเทคโนโลยีที่ท�ำให้

ในเซลล์เจ้าบ้านเพือ่ ทดแทนยีสต์สายพันธุท์ างการค้า ผลการ ด�ำเนินงานปี 2559 ได้พัฒนาระบบ synthetic metabolic pathway ในยี ส ต์ โดยสามารถสร้ า งพลาสมิ ด ที่ มี ก าร แสดงออกของยีนทีเ่ กีย่ วข้องกับการผลิต isobutanol ในยีสต์ Pichia pastoris ได้ 2 ยีน และได้ทดสอบเลีย้ งยีสต์ P. pastoris ทีด่ ดั แปลงพันธุกรรมนี้ พบว่าสามารถผลิต isobutanol ได้ถงึ 30 มิลลิกรัมต่อลิตร AA ระบบแบคทีเรีย มุ่งเน้นพัฒนาระบบการแสดงออกของยีน

sequencing ทีม่ ตี น้ ทุนการหาล�ำดับเบสต�ำ่ สามารถท�ำนายหน้าที่ ของยีนได้ การศึกษาวิเคราะห์จีโนมและทรานสคริปโตม และการ วิเคราะห์ metagenomics

AA การประยุกต์ ใช้เทคโนโลยี 454 pyrosequencing ในการ

วิเคราะห์ทรานสคริปโตมของเซลล์เนื้อเยื่อเจริญของต้น สบูด่ ำ� และค้นพบเครือ่ งหมายโมเลกุลแบบสนิปส์และเครือ่ งหมาย โมเลกุลทีอ่ ยูใ่ นส่วนของยีนทีม่ กี ารแสดงออก (EST markers) และแบบไมโครแซทเทลไลท์ ซึง่ จะน�ำไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุง พันธุส์ บูด่ ำ� ต่อไป

ในแบคที เ รี ย แบบปลอดภั ย ที่ ส ามารถน� ำ โปรตี น ผลผลิ ต ที่ ไ ด้ จ ากระบบไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ใ นอุ ต สาหกรรมอาหาร เครือ่ งส�ำอาง เวชภัณฑ์ ซึง่ เน้นการพัฒนาแบคทีเรีย 2 ชนิด AA การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการหาล�ำดับเบส โดยศึกษายีนและ ได้แก่ Lactobacillus plantarum และ Bacillus subtilis ปัจจัยทางพันธุกรรมซึง่ ควบคุมสัดส่วนของช่อดอกตัวเมียที่ ผลการด�ำเนินงานปี 2559 สามารถสร้างพลาสมิดพาหะใหม่ เป็นองค์ประกอบทีส่ ำ� คัญในการเพิม่ ผลผลิตของปาล์มน�ำ้ มัน ทีส่ ามารถท�ำให้เกิดการแสดงออกของยีนสร้างโปรตีนเป้าหมาย ให้สงู ขึน้ เช่น การเพิม่ ผลผลิตของปาล์มน�ำ้ มันใน 1 ทะลาย และถูกผลิตออกนอกเซลล์ B. Subtilis ชือ่ ว่า pSaltExSePR5 และการเพิ่มจ�ำนวนทะลายมากขึ้น การค้นพบต�ำแหน่งยีน ซึง่ เป็นระบบการแสดงออกของโปรตีนทีป่ ลอดภัยและใช้ตน้ ทุน EgACC01 (ACC oxidase) และ EgmiR159a (microRNA การผลิตต�่ำ โดยพลาสมิดพาหะชนิดใหม่นี้เริ่มต้นพัฒนา 159a) ที่ควบคุมสัดส่วนของช่อดอกตัวเมียที่เกี่ยวข้องกับ จากการน�ำพลาสมิดธรรมชาติที่พบภายในเซลล์แบคทีเรีย การเพิม่ ผลผลิตปาล์มน�ำ้ มัน โดยมีความแปรผันของลักษณะ ทีใ่ ช้เป็นต้นเชือ้ แหนมชือ่ ว่า L. Plantarum BCC9546 มาใช้ พันธุกรรม 10.4-15% องค์ความรูท้ คี่ น้ พบจะถูกน�ำไปใช้ ใน เป็นพลาสมิดพืน้ ฐาน พลาสมิด pSaltExSePR5 สามารถ การพัฒนาเครือ่ งหมายโมเลกุลแบบไมโครแซทเทลไลท์เพือ่ การ น�ำไปประยุกต์ใช้ ในการพัฒนาระบบการผลิตโปรตีนลูกผสม ปรับปรุงพันธุป์ าล์มน�ำ้ มันให้มผี ลผลิตสูงขึน้ แบบปลอดภัยในแบคทีเรียเจ้าบ้าน B. subtilis ได้ ในอนาคต

AW 10-64.indb 22

7/22/2560 BE 5:43 PM


23

รายงานประจ�ำปี 2559

Proteomics technology มุ่งเน้นการพัฒนาเทคโนโลยี Bioinformatics มุ่งเน้นการพัฒนาเทคโนโลยีชีวสถิติและ

high throughput proteomics และ functional proteomics เพือ่ สารสนเทศ เพือ่ พัฒนาระเบียบวิธที างคอมพิวเตอร์ (อัลกอริธมึ ) ั นา ตอบปัญหาโจทย์วจิ ยั ด้านโปรตีนเชิงลึก และน�ำไปประยุกต์ใช้ทาง และการพัฒนาซอฟต์แวร์ตา่ งๆ โดยมีฐานข้อมูล ซอฟต์แวร์ทพี่ ฒ ด้านการแพทย์และการเกษตร รวมถึงการพัฒนาเพือ่ ใช้เทคโนโลยี และการน�ำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ ได้แก่ MALDI-TOF เพือ่ ระบุชนิดของเชือ้ แบคทีเรีย AA การพัฒนาซอฟต์แวร์ “GELect” ส�ำหรับวิเคราะห์เครือ่ งหมาย AA เทคโนโลยี MALDI-TOF protein-peptide profile ได้นำ� มา โมเลกุลชนิดดีเอ็นเอแบบอัตโนมัติ โดยประยุกต์ ใช้เทคนิค ประมวลผลภาพจากภาพแถบทีแ่ สดงบนเจลอิเล็กโตรโฟรีซสิ ประยุกต์ ใช้ ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบเชื้อ Burkholderia ซอฟต์แวร์ GELect สามารถตัดภาพเลนส์ ได้ดเี มือ่ เทียบกับ pseudomallei ดั้งเดิมและเชื้อที่ถูกท�ำให้กลายพันธุ์ โดย B. pseudomallei เป็นเชือ้ แบคทีเรียทีท่ ำ� ให้เกิดโรคเมลิออยโดซิส วิธีอื่นๆ และในส่วนการตรวจหาแถบต�ำแหน่งดีเอ็นเอที่สนใจ ซึ่งเป็นโรคติดเชื้อที่พบในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ พบว่ามีประสิทธิภาพในการตรวจหาแถบที่โค้งที่ติดกันและ ประเทศออสเตรเลีย คัดแยกได้อย่างมีประสิทธิภาพผู้ ใช้งานสามารถเลือกบริเวณ ที่ต้องการวิเคราะห์ซอฟต์แวร์ GELect สามารถน�ำไปใช้ ใน AA เทคโนโลยี Functional proteomics ได้น�ำมาประยุกต์ ใช้ ใน การจ�ำแนกลักษณะทางพันธุกรรมของยีนทีส่ นใจได้ การวิเคราะห์รายชื่อโปรตีนที่มีการแสดงออกสัมพันธ์กับ ปริมาณน�ำ้ ตาลในตัวอย่างใบและล�ำต้นอ้อย 11 สายพันธุ์ เก็บ AA การประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีชีวสถิติและสารสนเทศวิเคราะห์ 6 ช่วงเวลา รวมจ�ำนวน 132 ตัวอย่าง และสามารถพัฒนาวิธี จีโนมของเชือ้ ไวรัส PEDV จ�ำนวน 2 สายพันธุท์ พี่ บการระบาด สกัดและวัดปริมาณโปรตีนจากใบอ้อยและล�ำต้นอ้อยได้สำ� เร็จ ในประเทศไทย คือ สายพันธุ์ CBR1/2014 และสายพันธุ์ EAS1/201พบว่าเชื้อไวรัส PEDV ทั้ง 2 สายพันธุ์ มีความ Metabolomics technology มุง่ เน้นพัฒนาเทคโนโลยีดา้ น คล้ า ยคลึ ง ด้ า นล� ำ ดั บ นิ ว คลี โ อไทด์ แ ละล� ำ ดั บ กรดอะมิ โ น เมตาโบโลมิกส์และเครื่องมือการวิเคราะห์ผล โดยได้ ใช้ข้าวไทยที่ และได้วิเคราะห์ด้วยวิธีไฟโลเจเนติกส์พบว่าไวรัสสายพันธุ์ มีคุณลักษณะต้านเพลี้ยกระโดดเป็นต้นแบบการศึกษา โดยได้ CBR1/2014 มีลกั ษณะทางพันธุศาสตร์คล้ายคลึงกับไวรัส องค์ความรูเ้ กีย่ วกับสารเมตาโบไลท์จากต้นข้าวทีต่ อบสนองต่อการ PEDV ชนิดอืน่ ๆ ทีพ่ บการระบาดในประเทศไทย ส่วนสายพันธุ์ EAS1/2014 มีความแตกต่างทางพันธุศาสตร์จากไวรัส PEDV เข้าท�ำลายของเพลีย้ กระโดดสีนำ�้ ตาลและวิถขี องสารเมตาบอไลท์ตอ่ กระบวนการทางชีวภาพการเข้าท�ำลาย และได้ขอ้ มูลเกีย่ วกับการ สายพันธุอ์ น่ื ๆ ผลการวิจยั นีจ้ ะน�ำไปสูก่ ารศึกษาด้านระบาด เปลีย่ นแปลงปริมาณกรดไขมันในข้าวทีถ่ กู เพลีย้ กระโดดสีนำ�้ ตาล วิทยาเชิงโมเลกุลและการศึกษาวิวฒ ั นาการทางพันธุศาสตร์ ของไวรัส PEDV ในประเทศไทยต่อไป เข้าท�ำลาย ซึง่ กรดไขมันเป็นสารตัง้ ต้นทีส่ ำ� คัญต่อการสร้างสารเคมี ส�ำหรับป้องกันตัวในพืช ข้อมูลเมตาโบโลมิกส์ที่ได้จะน�ำไปรวมกับ ข้อมูลทรานสคริปโตมิกส์เพือ่ น�ำไปใช้ ในการคัดเลือกสายพันธุข์ า้ ว และสร้างฐานข้อมูลเมตาโบโลมิกส์เพือ่ การน�ำไปใช้ประโยชน์ตอ่ ไป

เทคโนโลยีฐานด้านเทคโนโลยีชีวภาพ (ปี 2555-2559)

การสร้างความสามารถและความเข้มแข็งเทคโนโลยีฐานด้านเทคโนโลยีชวี ภาพทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับการน�ำไปประยุกต์ใช้วจิ ยั และพัฒนาที่ ตอบสนองโจทย์วจิ ยั ของคลัสเตอร์วจิ ยั เทคโนโลยีหน้าทีข่ องจีโนม - เทคโนโลยีการหาล�ำดับเบส - เทคโนโลยีหน้าทีข่ องยีนและการควบคุม การท�ำงานของยีน - เทคโนโลยีโปรตีโอมิกส์ - เทคโนโลยีชีวสารสนเทศและชีววิทยา ระบบ

AW 10-64.indb 23

เทคโนโลยีชวี ภาพจุลนิ ทรีย์ - เทคโนโลยี ก ารผลิ ต รี ค อมบิ แ นนท์ โปรตีนและการพัฒนาระบบแสดงออก ของยีน - เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์และ การสังเคราะห์สารในระดับขยายขนาด

เทคโนโลยีชวี ภาพการเกษตร - เทคโนโลยีการแสดงออกของยีน และ การถ่ายยีนในพืชอย่างจ�ำเพาะส่วน - เทคโนโลยีการตรวจวินจิ ฉัย วัคซีน เพือ่ รองรับโรคอุบตั ใิ หม่ในสัตว์

7/22/2560 BE 5:43 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

24

พัฒนาต่อยอด สู่การใช้ประโยชน์และสร้างผลกระทบ ไบโอเทคด�ำเนินการต่อยอดและประยุกต์ใช้ผลงานวิจัย ให้เกิดประโยชน์เชิงพาณิชย์ในรูปแบบของการถ่ายทอด เทคโนโลยี การรับจ้างวิจัย การร่วมวิจัย การให้บริการ ปรึกษาอุตสาหกรรม และงานบริการตรวจวิเคราะห์ ทดสอบด้านเทคนิค เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการน�ำเทคโนโลยี ชีวภาพไปปรับปรุงกระบวนการผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ใหม่ การลดต้นทุนและเพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์ รวมถึง การน�ำผลงานวิจัยไปปรับใช้เชิงสาธารณประโยชน์ ให้ เหมาะสมกั บ พื้ น ที่ ชุ ม ชนชนบทและส่ ง เสริ ม วิ ส าหกิ จ ชุมชน

AW Biotec 2559-2.indd 24

7/24/2560 BE 6:27 PM


25

รายงานประจ�ำปี 2559

ำเทคโนโลยีชวี ภาพมาใช้ประโยชน์สร้าง A การน� ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ

ของประเทศ รวมถึงการปรับแต่งเทคโนโลยี ให้เหมาะสมกับท้องถิ่นและส่งเสริมการสร้าง ความสามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน

การน�ำผลงานไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ การถ่ายทอดเทคโนโลยี

ปีงบประมาณ 2559 ไบโอเทคได้ถา่ ยทอดเทคโนโลยีและอนุญาตให้ ใช้สทิ ธิในทรัพย์สนิ ทางปัญญาจากผลงานวิจยั และพัฒนาเพือ่ น�ำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์จำ� นวน 7 รายการ ให้แก่ 7 บริษทั ดังนี้ บริษทั

เทคโนโลยีทมี่ กี ารอนุญาตให้ใช้สทิ ธิและจุดเด่นของเทคโนโลยี

บริษทั ลัดดา จ�ำกัด

เชือ้ รา Beauveria bassiana สายพันธุ์ 2660 และกระบวนการเพาะเลีย้ งดังกล่าวด้วยกระบวนการ หมักแบบแข็งในระดับ 20 กิโลกรัม โดยเป็นสภาวะการหมักทีเ่ หมาะสมท�ำให้ ได้เชือ้ ราทีม่ คี ณ ุ ภาพ ต้นทุน ต�ำ่ สามารถเก็บรักษาได้นาน เพือ่ ใช้เป็นเชือ้ ราส�ำหรับก�ำจัดแมลงศัตรูพชื ในนาข้าว ไร่มนั ส�ำปะหลัง

บริษทั บลูโอเชีย่ น ฟูด้ แอนด์ดริง๊ ส์ จ�ำกัด การผลิตท่อนพันธุ์ขิงขนาดเล็กปลอดโรคด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช มีก�ำลังการผลิต 300,000 -1,000,000 กอต่อปี มีต้นทุนที่ถูกกว่าวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชแบบเดิมประมาณ 1.27 เท่า บริษทั คีนน์ จ�ำกัด

ถังเพาะเลีย้ งจุลนิ ทรียข์ นาดเล็กเคลือ่ นย้ายได้สำ� หรับการบ�ำบัดน�ำ้ เสียปนเปือ้ นน�ำ้ มันขนาดเล็กแบบ 10 ลิตร โดยใช้เวลาในการเลีย้ งจุลนิ ทรีย์ 24-48 ชัว่ โมง มีระบบเติมอากาศและระบบจัดการน�ำ้ เข้า และออกแบบอัตโนมัติ ดูแลรักษาระบบง่ายและสะดวกต่อผู้ ใช้งาน ผู้ประกอบการสามารถผลิต สารชีวบ�ำบัดภัณฑ์ใช้ภายในโรงงานได้เอง ลดต้นทุนค่าใช้จา่ ยในการขนส่ง

บริษทั ไทยไบโอ อ็อกซีน จ�ำกัด

ระบบเพาะเลีย้ งจุลนิ ทรียแ์ บบเคลือ่ นย้ายขนาดไม่เกิน 100 ลิตร เป็นการพัฒนาถังเพาะเลีย้ งจุลนิ ทรีย์ ขนาดเล็กแบบเคลือ่ นย้ายได้ โดยมีคณ ุ สมบัตแิ ละการท�ำงานของเครือ่ งเหมือนเครือ่ งขนาด 10 ลิตร

บริษทั ไบรท์ออร์แกนิค จ�ำกัด

ผลิตภัณฑ์เอ็นพีวีเพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช มีประสิทธิภาพและมีความจ�ำเพาะเจาะจงในการเข้า ท�ำลายแมลงศัตรูพชื จึงมีความปลอดภัยต่อแมลงทีม่ ปี ระโยชน์ มนุษย์ สัตว์ พืช และมีผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อมน้อย

บริษทั สยามวิคตอรีเ่ คมิคอล จ�ำกัด

กรรมวิธกี ารสกัดแป้งในกากมันสดทีค่ วามเข้มข้นสูงด้วยเอนไซม์ผสมโดยกระบวนการบูรณาการ ผสมผสานแบบต่อเนือ่ ง สามารถสกัดแป้งออกจากกากมันส�ำปะหลังได้มากกว่าร้อยละ 40 ช่วยลด การสูญเสียแป้งไปกับกากมัน ท�ำให้โรงงานแป้งมีผลผลิตเพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 6-10 และแป้งที่ได้มี คุณภาพดี

บริษทั พาร์เวล อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด กรรมวิธกี ารตรวจวินจิ ฉัยทางอิมมูโนวิทยาเพือ่ หาเชือ้ แบคทีเรีย Acidovorax avenae subsp. Citrulli ในพืชตระกูลแตง ด้วยโมโนโคลนอลแอนติบอดีทมี่ คี วามจ�ำเพาะเจาะจงต่อเชือ้ แบคทีเรีย ใช้งานง่าย สามารถพกพาน�ำไปทดสอบในแปลงปลูกได้ แสดงผลภายใน 5 นาที โดยไม่ตอ้ งอาศัยเครือ่ งมือและ ผูช้ ำ� นาญการ ราคาถูกกว่าชุดตรวจทีน่ ำ� เข้าจากต่างประเทศ

AW 10-64.indb 25

7/22/2560 BE 5:43 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

26

การพัฒนาเครื่องผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ ขนาดเล็กแบบเคลื่อนย้ายได้

สามารถเพาะเลี้ ย งแบคที เ รี ย ในปริ ม าณที่ เ พี ย งพอต่ อ การใช้งาน มีกระบวนการเลีย้ งที่ไม่ซบั ซ้อน และสะดวกต่อ ผู้ ใช้งาน ได้พัฒนาถังหมักเพาะเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียขนาด 10 ลิ ต ร เคลื่ อ นย้ า ยได้ พั ฒ นาสู ต รอาหารเลี้ ย งเชื้ อ เข้มข้น และผลิตภัณฑ์หัวเชื้อแบคทีเรียเข้มข้น ได้ทดสอบ ในภาคสนามพบว่าสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการบ�ำบัด น�้ำเสียที่มีค่าตามเกณฑ์มาตรฐานน�้ำทิ้งของกรมโรงงาน อุตสาหกรรม โดยได้ยนื่ จดอนุสทิ ธิบตั รเรือ่ งระบบการเพาะ เลีย้ งจุลนิ ทรียแ์ บบเคลือ่ นย้ายได้ เมือ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2558 เลขทีค่ ำ� ขอ 1503001926

การร่วมวิจัย รับจ้างวิจัย บริการปรึกษา อุตสาหกรรม

เพื่อผลักดันให้เกิดการน�ำเทคโนโลยีชีวภาพไปประยุกต์ ใช้ ใน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือการแก้ปญ ั หาในกระบวนการผลิต และสร้างความเข้มแข็งให้แก่ภาคการผลิตและภาคบริการในระยะยาว ไบโอเทคได้ ใช้กลไกการร่วมมือระหว่างผู้ใช้เทคโนโลยีและทีมวิจยั ใน การศึกษาปัญหาความต้องการเทคโนโลยี เพือ่ การวางแผนงานวิจยั ทีจ่ ะสามารถตอบสนองตรงตามความต้องการและน�ำไปใช้ประโยชน์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปีงบประมาณ 2559 ไบโอเทคได้ดำ� เนินโครงการร่วมวิจยั รับจ้าง วิจยั กับภาคเอกชน/ภาครัฐ รวม 65 โครงการ (ภาครัฐ 9 โครงการ และภาคเอกชน 56 โครงการ) แบ่งเป็นโครงการต่อเนือ่ ง 39 โครงการ และโครงการใหม่ 26 โครงการ โดยโครงการใหม่ 26 โครงการ แบ่งเป็น ประเภทโครงการด้านเกษตรและอาหาร 13 โครงการ ด้านพลังงาน และสิง่ แวดล้อม 7 โครงการ ด้านทรัพยากรชีวภาพ 4 โครงการ และ ด้านอุตสาหกรรมการผลิตและบริการ 2 โครงการ นอกจากนีย้ งั ด�ำเนินกิจกรรมด้านการให้บริการปรึกษาอุตสาหกรรมแก่บริษทั และหน่วยงานต่างๆ เพือ่ ช่วยแก้ปญ ั หาให้ภาคอุตสาหกรรมและภาค การผลิตทัง้ สิน้ 6 โครงการ

AW 10-64.indb 26

การบริการตรวจวิเคราะห์ทดสอบ

ไบโอเทคเปิดให้บริการทางด้านเทคนิคการวิเคราะห์ทดสอบ และบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ท่ีส�ำคัญให้แก่ภาครัฐและภาค เอกชน ได้แก่ การบริการเก็บรักษาสายพันธุ์จุลินทรีย์และวัสดุ ชีวภาพระดับโมเลกุล บริการคัดแยกและทดสอบการเจริญของ เชือ้ รา บริการวิเคราะห์เอนไซม์ บริการตรวจหาสารออกฤทธิท์ าง ชีวภาพ บริการวิเคราะห์สารและสกัดสาร บริการโมโนโคลนอล แอนติบอดี บริการรับฝากเซลล์สัตว์ บริการเทคโนโลยีเพื่อแก้ ไข ปัญหาระบบสืบพันธุ์ในโคนม การตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพแป้งและ ผลิตภัณฑ์มนั ส�ำปะหลัง บริการตรวจวิเคราะห์ทางเคมี สิง่ แวดล้อม และรับออกแบบการทดลองทางห้องปฏิบตั กิ ารและการทดลองใน บ่อกุง้ บริการตรวจวิเคราะห์ ไวรัสโรคกุง้ และแก้ปญ ั หาแบบครบวงจร บริการตรวจวิเคราะห์ดเี อ็นเอสัตว์นำ�้ โดยในปี 2559 มีบริการรวม 19,824 รายการ

กิจกรรมเปิดห้องปฏิบัติการวิจัย (open lab)

มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการวิจัยและการใช้ ประโยชน์เชิงพาณิชย์ระหว่างไบโอเทคและภาคอุตสาหกรรม โดย จัดกิจกรรมการพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในความต้องการด้าน เทคโนโลยีเพือ่ การพัฒนาของภาคอุตสาหกรรม และความพร้อม ความสามารถด้านเทคโนโลยีชวี ภาพของไบโอเทค โดยในปี 2559 ได้จดั กิจกรรมในเรือ่ ง “การตรวจวินจิ ฉัยโรคพืชแบบหลายเชือ้ ใน คราวเดียว” โดยมีการประชุมแลกเปลีย่ นความคิดเห็นร่วมกัน และ การเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการไมโครอะเรย์แบบครบวงจรและห้อง ปฏิบตั กิ ารผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดีให้แก่ผปู้ ระกอบการด้าน การเกษตร 22 คน และหน่วยงานภาครัฐ 4 คน

7/22/2560 BE 5:43 PM


27

รายงานประจ�ำปี 2559

การสร้างขีดความสามารถของ ชุมชนชนบท ไบโอเทคให้ความส�ำคัญการสร้างความเข้มแข็งและยกระดับ คุณภาพชีวิตของชุมชน โดยด�ำเนินการร่วมกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อสร้างขีดความสามารถของชุมชนชนบท ด้วยการน�ำผลงานวิจยั ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์และเหมาะสมในแต่ละพืน้ ที่

เทคโนโลยีการผลิตเชื้อราบิวเวอเรีย

เชือ้ ราบิวเวอเรียมีประสิทธิภาพในการควบคุมและก�ำจัดแมลง ศัตรูพชื เช่น เพลีย้ อ่อน เพลีย้ กระโดดสีนำ�้ ตาล และเพลีย้ แป้ง แทน การใช้สารเคมี การด�ำเนินงานทีผ่ า่ นมาไบโอเทคได้พฒ ั นาเทคโนโลยี การเลี้ยงเชื้อราบิวเวอเรีย สายพันธุ์ BCC2660 บนอาหารแข็ง โดยใช้ข้าวสารซึ่งท�ำให้ ได้ปริมาณสปอร์สูงถึง 1012 สปอร์ต่อ กิโลกรัมข้าวสาร ต้นทุนการผลิตต�ำ่ และพัฒนากระบวนการผลิต และควบคุมคุณภาพให้ ได้มาตรฐาน ท�ำให้ ได้เชือ้ ราทีม่ ปี ระสิทธิภาพ สามารถเก็บรักษาเชือ้ ราไว้ใช้ประโยชน์ได้ในระยะยาว การด�ำเนินงาน ปี 2559 ไบโอเทคร่วมมือกับกลุม่ ส่งเสริมการควบคุมศัตรูพชื โดย ชีววิธี กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุย๋ กรมส่งเสริม

AW 10-64.indb 27

การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในการส่งเสริมการผลิต หัวเชือ้ บริสทุ ธิข์ องเชือ้ ราบิวเวอเรีย เพือ่ สนับสนุนให้แก่ศนู ย์สง่ เสริม เทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช (ศทอ.) ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นภูมภิ าค ทั้ง 9 ศูนย์ทั่วประเทศท�ำการผลิตขยายเป็นหัวเชื้อราบิวเวอเรีย เป็นหัวเชือ้ ขยายให้กบั ศูนย์จดั การศัตรูพชื ชุมชน (ศจช.) ในพืน้ ที่ รับผิดชอบ และท�ำการผลิตขยายเป็นเชือ้ ราบิวเวอเรียเพือ่ ควบคุม ศัตรูพืชในชุมชน โดยเป็นกลไกความร่วมมือในการท�ำงานร่วม กันระหว่างกรมส่งเสริมการเกษตรและ สวทช. เพือ่ ให้เกิดการขยาย องค์ความรูแ้ ละผลงานวิจยั ของไบโอเทคด้านการควบคุมแมลงศัตรู พืชด้วยเชือ้ ราบิวเวอเรียในวงกว้าง ด้วยการถ่ายทอดเทคโนโลยี กระบวนการผลิตหัวเชือ้ ราบิวเวอเรียทีม่ มี าตรฐาน ให้กบั เจ้าหน้าที่ ศูนย์ฯ ตัง้ แต่กระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ การเก็บรักษา การเพิ่มประสิทธิภาพของเชื้อราบิวเวอเรีย การใช้งานในแปลง เกษตรกร วิธกี ารตรวจสอบคุณภาพเบือ้ งต้นของเชือ้ ราบิวเวอเรีย ทีผ่ ลิตโดยเกษตรกร เพือ่ ลดความเสีย่ งในการใช้เชือ้ ราคุณภาพต�ำ่ และได้รว่ มกันจัดกิจกรรมน�ำร่องการอบรมถ่ายทอดความรูเ้ กีย่ วกับ การผลิตและใช้เชือ้ ราบิวเวอเรียให้กบั ศจช. อ.หนองม่วงไข่ จ.แพร่ และ อ.ท่าตะโก จ.นครสวรรค์

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

28

การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์

วงจรดังกล่าวท�ำให้เกิดเป็นต้นแบบทีเ่ รียกว่า “ยโสธรโมเดล” ซึง่ ได้ ไบโอเทค สวทช. ร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานภาครั ฐ ต่ า งๆ เพื่ อ น�ำรูปแบบดังกล่าวไปขยายผลไปยังกลุม่ เกษตรกรในพืน้ ทีภ่ าคตะวัน สนับสนุนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) ใน ออกเฉียงเหนือและภาคใต้ การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ของชุ ม ชนชนบทในด้ า นการอยู ่ ดี กิ น ดี เพิ่ ม รายได้ ส่ ง เสริ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน เช่ น กลไกคลิ นิ ก การถ่ายทอดความรู้ด้านสุขลักษณะและ เทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และตั้งแต่ปี ความปลอดภัยในการประกอบอาหาร 2557 ต่อเนื่องถึงปี 2559 ได้ร่วมมือกับ จ.ยโสธร ด�ำเนินงาน ไบโอเทค สวทช. ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานใน ตามแผนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ของ จ.ยโสธร ในโครงการ ท้องถิน่ ทีเ่ กีย่ วข้องในการพัฒนาชุมชนด้านสุขภาพและสุขอนามัย พัฒนานักประกอบการวิสาหกิจชุมชนข้าวอินทรีย์เพื่อส่งเสริม เพื่ อ ถ่ า ยทอดความรู ้ ด ้ า นหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก ารที่ ดี ใ นการผลิ ต กระบวนการเรียนรู้ของเกษตรกรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ อาหารและมาตรฐานสุ ข ลั ก ษณะที่ ดี ใ นการผลิ ต อาหาร พอเพียง ได้ถา่ ยทอดความรูด้ า้ น วทน. เพือ่ ลดต้นทุนการผลิตข้าว (Good Manufacturing Practice; GMP & Good Hygiene การจัดการแปลงนาให้สามารถผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตร Practices;GHP) เพือ่ ให้การผลิตการแปรรูปอาหารของกลุม่ ชุมชน อินทรีย์ สนับสนุนการเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตข้าวอินทรียข์ อง มีคณ ุ ภาพมาตรฐานและปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภค ส่งเสริมและผลักดัน กลุ่มเกษตรกรทั้งในระดับแปลงนาและการแปรรูป โครงการฯ มี มีการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานได้อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้ ได้รบั การรับรอง เกษตรกรเข้าร่วมจ�ำนวน 4,565 คน มีเกษตรกรทีผ่ า่ นการตรวจ มาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัยตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ รับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียจ์ ำ� นวน 1,949 คน และในปี 2559 วิสาหกิจชุมชน รวมทัง้ ได้อบรมให้ความรูเ้ กีย่ วกับสุขลักษณะทีด่ ี ได้ขยายผลถ่ายทอดความรู้การผลิตพืชหลังนาโดยการผลิต ในการผลิตอาหารแก่บคุ ลากรในโรงเรียน สถาบันการศึกษาต่างๆ เมล็ดพันธุถ์ วั่ พร้าเพือ่ ใช้เป็นปุย๋ พืชสดเพิม่ อินทรียว์ ตั ถุในดิน เช่น โดยการด�ำเนินงานในปี 2559 ได้เป็นวิทยากรอบรมให้แก่ โรงเรียน ปอเทือง ถัว่ พุม่ รวมถึงการปลูกพืชหลังนาเพือ่ เพิม่ รายได้ ให้กบั กลุม่ วิสาหกิจชุมชน และติดตามผลหลังจากอบรมของแต่ละพืน้ ที่ เกษตรกรและสามารถผลิตเมล็ดพันธุ์ไว้ ใช้สำ� หรับเพาะปลูกในปีถดั จ�ำนวน 28 ครัง้ ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม 1,466 คน นอกจากนีต้ งั้ แต่ ไป เช่น แตงโม ข้าวโพด งาด�ำ ขมิน้ ชัน ตะไคร้ ไพล ถัว่ เขียว ถัว่ เหลือง ปี 2556 ถึงปี 2559 ไบโอเทคร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี และถัว่ ลิสง โดยมีเกษตรกรปลูกพืชหลังนา 314 คน มีพนื้ ทีก่ ารปลูก พระจอมเกล้าธนบุรไี ด้ถา่ ยทอดความรูด้ า้ น GMP & GHP ให้แก่เจ้า จ�ำนวน 978 ไร่ ผลิตผลผลิตพืชหลังนาทัง้ สิน้ 10,860 กิโลกรัม หน้าทีม่ ลู นิธโิ ครงการหลวง ในพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน 38 แห่ง ได้แก่ สถานี วิจยั และพัฒนาโครงการหลวง 4 แห่ง และศูนย์พฒ ั นาโครงการหลวง โครงการประสบความส�ำเร็จในการเพิ่มจ�ำนวนเกษตรกรและ 34 แห่ง พืน้ ทีร่ บั รองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ รูปแบบการท�ำงานแบบครบ

AW 10-64.indb 28

7/22/2560 BE 5:44 PM


29

รายงานประจ�ำปี 2559

การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุข์ า้ วชุมชน

ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งไบโอเทค สวทช. มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ และกรมการข้าว ในการพัฒนาสายพันธุข์ า้ ว ได้แก่ พันธุธ์ ญ ั สิรนิ (ข้าว กข6 ต้านทานโรคไหม้) ข้าว กข6 ต้านทานโรค ไหม้และขอบใบแห้ง และพันธุข์ า้ วหอมชลสิทธิท์ นน�ำ้ ท่วมฉับพลัน ได้ ด�ำเนินการเผยแพร่และส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุเ์ พือ่ ให้เกษตรกร มีเมล็ดพันธุ์ไว้ ใช้เองในชุมชน

การกระจายสายพันธุ์ข้าวที่ ได้พัฒนาสู่เกษตรกร

ด้วยความร่วมมือระหว่าง ไบโอเทค สวทช. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ และกรมการข้าว ประสบความส�ำเร็จในการพัฒนา สายพันธุข์ า้ ว ได้แก่ พันธุข์ า้ วหอมชลสิทธิท์ นน�ำ้ ท่วมฉับพลัน พันธุ์ ธัญสิรนิ (ข้าว กข6 ต้านทานโรคไหม้) และ ข้าว กข6 ต้านทานโรค ไหม้และขอบใบแห้ง และได้ดำ� เนินการเผยแพร่และส่งเสริมการผลิต เมล็ดพันธุ์ ให้แก่เกษตรกร เพื่อให้เกษตรกรมีเมล็ดพันธุ์ ไว้ ใช้เอง ในชุมชน เป็นการยกระดับขีดความสามารถของเกษตรกรให้มี ความรู้ในการผลิตเมล็ดพันธุข์ า้ วที่ได้มาตรฐาน สามารถกระจาย เมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพดีให้เพียงพอส�ำหรับใช้ภายในชุมชนและ กระจายไปสูช่ มุ ชนอืน่ ๆ และท�ำให้เกิดรายได้เพิม่ โดยระหว่างปี 25512559 ได้กระจายเมล็ดพันธุข์ า้ วให้เกษตรกรในจังหวัดต่างๆ ดังนี้ สายพันธุข์ า้ วทีพ่ ฒ ั นา พันธุข์ า้ วหอมชลสิทธิท์ นน�ำ้ ท่วมฉับพลัน พันธุธ์ ญ ั สิรนิ (ข้าว กข6 ต้านทานโรคไหม้) ข้าว กข6 ต้านทานโรคไหม้และขอบใบแห้ง

พันธุ์ธัญสิริน (ข้าว กข6 ต้านทานโรคไหม้) ข้าวนาปีที่มีความไวต่อช่วงแสง สามารถต้านทานต่อโรค ไหม้ แตกกอดี ล�ำต้นแข็งแรง ขนาดล�ำต้นสูงเฉลีย่ 155 เซนติเมตร คุณภาพข้าวสุกมีความเหนียวนุม่ เมือ่ เย็นยังคงนิม่ เป็นทีย่ อมรับ จากผูบ้ ริโภค ให้ผลผลิตข้าวเฉลีย่ 600 กิโลกรัมต่อไร่ ข้าว กข6 ต้านทานโรคไหม้และขอบใบแห้ง ข้าวนาปีที่มีความไวต่อช่วงแสง สามารถต้านทานต่อโรค ไหม้และโรคขอบใบแห้ง แตกกอดี ล�ำต้นแข็งแรง ขนาดล�ำต้นสูง เฉลีย่ 130 เซนติเมตร ต้านทานต่อลมแรงได้ดี ลดการหักล้ม เก็บ เกีย่ วง่าย คุณภาพข้าวสุกมีความเหนียวนุม่ คล้ายพันธุ์ กข6 ให้ ผลผลิตข้าวเฉลีย่ 700-800 กิโลกรัมต่อไร่ พันธุ์ข้าวหอมชลสิทธิ์ทนน�้ำท่วมฉับพลัน ข้าวนาน�้ำฝนที่ ไม่ไวต่อช่วงแสง สามารถทนต่อน�้ำท่วม ฉับพลันอยูใ่ ต้นำ�้ โดยไม่ตายได้นาน 2-3 สัปดาห์ คุณภาพข้าวสุก มีกลิ่นหอมเหมือนพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ปลูกได้มากกว่า 1 ครัง้ /ปี ให้ผลผลิตเฉลีย่ 800 กิโลกรัม/ไร่ ในสภาพนาปักด�ำ

จ�ำนวนจังหวัด 14 22 15

เกษตรกร (ครอบครัว) 200 1,900 600

พืน้ ทีป่ ลูก (ไร่) 4,000 6,800 800

กระทบทัง้ ทางตรงและทางอ้อมต่อภาพรวมเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศรวม 2,501ล้านบาท โดยเป็นผลกระทบด้านการลงทุน 688 ล้านบาท ด้านการท�ำให้เกิดรายได้เพิม่ ขึน้ 1,670 ล้านบาท การลดต้นทุน 21 ล้านบาท และการลดการน�ำเข้า 122 ล้านบาท

การประเมินผลกระทบทาง เศรษฐกิจและสังคม ผลงานวิจัยและพัฒนาของไบโอเทคได้น�ำไปใช้ประโยชน์ ในเชิง พาณิชย์และเชิงสาธารณประโยชน์ มีการต่อยอดองค์ความรูแ้ ละ การถ่ายทอดเทคโนโลยี การอนุญาตให้ใช้สทิ ธิในผลงานวิจยั ให้ กับภาคเอกชน ภาครัฐ และการถ่ายทอดเทคโนโลยีสชู่ มุ ชนอย่าง ต่อเนือ่ ง การด�ำเนินงานปี 2559 ได้ประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก ผลงานวิจยั และพัฒนาจ�ำนวน 45 โครงการ พบว่าก่อให้เกิดผล

AW 10-64.indb 29

ด้านการเกษตรและอาหาร จากการประเมิน 33 โครงการ เกิดผลกระทบรวม 1,019 ล้านบาท

การถ่ายทอดเทคโนโลยีพนั ธุข์ า้ วคุณภาพดี สายพันธุข์ า้ วซึง่ ได้จากการคัดเลือกปรับปรุงพันธุโ์ ดยไบโอเทค ร่วมกับกรมการข้าว และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้แก่ ข้าว กข6 ต้านทานโรคไหม้ (ธัญสิรนิ ) ข้าวหอมชลสิทธิท์ นน�ำ้ ท่วมฉับพลัน และข้าวไรซ์เบอรี่ได้ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ และเผยแพร่สายพันธุ์ให้แก่ เกษตรกรในพืน้ ทีภ่ าคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ส่งผลกระทบให้เกิดรายได้เพิม่ เป็นมูลค่า 174 ล้านบาท การวิจยั และพัฒนาสายพันธุแ์ ละเทคโนโลยีการผลิตพืช ได้แก่ โครงการขยายก�ำลังการผลิตอ้อยปลอดโรค การคัดเลือกพันธุพ์ ชื ทนเค็ม การออกแบบระบบการปลูกพืช การผลิตน�ำ้ ยาตรวจโรคพืช ส่งผลกระทบให้เกิดการสร้างรายได้ ให้แก่เกษตรกรและภาคเอกชน เป็นมูลค่า 166 ล้านบาท

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

30

ประเภทโครงการ

การเกษตรและอาหาร การแพทย์และสาธารณสุข สิ่งแวดล้อม โครงสร้างพื้นฐาน รวม

มูลค่าผลกระทบ (ล้านบาท) จ�ำนวนโครงการ ทีป่ ระเมิน ด้านการลงทุน ด้านรายได้เพิม่ ขึน้ ด้านลดต้นทุน ด้านลดการน�ำเข้า

33 2 8 2 45

0 688 0 0 688

การวิจัยด้านเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ ได้แก่ การเหนี่ยวน�ำ การตกไข่และผสมเทียมตามระยะเวลาที่ก�ำหนด การพัฒนา พ่อแม่พนั ธุก์ งุ้ กุลาด�ำ การพัฒนาระบบหมุนเวียนน�ำ้ แบบปิดส�ำหรับ การเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ การพัฒนาชุดตรวจโรคกุง้ สร้างผลกระทบ เป็นมูลค่า 334 ล้านบาท อุตสาหกรรมอาหารและการเกษตร ไบโอเทคมีผลงานวิจยั ที่ ได้ถา่ ยทอดเทคโนโลยีให้กบั ภาคเอกชน ได้แก่ การพัฒนาสูตรการ ผลิตแหนม การผลิตต้นเชือ้ อาหารหมักสัตว์ การผลิตเอนไซม์เพือ่ ใช้ ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ เป็นต้น ส่งผลกระทบด้านการลงทุน เพิม่ รายได้ และการส่งออกเป็นมูลค่า 131 ล้านบาท การพัฒนาชุมชนชนบทและการฟืน้ ฟูพนื้ ทีด่ นิ เค็ม ไบโอเทค ร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรและหน่วยงานในท้องถิ่น สนับสนุน การพัฒนาชุมชนในพื้นที่ปฏิบัติการใน จ.น่าน และ จ.สกลนคร และโครงการที่ด�ำเนินงานในพื้นที่อื่นๆ ได้แก่ โครงการวนเกษตร อย่างมีสว่ นร่วมของชุมชน จ.แพร่ โครงการหมูบ่ า้ นวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี บ้านคอกวัว จ.พัทลุง และ บ้านนาคู จ.พระนครศรีอยุธยา ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การพั ฒ นาอาชี พ สร้ า งรายได้ จ ากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุมชน และการรักษาสิ่งแวดล้อม เกษตรกรมีการลงทุนและมี รายได้เพิ่มขึ้นรวม 46 ล้านบาท การฟื้นฟูพื้นที่ดินเค็มร่วมกับ บริษทั เกลือพิมาย จ�ำกัด ด�ำเนินโครงการฟืน้ ฟูพนื้ ทีด่ นิ เค็มในพืน้ ที่ ของบริษทั ฯ และได้รว่ มมือกับบริษทั เอสซีจี เปเปอร์ จ�ำกัด (มหาชน) และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ด�ำเนินโครงการนวัตกรรมทางเทคโนโลยี เพือ่ การฟืน้ ฟูดนิ เค็มในพืน้ ที่ จ.สกลนคร จ.อุดรธานี จ.นครราชสีมา จ.ขอนแก่น สามารถสร้างผลกระทบจากพืน้ ทีท่ ี่ไม่สามารถท�ำการ เพาะปลูกให้สามารถท�ำการเพาะปลูกข้าวได้ รวมทั้งเกษตรกร สามารถสร้างรายได้จากผลผลิตเกษตรอืน่ ๆ สร้างผลกระทบรวม เป็นมูลค่า 168 ล้านบาท

991 75 604 0 1,670

19 0 0 2 21

9 0 24 89 122

รวม

1,019 763 628 91 2,501

ด้านการแพทย์และสาธารณสุข จากการประเมิน 2 โครงการ เกิดผลกระทบรวม 763 ล้านบาท

การพั ฒ นาการผลิ ต ยาและวั ค ซี น ไบโอเทคร่ ว มกั บ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ด�ำเนินการวิจัย และพัฒนาการออกแบบกระบวนการผลิตและการขยายขนาด กระบวนการผลิตยาและวัคซีนมีผลกระทบในด้านการลงทุนเป็น มูลค่า 582 ล้านบาท การพัฒนากระบวนการผลิตยาแก้ ไอแผนโบราณ ไบโอเทค ให้บริการภาคเอกชนในการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการผลิต ยาอมแก้ ไอ สร้างผลกระทบในด้านการลงทุนและสร้างรายได้เพิม่ เป็นมูลค่า 181 ล้านบาท

ด้านสิ่งแวดล้อม จากการประเมิน 8 โครงการ เกิดผลกระทบรวม 628 ล้านบาท

การปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต แป้ ง มั น ส� ำ ปะหลั ง ไบโอเทคและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้พฒ ั นา เทคโนโลยีและปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตแป้งมันส�ำปะหลัง ให้แก่โรงงานแป้งมันส�ำปะหลัง และได้ดำ� เนินการพัฒนาศักยภาพ บุคลากร ท�ำให้โรงงานสามารถจัดการลดปริมาณแป้งที่สูญเสีย เพิม่ ประสิทธิภาพหน่วยผลิตและลดการใช้ทรัพยากร โดยประเมิน ผลกระทบเป็นมูลค่า 524 ล้านบาท เทคโนโลยีการบ�ำบัดน�ำ้ เสียเพือ่ ผลิตก๊าซชีวภาพ ไบโอเทคและ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้ถา่ ยทอดเทคโนโลยี พัฒนาเทคโนโลยีการบ�ำบัดน�้ำเสียเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพให้แก่ โรงงานอุตสาหกรรมมันส�ำปะหลัง โรงงานอุตสาหกรรมปาล์ม น�ำ้ มัน และโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร ท�ำให้ลดต้นทุนจากการใช้ ก๊าซชีวภาพเป็นพลังงานทดแทนโดยประเมินผลกระทบเป็นมูลค่า 71 ล้านบาท ผลิตภัณฑ์สงิ่ แวดล้อม ผลจากการถ่ายทอดผลงานวิจยั การ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน จากการประเมิน 2 โครงการ พัฒนาสารชีวบ�ำบัดภัณฑ์สำ� หรับการก�ำจัดคราบน�ำ้ มันให้แก่ภาค เกิดผลกระทบรวม 91 ล้านบาท การบริการวิเคราะห์ทดสอบ ไบโอเทคได้ดำ� เนินงานวิจยั ร่วมกับ เอกชน สร้างผลกระทบจากการจ�ำหน่ายและลดการน�ำเข้าจากต่าง หน่วยงานวิจยั ในประเทศและให้บริการตรวจวิเคราะห์แก่หน่วยงาน ประเทศเป็นมูลค่า 33 ล้านบาท ต่างๆ โดยการตรวจวิเคราะห์ด้านโปรติโอมิกส์และงานบริการ ตรวจหาสารออกฤทธิท์ างชีวภาพ สร้างผลกระทบด้านการทดแทน การส่งตรวจวิเคราะห์ ไปยังต่างประเทศเป็นมูลค่า 91 ล้านบาท

AW 10-64.indb 30

7/22/2560 BE 5:44 PM


รายงานประจ�ำปี 2559

31

เตรียมความพร้อมของประเทศ ศึกษาเชิงนโยบาย พันธมิตรต่างประเทศ พัฒนาก�ำลังคน และส่งเสริมการเรียนรู้ ไบโอเทคให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินการเตรียมความ พร้ อ มด้ า นเทคโนโลยี ชี ว ภาพของประเทศ โดยการ ศึกษาวิจยั เชิงนโยบายต่างๆ เพือ่ เป็นข้อมูลประกอบการ ตัดสินใจก�ำหนดทิศทางด้านการวิจยั การเตรียมพร้อม รองรับการเปลี่ยนแปลงความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ชีวภาพ การพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ การ พัฒนาบุคลากร เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนประเทศสู่ เศรษฐกิจฐานความรู้และแข่งขันได้อย่างยั่งยืน

AW Biotec 2559-3.indd 31

7/24/2560 BE 6:17 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

32

วมมือระหว่างประเทศเป็นแนวทางหนึง่ A ความร่ ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีขั้นสูงและความ

ร่ ว มมื อ วิ จั ย และพั ฒ นา น� ำ ไปสู ่ ก ารสร้ า ง ความเข้มแข็งทางวิชาการของประเทศ

ภาพ ัยทางชีว มปลอดภ พควบคุม ิเพื่อควา ภ� ต ั บ ิ นส ฏ มใ ป รร ก ลงพันธุ ม แนวทาง ตส�หกรร ทรีย์ดัดแป ละอุ รใช้จุลิน นต้นแบบแ สำ�หรับก� ะดับโรงง� เพื่อใช้ในร

ทางชีวภา

ปลอดภัย

วาม งชาติ นิคด้านค ีวภาพแห่ มการเทค คโนโลยีช ชาติ รมและเท โลยีแห่ง ธุวิศวกร ร์และเทคโน ศูนย์พัน ิทยาศาสต โลยี พัฒนาว ร์และเทคโน สำานักงาน าสต งวิทยาศ กระทรว

คณะกรร

2559

การศึกษาวิจัยเชิงนโยบายที่ ส�ำคัญต่อการพัฒนาเทคโนโลยี ชีวภาพของประเทศ ไบโอเทคให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินการศึกษาวิจยั เชิงนโยบาย ต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจก�ำหนดทิศทางการ ลงทุนทัง้ ด้านการวิจยั และโครงสร้างพืน้ ฐานของไบโอเทค สวทช. และประเทศ ในการเตรียมพร้อมรองรับกับการเปลีย่ นแปลงทาง เทคโนโลยี และนโยบายมาตรการการขับเคลือ่ นด้านเศรษฐกิจ และการพัฒนาสังคมของรัฐและประชาคมโลก การจั ด ท� ำ แผนที่ น� ำ ทางเทคโนโลยี ฐ านเป้ า หมายของ ประเทศไทยในระยะ 10 ปี พ.ศ. 2560-2569 ทิศทางงานวิจัย ด้านเทคโนโลยีชีวภาพที่ประเทศไทยควรมุ่งเน้น 1) เทคโนโลยี ชีวภาพการเกษตร มุง่ สูก่ ารเกษตรทีม่ คี วามยัง่ ยืน เพิม่ ผลผลิตให้ มากขึน้ แต่ใช้ทรัพยากรน้อยลง ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมน้อยทีส่ ดุ เช่น การวิจยั เกีย่ วกับกระบวนการสังเคราะห์แสง การเข้าใจกลไกการ ท�ำงานของพืชทีส่ ำ� คัญเพือ่ ใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพันธุ์ การท�ำ เกษตรแม่นย�ำ (precision farming) 2) เทคโนโลยีดา้ นอาหาร มุง่ สู่ การสร้างเสริมสุขภาพทีด่ ี มีความปลอดภัย การผลิตอาหารทีต่ อบ สนองความต้องการสารอาหารของแต่ละบุคคล (personalized nutrition) ผูบ้ ริโภคเฉพาะกลุม่ ผูส้ งู อายุ เด็ก ผูป้ ว่ ย การผลิตอาหาร ทีช่ ว่ ยป้องกันรักษาโรค (nutrigenomics) 3) เทคโนโลยีชวี ภาพด้าน สิง่ แวดล้อม มุง่ สูก่ ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืน เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้ ทรัพยากรในกระบวนการผลิต การน�ำของเสียกลับมาใช้ประโยชน์ การบ�ำบัดและฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติดว้ ยวิธชี วี ภาพ การปรับ

AW Biotec 2559-3.indd 32

เปลีย่ นกระบวนการผลิตจากฐานปิโตรเลียมและเคมีเป็นฐานชีวภาพ 4) เทคโนโลยีดา้ นการแพทย์และสุขภาพ มุง่ สูก่ ารแพทย์เฉพาะบุคคล (personalized medicine) เทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยด้วยวิธี อณูชวี วิทยา (molecular diagnostic) การตรวจทางพันธุกรรม (genetic testing) เทคโนโลยีดา้ นเวชศาสตร์การฟืน้ ฟูสภาวะเสือ่ ม (regenerative medicine) การใช้สเต็มเซลล์เป็นเครือ่ งมือในการ ทดสอบยา การทดสอบความเป็นพิษ ทดแทนการใช้สตั ว์ทดลอง หรือการทดลองในมนุษย์ รวมถึงใช้เซลล์เพื่อจ�ำลองการเป็นโรค (disease modelling) การจัดท�ำแนวทางระมัดระวังล่วงหน้าด้านความปลอดภัย ทางชี ว ภาพ เพื่ อ รองรั บ การเข้ า สู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน (AEC) ไบโอเทคร่วมกับส�ำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ศึกษาวิเคราะห์ถงึ ผลกระทบ ของการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อความเป็นไปได้ ในการ เคลือ่ นย้ายข้ามแดนพืชดัดแปลงพันธุกรรมเข้าสูป่ ระเทศไทย และ จั ด ท�ำข้ อ เสนอแนวทางระมั ด ระวั ง ล่ ว งหน้ า (precautionary approach) ตามหลักการของพิธีสารคาร์ตาเฮน่าว่าด้วยความ ปลอดภัยทางชีวภาพเพื่อป้องกันและบรรเทาผลกระทบทางลบที่ อาจเกิดขึน้ และได้จดั ท�ำข้อเสนอการเตรียมความพร้อมเพือ่ รองรับ การด�ำเนินงานทัง้ การปรับประสานกฎระเบียบ (harmonization) ของประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนให้มคี วามสอดคล้องกัน การพัฒนาเครือข่ายและเตรียมความพร้อมของห้องปฏิบัติการ ตรวจวิเคราะห์พชื ดัดแปลงพันธุกรรม (detection) และการพัฒนา แนวทางปฏิบัติร่วมในการเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนของสิ่งมีชีวิต ดัดแปลงพันธุกรรมระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน รวมถึงการ พัฒนาศักยภาพของบุคลากรในภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อ รองรับแนวทางดังกล่าว

7/24/2560 BE 6:17 PM


33

รายงานประจ�ำปี 2559

แนวทางปฏิ บั ติ เ พื่ อ ความปลอดภั ย ทางชี ว ภาพส� ำ หรั บ การใช้ จุ ลิ น ทรี ย ์ ดั ด แปลงพั น ธุ ก รรมในสภาพควบคุ ม เพื่ อ ใช้ ในระดับโรงงานต้นแบบและอุตสาหกรรม (ฉบับปรับปรุง) ไบโอเทคโดยคณะกรรมการเทคนิคด้านความปลอดภัยทาง ชีวภาพ (Technical Biosafety Committee) ปรับปรุงแนว ทางปฏิ บั ติ ฯ เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ แ ละแนวโน้ ม ที่ จ ะมี ก ารน� ำ จุ ลิ น ทรี ย ์ ดั ด แปลงพั น ธุ ก รรมมาใช้ ป ระโยชน์ ใ น อุตสาหกรรมต่างๆ อย่างกว้างขวางและเพิ่มมากขึ้นในอนาคต เช่ น อุ ต สาหกรรมอาหาร อุ ต สาหกรรมด้ า นเวชภั ณ ฑ์ และ อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ เป็นต้น เพื่อเป็นแนวทางให้กับ หน่วยงานหรือบริษัทที่ด�ำเนินการเกี่ยวกับจุลินทรีย์ดัดแปลง พั น ธุ ก รรมในระดั บ โรงงานต้ น แบบและระดั บ อุ ต สาหกรรมใน ประเทศไทยมีการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นไปอย่างปลอดภัยต่อผูเ้ กีย่ วข้อง และสิ่งแวดล้อม ซึ่งไบโอเทคได้เผยแพร่แนวปฏิบัติฯ ให้กับบริษัท เอกชนทีม่ กี ารใช้จลุ นิ ทรียด์ ดั แปลงพันธุกรรมในระดับอุตสาหกรรม และสถาบันการศึกษาทีม่ กี ารใช้จลุ นิ ทรียด์ ดั แปลงพันธุกรรมในระดับ โรงงานต้นแบบได้นำ� ไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง หลักเกณฑ์การประเมินความปลอดภัยของอาหารที่ผลิต โดยใช้จลุ นิ ทรียด์ ดั แปลงพันธุกรรม อาหารทีผ่ ลิตโดยใช้จลุ นิ ทรีย์ ดัดแปลงพันธุกรรมมีการใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย มีการบริโภค ในหลากหลายรูปแบบ ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมต่อ การประเมินความปลอดภัยของอาหารทีผ่ ลิตโดยจุลนิ ทรียด์ ดั แปลง พันธุกรรมของประเทศไทย ไบโอเทค โดยคณะกรรมการเทคนิคด้าน ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Technical Biosafety Committee) จึงได้จัดท�ำหลักเกณฑ์การประเมินความปลอดภัยของอาหารที่ ผลิตโดยใช้จลุ นิ ทรียด์ ดั แปลงพันธุกรรม โดยอ้างอิงตามแนวทาง ปฏิบัติส�ำหรับการประเมินความปลอดภัยของอาหารที่ผลิตโดย จุลนิ ทรียต์ ดั ต่อดีเอ็นเอ (Guideline for the conduct of food safety assessment of foods derived from recombinantDNA microorganism) ของคณะกรรมาธิการโครงการมาตรฐาน อาหาร (Codex Alimentarius Commission) และข้อก�ำหนดเรือ่ ง วัตถุเจือปนอาหารของ Joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additives (JECFA ) โดยแบ่งการประเมินอาหารทีผ่ ลิต จากจุลนิ ทรียด์ ดั แปลงพันธุกรรมเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1) อาหารที่ ผลิตจากจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมและยังมีจุลินทรีย์ดัดแปลง พันธุกรรมอยูใ่ นอาหารทัง้ ทีม่ ชี วี ติ และไม่มชี วี ติ 2) อาหารทีผ่ ลิตจาก จุลนิ ทรียด์ ดั แปลงพันธุกรรมและขจัดจุลนิ ทรียด์ ดั แปลงพันธุกรรม ออกแล้ว 3) วัตถุเจือปนอาหาร สารช่วยในกระบวนการผลิตและ เอนไซม์ทผี่ ลิตจากจุลนิ ทรียด์ ดั แปลงพันธุกรรมและขจัดจุลนิ ทรีย์ ดัดแปลงพันธุกรรมออกแล้ว

AW Biotec 2559-3.indd 33

พันธมิตรวิจัยระดับนานาชาติ ไบโอเทคให้ความส�ำคัญกับการสร้างเครือข่ายความร่วมมือวิจยั กับพันธมิตรต่างประเทศทัง้ กับหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงาน เอกชน เพือ่ สร้างความประจักษ์ ให้ ไบโอเทคเป็นทีร่ จู้ กั และเป็นที่ ยอมรับในการวิจยั และพัฒนาด้านเทคโนโลยีชวี ภาพในเวทีระดับ โลก โดยเน้นความเป็นพันธมิตรในการท�ำงานวิจยั การแบ่งปัน ความรูแ้ ละเทคโนโลยี การแลกเปลีย่ นและพัฒนาบุคลากรวิจยั ไบโอเทคจัดประชุมคณะกรรมการทีป่ รึกษานานาชาติประจ�ำปี 2559 โดยคณะกรรมการทีป่ รึกษาฯ ประกอบด้วยนักวิทยาศาสตร์ ชัน้ น�ำและผูบ้ ริหารจากสถาบันวิจยั ทีม่ ชี อื่ เสียงระดับนานาชาติ ได้ให้ ข้อเสนอแนะและค�ำแนะน�ำทัง้ ด้านกลยุทธ์การด�ำเนินงานวิจยั การ สร้างความประจักษ์ ในเวทีนานาชาติ นอกจากนี้คณะกรรมการ ที่ปรึกษาฯ ได้ร่วมกิจกรรมกับนักวิจัยไบโอเทค workshop for BIOTEC young researchers เพือ่ ให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับทิศทางงาน วิจยั ของโลกในด้านต่างๆ และแลกเปลีย่ นประสบการณ์การท�ำงาน วิจยั ให้ประสบความส�ำเร็จเกิดผลกระทบทีเ่ ป็นประโยชน์

การแลกเปลี่ยนและพัฒนาบุคลากรวิจัย

HRD in Biotechnology ไบโอเทคสนับสนุนทุนให้แก่บคุ ลากร วิจยั ในประเทศสมาชิกอาเซียนร่วมท�ำวิจยั กับหน่วยวิจยั ของไบโอเทค จ�ำนวน 12 ทุน จาก 4 ประเทศ ได้แก่ เมียนมาร์ 5 ทุน เวียดนาม 3 ทุน อินโดนีเซีย 3 ทุน และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 1 ทุน International Exchange Program ไบโอเทครับนักศึกษา ต่างประเทศเข้าฝึกอบรมการท�ำวิจัยในสาขาเฉพาะเพื่อให้ ได้ ประสบการณ์ในการท�ำวิจยั จ�ำนวน 96 คน จาก 20 ประเทศ ได้แก่ อังกฤษ ฝรัง่ เศส ไอร์แลนด์ เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สิงคโปร์ ลาว เมียนมาร์ อินโดนีเซีย เวียดนาม มาเลเซีย อินเดีย เนปาล จีน เกาหลีใต้ ฮ่องกง ญีป่ นุ่ และไต้หวัน

7/24/2560 BE 6:17 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

34

ความร่วมมือด้านการวิจัยและวิชาการ

การด�ำเนินงานปี 2559 ไบโอเทคได้รว่ มลงนามสัญญาความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันการศึกษาและสถาบันการวิจยั ต่างประเทศ จ�ำนวน 10 หน่วยงานใน 8 ประเทศ ประเทศ

สถาบัน

สาขาทีม่ คี วามร่วมมือ

ระยะเวลา

University of Zurich

การตรวจสอบสารไซยาไนต์ใน มันส�ำปะหลัง

3 ปี 20 กรกฎาคม 2559 – 19 กรกฎาคม 2562

Center for Environment, Fisheries and Aquaculture Science

การวิจยั โรคกุง้

3 ปี 4 กุมภาพันธ์ 2559 – 3 กุมภาพันธ์ 2562

Cebu Technological University

ด้านทรัพยากรชีวภาพ และเทคโนโลยี ชีวภาพการเกษตร

3 ปี 7 กรกฎาคม 2559 – 6 กรกฎาคม 2562

Nonglam University

ด้านทรัพยากรชีวภาพ และ การแลกเปลีย่ นบุคลากรนักศึกษาฝึกงาน

3 ปี 1 ธันวาคม 2558 – 30 พฤศจิกายน 2561

Airlangga University

ด้านเทคโนโลยีเอนไซม์

3 ปี 18 เมษายน 2559 – 17 เมษายน 2562

สวิตเซอร์แลนด์

อังกฤษ ฟิลปิ ปินส์

เวียดนาม

อินโดนีเซีย ไต้หวัน สิงค์โปร์

College of Life Science, National การแลกเปลีย่ นบุคลากรนักศึกษาฝึกงาน Taiwan University Bioprocessing Technology Institute

การวิจยั การผลิตชีวโมเลกุล

1 ปี 3 พฤษภาคม 2559 – 2 พฤษภาคม 2560

Osaka University

ด้านทรัพยากรชีวภาพ และ การแลกเปลีย่ นบุคลากรวิจยั

5 ปี 1 เมษายน 2559 – 31 มีนาคม 2564

Meiji University

ด้านเทคโนโลยีชวี ภาพทางการเกษตร

5 ปี 14 มีนาคม 2559 – 30 พฤษภาคม 2564

National Institute of Technology and Evaluation

การวิจยั ด้านจุลนิ ทรีย์

5 ปี 24 กุมภาพันธ์ 2559 – 31 มีนาคม 2564

ญีป่ นุ่ ญีป่ นุ่

ญีป่ นุ่

AW Biotec 2559-3.indd 34

5 ปี 24 มิถนุ ายน 2559 – 23 มิถนุ ายน2564

7/24/2560 BE 6:17 PM


35

รายงานประจ�ำปี 2559

การพัฒนาบุคลากร การสร้าง ความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ไบโอเทคให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การส่ ง เสริ ม พั ฒ นาและสร้ า ง ก�ำลังคนด้านเทคโนโลยีชีวภาพให้มีความเชี่ยวชาญทั้งในเชิง ปริมาณและเชิงคุณภาพในระดับต่างๆ การให้ความรูค้ วามเข้าใจ และการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งวิทยาการ สมัยใหม่ทถี่ กู ต้องต่อสาธารณะ โดยเน้นการสือ่ สารเนือ้ หาทาง วิทยาศาสตร์ให้นา่ สนใจ เข้าใจง่าย

การพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีชีวภาพ

ทุนวิจยั ระดับหลังปริญญาเอก เพือ่ พัฒนาและสร้างศักยภาพ ในการวิจัยให้กับผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกสาขา เทคโนโลยีชีวภาพ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องให้มีความเข้มแข็งและมี ประสบการณ์การท�ำงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างนักวิจัย คุณภาพและเป็นการเตรียมความพร้อมขัน้ พืน้ ฐานในการก้าวไป สู่การท�ำงานวิจัยในระดับที่สูงขึ้น โดยสนับสนุนทุนให้คนไทยและ ต่างชาติในการปฏิบตั งิ านวิจยั ร่วมกันกับนักวิจยั ไบโอเทค จ�ำนวน 12 ทุน ซึง่ เป็นทุนต่อเนือ่ ง 5 ทุน และทุนใหม่ 7 ทุน ส่งเสริมและสนับสนุนนักศึกษาในการวิจยั วิทยานิพนธ์ดา้ น เทคโนโลยีชวี ภาพ ในปี 2559 ไบโอเทคสนับสนุนให้นกั ศึกษาระดับ ปริญญาเอกและปริญญาโทที่ท�ำวิทยานิพนธ์ภายใต้การดูแลให้ ค�ำปรึกษาของอาจารย์มหาวิทยาลัยร่วมกับนักวิจัยไบโอเทค ของทุนสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย โดยเป็น นักศึกษาปริญญาเอก 5 คน ปริญญาโท 11 คน รวมทัง้ การส่งเสริม และสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรีของทุนการสร้างปัญญา วิทย์ผลิตนักเทคโนจ�ำนวน 7 คน นอกจากนี้ได้รบั นักศึกษาระดับ ปริญญาตรีทอี่ ยูร่ ะหว่างการศึกษาในคณะ/สาขาด้านวิทยาศาสตร์ เพือ่ เรียนรูฝ้ กึ ฝนการท�ำงานในห้องปฏิบตั กิ ารจ�ำนวน 100 คน การเผยแพร่ความรู้ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ไบโอเทคจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการและการประชุมวิชาการเพื่อ พัฒนาบุคลากรวิจยั ภาครัฐให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจในความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีชวี ภาพใหม่ๆ ทีจ่ ะช่วยพัฒนางานวิจยั และพัฒนาที่ มีความส�ำคัญและจ�ำเป็นของประเทศ และพัฒนาบุคลากรในภาค การผลิตให้มที กั ษะความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ และยกระดับความสามารถการผลิต โดยการ ด�ำเนินงานปี 2559 ได้จดั ประชุมวิชาการ การฝึกอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร ให้แก่นกั วิจยั นักวิชาการจากภาครัฐและเอกชนจ�ำนวน 19 เรือ่ ง มีผเู้ ข้าร่วมจ�ำนวน 1,663 คน หรือ 2,338 คน-วัน ตัวอย่างหัวข้อ

AW Biotec 2559-3.indd 35

การจัดอบรม เช่น การเก็บรักษาจุลนิ ทรีย์ในระยะยาวด้วยเทคนิค การระเหยแห้งในสภาวะสูญญากาศ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี genome editing การตรวจวินิจฉัยโรคพืชแบบหลายเชื้อใน คราวเดียว Breeding and Cultivation Techniques of Seedless Watermelon, Variant Discovery from Next Generation Sequencing (NGS) Post-processing Data, Intensive Training Workshop on Ethanol Production from Cassava ไบโอเทคได้รบั คัดเลือกจากหน่วยงาน Generation Challenge Programme (GCP) ร่วมกับสถาบันการศึกษา สถาบันวิจยั ต่างๆ ทั่วโลก ให้เป็นศูนย์กลางในการถ่ายทอดซอฟต์แวร์ Breeding Workflow System (BMS) ไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพันธุ์ ซึง่ มีประโยชน์ในด้านการจัดการข้อมูล และค�ำนวณด้านสถิติ โดยจัด อบรมเชิงปฏิบัติการใช้ซอฟต์แวร์ ให้บุคคลหรือสถาบันต่างๆ ทั้ง นักปรับปรุงพันธุ์ อาจารย์และผู้สนใจอื่นๆ ในระดับประเทศ และ ระดับนานาชาติในประเทศเพือ่ นบ้านแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยในปีงบประมาณ 2559 ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับ การจัดการข้อมูลและค�ำนวณด้านสถิตแิ ก่เจ้าหน้าทีศ่ นู ย์วจิ ยั พืชไร่ จ.นครสวรรค์ ศูนย์วจิ ยั พืชไร่ จ.ระยอง และ National Agriculture and Forestry Research Institute (NAFRI) สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยศูนย์วิจัยพืชไร่ จ.นครสวรรค์ ได้น�ำไปใช้ ในโปรแกรมปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดให้มีลักษณะทนแล้ง ศูนย์วจิ ยั พืชไร่ จ.ระยอง น�ำไปใช้ ในการบริหารจัดการฐานข้อมูล เชือ้ พันธุกรรมของมันส�ำปะหลัง และไบโอเทคได้นำ� มาใช้ ในการเพิม่ เติมฐานข้อมูลเครือ่ งหมายโมเลกุลทีใ่ ช้ในการคัดเลือกสายพันธุข์ า้ ว และข้อมูลแผนทีท่ างพันธุกรรม (QTL mapping) ส�ำหรับประชากร ข้าวทนแล้ง

7/24/2560 BE 6:17 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

36

การสร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีต่อสาธารณะ

ไบโอเทคร่วมจัดท�ำเนือ้ หาส�ำหรับรายการโทรทัศน์ทสี่ นับสนุน โดย สวทช. “พลังวิทย์ คิดเพื่อคนไทย” จ�ำนวน 16 ตอน และ “ว้าววิทย์ ช่วยเศรษฐกิจชาติ” จ�ำนวน 7 ตอน เช่น ชาวนาผลิต เชื้อบิวเวอเรียสู้เพลี้ยกระโดดสีน�้ำตาล หมู่บ้านข้าวหอมชลสิทธิ์ ไฮโดรเจลจากแป้งมันส�ำปะหลังเพื่อใช้เป็นสารช่วยแตกตัวใน ผลิตภัณฑ์ยาเม็ด ไบโอเทคร่วมจัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานไบโอเทค 19 ครัง้ เป็นนิทรรศการเชิงวิชาการ 14 ครัง้ นิทรรศการเชิงสังคม 1 ครัง้ และนิทรรศการเชิงธุรกิจ/การบริการ 4 ครัง้ ไบโอเทคได้เปิดโอกาสให้หน่วยงานภาครัฐทั้งในและต่าง ประเทศ บุคคลทัว่ ไป เด็กและเยาวชน ได้เรียนรูแ้ ละเยีย่ มชมห้อง ปฏิบตั กิ ารวิจยั ของไบโอเทค ในปีงบประมาณ 2559 มีคณะบุคคล จากหน่วยงานต่างๆ เข้าเยี่ยมชมรวม 146 คณะ ประกอบด้วย คนไทย 95 คณะ และต่างชาติ 51 คณะ

การส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใน โรงเรียนชนบท

ไบโอเทคสนับสนุนการด�ำเนินงานของหน่วยงานพันธมิตรใน พื้นที่ในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาชนบท สนับสนุนการเรียนรูแ้ ละการท�ำงานของกลุม่ ชมรมครูวทิ ยาศาสตร์ กลุ่มเยาวชนแกนน�ำ สามเณรนักเรียน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนใน พื้นที่ โดยสนับสนุนกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจ�ำวัน กิจกรรมเสริมสร้างให้ เกิดจิตส�ำนึกในการรักท้องถิน่ เพือ่ การพัฒนาคุณภาพชีวติ ของ ประชาชนในชนบท และเพือ่ ให้เป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาชุมชน ชนบทด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างยัง่ ยืนต่อไปในอนาคต

AW Biotec 2559-3.indd 36

โครงการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ในโรงเรียนชนบท ไบโอเทคได้ ด�ำเนินโครงการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ในโรงเรียนชนบท เพือ่ พัฒนา เด็กและเยาวชน การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา และพัฒนาสือ่ แหล่งเรียนรู้ และเครือข่ายของโรงเรียนอย่างต่อเนือ่ ง จนกระทัง่ ใน ปี 2559 พบว่ามีโรงเรียนภายใต้โครงการฯ ทัง้ สิน้ 113 โรงเรียน ครอบคลุมพื้นที่ จ.น่าน จ.แม่ฮ่องสอน จ.เชียงใหม่ จ.สกลนคร จ.นราธิวาส และ จ.พังงา กิจกรรมที่ได้ดำ� เนินงานได้แก่ 1) โครงการ นักวิทยาศาสตร์นอ้ ย 2) การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์แบบบูรณาการกับ โครงการเกษตรอาหารกลางวัน 3) โครงการโรงเรียนท้องถิน่ ฐาน วิทยาศาสตร์ 4) การจัดท�ำโครงงานวิทยาศาสตร์ 5) ค่ายเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ในท้องถิ่น 6) การสอนภาษาไทยแบบแจกลูกสะกด ค�ำส�ำหรับผู้เรียนบนพื้นที่สูง และ 7) สร้างเสริมความสนใจและ พัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนและการสร้างเครือข่าย เพือ่ พัฒนาการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในถิน่ ทุรกันดาร ผ่านการด�ำเนินกิจกรรมหลักด้านการพัฒนาบุคลากรทางการ ศึกษา การพัฒนาเด็กและเยาวชน และการพัฒนาสือ่ แหล่งเรียนรู้ และเครือข่ายของโรงเรียน โครงการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม ไบโอเทคได้ด�ำเนินโครงการเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเรียน รู ้ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ใ ห้ กั บ โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม แผนกสามั ญ ศึ ก ษา ในโครงการตามพระราชด� ำ ริ ส มเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มาตั้งแต่ปี 2547 จนกระทัง่ ในปี 2559 มีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมภายใต้โครงการฯ ทั้งสิ้น 69 โรงเรียน ครอบคลุมพื้นที่ จ.น่าน จ.แพร่ จ.เชียงราย จ.พะเยา จ.ล�ำปาง และ จ.ศรีสะเกษ โดยได้ดำ� เนินการพัฒนาวิสยั ทัศน์ การเรียนรูต้ ามกรอบความคิดเพือ่ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ นักการศึกษาได้ร่วมกันก�ำหนดสมรรถนะและทักษะที่ส�ำคัญและ จ�ำเป็น มุง่ เสริมสร้างให้ทกุ โรงเรียนมีศกั ยภาพทีจ่ ะเข้าถึงองค์ความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบสะเต็มศึกษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education; STEM)

7/24/2560 BE 6:17 PM


รายงานประจ�ำปี 2559

37

สรุปผลงานส�ำคัญของไบโอเทค ปี 2555-2559 ในช่วงแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 5 ของ สวทช. (ปี 2555-2559) ไบโอเทคก�ำหนดเป้าหมายเพื่อสร้าง ความสามารถด้านเทคโนโลยีชวี ภาพของประเทศให้เกิดผลทัง้ ในเชิงความเป็นเลิศทางวิชาการ (Excellence) และตอบสนองต่อการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของ ประเทศทั้งในเชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณประโยชน์ต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของ สังคมชุมชน (Relevance) เพื่อให้เกิดผลกระทบสูง (Impact) ด�ำเนินงานตามพันธกิจหลัก ได้แก่ การวิจยั และพัฒนาด้านเทคโนโลยีชวี ภาพให้สามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีสกู่ ารใช้ประโยชน์ เชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณประโยชน์ พร้อมส่งเสริมด้านการพัฒนาก�ำลังคนและโครงสร้าง พืน้ ฐานวิจยั ของประเทศ รวมถึงการผลักดันประเด็นเชิงนโยบายยุทธศาสตร์วจิ ยั และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องซึ่งจะมีผลต่อการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ การจัดให้มีระบบบริหารจัดการ ภายในที่มีประสิทธิภาพ มีกลไกสนับสนุนให้เกิดการด�ำเนินงานร่วมกับหน่วยงานพันธมิตร ในภาครัฐ ภาคเอกชนทั้งในและต่างประเทศ

AW Biotec 2559-4.indd 37

7/24/2560 BE 6:28 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

38

การสร้างองค์ความรู้ พัฒนาเทคโนโลยี สู่การใช้ประโยชน์

ไบโอเทคด�ำเนินการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีฐานด้านเทคโนโลยีชีวภาพที่จ�ำเป็นส�ำหรับการน�ำไปประยุกต์ ใช้ วิจยั และพัฒนาเพือ่ ตอบสนองโจทย์วจิ ยั ของคลัสเตอร์วจิ ยั ถ่ายทอดเทคโนโลยีจากการวิจยั ไปใช้เพือ่ การสร้าง ความสามารถของประเทศ การด�ำเนินงานของไบโอเทคระหว่างปี 2555-2559 ได้สร้าง องค์ความรูท้ มี่ คี ณ ุ ค่าและความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยมีบทความ ตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติรวม 1,126 บทความ เป็น บทความตีพมิ พ์ในวารสารทีอ่ ยูใ่ น citation index จ�ำนวน 1,036 บทความ โดยบทความทีต่ พี มิ พ์ในวารสารทีอ่ ยูใ่ น citation index มีคา่ เฉลีย่ impact factor ต่อบทความเพิม่ ขึน้ ทุกปีอย่างต่อเนือ่ ง มีการยื่นขอจดสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร และความลับทางการค้า รวม 210 รายการ ไบโอเทคน�ำความรูค้ วามเชีย่ วชาญไปสนับสนุนการยกระดับ ความสามารถในภาคการผลิตด้วยกลไกต่างๆ เช่น ปรับปรุง กระบวนการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ใหม่ การลดต้นทุนและ

เพิม่ คุณภาพผลิตภัณฑ์ โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีจากการวิจยั และ พัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ผ่านการรับจ้างวิจัย การร่วมวิจัย การให้ บริการปรึกษาอุตสาหกรรม รวม 164 รายการ และการบริการ ตรวจวิเคราะห์ทดสอบด้านเทคนิค รวม 58,184 รายการ ไบโอเทคมีรายได้จากหน่วยงานภายนอกทัง้ ในและต่างประเทศ รวม 533 ล้านบาท โดย 63% ของรายได้รวมเป็นรายได้จากความ สามารถในการวิจยั ทัง้ ในลักษณะของการได้รบั ทุนวิจยั การร่วมและ รับจ้างวิจยั จากทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และต่างประเทศ และมีรายได้ จากการให้บริการ วิเคราะห์ทดสอบเทคนิคต่างๆ รวมทั้งการ ถ่ายทอดความรู้วิชาการใหม่ๆ ผ่านการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ สัมมนา ประชุมวิชาการนานาชาติ คิดเป็น 32% ของรายได้ทงั้ หมด

บทความตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการนานาชาติ ถ่ายทอดเทคโนโลยี ร่วมวิจยั รับจ้างวิจยั 164 รายการ ถ า ยทอดเทคโนโลยี รรววมวิ งวิจจัยัย164 164รายการ รายการ 1,036พบทความ มวิจจัยัย รัรับบจจาางวิ บทความตี ิมพในวารสารวิชาการนานาชาติ 1,126ถาเรืยทอดเทคโนโลยี ่อง จำนวนบทความ

2.61

คาเฉลี่ย impact factor/บทความ

2.48

2.78

2.84

2.93

202

206

215

217

196

2555

2556

2557

2558

2559

ทรัพย์สินทางปัญญา รวม 210 รายการ ินทางป รวม210 210คำขอ คำขอ ทรัทรั พยพสยินสทางป ญญ ญาญารวม 2323 11% 11% 103 103

49% 49%

40% 40%

8484

68% 68%

1% 2% 8%

2%

1% 2%

2%

ถายทอดเทคโนโลยี ถายทอดเทคโนโลยี รรววมวิมวิจจัยัย รัรับบจจาางวิงวิจจัยัย

รายได้จากหน่วยงานภายนอก

8% 40%

24% สิทธิบัตรที่ยื่นจด สิทธิบัตรที่ยื่นจด อนุสิทธิบัตรที24% ่ยื่นจด อนุสิทธิบัตรที่ยื่นจด ความลับทางการคา ความลับทางการคา

40% 23%

23%

AW 10-64.indb 38

16% 16% 16% 16%

ลิขสิทธิ์/สิทธิประโยชน ทุนวิจัย รัลิบขจสิาง/ร ทธิว์/มวิสิทจัยธิประโยชน การบริการเทคนิค/วิชาการ ทุฝกนอบรม/สั วิจัย มมนา/นิทรรศการ ง/รนอืว่นมวิจัย เงิรันบอุจดาหนุ อืการบริ ่นๆ (คาเชกาารเทคนิ และบริการสถานที ่) ค/วิชาการ

ฝกอบรม/สัมมนา/นิทรรศการ เงินอุดหนุนอื่น อื่นๆ (คาเชาและบริการสถานที่)

7/22/2560 BE 5:44 PM


39

รายงานประจ�ำปี 2559

ตัวอย่างความก้าวหน้า ด้านเทคโนโลยีและผลงานส�ำคัญ ระหว่างปี 2555-2559 การพัฒนาสายพันธุ์ข้าว

AA พัฒนาพันธุ์ข้าวที่มีคุณสมบัติตามที่เกษตรกรและผู้บริโภค

ต้องการด้วยการใช้เทคโนโลยีเครื่องหมายโมเลกุลในการ คัดเลือกร่วมกับวิธกี ารปรับปรุงพันธุข์ า้ วแบบมาตรฐานท�ำให้ ได้สายพันธุ์ใหม่ เช่น พันธุข์ า้ วหอมชลสิทธิท์ นน�ำ้ ท่วมฉับพลัน พันธุธ์ ญ ั สิรนิ ต้านทานโรคไหม้ พันธุข์ า้ ว กข6 ต้านทานโรค ไหม้และขอบใบแห้ง ฯลฯ และสายพันธุข์ า้ วทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ได้รบั การ รับรองพันธุจ์ ากกรมการข้าวจ�ำนวน 2 พันธุ์ คือ ข้าวขาวดอก มะลิ 105 ทนน�ำ้ ท่วมฉับพลันในนาม “กข51” ได้รบั การรับรอง พันธุเ์ มือ่ 12 มีนาคม 2556 และข้าว กข18 ต้านทานโรคไหม้ ได้ รับการรับรองพันธุเ์ มือ่ 19 สิงหาคม 2556 [ร่วมกับกรมการ ข้าว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา]

AA การศึกษาคุณสมบัติทางชีวเคมี กลไกจลนพลศาสตร์ด้วย

เทคนิค steady state and pre-steady state kinetic และ โครงสร้างผลึกของเอนไซม์ซรี นี ไฮดรอกซีเมทิลทรานสเฟอเรส (serinehydroxymethyl transferase) หรือ SHMT ของคน และของเชือ้ พลาสโมเดียมทีก่ อ่ โรคมาลาเรีย ท�ำให้เข้าใจความ เหมือน และแตกต่างของสภาวะแวดล้อมในบริเวณที่จับกับ ลิแกนด์ของเอนไซม์ SHMT ในคนและในเชือ้ พลาสโมเดียม ซึง่ องค์ความรู้ดังกล่าว ได้น�ำไปประยุกต์ ใช้ออกแบบสารยับยั้ง เอนไซม์ SHMT ของเชือ้ พลาสโมเดียมเพือ่ พัฒนาต่อยอดเป็น ยาต้านมาลาเรีย [ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัย บูรพา และ ETH Zurich]

AA พั ฒ นาวั ค ซี น โรคไข้ เ ลื อ ดออก ซึ่ ง เป็ น วั ค ซี น ชนิ ด เชื้ อ เป็ น

อ่อนฤทธิ์ลูกผสมรุ่นที่ 1 (NSTDA1) ได้ครบทั้ง 4 ซีโรทัยป์ และได้ถา่ ยทอดเทคโนโลยีให้แก่บริษทั ไบโอเนท-เอเชีย จ�ำกัด เพือ่ ต่อยอดเทคโนโลยีในเชิงพาณิชย์ โดยได้ผา่ นการทดสอบ การกระตุ้นภูมิคุ้มกันในลิง ปัจจุบันอยู่ระหว่างการพัฒนา เพือ่ เตรียมการผลิตวัคซีนตามมาตรฐาน GMP ส�ำหรับการ ทดสอบในมนุษย์ตอ่ ไป โดยคาดว่าจะสามารถทดสอบวัคซีน ในมนุษย์ ได้ ในปี 2562 และยังได้ทำ� การปรับปรุงประสิทธิภาพ ของวัคซีนไข้เลือดออกชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ลูกผสมรุ่นที่ 2 (NSTDA2) [ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัย เชียงใหม่]

การพัฒนายาและวัคซีน

AA ค้นพบและพัฒนายาต้นแบบสาร P218 ที่มีประสิทธิภาพใน

การยับยัง้ เชือ้ มาลาเรียดือ้ ยา โดยในปี 2559 ได้รบั อนุมตั ใิ ห้ ด�ำเนินการทดสอบความปลอดภัยในระดับการทดสอบครั้ง แรกในมนุษย์ (First in Human) เพือ่ ยืน่ จดทะเบียนยาวิจยั ใหม่ (Investigational new drug) ซึง่ หากประสบผลส�ำเร็จจะเป็นยา รักษาโรคมาลาเรียทีพ่ ฒ ั นาขึน้ โดยทีมนักวิจยั ไทยเป็นครัง้ แรก

AW 10-64.indb 39

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

40

AA พัฒนาเทคนิคการสร้างไวรัสโดยไม่จำ� เป็นต้องดัดแปลงรหัส

ไวรัสโดยวิธรี เี วอร์สเจเนติกส์ ในการพัฒนาวัคซีน และสามารถ พัฒนาระบบการแยกไวรัส PEDV สายพันธุ์ธรรมชาติจาก ตัวอย่างล�ำไส้ลูกสุกรที่ติดเชื้อ ท�ำให้สามารถแยกเชื้อไวรัส โดยตรงจากล�ำไส้โดยไม่มีการปนเปื้อนของเอนไซม์โปรติเอส และแบคทีเรีย ช่วยให้การศึกษาเกี่ยวกับชีววิทยาของไวรัส PEDV ท�ำได้สะดวกและง่ายขึน้

พันธุกรรมใดๆ ตรงรอยต่อ (seamless DNA assembly) โดยได้นำ� เทคนิค Gibson assembly มาประยุกต์ใช้กบั การ ดัดแปลงพันธุกรรมของไวรัสเด็งกี่ ด้วยการประกอบชิน้ ดีเอ็นเอ ของไวรัสในหลอดทดลอง เมือ่ น�ำเข้าสูเ่ ซลล์เจ้าบ้านดีเอ็นเอของ ไวรัสจะสามารถถูกแปลงเป็นสารพันธุกรรมของไวรัสเด็งกี่ที่ สามารถเพิม่ จ�ำนวนและสร้างอนุภาคไวรัสใหม่ขนึ้ มาได้อย่าง มีประสิทธิภาพสูงในขัน้ ตอนเดียวและไม่ตอ้ งใช้เซลล์แบคทีเรีย เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อพัฒนาการเพาะเลี้ยงกุ้ง เจ้าบ้านชนิด Escherichia coli ท�ำให้ชว่ ยลดระยะเวลาในการ AA จากปัญหาการระบาดของโรคกุง้ ตายด่วน (Early mortality syndrome/acute hepatopancreatic necrosis disease; สร้างไวรัสจากเดิม 24 สัปดาห์เหลือเพียง 2 สัปดาห์ ดังนัน้ จึง EMS/AHPND) ซึง่ ระบาดครัง้ แรกในประเทศจีนและแพร่กระจาย เป็นเทคนิคทีม่ ศี กั ยภาพทีจ่ ะน�ำไปใช้เพือ่ การวิเคราะห์ทดสอบ อย่างรวดเร็วสูป่ ระเทศไทย ส่งผลกระทบอย่างมากต่อเกษตรกร และพัฒนาคุณสมบัติของวัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออก และอุตสาหกรรมกุ้งทั้งระบบ โดยในปี 2555 ผลผลิตกุ้ง นอกจากนีย้ งั สามารถน�ำเทคนิคนี้ไปประยุกต์ใช้กบั เป้าหมาย ลดลง 30% ไบโอเทคได้ศกึ ษาเชือ้ ทีเ่ ป็นสาเหตุโรคตายด่วนและ การพัฒนาวัคซีนชนิดอืน่ ได้ สามารถพัฒนาวิธกี ารตรวจวินจิ ฉัยเชือ้ แบคทีเรียทีเ่ ป็นสาเหตุ AA พัฒนาวัคซีนสัตว์ด้วยเทคโนโลยีการสร้างอนุภาคไวรัสใน โรคกุ้งตายด่วนครั้งแรกของโลก จึงได้เผยแพร่วิธีการตรวจ หลอดทดลองหรือรีเวอร์สเจเนติกส์ ท�ำให้สามารถพัฒนา วัคซีนต้นแบบทีม่ ผี ลการทดสอบว่ามีประสิทธิภาพในการลด วินจิ ฉัยสูส่ าธารณะ ซึง่ เกษตรกรน�ำไปใช้ปอ้ งกันในการคัดกรอง อัตราการตายของลูกสุกรได้ดกี ว่าวัคซีนทีม่ ใี ช้ ในปัจจุบนั ได้แก่ ลูกกุง้ พ่อแม่พนั ธุ์ ท�ำให้สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรค พัฒนาต้นแบบวัคซีน PEDV (Porcine epidemic diarrhea [ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยมหิดลและ ประเทศไต้หวัน] virus) เพือ่ คุม้ กันโรคทีเ่ กิดจากไวรัส PEDV ทีก่ อ่ ให้เกิดอาการ AA ผลงานความส�ำเร็จครั้งแรกในการศึกษายีนและเอนไซม์ที่ ท้องเสียรุนแรงในลูกสุกร สายพันธุท์ รี่ ะบาดในประเทศไทยได้ เกี่ยวข้องกับระบบการสร้างสาร prostaglandin ในสัตว์ ส�ำเร็จโดยมีคณ ุ สมบัตอิ อ่ นเชือ้ ไม่กอ่ ให้เกิดโรคในแม่สกุ ร และ กลุม่ crustaceans (สัตว์ประเภทกุง้ และปู) โดยได้องค์ความรู้ ประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาต้นแบบวัคซีน PRRSV ชุด ทีเ่ ชือ่ มโยงบทบาทของกรดไขมันไม่อมิ่ ตัว (polyunsaturated prime-boost (Porcine reproductive and respiratory fatty acids) ในอาหารกุง้ เช่น แม่เพรียง ต่อการเจริญพันธุข์ อง syndrome virus) เพือ่ คุม้ กันโรคทีเ่ กิดจากไวรัส PRRSV ทีท่ ำ� ให้ กุง้ กุลาด�ำ พบว่าสาร prostaglandin มีบทบาทส�ำคัญต่อการ สุกรแม่แท้งและสุกรลูกตาย [ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พัฒนารังไข่และระบบการเจริญพันธุข์ องกุง้ กุลาด�ำ ซึง่ จะเป็น ก�ำแพงแสน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร]ี ประโยชน์ตอ่ การแก้ปญ ั หาระบบเจริญพันธุข์ องพ่อแม่พนั ธุก์ งุ้ AA พัฒนาเซลล์สต ั ว์ทสี่ ามารถใช้ ในการเลีย้ งไวรัส PEDV ซึง่ เป็น กุลาด�ำต่อไป เทคโนโลยีฐานส�ำคัญส�ำหรับใช้พฒ ั นาระบบการสร้างอนุภาค

AW Biotec 2559-4.indd 40

7/24/2560 BE 6:15 PM


41

รายงานประจ�ำปี 2559

การค้นพบสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากจุลินทรีย์

พัฒนาวิธีการตรวจกรองสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชื้อ จุลินทรีย์เพื่อประเมินศักยภาพของจุลินทรีย์ต่างๆ ในการเป็น แหล่งผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นและ มีความรวดเร็วขึ้น ใช้ปริมาณตัวอย่างที่จะทดสอบลดลง และหา โครงสร้างสารใหม่ดว้ ย biological activity guided isolation และ identification ควบคูไ่ ปกับห้องสมุดสาร (chemical libraries) ซึง่ ผลงานสะสมระหว่างปี 2542-2559 การวิจยั หาสารออกฤทธิท์ าง ชีวภาพจากจุลนิ ทรียพ์ บสารทีม่ โี ครงสร้างชนิดใหม่ 450 สาร และ พบสารทีท่ ราบโครงสร้างแล้ว 535 สาร โดยสารทีพ่ บมีคณ ุ สมบัติ AA เชือ้ ราบิวเวอเรียเพือ่ ควบคุมเพลีย้ กระโดดสีนำ�้ ตาล เพลีย้ อ่อน ในการออกฤทธิท์ างชีวภาพจ�ำนวน 825 สาร ซึง่ สารดังกล่าวแสดง ลูกท้อ เพลีย้ แป้งมันส�ำปะหลัง โดยพัฒนาขยายขนาดการผลิต ศักยภาพหลากหลายในการยับยัง้ การต้านเชือ้ ก่อโรคต่างๆ เช่น รา Beauveria bassiana BCC2660 บนอาหารแข็งแบบถาด ต้านมาลาเรีย ต้านวัณโรค ต้านไวรัส ต้านเซลล์มะเร็ง และฤทธิใ์ น ขนาด 20 กิโลกรัม ซึ่งสามารถผลิตสปอร์ราบนข้าวสารได้ การปราบศัตรูทางการเกษตร ซึง่ จะมีประโยชน์สำ� หรับการพัฒนา มากกว่า 1012 สปอร์ตอ่ 1 กิโลกรัมข้าวสาร ไบโอเทคร่วมมือ ต่อยอดต่อไป ตัวอย่างเช่น กั บ กรมส่ ง เสริ ม การเกษตรในการส่ ง เสริ ม การผลิ ต หั ว เชื้อบริสุทธิ์ของเชื้อราบิวเวอเรียที่ ได้มาตรฐานให้กับศูนย์ AA ค้นพบสารใหม่ Pleosporin A จากเชือ้ ราวงศ์ Pleosporaceae ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จ.เชียงใหม่ และ ที่คัดแยกจากมูลช้างที่มีฤทธิ์ต้านมาลาเรีย Plasmodium จ.พิษณุโลก เพื่อผลิตหัวเชื้อส่งต่อให้ศูนย์จัดการศัตรูพืช falciparum K1 ไม่มคี วามเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็ง และเซลล์ปกติ ชุมชน (ศจช.) ผลิตเป็นก้อนเชือ้ สดให้เกษตรกรน�ำไปใช้ โดยได้ ด้วย Pleosporin A มีโครงสร้างเคมีทซี่ บั ซ้อนยากต่อการค้นหา ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเชือ้ ก้อนให้แก่ ศจช. อ.หนองม่วงไข่ จึงได้รบั คัดเลือกขึน้ ปกวารสาร Tetrahedron Letters ฉบับ จ.แพร่ และ อ.ท่าตะโก จ.นครสวรรค์ และถ่ายทอดเทคโนโลยี เดือนมกราคม 2557 vol. 55 Issue 2 การผลิตเชือ้ บิวเวอเรียให้กบั บริษทั ลัดดา จ�ำกัด AA ค้นพบสารใหม่ในตระกูลสารแอสโคคลอรินจากเชื้อราแมลง AA พัฒนากระบวนการผลิตระดับขยายขนาดไวรัสเอ็นพีวี เพือ่ Verticillium hemipterigenum BCC 2370 ทีค่ ดั แยกจาก ควบคุมหนอนกระทู้หอม หนอนกระทู้ผัก หนอนเจาะสมอ บริเวณน�้ำตกเหวนรก อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ซึ่งจากการ ฝ้าย เผยแพร่ส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์แก่เกษตรกรกลุ่ม ตรวจสอบคุณสมบัตกิ ารออกฤทธิ์ พบว่าสารมีฤทธิต์ า้ นไวรัส เกษตรอินทรีย์ในจังหวัดต่างๆ ได้แก่ จ.อยุธยา จ.สุพรรณบุรี ผลงานวิจยั ได้รบั การตีพมิ พ์ใน จ.อุทัยธานี จ.นครปฐม จ.กาญจนบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ Journal of Antibiotics ทํา จ.ราชบุรี จ.สระบุรี จ.นครราชสีมา จ.ศรีสะเกษ จ.เพชรบูรณ์ ให้บริษัทซิกมา-อัลดริช ซึ่ง จ.อุตรดิตถ์ จ.เชียงใหม่ จ.พะเยา จ.ล�ำพูน และถ่ายทอดเทคโนโลยี เป็นบริษทั ชัน้ นําผูผ้ ลิตวัสดุ การผลิตไวรัสเอ็นพีวใี ห้กบั บริษทั ไบรท์ออร์แกนิค จ�ำกัด สารเคมีสาํ หรับงานทดลอง วิ ท ยาศาสตร์ ได้ ข อรั บ ตัวอย่างผลงานวิจัยที่ตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรม การอนุญาตใช้สิทธิจาก AA ต้นเชื้อบริสุทธิ์ส�ำหรับอุตสาหกรรมอาหารและอาหารสัตว์ ไบโอเทค สวทช. เพือ่ การ พัฒนากระบวนการหมักผักกาดดองเปรี้ยวโดยใช้ต้นเชื้อ ผลิตสารแอสโคคลอริน บริสุทธิ์ในระดับอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีคุณภาพดี ในเชิงพาณิชย์ ลดการสูญเสียจากกระบวนการหมักที่ไม่สมบูรณ์ บริษัท สันติภาพ (ฮัว่ เพ้ง 1958) จ�ำกัด ได้ขยายการวิจยั ไปศึกษาใน ผลิตภัณฑ์ผกั กาดเขียวปลีดองเค็ม

สารชีวภัณฑ์เพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช

พัฒนาสารชีวภัณฑ์จากการคัดเลือกจุลนิ ทรียท์ มี่ ใี นธรรมชาติ พัฒนาสูตรการเลีย้ งเชือ้ และกระบวนการผลิตในระดับขยายขนาด เพือ่ ให้ ได้ผลิตภัณฑ์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพในการท�ำลายแมลงศัตรูพชื สูง ยืดอายุการเก็บรักษาสารชีวภัณฑ์ ได้แก่

AW 10-64.indb 41

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

42

AA พัฒนากระบวนการผลิตยาอมแก้ ไอแผนโบราณ ปรับปรุง

กระบวนการผลิตยาอมแก้ ไอแผนโบราณ ตรวจสอบคุณภาพ สารออกฤทธิ์ สรรพคุณยาของวัตถุดบิ และผลิตภัณฑ์ ท�ำให้ ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสม�่ำเสมอ สามารถลดระยะเวลา การผลิตและเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต นอกจากนีบ้ ริษทั ยัง ได้ลงทุนขยายก�ำลังการผลิตทัง้ ด้านพืน้ ทีแ่ ละเครือ่ งจักรเพือ่ รองรับความต้องการสินค้าของตลาดทีเ่ พิม่ มากขึน้ AA สารชี ว บ� ำ บั ด ภั ณ ฑ์ ก� ำ จั ด คราบน�้ ำ มั น ค้ น พบจุ ลิ น ทรี ย ์ ที่ สามารถย่อยสลายคราบน�ำ้ มัน พัฒนาสูตรอาหารเลีย้ งเชือ้ จุลินทรีย์แต่ละสายพันธุ์ และพัฒนากระบวนการผลิตสาร ชี ว บ� ำ บั ด ภั ณ ฑ์ ใ นระดั บ อุ ต สาหกรรม ได้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ท าง

การค้าภายใต้ชื่อ “KEEEN” มีคุณสมบัติในการขจัดคราบ น�ำ้ มัน และคราบสิง่ สกปรกทีก่ ำ� จัดยากในภาคอุตสาหกรรม ได้อย่างครบวงจรและมีประสิทธิภาพในขัน้ ตอนเดียว ช่วยลด การน�ำเข้าผลิตภัณฑ์สารชีวภาพจากต่างประเทศ และได้ขยาย ต่อยอดนวัตกรรมโดยพัฒนาถังหมักเพาะเลีย้ งเชือ้ จุลนิ ทรีย์ ขนาดเล็กทีส่ ามารถเคลือ่ นย้ายได้ เพือ่ ให้สามารถเพาะเลีย้ ง แบคทีเรียในปริมาณที่เพียงพอต่อการใช้งานในภาคสนามที่ เป็นระบบบ�ำบัดน�้ำเสียขนาดใหญ่หรือมีการปนเปื้อนน�้ำมัน ในปริมาณมาก ซึง่ เครือ่ งผลิตหัวเชือ้ จุลนิ ทรียข์ นาดเล็กแบบ เคลือ่ นย้ายได้มขี นาด 10 ลิตร [ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุร]ี

การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานการวิจัยที่ส�ำคัญของประเทศ วัตถุประสงค์เพือ่ เพิม่ ศักยภาพความเข้มแข็งในการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีทที่ นั สมัย ให้มคี วามพร้อมส�ำหรับรองรับการต่อยอดงาน วิจยั และพัฒนาทีจ่ ะน�ำไปสูก่ ารประยุกต์ใช้ประโยชน์ และดึงดูดความสนใจให้ภาคเอกชนมัน่ ใจทีจ่ ะลงทุนเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถการ แข่งขันด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยระหว่างปี 2555-2559 มีโครงสร้างพืน้ ฐานการวิจยั ใหม่ ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย ดังนี้ AA ศูนย์นวัตกรรมอาหารและอาหารสัตว์ (Food and Feed

Innovation Center) เป็นโครงสร้างพื้นฐานการวิจัยและ พัฒนาครบวงจรส�ำหรับการผลิตในระดับ pre-pilot scale และ downstream processing ของไบโอเทค เริม่ ด�ำเนินการ ในปี 2558 มุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาร่วมกับเอกชนการให้ บริการวิชาการและพัฒนาบุคลากร โดยคาดหวังว่าจะช่วยลด ระยะเวลาการพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ การถ่ายทอดสูก่ ารน�ำไป ใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์

AA ศูนย์ชวี วัสดุประเทศไทย (Thailand Bioresource Research

Center: TBRC) ด�ำเนินงานบริการจุลนิ ทรียแ์ ละชีววัสดุ โดยมี การบริหารจัดการชีววัสดุ ข้อมูล และกฎหมายชีวภาพทีเ่ ชือ่ ม โยงกันอย่างเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพได้มาตรฐาน มีการ แบ่งปันผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม ให้บริการจุลนิ ทรียพ ์ ร้อม ข้อมูลการใช้ประโยชน์จลุ นิ ทรียด์ า้ นต่างๆ ผ่านทางแคตาล็อค ออนไลน์ www.tbrcnetwork.org และโมบายแอพพลิเคชัน่ บนสมาร์ทโฟนโดยมีเป้าหมายเป็นศูนย์ชั้นน�ำระดับภูมิภาค อาเซียนมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากลภายใน 5 ปี (ปี 2563) TBRC ประกอบด้วยเครือข่าย 5 แห่งคือ BIOTEC Culture Collection สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

AW 10-64.indb 42

7/22/2560 BE 5:44 PM


43

รายงานประจ�ำปี 2559

AA โรงงานต้นแบบชีวกระบวนการ (BIOTEC Bioprocessing

ทางชีวภาพของคณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพด้าน การเกษตร กรมวิชาการเกษตร รวมทัง้ มีมาตรการและระบบใน Facility) เป็นโครงสร้างพื้นฐานวิจัยส�ำหรับการพัฒนา การจัดการต่างๆ ส�ำหรับการด�ำเนินงานวิจยั ซึง่ เป็นการสร้าง กระบวนการผลิตสารเมตาบอไลท์และสารมูลค่าสูงจาก ศักยภาพความเข้มแข็งการวิจยั และพัฒนาปรับปรุงพันธุพ ์ ชื จุลนิ ทรีย์ โดยสอดคล้องตามแนวทางปฏิบตั เิ พือ่ ความปลอดภัย ด้วยเทคโนโลยีชวี ภาพสมัยใหม่ และเพือ่ ให้ประเทศมีความพร้อม ทางชี ว ภาพส� ำ หรั บ การใช้ จุ ลิ น ทรี ย ์ ดั ด แปลงพั น ธุ ก รรม ทีจ่ ะแข่งขันกับนานาชาติได้เมือ่ มีการประกาศใช้ (ร่าง) พระราชในสภาพควบคุมระดับ 1 (Large-scale Containment บัญญัตคิ วามปลอดภัยทางชีวภาพ Level 1, LS1) เพือ่ ใช้ ในระดับโรงงานต้นแบบและอุตสาหกรรม (Good Industrial Large Scale Practice, GILSP) สามารถ AA โรงงานต้ น แบบผลิ ต ยาชี ว วั ต ถุ แ ห่ ง ชาติ (National Biopharmaceutical Facility: NBF) ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี รองรับงานวิจัยร่วมกับภาคเอกชนในด้านการขยายขนาด พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) วิทยาเขตบางขุนเทียน เป็นความ การผลิต เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของเทคโนโลยีและจัดหา ร่วมมือระหว่างไบโอเทค และ มจธ. เพือ่ บริการด้านการผลิต เทคโนโลยีการผลิตทีเ่ หมาะสมส�ำหรับถ่ายทอดสูก่ ารผลิตใน ยาชีววัตถุเพือ่ การทดสอบทางคลินคิ และการฝึกอบรมด้าน ระดับอุตสาหกรรม การผลิตยาชีววัตถุตามมาตรฐานสากลการผลิตทีด่ ี cGMP AA โรงเรือนทดลองส�ำหรับการวิจยั พืชตามมาตรฐานด้านความ โดยได้ รั บ ใบอนุ ญ าตเป็ น สถานที่ ผ ลิ ต ยาจากส� ำ นั ก งาน ปลอดภัยทางชีวภาพ เป็นอาคารโรงเรือนทดลองวิจยั พืชที่ได้ คณะกรรมการอาหารและยา รับการดัดแปลงพันธุกรรมทีร่ องรับความปลอดภัยทางชีวภาพ ระดับ Biosafety Level 2 - Plants ตามเกณฑ์ความปลอดภัย

วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนชนบท ไบโอเทคเล็งเห็นความส�ำคัญของชุมชนชนบทซึง่ เป็นรากฐานของคนส่วนใหญ่ของประเทศ จึงมุง่ ส่งเสริมการน�ำวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) เพือ่ ประยุกต์ ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละชุมชน สร้างขีดความสามารถของคนในชุมชน พัฒนาอาชีพ ให้สามารถยกระดับผลผลิตทัง้ ปริมาณและคุณภาพทีด่ ี เพือ่ ให้เกิดการสร้างรายได้เพิม่ และพัฒนาต้นแบบชุมชนวิทยาศาสตร์เพือ่ ขยายผลไปยังชุมชนอืน่ ๆ รวมทัง้ ส่งเสริมการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์แบบบูรณาการของเยาวชน เพือ่ ให้เกิดกระบวนการเรียนรูแ้ ละน�ำ วิทยาศาสตร์ ไปประยุกต์ใช้ในวิถชี วี ติ เพือ่ ให้เกิดการยกระดับคุณภาพชีวติ และพัฒนาชุมชนให้สามารถพึง่ ตนเองได้อย่างยัง่ ยืน

การพัฒนาชุมชนชนบทในพื้นที่ปฏิบัติการ

หมูบ่ า้ นบ่อเหมืองน้อยและห้วยน�ำ้ ผัก อ.นาแห้ว จ.เลย เป็น พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารที่ไบโอเทคร่วมกับกองทัพภาคที่ 2 และหน่วยงาน พันธมิตรได้รว่ มกันน�ำ วทน. เพือ่ พัฒนาชุมชนตัง้ แต่ปี 2538 อย่าง ต่อเนือ่ ง โดยระหว่างปี 2555-2559 ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต ไหลสตรอเบอรี่และการปลูกสตรอเบอรี่เพื่อจ�ำหน่ายของสมาชิก 20 ครอบครัว สร้างรายได้เฉลีย่ รวม 1 ล้านบาทต่อปี ส่งเสริมการ แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเพือ่ เพิม่ มูลค่าและสุขลักษณะทีด่ ใี น การผลิตอาหาร เช่น น�ำ้ สตรอเบอรี่ มะคาเดเมียอบแห้ง สร้างรายได้ เพิม่ 5 หมืน่ บาทต่อครอบครัวต่อปี

AW 10-64.indb 43

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

44

บ้ า นผาคั บ อ.บ่ อ เกลื อ จ.น่ า น เป็ น พื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารที่ ไบโอเทคร่ ว มกั บ หน่ ว ยงาน พั น ธมิ ต รได้ ร ่ ว มกั น น� ำ วทน. เพื่อพัฒนาชุมชนตั้งแต่ปี 2547 อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยระหว่ า งปี 2555-2559 ถ่ายทอดเทคโนโลยี การปลูกข้าวสาลี การแปรรูป ผลิตภัณฑ์ชาจากต้นอ่อนข้าว สาลี ส ร้ า งรายได้ ป ระมาณ 2 แสนบาทต่อปี ส่งเสริมการเลี้ยง ไก่ไข่ระบบเกษตรธรรมชาติเพื่อ เป็นแหล่งโปรตีนในชุมชน การปลูกมะเขือเทศสแน็กสลิม สตรอเบอรี ่ และการเพาะเห็ดจากซังข้าวโพด

อ.เต่างอย จ.สกลนคร เป็นพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารที่ไบโอเทคร่วมกับ หน่วยงานพันธมิตรได้ร่วมกันน�ำ วทน. เพื่อพัฒนาชุมชนตั้งแต่ ปี 2551 อย่างต่อเนือ่ ง โดยระหว่างปี 2555-2559 ได้ถา่ ยทอด เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพ ข้าวปลอดสารพิษ และการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว เช่น ข้าวกาบาซึง่ สร้างรายได้ 2 ล้านบาทต่อปี ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการท�ำงาน ซึง่ ได้สง่ เสริม เกษตรกรปลูกพริกยอดสนเข็ม 80 ส่งให้บริษทั บางกอกแล็ปส�ำหรับ เป็นวัตถุดบิ การผลิตยาบรรเทาการปวดเมือ่ ย รวมถึงการส่งเสริม ศูนย์การเรียนรูช้ มุ ชนเต่างอย จัดท�ำแปลงสาธิตด้านเกษตรเพือ่ เป็น ทีเ่ รียนรูข้ องเยาวชนและเกษตรกร เช่น การใช้บวิ เวอเรียป้องกันแมลง ศัตรูพชื การเกษตรระบบน�ำ้ หยด​ ต้นแบบหมู่บ้านแม่ข่ายผลิตเชื้ อราบิวเวอเรีย บ้านนาคู จ.อยุธยา เคยประสบปัญหาเพลีย้ กระโดดสีนำ�้ ตาลท�ำลายนาข้าว เสียหายร้อยละ 80 ของพืน้ ที่ เนือ่ งจากการท�ำนาปีละ 2 ครัง้ จึงไม่มี การพักดินและไม่เกิดการตัดวงจรแมลงศัตรูพชื ไบโอเทคถ่ายทอด เทคโนโลยีการผลิตหัวเชื้อบิวเวอเรียให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล (มทร.) สุวรรณภูมิ และอบรมให้ความรู้การผลิตเชื้อ บิวเวอเรียให้เกษตรกร ผลักดันให้เกิดการรวมกลุม่ เกษตรกรเพือ่ ผลิตก้อนเชือ้ บิวเวอเรียไว้ใช้เองและจ�ำหน่ายให้เกษตรกรทีส่ นใจ โดย มทร.สุวรรณภูมิ สนับสนุนการผลิตหัวเชือ้ และตรวจสอบมาตรฐาน คุณภาพเชือ้ ให้เกษตรกร ท�ำให้เกษตรกรมีรายได้เพิม่ เฉลีย่ ปีละ 1.3 ล้านบาท และลดการใช้สารเคมีปลี ะ 3 แสนบาท

AW 10-64.indb 44

การผลิตข้าวอินทรียแ์ บบครบวงจร ไบโอเทคสนับสนุนกลุม่ วิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกข้าวอินทรีย์ จ.ยโสธร เพื่อยกระดับการ ผลิตข้าวเพือ่ ลดต้นทุน เพิม่ ผลผลิตและเพิม่ รายได้ สร้างกลไกการ ขับเคลื่อนวิสาหกิจชุมชนข้าวอินทรีย์ ในระดับกลุ่มและเครือข่าย เชื่อมโยงระบบการท�ำงานในลักษณะภาคีความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ เอกชน และองค์กรชุมชนในการขับเคลือ่ นกระบวนการผลิต ข้าวอินทรีย์สู่สากล น�ำไปสู่การได้ต้นแบบการปลูกข้าวอินทรีย์ แบบครบวงจร ผลการด�ำเนินงานถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพิ่ม อินทรียวัตถุในแปลงนา การท�ำนาอินทรียแ์ บบครบวงจร และการ ใช้ระบบสารสนเทศเพือ่ การเก็บข้อมูลเกษตรกรแบบพกพาช่วยใน การตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ โดยมีเกษตรกร 7 กลุม่ ในพื้นที่ 5 อ�ำเภอจ�ำนวน 4,565 ราย สามารถผลิตข้าวเปลือก อินทรีย์ได้ตามมาตรฐานสากล 7,300 ตัน พืน้ ทีเ่ พาะปลูก 10,428.5 ไร่ และข้าวในระยะปรับเปลีย่ นเพือ่ เข้าสูก่ ารท�ำเกษตรอินทรียจ์ ำ� นวน 10,960 ตัน พืน้ ทีเ่ พาะปลูก 15,657 ไร่ และแปรรูปข้าวเปลือกเป็น ข้าวสารอินทรีย์ได้จำ� นวน 3,650 ตัน คิดเป็นมูลค่า 103.97 ล้านบาท และแปรรูปเป็นข้าวสารระยะปรับเปลีย่ น 5,480 ตัน คิดเป็นมูลค่า 150.62 ล้านบาท รวมเป็นมูลค่าทัง้ สิน้ 254.59 ล้านบาท จากผล ความส�ำเร็จของโครงการฯ ท�ำให้จงั หวัดผลักดันให้เกิดคลัสเตอร์ เกษตรอินทรีย์ จ.ยโสธร เป็นเครือข่ายการท�ำเกษตรอินทรีย์ทั้ง ระบบ นอกจากนี้ยังได้สนับสนุนการปลูกพืชอินทรีย์หลังการ ท�ำนา เช่น แตงโม ขมิ้น ไพล งา ถั่วลิสง เพื่อสร้างรายได้หลัง การท�ำนา ในปี 2559 จึงขยายผลความส�ำเร็จ “ยโสธรโมเดล” ไปยังกลุม่ เกษตรกร 10 กลุม่ ใน 5 จังหวัดได้แก่ จ.อุดรธานี จ.สุรนิ ทร์ จ.กาฬสินธุ์ จ.นครพนม และ จ.สงขลา การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุข์ า้ ว จากความ ส�ำเร็จในการด�ำเนินงานพัฒนาสายพันธุ์ข้าวโดยใช้เครื่องหมาย โมเลกุลทีเ่ กีย่ วข้องกับยีนทนน�ำ้ ท่วมและคุณภาพการหุงต้มในการ คัดเลือกร่วมกับการปรับปรุงพันธุแ์ บบมาตรฐาน จึงได้กระจายเมล็ด พันธุข์ า้ วทีพ ่ ฒ ั นาขึน้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ คุณภาพดีแก่เกษตรกรในจังหวัดต่างๆ เพือ่ ให้เกษตรกรมีเมล็ดพันธุ์ ไว้ใช้เองในชุมชน เป็นการยกระดับขีดความสามารถของเกษตรกรให้ มีความรู้ในการผลิตเมล็ดพันธุข์ า้ วที่ได้มาตรฐาน และขยายเมล็ด พันธุท์ มี่ คี ณ ุ ภาพดีไปสูช่ มุ ชนอืน่ ๆ โดยความร่วมมือกับหน่วยงาน ภาครัฐ เอกชน และมหาวิทยาลัยต่างๆ

7/22/2560 BE 5:44 PM


45

รายงานประจ�ำปี 2559

AA ข้าวสายพันธุ์ “หอมชลสิทธิ”์ เป็นพันธุข์ า้ วนาน�ำ้ ฝนทีเ่ กิดจาก

การผสมพันธุร ะหว่างพันธุข า้ ว IR57514 ทีม่ คี ณ ุ สมบัตทิ นต่อ น�ำ้ ท่วมฉับพลัน กับพันธุข์ าวดอกมะลิ 105 ซึง่ มีคณ ุ ภาพการ หุงต้มดีและมีกลิ่นหอม มีคุณสมบัติทนอยู่ใต้น�้ำโดยไม่ตาย ได้นาน 2-3 สัปดาห์ ไม่ไวต่อช่วงแสง คุณลักษณะการหุงต้มแบบ พันธุข์ าวดอกมะลิ 105 และมีกลิน่ หอม ปลูกได้มากกว่า 1 ครัง้ / ปี ผลผลิตประมาณ 800 กิโลกรัม/ไร่ ในสภาพนาปักด�ำ โดยมี การถ่ายทอดเทคโนโลยีและกระจายเมล็ดพันธุ์ให้แก่เกษตรกร ในพื้นที่ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคใต้ รวม 14 จังหวัด ได้แก่ จ.อยุธยา จ.ชัยนาท จ.อ่างทอง จ.สุพรรณบุรี จ.ลพบุรี จ.สระบุรี จ.อุทยั ธานี จ.ก�ำแพงเพชร จ.ล�ำปาง จ.นครราชสีมา จ.อุตรดิตถ์ จ.พิจติ ร จ.ชัยภูมิ และ จ.พัทลุง โดยตัง้ แต่ปี 25512559 ได้ถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ให้แก่เกษตรกร แล้วรวม 200 ครอบครัว พืน้ ทีป่ ลูกประมาณ 4,000 ไร่ AA สหกรณ์การเกษตรผักไห่ จ.อยุธยา ได้ขยายผลเป็นธุรกิจ การขายข้าวสารพันธุ์ข้าวหอมชลสิทธิ์บรรจุถุงภายใต้ เครือ่ งหมายการค้า “อ่อนหวาน” AA หมูบ่ า้ นต้นแบบ บ้านคอกวัว จ.พัทลุง ได้มกี ารใช้เทคโนโลยี สมัยใหม่ในการท�ำนาเพื่อให้ ได้ข้าวที่มีความปลอดภัย (Good Agricultural Practice : GAP) และการยกระดับ ประสิทธิภาพการท�ำนา เป็นเพือ่ การผลิตข้าวหอมชลสิทธิ์ ทัง้ ทีเ่ ป็นเมล็ดพันธุ์ (seed) และข้าวเพือ่ การบริโภค (grain)

AW 10-64.indb 45

AA สายพันธุ์ “ข้าวธัญสิรนิ ” เป็นข้าวเหนียว กข6 ทีต่ า้ นทานโรค

ไหม้ เป็นข้าวนาปีทมี่ คี วามไวต่อช่วงแสง สามารถต้านทานต่อ โรคไหม้ มีการแตกกอดี ล�ำต้นมีความแข็งแรง มีขนาดล�ำต้นสูง เฉลีย่ 155 เซนติเมตร มีคณ ุ ภาพข้าวสุกเมือ่ เย็นยังคงนิม่ เป็น ทีย่ อมรับจากผูบ้ ริโภค มีผลผลิตข้าวแห้งเฉลีย่ 600 กิโลกรัม ต่อไร่ ไบโอเทคร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตเมล็ดพันธุ์ “ข้าวธัญสิรนิ ” โดยถ่ายทอดเทคโนโลยี และกระจายเมล็ดพันธุ์ ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือ และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวม 22 จังหวัด ได้แก่ จ.ก�ำแพงเพชร จ.แพร่ จ.ล�ำพูน จ.เชียงใหม่ จ.ล�ำปาง จ.เชียงราย จ.พะเยา จ.น่าน จ.หนองบัวล�ำภู จ.หนองคาย จ.บึงกาฬ จ.สกลนคร จ.ชัยภูมิ จ.มหาสารคาม จ.ยโสธร จ.อุบลราชธานี จ.บุรรี มั ย์ จ.เลย จ.นครพนม จ.มุกดาหาร จ.นครราชสีมา จ.อุดรธานี โดยตัง้ แต่ปี 2551-2559 ได้ถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ด พันธุ์ ให้แก่เกษตรกรแล้วรวม 1,900 ครอบครัว พื้นที่ปลูก ประมาณ 6,800 ไร่

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

46

AA สายพันธุ์ “กข6 ต้านทานโรคไหม้และโรคขอบใบแห้ง (ต้น

เตี้ย)” เป็นข้าวเหนียว กข6 ที่ต้านทานโรคไหม้ เกิดจาก การผสมพันธุระหว่างพันธุข้าว RGD05219-12-12-B (KDML105/IR62266) ซึ่งเป็นพันธุ์ต้านทานโรคขอบใบแห้ง และพันธุ์ RGD04069-1-179-1 (RD6*5/Jao Hom Nin)*3/// (KDML105*5/IR1188) และท�ำการคัดเลือกแบบสืบประวัตจิ น ได้ขา้ วเหนียวต้นเตีย้ สายพันธุด์ ี เป็นข้าวนาปีทมี่ คี วามไวต่อ ช่วงแสง สามารถต้านทานต่อโรคไหม้และโรคขอบใบแห้ง มีการ แตกกอดี ล�ำต้นมีความแข็งแรง มีขนาดล�ำต้นสูงเฉลี่ย 130 เซนติเมตร เก็บเกี่ยวได้ง่าย จึงมีความทนทานต่อลมแรงลด ปัญหาการหักล้ม เมล็ดเรียวยาว เมือ่ น�ำมาหุงต้ม มีคณ ุ ภาพและ ความเหนียวนุม่ คล้ายพันธุ์ กข6 มีผลผลิตข้าวแห้งเฉลีย่ 700800 กิโลกรัมต่อไร่ โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีและกระจายเมล็ด พันธุ์ให้แก่เกษตรกรในพืน้ ทีภ่ าคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียง เหนือ รวม 15 จังหวัด ได้แก่ จ.เชียงใหม่ จ.ล�ำปาง จ.เชียงราย จ.น่าน จ.หนองคาย จ.ขอนแก่น จ.บึงกาฬ จ.สกลนคร

จ.มหาสารคาม จ.อ�ำนาจเจริญ จ.อุบลราชธานี จ.บุรีรัมย์ จ.เลย จ.นครพนม จ.มุกดาหาร โดยตัง้ แต่ปี 2555-2559 ได้ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ให้แก่เกษตรกรแล้วรวม 600 ครอบครัว พืน้ ทีป่ ลูกประมาณ 800 ไร่ ไบโอเทคให้ความส�ำคัญในการน�ำวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเพือ่ การพัฒนาชุมชนชนบท โดยเริม่ ด�ำเนินงานใน พืน้ ที่ อ.นาแห้ว จ.เลย เมือ่ ปี 2538 และได้จดั ตัง้ หน่วยบริการ เทคโนโลยีเพือ่ การพัฒนาชนบท และขยายการด�ำเนินงาน และพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ านครอบคลุมในทุกภาคของประเทศ ทัง้ นี้ ด้วย สวทช. เล็งเห็นความส�ำคัญในการปฏิรปู ภาคเกษตร ด้วยเทคโนโลยีแบบครบวงจร และพัฒนาความเข้มแข็งของ ชุมชน ลดความเหลือ่ มล�ำ้ จึงได้จดั ตัง้ สถาบันการจัดการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร และโอนย้ายหน่วยบริการ เทคโนโลยีฯ เป็นหน่วยงานภายใต้สถาบันฯ ตั้งแต่ 27 สิงหาคม 2559

ผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสังคม ระหว่างปี 2555-2559 ไบโอเทคด�ำเนินการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นจากการน�ำผลงานวิจัยไปใช้ ประโยชน์ ในเชิงพาณิชย์และสาธารณประโยชน์ รวมจ�ำนวน 118 โครงการ โดยมีมลู ค่าผลกระทบรวม 28,793 ล้านบาท โดยเป็น ผลกระทบทีท่ ำ� ให้เกิดรายได้เพิม่ ขึน้ 25,208 ล้านบาท เกิดการลงทุนเพิม่ 1,448 ล้านบาท ลดการน�ำเข้า 490 ล้านบาท และช่วยลด ต้นทุน 1,647 ล้านบาท

490 1,647 2% 6%

1,448 5%

90 โครงการ

เกษตรและอาหาร 8,066 ล านบาท

13 โครงการ

118 โครงการ 28,793 ล านบาท

พลังงานและสิ่งแวดล อม 2,229 ล านบาท

25,208

สุขภาพและการแพทย 1,330 ล านบาท

87%

ด านการลงทุนเพิ่ม ด านรายได เพิ่มขึ้น ด านการลดต นทุน ด านลดการนำเข า

AW 10-64.indb 46

10 โครงการ 5 โครงการ

โครงสร างพื้นฐาน 17,168 ล านบาท

646 78 142 7,200 972 127 47 1,083 86 27 24 1,194 261 2 65 16,839

7/22/2560 BE 5:44 PM


47

รายงานประจ�ำปี 2559

เครือข่ายความร่วมมือกับพันธมิตรต่างประเทศ ไบโอเทคให้ความส�ำคัญกับการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนนานาชาติ เพือ่ ให้ ไบโอเทคเป็นทีร่ จู้ กั และ เป็นทีย่ อมรับของการเป็นหน่วยงานวิจยั และพัฒนาด้านเทคโนโลยีชวี ภาพ รวมทัง้ เพือ่ ผลักดันให้ประเทศไทยมีบทบาทส�ำคัญในเวที เทคโนโลยีชวี ภาพของโลก โดยเน้นความเป็นหุน้ ส่วนในการท�ำงานวิจยั และการแบ่งปันความรูแ้ ละความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการ แลกเปลีย่ นพัฒนาบุคลากรร่วมกัน ระหว่างปี 2555-2559 ไบโอเทคมีความร่วมมือกับ 16 ประเทศ 38 หน่วยงาน

ฝรั่งเศส 1 หนวยงาน

สหรัฐอเมริกา 1 หนวยงาน เม็กซิโก 1 หนวยงาน

สาขาความรวมมือ เทคโนโลยีชีวภาพ ทรัพยากรชีวภาพ

อังกฤษ 1 หนวยงาน

สโลวัก 1 หนวยงาน

ไอรแลนดเหนือ 1 หนวยงาน

เทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร แลกเปลี่ยนบุคลากรวิจัย

สวิตเซอรแลนด 1 หนวยงาน

มาเลเซีย 2 หนวยงาน

หน่วยงานทีม่ คี วามร่วมมือวิจยั และพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง เช่น AA National Institute of Technology and Evaluation (NITE) ประเทศญีป่ นุ่ เป็นความร่วมมือต่อเนือ่ งตัง้ แต่ปี 2548 ในด้าน การศึกษาอนุกรมวิธานของแบคทีเรีย เชือ้ รา และยีสต์ รวมถึง การประยุกต์ ใช้ประโยชน์ น�ำมาซึง่ ผลความส�ำเร็จได้แก่ การ พบจุลนิ ทรียส์ ายพันธุ์ใหม่ รวมทัง้ การแลกเปลีย่ นและพัฒนา บุคลากรซึ่งก่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักวิจัยทั้ง สองประเทศ AA Queen’s University of Belfast ประเทศไอร์แลนด์เหนือ จากความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรวิจัยของไบโอเทค ให้เรียนรู้เทคโนโลยีขั้นสูงควบคู่กับการท�ำวิจัยโจทย์วิจัยที่ ตอบสนองต่อความต้องการของประเทศไทยจนได้รบั ปริญญา เอก ได้น�ำไปสู่ความร่วมมือในการวิจัยเฉพาะทางระหว่าง สถาบันและการแลกเปลี่ยนความเชี่ยวชาญซึ่งกันและกันใน เทคโนโลยีไบโอเซนเซอร์ เทคโนโลยีไมโครอะเรย์ และเทคโนโลยี เมตาโบโลมิกส์อ​ ย่างต่อเนือ่ ง AA Institut Pasteur ประเทศฝรัง่ เศส เป็นความร่วมมือในด้าน การวิจัยและผลักดันงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์ รวมทั้งการ

AW 10-64.indb 47

สิงคโปร 2 หนวยงาน

จีน 5 หนวยงาน เกาหลี 1 หนวยงาน

อินโดนีเซย 6 หนวยงาน

ญี่ปุน 7 หนวยงาน

ฟิลิปปนส 1 หนวยงาน

ไตหวัน 3 หนวยงาน

เวียดนาม 4 หนวยงาน

พัฒนาบุคลากรวิจัยของไบโอเทค โดยมีเทคโนโลยี yeastribonucleoprotein (RNP) platform ที่ Institut Pasteur พัฒนาขึน้ ซึง่ ยีสต์จะเป็นพาหะในการน�ำโปรตีนโครงสร้างของ ไวรัสพีอดี เี ข้าสูส่ กุ รเพือ่ กระตุน้ ภูมคิ มุ้ กัน จึงเป็นเทคโนโลยีทมี่ ี ศักยภาพทีจ่ ะพัฒนาเป็นอาหารสัตว์และการพัฒนาเป็นวัคซีน สัตว์ ทัง้ นีย้ งั ได้ขยายความร่วมมือวิจยั เพือ่ การแก้ปญ ั หาโรคที่ เกีย่ วข้องกับสัตว์นำ�้ ได้แก่ กุง้ ด้านการสร้างความประจักษ์ (visibility) ด้านเทคโนโลยีชวี ภาพ ของไบโอเทคและประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไบโอเทคเป็น training hub เพือ่ พัฒนาศักยภาพของบุคลากรวิจยั ด้านเทคโนโลยีชวี ภาพรวมถึงการส่งเสริมการสร้างเครือข่ายวิจยั ในภูมภิ าคฯ อย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ปี 2544 โดยระหว่างปี 2555–2559 ได้สนับสนุนนักวิจัยในประเทศเพื่อนบ้าน-เอเชียแปซิฟิคปฏิบัติ งานวิจัยระยะสั้นที่ไบโอเทคจ�ำนวน 55 ทุน เป็นแหล่งฝึกปฏิบัติ งานของนักศึกษาจากประเทศต่างๆ ทุกทวีปจ�ำนวน 342 คน และมีหน่วยงาน บริษทั สถาบันการศึกษา จากต่างประเทศเยีย่ มชม การด�ำเนินงานของห้องปฏิบตั กิ ารวิจยั ไบโอเทค จ�ำนวน 202 คณะ

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

48

การพัฒนาก�ำลังคนด้านเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศ ไบโอเทคให้ความส�ำคัญในการเตรียมความพร้อมในการพัฒนาก�ำลังคนด้านเทคโนโลยีชวี ภาพของประเทศ ทัง้ ในการเพิม่ จ�ำนวนให้ เพียงพอและสร้างเสริมในด้านคุณภาพ ศักยภาพให้พร้อมต่อการสร้างสรรงานวิจยั และพัฒนาส�ำหรับการพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีระยะยาว โดยมุง่ เป้าหมายกลุม่ บุคลากรวิจยั และวิชาการ กลุม่ อุตสาหกรรมภาคการผลิต AA ร่วมสนับสนุนและส่งเสริมการสร้าง

ผู้ ได้รบั การสนับสนุน

นักวิจยั รุน่ ใหม่ โดยกลไกการสนับสนุน ทุนเพื่อร่วมท�ำวิจัยกับไบโอเทคผ่าน เครือข่ายความเชื่อมโยงระหว่างนัก YSTP วิจยั ไบโอเทคและอาจารย์มหาวิทยาลัย TGIST ต่างๆ ในประเทศ ระหว่างปี 2555-2559 มีนกั ศึกษาจาก 21 สถาบันรวม 168 NUI-RC คน ที่ ได้รับ การสนับ สนุน โดยแบ่ง TAIST-Tokyo Tech เป็นระดับปริญญาตรี 43 คน ระดับ BIF&SB ปริญญาโท 85 คนและระดับปริญญา เอก 40 คน โดยเป็ น ทุ น สนั บ สนุ น ของ สวทช.ภายใต้โครงการสร้างปัญญาวิทย์ผลิตนักเทคโน AA (Young Scientist and Technologist Program; YSTP) จ�ำนวน 43 คน โครงการทุนสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีไทย (Thailand Graduate Institute of Science and Technology; TGIST) จ�ำนวน 76 คน โครงการพัฒนา ศั ก ยภาพบุ ค ลากรเพื่ อ การวิ จั ย และพั ฒ นาส� ำ หรั บ ภาค อุตสาหกรรม (NSTDA-University-Industry Research Collaboration: NUI-RC) จ�ำนวน 11 คน โครงการ TAISTTokyo Tech หลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมสิ่ ง แวดล้ อ มขั้ น สู ง และ ยั่งยืนจ�ำนวน 12 คน และโครงการการผลิตบุคลากรด้าน ชีวสารสนเทศและชีววิทยาระบบ (HRD in Bioinformatics and Systems Biology) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี AA จ�ำนวน 26 คน AA ส่งเสริมทุนนักวิจยั ระดับหลังปริญญาเอก (Post doctoral fellowship) ในการปฏิบัติงานวิจัยร่วมกับนักวิจัยไบโอเทค ซึ่งนอกจากจะเป็นการพัฒนาให้ผู้ที่เพิ่งส�ำเร็จการศึกษาได้ มีประสบการณ์ท�ำงานวิจัยอีกระดับหนึ่งภายใต้การดูแลของ นักวิจยั พีเ่ ลีย้ งแล้ว ยังเป็นกลไกในการพัฒนานักวิจยั พีเ่ ลีย้ ง ในการพัฒนาทักษะการบริหารจัดการทีมงานวิจยั ด้วย โดย ระหว่างปี 2555-2559 มีผู้ได้รบั ทุนทัง้ สิน้ 21 คน เป็นคนไทย 17 คนและต่างชาติ 4 คน Post doctoral fellowship

รวม

ต างชาติ

4

AW Biotec 2559-4.indd 48

21

ป.ตรี

43

ป.โท

85

ป.เอก

40

รวม

168 43

43 45

31

76

8

3

11 12

12 20

6

26

ส่งเสริมและพัฒนาขีดความสามารถทางวิชาการด้านพันธุ วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อให้สามารถก้าวทัน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เพิ่มทักษะทางเทคนิคที่จะน�ำ ไปใช้ ในการยกระดับและปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตของ ภาคอุตสาหกรรม โดยระหว่างปี 2555-2559 ไบโอเทคได้ จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารและสัมมนาทางวิชาการ (workshop & seminar) จ�ำนวน 82 เรือ่ ง มีผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมรวม 19,125 คน-วั น โดยในจ� ำ นวนนี้ เ ป็ น การประชุ ม ระดั บ นานาชาติ (international conference) จ�ำนวน 9 เรือ่ ง มีผเู้ ข้าร่วมประชุม 7,641 คน-วัน การส่งเสริมและเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยทาง ชีวภาพ AA เสริมสร้างขีดความสามารถคณะกรรมการความปลอดภัย ทางชี ว ภาพระดั บ สถาบั น โดยการจั ด ฝึ ก อบรมการ ประเมินและพิจารณาโครงการและระดับความปลอดภัย ทางชีวภาพของห้องปฏิบัติการ ระหว่างปี 2554–2557 ส�ำหรับสถาบันวิจัย สถาบันการศึกษา และภาคเอกชน ทั่วประเทศ มีผู้เข้าร่วมอบรมจ�ำนวน 180 คน และมี ผูแ้ สดงความจ�ำนงสมัครเป็นวิทยากรรุน่ ใหม่ 40 คน AA ไบโอเทคร่วมพัฒนาหลักสูตรปริญญาเอกวิชาความ ปลอดภัยทางชีวภาพและจริยธรรม (biosafety and bioethic) ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต ก�ำแพงแสน โดยเริ่มเปิดสอนในภาคของปีการศึกษา 2555

คนไทย

17

7/24/2560 BE 6:28 PM


49

รายงานประจ�ำปี 2559

ภาคผนวก สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร และความลับทางการค้า 1. ผลงานที่ ได้รับคู่มือสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร จ�ำนวน 31 ฉบับ 1.1 ผลงานที่ ได้รับคู่มือสิทธิบัตรต่างประเทศ จ�ำนวน 1 ฉบับ วันที่ได้รบั สิทธิบตั ร

ประเทศทีย่ นื่ จด

เลขทีส่ ทิ ธิบตั ร

ชือ่ การประดิษฐ์

7 เมษายน 2558

สหรัฐอเมริกา

US 9,000,003

ANTI-FOLATE ANTIMALARIALS WITH DUALBINDING MODES AND THEIR PREPARATION

ชือ่ ผูป้ ระดิษฐ์ นางสาวบงกช ธารชมพู นางสาวเพ็ญจิตร จิตรน�ำทรัพย์ นางสาวสุมาลี ก�ำจรวงศ์ ไพศาล นายฟิลปิ เจมส์ ชอว์ นางสาวรุง้ ลาวัลย์ รัตนจักร์ นายชิโนไท พูน นายทศพล อนุกลู วิทยา นางสาวชยาภัสร์ วงษ์สมบัติ นายยงยุทธ ยุทธวงศ์

1.2 ผลงานที่ ได้รับคู่มืออนุสิทธิบัตรในประเทศ จ�ำนวน 30 ฉบับ วันที่ได้รบั อนุสทิ ธิบตั ร 9 ตุลาคม 2558

AW 10-64.indb 49

เลขทีอ่ นุสทิ ธิบตั ร 10514

9 ตุลาคม 2558

10517

9 ตุลาคม 2558

10518

9 ตุลาคม 2558

10523

ชือ่ การประดิษฐ์ ชือ่ ผูป้ ระดิษฐ์ กรรมวิธยี อ่ ยโพลีเมอร์ทเี่ ป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์ นายวีระวัฒน์ แช่มปรีดา พืชด้วยเอนไซม์ทมี่ กี จิ กรรมทีเ่ กีย่ วข้องในการย่อยผนัง นายวุฒชิ ยั เหมือนทอง นางสาวลิล่ี เอือ้ วิไลจิตร เซลล์พชื ร่วมกับโปรตีนเอ็กซ์แพนซิน นางสาวเบญจรัตน์ บรรเทิงสุข นางสาวอรินทิพย์ ธรรมชัยพิเนต กรรมวิธกี ารเตรียมไฮโดรเจลจากแป้งมันส�ำปะหลังเพือ่ นางสาวกุลฤดี แสงสีทอง ใช้เป็นสารช่วยแตกตัวในยาเม็ด นายทรงวุฒิ ยศวิมลวัฒน์ นางสาวปฐมา จาตกานนท์ นายกล้าณรงค์ ศรีรอต นางสาวศศิกานต์ บุญค�ำ การผลิตโปรตีนสายผสมโบนมอร์โฟเจเนติกชนิด นางกตัญชลี ไม้งาม นางสาวอุบลศรี เลิศสกุลพาณิช ทีส่ องในรูปทีล่ ะลายน�ำ้ ได้ นายณัฐพัชร์ โหงาม นางสาววรรณวิภา อิฐรัตน์ กรรมวิธใี นการปรับปรุงพันธุถ์ วั่ เหลืองให้ทนต่อสภาพ นายเฉลิมพล เกิดมณี ดินเค็มและแล้ง ด้วยการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต นายประเดิม วณิชชนานันท์ นางสาวสุพฒ ั นา จันทา ร่วมกับสารก่อการกลายพันธุ์

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

50

วันที่ได้รบั อนุสทิ ธิบตั ร 9 ตุลาคม 2558

เลขทีอ่ นุสทิ ธิบตั ร 10524

ชือ่ การประดิษฐ์ กรรมวิธใี นการปรับปรุงพันธุพ์ ชื ให้มผี ลผลิตสูง ด้วย การใช้กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ความเข้มข้นสูงร่วมกับ การใช้สารก่อการกลายพันธุ์

9 ตุลาคม 2558

10525

กรรมวิธกี ารคัดเลือกต้นพันธุอ์ อ้ ยปลอดการ ติดเชือ้ แอบแฝงภายในเนือ้ เยือ่

30 ตุลาคม 2558

10661

30 ตุลาคม 2558

10662

30 ตุลาคม 2558

10663

พลาสมิดพาหะส�ำหรับการผลิตโปรตีนเป้าหมายแบบ หลัง่ ออกนอกเซลล์โดยเซลล์เจ้าบ้านยีสต์ Ogataea spp. กรรมวิธกี ารผลิตหัวเชือ้ เห็ดตับเต่าบนอาหาร กึง่ เหลวกึง่ แข็ง สูตรอาหารส�ำหรับการผลิตเอนไซม์ยอ่ ยชีวมวลพืช จากเชือ้ รา

30 ตุลาคม 2558

10665

13 พฤศจิกายน 2558

10731

4 ธันวาคม 2558

10852

8 มกราคม 2559

10980

28 มกราคม 2559

11103

28 มกราคม 2559

11104

4 กุมภาพันธ์ 2559

11117

4 กุมภาพันธ์ 2559

11121

AW 10-64.indb 50

ชือ่ ผูป้ ระดิษฐ์ นายเฉลิมพล เกิดมณี นายประเดิม วณิชชนานันท์ นางปิยสุดา คงแก้ว นางสาวสุพฒ ั นา จันทา นายเฉลิมพล เกิดมณี นายประเดิม วณิชชนานันท์ นางปิยสุดา คงแก้ว นางสาวสุพฒ ั นา จันทา นายนิรนั ดร์ รุง่ สว่าง นายเอกชัย ภูสนี ำ�้ นางสาวสุทพิ า ธนพงศ์พพิ ฒ ั น์ นางสาวเสริมศิริ เมธีวรกุล นางสาวธัญวรัตม์ สุนทรารักษ์ นางสาวสุรษิ า สุวรรณรังษี นายวีระวัฒน์ แช่มปรีดา นางสาวลิลี่ เอือ้ วิไลจิตร นายเฉลิมพล เกิดมณี นายประเดิม วณิชชนานันท์ นางสาวสุพฒ ั นา จันทา นางปิยสุดา คงแก้ว นางสาวเสริมศิริ เมธีวรกุล นางสาวธัญวรัตม์ สุนทรารักษ์

กรรมวิธกี ารปรับปรุงพันธุข์ า้ วให้มผี ลผลิตสูง ด้วยการใช้สารละลายน�ำ้ ตาลความเข้มข้นสูง ร่วมกับการใช้สารก่อการกลายพันธุแ์ ละ คลืน่ ความถีอ่ ลุ ตร้าโซนิก สูตรการเพาะเลีย้ งหัวเชือ้ เห็ดตับเต่าทีส่ ง่ เสริม การเจริญของเชือ้ และกรรมวิธกี ารเพาะเลีย้ ง หัวเชือ้ เห็ดดังกล่าว นายเฉลิมพล เกิดมณี กรรมวิธกี ารสร้างสารต้านอนุมลู อิสระด้วย กระบวนการบังคับให้เกิดหน่ออ่อนของมหาหงส์ภายใต้ นางกนกวรรณ รมยานนท์ นายเกรียงไกร โมสาลียา สภาวะการควบคุมสภาพแวดล้อมในสภาพปลอดเชือ้ นางปิยะสุดา คงแก้ว นายสมบัติ วนาอุปถัมภ์ นายศุภศักดิ์ จตุรนต์รศั มี นางสาวบุพผา เบญจเทวัญ นางสาวชัญญา พุทธิขนั ธ์ กรรมวิธกี ารตรวจหาไวรัสเด็งกีท่ สี่ ามารถแยก ซีโรทัยป์ได้ทนั ทีโดยโมโนโคลนอลแอนติบอดีทเี่ ฉพาะต่อ นายปรีดา มาลาสิทธิ์ นายวัชระ กสิณฤกษ์ โปรตีนเอ็นเอส 1 นางสาวธนพรรณ พร้อมมูล นางสาวเจษฎาพร พิทกั ษ์สธุ พี งศ์ คูไ่ พรเมอร์ทจี่ ำ� เพาะต่อแบคเทอริโอฟาจชนิด นางสาวมัตติกา อภิสงิ ห์ ไลโซเจนิกของเชือ้ บาซิลลัส และกระบวนการใช้คู่ ไพรเมอร์ดงั กล่าว ผลิตภัณฑ์สำ� หรับการสร้างเซลล์ยสี ต์ลกู ผสมทีม่ คี วาม นายเอกชัย ภูสนี ำ�้ นายนิรนั ดร์ รุง่ สว่าง สามารถในการผลิตเอทานอลโดยตรงจากชีวมวล นางสาวสุทพิ า ธนพงศ์พพิ ฒ ั น์ ประเภทเซลลูโลส หรือ เฮมิเซลลูโลส นางสาวลิลี่ เอือ้ วิไลจิตร ผลิตภัณฑ์สำ� หรับการแสดงออกโปรตีนเป้าหมายแบบ นายนิรนั ดร์ รุง่ สว่าง ไม่อาศัยการเหนีย่ วน�ำทีส่ ภาวะอุณหภูมสิ งู ด้วยเซลล์ นายกฤตพงศ์ แซ่ตงั๊ เจ้าบ้านยีสต์ Pichia thermonethanolica สายพันธุท์ น นางสาวปิยนันท์ หาญพิชาญชัย นางสาวสุทพิ า ธนพงศ์พพิ ฒ ั น์ ร้อน และกรรมวิธกี ารใช้ผลิตภัณฑ์ นางสาวลิลี่ เอือ้ วิไลจิตร ดังกล่าว คูไ่ พรเมอร์ทจี่ ำ� เพาะต่อเพลีย้ ไฟสายพันธุท์ พี่ บในแปลง นายแสงสูรย์ เจริญวิไลศิริ นายชาญณรงค์ ศรีภบิ าล ปลูกพริก มะเขือเทศ และพืชตระกูลแตง นางสาวอรประไพ คชนันทน์ ในประเทศไทย

7/22/2560 BE 5:44 PM


51

รายงานประจ�ำปี 2559

AW 10-64.indb 51

วันที่ได้รบั อนุสทิ ธิบตั ร 4 กุมภาพันธ์ 2559

เลขทีอ่ นุสทิ ธิบตั ร 11122

ชือ่ การประดิษฐ์ คูไ่ พรเมอร์ทจี่ ำ� เพาะต่อแบคเทอริโอฟาจชนิดไลติกของ เชือ้ บาซิลลัส และกระบวนการใช้คไู่ พรเมอร์ ดังกล่าว ผลิตภัณฑ์สำ� หรับการแสดงออกยีนเพือ่ ผลิตโปรตีน เป้าหมายทีเ่ หนีย่ วน�ำด้วยเมธานอล และกรรมวิธกี ารใช้ ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าว

11 กุมภาพันธ์ 2559

11158

11 กุมภาพันธ์ 2559

11159

สูตรต้นเชือ้ บริสทุ ธิส์ ำ� หรับการหมักอ้อยอาหารสัตว์

1 เมษายน 2559

11333

1 เมษายน 2559

6127

19 พฤษภาคม 2559

11508

กรรมวิธผี ลิตวัสดุนาโนคอมโพสิตของอนุภาคนาโน แม่เหล็ก และแป้งแคทไอออนิกส�ำหรับการดูดซับ โครเมียม (VI) ระบบตรวจวัดน�ำ้ ตาลซูโครสด้วยเทคนิคการวัดแบบ พัลส์แอมเพอโรเมตรีสำ� หรับโรงงานอุตสาหกรรม ผลิตน�ำ้ ตาล สูตรการเก็บรักษาสปอร์เชือ้ ราส�ำหรับควบคุมแมลง ศัตรูพชื กรรมวิธกี ารเตรียม และการใช้

19 พฤษภาคม 2559

11509

กรรมวิธกี ารตรวจหาเชือ้ แบคทีเรีย Shewanella spp. ในปลานิลและปลาทับทิม

19 พฤษภาคม 2559

11510

5 สิงหาคม 2559

11810

กรรมวิธกี ารตรวจหาเชือ้ ฟลาโวแบคทีเรีย่ ม คอลัมนาเร่ ในปลานิลและปลาทับทิม อนุภาคแม่เหล็กเคลือบอิมมูโนทีจ่ ำ� เพาะต่อเชือ้ แบคทีเรีย Acidovorax avenae subsp. citrulli

5 สิงหาคม 2559

11811

พลาสมิดดีเอ็นเอเครือ่ งมือส�ำหรับการดัดแปลงยีนเป้า หมายของยีสต์ Ogataea thermomethanolica แบบใช้ มาร์คเกอร์ซำ�้ และกระบวนการใช้พลาสมิดดังกล่าว

26 สิงหาคม 2559

11882

กระบวนการเพาะเลีย้ งเชือ้ ราในการผลิตกรดไขมัน โอเมก้าหก

23 กันยายน 2559

11955

กรรมวิธกี ารตรวจหาเชือ้ แบคทีเรีย Aeromonas hydrophila ก่อโรคในปลา

23 กันยายน 2559

11956

กรรมวิธกี ารตรวจหาเชือ้ แบคทีเรีย Streptococcus agalactiae ก่อโรคในปลา

ชือ่ ผูป้ ระดิษฐ์ นางสาวเจษฎาพร พิทกั ษ์สธุ พี งศ์ นางสาวมัตติกา อภิสงิ ห์ นางสาวจุรพี ร ด�ำนิล นางพีรดา พรมดอนกอย นางสาวสุทพิ า ธนพงศ์พพิ ฒ ั น์ นายนิรนั ดร์ รุง่ สว่าง นายวิฑรู ย์ ถิระโสภณ นางสาวลิลี่ เอือ้ วิไลจิตร นางสาวกิตติมา กองทอง นายศิวชั สังข์ศรีทวงษ์ นายเวทชัย เปล่งวิทยา นายกิตติวฒ ุ ิ เกษมวงศ์ นายกฤตภาส เลาหสุรโยธิน นางสาวเกือ้ กูล ปิยะจอมขวัญ นางสาวสิรมิ าลย์ งามชนะ นายวีระศักด์ สุระเรืองชัย นายเลอพงษ์ พิศนุย นางสุมาลี สุโพธิณะ นางสาวจีรภา ปัญญาศิริ นางสาวพิกลุ ทอง ขอเพิม่ ทรัพย์ นายมงคล อุตมโท นางสาววฤษสพร มาเย็น นางวรรณสิกา เกียรติปฐมชัย นางสาวรุง่ กานต์ สืบสิงห์ นายณรงค์ อรัญรุตม์ นางสาวจันทนา ค�ำภีระ นางวรรณสิกา เกียรติปฐมชัย นางสาวรุง่ กานต์ สืบสิงห์ นางสาวอรวรรณ หิมานันโต นางสาวอรประไพ คชนันทน์ นางสาวสุมติ รา กันตรง นางสาวศรีวรรณ วงศ์วศิ าลศรี นางพีรดา พรมดอนกอย นางสาวจิตวดี พิทกั ษ์โรจนกุล นางสาวปิยนันท์ หาญพิชาญชัย นางสาวสุทพิ า ธนพงศ์พพิ ฒ ั น์ นางสาวกอบกุล เหล่าเท้ง นางสาวศริญญา สุทธิวฒ ั นกุล นางสาวพัชรศรัณ เชีย่ วชาญเลิศฟ้า นางวรรณสิกา เกียรติปฐมชัย นางสาวรุง่ กานต์ สืบสิงห์ นายณรงค์ อรัญรุตม์ นางสาวจันทนา ค�ำภีระ นายศราวุฒิ ศิรธิ รรมจักร นางวรรณสิกา เกียรติปฐมชัย นางสาวรุง่ กานต์ สืบสิงห์ นายณรงค์ อรัญรุตม์ นางสาวจันทนา ค�ำภีระ นายศราวุฒิ ศิรธิ รรมจักร

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

52

2. ผลงานทีย่ นื่ ขอจดสิทธิบตั ร อนุสทิ ธิบตั ร และความลับทางการค้า จ�ำนวน 50 ค�ำขอ 2.1 ผลงานที่ยื่นขอจดสิทธิบัตรในประเทศ จ�ำนวน 17 ค�ำขอ วันทีย่ นื่ ค�ำขอ

AW 10-64.indb 52

เลขทีค่ ำ� ขอ

ชือ่ การประดิษฐ์

29 ธันวาคม 2558

1501007937

กรรมวิธกี ารคัดกรองฟาจโคลนทีแ่ สดงโปรตีนหรือเปปไทด์บนผิวทีส่ ามารถจับจ�ำเพาะต่อ เชือ้ แบคทีเรียเป้าหมายจากคลังฟาจด้วยเทคนิคไมโครอะเรย์

22 มกราคม 2559

1601000350

กรรมวิธตี รวจยืนยันการติดเชือ้ ไวรัสไอเอชเอชเอ็นในเนือ้ เยือ่ กุง้

4 พฤษภาคม 2559

1601002548

โปรตีนดัดแปลงอินเตอร์ลวิ คิน-18 และกระบวนการผลิตโปรตีนดังกล่าว

29 กรกฎาคม 2559

1601004382

เอนไซม์ ไซลาเนสทนด่างกลายพันธุท์ ใี่ ช้ ในการย่อยชีวมวลพืช

26 สิงหาคม 2559

1601004946

พลาสมิดพาหะส�ำหรับการผลิตโปรตีนเป้าหมายออกนอกเซลล์แบคทีเรีย Lactobacillus plantarum, Bacillus subtilis และ Escherichia coli

9 กันยายน 2559

1601005225

กระบวนการผลิตขัว้ ไฟฟ้าแบบอนุกรมสับหว่าง โดยเทคนิคการพิมพ์สกรีนและผลิตภัณฑ์

16 กันยายน 2559

1601005378

โมโนโคลนอลแอนติบอดีตอ่ เอ็นเอสเอสโปรตีน (NSs protein) ของทอสโพไวรัสชนิด วอเตอร์เมลอน ซิลเวอร์ มอทเทิล ไวรัส (Watermelon silver mottle virus) และกรรมวิธี การตรวจหาทอสโพไวรัสชนิดวอเตอร์เมลอน ซิลเวอร์ มอทเทิล ไวรัส ด้วยโมโนโคลนอล แอนติบอดีดงั กล่าว

23 กันยายน 2559

1601005547

สารประกอบโทรโพโลนทีอ่ อกฤทธิย์ บั ยัง้ เซลล์มะเร็ง

23 กันยายน 2559

1601005548

สารประกอบไบไซคลิกโทรโพโลนทีอ่ อกฤทธิย์ บั ยัง้ เซลล์มะเร็ง

23 กันยายน 2559

1601005549

สารประกอบเฟนเลอรัล และองค์ประกอบทางเภสัชกรรมของสารดังกล่าว

23 กันยายน 2559

1601005587

ระบบและวิธกี ารสร้างข้อมูลแถบจากภาพอิเล็กโตรโฟรีซสิ เจลแบบอัตโนมัติ

30 กันยายน 2559

1601005887

สารประกอบ n,n’-((3,4-ไดไซยาโน-1,2,5,6-เตตระไฮโดรไดเบนโซ[c,g]ฟีแนนทรีน-8,13ไดอิล) บิส (ออกซี)) ไดอัลเคโนอิก แอซิด ส�ำหรับใช้เป็นโมเลกุลแสดงสัญญาณเพือ่ การตรวจ วัด และกรรมวิธกี ารสังเคราะห์สารประกอบดังกล่าว

30 กันยายน 2559

1601005888

สารประกอบ n,n’-((2-(n-คาร์บอกซีอลั คิล)-1,3-ไดออกโซ-2,3,4,5,14,15-เฮกซะไฮโดร1H-ไดแนฟโธ[2,1-e:1’,2’-g]ไอโซอินโดล-7,12-ไดอิล)บิส(ออกซี))บิส(อัลเคน-1ซัลโฟเนต) ส�ำหรับใช้เป็นโมเลกุลแสดงสัญญาณเพือ่ การตรวจวัด และกรรมวิธกี าร สังเคราะห์สารประกอบดังกล่าว

30 กันยายน 2559

1601005889

สารประกอบ n-((13-((n-คาร์บอกซีอลั คิล)ออกซี)-3,4-ไดไซยาโน-1,2,5,6-เตตระไฮโดร ไดเบนโซ[c,g]ฟีแนนทรีน-8-อิล)ออกซี)อัลเคน-1-ซัลโฟเนต ส�ำหรับใช้เป็นโมเลกุลแสดง สัญญาณเพือ่ การตรวจวัด และกรรมวิธกี ารสังเคราะห์สารประกอบดังกล่าว

30 กันยายน 2559

1601005890

สารประกอบ n-((3,4-ไดไซยาโน-13-ไฮดรอกซี-1,2,5,6-เตตระไฮโดรไดเบนโซ[c,g] ฟีแนนทรีน-8-อิล)ออกซี)อัลเคโนอิก แอซิด ส�ำหรับใช้เป็นโมเลกุลแสดงสัญญาณเพือ่ การ ตรวจวัด และกรรมวิธกี ารสังเคราะห์สารประกอบดังกล่าว

30 กันยายน 2559

1601005894

โปรตีนสายผสมโบนมอร์โฟเจเนติกชนิดทีส่ องทีป่ รับแต่งทางพันธุกรรม

30 กันยายน 2559

1601005900

องค์ประกอบทีเ่ คลือบพืน้ ผิวส�ำหรับการเพาะเลีย้ งและการแผ่ตวั ของเซลล์

7/22/2560 BE 5:44 PM


53

รายงานประจ�ำปี 2559

2.2 ผลงานที่ยื่นขอจดอนุสิทธิบัตรในประเทศ จ�ำนวน 17 ค�ำขอ

AW 10-64.indb 53

วันทีย่ นื่ ค�ำขอ

เลขทีค่ ำ� ขอ

ชือ่ การประดิษฐ์

6 พฤศจิกายน 2558

1503001894

กระบวนการผลิตโปรตีนลูกผสมในถังหมักโดยยีสต์ทนร้อน Ogataea thermomethanolica ที่ ผ่านการดัดแปลงพันธุกรรมด้วยระบบควบคุมแบบการแสดงออกตลอดเวลา

13 พฤศจิกายน 2558

1503001926

ระบบเพาะเลีย้ งจุลนิ ทรียแ์ บบเคลือ่ นย้ายได้

18 ธันวาคม 2558

1503002132

กรรมวิธกี ารตรวจหาเชือ้ แบคทีเรีย Chamydia trachomatis ก่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในคน ด้วยเทคนิคแลมป์เปลียนสี

22 ธันวาคม 2558

1503002153

กรรมวิธกี ารตรวจหาเชือ้ แบคทีเรีย Chamydia trachomatis ก่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในคน ด้วยเทคนิคแลมป์รว่ มกับตัวตรวจจับอนุภาคทองค�ำนาโนเปลียนสี

29 ธันวาคม 2558

1503002225

กระบวนการหมักเชือ้ ราแบบแข็งเพือ่ ผลิตกรดแกมม่าลิโนเลนิคโดยใช้วแี นสเป็นส่วนประกอบหลัก

29 ธันวาคม 2558

1503002226

สูตรอาหารแข็งสําหรับเลีย้ งเชือ้ ราเพือ่ ผลิตกรดไขมันแกมม่าลิโนเลนิค

26 กุมภาพันธ์ 2559

1603000321

กรรมวิธกิ ารตรวจหาเชือ้ แบคทีเรีย V. parahaemolyticus ก่อโรคตับตายเฉียบพลันในกุง้

15 กรกฎาคม 2559

1603001252

กรรมวิธกี ารตรวจหายีนเอนเทอโรทอกซินชนิดเอของ Staphylococcus aureus ก่อโรคอาหาร เป็นพิษด้วยเทคนิคแลมป์เปลีย่ นสี

15 กรกฎาคม 2559

1603001251

กรรมวิธกี ารตรวจหายีนเอนเทอโรทอกซินชนิดเอของ Staphylococcus aureus ก่อโรคอาหาร เป็นพิษด้วยลูปเมดิเอเตดไอโซเทอร์มอลแอมพลิฟเิ คชันร่วมกับตัวตรวจจับอนุภาคทองค�ำนาโน เปลีย่ นสี

11 สิงหาคม 2559

1603001428

เม็ดบีดติดดีเอ็นเอโพรบทีจ่ ำ� เพาะต่อยีนในระบบภูมคิ มุ้ กันของกุง้ กุลาด�ำ และกรรมวิธกี ารตรวจวัด การแสดงออกของยีนหลายชนิดในระบบภูมคิ มุ้ กันของกุง้ กุลาด�ำพร้อมกันในเวลาเดียวกันด้วย การใช้เม็ดบีดดังกล่าวกับเทคนิคบีดอะเรย์

26 สิงหาคม 2559

1603001559

พลาสมิดพาหะส�ำหรับการผลิตโปรตีนเป้าหมายออกนอกเซลล์แบคทีเรีย Lactobacillus plantarum และ Bacillus subtilis

26 สิงหาคม 2559

1603001560

พลาสมิดพาหะส�ำหรับการผลิตโปรตีนเป้าหมายออกนอกเซลล์แบคทีเรีย Bacillus subtilis

2 กันยายน 2559

1603001633

เซลล์ตน้ แบบอีโคไลพร่องยีนไธเอ ยีนโฟลเอ และยีนโทลซี ที่ไม่มยี นี ดือ้ ยาปฏิชวี นะ และการใช้งาน เซลล์ตน้ แบบดังกล่าว

2 กันยายน 2559

1603001634

สารประกอบ 2,4-ไดอะมิโน-6-ฟีนลิ -5-(3-(2-(2-คาร์บอนิลเอทธิล) ฟีนอกซิ) โพรพอกซิ ไพริมดิ นี [2,4-diamino-6-phenyl-5-(3-(2-(2-carbonylethyl) phenoxy) propoxy pyrimidine] ทีม่ ี ความยืดหยุน่ เพือ่ น�ำไปพัฒนาเป็นยาต้านมาลาเรีย และวิธกี ารสังเคราะห์สารประกอบดังกล่าว

2 กันยายน 2559

1603001635

สูตรผสมเอนไซม์สำ� หรับปรับสมบัตริ โี อโลยีของมันส�ำปะหลังในการหมักแบบปริมาณของแข็งสูง เพือ่ การผลิตเชือ้ เพลิงชีวภาพและสารเคมี

16 กันยายน 2559

1603001817

กรรมวิธกี ารปรับปรุงพันธุพ์ ชื ให้ทนทานต่อสภาพดินเป็นกรด (ดินเปรีย้ ว) ด้วยการใช้กรดร่วมกับ สารก่อการกลายพันธุแ์ ละคลืน่ อุลตร้าโซนิก

16 กันยายน 2559

1603001816

กรรมวิธกี ารปรับปรุงพันธุพ์ ชื ให้ทนทานต่อสภาพแห้งแล้ง ด้วยการใช้สารพอลิเอทธิลนี ไกลคอล ร่วมกับสารก่อการกลายพันธุแ์ ละคลืน่ อุลตร้าโซนิก

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

54

2.3 ผลงานที่ยื่นขอจดความลับทางการค้า จ�ำนวน 16 ค�ำขอ วันที่ยื่นค�ำขอ

ชื่อการประดิษฐ์

13 มกราคม 2559

สูตรน�้ำยาส�ำหรับชุด ทดสอบ All in one TSV Nested PCR

13 มกราคม 2559

สูตรน�้ำยาส�ำหรับชุด ทดสอบ All in one YHV Nested PCR

13 มกราคม 2559

สูตรน�้ำยาส�ำหรับชุด ทดสอบ All in one IMNV Nested PCR

13 มกราคม 2559

สูตรน�้ำยาส�ำหรับชุด ทดสอบ MrNV Nested PCR

13 มกราคม 2559

สูตรน�้ำยาส�ำหรับชุด ทดสอบ HPV Nested PCR

13 มกราคม 2559

สูตรน�้ำยาส�ำหรับชุด ทดสอบ MBV Nested PCR

13 มกราคม 2559

สูตรน�้ำยาส�ำหรับชุด ทดสอบ WSSV LAMP COLOR

13 มกราคม 2559

สูตรน�้ำยาส�ำหรับชุด ทดสอบ TSV LAMP COLOR

13 มกราคม 2559

สูตรน�้ำยาส�ำหรับชุด ทดสอบ IHHNV LAMP COLOR

13 มกราคม 2559

สูตรน�้ำยาส�ำหรับชุดตรวจ All in one WSSV Nested PCR

13 มกราคม 2559

สูตรน�้ำยาส�ำหรับชุด ทดสอบ All in one IHHNV Nested PCR

13 มกราคม 2559

สูตรน�้ำยาส�ำหรับชุด ทดสอบ LSNV Nested PCR

13 มกราคม 2559

สูตรน�้ำยาส�ำหรับชุด ทดสอบ YHV Type1 LAMP color

24 พฤษภาคม 2559

สูตรอาหารและกระบวนการส�ำหรับเลี้ยงเชื้อราเพื่อผลิตมัลติเอนไซม์ที่ใช้ในการย่อยแป้งและแว๊กซ์จากเส้นใยธรรมชาติ

24 พฤษภาคม 2559

กระบวนการสกัดและเก็บเกี่ยวมัลติเอนไซม์ที่ผลิตได้จากเชื้อราเพื่อใช้ในการย่อยแป้งและแว๊กซ์จากเส้นใยธรรมชาติ

24 พฤษภาคม 2559

สูตรสารเติมแต่งและกระบวนการผสมสูตรมัลติเอนไซม์เพื่อการย่อยแป้งและแว๊กซ์จากเส้นใยธรรมชาติ

AW 10-64.indb 54

7/22/2560 BE 5:44 PM


55

รายงานประจ�ำปี 2559

รางวัลแห่งความส�ำเร็จ ปี 2559 จ�ำนวน 24 รางวัล รางวัลระดับนานาชาติ

ดร.ชัญญา พุทธิขนั ธ์ ดร.ศันสนีย น้อยสคราญ และ ดร.ฐนียา รอยตระกูล ห้องปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยีชวี ภาพทางการแพทย์ ได้รบั ทุนวิจยั UK-Thailand: Joint Health Research Call โครงการความ ร่วมมือระหว่าง สวทช. และ Medical research Council สหราชอาณาจักร ส�ำหรับผลงานวิจยั เรือ่ ง The dynamic of anti-dengue antibodies over time ดร. พรรณร�ำเพย นามพระจันทร์ ฟรานซ์ หน่วยวิจยั เทคโนโลยีชวี ภาพสัตว์ ได้รบั ทุนวิจยั Marie Sktodowska-Curie Individual Fellowship ภายใต้ กรอบ Horizon 2020 ของสหภาพยุโรปส�ำหรับโครงการวิจยั เรือ่ ง Making a yeast-based candidate vaccine against Porcine Epidemic Diarrhea Virus (PEDV) ดร.ธิดารัตน์ นิ่มเชื้อ หน่วยวิจยั เทคโนโลยีทรัพยากรชีวภาพ ได้รบั ทุน Leaders in Innovation Fellowships; The Royal Academy of Engineering สหราชอาณาจักร จากผลงานวิจยั เรือ่ ง ENZease: “two-inone” enzyme for one-step desizing and scouring process of cotton fabric in textile industry ส�ำหรับเข้าร่วมกิจกรรมฝึกอบรม เพือ่ ต่อยอด การน�ำงานวิจยั ไปสูก่ ารพัฒนาเชิงพาณิชย์ ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร นางวรรณสิกา เกียรติปฐมชัย และนางสาวจันทนา ค�ำภีระ หน่วยวิจยั เทคโนโลยีการตรวจวินจิ ฉัยทางชีวภาพ ได้รบั รางวัลเหรียญทอง Gold Medal และรางวัล Special Prize จาก Korea Invention Promotion Association ในงานนิทรรศการสิง่ ประดิษฐ์นานาชาติ เจนีวา ครัง้ ที่ 44 ส�ำหรับผลงานวิจยั เรือ่ ง เครือ่ งตรวจวัดอะฟลาทอกซินแบบ รวดเร็วขนาดพกพา (AflaSense Plus) ดร.อรประไพ คชนันทน์ ดร.อรวรรณ หิมานันโต นางสาวมัลลิกา ก�ำภูศริ ิ หน่วยวิจยั เทคโนโลยีชวี ภาพสัตว์ ดร.เพลินพิศ ลักษณะนิล หน่วยวิจยั เทคโนโลยีทรัพยากรชีวภาพ ได้รบั รางวัลเหรียญเงิน และรางวัล Special Award จาก Taiwan Invention Association ในงานนิทรรศการสิง่ ประดิษฐ์นานาชาติเจนีวา ครัง้ ที่ 44 ส�ำหรับ ผลงานวิจยั เรือ่ ง Fruit Blotch Easy Kits

รางวัลระดับชาติ

นพ.ปรีดา มาลาสิทธิ์ ดร.ชัญญา พุทธิขนั ธ์ ดร.ศันสนีย น้อยสคราญ ดร.ฐนียา รอยตระกูล และ ดร.ด�ำรง ไม้เรียง ห้องปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยีชวี ภาพทางการแพทย์ ดร.สิทธิรักษ์ รอยตระกูล หน่วยวิจยั เทคโนโลยีจโี นม ได้รบั ทุนนักวิจยั แกนน�ำ จาก สวทช. ส�ำหรับผลงานวิจยั เรือ่ ง การวิจยั แบบ บูรณาการเพือ่ ค้นหาชุดของสารบ่งชีท้ างชีวภาพชนิดใหม่ ทีน่ ำ� ไปสูก่ ารประยุกต์ ใช้กบั การตรวจวินจิ ฉัย การพยากรณ์ความรุนแรงของโรค และการรักษาผูป้ ว่ ย ไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ

AW 10-64.indb 55

ดร.วีรวัฒน์ รังกุพันธุ์ หน่วยวิจยั เทคโนโลยีทรัพยากรชีวภาพ ได้รบั รางวัลทุนช่วยเหลือทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากมูลนิธโิ ทเร เพือ่ การส่งเสริมวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ส�ำหรับผลงานวิจยั เรือ่ ง การพัฒนา ระบบ MultiCRISPR ที่ง่ายและรวดเร็วในการปรับระดับการแสดงออกของ ยีนต่างๆ ทีเ่ หมาะสมใน pathway เพือ่ เพิม่ ความสามารถของยีสต์ในการผลิต สารทีต่ อ้ งการ ดร.ศิษเฎศ ทองสิมา หน่วยวิจยั เทคโนโลยีจโี นม ได้รับรางวัล 2015 TRF-OHEC-Scopus Researcher Awards สาขา Health Sciences จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั และส�ำนักงาน คณะกรรมการอุ ด มศึ ก ษา ส� ำ หรั บ ผลงานวิ จั ย เรื่ อ ง กระบวนการทาง คอมพิวเตอร์เพือ่ ช่วยค้นหาต�ำแหน่งของเครือ่ งหมายทางพันธุกรรมจากการ ศึกษาความสัมพันธ์ของจีโนไทป์กบั โรคซับซ้อนทีพ่ บได้บอ่ ย ดร.จิตติมา พิริยะพงศา หน่วยวิจยั เทคโนโลยีจโี นม ได้รบั รางวัล 2015 TRF-OHEC-Scopus Young Researcher Awards สาขา Health Sciences จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั และส�ำนักงาน คณะกรรมการอุดมศึกษา ส�ำหรับผลงานวิจยั เรือ่ ง การใช้ชวี สารสนเทศใน การศึกษากลไกการท�ำงานของไมโครอาร์เอ็นเอและโรคในมนุษย์ ดร.จิตติมา พิริยะพงศา และนางปวิตา ทิพย์สมบัติบุญ หน่วยวิจยั เทคโนโลยีจโี นม ได้รบั รางวัลสภาวิจยั แห่งชาติ : รางวัลผลงานวิจยั ประจ�ำปี 2558 ระดับดี สาขา เกษตรศาสตร์และชีววิทยา จากส�ำนักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ ส�ำหรับ ผลงานวิจัยเรื่อง วิวัฒนาการทางพันธุกรรมของยีนโออาร์เอฟ 5 และยีน เอ็นเอสพี 2 ของเชือ้ ไวรัสพีอาร์อาร์เอสในฝูงสุกรทีเ่ กิดการระบาดของเชือ้ ไวรัส พีอาร์อาร์เอสสายพันธุร์ นุ แรง ดร.ธิดารัตน์ นิ่มเชื้อ หน่วยวิจยั เทคโนโลยีทรัพยากรชีวภาพ ได้รบั รางวัลสภาวิจยั แห่งชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ์คดิ ค้น ประจ�ำปี 2559 ระดับรางวัลประกาศเกียรติคุณ สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรม วิจัย จากส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ส�ำหรับผลงานวิจัยเรื่อง เอนอีซ: เอนไซม์ 2 in 1 ส�ำหรับการลอกแป้งและก�ำจัดแว็กซ์บนผ้าฝ้ายแบบ ขัน้ ตอนเดียวในอุตสาหกรรมสิง่ ทอ ดร.วิรัลดา ภูตะคาม หน่วยวิจยั เทคโนโลยีจโี นม ได้รบั รางวัลสภาวิจยั แห่งชาติ : รางวัลวิทยานิพนธ์ ประจ�ำปี 2558 ระดับดี สาขา เกษตรศาสตร์และชีววิทยา จากส�ำนักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ ส�ำหรับ ผลงานวิจยั เรือ่ ง กระบวนการล�ำเลียงซัลเฟตเข้าสูเ่ ซลล์และกลไกการควบคุม โปรตีนน�ำส่งซัลเฟตในสาหร่ายสีเขียว Chlamydomonas reinhardtii

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

56

ดร.สุกัญญา ยงเกียรติตระกูล หน่วยวิจยั เทคโนโลยีการตรวจวินจิ ฉัยทางชีวภาพ ได้รบั รางวัล DMSc Award : รางวัลชนะเลิศ ประเภทการพัฒนาคุณภาพการ บริการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ จากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข ส�ำหรับผลงานวิจัยเรื่อง กรรมวิธีการตรวจหาและจ�ำแนกเชื้อ มาลาเรียในตัวอย่างเลือดด้วยเทคนิคแลมป์รว่ มกับเทคนิคแอลเอฟดี

นางสาวมัลลิกา มะกรวัฒนะ ดร. รัฐพล เฉลิมโรจน์ และ ดร. นิศรา การุณอุทัยศิริ หน่วยวิจยั เทคโนโลยีการตรวจวินจิ ฉัยทางชีวภาพ ดร. อรวรรณ หิมานันโต ดร. อรประไพ คชนันท์ และ ดร. ชาญณรงค์ ศรีภิบาล หน่วยวิจยั เทคโนโลยีชวี ภาพสัตว์ ได้รับรางวัลโปสเตอร์ดีเด่น รางวัลที่ 1 สาขา Molecular biology and ดร.อุบลศรี เลิศสกุลพาณิช bioinformatics session จากการประชุมวิชาการนานาชาติประจ�ำปีของสมาคม หน่วยวิจยั เทคโนโลยีการตรวจวินจิ ฉัยทางชีวภาพ เทคโนโลยีชวี ภาพแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 27 (The 27th Annual Meeting of ได้รบั รางวัล DMSc Award : รางวัลรองชนะเลิศ ประเภทงานวิจยั และพัฒนาทาง The Thai Society for Biotechnology and International Conference: TSB วิทยาศาสตร์การแพทย์ จากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 2015) ส�ำหรับผลงานวิจยั เรือ่ ง A practical application of a microsphere ส�ำหรับผลงานวิจยั เรือ่ ง Plasmodium serine hydroxymethyltransferase for immunoassay for multiplex detection of plant diseases antimalarial drug development นางสาวชยาภัสร์ วงษ์สมบัติ ดร. ปิติ อ�่ำพายัพ หน่วยวิจยั ชีววิทยาโมเลกุลทางการแพทย์ หน่วยวิจยั เทคโนโลยีชวี ภาพสัตว์ ได้รบั รางวัลการน�ำเสนอโปสเตอร์ จากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติสาขา ได้รบั รางวัล The 2016 Thailand Frontier Researcher Awards สาขา ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล ครัง้ ที่ 5 ประจ�ำปี 2559 ส�ำหรับผลงานวิจยั เรือ่ ง Plant and Animal Science ส�ำหรับผลงานวิจัยเรื่อง ระบบโพรฟีนอล Bacterial model for identification of new drug resistance mutations in ออกซิเดสและบทบาทส�ำคัญในการตอบสนองของภูมคิ มุ้ กันต่อการต้านเชือ้ P. falciparum dihydrofolate reductase ก่อโรคทีส่ ำ� คัญในกุง้ นายศรัญญู วงกระนวน ดร. อติกร ปัญญา หน่วยวิจยั เทคโนโลยีทรัพยากรชีวภาพ หน่วยวิจยั เทคโนโลยีชวี ภาพอาหาร ได้รบั รางวัลโปสเตอร์ดเี ด่น การประชุมวิชาการอนุกรมวิธานและซีสเทมาติคส์ ได้รบั รางวัลน�ำเสนอผลงานวิจยั ดีเยีย่ มแบบโปสเตอร์ ในการประชุมนักวิจยั แห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 6 ส�ำหรับผลงานวิจยั เรือ่ ง Durotheca macrostroma รุน่ ใหม่ พบ เมธีวจิ ยั อาวุโส สกว. จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั และ sp. nov. ราชนิดใหม่จากประเทศไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ส�ำหรับผลงานวิจยั เรือ่ ง Apolar Radical Initiated Conjugated Autoxidizable Triene (ApoCAT) Assay: Effects of นางสาววาสนา น้อยศรีภูมิ Oxidant Locations on Antioxidant Capacities and Interactions หน่วยวิจยั เทคโนโลยีทรัพยากรชีวภาพ ได้รบั รางวัลชมเชยจากการน�ำเสนอภาคบรรยาย การประชุมวิชาการอนุกรม นายณรงค์ อรัญรุตม์ นางสาวจันทนา ค�ำภีระ และ วิธานและซีสเทมาติคส์แห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 6 ส�ำหรับผลงานวิจยั เรือ่ ง รา นางวรรณสิกา เกียรติปฐมชัย 2 ชนิดใหม่ในสกุล Shimizuomyces จากป่าชุมชนบ้านเผ่าไทย จ.พิษณุโลก หน่วยวิจยั เทคโนโลยีการตรวจวินจิ ฉัยทางชีวภาพ ได้รับรางวัลโปสเตอร์ดีเด่น รางวัลที่ 1 สาขา Molecular biology and ดร.ข้าว ต้นสมบูรณ์ bioinformatics session จากการประชุมวิชาการนานาชาติประจ�ำปีของสมาคม หน่วยวิจยั เทคโนโลยีการตรวจวินจิ ฉัยทางชีวภาพ เทคโนโลยีชวี ภาพแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 27 (The 27th Annual Meeting of ได้รบั รางวัลชนะเลิศ และรางวัลขวัญใจมหาชน จากการแข่งขันการน�ำเสนอทาง The Thai Society for Biotechnology and International Conference: TSB ด้านวิทยาศาสตร์ FameLab Thailand 2016 ซึง่ จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์ 2015) ส�ำหรับผลงานวิจยั เรือ่ ง Development of loop-mediated isothermal และเทคโนโลยี บริตชิ เคานซิล ประเทศไทย และบริษทั ทรู คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด amplification combined with lateral flow dipstick for sensitive and rapid (มหาชน) จากการน�ำเสนอผลงานวิจยั เรือ่ ง การบันทึกความทรงจ�ำอันเลวร้าย detection of EMS/AHPND ดร.วนนิตย์ วิมุตติสุข คุณมัลลิกา ก�ำภูศิริ ดร. อรวรรณ หิมานันโต ดร. อรประไพ คชนันท์ หน่วยวิจยั เทคโนโลยีทรัพยากรชีวภาพ และ ดร. ศิวัช สังข์ศรีทวงษ์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง จากการแข่งขันการน�ำเสนอทางด้าน หน่วยวิจยั เทคโนโลยีชวี ภาพสัตว์ วิทยาศาสตร์ FameLab Thailand 2016 ซึง่ จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลผลงานวิจัยระดับดี สาขาสัตว์ จากการน�ำเสนอผลงานในการ และเทคโนโลยี บริตชิ เคานซิล ประเทศไทย และบริษทั ทรู คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ประชุมวิชาการ ครัง้ ที่ 53 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ส�ำหรับผลงานวิจยั เรือ่ ง (มหาชน) FameLab Thailand 2016 จากการน�ำเสนอผลงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาวิธี competitive enzyme-linked immunosorbent assay เพือ่ เชือ้ แบคทีเรียสตาฟิโลค็อกคัส ออเรียส หรือ สตาฟ ตรวจวัดปริมาณฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในน�ำ้ นมโค

AW 10-64.indb 56

7/22/2560 BE 5:44 PM


57

รายงานประจ�ำปี 2559

บทความตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ จ�ำนวน 223 บทความ 1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

9.

10.

11.

12.

13.

14.

AW 10-64.indb 57

Akekawatchai, C., Roytrakul, S., Kittisenachai, S., Isarankura-Na-Ayudhya, P. and Jitrapakdee, S. (2016). Protein Profiles Associated with Anoikis Resistance of Metastatic MDA-MB-231 Breast Cancer Cells. Asian Pacific Journal of Cancer Prevention, 17(2), 581-590. Ariyawansa, H.A., Hyde, K.D., Jayasiri, S.C., Buyck, B., Chethana, K.W.T., Dai, D.Q., Dai, Y.C., Daranagama, D.A., Jayawardena, R.S., Lücking, R., Ghobad-Nejhad, M., Niskanen, T., Thambugala, K.M., Voigt, K., Zhao, R.L., Li, G-J., Doilom, M., Boonmee, S., Yang, Z.Y., Cai, Q., Cui, Y-Y., Bahkali, A.H., Chen, J., Cui, B.K., Chen, J.J., Dayarathne, M.C., Dissanayake, A.J., Ekanayaka, A.H., Hashimoto, A., Hongsanan, S., Jones, E.B.G., Larsson, E., Li, W.J., Li, Q-R., Liu, J.K., Luo, Z.L., Maharachchikumbura, S.S.N., Mapook, A., McKenzie, E.H.C., Norphanphoun, C., Konta, S., Pang, K.L., Perera, R.H., Phookamsak, R., Phukhamsakda, C., Pinruan, U., Randrianjohany, E., Singtripop, C., Tanaka, K., Tian, C.M., Tibpromma, S., Abdel-Wahab, M.A., Wanasinghe, D.N., Wijayawardene, N.N., Zhang, J-F., Zhang, H., Abdel-Aziz, F.A., Wedin, M., Westberg, M., Ammirati, J.F., Bulgakov, T.S., Luis F. Lima, D.X., Callaghan, T.M., Callac, P., Chang, C-H., Coca, L.F.,Dal-Forno, M., Dollhofer, V., Fliegerová, K., Greiner, K., Griffith, G.W., Ho, H-M., Hofstetter, V., Jeewon, R., Kang, J.C., Wen, T-C., Kirk, P.M., Kytövuori, I., Lawrey, J.D., Xing, J., Li, H., Liu, Z.Y., Liu,X.Z., Liimatainen, K., Lumbsch, H.T., Matsumura, M., Moncada, B., Nuankaew, S., Parnmen, S., Santiago, A.L.C.M.D.A., Sommai, S., Song, Y., Souza, C.A.F.D., Souza-Motta, C.M.D., Su, H.Y., Suetrong, S., Wang, Y., Wei, S-F., Wen, T.C., Yuan, H.S., Zhou, L.W., Réblová, M., Fournier, J., Camporesi, E., Luangsa-ard, J.J., Tasanathai, K., Khonsanit, A., Thanakitpipattana, D., Somrithipol, S., Diederich, P., Millanes, A.M., Common, R.S., Stadler, M., Yan, J.Y., Li, X.H., Lee, H.W., Nguyen, T.T.T., Lee, H.B., Battistin, E., Marsico, O., Vizzini, A., Vila, J., Ercole, E., Eberhardt, U., Simonini, G., Wen, H-A., Chen, X-H., Miettinen, O., Spirin, V. and Hernawati. (2015). Fungal diversity notes 111–252—taxonomic and phylogenetic contributions to fungal taxa. Fungal Diversity, 75(1), 27-274. Aroonsri, A., Akinola, O., Posayapisit, N., Songsungthong, W., Uthaipibull, C., Kamchonwongpaisan, S., Gbotosho, G.O., Yuthavong, Y. and Shaw, P.J. (2016). Identifying antimalarial compounds targeting dihydrofolate reductase-thymidylate synthase (DHFR-TS) by chemogenomic profiling. International Journal for Parasitology, 46(8), 527-535. Arunrut, N., Kampeera, J., Sirithammajak, S., Sanguanrut, P., Proespraiwong, P., Suebsing, R. and Kiatpathomchai, W. (2016). Sensitive Visual Detection of AHPND Bacteria Using Loop-Mediated Isothermal Amplification Combined with DNA-Functionalized Gold Nanoparticles as Probes. PLOS one, 11(3), e0151769. Bhunchoth, A., Blanc-Mathieu, R., Mihara, T., Nishimura, Y., Askora, A., Phironrit, N., Leksomboon, C., Chatchawankanphanich, O., Kawasaki, T., Nakano, M., Fujie, M., Ogata, H. and Yamada, T. (2016). Two asian jumbo phages, ϕRSL2 and ϕRSF1, infect Ralstonia solanacearum and show common features of ϕKZ-related phages. Virology, 494, 56–66. Boonlarppradab, C., Suriyachadkun, C., Supothina, S. and Laksanacharoen, P. (2016). Amethysione and amethysamide, new metabolites from Streptosporangium amethystogenes BCC 27081. Journal of Antibiotics, 69, 459-463. Boonmee, S., D’souza, M.J., Luo, Z., Pinruan, U., Tanaka, K., Su, H., Bhat, D.J., McKenzie, E.H.C., Jones, E. B. G., Taylor, J. E., Phillips, A.J. L., Hirayama, K. and Eungwanichayapant, P. D. and Hyde, K.D. (2016). Dictyosporiaceae fam. nov. Fungal Diversity, 80(1), 457-482. Boonnorat, J., Techkarnjanaruk, S., Honda, R. and Prachanurak, P. (2016). Effects of hydraulic retention time and carbon to nitrogen ratio on micro-pollutant biodegradation in membrane bioreactor for leachate treatment. Bioresource Technology, 219, 53–63. Bosuwan, S., Roytrakul, S., Murthy, K.S. and Sriwai, W. (2016). Identification of Secreted Proteins during Protease-Activated Receptor 2 Activation in Gastrointestinal Smooth Muscle Cells. Current Trends in Biotechnology and Pharmacy, 10(3), 194-221. Buaklin, A., Sittikankaew, K., Phinyo, M., Prasertlux, S., Janpoom, S., Klinbunga, S., Menasveta, P. and Khamnamtong, B. (2016). Expression of catechol O-methyltransferase during ovarian development and association between its SNP and reproduction-related parameters of the giant tiger shrimp Penaeus monodon. Aquaculture, 465, 245–257. Bunyapaiboonsri, T., Lapanun, S., Supothina, S., Rachtawee, P., Chunhametha, S., Suriyachadkun, C., Boonruangprapa, T., Auncharoen, P., Chutrakul, C. and Vichai, V. (2016). Polycyclic tetrahydroxanthones from Streptomyces chrestomyceticus BCC 24770. Tetrahedron, 72(5), 775–778. Bunyapaiboonsri, T., Yoiprommarat, S., Lapanun, S., Balram, U., Chanthaket, R., Klaysuban, A. and Suetrong, S. (2016). Trichothecenes from the fungus Acremonium crotocinigenum BCC 20012. Phytochemistry Letters, 18, 39–43. Chaikaew, S., Powtongsook, S., Boonpayung, S., Benjakul, S. and Visessanguan, W. (2015). Enhanced production of histamine dehydrogenase by Natrinema gari BCC 24369 in a non-sterile condition. Journal of General and Applied Microbiology, 61(6), 232–240. Chailangkarn, T., Trujillo, C.A., Freitas, B.C., Hrvoj-Mihic, B., Herai, R.H., Yu, D.X., Brown, T.T., Marchetto, M.C., Bardy, C., McHenry, L., Stefanacci, L., Järvinen, A., Searcy, Y.M., DeWitt, M., Wong, W., Lai, P., Ard, M. C., Hanson, K.L., Romero, S., Jacobs, B., Dale, A.M., Dai, L., Korenberg, J.R., Gage, F.H., Bellugi, U., Halgren, E., Semendeferi, K. and Muotri, A.R . (2016). A human neurodevelopmental model for Williams syndrome. Nature, 536(7616), 338–343.

15.

16.

17.

18.

19.

20.

21.

22.

23. 24.

25.

26.

27.

28.

29.

30.

Chaiwongwatanakul, S., Yanatatsaneejit, P., Tongsima, S., Mutirangura, A. and Boonyaratanakornkit, V. (2016). Sex steroids regulate expression of genes containing long interspersed elements-1s in breast cancer cells. Asian Pacific Journal of Cancer Prevention, 17(8), 4003-4007. Changsom, D., Lerdsamran, H., Wiriyarat, W., Chakritbudsabong, W., Siridechadilok, B., Prasertsopon, J., Noisumdaeng, P., Masamae, W. and Puthavathana, P. (2016). Influenza Neuraminidase Subtype N1: Immunobiological Properties and Functional Assays for Specific Antibody Response. PLOS one, 11(4), e0153183. Chanthorn, W., Ratanapongsai, Y., Brockelman, W.Y., Allen, M.A., Favier, C. and Dubois, M.A. (2016). Viewing tropical forest succession as a three-dimensional dynamical system. Theoretical Ecology, 9(2), 163–172. Charlermroj, R., Makornwattana, M., Grant, I.R., Elliott, C.T. and Karoonuthaisiri, N. (2016). Validation of a high-throughput immunobead array technique for multiplex detection of three foodborne pathogens in chicken products. International Journal of Food Microbiology, 224, 47–54. Charoenrat, T., Antimanon, S., Kocharin, K., Tanapongpipat, S. and Roongsawang, N. (2016). High cell density process for constitutive production of a recombinant phytase in thermotolerant methylotrophic yeast Ogataea thermomethanolica using table sugar as carbon source. Applied Biochemistry and Biotechnology, 180(8), 1618-1634. Chatpun, S., Sawanyawisuth, K., Wansuksri, R. and Piyachomkwan, K. (2016). Characterization and physiological effect of tapioca maltodextrin colloid plasma expander in hemorrhagic shock and resuscitation model. Journal of Materials Science-Materials in Medicine, 27, 98. Cheeveewattanagul, N., Rijiravanich, P., Surareungchai, W. and Somasundrum, M. (2016). Loading of silicon nanoparticle labels with redox mediators for detection of multiple DNA targets within a single voltammetric sweep. Journal of Electroanalytical Chemistry, 779, 61-66. Cheun-Arom, T., Temeeyasen, G., Tripipat, T., Kaewprommal, P., Piriyapongsa, J., Sukrong, S., Chongcharoen, W., Tantituvanont, A. and Nilubol, D. (2016). Full-length genome analysis of two genetically distinct variants of porcine epidemic diarrhea virus in Thailand. Infection Genetics and Evolution, 44, 114–121. Chokpaiboon, S., Choodej, S., Boonyuen, N., Teerawatananond, T. and Pudhom, K. (2016). Highly oxygenated chromones from mangrove-derived endophytic fungus Rhytidhysteron rufulum. Phytochemistry, 122, 172–177. Chokpaiboon, S., Unagul, P., Kongthong, S., Danwisetkanjana, K., Pilantanapak, A., Suetrong, S. and Bunyapaiboonsri, T. (2016). A pyrone, naphthoquinone, and cyclic urea from the marine-derived fungus Astrosphaeriella nypae BCC 5335. Tetrahedron Letters, 57(10), 1171–1173. Chruewkamlow, N., Mahasongkram, K., Pata, S., Chaiwarith, R., Salee, P., Supparatpinyo, K. and Kasinrerk, W. (2016). Immune Alterations in Patients with Anti-Interferon-γ Autoantibodies. PLOS one, 11(1), e0145983. Chua-on, D., Proungvitaya, T., Techasen, A., Limpaiboon, T., Roytrakul, S., Wongkham, S., Wongkham, C., Somintara, O., Sungkhamanon, S. and Proungvitaya, S. (2016). High expression of apoptosis-inducing factor, mitochondrion-associated 3 (AIFM3) in human cholangiocarcinoma. Tumor Biology, 37(10),13659-13667. Chutrakul, C., Jeennor, S., Panchanawaporn, S., Cheawchanlertfa, P., Suttiwattanakul, S., Veerana, M. and Laoteng, K. (2016). Metabolic engineering of long chain-polyunsaturated fatty acid biosynthetic pathway in oleaginous fungus for dihomo-gamma linolenic acid production. Journal of Biotechnology, 218, 85-93. Coker, O.O., Chaiprasert, A., Ngamphiw, C., Tongsima, S., Regmi, S.M., Clark, T.G,, Ong, R.T.H., Teo, Y., Prammananan, T. and Palittapongarnpim, P. (2016). Genetic signatures of Mycobacterium tuberculosis Nonthaburi genotype revealed by whole genome analysis of isolates from tuberculous meningitis patients in Thailand. PeerJ, 4, e1905. Crous, P.W., Wingfield, M.J., Richardson,D.M., Le Roux, J.J., Strasberg, D., Edwards, J., Roets, F., Hubka, V., Taylor, P.W.J., Heykoop, M., Martín, M.P., Moreno, G., Sutton, D.A., Wiederhold, N.P., Barnes, C.W., Carlavilla, J.R., Gené, J., Giraldo, A., Guarnaccia, V., Guarro, J., Hernández-Restrepo, M., Kolařík, M., Manjón, J.L., Pascoe, I.G., Popov, E.S., Sandoval-Denis, M., Woudenberg, J.H.C., Acharya, K., Alexandrova, A.V., Alvarado, P., Barbosa, R.N., Baseia, I.G., Blanchette, R.A., Boekhout, T., Burgess, T.I., Cano-Lira, J.F., Čmoková, A., Dimitrov, R.A., Dyakov, M.Yu., Dueñas, M., Dutta, A.K., Esteve-Raventós, F., Fedosova, A.G., Fournier, J., Gamboa, P., Gouliamova, D.E., Grebenc, T., Groenewald, M., Hanse, B., Hardy, G.E.St.J., Held, B.W., Jurjević, Ž., Kaewgrajang, T.,Latha, K.P.D., Lombard, L., Luangsa-ard, J.J., Lysková, P., Mallátová, N., Manimohan, P., Miller, A.N., Mirabolfathy, M., Morozova, O.V., Obodai, M., Oliveira, N.T., Ordóñez, M.E., Otto, E.C., Paloi, S., Peterson, S.W. Phosri, C., Roux, J., Salazar, W.A., Sánchez, A., Sarria, G.A., Shin, H.-D., Silva, B.D.B., Silva, G.A., Smith, M.Th. , Souza-Motta, C.M., Stchigel,A.M., Stoilova-Disheva,M.M., Sulzbacher, M.A., Telleria, M.T., Toapanta, C., Traba, J.M., Valenzuela-Lopez, N., Watling, R. and Groenewald, J.Z. (2016). Fungal Planet description sheets: 400–468. Persoonia, 36, 316-458. Cullen, D.R., Pengon, J., Rattanajak, R., Chaplin, J., Kamchonwongpaisan, S. and Mocerino, M. (2016). Scoping Studies into the Structure-Activity Relationship (SAR) of Phenylephrine-Derived Analogues as inhibitors of Trypanosoma brucei rhodesiense. ChemistrySelect, 1(15), 4533–4538.

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

58

31.

32.

33.

34.

35.

36.

37.

38.

39.

40. 41.

42.

43.

44.

45. 46.

47.

48.

49.

50.

AW 10-64.indb 58

Daengrot, C., Rukachaisirikul, V., Tadpetch, K., Phongpaichit, S., Bowornwiriyapan, K., Sakayaroj, J. and Shen, X. (2016). Penicillanthone and Penicillidic acids A-C from the Soil-derived Fungus Penicillium aculeatum PSU-RSPG105. RSC Advances, 6, 39700-39709. Dangtip, S., Sirikharin, R., Sanguanrut, P., Thitamadee, S., Sritunyalucksana, K., Taengchaiyaphum, S., Mavichak, R., Proespraiwong, P. and Flegel, T.W. (2015). AP4 method for two-tube nested PCR detection of AHPND isolates of Vibrio parahaemolyticus. Aquaculture Reports, 2, 158–162. Dechtawewat, T., Paemanee, A., Roytrakul, S., Songprakhon, P., Limjindaporn, T., Yenchitsomanus, P-T., Saitornuang, S. Puttikhunt, C., Kasinrerk, W., Malasit, P. and Noisakran, S. (2016). Mass spectrometric analysis of host cell proteins interacting with dengue virus nonstructural protein 1 in dengue virus-infected HepG2 cells. Biochimica Et Biophysica Acta-Proteins and Proteomics, 1864(9), 1270–1280. Dejnirattisai, W., Supasa, P., Wongwiwat, W., Rouvinski, A., Barba-Spaeth, G., Duangchinda, T., Sakuntabhai, A., Cao-Lormeau, V-M., Malasit, P., Rey, F.A., Mongkolsapaya, J. and Screaton, G.R. (2016). Dengue virus sero-cross-reactivity drives antibody-dependent enhancement of infection with zika virus. Nature Immunology, 17, 1102–1108. Disratthakit, A., Prammananan, T., Tribuddharat, C., Thaipisuttikul, I., Doi, N., Leechawengwongs, M. and Chaiprasert, A. (2016). Role of gyrB Mutations in Pre-extensively and Extensively Drug-Resistant Tuberculosis in Thai Clinical Isolates. Antimicrobial Agents and Chemotherapy, 60(9), 5189-5197. Dong, H.T., Gangnonngiw, W., Phiwsaiya, K., Charoensapsri, W., Nguyen, V.V., Nilsen, P., Pradeep, P.J., Withyachumnarnkul, B., Senapin, S. and Rodkhum, C. (2016). Duplex PCR assay and in situ hybridization for detection of Francisella spp. and Francisella noatunensis subsp. orientalis in red tilapia. Diseases of Aquatic Organisms, 120(1), 39-47. Dong, H.T., Nguyen, V.V., Kayansamruaj, P., Gangnonngiw, W., Senapin, S., Pirarat, N., Nilubol, D. and Rodkhum, C. (2016). Francisella noatunensis subsp. orientalis infects striped catfish (Pangasianodon hypophthalmus) and common carp (Cyprinus carpio) but does not kill the hosts. Aquaculture, 464, 190–195. Dong, H.T., Nguyen, V.V., Mata, W., Kayansamruaj, P., Senapin, S., Nilubol, D. and Rodkhum, C. (2016). Diversity of non-Flavobacterium columnare bacteria associated with columnaris-like diseased fish. The Thai Journal of Veterinary Medicine, 46(2), 251-259. E-kobon, T., Thongararm, P., Roytrakul, S., Meesuk, L. and Chumnanpuen, P. (2016). Prediction of anticancer peptides against MCF-7 breast cancer cells from the peptidomes of Achatina fulica mucus fractions. Computational and Structural Biotechnology Journal, 14, 49–57. Engchuan, W., Meechai, A., Tongsima, S. and Chan, J.H. (2016). Handling batch effects on cross-platform classification of microarray data. International Journal of Advanced Intelligence Paradigms, 8(1), 59-76. Engchuan, W., Meechai, A., Tongsima, S., Doungpan, N. and Chan, J.H. (2016). Gene-set activity toolbox (GAT): A platform for microarray-based cancer diagnosis using an integrative gene-set analysis approach. Journal of Bioinformatics and Computational Biology, 14(4), 1650015. Faksri, K., Tan, J.H., Disratthakit, A., Xia, E., Prammananan, T., Suriyaphol, P., Khor, C.C., Teo, Y-Y., Ong, R.T-H. and Chaiprasert, A. (2016). Whole-Genome Sequencing Analysis of Serially Isolated Multi-Drug and Extensively Drug Resistant Mycobacterium tuberculosis from Thai Patients. PLOS one, 11(8), e0160992. Harnpicharnchai, P., Pinngoen, W., Teanngam, W., Sornlake, W., Sae-Tang, K., Manitchotpisit, P. and Tanapongpipat, S. (2016). Production of high activity Aspergillus niger BCC4525 β-mannanase in Pichia pastoris and its application for mannooligosaccharides production from biomass hydrolysis. Bioscience Biotechnology and Biochemistry, 80(12), 2298-2305. Hudayah, N., Suraraksa, B. and Chaiprasert, P. (2016). Physicochemical and Microbial Characteristics of Anaerobic Granule Nuclei Developed by Cationic Polymer Additions under Syntroph Specific Substrate. Chiang Mai Journal of Science, 43, 1-13. Hudayah, N., Suraraksa, B. and Chaiprasert, P. (2016). Synergistic effects of the chitosan addition and polysaccharides-EPS on the formation of anaerobic granules. Environmental Technology, 21(37), 2713-2722. Intarapanich, A., Kaewkamnerd, S., Shaw, P.J., Ukosakit, K., Tragoonrung, S. and Tongsima, S. (2015). Automatic DNA Diagnosis for 1D Gel Electrophoresis Images using Bio-image Processing Technique. BMC Genomics, 16(12), S15. Intarasirisawat, R., Benjakul, S. and Visessanguan, W. (2016). Influence of High Pressure Homogenisation on Stability of Emulsions Containing Skipjack Roe Protein Hydrolysate. Indian Journal of Science and Technology, 9(2), 1-9. Intaraudom, C., Bunbamrung, N., Dramae, A., Boonyuen, N., Komwijit, S., Rachtawee, P. and Pittayakhajonwut, P. (2016). Acremonidins F–H and acremoxanthones F–G, antimicrobial substances from the insect fungus Verticillium sp. BCC33181. Tetrahedron, 72(10), 1415–1421. Intaraudom, C., Bunbamrung, N., Dramae, A., Danwisetkanjana, K., Rachtawee, P. and Pittayakhajonwut, P. (2015). Antimalarial and antimycobacterial agents from Streptomyces sp. BCC27095. Tetrahedron, 56(49), 6875–6877. Intaraudom, C., Nitthithanasilp, S., Rachtawee, P., Boonruangprapa, T., Prabpai, S., Kongsaeree, P. and Pittayakhajonwut, P. (2015). Phenalenone derivatives and the unusual tricyclic sesterterpene acid from the marine fungus Lophiostoma bipolare BCC25910. Phytochemistry, 120, 19–27.

51.

52.

53.

54. 55. 56.

57.

58.

59.

60.

61.

62. 63.

Intorasoot, S., Tharinjaroen, C.S. , Phunpae, P., Butr-Indr, B., Anukool, U., Intachai, K., Orrapin, S., Apiratmateekul, N., Arunothong, S. Suthachai, V., Saengsawang, K., Khamnoi, P., Pata, S., Kasinrerk, W. and Tragoolpua, K. (2016). Novel potential diagnostic test for Mycobacterium tuberculosis complex using combined immunomagnetic separation (IMS) and PCR-CTPP. Journal of Applied Microbiology, 121(2), 528-538. Isaka, M., Chinthanom, P., Sappan†, M., Danwisetkanjana†, K., Boonpratuang†, T. and Choeyklin, R. (2015). Antitubercular Lanostane Triterpenes from Cultures of the Basidiomycete Ganoderma sp. BCC 16642. Journal of Natural Products, 79(1), 161-169. Isaka, M., Palasarn, S., Sappan, M., Supothina, S. and Boonpratuang, T. (2016). Hirsutane Sesquiterpenes from Cultures of the Basidiomycete Marasmiellus sp. BCC 22389. Natural Products and Bioprospecting, 6(5), 257-260. Isaka, M., Palasarn, S., Srikitikulchai, P., Vichai, V. and Komwijit, S. (2016). Astraeusins A–L, lanostane triterpenoids from the edible mushroom Astraeus odoratus. Tetrahedron, 72(23), 3288-3295. Isaka, M., Palasarn, S., Supothina, S., Srichomthong, K. and Choeyklin, R. (2016). Seco-Tremulanes from Cultures of the Basidiomycete Flavodon flavus BCC 17421. Helvetica Chimica Acta, 99(3), 232–236. Jaree, P., Senapin, S., Hirono, I., Lo, C.F., Tassanakajon, A. and Somboonwiwat, K. (2016). WSV399, a viral tegument protein, interacts with the shrimp protein PmVRP15 to facilitate viral trafficking and assembly. Developmental and Comparative Immunology, 59, 177–185. Jayasiri, S.C., Hyde, K.D., Ariyawansa, H.A., Bhat, J., Buyck, B., Cai, L., Dai, Y.C., Abd-Elsalam, K.A., Ertz, D., Hidayat, I., Jeewon, R., Jones, E.B.G., Bahkali, A.H., Karunarathna, S.C., Liu, J.K., Luangsa-ard, J.J., Lumbsch, H.T., Maharachchikumbura, S.S.N., McKenzie, E.H.C., Moncalvo, J.M., Ghobad-Nejhad, M., Nilsson, H., Pang, K.L., Pereira, O.L., Phillips, A.J.L., Raspé, O., Rollins, A.W., Romero, A.I., Etayo, J., Selçuk, F., Stephenson, S.L., Suetrong, S., Taylor, J.E., Tsui, C.K.M., Vizzini, A., Abdel-Wahab, M.A., Wen, T.C., Boonmee, S., Dai, D.Q., Daranagama, D.A., Dissanayake, A.J., Ekanayaka, A.H., Fryar, S. C., Hongsanan, S., Jayawardena, R.S., Li, W.J., Perera, R.H., Phookamsak, R., Silva, Nimali, I. D., Thambugala, K.M., Tian, Q., Wijayawardene, N.N., Zhao, R.L., Zhao, Q., Kang, J.C. and Promputtha, I. (2015). The Faces of Fungi database: fungal names linked with morphology, phylogeny and human impacts. Fungal Diversity, 74(1), 3-18. Jiang, L,. Changsom, D., Lerdsamran, H., Wiriyarat, W., Masamae, W., Noisumdaeng, P., Jongkaewwattana, A. and Puthavathana, P. (2016). Immunobiological properties of influenza A (H7N9) hemagglutinin and neuraminidase proteins. Archives of Virology, 161(10), 2693–2704. Jiang, L., Changsom, D., Lerdsamran, H., Masamae, W., Jongkaewwattana, A., Iamsirithaworn, S., Oota, S., Louisirirotchanakul, S., Auewarakul, P. and Puthavathana, P. (2016). Cross-reactive antibodies against H7N9 and H5N1 avian influenza viruses in Thai population. Asian Pacific Journal of Allergy and Immunology, 35(1), 20-26. Jie Li, G., Hyde, K. D., Zhao, R. L., Hongsanan, S., Abdel-Aziz, F.A., Abdel-Wahab, M.A., Alvarado, P., Alves-Silva, G., Ammirati, J.F., Ariyawansa, H. A., Baghela, A., Bahkali, A. H., Beug, M., Bhat, D. J., Bojantchev, D., Boonpratuang,T., Bulgakov, T.S., Camporesi, E., Boro, M.C., Ceska, O., Chakraborty, D., Chen, J.J., Chethana, K. W.T., Chomnunti, P., Consiglio, G., Cui, B.K., Dai, D.Q., Dai, Y. C., Daranagama, D. A., Das, K., Dayarathne, M.C., Crop, E.D., De Oliveira, R.J.V., de Souza, C.A.F., de Souza, J.I., Dentinger, B.T. M., Dissanayake, A.J., Doilom, M., Drechsler-Santos, E. R., Ghobad-Nejhad, M., Gilmore, S.P., Góes-Neto, A., Gorczak, M., Haitjema, C.H., Hapuarachchi, K. K., Hashimoto, A., He, M.Q., Henske, J.K., Hirayama, K., Iribarren, M.J., Jayasiri, S.C., Jayawardena, R. S., Jeon, S.J., Jerônimo, G.H., Jesus, A.L., Jones, E. B. G., Kang, J.C., Karunarathna, S.C., Kirk, P. M., Konta, S., Kuhnert, E., Langer, E., Lee, H.S., Lee, H.B., Li, W.J., Li, X.H., Liimatainen, K., Lima, D. X., Lin, C.G., Liu, J.K., Liu, X.Z., Liu, Z,Y., Luangsa-ard, J.J., Lücking, R., Lumbsch, H. T., Lumyong, S., Leaño, E. M., Marano, A. V., Matsumura, M., McKenzie, E.H.C., Mongkolsamrit, S., Mortimer, P.E., Nguyen, T. T. T., Niskanen, T., Norphanphoun, C., O’Malley, M.A., Parnmen, S., Pawłowska, J., Perera, R. H., Phookamsak, R., Phukhamsakda, C., Pires-Zottarelli, C. L. A., Raspé, O., Reck, M.A., Rocha, S. C. O., de Santiago, A.L.C.M. A., Senanayake, I.C., Setti, L., Shang, Q.J., Singh, S.K., Sir, E.B., Solomon, K.V., Song, J., Srikitikulchai, P., Stadler, M., Suetrong, S., Takahashi, H., Takahashi, T., Tanaka, K., Tang, L. P., Thambugala, K.M., Thanakitpipattana, D., Theodorou, M.K., Thongbai, B., Thummarukcharoen, T., Tian, Q., Tibpromma, S., Verbeken, A., Vizzini, A., Vlasák, J., Voigt, K., Wanasinghe, D.N., Wang, Y., Weerakoon, G., Wen, H.A., Wen, T.C., Wijayawardene, N.N., Wongkanoun, S., Wrzosek, M., Xiao, Y.P., Xu, J.C., Yan, J. Y., Yang, J., Yang, S.D., Hu, Y., Zhang, J.F., Zhao, J., Zhou, L.W., Peršoh, D., Phillips, A.J. L. and Maharachchikumbura, S.S. N. (2016). Fungal diversity notes 253–366: taxonomic and phylogenetic contributions to fungal taxa. Fungal Diversity, 78(1), 1–237. Jirakanwisal, K., Srisutthisamphan, K., Thepparit, C., Suptawiwat, O., Auewarakul, P., Paemanee, A., Roytrakul, S. and Smith, D.R. (2015). Identification of Hsp90 as a species independent H5N1 avian influenza A virus PB2 interacting protein. Comparative Immunology Microbiology and Infectious Diseases, 43, 28-35. Jitoboam, K., Phaonakrop, N., Libsittikul, S., Thepparit, C., Roytrakul, S. and Smith, D.R. (2016). Actin interacts with Dengue Virus 2 and 4 Envelope Proteins. PLOS one, 11(3), e0151951. Jitrakorn, S., Arunrut, N., Sanguanrut, P., Flegel, T.W., Kiatpathomchai, W. and Saksmerprome, V. (2016). In situ DIG-labeling, loop-mediated DNA Amplification (ISDL) for highly sensitive detection of infectious hypodermal and hematopoietic necrosis virus (IHHNV). Aquaculture, 456, 36-43.

7/22/2560 BE 5:44 PM


59

รายงานประจ�ำปี 2559

64.

65.

66.

67.

68.

69.

70.

71.

72.

73.

74.

75.

76.

77.

78.

79.

80.

81.

82.

83.

AW 10-64.indb 59

Jitwasinkul, T., Suriyaphol, P., Tangphatsornruang, S., Hansen, M.A., Hansen, L.H., Sørensen, S.J., Permpikul, C., Rongrungruang, Y. and Tribuddharat, C. (2016). Plasmid metagenomics reveals multiple antibiotic resistance gene classes among the gut microbiomes of hospitalised patients. Journal of Global Antimicrobial Resistance, 6, 57-66. Kamprom, W., Kheolamai, P., U-Pratya, Y., Supokawej, A., Wattanapanitch, M., Laowtammathron, C., Roytrakul, S. and Issaragrisil, S. (2016). Endothelial Progenitor Cell Migration-Enhancing Factors in the Secretome of Placental-Derived Mesenchymal Stem Cells. 2016(2016), Stem Cells International , 2514326. Kanokratana, P., Mhuanthong, W., Laothanachareon, T., Tangphatsornruang, S., Eurwilaichitr, L., Kruetreepradit, T., Mayes, S. and Champreda, V. (2016). Comparative Study of Bacterial Communities in Nepenthes Pitchers and Their Correlation to Species and Fluid Acidity. Microbial Ecology, 72(2), 381–393. Kawasaki, T., Narulita, E., Matsunami, M., Ishikawa, H., Shimizu, M., Fujie, M., Bhunchoth, A., Phironrit, N., Chatchawankanphanich, O. and Yamada, T. (2016). Genomic diversity of large-plaque-forming podoviruses infecting the phytopathogen Ralstonia solanacearum. Virology, 492, 73–81. Ketloy, C., Keelapang, P., Prompetchara, E., Suphatrakul, A., Puttikhunt, C., Kasinrerk, W., Konishi, E., Sittisombut, N. and Ruxrungtham, K. (2016). Strategies to improve the immunogenicity of prM+E dengue virus type-2 DNA vaccine. Asian Pacific Journal of Allergy and Immunology, 35(1), 11-19. Khemkhaoa, M., Techkarnjanarukb, S. and Phalakornkule, C. (2016). Effect of chitosan on reactor performance and population of specific methanogens in a modified CSTR treating raw POME. Biomass and Bioenergy, 86, 11-20. Khungwanmaythawee, K., Sornjai, W., Paemanee, A., Jaratsittisin, J., Fucharoen, S., Svasti, S., Lithanatudom, P., Roytrakul, S. and Smith, D.R. (2016). Mitochondrial changes in β0-Thalassemia/Hb E Disease. PLOS one, 11(4), e0153831. Khunnamwong, P., Lertwattanasakul, N., Jindamorakot, S., Limtong, S. and Lachance, M.A. (2016). Description of Diutina gen. nov., Diutina siamensis, f.a. sp. nov., and reassignment of Candida catenulata, Candida mesorugosa, Candida neorugosa, Candida pseudorugosa, Candida ranongensis, Candida rugosa and Candida scorzettiae to the genus Diutina. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 65, 4701-4709. Kitidee, K., Khamaikawin, W., Thongkum, W., Tawon, Y., Cressey, T.R., Jevprasesphant, R., Kasinrerk, W. and Tayapiwatana, C. (2016). Expedient screening for HIV-1 protease inhibitors using a simplified immunochromatographic assay. Journal of Chromatography B: Analytical Technologies in the Biomedical and Life Sciences , 1021, 153-158. Kittipongpittaya, K., Panya, A. and Decker, E.A. (2016). Role of Water and Selected Minor Components on Association Colloid Formation and Lipid Oxidation in Bulk Oil. Journal of the American Oil Chemists Society, 93(1), 83-91. Kittipongpittaya, K., Panya, A., Phonsatta, N. and Decker, E.A. (2016). Effects of Environmental pH on Antioxidant Interactions between Rosmarinic Acid and α-Tocopherol in Oil-in-Water (O/W) Emulsions. Journal of Agricultural and Food Chemistry, 64, 6575-83. Klaiklay, S., Rukachaisirikul, V., Aungphao, W., Phongpaichit, S. and Sakayaroj, J. (2016). Depsidone and phthalide derivatives from the soil-derived fungus Aspergillus unguis PSU-RSPG199. Tetrahedron Letters, 57(39), 4348–4351. Klykleung, K., Tanasupawat, S., Pittayakhajonwut, P., Ohkuma, M. and Kudo, T. (2015). Amycolatopsis stemonae sp. nov., isolated from Thai medicinal plant. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 65, 3894-3899. Klykleung, N., Phongsopitanun, W., Pittayakhajonwut, P., Ohkuma, M., Kudo, T. and Tanasupawat, S. (2016). Streptomyces phyllanthi sp. nov., isolated from the stem of Phyllanthus amarus. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 66(10), 3923-3928. Komiya, S., Noborio, K., Katano, K., Pakoktom, T., Siangliw, M. and Toojinda, T. (2015). Contribution of Ebullition to Methane and Carbon Dioxide Emission from Water between Plant Rows in a Tropical Rice Paddy Field. International Scholarly Research Notices, 2015(2015), article ID 623901. Korinsak, S., Siangliw, M., Kotcharerk, J., Jairin, J., Siangliw, J.L., Jongdee, B., Pantuwan, G., Sidthiwong, N. and Toojinda, T. (2016). Improvement of the submergence tolerance and the brown planthopper resistance of the Thai jasmine rice cultivar KDML105 by pyramiding Sub1 and Qbph12. Field Crops Research, 188, 105-112. Kornsakulkarn, J., Saepua, S., Laksanacharoen, P., Rachtawee, P. and Thongpanchang, C. (2016). Chaetone G, a new dibenzo[b,e]oxepinone from the insect pathogenic fungus Aschersonia luteola BCC 31749. Tetrahedron Letters, 57(3), 305–307. Kornsakulkarn, J., Somyong, W., Supothina, S., Boonyuen, N. and Thongpanchang, C. (2016). Bioactive oxygen-bridged cyclooctadienes from endophytic fungus Phomopsis sp. BCC 45011. Tetrahedron, 71(48), 9112-9116. Kotawong, K., Thitapakorn, V., Roytrakul, S., Phaonakrop, N., Viyanant, V. and Na-Bangchang, K. (2016). Plasma Peptidome as a Source of Biomarkers for Diagnosis of Cholangiocarcinoma. Asian Pacific Journal of Cancer Prevention, 17(3), 1163-1168. Kumvongpin, R., Jearanaikool, P., Wilailuckana, C., Sae-Ung, N., Prasongdee, P., Daduang, S., Wongsena, M., Boonsiri, P., Kiatpathomchai, W., Swangvaree, S.S., Sandee, A. and Daduang. J. (2016). High sensitivity, loop-mediated isothermal amplification combined with colorimetric gold-nanoparticle probes for visual detection of high risk human papillomavirus genotypes 16 and 18. Journal of Virological Methods, 234, 90-95.

84.

85.

86.

87.

88. 89.

90.

91.

92. 93.

94.

95.

96.

97.

98.

99.

100.

101.

102.

Kunthic, T., Surya, W., Promdonkoy, B., Torres, J. and Boonserm, P. (2016). Conditions for homogeneous preparation of stable monomeric and oligomeric forms of activated Vip3A toxin from Bacillus thuringiensis. European Biophysics Journal, 46(3), 257-264. Laosatit, K., Tanya, P., Somta, P., Ruang-areerate, P., Sonthirod, C., Tangphatsornruang, S., Juntawong, P. and Srinives, P. (2016). De novo transcriptome Analysis of Apical Meristem of Jatropha spp. Using 454 Pyrosequencing Platform, and Identification of SNP and EST-SSR Markers. Plant Molecular Biology Reporter, 34(4), 786-793. Leela, S.L., Srisawat, C., Sreekanth, G.P., Noisakran, S., Yenchitsomanus, P.T. and, Limjindaporn, T. (2016). Drug repurposing of minocycline against dengue virus infection. Biochemical and Biophysical Research Communications, 478(1), 410–416. Lourens, A.C.U.,Gravestock, D., van Zyl, R.L., Hoppe, H.C., Kolesnikova, N., Taweechai, S., Yuthavong, Y., Kamchonwongpaisan, S. and Rousseau, A.L. (2016). Design, synthesis and biological evaluation of 6-aryl-1,6-dihydro-1,3,5-triazine-2,4-diamines as antiplasmodial antifolates. Organic and Biomolecular Chemistry, 14, 7899–7911. Magwamba, C.C., Rukseree, K. and Palittapongarnpim, P. (2016). Cloning, expression and characterization of histidine-tagged biotin synthase of Mycobacterium tuberculosis. Tuberculosis, 98, 42–49. Maha, A., Rukachaisirikul, V., Phongpaichit, S., Poonsuwan, W. and Sakayaroj, J. (2016). Dimeric chromanone, cyclohexenone and benzamide derivatives from the endophytic fungus Xylaria sp. PSU-H182. Tetrahedron, 72(22), 2874–2879. Maha, A., Rukachaisirikul, V., Saithong, S., Phongpaichit, S., Poonsuwan, W., Sakayaroj, J., Saparpakorn, P. and Hannongbua, S. (2016). Terezine derivatives from the fungus Phoma herbarum PSU-H256. Phytochemistry, 122, 223–229. Maharachchikumbura, S.S.N., Hyde, K.D., Jones, E.B.G., McKenzie, E.H.C., Bhat, J.D., Dayarathne, M.C., Huang, S-K., Norphanphoun, C., Senanayake, I.C., Perera, R.H., Shang, Q-J., Xiao, Y., D’souza, M.J., Hongsanan, S., Jayawardena, R.S., Daranagama, D.A., Konta, S., Goonasekara, I.D., Zhuang, W-Y., Jeewon, R., Phillips, A.J.L., Abdel-Wahab, M.A., Al-Sadi, A.M., Bahkali, A.H., Boonmee, S., Boonyuen, N., Cheewangkoon, R., Dissanayake, A.J., Kang, J., Li, Q-R., Liu, J.K., Liu, X., Z., Liu, Z-Y., Luangsa-ard, J.J., Pang, K-L., Phookamsak, R., Promputtha, I., Suetrong, S., Stadler, M., Wen, T. and Wijayawardene, N.N. (2016). Families of Sordariomycetes. Fungal Diversity, 79(1), 1-317. McConkey, K.R., Brockelman, W.Y., Saralamba, C. and Nathalang, A. (2015). Effectiveness of primate seed dispersers for an "oversized" fruit, Garcinia benthamii. Ecology, 96(10), 2737-2747. Meunchan, M., Uawonggul, N., Incamnoi, P., Sukprasert, S., Rungsa, P., Somdee, T., Roytrakul, S., Thammasirirak, S. and Daduang, S. (2016). Identification of Bioactive Molecules from Thai Centipede, Scolopendra subspinipes dehaani, Venom. Chiang Mai Journal of Science, 43(1), 1-10. Mihara, T., Nasr-Eldinb, M.A., Chatchawankanphanich, O., Bhunchoth, A., Phironrit, N., Kawasaki, T., Nakano, M., Fujie, M., Ogata, H. and Yamada, T. (2016). A Ralstonia solanacearum phage ϕRP15 is closely related to Viunalikeviruses and encodes 19 tRNA-related sequences. Virology Reports, 6, 61–73. Mitupatum, T., Aree, K., Kittisenachai, S., Roytrakul, S., Puthong, S., Kangsadalampai, S. and Rojpibulstit, P. (2016). mRNA Expression of Bax, Bcl-2, p53, Cathepsin B, Caspase-3 and Caspase-9 in the HepG2 Cell Line Following Induction by a Novel Monoclonal Ab Hep88 mAb: Cross-Talk for Paraptosis and Apoptosis. Asian Pacific Journal of Cancer Prevention, 17(2), 703-712. Mongkolsamrit, S., Thanakitpipattana, D., Khonsanit, A., Promharn, R. and Luangsa-ard, J.J. (2016). Conoideocrella krungchingensis sp. nov., an entomopathogenic fungus from Thailand. Mycoscience, 57(4), 264–270. Montha, S., Suwandittakul, P., Poonsrisawat, A., Oungeun, P. and Kongkaew, C. (2016). Maillard Reaction in Natural Rubber Latex: Characterization and Physical Properties of Solid Natural Rubber. Advances in Materials Science and Engineering, 2016(2016), article ID 7807524. Monwan, W., Amparyup, P. and Tassanakajon, A. (2016). A snake-like serine proteinase (PmSnake) activates prophenoloxidase-activating system in black tiger shrimp Penaeus monodon. Developmental and Comparative Immunology, 67, 229-238. Moreno-Cencerrado, A., Tharad, S., Iturri, J., Promdonkoy, B., Krittanai, C. and Toca-Herrera, J.L. (2016). Time influence on the interaction between Cyt2Aa2 and lipid/cholesterol bilayers. Microscopy Research and Technique, 79(11), 1017-1023. Mtunguja, M.K., Thitisaksakul, M., Muzanila, Y.C., Wansuksri, R., Piyachomkwan, K., Laswai, H.S., Chen, G., Shoemaker, C.F., Sinha, N. and Beckles, D.M. (2016). Assessing variation in physicochemical, structural and functional properties of root starches from novel Tanzanian cassava (Manihot esculenta Crantz.) landraces. Starch/Stärke, 68(5-6), 514 –527. Naconsie, M., Lertpanyasampatha, M., Viboonjun, U., Netrphan, S., Kuwano, M., Ogasawara, N. and Narangajavana, J. (2016). Cassava root membrane proteome reveals activities during storage root maturation. Journal of Plant Research, 129(1), 51-65. Nawattanapaiboon, K., Prombun, P., Santanirand, P., Vongsakulyanon, A., Srikhirin, T., Sutapun, B. and Kiatpathomchai, W. (2016). Hemoculture and direct sputum detection of mecA-Mediated methicillin-resistant Staphylococcus aureus by loop-mediated isothermal amplification in combination with a lateral-flow dipstick. Journal of Clinical Laboratory Analysis, 30(5), 760-767.

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

60 103. Ngaemthao, W., Chunhametha, S. and Suriyachadkun, C. (2016). Actinoplanes subglobosus sp. nov., isolated from mixed deciduous forest soil. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 66(3), 1377-1382. 104. Niemhom, N., Chutrakul, C., Suriyachadkun, C. and Thawai, C. (2016). Asanoa endophytica sp. nov., an endophytic actinomycete isolated from the rhizome of Boesenbergia rotunda. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 66, 1377-1382. 105. Niemhom, N., Chutrakul, C., Suriyachadkun, C. and Thawai, C. (2016). Phytohabitans kaempferiae sp. nov., an endophytic actinomycete isolated from the leaf of Kaempferia larsenii. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 66, 2917-22. 106. Niyompanich, S., Srisanga, K., Jaresitthikunchai, J., Roytrakul, S. and Tungpradabkul, S. (2015). Utilization of Whole-Cell MALDI-TOF Mass Spectrometry to Differentiate Burkholderia pseudomallei Wild-Type and Constructed Mutants. PLOS one, 10(12), e0144128. 107. Nounjan, N., Siangliw, J.L., Toojinda, T., Chadchawan, S. and Theerakulpisut, P. (2016). Salt-responsive mechanisms in chromosome segment substitution lines of rice (Oryza sativa L. cv. KDML105). Plant Physiology and Biochemistry, 103, 96–105. 108. Pakdeepak, K., Pata, S., Chiampanichayakul, S., Kasinrerk, W. and Tatu, T. (2016). Production and characterization of monoclonal antibodies against α-globin chain-containing human hemoglobins for detecting α-thalassemia disease. Journal of Immunoassay and Immunochemistry, 37(6), 564-571. 109. Panyakampol, J., Cheevadhanarak, S., Senachak, J., Dulsawat, S., Siangdung, W., Tanticharoen, M. and Paithoonrangsarid, K. (2016). Different effects of the combined stress of nitrogen depletion and high temperature than an individual stress on the synthesis of biochemical compounds in Arthrospira platensis C1 (PCC 9438). Journal of Applied Phycology, 28(4), 2177–2186. 110. Parnmen, S., Sikaphan, S., Leudang, S., Boonpratuang, T., Rangsiruji, A. and Naksuwankul, K. (2016). Molecular identification of poisonous mushrooms using nuclear ITS region and peptide toxins: a retrospective study on fatal cases in Thailand. The Journal of Toxicological Sciences, 41(1), 65-76. 111. Pechsrichuang, P., Songsiriritthigul, C., Haltrich, D., Roytrakul, S., Namvijtr, P., Bonaparte, N. and Yamabhai, M. (2016). OmpA signal peptide leads to heterogenous secretion of B. subtilis chitosanase enzyme from E. coli expression system. SpringerPlus, 5, 1200. 112. Peepim, T., Dong, H.T., Senapin, S., Khunrae, P. and Rattanarojpong, T. (2016). Epr3 is a conserved immunogenic protein among Aeromonas species and able to induce antibody response in Nile tilapia. Aquaculture, 464, 399–409. 113. Peepim, T., Phiwsaiya, K., Charoensapsri, W., Khunrae, P., Senapin, S. and Rattanarojpong, T. (2016). Knockdown of Litopenaeus vannamei HtrA2, an up-regulated gene in response to WSSV infection, leading to delayed shrimp mortality. Journal of Biotechnology, 219, 48–56. 114. Phainuphong†, P., Rukachaisirikul, V., Saithong†, S., Phongpaichit, S., Bowornwiriyapan, K., Muanprasat, C., Srimaroeng, C., Duangjai, A. and Sakayaroj, J. (2016). Lovastatin Analogues from the Soil-Derived Fungus Aspergillus sclerotiorum PSU-RSPG178. Journal of Natural Products, 79(6), 1500–1507. 115. Phairoh, P., Suthibatpong, T., Rattanarojpong, T., Jongruja, N., Senapin, S., Choowongkomon, K. and Khunrae, P. (2016). ICP35 Is a TREX-Like Protein Identified in White Spot Syndrome Virus. PLOS one, 11(6), e0158301. 116. Phattanawiboon, B., Jariyapan, N., Mano, C., Roytrakul, S., Paemanee, A., Sor-Suwan, S., Sriwichai, P., Saeung, A. and Bates, P.A. (2016). Salivary Gland Proteome during Adult Development and after Blood Feeding of Female Anopheles dissidens Mosquitoes (Diptera: Culicidae). PLOS one, 11(9), e0163810. 117. Phongsopitanun, W., Kudo, T., Mori, M., Shiomi, K., Pittayakhajonwut, P., Suwanborirux, K. and Tanasupawat, S. (2015). Micromonospora fluostatini sp. nov., isolated from marine sediment. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 65, 4417-4423. 118. Phongsopitanun, W., Kudo, T., Ohkuma, M., Pittayakhajonwut, P., Suwanborirux, K. and Tanasupawat, S. (2016). Micromonospora sediminis sp. nov., isolated from mangrove sediment. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 66(8), 3235-3240. 119. Phongsopitanun, W., Kudo, T., Ohkuma, M., Pittayakhajonwut, P., Suwanborirux, K. and Tanasupawat, S. (2016). Streptomyces verrucosisporus sp. nov., isolated from marine sediments. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 66(9), 3607-3613. 120. Pinthong, W., Muangruen, P., Suriyaphol, P. and Mairiang, D. (2016). A simple grid implementation with Berkeley Open Infrastructure for Network Computing using BLAST as a model. PeerJ, 4, e2248. 121. Pitiwittayakul, N., Theeragool, G., Yukphan, P., Chaipitakchonlatarn, W., Malimas, T., Muramatsu, Y., Tanasupawat, S., Nakagawa, Y. and Yamada, Y. (2016). Acetobacter suratthanensis sp. nov., an acetic acid bacterium isolated in Thailand. Annals of Microbiology, 66(3), 1157–1166. 122. Pongthaisong, P., Katawatin, S., Thamrongyoswittayakul, C. and Roytrakul, S. (2016). Milk protein profiles in response to Streptococcus agalactiae subclinical mastitis in dairy cows. Animal Science Journal, 87(1), 92–98 123. Poonsin, T., Sripokar, P., Benjakul, S., Simpson, B. K., Visessanguan, W. and Klomklao, S. (2016). Major trypsin like-serine proteinases from albacore tuna (Thunnus alalunga) spleen: Biochemical characterization and the effect of extraction media. Journal of Food Biochemistry, 41(2), e12323.

AW 10-64.indb 60

124. Poonsrisawat, A., Wanlapatit, S., Wansuksri, R., Piyachomkwan, K., Paemanee, A., Gamolpilas, C., Eurwilaichitr, L. and Champreda, V. (2016). Synergistic effects of cell wall degrading enzymes on rheology of cassava root mash. Process Biochemistry, 51(12), 2104-2111. 125. Pornthanakasem, W., Riangrungroj, P., Chitnumsub, P., Ittarat, W., Kongkasuriyachai, D., Uthaipibull, C., Yuthavong, Y. and Leartsakulpanich, U. (2016). Role of Plasmodium vivax Dihydropteroate Synthase Polymorphisms in Sulfa Drug Resistance. Antimicrobial Agents and Chemotherapy, 60(8), 4453-4463. 126. Porntip, P., Watchara, K., Chatchai, T., Phisit, S. and Bordin, B. (2016). Multiparameter optimization method and enhanced production of secreted recombinant single-chain variable fragment against the HIV-1 P17 protein from Escherichia coli by fed-batch fermentation. Preparative Biochemistry and Biotechnology, 46 (3), 305-312. 127. Prachantasena, S., Charununtakorn, P., Muangnoicharoen, S., Hankla, L., Techawal, N., Chaveerach, P., Tuitemwong, P., Chokesajjawatee, N., Williams, N., Humphrey, T. and Luangtongkum, T. (2016). Distribution and Genetic Profiles of Campylobacter in Commercial Broiler Production from Breeder to Slaughter in Thailand. PLOS one, 11(2), e0149585. 128. Prachayakul, V., Thearavathanasingha, P., Thuwajit, C., Roytrakul, S., Jaresitthikunchai, J. and Thuwajit, P. (2016). Plasma Lipidomics as a Tool for Diagnosis of Extrahepatic Cholangiocarcinoma in Biliary Strictures: a Pilot Study. Asian Pacific Journal of Cancer Prevention, 17(8), 4155-4162. 129. Pradeep, P.J., Suebsing, R., Sirithammajak, S., Kampeera, J., Turner, W., Jeffs, A., Kiatpathomchai, W. and Withyachumanarnkul, B. (2016). Vertical transmission and concurrent infection of multiple bacterial pathogens in naturally infected red tilapia (Oreochromis spp.). Aquaculture Research, 48(6), 2706-2717. 130. Pradeep, P.J., Suebsing, R., Sirthammajak, S., Kampeera, J., Jitrakorn, S., Saksmerprome, V., Turner, W., Palang, I., Vanichviriyakit, R., Senapin, S., Jeffs, A., Kiatpathomchai, W. and Withyachumanarnkul, B. (2016). Evidence of vertical transmission and tissue tropism of Streptococcosis from naturally infected red tilapia (Oreochromis spp.). Aquaculture Reports, 3, 58-66. 131. Prasertsee,T., Khantaprab, N., Yamsakul, P., Santiyanont, P., Chokesajjawatee, N. and Patchanee, P. (2016). Repetitive sequence-based PCR fingerprinting and the relationship of antimicrobial-resistance characteristics and corresponding genes among Salmonella strains from pig production. Asian Pacific Journal of Tropical Disease, 6(5), 390–395. 132. Prathumpai, W. and Rachtawee, P. (2016). Relationship between Morphology and Docosahexaenoic Acid Production by Schizochytrium sp. BCC 25505 and 25509 in Batch and Pulsed-Batch Cultivation. Journal of Pure and Applied Microbiology, 10(3), 1809-1816. 133. Prathumpai, W., Rachtawee, P. and Isaka, M. (2016). Optimization of medium for ascochlorin production by the leafhopper pathogenic fungus Microcera sp. BCC 17074. Journal of Pure and Applied Microbiology, 10(3), 1715-1725. 134. Prathumpai, W., Rachtawee, P. and Khajeeram, S. (2015). Potential of fungal exopolysaccharide as novel source for prebiotic supplement to broiler chicken diet. Indian Journal of Animal Sciences, 85(12), 1362–1369. 135. Promchai, R., Promdonkoy, B., Tanapongpipat, S., Visessanguan, W., Eurwilaichitr, L. and Luxananil, P. (2016). A novel salt-inducible vector for efficient expression and secretion of heterologous proteins in Bacillus subtilis. Journal of Biotechnology, 222, 86–93. 136. Promchai, T., Jaidee, A., Cheenpracha, S., Trisuwan, K., Rattanajak, R., Kamchonwongpaisan, S., Laphookhieo, S., Pyne, S.G. and Ritthiwigrom, T. (2016). Antimalarial Oxoprotoberberine Alkaloids from the Leaves of Miliusa cuneata. Journal of Natural Products, 79(4), 978–983. 137. Pungrasmi, W., Phinitthanaphak, P. and Powtongsook, S. (2016). Nitrogen removal from a recirculating aquaculture system using a pumice bottom substrate nitrification-denitrification tank. Ecological Engineering, 95, 357–363. 138. Raethong, N., Wong-ekkabut, J., Laoteng, K. and Vongsangnak, W. (2016). Sequence- and Structure-Based Functional Annotation and Assessment of Metabolic Transporters in Aspergillus oryzae: A Representative Case Study. BioMed Research International, article ID 8124636. 139. Raita, M., Ibenegbu, C., Champreda, V. and Leak, D.J. (2016). Production of ethanol by thermophilic oligosaccharide utilising Geobacillus thermoglucosidasius TM242 using palm kernel cake as a renewable feedstock. Biomass and Bioenergy, 95, 45–54. 140. Roongsattham, P., Morcillo, F., Fooyontphanich, K., Jantasuriyarat, C., Tragoonrung, S., Amblard, P., Collin, M., Mouille, G., Verdeil, J-L. and Tranbarger, T.J. (2016). Cellular and Pectin Dynamics during Abscission Zone Development and Ripe Fruit Abscission of the Monocot Oil Palm. Frontiers in Plant Science, 7, 540. 141. Roongsawang, N., Puseenam, A., Kitikhun, S., Sae-Tang, K., Harnpicharnchai, P., Ohashi, T., Fujiyama, K., Tirasophon, W. and Tanapongpipat, S. (2016). A Novel Potential Signal Peptide Sequence and Overexpression of ER-Resident Chaperones Enhance Heterologous Protein Secretion in Thermotolerant Methylotrophic Yeast Ogataea thermomethanolica. Applied Biochemistry and Biotechnology, 178(4), 710-724.

7/22/2560 BE 5:44 PM


61

รายงานประจ�ำปี 2559

142. Rossman, A.Y., Crous, P.W., Hyde, K.D., Hawksworth, D.L., Aptroot, A., Bezerra, J.L., Bhat, J.D., Boehm, E., Braun, U., Boonmee, S., Camporesi, E., Chomnunti, P., Dai, D-Q., D’souza, M.J., Dissanayake, A., Jones, E.B.G., Groenewald, J.Z., Hernández-Restrepo, M., Hongsanan, S., Jaklitsch, W.M., Jayawardena, R., Jing, L.W., Kirk, P.M., Lawrey, J.D., Mapook, A., McKenzie, E.H.C., Monkai, J., Phillips, A.J.L., Phookamsak, R., Raja, H.A., Seifert, K.A., Senanayake, I., Slippers, B., Suetrong, S., Tanaka, K., Taylor, J.E., Thambugala, K.M., Tian, Q., Tibpromma, S., Wanasinghe, D.N., Wijayawardene, N.N., Wikee, S., Woudenberg, J.H.C., Wu, H-X., Yan, J., Yang, T. and Zhang, Y. (2015). Recommended names for pleomorphic genera in Dothideomycetes. IMA Fungus, 6(2), 507–523. 143. Rotthong, M., Chiemchaisri, W., Tapaneeyaworawong, P. and Powtongsook, S. (2015). Digestion of settleable solids from recirculating fish tank as nutrients source for the microalga scenedesmus sp. cultivation. Environmental Engineering Research, 20(4), 377-382. 144. Ruangrung, K., Suptawiwat, O., Maneechotesuwan, K., Boonarkart, C., Chakritbudsabong, W., Assawabhumi, J., Bhattarakosol, P., Uiprasertkul, M., Puthavathana, P., Wiriyarat, W., Jongkaewwattana, A. and Auewarakul, P. (2016). Neuraminidase Activity and The Resistance of 2009 Pandemic H1N1 Influenza Virus to Antiviral Activity in Bronchoalveolar Fluid. Journal of Virology, 90(9), 4637-4646. 145. Ruchisansakun, S., Niet, T.V.D., Janssens, S.B., Triboun, P., Techaprasan, J., Jenjittikul, T. and Suksathan, P. (2015). Phylogenetic Analyses of Molecular Data and Reconstruction of Morphological Character Evolution in Asian Impatiens Section Semeiocardium (Balsaminaceae). Systematic Botany, 40(4), 1063-1074. 146. Rungrassamee, W., Klanchui, A., Maibunkaew, S. and Karoonuthaisiri, N. (2016). Bacterial dynamics in intestines of the black tiger shrimp and the Pacific white shrimp during Vibrio harveyi exposure. Journal of Invertebrate Pathology, 133, 12-19. 147. Rungsa, P., Incamnoi, P., Sukprasert, S., Uawonggul, N., Klaynongsruang, S., Daduang, J., Patramanon, R., Roytrakul, S. and Daduang, S. (2016). Comparative proteomic analysis of two wasps venom, Vespa tropica and Vespa affinis. Toxicon, 119, 159–167. 148. Sadorn, K., Saepua, S., Boonyuen, N., Laksanacharoen, P., Rachtawee, P., Prabpai, S., Kongsaeree, P. and Pittayakhajonwut, P. (2016). Allahabadolactones A and B from the endophytic fungus, Aspergillus allahabadii BCC45335. Tetrahedron, 72(4), 489–495. 149. Saelee, K., Yingkamhaeng, N., Nimchua, T. and Sukyai, P. (2016). An environmentally friendly xylanase-assisted pretreatment for cellulose nanofibrils isolation from sugarcane bagasse by high-pressure homogenization. Industrial Crops and Products, 82, 149-160. 150. Saensuk, C., Wanchana, S., Choowongkomon, K., Wongpornchai, S., Kraithong, T., Imsabai, W., Chaichoompu, E., Ruanjaichon, V., Toojinda, T., Vanavichit, A. and Arikit, S. (2016). De novo transcriptome assembly and identification of the gene conferring a “pandan-like” aroma in coconut (Cocos nucifera L.). Plant Science, 252, 324–334. 151. Saetang, J., Puseenam, A., Roongsawang, N., Voravuthikunchai, S.P., Sangkhathat, S. and Tipmanee, V. (2016). Immunologic Function and Molecular Insight of Recombinant Interleukin-18. PLOS one, 11(8), e0160321. 152. Saetang, P., Rukachaisirikul, V., Phongpaichit, S., Sakayaroj, J., Shi, X., Chen, J. and Shen, X. (2016). β-Resorcylic macrolide and octahydronaphthalene derivatives from a seagrass-derived fungus Fusarium sp. PSU-ES123. Tetrahedron, 72(41), 6421–6427. 153. Saitonuang, P., Promdonkoy, B. and Kubera, A. (2016). Alanine-162 of Bacillus thuringiensis Cyt2Aa2 toxin is essential for membrane binding and oligomerisation. Biocontrol Science and Technology, 26(7), 928-937. 154. Saleeart, A., Mongkorntanyatip, K., Sangsuriya, P., Senapin, S., Rattanarojpong, T. and Khunrae, P. (2016). The interaction between PmHtrA2 and PmIAP and its effect on the activity of Pm caspase. Fish and Shellfish Immunology, 55, 393–400. 155. Saleethong, P., Roytrakul, S., Kong-Ngern, K. and Theerakulpisut, P. (2016). Differential Proteins Expressed in Rice Leaves and Grains in Response to Salinity and Exogenous Spermidine Treatments. Rice Science, 23(1), 9-21. 156. Senapin, S., Dong, H.T., Meemetta, W., Siriphongphaew, A., Charoensapsri, W., Santimanawong, W., Turner, W.A., Rodkhum, C., Withyachumnarnkul, B. and Vanichviriyakit, R. (2016). Hahella chejuensis is the etiological agent of a novel red egg disease in tilapia (Oreochromis spp.) hatcheries in Thailand. Aquaculture, 454, 1-7. 157. Shaw, P.J., Chaotheing, S., Kaewprommal, P., Piriyapongsa, J., Wongsombat, C., Suwannakitti, N., Koonyosying, P., Uthaipibull, C., Yuthavong, Y. and Kamchonwongpaisan, S. (2015). Plasmodium parasites mount an arrest response to dihydroartemisinin, as revealed by whole transcriptome shotgun sequencing (RNA-seq) and microarray study. BMC Genomics, 16, 830. 158. Shaw, P.J., Kaewprommal, P., Piriyapongsa, J., Wongsombat, C., Yuthavong, Y. and Kamchonwongpaisan, S. (2016). Estimating mRNA lengths from Plasmodium falciparum genes by Virtual Northern RNA-seq analysis. International Journal for Parasitology, 46(1), 7–12. 159. Shearman, J.R., Sonthirod, C., Naktang, C., Pootakham, W., Yoocha, T., Sangsrakru, D., Jomchai, N., Tragoonrung, S. and Tangphatsornruang, S. (2016). The two chromosomes of the mitochondrial genome of a sugarcane cultivar: assembly and recombination analysis using long PacBio reads. Scientific Reports, 6, 31533. 160. Sloothaak, J., Tamayo-Ramos, J.A., Odoni, D.I., Laothanachareon, T., Derntl, C., Mach-Aigner, A.R., Martins dos Santos, V.A. P. and Schaap, P.J. (2016). Identification and functional characterization of novel xylose transporters from the cell factories Aspergillus niger and Trichoderma reesei. Biotechnology for Biofuels, 9, 148.

AW 10-64.indb 61

161. Smittipat, N., Juthayothin, T., Billamas, P., Jaitrong, S., Rukseree, K., Dokladda, K., Chaiyasirinroje, B., Disratthakit, A., Chaiprasert, A., Mahasirimongkol, S., Yanai, H., Yamada, N., Tokunaga, K. and Palittapongarnpim, P. (2016). Mutations in rrs, rpsL and gidB in streptomycin-resistant Mycobacterium tuberculosis isolates from Thailand. Journal of Global Antimicrobial Resistance, 4, 5–10. 162. Somchai, P., Jitrakorn, S., Thitamadee, S., Meetam, M. and Saksmerprome, V. (2016). Use of microalgae Chlamydomonas reinhardtii for production of double-stranded RNA against shrimp virus. Aquaculture Reports, 3, 178–183. 163. Somno, A., Anuchapreeda, S., Chruewkamlow, N., Pata, S., Kasinrerk, W. and Chiampanichayakul, S. (2016). Involvement of CD147 on multidrug resistance through the regulation of P-glycoprotein expression in K562/ ADR leukemic cell line. Leukemia Research Reports, 6, 33–38. 164. Somsak, V., Srichairatanakool, S. and Uthaipibull, C. (2016). Anti-hypoglycemic effect of aqueous leaf extract of Siamese neem tree (Azadirachta indica) in Plasmodium berghei infected mice. International Food Research Journal, 23(2), 885-888. 165. Somyong, S., Poopear, S., Sunner, S.K., Wanlayaporn, K., Jomchai, N., Yoocha, T., Ukoskit, K., Tangphatsornruang, S. and Tragoonrung, S. (2016). ACC oxidase and miRNA 159a, and their involvement in fresh fruit bunch yield (FFB) via sex ratio determination in oil palm. Molecular Genetics and Genomics, 291(3), 1243-1257. 166. Songsungthong, W., Koonyosying, P., Uthaipibull, C. and Kamchonwongpaisan, S. (2016). Inhibition of Glutathione Biosynthesis Sensitizes Plasmodium berghei to Antifolates. Antimicrobial Agents and Chemotherapy, 60(5), 1-10. 167. Soonthornchai, W., Chaiyapechara, S., Klinbunga, S., Thongda, W., Tangphatsornruang, S., Yoocha, T., Jarayabhand, P. and Jiravanichpaisal, P. (2016). Differentially expressed transcripts in stomach of Penaeus monodon in response to AHPND infection. Developmental and Comparative Immunology, 65, 53–63. 168. Sreekanth, G.P., Chuncharunee, A., Sirimontaporn, A., Panaampon, J., Noisakran, S., Yenchitsomanus, P. and Limjindaporn, T. (2016). SB203580 Modulates p38 MAPK Signaling and Dengue Virus-Induced Liver Injury by Reducing MAPKAPK2, HSP27, and ATF2 Phosphorylation. PLOS one, 11(2), e0149486. 169. Sri-indrasutdhi, V., Ueapattanakit, J. and Sommatas, A. (2015). Investigation of airborne fungi and their ability to grow on formalin-fixed human cadavers. Mycosphere, 6 (6), 729–736. 170. Sri-uam, P., Donnuea, S., Powtongsook, S. and Pavasant, P. (2016). Integrated Multi-Trophic Recirculating Aquaculture System for Nile Tilapia (Oreochlomis niloticus). Sustainability, 8(7), 592. 171. Sudchada, P., Chareanchim, W., Assawamakin, A., Thaipiya, P., Choochaimongkhol, W., Thiplui, N. and Sukmangsa, P. (2015). Influence of gender on ABCC2 expression in peripheral blood mononuclear cells. Genetics and Molecular Research, 14(4), 16704-16711. 172. Suebsing, R., Kampeera, J., Sirithammajak, S., Pradeep, P.J., Jitrakorn, S., Arunrut,N., Sangsuriya, P., Saksmerprome, V., Senapin, S., Withyachumnarnkul, B. and Kiatpathomchai, W. (2015). Shewanella putrefaciens in cultured tilapia detected by a new calcein-loopmediated isothermal amplification (Ca-LAMP) method. Diseases of Aquatic Organisms, 117(2), 133-143. 173. Suebsing, R., Pradeep, P.J., Jitrakorn, S., Sirithammajak, S., Kampeera, J.,Turner, W.A., Saksmerprome, V., Withyachumnarnkul, B. and Kiatpathomchai, W. (2016). Detection of natural infection of infectious spleen and kidney necrosis virus in farmed tilapia by hydroxynapthol blue-loop-mediated isothermal amplification assay. Journal of Applied Microbiology, 121(1), 55-67. 174. Suetrong, S., Klaysuban, A., Sakayaroj, J., Preedanon, S., Ruang-Areerate, P., Phongpaichit, S., Pang, K.L. and Jones, E.B.G. (2015). Tirisporellaceae, a New Family in the Order Diaporthales (Sordariomycetes, Ascomycota). Cryptogamie Mycologie, 36(3), 319-330. 175. Sunthornvarabhas, J., Liengprayoon, S., Aouf, C., Rungjang, W., Sangseethong, K., Lecomte, J., Suwonsichon, T., Boonreungrod, C., Dubreucq, E. and Fulcrand, H. (2016). Tara tannin as active ingredient in electrospun fibrous delivery system. Journal of Applied Polymer Science, 133(27), 43646. 176. Supong, K., Thawai, C., Choowong, W., Kittiwongwattana, C., Thanaboripat, D., Laosinwattana, C., Koohakan, P., Parinthawong, N. and Pittayakhajonwut, P. (2016). Antimicrobial compounds from endophytic Streptomyces sp. BCC72023 isolated from rice (Oryza sativa L.). Research in Microbiology, 167(4), 290–298. 177. Supong, K., Thawai, C., Supothina, S., Auncharoen, P. and Pittayakhajonwut, P. (2016). Antimicrobial and anti-oxidant activities of quinoline alkaloids from Pseudomonas aeruginosa BCC76810. Phytochemistry Letters, 17, 100–106. 178. Supungul, P., Jaree, P., Somboonwiwat, K., Junprung, W., Proespraiwong, P., Mavichak, R. and Tassanakajon, A. (2016). A potential application of shrimp antilipopolysaccharide factor in disease control in aquaculture. Aquaculture Research, 48(3), 809-821. 179. Surat, W., Mhuantong, W., Sangsrakru, D., Chareonviriyaphap, T., Arunyawat, U., Kubera, A., Sittivicharpinyo, T., Siripan, O. and Pootakham, W. (2016). Gut Bacterial Diversity in Plasmodium-infected and Plasmodium-uninfected Anopheles minimus. Chiang Mai Journal of Science, 43(3), 427-440. 180. Suriyachadkun, C., Ngaemthao, W. and Chunhametha, S. (2016). Planomonospora corallina sp. nov., isolated from soil. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology, 66, 3224-3229.

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

62 181. Suthangkornkul, R., Sriworanun, P., Nakai, H., Okuyama, M., Svasti, J., Kimura, A., Senapin, S. and Arthan, D. (2016). A Solanum torvum GH3 β-glucosidase expressed in Pichia pastoris catalyzes the hydrolysis of furostanol glycoside. Phytochemistry, 127, 4-11. 182. Tangkitjawisut, W., Limpiyakorn, T., Powtongsook, S., Pornkulwat, P. and Suwannasilp, B.B. (2016). Differences in nitrite-oxidizing communities and kinetics in a brackish environment after enrichment at low and high nitrite concentrations. Journal of Environmental Sciences, 42, 41–49. 183. Tangphatsornruang, S., Ruang-areerate, P., Sangsrakru, D., Rujirawat, T., Lohnoo, T., Kittichotirat, W., Patumcharoenpol, P., Grenville-Briggs, L.J. and Krajaejun, T. (2016). Comparative mitochondrial genome analysis of Pythium insidiosum and related oomycete species provides new insights into genetic variation and phylogenetic relationships. Gene, 575(1), 34-41. 184. Tantong, S., Pringsulaka, O., Weerawanich, K., Meeprasert, A., Rungrotmongkol, T., Sarnthima, R., Roytrakul, S. and Sirikantaramas, S. (2016). Two novel antimicrobial defensins from rice identified by gene coexpression network analyses. Peptides, 84, 7-16. 185. Tasanathai, K., Thanakitpipattana, D., Noisripoom, W., Khonsanit, A., Kumsao, J. and Luangsa-ard, J.J. (2016). Two new Cordyceps species from a community forest in Thailand. Mycological Progress, 15, 28. 186. Teeravechyan, S., Frantz, P.N., Wongthida, P., Chailangkarn, T., Jaru-ampornpan, P., Koonpaew, S. and Jongkaewwattana, A. (2016). Deciphering the biology of porcine epidemic diarrhea virus in the era of reverse genetics. Virus Research, 226, 152-171. 187. Thad Q. Bartlett, Lydia E.O. Light, Warren Y. Brockelman. (2016). Long-term home range use in white-handed gibbons (Hylobates lar) in Khao Yai National Park, Thailand. American Journal of Primatology, 78(2), 192-203 188. Thaikert, R., Sraphet, S., Boonchanawiwat, A., Boonseng, O., Smith, D.R., Roytrakul, S. and Triwitayakorn, K. (2015). Identification of Differentially Expressed Proteins in Cassava Infected with Colletotrichum gloeosporioides f. sp. manihotis. Journal of Crop Improvement, 29(6), 728-746. 189. Thammasorn, T., Sangsuriya, P., Meemetta, W., Senapin, S., Jitrakorn, S., Rattanarojpong, T. and Saksmerprome, V. (2015). Large-scale production and antiviral efficacy of multi-target double-stranded RNA for the prevention of white spot syndrome virus (WSSV) in shrimp. BMC Biotechnology, 15, 110. 190. Thansa, K., Yocawibun, P. and Suksodsai, H. (2016). The cellular death pattern of primary haemocytes isolated from the black tiger shrimp (Penaeus monodon). Fish and Shellfish Immunology, 57, 243–251. 191. Tharad, S., Toca-Herrera, J.L., Promdonkoy, B. and Krittanai, C. (2016). Bacillus thuringiensis Cyt2Aa2 toxin disrupts cell membranes by forming large protein aggregates. Bioscience Reports, 36(5), e00394. 192. Tharinjaroen​, C.S., Intorasoot, S., Anukool​, U., Phunpae​, P., Butr-Indr​, B., Orrapin​, S., Sangboonruang​, S., Arunoth ong​, S., Chai yasirinroj​, B., Kunyanon e ​, N., Kasinrerk​, W. and Tragoo lpua , K. (2016 ). Novel targeting of the lepB gene using PCR with confronting two-pair primers for simultaneous detection of Mycobacterium tuberculosis complex and Mycobacterium bovis. Journal of Medical Microbiology, 65, 36-43. 193. Thitamadee, S., Prachumwat, A., Srisala, J., Jaroenlak, P., Salachan, P.V., Sritunyalucksana, K., Flegel, T.W. and Itsathitphaisarn, O. (2016). Review of current disease threats for cultivated penaeid shrimp in Asia. Aquaculture, 452, 69-87. 194. Thoetkiattikul, H., Mhuantong, W., Pinyakong, O., Wisawapipat, W., Yamazoe, A., Fujita, N., Eurwilaichitr, L. and Champreda, V. (2016). Culture-independent study of bacterial communities in tropical river sediment. Bioscience Biotechnology and Biochemistry, 81(1), 200-209. 195. Toopcham, T., Mes, J.J., Wichers, H.J., Roytrakul, S. and Yongsawatdigul, J. (2016). Bioavailability of angiotensin I-converting enzyme (ACE) inhibitory peptides derived from Virgibacillus halodenitrificans SK1-3-7 proteinases hydrolyzed tilapia muscle proteins. Food Chemistry, 220, 190-197. 196. Unrean, P. (2016). Bioprocess modelling for the design and optimization of lignocellulosic biomass fermentation. Bioresources and Bioprocessing, doi 10.1186/s40643-015-0079-z. 197. Unrean, P. and Khajeeram, S. (2015). Model-based optimization of Scheffersomyces stipitis and Saccharomyces cerevisiae co-culture for efficient lignocellulosic ethanol production. Bioresources and Bioprocessing, 2, 41. 198. Unrean, P. and Khajeeram, S. (2016). Optimization and techno-economic assessment of high-solid fed-batch saccharification and ethanol fermentationby Scheffersomyces stipitis and Saccharomyces cerevisiae consortium. Renewable Energy, 99, 1062–1072. 199. Unrean, P., Jeennor, S. and Laoteng, K. (2016). Systematic development of biomass overproducing Scheffersomyces stipitis for high-cell-density fermentations. Synthetic and Systems Biotechnology, 1(1), 47–55. 200. Unrean, P., Khajeeram, S. and Laoteng, K. (2016). Systematic optimization of fed-batch simultaneous saccharification and fermentation at high-solid loading based on enzymatic hydrolysis and dynamic metabolic modeling of Saccharomyces cerevisiae. Applied Microbiology and Biotechnology, 100(5), 2459-2470. 201. Upanan, S., Pangjit, K., Uthaipibull, C., Fucharoen, S., McKie, A.T. and Srichairatanakool, S. (2015). Combined treatment of 3-hydroxypyridine-4-one derivatives and green tea extract to induce hepcidin expression in iron-overloaded β-thalassemic mice. Asian Pacific Journal of Tropical Medicine, 5(12), 1010-1017. 202. Vasuvat, J., Montree, A., Moonsom, S., Leartsakulpanich, U., Petmitr, S., Focher, F., Wright, G.E. and Chavalitshewinkoon-Petmitr, P. (2016). Biochemical and functional characterization of Plasmodium falciparum DNA polymerase δ. Malaria Journal, 15, 116.

AW 10-64.indb 62

203. Vijitvarasan, P., Oaew, S. and Surareungchai, W. (2015). Paper-based scanometric assay for lead ion detection using DNAzyme. Analytica Chimica Acta, 896, 152–159. 204. Viriyayingsiri, T., Sittplangkoon, P., Powtongsook, S. and Nootong, K. (2016). Continuous production of diatom Entomoneis sp. in mechanically stirred-tank and flat-panel airlift photobioreactors. Preparative Biochemistry and Biotechnology, 46(7), 740-746. 205. Visetnan, S., Supungul, P., Tang, S., Hirono, I., Tassanakajon, A. and Rimphanitchayakit, V. (2015). YHV-responsive gene expression under the influence of PmRelish regulation. Fish and Shellfish Immunology, 47(1), 572-581. 206. Vongsangnak, W., Klunchui, A., Tawornsamretkit, I., Tatiyaborwornchai, W., Laoteng, K. and Meechai, A. (2016). Genome-scale metabolic modeling of Mucor circinelloides and comparative analysis with other oleaginous species. Gene, 583(2), 121–129. 207. Vorapreeda, T., Thammarongtham, C. and Laoteng, K. (2016). Integrative computational approach for genome-based study of microbial lipid-degrading enzymes. World Journal of Microbiology and Biotechnology, 32, 122. 208. Wang, R., Unrean, P. and Franzén, C.J. (2016). Model-based optimization and scale-up of multi-feed simultaneous saccharification and co-fermentation of steam pre-treated lignocellulose enables high gravity ethanol production. Biotechnology for Biofuels, 9, 88. 209. Wangkumhang, P., Wilantho, A., Shaw, P.J., Flori, L, MoazamiGoudarzi, K., Gautier, M., Duangjinda, M., Assawamakin, A. and Tongsima, S. (2015). Genetic analysis of Thai cattle reveals a Southeast Asian indicine ancestry. PeerJ, 3, e1318. 210. Wangman, P., Longyant, S., Utari, H.B., Senapin, S., Pengsuk, C., Sithigorngul, P. and Chaivisuthangkura, P. (2016). Sensitivity improvement of immunochromatographic strip test for infectious myonecrosis virus detection. Aquaculture, 453, 163–168. 211. Wanitchang, A., Wongthida, P. and Jongkaewwattana, A. (2016). Influenza B virus M2 protein can functionally replace its influenza A virus counterpart in promoting virus replication. Virology, 498, 99–108. 212. Wansook, S., Pata, S., Kasinrerk, W. and Khunkaewla, P. (2016). Biochemical and functional analysis of COS3A, a novel CD63-specific monoclonal antibody. Asian Pacific Journal of Allergy and Immunology, 34(4), 306-313. 213. Wichadakul, D., Kobmoo, N., Ingsriswang, S., Tangphatsornruang, S., Chantasingh, D., Luangsa-ard, J.J. and Eurwilaichitr, L. (2015). Insights from the genome of Ophiocordyceps polyrhachis-furcata to pathogenicity and host specificity in insect fungi. BMC Genomics, 16, 881. 214. Wilgenburg, B.V., Scherwitzl, I., Hutchinson, E.C. Leng, T., Kurioka, A., Kulicke, C., Lara, C.D., Cole, S., Vasanawathana, S., Limpitikul, W., Malasit, P., Young, D., Denney, L., STOP-HCV consortium, Moore, M.D., Fabris, P., Giordani, M.T., Oo, Y.H., Laidlaw, S.M., Dustin, L.B., Ho, L.P., Thompson, F.M., Ramamurthy, N., Mongkolsapaya, J., Willberg, C.B., Screaton, G.R. and Klenerman, P. (2016). MAIT cells are activated during human viral infections. Nature Communications, 7, 11653. 215. Witida, L., Nuchjira, T., Watchara, K. and Supansa, P. (2016). Simultaneous flow cytometric measurement of antigen attachment to phagocytes and phagocytosis. Journal of Immunoassay and Immunochemistry, 37(5), 527-539. 216. Wongpia, A., Roytrakul, S., Nomura, M., Tajima, S., Lomthaisong, K., Mahatheeranont, S. and Niamsup, H. (2016). Proteomic Analysis of Isogenic Rice Reveals Proteins Correlated with Aroma Compound Biosynthesis at Different Developmental Stages. Molecular Biotechnology, 58(2), 117-129. 217. Wongthida, P., Jengarn, J., Narkpuk, J., Koonyosying, P., Srisutthisamphan, K., Wanitchang, A., Leaungwutiwong, P., Teeravechyan, S. and Jongkaewwattana, A. (2016). In Vitro and In Vivo Attenuation of Vesicular Stomatitis Virus (VSV) by Phosphoprotein Deletion. PLOS one, 11(6), e0157287. 218. Wongtrakul, J., Paemanee, A., Wintachai, P., Thepparit, C., Roytrakul, S., Thongtan, T., Janphen, K., Supparatpinyo, K. and Smith, D.R. (2016). Nevirapine induces apoptosis in liver (HepG2) cells. Asian Pacific Journal of Tropical Medicine, 9(6), 547–553. 219. Wongwatanapaiboon, J., Klinbunga, S., Ruangchainikom, C., Thummadetsak, G., Chulalaksananukul, S., Marty, A. and Chulalaksananukul, W. (2016). Cloning, expression, and characterization of Aureobasidium melanogenum lipase in Pichia pastoris. Bioscience Biotechnology and Biochemistry, 80(11), 2231-2240. 220. Wongwilaiwalin, S., Mhuantong, W., Tangphatsornruang, S., Panichnumsin, P., Champreda, V. and Tachaapaikoon, C. (2016). Isolation of cellulolytic microcosms from bagasse compost in co-digested fibrous substrates. Biomass Conversion and Biorefinery, 6(4), 421-426. 221. Woraprayote, W., Malila, Y., Sorapukdee, S., Swetwiwathana, A., Benjakul, S. and Visessanguan, W. (2016). Bacteriocins from lactic acid bacteria and their applications in meat and meat products. Meat Science, 120, 118-132. 222. Wu, L., Sun, Q., Desmeth, P., Sugawara, H., Xu, Z., McCluskey, K., Smith, D., Alexander, V., Lima, N., Ohkuma, M., Robert, V., Zhou, Y., Li, J., Fan, G., Ingsriswang, S., Ozerskaya, S. and Ma, J. (2016). World data centre for microorganisms: an information infrastructure to explore and utilize preserved microbial strains worldwide. Nucleic Acids Research, 4(45), D611-D618. 223. Yooyoungwech, S., Tisarum, R., Samphumphuang, T., Theerawitaya, C., Cha-um, S. (2016). Arbuscular mycorrhizal fungi (AMF) improved water deficit tolerance in two different sweet potato genotypes involves osmotic adjustments via soluble sugar and free proline. Scientia Horticulturae, 198, 107-117.

7/22/2560 BE 5:44 PM


63

รายงานประจ�ำปี 2559

โครงสร้างไบโอเทค 1 ตุลาคม 2559

คณะกรรมการบริหาร ไบโอเทค คณะกรรมการ ที่ปรึกษานานาชาติ

ผู้อ�ำนวยการ รองผู้อ�ำนวยการ ด้านวิจัยและพัฒนา (หน่วยวิจัยเครือข่าย)

AA ห้องปฏิบัติการวิจัยและ

พัฒนาวิศวกรรมชีวเคมี และโรงงานต้นแบบ AA ห้องปฏิบัติการวิจัยและ พัฒนายาชีววัตถุ AA ห้องปฏิบัติการจัดการ และใช้ ป ระโยชน์ จ าก ของเสี ย อุ ต สาหกรรม การเกษตร

AA ห้องปฏิบตั กิ าร

เทคโนโลยีแปรรูปมัน ส�ำปะหลังและแป้ง

AA ห้องปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยี

หน่วยวิจยั เทคโนโลยี ชีวภาพสัตว์ หน่วยวิจยั เทคโนโลยี ชีวภาพพืช หน่วยวิจยั เทคโนโลยี ชีวภาพอาหาร หน่วยวิจยั ไวรัสวิทยาและ เทคโนโลยีแอนติบอดี หน่วยวิจยั ชีววิทยา โมเลกุลทางการแพทย์

ชีวภาพทางการแพทย์

หน่วยวิจยั เทคโนโลยีจโี นม

ชีวภาพกุง้

หน่วยวิจยั เทคโนโลยีการ ตรวจวินจิ ฉัยทางชีวภาพ

AA ห้องปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยี AA ห้องปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยี ชีวภาพทางทะเล

AA ห้องปฏิบตั กิ าร

เทคโนโลยีชวี การแพทย์

รองผู้อำ� นวยการ ด้านสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา

รองผู้อ�ำนวยการ ด้านวิจัยและพัฒนา (หน่วยวิจัยกลาง)

รองผู้อ�ำนวยการ ด้านบริหาร

ฝ่ายความร่วมมือ ระหว่างประเทศและ ประชาสัมพันธ์

ฝ่ายบริหาร เทคโนโลยีฐานและ พัฒนาก�ำลังคน

ฝ่ายแผนกลยุทธ์และ พัฒนาองค์กร

หน่วยศึกษานโยบาย และความปลอดภัย ทางชีวภาพ

ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ เทคโนโลยีชวี ภาพ

ฝ่ายติดตาม และประเมินผล

ฝ่ายสนับสนุน การวิจยั

ฝ่ายบริหาร งานทัว่ ไป

ฝ่ายบริหาร โครงสร้างพืน้ ฐาน เพือ่ การวิจยั

ฝ่ายเทคโนโลยี สารสนเทศและ การจัดการข้อมูล

หน่วยวิจยั ความหลากหลายทาง ชีวภาพและชีววัสดุ หน่วยวิจยั เทคโนโลยีชวี ภาพ จุลนิ ทรียแ์ ละชีวเคมีภณ ั ฑ์

AA ห้องปฏิบตั กิ าร

ทางธรรมชาติวทิ ยาป่าพรุ และป่าดิบชืน้ ฮาลา-บาลา

AA ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาสาย พันธุก์ งุ้

AW 10-64.indb 63

7/22/2560 BE 5:44 PM


ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ

64

คณะกรรมการบริหารไบโอเทค (13 ตุลาคม 2558 – 12 ตุลาคม 2560)

ประธานกรรมการ นายศักรินทร์ ภูมริ ตั น รองประธาน นายทวีศกั ดิ์ กออนันตกูล นายณรงค์ ศิรเิ ลิศวรกุล กรรมการ นายปรเมธี วิมลศิร ิ นายอนันต์ สุวรรณรัตน์ นายเดชาภิวฒ ั น์ ณ สงขลา นายอมเรศ ภูมริ ตั น นางพิมพ์ใจ ใจเย็น นายวิชา ธิตปิ ระเสริฐ นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายพาโชค พงษ์พานิช นายรุจเวทย์ ทหารแกล้ว นายกิตติพงศ์ ลิม่ สุวรรณโรจน์ กรรมการและเลขานุการ นางสาวกัญญวิมว์ กีรติกร นายสมวงษ์ ตระกูลรุง่ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ นางสาวดุษฎี เสียมหาญ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (13 ตุลาคม 2558 - 26 สิงหาคม 2559) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (27 สิงหาคม 2559 - ปัจจุบนั ) ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรมการข้าว ส�ำนักงบประมาณ ภาคีสมาชิก ประเภทสาขาเทคโนโลยี ส�ำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา มหาวิทยาลัยมหิดล ส�ำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ หอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สมาคมการค้าเมล็ดพันธุ์ไทย ศูนย์วจิ ยั และพัฒนา เครือเบทาโกร บริษทั โซลูชนั่ ครีเอชัน่ จ�ำกัด ผูอ้ ำ� นวยการไบโอเทค (16 พฤษภาคม 2555 - 15 พฤษภาคม 2559) ผูอ้ ำ� นวยการไบโอเทค (16 พฤษภาคม 2559 - ปัจจุบนั ) รองผูอ้ ำ� นวยการไบโอเทค

คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติ (29 ตุลาคม 2557 – 28 ตุลาคม 2559)

ประธานกรรมการ Prof. Lene Lange กรรมการ Dr. Philippe Desmeth Dr. Martin Keller Dr. Vitor Martins dos Santos Dr. Ray Ming Dr. Jean-Marcel Ribaut Prof. Jonathan Sweedler Dr. Frédéric Tangy

Director of Research, Aalborg University, DENMARK President, World Federation for Culture Collections Associate Laboratory Director of Energy and Environmental Sciences, Oak Ridge National Laboratory, USA Chair for Systems and Synthetic Biology, Wageningen University, THE NETHERLANDS Professor of Plant Biology, University of Illinois at Urbana-Champaign, USA Director, Generation Challenge Program, MEXICO James R. Eiszner Family Chair in Chemistry, University of Illinois Urbana-Champaign, USA Director of Research, French National Centre for Scientific Research and Head of the Viral Genomics and Vaccination Unit, Institut Pasteur, FRANCE

คณะผู้บริหารไบโอเทค

(16 พฤษภาคม 2555 - 15 พฤษภาคม 2559)

AW 10-64.indb 64

คณะผู้บริหารไบโอเทคปัจจุบัน (ตัง้ แต่ 16 พฤษภาคม 2559)

นางสาวกัญญวิมว์ กีรติกร นายสุวทิ ย์ เตีย นางสาวดุษฎี เสียมหาญ นางสาวลิลี่ เอือ้ วิไลจิตร

ผูอ้ ำ� นวยการ รองผูอ้ ำ� นวยการ รองผูอ้ ำ� นวยการ รองผูอ้ ำ� นวยการ

นายสมวงษ์ ตระกูลรุง่ นางสาวดุษฎี เสียมหาญ นางสาวลิลี่ เอือ้ วิไลจิตร นางสาวเกือ้ กูล ปิยะจอมขวัญ

ผูอ้ ำ� นวยการ รองผูอ้ ำ� นวยการ รองผูอ้ ำ� นวยการ รองผูอ้ ำ� นวยการ

(ตัง้ แต่ 1 ตุลาคม 2555)

(ตัง้ แต่ 1 ตุลาคม 2559)

7/22/2560 BE 5:44 PM



รายงานประจำป 2559

รายงานประจำป 2559

ศูนย พันธุว�ศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห งชาติ

ศูนย พันธุว�ศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห งชาติ

สำนักงานพัฒนาว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กระทรวงว�ทยาศาสตรและเทคโนโลยี 113 อุทยานว�ทยาศาสตรประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท 0 2564 6700 โทรสาร 0 2564 6701-5 www.biotec.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.