Tai Yai Architecture

Page 1



สถาปัตยกรรมไทใหญ่ อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่



ชาวไทใหญ่ในอ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ มีชาวไทใหญ่อาศัยอยู่จ�ำนวนมาก เพราะมีพรมแดนติดต่อ กับประเทศพม่า ทัง้ ยังมีชาวไทใหญ่เดินทางเข้ามาอาศัยเป็นระยะเวลานาน อีกทัง้ ยังคง รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีไว้อย่างเหนียวแน่น อ�ำเภอฝางมีประวัติมายาวนาน นับ ตัง้ แต่สมัยพญามังรายหลังจากสร้างเมืองเชียงราย ก็ยงั สร้างเมืองฝางตัง้ เป็นชุมชนทีฝ่ ง่ั น�้ำแม่ใจ (บริเวณเขตสุขาภิบาลเวียงฝางในปัจจุบัน) ทรงเสวยราชย์อยู่ ณ เมืองฝางเป็น เวลาประมาณ 15 ปี แล้วจึงยกทัพไปตีเมืองหริภุญไชยในปี 1824 หลังจากได้ทรงสร้าง เมืองเชียงใหม่เสร็จในปี พ.ศ. 1839 เมืองฝางจึงมีฐานะเป็นเมืองลูกหลวงของเชียงใหม่ โดยมีราชบุตร เชือ้ พระวงศ์ และขุนนาง มาปกครองเมืองฝางโดยตลอด ในปี พ.ศ. 2172 เมื่อประเทศพม่าผลัดแผ่นดิน พระเจ้าสุทโธธรรมราชาปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ และยกทัพขึ้นมาปราบหัวเมืองไทใหญ่และได้ยึดเมืองเชียงใหม่ แต่ก็ยังมีหัวเมืองล้าน นาบางเมืองตั้งตัวเป็นอิสระไม่ยอมขึ้นกับพม่าและหนึ่งในนั้นคือเมืองฝาง ซึ่งมีพระยา ฝางอุดมสินเป็นผูน้ ำ� พระยาฝางอุดมสินได้นำ� ผูค้ นเข้าสูร้ บกับพม่าเป็นเวลาอยูป่ ระมาณ 3 ปี แต่ไม่สามารถต้านทานก�ำลังของพม่าไว้ได้ ในทีส่ ดุ เมืองฝางจึงได้ตกเป็นเมืองขึน้ อยู่ ในภายใต้อ�ำนาจของพม่า พ.ศ. 2175 เป็นเวลาอยู่ 100 กว่าปี จนถึงในรัชสมัยสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราช เมืองฝางจึงเข้ารวมอยู่ในอาณาจักรสยามแต่ในช่วงนั้นรกร้าง มีผู้คนจ�ำนวนน้อย จนในประมาณในปี พ.ศ. 2434 พระบาทสมเด็จฯพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 5 ทรงโปรดเกล้าฯให้พระยามหาธิวงศ์ราชาธิบดีเป็นเจ้าปกครอง ภูมิภาค เมืองฝางจึงมีฐานะเป็นอ�ำเภอหนึ่งที่ขึ้นกับจังหวัดเชียงใหม่ 3


สถาปัตยกรรมไทใหญ่ ลักษณะสถาปัตยกรรมของวัดไตมีลักษณะเด่น ซึ่งเป็นอาคารทรงโรง คือมีรูปแบบของ การซ้อนชัน้ กันของหลังคา ทีไ่ ด้รบั อิทธิพลมาจากพระราชวังในเมืองมัณฑะเลย์ และได้ แพร่กระจายไปยังรัฐฉาน ซึง่ เป็นเมืองของชาวไทใหญ่ ท�ำให้เกิดการผสมผสานระหว่าง สถาปัตยกรรมแบบพม่ากับไทใหญ่ ลักษณะของหลังคาทีซ่ อ้ นกันเป็นชัน้ เป็นเอกลักษณ์ ของไทใหญ่ ก็คอื อาคารทรงโรงทีท่ ำ� หลังคาซ้อนกันเป็นชัน้ หลายๆชัน้ ยกคอสองสองชัน้ และทิ้งและทิ้งชายคาลงมาสามตับ ลักษณะแบบนี้ชาวไทใหญ่เรียกว่า “เจตบุน” ถ้า เป็นอาคารที่ยกคอสอง สามชั้น และทิ้งชายลงมาสี่ตับ เรียกว่า “ยอนแซก” แต่ว่าถ้า สูงไปกว่านัน้ จะนิยมสร้างในลักษณะอาคารทรงปราสาท ทีซ่ อ้ นหลังคาขึน้ ไป 5 ชัน้ หรือ 7 ชั้น แล้วแต่ว่าความส�ำคัญของผังพื้นอาคารที่เรือนยอดนั้นคลุมอยู่ ส่วนการตกแต่ง ของหลังคานั้นจะเป็นสิ่งที่สร้างความสวยงามอลังการให้กับอาคารทางศาสนาไมใหญ่ เป็นอย่างมาก ซึ่งแต่เดิมนั้นจะนิยมเป็นส่วนประดับตกแต่งด้วยไม้ฉลุลาย แต่ปัจจุบัน นิยมใช้โลหะประเภทสังกะสีผสมกับดีบุกกรีดเป็นแผ่น น�ำมาฉลุเป็นลวดลายต่างๆ ประดับประดาในส่วนของหลังคา ส่วนทีต่ กแต่งชายคาจึงมีสว่ นทีอ่ ยูเ่ หนือเชิงชาย เรียก ว่า “ปานตอง” ส่วนที่ครอบเชิงชายที่ยื่นออกมานั้นจะเป็นครึ่งวงกลม เรียกว่า “พอง” ส่วนที่ย้อยห้อยลงมาใต้ชายคาเรียกว่า “ปานซอย” และในส่วนของมุมที่ 2 ด้านที่มา บรรจบกันท�ำเป็นปีกประกบกัน เรียกว่า “กะหลุม่ ต่อง” ส�ำหรับส่วนยอดบนสุดของเรือน ยอดทรงประสาทจะประดับด้วยฉัตร 3 5 หรือ 7 ชั้น ส่วนมาที่ตัวฉัตรประดับยอดใช้ เป็นฉัตรสีทอง ภายในวิหารวัดไทใหญ่มีการแบ่งพื้นที่ใช้สอยเป็นสัดส่วน ประกอบด้วย ระเบียงด้านนอกใช้ในการประพิธีกรรมต่างๆ และไหว้พระ ถัดมาพื้นยกสูงส�ำหรับแบ่ง แยกพระสงฆ์ออกจากพุทธศาสนิกชน 4


สถาปัตยกรรมที่ส�ำคัญในสถาปัตยกรรมที่ส�ำคัญในวัดไทใหญ่โดยรวมประกอบด้วย โบสถ์ วิหาร เจดีย์ บางวัดไม่มโี บสถ์ จะมีแต่วหิ ารกับเจดียเ์ ท่านัน้ ศาสนสถานของชาวไต และพม่า นัน้ มีรปู แบบทีค่ ล้ายคลึงกันเพราะเป็นอิทธิพลมาจากพม่าทัง้ สิน้ สิง่ ทีม่ เี หมือน กันของศาสนสถานของชาวไตและพม่า คือ การสร้างอาคารให้เป็นแบบเอนกประสงค์ สามารถรองรับกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างลงตัวและครบถ้วน ดังนัน้ วิหารของไตจึงมีขนาด ใหญ่ เพราะชาวไตมีกิจกรรมทางศาสนาที่ท�ำร่วมกันที่วัดมากมายทุกเดือนนอกเหนือ จากการท�ำบุญในวันพระตามปรกติที่ชาวบ้านมาท�ำบุญร่วมกันอยู่แล้ว ซึ่งกิจกรรมดัง กล่าวนั้นใช้พ้ืนที่ในวิหารร่วมกัน ดังนั้นอาคารจ�ำเป็นต้องจุคนได้มากๆ และเข้าออก สะดวก และที่ส�ำคัญอาคารที่มีหลังคาซ้อนชั้นทรงพระยาธาตุ เป็นเอกลักษณ์ที่ส�ำคัญ ในวัฒนธรรมนี้ ดังนั้นจึงพบว่าวิหารแบบไทใหญ่นั้นมีขนาดใหญ่โต อีกทั้งยังมีการแบ่ง ระดับกันอย่างมากระดับสูงสุดจะเป็นที่ส�ำหรับพระประธาน พระพุทธรูปต่างๆ ซึ่งส่วน นีจ้ ะสัมพันธ์กบั ส่วนของหลังคาทีย่ กสูงคือจะเน้นความส�ำคัญของพระประธาน จะเรียก บริเวณนี้ว่า “ข่าปาน” ส่วนระดับพื้นที่ที่ส�ำคัญรองลงมาคือ บริเวณที่ท�ำพิธีสังฆกรรม ของสงฆ์ ระดับล่างต่อลงมาคือ กุฏเิ จ้าอาวาสและกุฏพิ ระลูกวัด ส่วนทีม่ รี ะดับต�ำ่ สุดก็คอื บริเวณโถง ที่ที่ฆราวาสนั่งฟังธรรม ซึ่งเป็นการใช้สอยวิหารแบบเอนกประสงค์จึงท�ำให้ ขนาดของวิหารของไตมีขนาดใหญ่โตมาก เมื่อเทียบกับวิหารล้านนา

5



คติความเชื่อในการสร้างวัดไทใหญ่ ชาวไทใหญ่ที่เข้ามายังล้านนาในช่วงที่เป็นลูกจ้างสัมปทานป่าไม้ในแม่ฮ่องสอนนั้น ได้มีความสัมพันธ์อันดีกับชาวล้านนา และที่ส�ำคัญชาวไตมีคติความเชื่อเช่นเดียวกับ ชาวล้านนาทั่วไปในเรื่องของการนับถือผี ร่วมกับการนับถือศาสนาพุทธควบคู่กันไป ด้วย จึงมีการท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา ท�ำการบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม รวม ถึงการสร้างวัด จะเห็นได้ว่าวัดที่มีสถาปัตยกรรมแบบไทใหญ่หลายแห่ง ตามจังหวัด ที่ชาวไทใหญ่เข้ามาท�ำไม้ และที่พักอาศัยอยู่ จากอดีตถึงปัจจุบันสถาปัตยกรรมทาง ศาสนาที่ชาวไตได้สร้างและท�ำนุบ�ำรุงในล้านนาได้สืบทอดจนถึงปัจจุบัน วัดในรูปแบบ สถาปัตยกรรมไตจะมีอยู่กระจัดกระจายทั่วไปในจังหวัด เชียงใหม่ ล�ำพูน ล�ำปาง แพร่ น่าน เป็นต้น ซึ่งความโดนเด่นของสถาปัตยกรรมไตที่เป็นแบบพม่าอย่างแท้จริง เรียก ว่า พระยาธาตุ (PYATHAT) เป็นอาคารที่สร้างให้หลังคาซั้นกันเป็นชั้นขึ้นไป 3 5 7 ชั้น ถือว่าเป็นสถาปัตยกรรมชั้นสูง ทั้งการประดับตกแต่งสถาปัตยกรรม เช่น การปิดทอง ประดับกระจก การแกะสลักไม้ การฉลุโลหะ ซึง่ ทัง้ หมดนีเ้ ป็นการประดับประดาอาคาร ศาสนสถานเพื่อเป็นพุทธบูชา

7


8


วัดต้นรุง (จองตก) วัดต้นรุงสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2466 โดยนายจาง ปานหมอก ได้น�ำญาติมิตรชาวไทใหญ่ หลายครอบครัวที่อพยพมาจากเมืองเชียงตุง รัฐฉาน ประเทศพม่า มาตั้งรกรากอยู่ ณ ที่แห่งนี้ และได้พร้อมใจกันสร้างวัดนี้ ได้นิมนต์พระจองค�ำ จากวัดจองแป้นมาเป็นเจ้า อาวาส และได้ตั้งชื่อว่า วัดจองตก เพราะก่อนหน้าสร้างวัดนี้ได้มีวัดชาวไทใหญ่อยู่วัด หนึ่งคือวัดจองออก เมื่อคณะศรัทธาได้แยกมาตั้งอีกวัดหนึ่งทางทิศตะวันตกจึงเรียกว่า วัดจองตก ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น วัดต้นรุง เนื่องจากมีต้นไม้ยืนกร่างอยู่หน้าวัด ภาษา ไทใหญ่เรียกว่า ไม้ฮงุ จึงขนานนามว่า จองต้นฮุง ซึง่ เป็นภาษาไทยใหญ่ ค�ำว่า จอง แปล ว่าวัด เมื่อแปลเป็นภาษาไทย จึงเรียกว่า วัดต้นรุง

9


แผนผังแสดงพื้นที่ของบริเวณวัดต้นรุง

10


รูปด้านหน้าวัดต้นรุง(จองตก)

รูปภาพลายเส้นด้านหน้าของวิหารวัดต้นรุง

11


รูปด้านข้างของวิหารวัดต้นรุงทางทิศเหนือ

รูปภาพลายเส้นด้านข้างของวิหารวัดต้นรุง

12


พระพุทธรูปทรงเครื่อง หรือเรียกว่า พระเจ้าระแข่ง

แผนผังแสดงพื้นที่ภายในวิหารของวัดต้นรุง

13


14


วัดจองแป้น (จองออก) วัดจองออก หรือ วัดจองแป้นนี้ได้สร้างโดยสองพี่น้องชาวไทใหญ่ และญาติมิตรชาว ไทใหญ่ วัดจองออกได้สร้างขึน้ ก่อนวัดจองตก หลังจากทีค่ นผูน้ อ้ งได้ผดิ ใจกับคนผูพ้ ี่ เขา ก็ได้น�ำศรัทธาส่วนหนึ่งไปสร้างวัดจองตกขึ้น ที่เรียกว่าวัดจออกตก จองออก คือ แบ่ง ตามทิศที่ตั้งของวัด และที่เรียกว่า วัดจองแป้น คือ ตอนสร้างวัดในสมัยก่อนนั้นวัดทั้ง หลังสร้างด้วยไม้ ซึ้งแป้น แปลว่าไม้ ปัจจุบันได้ถูกไฟไหม้ทั้งหลัง จึงบูรณะขึ้นใหม่ ในปี พ.ศ. 2548 โดย สท. ประพัฒน์ จันทร์สวุ รรณ ซึง่ หลังใหม่นี้ มีทงั้ ไม้และปูนผสมผสานกัน

15


แผนผังแสดงพื้นที่ของบริเวณวัดจองแป้น 16


วิหารหลังใหม่หลังจากวิหารจะถูกท�ำลายด้วยเพลิงไหม้ที่ยังคงเอกลักษณ์เดิมไว้

รูปภาพลายเส้นด้านหน้าของวิหารวัดจองแป้น 17


พระพุทธรูประแข่งจ�ำลองพระพุทธรูปทองส�ำริดจาก เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า

แผนผังแสดงพื้นที่ภายในวิหารของวัดจองแป้น 18


วัดจองแป้น (จอกออก) สร้างด้วยไม้สกั ทัง้ หลังในรูปแบบไทใหญ่ทสี่ วยงาม สร้างส�ำเร็จใน ในปี พ.ศ. 2512 จึงได้อัญเชิญพระพุทธรูป “ระแข่ง” พระพุทธรูปทองส�ำริด จาก เมื อ งมั ณ ฑะเลย์ ประเทศพม่ า มาประดิ ษ ฐานเป็ น พระประธานของวั ด ต่ อ มา ปี พ.ศ. 2548 ได้ เ กิ ด เพลิ ง ไหม้ อ ย่ า งรุ น แรงวิ ห ารไม้ สั ก ที่ ส ร้ า งมาครบ 100 ปี ถู ก เพลิ ง เผาท� ำ ลายพระพุ ท ธรู ป ระแข่ ง และวั ต ถุ โ บราณอื่ น ๆภายใน วิ ห ารได้ ถู ก เผาไหม้ ไ ปด้ ว ย มู ล ค่ า ความเสี ย หายที่ ท างการประเมิ น ไว้ ไม่ ต�่ ำ กว่ า 40 ล้ า นบาท(ในสมั ย นั้ น ) แต่ ค วามเสี ย หายทางด้ า นจิ ต ใจของชาว บ้ า นนั้ น ประเมิ น ค่ า ไม่ ไ ด้ ค วามสู ญ เสี ย นี้ บั่ น ทอนจิ ต ใจชาวไทใหญ่ เ ป็ น อย่างมาก แต่แรงศรัทธาของชาวบ้านไม่อาจจะหมดลง ปัจจุบันชาวไทใหญ่ได้รวบรวม ก�ำลังศรัทธาขึน้ มาใหม่ และได้เริม่ สร้างวิหารหลังใหม่ขนึ้ มาด้วยก�ำลังทรัพย์ ก�ำลังศรัทธา ของชุมชนทีเ่ หนียวแน่น และมัน่ คง เพลิงอาจเผาพลาญทุกสิง่ แต่ไม่อาจเผาท�ำลายความ ศรัทธาของชาวไทใหญ่ที่มั่นคงในพระพุทธศาสนาให้มอดลงไปได้

19


20


วัดสุนทราวาส (เวียงหวาย) วัดสุนทราวาส(เวียงหวาย) ตั้งอยู่ต�ำบล ม่อนปิ่น อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ สร้าง เมื่อ พ.ศ. 2472 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2525 ด้านหน้าของวิหาร มีทางขึ้น 2 ด้าน เป็นอาคารไม้กึ่งปูน หลังคาซ้อนแบบยกคอสองสูงแล้วซ้อนชั้น 7 ชั้น ด้านบนประกอบด้วยฉัตร บูรณะเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521

21


แผนผังแสดงพื้นที่ของบริเวณวัดสุนทราวาส 22


รูด้านหน้าวิหารไม้วัดสุนทราวาส(เวียงหวาย)ด้านในประดับด้วยกระจกที่มีความงดงาม

รูปภาพลายเส้นด้านหน้าของวิหารวัดสุนทราวาส

23


รูปภาพลายเส้นด้านข้างของวิหารวัดสุนทราวาส

24


แผนผังแสดงพื้นที่ภายในวิหารของวัดสุนทราวาส 25


สถาปัตยกรรมไทใหญ่ ในเขตอ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ภาพและเนือ้ เรือ่ ง © 2014 (พ.ศ. 2557) โดย ฐิตกิ ร จันทรวัชร, 540310109 สงวนลิขสิทธิต์ ามพระราชบัญญัติ พิมพ์ครัง้ แรก เดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบและจัดรูปเล่มโดย ฐิตกิ ร จันทรวัชร โดยใช้ฟอนท์ TH SarabunPSK 16 pt. หนังสือเล่มนีเ้ ป็นผลงานทางวิชาการจัดท�ำขึน้ เพือ่ ส่งเสริม และต่อยอดศักยภาพการศึกษา ภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.