ชมพระหางดง เจนณรงค์ ตุ้ยเเก้ว
ชมพระหางดง
เจนณรงค์ ตุ้ยเเก้ว 1
หางดง หางดงเป็ นอ�ำเภอหนึ่ง ในจังหวัดเชียงใหม่ จากประวัตศิ าสตร์มนี ามเดิมว่า “แขวงแม่ทา่ ช้าง” เป็ นเขตปกครองทีต่ งั ้ ขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยรัฐบาลกลางที่ กรุงเทพฯ จัดระบบการปกครองทีเ่ รียกว่า มณฑลเทศาภิบาลก�ำหนดแบ่งเมือง เชียงใหม่เป็ นหัวเมืองชัน้ นอกและหัวเมืองชัน้ ในแขวงแม่ท่าช้างจัดอยู่ในเขตหัว เมืองชัน้ ใน ต่อมาแขวงแม่ทา่ ช้างได้เปลีย่ นชือ่ เป็ นอ�ำเภอหางดง อ�ำเภอหางดงตัง้ อยูบ่ นพืน้ ทีข่ องอาณาจักรล้านนาตัง้ แต่อตีดกาล จึงมีพระพุทธศาสนาเป็ นศาสนา หลักบวกกับความเชือ่ นับถือผีเข้าด้วยกัน
2
วิหารวัดทุ่งอ้อหลวง ศาสนาพุทธเป็นศาสนาหลักในอ�ำเภอหางดง ด้วยแรงศัทธาในพระพุทธศาสนา ของชาวบ้านจึงมีการ สร้างวัดขึน้ มากมาย ในรูปแบบสถาปตั ยกรรมแบบล้านนา ในเขตพืน้ ทีอ่ �ำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ มีทงั ้ ประเพณี และวัฒนธรรมซึง่ คง การรักษาไว้อย่างดี ตลอดจนการคงคุณค่าความงามแบบล้านนา ด้วยความรัก หวงแหนและแรงศรัทธาของคนภายในชุมชน จึงมีวดั วิหาร ทีม่ คี วามสมบูรณ์ ทางด้านสถาปตั ยกรรมแบบล้านนาอยูม่ ากมาย 3
พระพุทธรูปในเขตอ�ำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ จึงมีพทุ ธลักษณะของพระพุทธรูปภายในวิหารทีม่ รี ปู แบบ ลักษณะทีท่ รงคุณค่า ความสวยงาม ควรค่าแก่การอนุ รกั ษ์ ล้วนแล้วแต่เป็ นสิง่ ที่ ศรัทธาของช่างในอดีตและคนในชุมชน ดังนัน้ ศิลปกรรมพระพุทธรูป ในอ�ำเภอ หางดงจึงถือเป็ นมรดกทางความคิดของคนในชุมชนท้องถิน่ ทีส่ ะท้อนให้เห็นถึง ภูมปิ ญั ญาของบรรพชนอันเป็ นรากฐานส�ำคัญทางวัฒนธรรมทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง ั ผูกพันกับโครงสร้างทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองพระพุทธรูปจึงเป็นภูมปิ ญญา ทีท่ รงคุณค่า และยังเป็นสิง่ ทีส่ ามารถบ่งบอกถึงรากเหง้าและอารยธรรมของคนใน ชุมชนท�ำให้เข้าใจถึงแก่นของความเป็ นท้องถิน่ ของคนในชุมชน
พระพุ ทธรู ปวัดก�ำเเพงงาม
วิหารวัดหางดง 4
พระพุ ทธรู ปวัดขุ นคงหลวง
พระพุทธรูป พระพุทธรูปเป็ นสัญลักษณ์ ส�ำคัญอีกอย่างหนึ่งที่ชาวล้านนานับถือ ตัง้ แต่ อดีตจนกระทังป ่ จั จุบนั ให้ความเคารพและศรัทธา พระพุทธรูปเป็ นค�ำเรียกวัตถุ แทนพระพุทธเจ้าทีส่ ร้างขึน้ มาเพื่อใช้เป็ นสิง่ เคารพซึ่งมีลกั ษณะเหมือนเทวรูป พระพุทธรูปเปรียบเสมือนตัวแทนของพระพุทธเจ้าทีบ่ รรดาพุทธศาสนิกชนทัง้ หลายได้สกั การบูชาสืบต่อกันมา กล่าวกันว่าพระพุทธรูปได้ม ี ขึน้ ในโลกภายหลัง จากพระพุทธเจ้าปรินิพพาน โดยสร้างขึน้ ในแคว้นคันธารราฐเป็ นแห่งแรก เมื่อ มีการสร้างพระพุทธรูปขึ้นเป็ นสัญลักษณ์ แทนพระพุทธเจ้าในอินเดียเป็ นแห่ง แรก และก็มกี ารเผยแพร่คตินิยมในการสร้างพระพุทธรูปไปยังดินแดนส่วนต่างๆ ที่มกี ารนับถือพุทธศาสนา โดยเฉพาะเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในบริเวณเขต ประเทศไทยและล้านนา เป็นเขตพืน้ ทีห่ นึ่งทีม่ กี ารนับถือศาสนา ในพุทธศตวรรษที่ 19-24 พบศิลปะการสร้างพระประธานตัง้ แต่ลา้ นนาอยูใ่ นสร้างบ้านแปงเมืองสมัย ั่ พญามังรายถึงพระเจ้าผายู ยุคสมัยพระเจ้ากือนาถึงพระเจ้าสามฝงแกน ผ่านยุค ทองของล้านนาช่วงพุทธศตวรรษที่ 20 ยุคเสือ่ มของล้านนาตัง้ แต่สมัยพระเมือง เกษเกล้าล้านนาตกอยู่ภายใต้การปกครองของพม่าในพุทธศตวรรษที่ 21-22 กระทังล้ ่ านนากลับมาอยูใ่ ต้การปกครองของไทยในพุทธศตวรรษที่ 24 ส่งผลให้ มีการรับอิทธิพลของรูปแบบและแนวคิดที่ผ่านมาแต่ละสมัยถูกถ่ายทอดอยู่ใน พระพุทธรูป
5
พระพุ ทธรู ปวัดทุ่งอ้อหลวง 6
ป
พระพุทธรู
เรื่องราวของ
พระพุทธรูป
ง
ในหางด
ในอดีตอ�ำเภอหางดงเคยถูกพม่าปกครองมากกว่าสองร้อยปี ภายใต้การ ปกครองนัน้ ความศรัทธาในพระพุทธศาสนาก็ไม่ได้ลดน้อยลง ยังคงมีการสร้าง พระพุทธรูปเพือ่ เป็ นทีเ่ คารพบูชาอยูอ่ กี ด้วย โดยวัดในอ�ำเภอหางดงทีส่ ร้างในยุค นัน้ ในพุทธศตวรรษที่ 19 – 20 เช่นวัดทุง่ อ้อหลวง ต�ำบลหารแก้ว มีพทุ ธลักษณะ คือ มีพระรัศมีเปลวสูง ยอดพระเกศมาลาเป็ นก้อนกลม พระเกศาแหลมเป็ นหนาม ขนุน พระพักตร์รปู ไข่ พระขนงโก่ง แย้มพระโอษฐ์เล็กน้อย ส่วนพระวรกายลักษณะ เพรียวงามกสังฆาฏิเป็นริว้ แบบศิลปะพม่ากขัดสมาธิราบปางมารวิชยั พุทธลักษณะ โดยรับอิทธิพลศิลปกรรมพม่า
7
พระพุ ทธรู ปวัดหางดง 8
ต่ อ มาเมื่อ ล้า นนาได้ร ับ อิส รภาพ และมีก ารสร้า งวัด ขึ้น มากมาย มีก าร สร้างพระพุทธรูปแบบศิลปะล้านนาขึน้ โดยสล่าท้องถิน่ มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว พระพุทธรูปวัดช่างค�ำน้อยนัน้ สร้างจากการแกะไม้ วัดหางดง ต�ำบลหางดง มี พุท ธลัก ษณะเด่น คือ มีร ศั มีเ ปลว พระเกศาขมวดก้น หอย พระนลาฏกว้า ง ไรพระเกศากว้า ง พระขนงโก่ ง ส่ว นพระวรกายของพระประธานมีล กั ษณะ พระวรกายหนา พระอัง สาใหญ่ สัง ฆาฏิย าวจรดพระนาภี ขัด สมาธิร าบ ปางมารวิช ัย ได้ ร ับ อิ ท ธิ พ ลจากศิ ล ปะแบบสุ โ ขทัย แต่ ม ีล ัก ษณะที่ แ ตก ต่ า งจากศิล ปะสุ โ ขทัย คือ การท� ำ พระเนตรให้เ ปิ ด กว้า งไม่ ต ัด ปลายแบบ สุโขทัย สร้างในสมัยพระเจ้าติโลกราชพระเมืองแก้ว ในช่วงที่ล้านนามีความ เจริญ สู ง สุ ด ในทุ ก ๆด้ า นตามข้อ มู ล ว่ า อาณาจัก รล้ า นนาเจริญ สู ง สุ ด ทุ ก ๆ ด้ า นในสมัย ของพระเจ้ า ติ โ ลกราชทรงขยายงานศิ ล ปกรรมกลับ มี ค วาม หลากหลายทางด้านรูปแบบ หลังสมัยพระเมืองแก้ว อาณาจักรล้านาได้เข้าสูย่ ุค เสือ่ มอย่างรวดเร็ว
9
พระพุ ทะรู ปวัดละโว้ 10
ในภายหลังการสร้างวัดก็ได้มกี ารรับศิลปะของทางภาคกลางเข้ามาผสมผสาน รวมไปจนถึงพระพุทธรูปด้วยเช่นกัน พระประธานทีอ่ ยูใ่ นช่วงพุทธศตวรรษที่ 22 เช่นทีว่ ดั ละโว้ ต�ำบลหนองแก๋ว ซึง่ มีพุทธลักษณะคือ มีรศั มีเปลว ยอดพระเกศ มาลาสูง พระเกศาขมวดปม พระนลาฏกว้างและโค้ง พระเนตรกว้างเหลือบมอง ต�่ำ พระโอษฐ์หนา ริมพระโอษฐ์เป็ นคลืน่ หยักเหมือนสุโขทัย พระพักตร์รปู ไข่ ส่วน พระวรกายของพระประธานจะมีลกั ษณะเพรียวบาง สังฆาฏิเส้นเล็กยาวจรด พระนาภี ประทับสมาธิราบปางมารวิชยั การสร้างสรรค์งานศิลปกรรมคงชะงัก ไปบ้าง หากมีการสร้างมักจะสันนิษฐานว่าเป็ นการสร้างเพือ่ เลียนแบบรูปแบบที่ มีมาก่อน แต่ฝีมอื ช่างนัน้ ด้อยกว่าเดิมมาก บางครัง้ ยังขาดความเข้าใจในรูปแบบ
11
พระพุ ทธรู ปวัดถวาย 12
พระพุ ทธรู ปวัดช่างค�ำน้อย
พระพุ ทธรู ปวัดก�ำเเพงงาม
พระพุ ทธรู ปวัดศรีสุพรรณ(ปั จจุ บนั )
พระพุ ทธรู ปวัดศรีสุพรรณ(อดีต)
พุทธศตวรรษที่ 22 อีกหนึ่งวัดคือวัดช่างค�ำน้อย สันนิษฐานการสร้างเลียน แบบศิลปะแบบภาคกลาง พระทีว่ ดั ถวาย ต�ำบลขุนคง มีพทุ ธลักษณะคือ มีรศั มี เปลว ขมวดพระเกศาแหลมคล้ายหนามทุเรียน พระขนงติดกันแบบปี กกา ส่วน พระวรกายมีลกั ษณะหนา พระอังสาใหญ่ สังฆาฏิเป็ นเส้นตรงจรดพระอุระลงมาย อยูเ่ หนือพระนาภี พระอุระนูนประทับนัง่ ขัดสมาธิราบ ปางมารวิชยั จัดเป็ นแบบ ศิลปะพืน้ บ้าน สันนิษฐานว่าเป็ นการสร้างเลียนแบบช่างในยุคทองของล้านนา พุทธลักษณะของพระพุทธรูปในยุคนี้จงึ ไม่ตายตัว ลักษณะแตกต่างกันออกไป ขึน้ อยู่กบั ฝี มอื ของช่างของแต่ละพืน้ ที่ นอกจากวัดบ้านถวายแล้วมีพระพุทธรูป วัดก�ำแพงงาม และวัดศรีสวุ รรณด้วย
13
พระพุ ทธรู ปวัดขุ นคงหลวง 14
เมื่อ ล้า นนารวมเป็ น มณฑลหนึ่ ง ของประเทศไทย ในช่ ว งพุ ท ธศตวรรษ ที่ 24 จึ ง ได้ น� ำ เอาศิ ล ปะของทางภาคกลางมาใช้ ท ั ง้ การสร้ า งวั ด และ พระพุ ท ธรู ป ขึ้น เช่ น ที่ว ัด ขุ น คงหลวงต� ำ บลหารแก้ว ซึ่ง มีพุ ท ธลัก ษณะคือ มีพ ระรัศ มีเ ปลวแหลม พระเกศาขมวดก้ น หอย ไรพระศกโค้ ง ขนานกับ พระนลาฏที่กว้าง พระโอษฐ์แย้ม พระเนตรกลม มองตรง ส่วนพระวรกายมี พุทธลักษณะเพรียวบาง สังฆาฏิจรดพระนาภี ปางสมาธิ นับเป็ นศิลปกรรม ของช่างพืน้ บ้านล้านนาสันนิฐานว่าในยุคนี้ ช่างพืน้ บ้านอาจได้รบั อิทธิพลจาก ไทยภาคกลางมาบ้างแล้ว
15
ในแต่ละยุคสมัยความศรัทธาในพระพุทธศาสนาก็มกั จะบอกเล่าความเป็นมา ผ่านศิลปกรรมการสร้างพระพุทธรูปในสมัยราชวงศ์มังรายปกครองเชียงใหม่ (พญาติโลกราช)สร้างพร้อมวิหารโดยพระพุทธรูปประดิษฐานเป็นประธาน วัดหางดงในอดีตมีชนชาวเผ่าลื้อ ลัวะ ลาว ไต อาศัยและเป็นกลุ่มชนที่รวมตัว กันเป็นชาวเชียงใหม่ ก็มีความเป็นเอกลักษณ์ของตัวเองที่ได้เอาความงามของที่ อืน่ มาผสมเราก็สามารถรูไ้ ด้วา่ สมัยนัน้ ได้มกี ารติดต่อกับชนชาติใดบ้าง สะท้อน ถึงการติดต่อและการรับอิทธิพลทางการเมืองการปกครอง แสดงออกในรูป ของความศรัทธาต่อศาสนา และแรงศรัทธานั้นก่อให้เกิดการร่วมมือกันของคน ในพื้ น ที่ และงานช่ า งท้ อ งถิ่ น ที่ แ สดงเอกลั ก ษณ์ ที่ ไ ม่ เ หมื อ นใครซึ่ ง ก็ เ ป็ น ตัวเล่าเรื่องของประวัติศาสตร์ได้เป็นอย่างดี เมื่อเทียบศิลปะในการสร้างของ พระพุทธรูปเข้ากับยุคสมัยต่างๆ ก็จะรู้ถึงอิทธิพลในสมัยนั้นที่สะท้อนออกมา
ชมพระหางดง
ภาพและเนื้อเรือ่ ง © 2014 (พ.ศ. 2557) โดย เจนณรงค์ ตุย้ เเก้ว, 540310105 สงวนลิขสิทธิ ์ตามพระราชบัญญัติ พิมพ์ครัง้ แรก เดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบและจัดรูปเล่มโดย เจนณรงค์ ตุย้ เเก้ว โดยใช้ฟอนต์ BrowalliaUPC 16 pt หนังสือเล่มนี้เป็ นผลงานทางวิชาการจัดท�ำขึน้ เพือ่ ส่งเสริม และต่อยอดศักยภาพการศึกษา ภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่