จิตรกรรม
ระเบียงคตวัดพระธาตุดอยสุเทพ อมรศักดิ์ ภักหาญ
“
จิตรกรรมหรือภาพเขียนฝาผนังที่อยู่ใน โบสถ์และวิหารหรือตามศาสนสถาน มักจะแสดง เรื่องราวที่น่าสนใจต่าง ๆ ซึ่งต้องการถ่ายทอด ออกสู่สังคม นอกจากนั้นยังสะท้อนให้เห็นถึงการ ทำ�งานเป็นคณะอย่างมีระบบ
”
ปกหน้า : จิตรกรรมระเบียงคต วัดพระธาตุดอยสุเทพ ออกแบบปกโดย : อมรศักดิ์ ภักหาญ
จิตรกรรม
ระเบียงคตวัดพระธาตุดอยสุเทพ อมรศักดิ์ ภักหาญ จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ 1
คุณ ค่ า งานจิตรกรรม
ภาพจิตรกรรมเป็นสิ่งมีค่าในการศึกษาทางประวัติศาสตร์อย่างดีไม่ว่าจะเป็น พุทธประวัต ิ ชาดก นทิ าน รามเกียรติ ์ เป็นต้น ภาพเหล่านีบ้ รรยายเรือ่ งราวงานจิตรกรรมทีช่ ว่ ย ให้ผทู้ มี่ าชมภาพสามารถมองเห็นภาพสวยๆงามๆซึง่ เขาเคยเห็นอย่างชัดเจนเข้าใจมาตัง้ แต่ สมัยเด็กๆ และภาพต่างๆ เหล่านี้ก็ได้มีการสอดแทรกความเป็นจริงบางประการเอาไว้ด้วย ผ่านโลกทัศน์ของช่างเขียนภาพต่างๆ ที่ปรากฎทำ�ให้เราทราบถึงความเป็นอยู่จริงของสิ่ง ต่างๆ เช่น สถาปัตยกรรม การเป็นอยู่ของชาวบ้านร้านตลาด การแต่งกาย ฐานันดรศักดิ์ เครื่องประดับตกแต่ง หรือแม้กระทั่งอารมณ์ความสนุกสนานของประเพณีวัฒนธรรมใน อดีต เป็นต้น ความมุ่งหมายของจิตรกรรมฝาผนัง มีวัตถุประสงค์เพื่อตกแต่งพื้นที่ให้สวยงาม ส่วนใหญ่มักปรากฏอยู่ตามโบสถ์ หรือ วิหาร ซึ่งการเขียนเรื่องเกี่ยวกับศาสนาเป็น ส่วนใหญ่ การเขียนรูปพระพุทธเจ้า หรือเรื่องราวที่มีอยู่ในพุทธประวัติ และนิทานชาดก ทั้งนี้ก็เพื่อจะน้อมนำ�ชักจูงผู้ดูให้เกิดความเลื่อมใสอยู่แล้ว เมื่อได้ชมภาพเหล่านี้ยิ่งทำ�ให้ ชาวบ้านซาบซึ้งในรสพระธรรมคำ�สั่งสอนยิ่งขึ้น เพราะผู้ที่เคยฟังธรรมเทศนาแล้ว เมื่อได้ ชมภาพเหล่านี่ตามที่เคยได้ฟังมาก็ยิ่งทำ �ให้คำ�สอนเกี่ยวกับเรื่องราวทางศาสนาติดหู ติดตาและประทับอยู่ในดวงใจและเกิดความเลื่อมใสยิ่งขึ้น และอีกประการหนึ่ง ภายใน โบสถ์วิหารนี้ เมื่อเข้าไปแล้วจะทำ�ให้เรารู้สึกปลีกตนจากโลกภายนอก เพราะเหตุนี้ภาพ จิตรกรรมในโบสถ์ วิหาร จึงต้องให้ความรู้สึกสงบ ลึกลับด้วย ความมุ่งหมายของจิตรกรรมในสมัยก่อนนั้น มีศรัทธาปรารถนาอย่างแรงกล้า ในการเขียนภาพ ความมุ่งหมายสำ�คัญที่สุดของเขาก็คือ การปรับใช้พระพุทธศาสนาใน ทางศิลปะ ซึ่งการทำ�เช่นนี้เป็นบุญกุศลอย่างหนึ่งด้วย เหตุนี้ภาพที่เขาเขียนขึ้นมาจึงดู ละมุนละไม เต็มไปด้วยชีวิตชีวา จึงเป็นเหตุให้ภาพเหล่านี้มีความสวยงามมากยิ่งขึ้น อีก อย่างวัดพระธาตุดอยสุเทพ วรมหาวิหาร เป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดเชียงใหม่ เป็น ศูนย์ร่วมจิตใจของพุทธศาสนิกชนที่เข้ามาสักการะในวัดพระธาตุดอยสุเทพ วรมหาวิหาร ภาพจิ ต รกรรมระเบี ย งคตจึ ง เป็ น เหมื อ นสิ่ ง ที่ ทำ � หน้ า ที่ ใ นการสั น ทนาการให้ ค วามรู้ ดึงดูดความน่าสนใจแก่ผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชมภายในระเบียงคตและเมื่อเข้ามาสักการะองค์ พระธาตุดอยสุเพพ วรมหาวิหาร 2
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
ภาพจิตรกรรมระเบียงคดวัดพระธาตุดอยสุเทพ วรมหาวิหาร ตำ�บลรอบเวียง อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แสดงเนื้อหาเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธประวัติ และในส่วนของ ตำ�แหน่งแสดงภาพจิตรกรรมนั้นมี 4 ด้าน จิตรกรรมฝาผนังด้านในระเบียงคด เขียนไว้ ในกรอบสี่เหลี่ยมที่เรียงต่อกันไป โดยมีทิศทางการลำ�ดับภาพเวียนขวา เริ่มจากเรื่องราว ดังต่อไปนี้
ตอนที่ 1 อัญเชิญจุติ
ตอนที่ 2 ประสูติ เกิดดอกบัว จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
3
ตอนที่ 3 ทำ�นายลักษณะ ทรงปาฎิหาริย์เหนือเศียรชฎิล
ตอนที่ 4 ตอนแรกนาขวัญ นั่งขัดสมาธิเจริญฌาน์
4
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
ตอนที่ 5 ตอนราชาภิเศก กับองค์เอกพิมพายโสธยา
ตอนที่ 6 ตอนเมวดาฑุต 4 ทรงเห็นคนแก่ เจ็บ ตาย และสมณะ
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
5
ตอนที่ 7 ตอนหนีบวชบรรพชา ทรงเผยม่านมองหนีออกบวช
ตอนที่ 8 ตอนทรงม้ากัณฐกะ ถึงฝั่งน้ำ�อโนมานทีศรี
6
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
ตอนที่ 9 ตอนตัดโมฬีอธิฐานบรรพชา ณ ริมน้ำ�อโนมานที
ตอนที่ 10 ตอนบำ�เพ็ญทุกกิริยา พระอินทร์ดีดพิณให้สติ
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
7
ตอนที่ 11 ตอนเช้าวันตรัสรู้ นางสุชาดากับภาษีมาถวายข้าวปายาส โดยสำ�คัญว่าเป็นเทวดา
ตอนที่ 12 ตอนลอยถาด จมลงไปกระทบกับถาดเดิม 3 ใบ พญานาคก็ว่าพระเจ้าจะมาตรัสรู้
8
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
ตอนที่ 13 ตอนแม่ธรณีบิดมวยผม เกิดเป็นสมุทรธารา พญามาร ก็พ่ายแพ้แก่บารมี
ตอนที่ 14 ตอนตรัสรู้ ใต้ต้นศรีมหาโพธ์ริมฝั่งน้ำ�เนรัญชา
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
9
ตอนที่ 15 ตอนประทับโคนไม้จิก ฝนตกพรำ� พญานาคมาขดขนดปกพระกายกำ�บังฝน
ตอนที่ 16 ตอนประทับโคนไม้เกต ท้าวจตุโลกบาล เทวดาบอกสองพานิชให้ไปเฝ้า
10
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
ตอนที่ 17 ตอนปฐมเทศนา ทรงแสดงธัมจักปปวัตตนสุตรแก่ ปัญจวัคคีย์
ตอนที่ 18 ตอนพระยลบวช
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
11
ตอนที่ 19 ตอนพระเจ้าพิมพิสารเลื่อมใส ทรงหลั่งน้ำ� ถวายวัดเวฬุวันเป็นปฐมสังฆาราม
ตอนที่ 20 ตอนโปรดพระนนท วันนันทพุทธอนุชาแต่งงาน จำ�ใจอุ่มบาตรตามเสด็จ
12
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
ตอนที่ 21 ตอนพระนางพิมพา พาพระราหุลไปทูล ขอราชสมบัติ
ตอนที่ 22 ตอนตรัสสั่งพระสาริบุตรให้บรรพชาพระราหุล เป็นสามเณรองค์แรกในศาสนา
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
13
ตอนที่ 23 ตอนพระเทวฑัตสำ�แดงฤทธ์ให้อชาตสัตตราชกุมารเลื่อมใส เพื่อให้รับเป็นโยมอุปฐาก
ตอนที่ 24 ตอนเทวฑัตได้สำ�นึกในความผิดของตน ใคร่ทูลขอขมาแต่ถูกธรณีสูบก่อนเข้าเฝ้า
14
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
ตอนที่ 25 ตอนนางวิสาขาถวายบุพผารามมหาวิหาร
ตอนที่ 26 ตอนถวายพระเพลิงพุทะบิดา ด้วยมั่นในปิตุคุณ
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
15
ตอนที่ 27 ตอนพระแม่น้ำ�มหาปชาบดีโคตมีนำ�นางกษัตริย์บริวารไป ทูลขออุปสมบทเป็นภิกษุณี
ตอนที่ 28 ตอนกระทำ�พระอิทธปาฏิหาร์ในพระรัตน จงกลมอากาศแล้วกระทำ�พุทธนฤมิตร
16
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
ตอนที่ 29 เช้าวันเพ็ญเดือน 6 ทรงเสวยมังสะสุกรอ่อน ที่บ้านจนทะ นับเป็นปัจฉิมบิณฑบาตร
ตอนที่ 30 ตอนปรินิพพาน ณ กรุงกุสินารายน์ ระหว่างไม้รังทั้งคู่
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
17
ตอนที่ 31 ตอนพระมหากัสสปถวายบังคมบาทพระพุทธศพ แล้วเพลิงสวรรค์กับบบรรดาล
ตอนที่ 32 ตอนโทณะพราหณ์แบ่งสรรพระบรมธาตุ แก่พราหมณ์และกษํตริย์ 8 พระนคร 18
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
ความน่าสนใจ
ในงานจิตรกรรม
ภาพจิตรกรรมระเบียงคตวัดพระธาตุดอยสุเทพฯมีองค์ประกอบภาพที่สมบูรณ์ เกณฑ์การใช้พื้นที่ว่างนั้นเรียกได้ว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก เนื่องจากสามารถจัดความ สัมพันธ์ระหว่างรูปทรงและพื้นที่ว่างได้เหมาะสม ซึ่งเปรียบเทียบงานภาพจิตรกรรมใน ช่วงเวลาเดียวกันถือว่ามีความโดดเด่นในเรื่องการว่างพื้นที่ และเรื่องราวของการนำ�เสนอ ความเสมือนจริงที่ได้รับอิทธิพลมาจากภาคการที่นิยมเขียนภาพให้มีความเสมือนจริงและ ดูเหมือนว่าจิตรกรต้องการแสดงความเป็นมาตรฐานลงไปในภาพงานเหล่านัน้ ซึง่ เราจะเห็น ได้วา่ มีเกณฑ์การจัดการภาพจิตรกรรมฝาผนังให้อยูใ่ นระดับทีด่ ี บ่งชีใ้ ห้เห็นถึงความสำ�คัญ ของการจัดการภาพให้มคี วามน่าสนใจในงานจิตรกรรมทำ�ให้ภาพจิตรกรรมเหล่านัน้ มีสสี นั น่าสนใจ และดึงดูดจิตใจ
ความงาม
ที่ต้องการนำ�เสนอ
ในงานจิตรกรรมระเบียงคตวัดพระธาตุดอยสุเทพ วรมหาวิหาร มีภายในระเบียง คตทั้ง4 ด้าน ซึ่งหากจะชมภาพพุทธประวัติโดยรอบระเบียงคตอย่างถูกต้องนั้นจะต้องเริ่ม จากทิศตะวันตกเฉียงเหนือหรือประตูทางเข้าด้านขวาของตัวระเบียงคต และความโดดเด่น ภายในงานจิตรกรรมระเบียงคตวัดพระธาตุดอยสุเทพ วรหาวิหาร นัน้ คือฝีมอื ของจิตรกรที่ นำ�เสนอเรือ่ งราวภาพพุทธประวัตทิ ไี่ ด้รบั อิทธิพลมาจากภาคกลางแบบไทยประเพณี ในคือ ความเสมือนจริงของตัวภาพของมาได้อย่างดีซงึ่ แตกต่างจากภาพจิตรกรรมทีอ่ ยูใ่ นช่วงอายุ เดียวกันและภายในภาพจะพบว่างานจิตรกรรมเป็นงานไทยประเพณีแต่เมื่อตัวจิตรกรได้ วาดภาพที่วัดพระธาตุดอยสุเทพจะพบว่างานจิตรกรรมจะมีเรื่องราวของความเป็นล้านนา เข้ามาแทรกด้วย โดยความตั้งใจของตัวจิตรกรเองที่จะสรรสร้างงานจิตรกรรม
จิตรกรรมระเบียงคต พระธาตุดอยสุเทพ
19
จิตรกรรมระเบียงคตวัดพระธาตุดอยสุเทพ
ภาพและเนื้อเรื่อง © 2014 (พ.ศ. 2557) โดย อมรศักดิ์ ภักหาญ, 540310146 สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ พิมพ์ครั้งแรก เดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบและจัดรูปเล่มโดย อมรศักดิ์ ภักหาญ หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานทางวิชาการจัดทำ�ขึ้นเพื่อส่งเสริม และต่อยอดศักยภาพการศึกษา ภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
“
จิตรกรรมหรือภาพเขียนฝาผนังที่อยู่ใน โบสถ์และวิหารหรือตามศาสนสถาน มักจะแสดง เรื่องราวที่น่าสนใจต่าง ๆ ซึ่งต้องการถ่ายทอด ออกสู่สังคม นอกจากนั้นยังสะท้อนให้เห็นถึงการ ทำ�งานเป็นคณะอย่างมีระบบ
”
ปกหน้า : จิตรกรรมระเบียงคต วัดพระธาตุดอยสุเทพ ออกแบบปกโดย : อมรศักดิ์ ภักหาญ