6_years_tsunami

Page 1

0

เอกสารประกอบ

เวที

21 ธันวาคม 2553


1

สารบัญ ลําดับ

พื้นที่

เรื่อง

หนา

ประสบการณจากน้ําคลื่น 1

พังงา

2

พังงา

กระบวนการฟนฟูวิถีชีวิตโดยผูประสบภัยเปนแกนหลัก กรณี : พื้นที่ประสบภัยสึนามิ ชายฝงอันดามัน ประเทศไทย การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากภัย พิบัติโดยชุมชนเปนฐานจากภาคประชาสังคม : กรณีศึกษา ชุมชนบานน้ําเค็ม ต.บางมวง อ.ตะกั่วปา จ.พังงา

ประสบการณสูน้ําทวม 3 นครราชสีมา น้ําคลื่นเจอน้ําทวม ประสบการณจากน้ําเค็มสูกระเบื้องใหญ 4 ลพบุรี บทเรียนจาก น้ํา น้ํา ประสบการณสํารวจพื้นที่น้ําทวม อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี 20-25 ตุลาคม 2553 5 ปทุมธานี กระบวนการ “สรางสายใยเครือขาย ทามกลางสายน้ํา... ทวม” กรณี : เครือขายสิ่งแวดลอมชุมชนจังหวัดปทุมธานี 6 สงขลา ประสบการณการรับมือภัยพิบัติ น้ําทวมใหญ 2010 และพายุดีเปรสชั่น บทเรียนจากภาคสาธารณสุข 7 สงขลา เครือขายอาสาสมัครจัดการภัยพิบัติจังหวัดสงขลา 8 ปตตานี หลังพายุใหญพาดผาน "อาวปตตานี" 9 กรุงเทพ สรุปบทเรียน ศอบ (ศูนยอาสาประชาชนฟนฟูภัยพิบัต)ิ 10 ภาคอีสาน (ราง) ขอเสนอเบื้องตนแผนงานปฏิรูปการจัดการน้ําอีสาน คณะอนุกรรมการปฏิรูปที่ดนิ ทรัพยากร สิ่งแวดลอม และน้ํา

2 11

21 28 39 44 62 70 76 105


2

กระบวนการฟนฟูวิถีชีวิตโดยผูประสบภัยเปนแกนหลัก กรณี : พื้นที่ประสบภัยสึนามิ ชายฝงอันดามัน ประเทศไทย


3

กระบวนการฟนฟูวิถีชีวิตโดยผูประสบภัยเปนแกนหลัก กรณี : พื้นที่ประสบภัยสึนามิ ชายฝงอันดามัน ประเทศไทย โดย นายไมตรี จงไกรจักร เครือขายผูประสบภัยสึนามิ นายจํานงค จิตรนิรัตร อาสาสมัครสึนามิ นางปรีดา คงแปน มูลนิธิชุมชนไท ความเปนมาและการเริ่มกระบวนการ หลังจากเหตุการณคลื่นยักษสึนามิถลม 6 จังหวัด ชายฝงทะเลอันดามัน ที่สงผลใหเกิด ความสูญเสียชีวิตคนในครอบครัว ทรัพยสิน เครื่องมือประกอบอาชีพ การทํามาหากิน ฯลฯ จาก ปญหาวิกฤตความเดือนรอนเฉพาะหนาในชวงแรก ไดนํามาสูปญหาที่ยิ่งใหญขึ้น ชาวบานบาง ชุมชนไมสามารถกลับไปปลูกบานในที่เดิมได เนื่องจากปญหาที่ดิน ซึ่งเปนปญหาพื้นฐานเดิม แตการเกิดคลื่นยักษถลมทําใหเปดภาพปญหาเรื่องที่ดินของชาวบานที่อาศัยอยูชายฝงทะเลมา ยาวนานมีความชัดเจนและรุนแรงขึ้น นอกจากนี้สึนามิทําใหพบวากลุมคนชาวเล กลุมคนไทย พลัดถิ่น และกลุมประมงพื้นบาน ที่มีวัฒธรรมและวิถีชีวิตเรียบงายกับธรรมชาติ และเปนเจาของ ทะเลที่แทจริง กําลังถูกรุกรานจากขางนอกอยางรุนแรง จากหมูบานที่ประสบภัยธรณีพิบัติ 407 หมูบาน จํานวนผูเดือดรอน 12,480 ครอบครัว บานพักอาศัยเสียหาย 6,824 หลัง มีชุมชนผูประสบภัยรายแรง 47 หมูบาน ประมาณ 5,448 ครอบครัว ซึ่งมีผูเสียชีวิตประมาณ 8,000 คน เหตุการณภัยพิบัติแตละครั้งที่เกิดขึ้น ประชาชนจํานวนมากเดือดรอนสิ้นเนื้อประดาตัว อกสั่นขวัญหาย คนที่รอดชีวิต มีทั้งหวงการคนหาศพของญาติพี่นองที่ตายหรือสูญหาย และตอง กังวลกับการหาอาหาร น้ํา ยาและที่พักที่ปลอดภัย ทามกลางการทํางาน พวกเราหลอรวมประสบการณ รวมพลังทั้งหมดที่มีอยู ชวยกัน ทํางาน แบงงานกันทําโดยอัตโนมัติ มีเปาหมายเดียวกัน คือแกปญหาผูประสบภัยทั้งเฉพาะหนา และระยะยาว เปนประสบการณที่อยูในความทรงจําของทุกคน .... ทั้งชาวบานที่ประสบภัยสึ นามิ......และนักพัฒนาก็เรียนรูการแกปญหาไปกับกระแสสึนามิ เชนกัน . ในภาวะฉุกเฉิน ผูที่เดือดรอนจะรอรับบริการอยางเดียวไมได เพราะจะมีผูเดือดรอน จํานวนมาก ปญหาที่เกิดขึ้นแตละครอบครัวมีมากตามมาดวย ประกอบกับระบบของหนวยงาน ราชการตางๆ ไมคลองตัว ไมไดมีแผนเพื่อการรับมือกับปญหาวิกฤติ หนทางที่ดีที่สุดคือ ทํา ใหผูประสบภัย ลุกขึ้นมาแกปญหาดวยตัวของเขาเอง การสนับสนุนให ผูเดือดรอนชวยเหลือ กันเอง และสรางการมีสวนรวม หลักๆคือ การรวมคนเดือดรอน รวมเสบียง รวมดูแลคนออนแอ รวมหาที่อยูอาศัย ทําใหการฟนฟูทุกดานจะเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว และมีพัฒนาการตอเนื่องระยะ ยาวบทเรียนกรณีภัยพิบัติสึนามิ มีขั้นตอนที่สําคัญ ดังนี้


4

๑. การกูวิกฤติ ในชวง ๗ วันแรกของการเกิดภัยพิบัติ กรณีสึนามิในประเทศไทย ไม มี แ ผนการเตรี ย มความพร อ มล ว งหน า แต เ มื่ อ เกิ ด เหตุ ทั้ ง ภาครั ฐ และภาคเอกชน ออกมา ชวยเหลือเองโดยอัตโนมัติ แบงเปน ๓ สวน หลักๆ คือ ๑.) การชวยแหลือผูบาดเจ็บและคนหา ศพ ที่ประกอบดวยทั้งภาครัฐและเอกชน ตางคนตางลงพื้นที่อยางอิสระของแตละองคกร แต เปนความรวมมือที่ดี เมื่อขอมูลมารวมที่โรงพยาบาล วัด และศาลากลางจังหวัด ๒.) การระดม ของช ว ยเหลื อ ซึ่ ง จะมี ก ารสื่ อ สารทุ ก รู ป แบบทั้ ง โทรศั พ ท วิ ท ยุ แ ละโทรทั ศ น การบริ จ าค ชว ยเหลือจึ งมาจากทั่ว ประเทศอยางรวดเร็ว ๓.) การสํารวจแบบเร็ วๆว าคนที่รอดตายและ เดือดรอนจะอยู ตอไปอย างไร เพราะอยู ในภาวะสับสนวุนวาย วัดหรือโรงเรียนอยูอาศั ยได หรือไม หองน้ํ าควรมีการจัดหาเพิ่มเติม การทําศูนยพักชั่วคราว ควรมีการสํ ารวจพื้นที่โดย สอบถามกับผูประสบภัย ใหไดพื้นที่ที่ผูประสบภัยเชื่อวาปลอดภัย เชน กรณีเกิดภัยสึนามิ ตอง เปนพื้นที่ไกลทะเล ๒. จัดหาเตนสและที่พักชั่วคราว เพื่อเปนที่รวมคน สรางขวัญกําลังใจผูประสบภัย และบรรเทาทุ ก ข เ ฉพาะหน า เหตุ ผ ลที่ ต อ งหาเต น ส ที่ พั ก ชั่ ว ครา เพราะการสร า งบ า นพั ก ชั่วคราวตองใชเวลานานนับเดือน ควรมีการวางแผน ทําผังการกางเตนส และมีกําลังคนที่มาก พอ คืนแรกผูประสบภัยเขามาพักอาจจะไมมาก แตคืนที่สองคืนที่สาม จะมีคนเขามาเพิ่มอีก หลายเท า ตั ว นั ก จั ด ระบบชุ ม ชนต อ งมี ที ม ในการจั ด การ ควรมี ที ม ทํ า ข อ มู ล และ มี ก ารจั ด สํานักงานฯเพื่อเปนศูนยกลางในการประสานงาน ๓. เริ่มจัดระบบชุมชนในที่พักชั่วคราวทันที โดยแบงเปนกลุมยอย หรือโซน ตามกลุม ผูเดือดรอน อาจใชแถวเตนเปนตัวแบง หรือตามสภาพ กลุมหนึ่งไมควรเกิน ๒๐ ครอบครัว แต ละกลุมเลือกตัวแทน ๓-๕ คน มาเปนคณะประสานงาน ๔. จัดประชุมตัวแทนกลุม หรือ คณะประสานงาน เพื่อ สรางแกนนําใหม ทามกลาง วิกฤต ในชวงแรกควรมีการประชุมหารือรวมกันทุกคืน รวมทั้งจัดประชุมชี้แจงแกผูเดือดรอน กระตุนใหมาแกปญหารวมกัน ไมรอใหคนอื่นชวยเพราะผูเดือดรอนมีจํานวนมาก แตคนชวยมี น อย ผู ป ระสบภั ย ต องเริ่ มเองก อน แลว บอกความตองการที่ชัดเจนต อผู ที่ จะมาช ว ยเหลื อ และใชที่ประชุมใหญตั้งกติกาการอยูรวมกันในที่พักชั่วคราว ๕ใการแกปญหาเฉพาะหนารวมกัน แตละคนจะเอาเรื่องที่เดือดรอนมาหารือกัน มีการ วางกติกาการอยูรวมกัน...เชน ไมดื่มเหลา การดูแลความปลอดภัย การรับของบริจาค การ จัดการขยะ การดูแลเด็ก ฯลฯ ๖ใการประชุมปรึกษาหารืออยางเขมขน.....และนําผลที่ไดไปปฎิบัติ มีการติดตามผล รวมกันเปนการเรียนรูทามกลางการทํา ทําใหแกนนําเริ่มเขาใจการรวมคิดรวมทํา ในการ จัดการศูนยพักชั่วคราวรวมกัน อยางคอยเปนคอยไป


5

๗ .รวบรวมขอมูลของสมาชิก เชน ชื่อ สกุล สมาชิกครอบครัว ผูพิการ คนทอง เด็ก คนแก คนปวย คนตาย ที่อยูอาศัยดั้งเดิม ความตองการเรงดวน ระยะยาว ควรแบงงาน ใหตัวแทนกลุมทําหนาที่ในการสํารวจ และมาสรุปรวมกัน จะเปนกระบวนการที่ทําใหตัวแทน กลุ มรู จักสมาชิกในกลุ มของตนเองมายิ่งขึ้น ควรมี นักแผนที่ สถาปนิ ก สนับ สนุ น มี ก าร ประสานสื่อมวลชน มีกลองถายรูป วีดีทัศน เก็บบรรยากาศตางๆไว ๘. ประสานงานกับหนวยงาน หรือ องคกรตางๆในการเขามาชวยเหลือ เชน จัดสราง โรงเรือนอาคารที่จําเปน เพื่อ พยาบาล อาหารเสบียง ศูนยเด็ก หรือสวม น้ําดื่มน้ําใช การดูแล ความปลอดภัย-จัดทําแผนระยะตางๆเสนอตอฝายเกี่ยวของ การประสานความรวมมือหลายองคกรทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ทามกลางภาวะความ ไรระเบียบ เพื่อใหการจัดระบบการชวยเหลือประสบภัยบรรลุเปาหมาย ใชการประชุมหารือ รวมกันเปนหลัก กรณีที่พักชั่คราวอบต.บางมวง เตนสที่พักจํานวนกวา 800 หลัง เปนที่ดึงดูดให ผูสนับสนุนทั้งหลายหลั่งไหลเขามาไมขาดสาย มีกลุมองคกรตางๆมากวา 50 แหงที่มารวม สนับสนุน เปนพลังภาคประชาชนที่นาสนใจ ๙. การจัดระบบรับบริจาคเขากองกลาง เพื่อแกวิกฤตความวุนวาย สลายความขัดแยง และเปนแบบฝกหัดของการสรางความเอื้ออาทรตอกัน ซึ่งกรณีประเทศไทยสงผลใหเกิดกองทุน หมุนเวียนยั่งยืนจนถึงปจจุบัน หลังจากที่มีการตั้งเตนสชั่วคราวนับพันหลัง การหลั่งไหลของผูบริจาคมีเขามาอยาง มากมาย ผูบริจาคสวนใหญ ตองการแจกของใหถึงมือผูประสบภัย มีการเขาแถวรับของกัน วันละนั บ สิบ ครั้ ง บางรายนํ า ของมานอยบางคนได บ างคนไม ได เกิ ด ความขั ดแย งกั นขึ้ น ประกอบกับที่พักเล็กมากจนไมมีที่เก็บของ...... ควรมี การประชุมหารื อเรื่องการรับ บริจาคของและเงินเขากองกลาง และมีการตั้ง คณะทํางาน ฯ เพื่อทําหนาที่อธิบายใหผูบริจาคเขาใจ การติดปายประชาสัมพันธแจกเอกสาร เปนภาษาอังกฤษ การเปดบัญชีธนาคารรวมกัน ของเขาโกดังตองมีการจัดระบบการเบิกจาย ของใชที่จําเปนอยางเปนธรรม ๑๐. ทีมหลักในการจัดการบริหารศูนยพักชั่วคราวควรเปนนักพัฒนาที่มีประสบการณื มีความยืดหยุนคลองตัว สวนราชการเปนหนวยสนับสนุน ทีมงานควร พักอาศัยในแคมป เพื่อประเมินสถานการณเปนระยะ ๑๑ . สรางศูนยกลางขยายการชวยเหลือไปสูพื้นที่อื่นตอไป เมื่อจัดระบบแคมปแรกลง ตัวแลว ที่สําคัญสนับสนุนใหทีมตัวแทนชาวบาน ไดเปนผูขยายการชวยเหลือเพื่อนผูเดือดรอน ดวยตัวเอง เพื่อสนับสนุนใหเกิดการผูกใจ สรางความสัมพันธที่ดี และเปนเพื่อนกันระยะยาว แคมปแรกเกิดระบบการดูแลระดับหนึ่ง กอนขยายไปสูที่อื่น เชน มีเสบียงอาหาร หมอ ตัวแทนกลุมการประชุม ขอมูล ระบบองคกรหนวยงาน การดูแลผูออนแอ สถานที่ศาสนพิธี ๑๒. สร า งกิ จ กรรมหลากหลายตามความจํ า เป น และเป น การเตรี ย มความพร อ ม ชาวบาน เชน ศูนยเด็กและเยาวชน กลุมอาชีพ (อาจหวังผลทางเศรษฐกิจหรือทางจิตใจ)


6

ฟ น ฟูวั ฒ นธรรม อาสาสมั ค รชุ มชน การจั ด การกองทุ น การออมทรั พ ย หรื อ ธนาคารชุ ม ชน สํารวจศักยภาพ ( หมอยา กอสราง ตอเรือ งานฝมือตางๆ) การออกแบบ วางผัง นาไร ที่อยู อาศัย การสนับสนุนใหมีการเรียนรูทามกลางการทํา ทําใหเกิดคณะทํางานศูนยประสานงาน บานน้ําเค็มและเกิดกองทุนของชุมชนจนถึงวันนี้ การฟนฟูจิตใจแกผูประสบภัยหลายวิธี การรวมคน การสรางที่พักชั่วคราว การประชุม พูดคุย การแบงงานกันไปทํา เปนสวนหนึ่งของการฟนฟูและหลอหลอมจิตใจ นอกจากนี้ยังมี หมอจากหลายองคกร มีผูนําศาสนาเกือบทุกศาสนาที่เขามารวม ๑๓. นักพัฒนาสังเกตและศึกษาแกนนําแตละคนอยางละเอียด ทํางานทางความคิด กุมสภาพให ไ ด อาจใช วิ ธี คุย บุค คล แต ใ ห ใชการประชุมที มเปนหลัก ทุ กครั้ งมี การบั นทึก รายงานตอวงใหญ. ..... ความคิด ทาทีการใหมีสวนรวม ...... ความมีคุณธรรม ทุกดาน ...... การประสานงานกับคนอื่น ระดมความรวมมือได ...... ขยัน ทั้งการคิด และการทํา ...... มีแนวคิดทํางานเปนทีม ๑๔. กรณีเกิดปญหาที่ดิน ภัยพิบัติทุกแหงในประเทศไทย เกิดปญหาการไลที่ จากทั้ง ภาครั ฐและเอกชน เนื่ อ งจากเปนป ญหาที่มีม าเดิม เพื่อไมใ หเ ป น การซ้ํา เติ ม ผูประสบภัย ควรสนับสนุนใหสรางบานในที่ดินเดิม ปญหาเรื่องเอกสารสิทธิที่ดินพิจารณาที หลัง อาจมีการใชคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ตั้งอนุกรรมการแกไขปญหาที่ดินหลังภัยพิบัติ หรือฟองศาล แลวแตกรณี ควรมีนักกฎหมายเขามาชวยเหลือ และ สนับสนุนการจัดทําขอมูล ประวัติศาสตรชุมชน ทําแผนที่ ใชภาพถายทางอากาศยืนยัน ๑๕. การสรางบานและวางผังชุมชน แบบมีสวนรวม ควรหารือกับชาวบานหาก ชุมชนใดตองการกลับไปสูที่เดิมได ควรสนับสนุนงบประมาณในการสรางบานใหมอยางรวดเร็ว โดย มี ส ถาปนิ กมาชว ยออกแบบผั งชุ ม ชนและแบบบ าน โดยใชก ระบวนการมี ส ว นรว มของ ชาวบาน ใหเปนแบบบานที่มาจากความตองการของชาวบาน .......สอดคลองกับวัฒธรรมวิถี ชีวิตชุมชนและทองถิ่น ในชวงสรางบาน ใหใชการสราวบานเปนเงื่อนไขในการสรางคน สราง ความภูมิใจของชุมชน โดยทุกคนทั้งผูชาย ผูหญิง เด็ก มารวมกันสรางบาน ใหมีการแบงงาน กันทํา เชน มีฝายกอสราง ฝายการเงิน ฝายอาหารและน้ํา ฝายประสานงานกับอาสาสมัคร เปนตน ซึ่งกรณีเมืองไทย มี ๒ ลักษณะ คือ (๑). ชุมชนที่ผูสนับสนุนมีเงื่อนไขใหผูอยูอาศัย สร า งบ า นกั น เอง ( มี ก ารระดมอาสาสมั ค รทั้ ง ในและต า งประเทศมาร ว มกั น สร า ง ) เป น กระบวนการสรางการมีสวนรวมของชุมชน ทําใหคนในชุมชนรักและหวงแหนชุมชน เกิดการ เรียนรูนิสัยใจคอ ความเอื้ออาทร ความสามรถที่แทจริงระหวางกันชัดเจน เปนประโยชนกับ


7

การจัดตั้งคณะกรรมการในการบริหารจัดการเรื่องตางๆของชุมชนในระยะตอไป (๒) .ชุมชนที่ หนวยงานราชการ (ทหาร ) สรางบานใหแลวเสร็จ ผูอยูอาศัยเขาไปอยูอยางเดียว ขาดการมี สวนรวม ชุมชนเหลานี้ มีปญหาในการจัดการทุกดาน เพราะรอใหราชการมาจัดการให อีกทั้ง แบบบานที่สรางไมเหมาะสมกับการใชงานในวิถีประจําวัน เชน ไมมีพื้นที่วางเครืองมือประมง เปนตน และในกรณีเมืองไทย บานน็อคดาวนสําเร็จรูปจากตางประเทศไมสอดคลองกับสภาพ อากาศทําใหรอนอบอาว ๑๖. การชวยเหลือคนชายขอบ เชน ชาวเล คนไรสัญชาติ หรือแรงงานตางดาว เมื่อเกืดภัยพิบัติคนเหลานี้จะไมไดรับการชวยเหลือ เพราะไมมีบัตรประชาชน ไมมีสิทธิใด จึง ควรมีการสนใจเปนพิเศษ คนเหลานี้จะมีปญหาความไมมั่นคงในการอยุอาศัยตามมา ๑๗. การฟนฟูวัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรม ศาสนา การละเลนพื้นบาน ภูมิ ปญญา ภาษาของชาวบาน รวมทั้งการสนับสนุนใหเกิดลานวัฒธรรม พิพิธภัณฑทองถิ่น สิ่งเหลานี้ เปนกระบวนการรวมคน สรางขวัญกําลังใจ บําบัดความโศกเศราเสียใจ สรางความ มั่นใจและเพิ่มพลังชีวิต โดยเฉพาะกลุมคนชายขอบ หรือคนกลุมนอย มีโอกาสแสดงออกใน ลักษณะตางๆ กรณีประเทศไทยสามารถฟนฟูกลุมศิลปนอันดามันที่มีการแสดง เชน ร็องแง็ง ลิเกปา มโนราห รํามะนา ฯลฯ ไดถึง ๓๐ กลุม ๑๘. การเรงสรางชุมชนใหมที่เขมแข็งในที่ดินเดิม การยายออกจากที่พักชั่วคราว กลับสูชุมชนเดิม ควรมีการวางแผนรวมระหวางผูประสบภัย และมีสิ่งอํานวยความสะดวก พื้นฐาน เชน น้ํา ไฟ ที่ทําการชุมชน คณะกรรมการชุมชนที่ผานการหารือกัน ศูนยดูแล เด็ก คนปวย กองทุนการประกอบอาชีพ หรือพื้นที่สาธารณะอื่นๆ คารมีกิจกรรมตอเนื่องใน ชุมชน รวมทั้ง การทําบุญ ทําพิธีกรรม เพื่อสรางขวัญกําลังใจกอนการเขาบานใหมเปนเรื่อง สําคัญ อีกประการหนึ่ง ๑๙. การเกิดเครื อขายผู ประสบภั นสึนามิ ในกรณีประเทศไทยมีการประกาศตั้ ง เครือขายผูประสบภัยสึนามิ ตั้งแต ๓ เดือนแรกของการประสบภัย โดยสนับสนุนใหแกนนํา ของผูประสบภัยแตละพื้นที่ ไดพบปะแลกเปลี่ยนกัน ซึ่งในเบื้องตนมีสมาชิกประมาณ ๓๐ ชุมชน และจะมีผูประสบภัยที่เพิ่มขึ้นเปน ๑๓๐ ชุมชนในระยะตอมา ใหใชปญหารวมเปน เงื่อนไขในการเชื่อมโยงกันเปนเครือขาย ฯ กรณีเมืองไทยมีปญหาที่ดิน ปญหาไมมีบัตรไมมี สิทธิไดรีบการชวยเหลือ เครือขาย ฯ จึงทําหนาที่ในการรวบรวมปญหาเสนอตอรัฐบาล โดย การเผยแพรทางสื่อสาธารณะ การเสนอผานหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ และการเจรจากับ รัฐบาลเปนระยะ สงผลใหรัฐบาลตั้งคณะอนุกรรมการแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ธรณีพิบัติ อยางเรงดวน ๒๐. การสนับสนุนใหชุมชนทําแผนแมบทในการแกปญหาและพัฒนาชุมชนระยะยาว การยายกลับเขาสูชุมชนเดิม เรื่องอาชีพ รายได การอยูการกิน การเรียนหนังสือของเด็ก เปน เรื่องสําคัญที่จะตองสนับสนุน และการสนับสนุนควรเนนความยั่งยืน ใหผูประสบภัยสามารถ


8

พึ่งตนเองไดในระยะยาว ควรมีการจัดทําแผนรวมกันทั้งในระดับชุมชนวาจะทําอะไรกอนหลัง และแผนการพัฒนาความเขมแข็งของเครือขาย กรณี บานน้ําเค็ม จังหวัดพังงา นอกจากมี แผนการพัฒนาชุมชนแลว มีการทําแผนเตรียมความพรอมรับมือกรณีเกิดภัยพิบัติ โดยมีทีม อาสาสมัครชาวบาน มีการซอมหนีภัย วิทยุสื่อสาร การเฝาระวังคลื่น กรณีจังหวัดภูเก็ต เครือขายชุมชนพัฒนาเมืองภูเก็ต รวมลงนามความรวมมือกับองคกรที่เกี่ยวของ ในการปลูก ปาชายเลน ๑ ลานตน การพัฒนาแกนนํา และการสนับสนุนใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูดูงาน การประชุมสรุปบทเรียน ใหผูประสบภัยรวมกันระดมความเห็นและตรวจสอบจุดออน จุดแข็ง ของตนเอง เปนระยะ และนักพัฒนาควรใชทั้งความสําเร็จและความลมเหลว เปนบทเรียนใน การทําใหแกนนําชุมชนไดเขาใจ และวิเคราะหได ขั้นตอนการสนับสนุนใหกลุมผูประสบภัยเชื่อมโยงกันเปนเครือขาย

บา ย ย โ น ง ิ บเช น้ํา ท ะ ร ก ผล . / โฉ น ด อพท นา ฯลฯ การพัฒ

ปญหาที่ดิน / กรณีพิพาทเอกชน /ที่ดินรัฐ การคืนสัญชาติ

ล รัฐบา

การเสนอแกปญหา เชิงนโยบาย การเสนอผลการฟนฟูโดยชุมชน ครบรอบ 1 ป

อนุกรรมการแกไข ปญหาที่ดินสึนามิ

การเชื่อมประสานระหวาเครือขาย“เครือขาย ผูประสบภัย 6 จังหวัด” การแกไขปญหาที่ดิน / สํารวจขอมูล / เชื่อมโยงในระดับ พื้นที่และเครือขาย

กระบวนการ “สึนามิ”

การพัฒนาแกนนํา / ขยายคณะทํางาน กองทุนฟนฟูชุมชน / เรือ / กลุมอาชีพ การฟนฟูวิถีชีวิต / วัฒนธรรม / ประเพณี / ศิลปน

สรางบานถาวร / ออกแบบบาน / ชุมชนสรางบานเอง สนับสนุนการรวมกลุม / การมีสวนรวม / คณะทํางานรับบริจาคของ / คณะทํางานบานพัก การแกปญหาเฉพาะหนา ที่พัก / อาหาร ฯลฯ

๑๔. การบริจาคเปนดาบ ๒ คม ขอควรระวัง คือ การบริจาคทําใหผูประสบภัยหวัง

พึ่งพิงคนอื่นมากขึ้นจนแกไขยาก กรณีเมืองไทย คือ( ๑.) ผูบริจาคที่ใจบุญไมเขาใจการสราง เงื่อนไขใหเกิดความเขมแข็งในชุมชน บริจาคโดยไมเขาใจ ไมรูจักสภาพของชุมชน ทําใหผูนํา บางคนยักยอกเงิ นขาดความเชื่อถื อจากสมาชิกเป นการใหที่ทําลายโดยไมเจตนา ( ๒.) ผู บริจาคที่สรางเงื่อนไขในการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนของชุมชน ซึ่งตองมีกลไกในการบริหาร


9

จัดการกองทุนรวมกัน มีการตรวจสอบ มีการแบงงานกันทํา เปนตน แตควรมีการติดตามจาก ผูสนับสนุนอยางตอเนื่อง เพราะยังมีปญหาเกิดขึ้นอีกหลายประการ ๒๓. สนั บ สนุ น ให ส รุ ป ป ญ หาและ ผลการทํ า งานฟ น ฟู ชุ ม ชนของเครื อ ข า ยชุ ม ชน ผูประสบภัย เพื่อเสนอตอสาธารณะ เปนการสรางความภาคภูมิใจ ความมั่นใจในการ รวมกันคิก รวมกันทํา และรวมกันผลักดันการแกปญหาอื่นๆในระยะยาว กรณีประเทศไทย ผลการทํางานของเครือขาย มีดังนี้ • สรางบานผูประสบภัย ๑,๐๓๐ หลังใน ๑๙ ชุมชน • สรางและซอมเรือประมง ๑,๗๐๐ ลํา • จัดตั้งกลุมอาชีพ ๔๙ กลุม มีสมาชิก ๑,๕๐๐ คน • จัดตั้งกองทุนเรือ กองทุนอาชีพ และกลุมออมทรัพย ๗๒ กลุม • จัดตั้ง กลุมเยาวชน กลุมอนุรักษปาชายเลน ๑๒ กลุม • แกปญหาที่ดินได ๑๓ กรณี จํานวน ๑,๑๕๖ ครัวเรือน ขอเสนอใหรัฐแกไขปญหาเพื่อที่ชุมชนผูประสบภัยจะทํางานฟนฟูชุมชนอยางยั่งยืน ๑.) ออกระเบียบรับรองชุมชนผูประสบภัยในที่ดินรัฐ เปน “สิทธิรวมของชุมชน ” ๒.) เพิกถอนเอกสารสิทธิ์ที่เอกชนออกโดยมิชอบ และทับซอนชุมชน ๓.) จัดหาไฟฟาและน้ําประปาใหชุมชนผูประสบภัย ๔.) แกไข ระเบียบ ขอบังที่เปนอุปสรรคในสรางบาน ๔.) เรงสํารวจแกปญหาคนไรสัญชาติ ๕.) จัดสรรงบประมาณเปนกองทุนหมุนเวียนใหชุมชนผูประสบภัย ๖.) ใหเด็กที่ประสบภัยทุกคน มีสิทธิพิเศษในการเรียนและรักษาสุขภาพ ๗.)บรรจุหลักสูตรสึนามิและภูมิปญญาทองถิ่นเกี่ยวกับการเตือนภัยในโรงเรียนริมทะเล ๘.)ใหชุมชนจัดระบบเตือนภัยของตนเองเสริมระบบเตือนภัย เชน วิทยุชุมชน วิทยุสื่อสาร ๙.) ชุมชนผูประสบภัยมีสวนรวมทุกขั้นตอนในการจัดผังที่ดินใหม ๑๐). ยกเลิกโครงการพัฒนาขนาดใหญที่กระทบตอวิถีชีวิตชุมชน


10

บทสรุป กรณีประเทศไทย การเกิดภัยพิบัติ ทําใหสังคมไดรับรุวา ยังมีชุมชนตาง ๆ ที่ไมไดรับ การปกป อ งคุ ม ครอง และการไม ไ ด รั บ สวั ส ดิ ก ารพื้ น ฐาน เช น บั ต รประจํ า ตั ว ประชาชน การศึกษา ยารักษาโรค เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย มีคุณภาพชีวิตต่ํากวาเกณฑปกติของคน ชายขอบ เชน ชาวเลและคนไทยพลัดถิ่น มีความไมมั่นคงในที่ดินและที่อยูอาศัย แมจะมี ประวัติศาสตรชุมชนมายาวนานกวา 100 ปก็ตาม มีนโยบายและแผนพัฒนาของรัฐที่มีผลกระทบ ตอวิถีชีวิตชาวเล ชาวประมง และวิธีการ ทํามาหากินโดยรวมและเกิดความขัดแยงในการแยงชิงทรัพยากร ชาวเลไมมีโอกาสอยูริมหาดที่ เคยอยูจอดเรือ ไมมีอิสระในการหาปลาเพราะทะเลมีเจาของ ทําอาชีพบริการไมได เพราะมี แผนการสัมปทาน ทาเรือนําลึกของตางชาติ หรือกิจการการลงทุน ตาง ๆ ไมยอมรับกติกาการอนุรักษ ทรัพยากรของชุมชนตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ เปนตน สึนามิเปนภัยพิบัติจากธรรมชาติ แตเปดใหเห็นถึงสิ่งที่มนุษยกระทําตอมนุษย จะเห็น ไดวาในที่สุดแลวกลับกลายเปนปญหาความไมเปนธรรมในการพัฒนา ทีไปละเมิดสิทธิของ ชุมชน ที่อยู กอนสึนามิมานับรอยป คุณภาพชีวิตของคนชายฝงอันดามันจึงทุกขยาก ตกต่ําลง ทุกวันในขณะที่ทรัพยากรที่อุดมสมบูรณกลับตกอยูในมือของนักธุรกิจทั้งไทยและตางประเทศ ที่ดินชายหาด ทั้งบนฝงและพื้นที่เกาะ แมกระทั่งปาชายเลน ก็ตกไปเปนทรัพยากรสวนบุคคล แทบทั้งหมด ซึ่งในการแกไขปญหานี้ ตองเปนการแกไขในระดับนโยบายที่เปดโอกาสให ชุม ชน ประชาชนคนเล็ ก ๆ ทุ ก ชาติ พัน ธุ มี สว นร ว มเป นตั ว หลัก ในการพั ฒ นาท อ งถิ่ น และ ประเทศ กรณีสึนามิประเทศไทย ไดพิสุจนใหเห็นแลววา กระบวนการพัฒนาสามารถเปลี่ยน วิก ฤตเป น โอกาสได สามารถทํ า ให คนที่ตางคนต า งอยู รวมกันเปน เครื อข ายช ว ยเหลื อกั น สามารถทําใหเกิดเครือขายชุมชนที่เขมแข็ง มีคุณภาพ เขารวมการพัฒนาเรื่องอื่นๆ ของสังคม ไดอยางยั่งยืน ดั ง นั้ น การเปลี่ ย นภั ย พิ บั ติ เ ปน กระบวนการพั ฒ นาควรเป นยุ ท ธศาสตร สํ า คั ญ ที่ หนวยงานที่เกี่ยวของในระดับนานาชาติ ทั้ง ยูเอ็น อาเซี่ยน ธนาคารโลก กาชาดสากล ฯลฯ ใหการสนับสนุนฟนฟูวิถีชีวิตชุมชนผูประสบภัยพิบัติทุกประเภท ที่กําลังเกิดขึ้นและที่จะ เกิดขึ้นอีกในอนาคต


11

การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการความเสีย่ งจากภัยพิบัติโดยชุมชนเปนฐาน จากภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาชุมชนบานน้ําเค็ม ต.บางมวง อ.ตะกัว่ ปา จ.พังงา


12

การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการความเสีย่ งจากภัยพิบัติโดยชุมชนเปนฐาน จากภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาชุมชนบานน้ําเค็ม ต.บางมวง อ.ตะกัว่ ปา จ.พังงา ศิรินันต สุวรรณโมลี1 สุรพงษ ชูเดช2 และ มิชิตา จําปาเทศ รอดสุทธิ3 บทคัดยอ บทความนี้เปนนําเสนอผลการศึกษาเชิงคุณภาพเกี่ยวกับการศึกษาปญหา อุปสรรค และแนวทางการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐานจากภาคประชา สั ง คม จากบทเรี ย นของชุ ม ชนบ า นน้ํ า เค็ ม ตามแนวความคิ ด การดํ า รงชี วิ ต อย า งยั่ ง ยื น (sustainable livelihoods) โดยใชเทคนิคเดลฟาย (Delphi) ในการรวบรวมขอคิดเห็นจาก ผูปฏิบัติงานภาคประชาสังคม ไดแก ชุมชน องคกรพัฒนาเอกชนและภาครัฐที่รวมดําเนินงานกัน จํานวน 10 คน ผลการศึกษาพบวา 1) ในการดําเนินงาน พบปญหาดานการมีสวนรวม ดาน งบประมาณ ดานความรูความเขาใจในสิทธิหนาที่ในการดําเนินงานและดานการประสานงาน ระหวางองคกร 2) แนวทางในการพัฒนาการดําเนินงานคือ ภาคชุมชนควรมีการรวมกลุมและ การจัดการองคกรชุมชน (Organization Building) ซึ่งเปนหัวใจของกระบวนการจัดการความ เสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน ตั้งแตชวงตนของการฟนฟูชุมชน สวนภาครัฐและองคกร พัฒนาเอกชน ควรประสานการดําเนินงานรวมกัน โดยดานการมีสวนรวมนั้น องคกรพัฒนา เอกชนสามารถชวยทํางานเชิงลึกวางรากฐานการจัดการตนเองใหกับชุมชนได ดานงบประมาณ และอุปกรณ ในชวงตนนั้นองคกรพัฒนาเอกชนสามารถจัดหามาใหกับชุมชนไดคลองตัวกวา ภาครัฐ สวนภาครัฐสนับสนุนการสานตอการดําเนินงานใหกับในระยะยาวควบคูไปกับใหความรู และสรางความเขาใจในสิทธิหนาที่ในการดําเนินงานที่ถูกตองแกชุมชน คําสําคัญ : ภัยพิบัติ, การจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน, การดํารงชีวิต อยางยั่งยืน บทนํา เหตุการณสึนามิซัดชายฝงอันดามัน ในวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ไดสรางจุดเปลี่ยนใหประเทศ ไทยไดตระหนักถึงวิกฤตที่เกิดขึ้นจากความเสียหายจากภัยพิบัติ และไดทําใหคนไทยไดรวมตัว รวมใจเปนหนึ่งเดียวกัน จนเกิดความเปนประชาสังคม (Civil Society) จากผูที่มีจิตอาสาทั้ง ประชาชนทั่วไป ภาครัฐ และภาคเอกชนที่อยูนอกพื้นที่ประสบภัยโยงความชวยเหลือกันอยางไร พรมแดน โดยมีทุนทางสังคมของความไววางใจมาชวยลดชองวางระหวางบุคคลหรือองคกร ทํา ใหทุกภาคสวนรวมกันทํางานไดในฉับพลัน ดังกรณีของชุมชนบานน้ําเค็ม ต.บางมวง อ.ตะกั่ว ปา จ.พังงา ที่ไดรับความชวยเหลือจากภาคประชาสังคม ตั้งแตการบริจาคตามความตองการขั้น พื้ น ฐ า น ไ ป จ น ถึ ง ก า ร ส ร า ง วิ ธี คิ ด ที่ ชี้ ใ ห ชุ ม ช น เ ห็ น ค ว า ม สํ า คั ญ ใ น จั ด ก า ร ต น เ อ ง 1

นักศึกษาโปรแกรมทักษะการจัดการทรัพยากรฐานชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี สายสังคมศาสตรและมนุยศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 3 สถาบันการบริหารและจิตวิทยา 2


13

(Self-organization) เริ่มจากแกปญหาและเรียนรูจากปญหาควบคูกันไป โดยไมรอคอยแตความ ชวยเหลือจากภายนอกชุมชน(สุริชัย, 2550) กระทั่งหาแนวทางในการสรางความมั่นคงใหกับ การใชชีวิตในชุมชนโดยเลือกใชเทคนิคการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน (Community-based Disaster Risk Management: CBDRM) มากําหนดมาตรการลดความ เสี่ยงในการวางแผนการ บริหารทรัพยากร ปองกันและแกไขปญหาทุกขั้นตอน โดยอาศัยความ เขาใจดานสภาพแวดลอมและบริบทของคนในชุมชนเปนหลัก (นิลุบล, 2006) เมื่อพิจารณาปรากฏการณในขางตนแลวจะเห็นวา ความเปนประชาสังคมจากผูสนับสนุน ภายนอกและการจัดการตนเองจากภายในชุมชนเปนปจจัยที่โยงใหการฟนฟูและเตรียมพรอม รับมือกับภัยพิบัติเกิดขึ้นไดอยางครบวงจร การศึกษาในครั้งนี้จึงสนใจกระบวนการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติของชุมชนบาน น้ําเค็ม ตําบลบางมวง อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา ซึ่งมีบทเรียนที่สามารถนําไปขยายผล สู แนวทางการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐานจากภาคประชาสังคม โดยลดชองวางและเชื่อมโยงการดําเนินงานจากทั้ง 3 ภาคสวนไดแก ภาคชุมชน องคกรพัฒนา เอกชน และภาครัฐได วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาปญหา อุปสรรค พรอมทั้งแนวทางการแกไขในการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ โดยมีชุมชนเปนฐานของชุมชนบานน้ําเค็มจากภาคประชาสังคม 2. เพื่ อศึ กษาแนวทางการพั ฒนาการจั ดการความเสี่ ยงจากภั ย พิ บัติ โดยมีชุ มชนเป นฐานจาก บทเรียนความรวมมือกันในภาคประชาสังคมของชุมชนบานน้ําเค็ม วิธีดําเนินการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยนําเอาเทคนิคเดลฟาย (Delphi) มาใชในการรวบรวมขอคิดเห็นเกี่ยวกับ แนวทางการพัฒนาและสนับสนุนการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน โดย เลือกผูเชี่ยวชาญแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และใชวิธีบอกตอ (Snowball Sampling) จากผูปฏิบัติงาน ผูเชี่ยวชาญจากชุมชน องคกรพัฒนาเอกชนและภาครัฐ จํานวน10 คน ผลการวิจัย 1. การศึกษาบทบาทของแตละภาคสวนในกระบวนการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ โดยมีชุมชนเปนฐาน โดยทั่วไปกระบวนการ CBDRM จะประกอบดวยขั้นตอนการดําเนินงานทั้งหมด 7 ขั้นตอน (นิลุบล, 2006) ดังภาพที่ 1 ซึ่งหากแบงชวงเวลาในการดําเนินงานตามแนวคิดการจัดการตนเอง (Seixas และคณะ, 2008) แลวจะพบวาการดําเนินงานมีอยู 2 ชวงใหญๆ คือ ชวงเริ่มตนการ จัดการ ไดแก กระบวนการ CBDRM ขั้นที่ 1-5 และชวงสานตอการจัดการ ไดแก กระบวนการ CBDRM ขั้นที่ 6-7


14

ขั้นตอนที่ 1

• การเลือกชุมชนและพื้นที่ดําเนินงาน

2

• การทํามวลชนสัมพันธ และการสรางความเขาใจกับชุมชน

3

• การจัดองค กรชุม ชนในการจัดการภัยพิบัติ

4

• การจัดทําแผนการจั ดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยการมีสวนรวมของชุมชน

5

• การประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยการมีสวนรวมของชุมชน

6

• การเสริมสรางขีดความสามารถใหแกชุมชน

7

• การติดตามการทํางาน การรายงานผลและการปรับปรุงแกไข

ภาพที่ 1 ขั้นตอนของการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน 1.1 ชวงเริ่มตนการจัดการ กอนที่ศูนยเตรียมความพรอมปองกันภัยพิบัติแหงเอเชีย (ADPC) จะจัดการอบรม CBDRM ในป พ.ศ.2547 ชาวบานไดรับการสนับสนุนขององคกรพัฒนาเอกชนในการจัดระบบการ รวมกลุมและสรางการเรียนรูผานการลงมือปฏิบัติตั้งแตพักอยูที่ศูนยพักชั่วคราวบางมวง ในการ แก ป ญ หาความเป น อยู จ ากผลกระทบของสึ น ามิ เช น การฟ น ฟู แ ละจั ด ตั้ ง กลุ ม อาชี พ การ แกปญหากรรมสิทธิ์ที่ดิน การฟนฟูวัฒนธรรมซึ่งเปนกระบวนการรวมคน บําบัดความโศกเศรา เสียใจ สรางความมั่นใจและเพิ่มพลังชีวิต การสนับสนุนใหชุมชนทําแผนแมบทในการแกปญหา และพั ฒ นาชุ ม ชนระยะยาวเพื่ อ การพึ่ ง พาตนเอง การสานเครื อ ข า ยผู ป ระสบภั ย สํ า หรั บ แลกเปลี่ยน รับฟงปญหาระหวางผูประสบภัยและยื่นขอเสนอในการจัดการปญหาตอภาครัฐ ซึ่ง เปนกิจกรรมที่วางรากฐานในการจัดการตนเองใหกับชาวบาน จนเมื่อชาวบานยายจากศูนยพักชั่วคราวบางมวง กลับมายังชุมชนบานน้ําเค็มซึ่งเปนที่พัก อาศัยเดิม การสรางทีมที่จะเตรียมพรอมตอความเสี่ยงจากคลื่นสึนามิซึ่งเคยสรางความสูญเสีย ใหกับชุมชนก็เริ่มขึ้นโดยมีชาวบานเปนตัวหลักในการตั้งคณะกรรมการ จัดการคนในชุมชนให ทําหนาที่ตางๆ โดยมีศูนยในการบริหารการจัดการ คือ ศูนยประสานงานชุมชนบานน้ําเค็มซึ่ง ทําหนาที่ประสานกับองคกรที่เขามาชวยทั้งภาครัฐ องคกรพัฒนาเอกชน อาสาสมัครและคน ทั่วไป และศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) บานน้ําเค็ม เปนแกนหลักในการ เฝาระวังและเตรียมพรอมตอภัยจากคลื่นสึนามิ โดยมีองคกรบริหารสวนตําบลบางมวงสนับสนุน งบประมาณในการอบรมและจัดซื้ออุปกรณที่จําเปนตอการกูภัย การซอมอพยพ สวนองคกร พัฒนาเอกชนเปนพี่เลี้ยงที่ใหคําปรึกษาในการทําแผนจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติซึ่งตองใช เวลาถึง 1 ปเต็ม


15

1.2 ชวงสานตอการจัดการ หลังจากที่เกิดแผนเตรียมความพรอมรับมือกับภัยพิบัติจนชุมชนตั้งทีมและสามารถดําเนินงาน จนเปนระบบของตนเองแลว องคกรพัฒนาเอกชนที่อยูในพื้นที่ก็คอยๆ ลดบทบาทของตนเองลง จากพี่เลี้ยงที่อยูใกลชิด มาเปนผูชวยที่คอยสังเกตการณ ใหคําปรึกษาเมื่อชุมชนตองการความ ชวยเหลือและใหการสนับสนุนการพัฒนาความสามารถตอยอดที่จําเปนตอการพัฒนาตนเองของ ชุมชน สวนภาครัฐหลังจากสนับสนุนกระบวนการ CBDRM และทีมอปพร.ของบานน้ําเค็มแลว ยังมีการพัฒนาความสามารถของอาสาสมัครตอเนื่องดวยการฝกอบรมทักษะในการกูชีพกูภัยใน โครงการ หนึ่งตําบล หนึ่งทีมกูภัย (OTOS) และนําชุมชนเขารวมโครงการชุมชนเขมแข็ง เตรียมพรอมปองกันภัยเปนชุมชนนํารองในป พ.ศ.2551 ซึ่งใชถึงเวลา 1 ปเต็มในการพัฒนา ระบบขอมูลและการจัดการความรูดานภัยพิบัติของชุมชน พัฒนาแผนการจัดการความเสี่ยงภัย ตอยอดจาก CBDRM เดิมที่ไดรับการอบรมไวแลวใหเขมแข็งใหครอบคลุมภัยอื่นๆ ตลอดจน สามารถพึ่งพาตนเองในการบริหารจัดการภัยพิบัติ โดยกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ใน กระทรวงมหาดไทยเปนผูรับรองใหบานน้ําเค็มไดเปนชุมชนนํารองในโครงการชุมชนเขมแข็ง เตรียมพรอมปองกันภัย 2. การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน ในศึกษาครั้งนี้ใชแนวคิดการดํารงชีวิตอยางยั่งยืน (DFID, 2000) ศึกษาความสัมพันธของ องค ประกอบที่มีผลตอวิธีการดํ ารงชีวิต 5 ประการ นํามาอธิบายแนวทางในการพัฒนาการ จัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติแกชุมชนโดยใชความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญดานปญหาและแนว ทางแกไขที่พบในการดําเนินงานตามกรอบการดําเนินงานการดํารงชีวิตอยางยั่งยืน องคกรและกระบวนการ ตนทุนในการดํารงชีวิต

ความเสี่ยงและ ความเปราะบาง -ความเสียหาย -แนวโนม -ฤดูกาล

H S

N

P

F

ผลที่ชุมชนไดรับ

ที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

โครงสราง -ภาครัฐ -ภาคเอกชน กระบวนการ -กฎหมาย -นโยบาย -วัฒนธรรม - สถาบัน

วิธีการ ดําเนิน ชีวิต

- รายไดทเี่ พิ่มขึ้น - ความเปนอยูท ี่ดขี ึ้น - ความเปราะบางลดลง - มีความยัง่ ยืนในการ ใชทรัพยากรธรรมชาติ มากขึ้น

H = ทุนมนุษย (human capital) N = ทุนธรรมชาติ (natural capital) F = ทุนทางการเงิน (financial capital) P = ทุนกายภาพ (physical capital) S = ทุนทางสังคม (social capital)

ภาพที่2 กรอบการดําเนินงานในการดํารงชีวิตอยางยั่งยืน (Sustainable livelihoods framework)

องคประกอบในการดํารงชีวิตอยางยั่งยืนทั้ง 5 ประการ ดังภาพที่ 2 นั้น มีความสัมพันธกัน คือ


16

-

-

-

-

บริบทของความเสี่ยงและความเปราะบาง (vulnerability context) ใชอธิบายความเสี่ยง ของชุมชนที่อาจเกิดความเสียหายอยางฉับพลัน เชน ภัยธรรมชาติ การขาดเงินใชจาย ป ญ หาความขั ด แย ง การเปลี่ ย นแปลงตามฤดู ก าล เช น การทํ า อาชี พ ในช ว งฤดู ต า งๆ แนวโน ม ของป จ จั ย ต า งๆ ที่ มี ผ ลกระทบต อ วิ ถี ก ารดํ า รงชี พ เช น แนวโน ม ประชากร ทรัพยากร เศรษฐกิจ รัฐบาล นโยบาย และเทคโนโลยี เปนตน ตนทุนในการดํารงชีวิต (livelihood assets) ใชอธิบายถึงตนทุนชุมชนนํามาใชในการ ดําเนินงาน ไดแก H = ทุนมนุษย (human capital) เชน ความรู ขีดความสามารถในการทํางาน ภาวะผูนํา สุขภาพ N = ทุนธรรมชาติ (natural capital) เชน พื้นที่ทํากิน การชลประทาน ทรัพยากรชายฝง F = ทุนทางการเงิน (financial capital) เชน เงินเดือน กองทุนในชุมชน เครื่องมือทํากิน บาน P = ทุนกายภาพ (physical capital) เชน ถนน ไฟฟา ประปา และสาธารณูปโภคตางๆ S = ทุนทางสังคม (social capital) เชน การรวมกลุม ภาคีเครือขาย ประชาสังคมที่สนับสนุน องคกรและกระบวนการที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง (transforming structures & processes) ใชอธิบายปจจัยสนับสนุนจากอิทธิพลของทรัพยากร ที่ในขณะเดียวกันก็ทําให เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาครัฐและชุมชน ที่นําไปสูการปรับปรุงการดําเนินงานเพื่อสราง ความมั่นคงในการดําเนินชีวิต ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้มีกระบวนการจัดการความเสี่ยงจากภัย พิบัติโดยมีชุมชนเปนฐานเปนกระบวนการที่สรางการเปลี่ยนแปลง ยุทธวิธีในการดําเนินชีวิต (livelihood strategies)ใชอธิบายแนวทางในการปรับปรุงวิธี ดําเนินชีวิตใหมีความมั่นคงมากขึ้น ผลที่ชุมชนไดรับ (livelihood outcomes) เปนผลไดที่เกิดจากการเลือกวิถีการดําเนินชีวิต ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้จะใหความสําคัญกับการลดความเปราะบางในการดํารงชีวิตเปนหลัก

3. ภาพรวมของปญหาและแนวทางแกไขในการดําเนินงาน ในการตั้ง ที ม เตรี ย มพร อมรั บ มือ ภั ย พิ บัติ ช ว งแรกๆพบว า ชาวบ า นขาดความเชื่ อ ถื อ ในการ ดําเนินงานกันเอง ปญหาอคติและความขัดแยงภายในชุมชน ซึ่งแกไขไดโดยสรางความรูความ เขาใจในการดําเนินงานและสรางความรวมมือกันในการแกปญหาและลดความขัดแยงที่เกิดขึ้น จนเขาสูชวงสานตอการจัดการ ก็พบปญหาดานการสรางการมีสวนรวมในระยะยาวและปญหา การขาดงบประมาณในระยะยาว ซึ่งสามารถแกไขไดโดยดวยการผสานกลุมตางๆในชุมชน ให เกิดการสื่อสารกันอยางตอเนื่อง ซึ่งนําไปสูการพึ่งพาตนเองในการสรางรายไดมาสํารองหรือ หมุนเวียนการดําเนินงานตอไป สวนปญหาที่มาจากภายนอกชุมชน โดยมากจะมาจากขอจํากัด ของภาครั ฐ การแกปญหา คือ ผูป ฏิบั ติงานจากทุกภาคสวนปรับเปลี่ยนทั ศ นคติใ ห เป นการ ทํางาน ทุกองคกรตองทํางานเปนทีมเดียวกัน ตองใหความสําคัญกับการดําเนินงานโดยชุมชน เปนฐาน กลาวคือ ตองทํางานโดยใหชุมชนเปนศูนยกลาง ทุกสวนตองเห็นประโยชนของชุมชน เปนหลัก ใหอํานาจการตัดสินใจอยูที่ชุมชน


17

4. แนวทางการพัฒนาและขยายผลการดําเนินงาน 4.1 แนวทางในการพัฒนาการดําเนินงาน จากการสัมภาษณถึงปญหาและแนวทางในการแกไขจากการดําเนินงานในขางตน ผูวิจัยไดสราง แนวทางในการพัฒนากระบวนการ CBDRM ทั้ง 7 ขั้น ออกมาเปนแผนภาพที่ 3 ไดดังนี้ ขั้นตอนที่

1

การเลือกชุมชนและพืน้ ที่ดําเนินงาน

2

การทํามวลชนสัมพันธ และการสรางความเขาใจกับชุมชน

3

การจัดองคกรชุมชนในการจัดการภัยพิบัติ

4

5

เลือกชุมชนทีม่ ีความพรอมและความตั้งใจตอการจัดการตนเองกอน ทุกภาคสวนรวมกัน สื่อสารเรื่องสิทธิ หนาที่ และความรูพ้นื ฐานดานภัยพิบัติอยางชัดเจน เพื่อสรางความตระหนักในการจัดการตนเองแกชุมชน ขั้นแรกตองคนหาแกนนําที่เปนตัวจริงมาเปนอาสาสมัครรวมกันทํางาน จากนั้นกระตุนใหภายในชุมชนไดเชื่อมโยงการเรียนรูเขาดวยกัน

การประเมินความเสีย่ งจากภัยพิบัติโดยการมีสวนรวมของชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองมีสวนรวมในการประเมินความเสี่ยง ทําแผนลดความ เสี่ยงของชุมชน และเผยแพรแผนที่เกิดขึ้นสูชาวบานทั่วไปดวย

การจัดทําแผนการจัดการความเสีย่ งจากภัยพิบัติโดยการมีสวนรวม ทําแผนโดยใหอํานาจในการตัดสินใจ (Empowerment) โดยการมีสวนรวม จากภายในชุมชนเปนหลัก ตามความรูความเขาใจและการยอมรับรวมกัน

6

7

การเสริมสรางขีดความสามารถใหแกชุมชน ควรสนับสนุนทํางานภาคชุมชนใหเขมแข็ง ควบคูกับสอนวิธใี ชอาํ นาจหนาที่และ แนวทางดําเนินงานภาคปฏิบัตใิ นเชิงรุก แกผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวย

การติดตามการทํางาน การรายงานผลและการปรับปรุงแกไข ควรตรวจสอบการรวมกลุมของคณะทํางานเปนประจําทุกป วาฝอหรือสลายตัวไปหรือยัง เพื่อที่จะไดสนับสนุนใหมีการสรรหาผูที่มาดําเนินงานแทนผูที่หายไป สรางเครือขาย ผสานคณะทํางานดานการจัดการภัยเขากับกลุมตางๆ ในชุมชนและขยาย ไปสูนอกชุมชน เพื่อเพิ่มโอกาสในการแลกเปลี่ยนบทเรียน

ภาพที่ 3 แนวทางแกปญหาที่พบในกระบวนการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน


18

4.2 โมเดลการสําหรับการขยายผลการดําเนินงาน จากการสรุปขอมูลในการสัมภาษณ ผูวิจัยไดนําบทเรียนและปญหาที่พบในการดําเนินของชุมชน บานน้ําเค็มสามารถสรางโมเดลการเตรียมพรอมรับมือภัยพิบัติดวยกระบวนการจัดการความ เสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน ดังโมเดลในภาพที่ 4 โดยนําผลบทเรียนจากการจัดตั้งทีม ประสานงานของบานน้ําเค็มที่สามารถนําไปใชในการขยายผลสูชุมชนอื่นๆ ไดเปนขั้นตอนการ ดําเนินงานดังนี้

ทุนทาง สังคม

ทุนมนุษย

ทุนทาง การเงิน

รวมกลุ ม ทุน สิ่งแวดล อม

ทรั พยากร

ทุนทาง กายภาพ

แลกเปลี่ ยนความคิ ดเห็น

สรางความตระหนัก

ช วงสานต อการจัดการ

ช วงเริ่มต นการจัดการ

หาแกนนําและสรางทีม

วางรากฐานการจัดการตนเอง

แบงหนาที่รับผิ ดชอบ

ตองมีพี่เลี้ ยงที่ให คําปรึ กษาใน การดําเนินงาน สื่ อสารเรื่ องความ รับผิดชอบและ เจาภาพที่ ชดั เจน

สร างทีมปฏิบัติงาน

หาแกนนําตัวจริงที่จะรับผิดชอบการดําเนินงาน พัฒนาทักษะการจัดการภัยพิ บตั ิ (สรางทุนมนุษย)

สร างแผนเตรียมพร อมรั บมือภัยพิบัติ

ภาครัฐเอื้ ออํานาจดวยการรับรองการดําเนินงาน ระดมความคิ ด ประเมินความเสี่ ยงรวมกับชาวบาน ดําเนินงานลดความเสี่ ยงทางกายภาพแกชุมชน

พัฒนาขีดความสามารถเพิ่มเติม

ตอยอดทักษะในการจัดการภัยที่จาํ เป็ นเพิ่ มเติ ม จัดหาเครื่ องมือและอุ ปกรณที่จาํ เป็ นในการจัดการ

ผสานเขากับกลุมตางๆในชุมชน สร างเครื อข ายกับชุ มชนข างเคียง และองค กรที่เกี่ยวข อง

โยงการดําเนินงานและการรวมกลุ ม สรางการดําเนินงานในระยะยาว เตรี ยมพรอมชวยเหลือกันและกันในอนาคต แลกเปลี่ ยนเรี ยนรู  สะทอนบทเรี ยนระหวางชุ มชน

ภาพที่ 4 โมเดลการเตรียมพรอมรับมือภัยพิบัตขิ องชุมชนบานน้ําเค็ม


19

4.3 ภาพรวมของแนวทางในการพัฒนาการดําเนินงาน การจัดการที่ยั่งยืนนั้นไมสามารถทําแยกสวนเพียงประเด็นใดประเด็นเดียวได การสรางรากฐาน ให ชุ มชนจัดการตนเองไดอย างแท จริงนั้นตองแกปญหาต างๆไปพร อมๆกัน โดยการ เตรียมพรอมรับมือภัยพิบัตินั้น ควรเริ่มผูปฏิบัติงานควรเริ่มจากศึกษาทุนทั้ง 5 ประการ ที่มีอยู ในชุมชนไดแก ทุนมนุษย ทุนทางสังคม ทุนสิ่งแวดลอม ทุนกายภาพ และทุนทางการเงิน โดย ให ค วามสํ า คั ญ กั บ การใช ทุ น ทางสั ง คมและการสร า งทุ น มนุ ษ ย มาสร า งกระบวนการที่ จ ะ กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่จะพัฒนาชุมชน ซึ่งในการสนับสนุนในชุมชนเกิดการจัดการตนเอง นั้น ภาครัฐควรพัฒนานโยบายใหเจาหนาที่กับชุมชนปฏิบัติงานดวยการมีสวนรวมกันเพิ่มมาก ขึ้น ขณะเดียวกันก็ควรจะสงเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู ทั้งระหวางชุมชนและระหวางภาคสวน ขับเคลื่อนใหเกิดเครือขายที่พรอมจะชวยกันแกปญหา บทสรุป ในการศึกษาปญหาที่พบในการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐานของชุมชน บานน้ําเค็มจากภาคประชาสังคมนั้น พบวา ในการแกปญหานั้นทุนมนุษยและทุนทางสังคมเปน ปจจัยหลักในการขับเคลื่อนชุมชน กลาวคือ ความรูที่มีอยูในทุนมนุษยและความรวมมือจากทุก ภาคสวนทั้งภายในชุมชนและภายนอกชุมชนจากทุนทางสังคม เปนสิ่งที่ชวยคลี่คลายปญหาดาน การมี ส ว นร ว ม ป ญ หาด า นงบประมาณ ปญ หาดา นความรู ค วามเข า ใจในสิท ธิ ห นา ที่ใ นการ ดําเนินงาน ปญหาดานสภาพแวดลอมและปญหาดานการประสานงานระหวางองคกร ในขณะที่ ทุนทางการเงินและทุนทางกายภาพยังเปนขอจํากัดในการดําเนินงาน ป ญ หาและแนวทางการในการแกไ ขที่ก ลาวมาในข า งต น ได ส ะท อนให เ ห็ นว า แนว ทางการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน จะตองใหความสําคัญกับ การวางรากฐานใหคนในชุมชนพึ่งพาตนเองเปนหลักตั้งแตตน โดยสนับสนุนใหชาวบานรวมกลุม กัน ระดมความคิ ดมาวางแผนจัดการปญหา ซึ่งถัดมาก็ตองตอยอดทางความรู ทั้งจากการ สะทอนประสบการณจากดําเนินงานมาเปนบทเรียนและการแลกเปลี่ยนเรียนรูจากชุมชนอื่นมา ปรับใชกับการดําเนินงานของตนเอง รวมกับเขารับการอบรมทักษะดานตางๆที่จะสรางเสริมการ พัฒนาศักยภาพของสมาชิกหรือคณะกรรมการของชุมชน เพื่อพัฒนาการดําเนินงานของชุมชน ตอไป อภิปรายผล ในการศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติตามแนวคิดการดํารงชีวิต อยางยั่งยืน นอกจากความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญแลว ควรมีการวิจัยเชิงปริมาณเพื่อสํารวจ ความคิดเห็นที่มีตอความเสี่ยงและความเปราะบาง ตนทุนในการดํารงชีวิตของชุมชน และการ จัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในชุมชนที่ผานมา รวมไปถึงความตองการของคนใน ชุมชนที่มีตอการพัฒนาการดําเนินงานตอไป


20

เอกสารอางอิง นิลุบล สูพานิช, 2006, คูมือแนวทางการปฏิบัติงานสําหรับผูปฏิบัติงานภาคสนาม ในการ จัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเปนฐานในประเทศไทย, กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย, 2549. สุริชัย หวันแกว และคณะ, 2549, สังคมวิทยา สึนามิ: การรับมือภัยพิบัติ, นโยบายการรับมือ ภัยสึนามิ, สถาบันวิจัยสังคม และศูนยการศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, พิมพครั้งที่ 1 พฤศจิกายน 2550,: กรุงเทพมหานคร. Seixas et al., Self-organization in integrated conservation and development Initiatives, International Journal of the Commons, Vol.2, no 1 January 2008, pp. 99-125.

DFID. 2000, Sustainable Livelihoods Guidance Sheets. Department for International Development. (Available at www.livelihood.org/info_guidancesheets.htm.).


21

น้ําคลื่นเจอน้ําทวม ประสบการณจากน้ําเค็มสูกระเบื้องใหญ


22

น้ําคลื่นเจอน้ําทวม ประสบการณจากน้ําเค็มสูกระเบื้องใหญ บทที่ 1 ธารน้ําใจผูประสบภัยสินามิสูผูประสบภัยน้ําทวม เลาเรื่องโดย ไมตรี จงไกรจักร กลับจากกรุงเทพฯ วันที่ 18 ตค. 53 เวทีปฏิรูปประเทศไทย มาถึงบานยังไมทันไดพัก กันเลยทีมงานก็ยกโขยงมาที่ศูนยประสานงาน ไม ชาวเลซอยองคการ บอก “ผมรับไมไดกับ ขาวที่เห็นพี่นองเราลอยคอในน้ํามาหลายวัน บางพื้นที่ยังไมไดรับความชวยเหลืออะไรเลย เหมือนตอนที่พวกเราถูกสึนามิ อยางไรผมคิดวาพี่นองเราที่กําลังประสบภัยน้ําทวมอยูตองได ขาวกิน” แลวทีมงานจึงตั้งวงคุยกันเปนเรื่องราววาจะเอาอยางไร เราทําอะไรไดบางไดคุยเรื่อง การเตรียมการของผูประสบภัยสึนามิ จ.พังงา ไดมีการโทรศัพทพูดคุยและประสานงานกับพี่นอง จ.ภูเก็ต ระนอง ประจวบคีรีขันธ เพื่อระดมของบริจาคและเตรียมอุปกรณเกี่ยวกับการทําอาหาร เพื่อไดนํามาใหพี่นองผูประสบภัยน้ําทวม 2 วัน เชาวันที่ 20 ต.ค. 53 ขาวเรื่องจะไปชวยชุมชนน้ําทวมที่นครราชสีมา กระจายสูชุมชน คนทะยอยกันมาบางคนถือขาวสาร บางคนถือไข บางคนขนน้ํามันพืชมา เริ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จึงลงชื่อกันเปนอยางระบบ ยายเอื้อน อายุ 78 ป ลวงเงินออกจากกระเปาอยางกระหยิ่มยิ้มยอง 300 บาท และเอย “ลูกหลานฉันมีมากกวา 50 คนที่เคยถูกสึนามิ และคนจากทั่วประเทศเคยเอา ขาวมาใหกินและชวยเหลือพวกเราจนสามารถชวยเหลือตัวเองอยางยั่งยืนจนถึงทุกวันนี้ฉันไม เคยลืม ฉันทําไดแคนี้นะ” เราเตรียมของขึ้นรถตั้งแตเชา ไม ชาวเลซอยองคการ หิ้วกระเปามากอนใคร คอยจัด ของทุกอยางดวยความดีใจที่ตัวเองจะไดไปภาคอีสานครั้งแรก และทีมงานทยอยกันมาเกิน จํานวนที่นัดหมายกันไว 15 คน เพิ่มเปน 18 คน การเดินทางไกลของเราเริ่มจากจังหวัดพังงา เวลา 16.00 น. ของวันที่ 21 ตุลาคม 2553 โดยพี่นอง จ.ภูเก็ต ระนองมารวมสบทบ หลังจากนั้น เวลาประมาณ 23.00 น. เดินทางถึงดานสิงขร จ.ประจวบฯ พี่นองเครือขายคนไทยผลัดถิ่น/คน ไรสัญชาติ เขารวมสบทบอีก 30 คน เวลาประมาณ 03.00 น. ของวันที่ 22 ตุลาคม 2553 ถึง จังหวัดอยุธยา อ.นครหลวง และไดแลกเปลี่ยนประสบการณกับพี่นองชุมชนที่ประสบภัยน้ําทวม หมูบานศรีจําปา ถึงแผนปองกันภัยพิบัติ และมอบเงินชวยเหลือแกกรรมการชุมชน จํานวน 10,000 บาท พี่ยูรเอย “ ผมไมสามารถทําอะไรไดมากกวานี้เพราะพวกเราตั้งใจมาทําอาหาร โดยทีมงานเตรียมยกครัวเคลื่อนที่ และแมครัวอยางครบแลว เปาหมายอยากทําครัว” หลังจากนั้นไดมีการประสานงานกับเพื่อนๆ เครือขายที่โคราช ไดขอมูลวา อ.พิมาย ได รั บ ความเดื อ ดร อ นหนั ก ที ม งานจึ ง มุ ง หน า มาโคราชทั น ที่ ในการเดิ น ทางครั้ ง นี้ ไ ด มี ก าร


23

ประสานงานกั บ พี่ น อ งเครื อ ข า วชาวอ า วตั ว ก.และเครื อ ข า ยตลาดร อ ยป ส ามชุ ก ว า ให ที ม เครือขายผูประสบภัยสึนามิ และเครือขายไทยผลัดถิ่นเดินทางไปกอน หากขาดเหลืออะไรพี่นอง เครือขายอาวตัว ก และเครือขายสามชุกจะใหความชวยเหลือทันที ในที่สุดกระบวนเครือขายผูประสบสึนามิและเครือขายคนไทยผลัดถิ่น จํานวน 50 คน เดินทางดวยรถกะบะบรรทุกขาวปลาอาหารมาถึง อบต.กระเบื้องใหญ อ.พิมาย จ.นครราชสีมา การเดินทางทามกลางเสนทางที่ ลัดเลาะและออมพื้ นที่น้ําท ว ม กวาจะถึ งจุ ดหมายก็ ใ ช เ วลา ยาวนานและยังไมมีใครไดนอนเลยยาวนานกวา 24 ชั่วโมง อ. บัณทร ออนดํา กลาววา “ผมไมเคยเห็นทีมงานชุมชนเครือขายที่มีระบบการจัดการ ชวยเหลือขององคกรชุมชนกันเองในยามคับคันเชนนี้กันมากอน ผมเชื่อวากระบวนการเชนนี้ สามารถเปนรูปแบบของการชวยเหลือดูแลกันเองอยางเปนระบบ เปรียบเสมือนการปฏิรูปสังคม การเมืองจากฐาน” ตลอดเสนทางการเดินทางที่ผานมา มีหลายหมูบานที่น้ําทวมสูงกวา 2 เมตร และทําให ตองอพยพมาอยูบนถนน สวนขาวในนาที่กําลังออกรวงใกลที่จะเก็บเกี่ยวไดแลว และคาดวานา ขาวจะเกิดความเสียหายทั้งหมด เมื่อมาถึงไดรับการตอนรับจากกํานัน นายก อบต. รองนายก อบต. ประธานสภา ปลัด และเจาหนาที่ อบต.กระเบื้องใหญ ดวยสีหนาที่ยิ้มแยมแจมใสหลังจากที่มีการทักทายเปนที่ เรียบรอยแลว และมีการปรึกษาหารือถึงขอมูลความเดือดรอนของพี่นองชาวตําบลกระเบื้องใหญ ที ม งานได รั บ ข อ มู ล ว า มี พี่ น อ งที่ เ ดื อ ดร อ น 11 หมู บ า น กว า 2,000 หลั ง คาเรื อ น ที ม งานจึ ง ตัดสินใจตั้งครัวเพื่อทําขาวปลาอาหารที่ อบต.กระเบื้องใหญทันที เจาหนาที่ อบต.กระเบื้องใหญ เลาถึงความเดือดรอนของพี่นองผูประสบภัยน้ําทวมวา ผู ที่ อ ยู ข า งในน้ํ า ท ว มมา 2-3 วั น แล ว ตอนนี้ เ ริ่ ม มี ป ญ หาเรื่ อ งอาหารการกิ น เมื่ อ เห็ น พี่ น อ ง ผูประสบภัยสึนามิ เขามาชวยเหลือก็รูสึกดีใจ หลังจากที่ทีมงานถึงก็ไดหาที่ทําครัว และก็เจียวไข แกงไตปลา เริ่มทําขาวหอกวา 500 หอ เพื่อนําไปแจกจายพี่นองผูประสบภัยในหมูบาน พรอมทั้งทีมเตรียมความพรอมปองกันภัย พิบัติของเครือขายผูประสบภัยสึนามิ ประกอบเรือยางกูภัย 2 ลํา และเดินทางไปสํารวจสภาพใน หมูบานพรอมทั้งนําขาวหอไปแจกจายทันที ในเวลา 17.00 น.ทันที คืนนี้ทีมงานกวา 40 ชีวิต คางแรมที่ อบต.กระเบื้องใหญ พรอมทั้งพรุงนี้ออกเดินทางไป สํารวจใจหมูบานใกลเคียงอีกครั้งหนึ่ง หลายพื้นที่ไดรับขาวสารเรื่องนี้โทรตามและแจงขาววามีหลายพื้นที่ที่ยังไมมีขาวกิน อยากใหทีมเครือขายเขาไปชวยสนับสนุนอาหาร พวกเราจึงแจงมายังชุมชนประสบภัยทุกที่ หากพวกเรามีกําลังพอ เราอยากไปชวยทุกที่ แตครั้งนี้เราตองขอโทษพี่นองหลายชุมชนที่เรา พยายามจะไปแตไมไดไป หากมีโอกาสเราจะมาเยี่ยมเยือนตอไป


24

บทที่ 2 แลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อฟน ฟูหลังน้ําลด โดย นักจัดระบบชุมชน* ตําบลกระเบื้องใหญก็เปนอีกหนึ่งพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากภัยน้ําทวม ซึ่งปจจัยหลัก ทางธรรมชาติแลวมนุษยยังเปนสวนหนึ่งที่เปนผูทําลายเสียเอง ประสบการณน้ําทวมครั้งนี้มี หลายอยางไดเกิดขึ้น ความสูญเสียตางๆ จากบานเรือนที่ทํากิน รวมถึงดานอาชีพ สิ่งเหลานี้ อาจจะทําใหเรามีความรูสึกเศราใจอยูบาง แตการลุกขึ้นมาแกปญหาของตนเองนาจะเปนหนทาง นําไปสูการจัดการกับปญหาไดถูกจุดมากกวา การ “พลิกวิกฤตเปนโอกาส” จากการสูญเสีย จึงนับเปนสิ่งที่เราควรคํานึงถึง เชนในการเหตุการณคลื่นยักษสึนามิ ถลมในพื้นที่อันดามัน ทํา ใหผูประสบภัยสึนามิกลุมหนึ่ง ลุกขึ้นมาแกปญหาของตนเอง ซึ่งการจัดการความเสี่ยงโดยชุมชน เอง เปนทางเลือกในการเติมชองวางในกระบวนการฟนฟูภัยพิบัติโดยชุมชนเปนหลัก จึงมีความ จําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองเรงดําเนินการไปควบคูการบรรเทาภัยในชวงวิกฤติ และการฟนฟูวิถี ชีวิตของชุมชนในเบื้องตน ถึงเวลาแลวที่เราตองพูดคุยหารือกันเพื่อสรางจุดเริ่มตนที่จะสามารถ นําไปสูการแกปญหาไดในอนาคต 1.สาเหตุของน้ําทวมในครั้งนี้ ดานภูมิศาสตรนั้น ตําบลกระเบื้องใหญ เปนพื้นที่รับน้ําทั้งหมด 5 สาย ตอใหมีแกมลิงก็ ชวยไมได เราตองมองจากตนน้ํามากอน เชน การสรางถนน ตึกแถว มีจุดใหญคือลําตะคอง ลํา แคละ ชุมชนนี้เปนชุมชนที่สูงที่สุด ปกธงชัยเดี๋ยวนี้เปนคลองสงน้ํา อําเภอพิมายที่น้ําทวมเพราะ การสงน้ําของชลประทานไมไดเต็มรอย ที่เราจะแกปญหาการเดินทางน้ําไมกักขังน้ํา มาเร็วไป เร็ว ซึ่งเมื่อระดมความคิดวิเคราะหสาเหตุที่เกิดน้ําทวมแลวมองใหลึกที่สุดเทาที่มองเห็นได พบวา ปจจัยภายในของปญหาในครั้งนี้ คือ พื้นที่กระเบื้องใหญมีลักษณะเปนแอง เมื่อเจอฝน ตกมากกวาปกติ ประกอบกับมีการตัดไมทําลายปา มีการทําถนนกีดขวางน้ําและสรางถนนมาก โดยไมมีทางระบายน้ําเพียงพอ อีกทั้งเสนทางของหมูบานตันน้ําไมสามารถระบายได และไมทีที่ กักเก็บน้ําขนาดใหญ ตนไมก็ไมมี จึงไมมีแหลงซับน้ํา ประกอบกับชาวบานไมไดเชื่อคําเตือน ของรัฐจึงไมไดเตรียมตัวรับมือ สวนปจจัยภายนอก เนื่องจากปนี้หนาแลง แลงจัด แลงนาน เขื่อนจึงไมปลอยน้ํากักน้ํา ไวเต็มที่ พอฝนตกลงมาก็เลยไมมีที่รับน้ําเพิ่ม จึงตองปลอยน้ําลงมา ในขณะที่โรงงาน อุตสาหกรรมก็สรางถนน วางทอระบายน้ําขนาดเล็กเกินกวาที่จะรองรับน้ําในปริมาณมากขนาด นี้ได นอกจากนั้นยังมีปญหาเรื่องโรงงานเกลือ ที่ปดกั้นเสนทางน้ํา และปลอยคราบน้ํามันออกมา ทุกป จนชาวบานทําประมงไมได และยังมีปญหาน้ําจากขางบนเปลี่ยนทิศ เพราะการผันน้ําไปใช ทางอื่น ทําใหมีความขัดแยงในการจัดการน้ํา


25

ซึ่งเมื่อน้ําทวมแลวปญหาที่ตามมาก็คือ บานเรือนและทรัพยสินเสียหาย มีขยะเขา บานเรือน, พืชทางการเกษตรเสียหาย, ถนนถูกตัดขาด การจราจรไมสะดวก การแจกของอาจจะ ติดขัดในตอนแรก, น้ํา ไฟฟา ถูกตัด ไมมีน้ําใช ขาดน้ําดื่ม ชาวบานเจ็บปวย เกิดโรคน้ํากัดเทา สุขภาพจิตแย ไมสามารถทําอะไร เนื่องจากบานเรือนเสียหาย ประกอบอาชีพไมได ไมมีรายได มาเลี้ยงครอบครัว ที่นา ที่สวน และเปนหนี้กับ ธกส. หนําซ้ําชวงที่นา้ํ ทวมสินคายังราคาแพงขึ้น

2.การแกไขปญหา ในสถานการณฉุกเฉิน การลงมือตอบโตกับน้ําที่หลากมา คือ ขนยายสิ่งของใหพนน้ํา ขอความชวยเหลือกันในหมูบาน รวมแรงรวมใจในการแกไขปญหาเรื่องน้ําทวม ขอ อบต. – ทหาร มาชวยขนของขึ้นที่สูง จัดทีมงานดูเรื่องไฟฟา และทีมงานที่น้ําไมทวมมาชวยแพ็คของที่ สํานักงาน สวนการฟนฟูถัดมา จะตองมีการฟนฟูและการบูรณาการเกษตรกร เพื่อการฟนฟูอาชีพ ในระยะสั้น โดยตองควรมีการสนับสนุนเมล็ดผัก (ผักสวนครัว) ในการทําเกษตร เชน ผักกาด ผักชี คะนา กวางตุง ผักบุง พรอมดวยเครื่องมือในการทําเกษตรฯ ถัดมาจึงสนับสนุนพันธุขาว นาปรัง พันธุขาวนาป สนับสนุนการประมง เชน พันธุปลา บอและลําคลองสาธารณะ ไปจนถึง การสรางธนาคารขาว วางแผนการระบายน้ําและการชลประทานตอไป


26

ในอนาคตการเตรียมพรอมและปองกันประวัติศาสตรซ้ํารอยอีกครั้ง ชาวบานเห็นวา จะตองสรางทางระบายน้ํา และการสรางแกมลิง หรือการทําฝาย เชน การขุดลอกคลอง จุด ขวางทางน้ํา พรอมกับจัดการสิ่งแวดลอมที่จะสงผลกระทบ เชน คราบน้ํามัน ขยะ โรงงาน และ การทําชลประทานเขาถึงหมูบาน โดยควรจัดทําแผนระบบและอุปกรณปองกันภัย คือ 1. เตรียมทรัพยสิน ขนยายไวในที่ปลอดภัย น้ําดื่ม น้ําใช 2. เรือและอุปกรณ เสื้อชูชีพ เชือก ยารักษาโรคตางๆ 3. เสาวัดระดับน้ํา ที่จุดที่จะทราบตามจํานวนหลังคาเรือน SML 4. อาสาสมัครในชุมชน 5. เครือขายวิทยุชุมชน และตําบลใกลเคียงประสานงานรวมกัน 6. ความเชื่อของขาวสารตองเชื่อมั่นหนวยงานราชการและประชาชนตองรวมกันตัดสินใจ และแกปญหา 7. การกอสรางโครงสรางพื้นฐานระบบน้ําในอนาคตไมวาน้ําทวม หนาแลง และรวมกันทํา ประชาคมของแตละหมูบาน 8. มีการอบรม ซักซอมอาสาและประชาชนอยางนอยปละ 2 ครั้ง เพื่อเตรียมความพรอมใน อนาคตและรับมือกับสถานการณขางหนา 9. จัดทําแผนที่และโครงสรางตางๆ ในหมูบานพรอมทั้งระบุชัดเจนระดับความสูง–ต่ํา ขอ งบพื้นที่แตละชุมชนนั้นๆ


27

ส ว นการขั บ เคลื่ อ นในระยะยาว ชุ ม ชนจะต อ งมี แ ผนการจั ด การภั ย น้ํ า ท ว มอย า งมี ประสิทธิภาพ ซึ่งตองเรงมือทําในระยะเรงดวน ระยะปานกลางและระยะยาวในระดับนโยบาย คือ ระยะเรงดวน 1. ตองจัดตั้งคณะทํางานที่มีทักษะในการเตรียมพรอมปองกันภัย จากภาคีภาคสวนตางๆใน ระดับตําบล ใหเชื่อมโยงกับระดับอําเภอ และเชื่อมโยงกับระดับจังหวัด ทั้งแผนที่ภูมิศาสตร และแผนชุมชน รวบรวมและทําขอมูลรอบดานตั้งแตระดับหมูบานทุกหมูบานดวย 2. ตองจัดระบบฐานขอมูล ที่สามารถสงตอขอมูลออนไลนถึงอําเภอ และจังหวัดได อย างมี ประสิทธิภาพ และฐานขอมูลนี้จะตองปรับปรุงทุกป ใหสามารถชวยเหลือเยียวยาชาวบานใน หมูบานตางๆ ไดตรงจุดและทันทวงที 3. วางผังเมืองและวางผังความรวมมือในการรับน้ํา รับภัย เก็บรายละเอียด ซักซอม สรางความ รวมมือและความชวยเหลือตางๆทั้งภาครัฐ เอกชนตั้งแตระดับจังหวัด มายังอําเภอ ตําบล จนถึงหมูบานใหผานทางชองนี้จะทําใหเกิดเอกภาพและมีประสิทธิภาพที่สุด ระยะปานกลาง 1. สรางแผนทุกชุมชนใหจัดทําแกมลิงทุกตําบลและแหลงกักเก็บน้ําขนาดเล็กทุกหมูบานบน เสนทางลุมน้ํา 2. ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ควรเพิ่มการขุดลอกคูคลองเชื่อมระหวางตําบล ใชเรือเปนพาหนะใน ชีวิตประจําวันมากขึ้น ใหชาวบานหวนกลับมาสรางความคุนเคยกับวิถีทางน้ํา เฉพาะใน พื้นที่ราบลุมทํานาซึ่งมีหลายตําบล 3. สรางสะพาน ลดพื้นที่ถนน แมกระทั่งในเขตเมืองตองเปลี่ยนจากถนนเปนลําคลองบาง การแกปญหานี้ หากหมูบานไหนทําไดก็ สามารถทําไปไดเลย หากหมู บานไหนไมทํ าก็ตาม หมูบานอื่นไมทัน แตในระยะยาวแผนนี้ควรจะเกิดขึ้นเปนแผนประจําตําบล ที่ทุกตําบลควร เตรียมไว ควบคูกับการแกไขแบบถาวรที่รัฐบาลตองลงมาชวย โดยเฉพาะการชลประทานที่ตอง ลงรวมมือกันแกไข อยางถาวรจริงในเสนทางน้ําสายหลักคือ น้ํามูล ลํากระแท ที่ตองแกไขเรื่อง ความตื้นเขินเดินน้ําไมสะดวก ที่ผานมาการแกไขมันสายไป หากมีการแกไขแบบถาวรก็ไมตอง มาเสียงบประมาณ จายคาชดเชย เชนนี้ และถาชาวบานไดรับความรูดานภัยพิบัติ ใหเตรียมตัว เฝาระวังคอยชวยเหลือซึ่งกันและกัน พรอมจะเจอเหตุการณก็คงจะไมสายเกินไป _______________________________________________________________________ *นักจัดระบบชุมชน นายจํานงค จิตรนิรัตน นส.มณฑา อัจฉริยกุล นางปรีดา คงแปน นายไมตรี จงไกรจักร นายประธาน ลายลักษณ นส.หทัย คํากําจร

นักพัฒนาอาวุโส ที่ปรึกษาเครือขายสึนามิ มูลนิธิชุมชนไท /นักจัดระบบชุมชน มูลนิธิชุมชนไท /นักจัดระบบชุมชน ผูประสานงานเครือขายสึนามิ ทีมรับมือภัยพิบัติเครือขายสึนามิ มูลนิธิชุมชนไท / ปฏิบัติงานในพื้นที่กระเบื้องใหญ


28

ประสบการณสํารวจพืน้ ที่น้ําทวม อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี 20-25 ตุลาคม 2553

บทเรียนจาก

โดย ศิรินันต สุวรรณโมลี


29

บทเรียนจากน้าํ น้ํา : ตอนที่ 1 ขาวสารกับความตองการของผูประสบภัย จัดยังไงใหพอ "ขาวหนึ่งกิโล กินได 2 วันกวาๆ" "ขาว 5 กิโล กินไดไมถึงสัปดาห" นี่ เปนสิ่งที่เรียนรูจากการพูดคุยกับครูเกง บานแหลม เพชรบุรี ลูกสาวผูใหญบา น อาสาสมัครน้ํา ทวมบานหมี่เราพบความรูด านความตองการ วา คน 3 คน ใชขาว 1 กิโล กินได 3 มื้อ เทียบ อัตราบริโภคได 5 มื้อ ใชขาว 2 กิโล (2 วัน) 10 มื้อ ใชขา ว 4 กิโล (3 วันกวาๆ) 12 มื้อ ใชขา ว 5 กิโล (4 วัน) ดังนั้นการประทังชีพสําหรับชาวบานในชุมชน WaterWorld ซึ่งไมสามารถออกไปหาซื้อขาวของ เพราะไมมีเรือ และ โดนน้ําขังไวหมด (หนําซ้ํารานคาขาวก็ทว มเองซะดวย)ถาน้ําทวมแลวลดลง ภายใน 3 วันทันที คงไมมีปญหา แตน้ําจากคลองชัยนาท-ปาสักจะยังคงไหลมาเดิมอีกหลายรอบ เพื่อระบายน้ําที่เต็มจากชวงบนลงมาซึ่งนอกจากจะทําใหน้ําในคลองไมมีที่ไปแลว น้ําในชุมชนจะ ยังคงขังตอไปอีกมากกวา 1 เดือน

การบริจาคขาวจึงควรจะจัดใหขาวถุงละ 5 กิโล เปนอยางต่ําสุด เพื่อใหคน 2 คน อยูรอดได 1 อาทิตย

ชาวบานในชุมชนที่น้ําลดแลวก็จัดการตนเองในการทํากับขาวไดระดับหนึ่ง แตเงินที่จะซื้อขาวก็ แทบจะไมมีแลว เพราะขาวที่จะเกี่ยวก็จมน้ําไปหมดแลว สิ่งที่ทําไดกค็ ือ ชวยตัวเอง แลวชีวิตคง จะดีขึ้น ถามีคนเอาสิ่งที่ตองการเขามาชวย และมีการปรับปรุงนโยบายในการจัดการน้ํา ที่แบง รับแบงสูกันมากขึ้น


30

เมื่อ เราเหนื่อย เรายังหนีออกมากินหมูกระทะ แลวนอนตากแอรได เพราะเราโชคดี ที่ที่มีที่แหง ใหเราหนีไปนอนนอกชุมชน แตสําหรับชาวบาน เขายังตองอยูที่นั่น บานที่น้ําลอยคอนั่นคือบาน ของเขา ที่มีเรือ่ งในชุมชนทีต่ องแกปญหา มีอีกหลายปากทองอีกหลายคนที่ตองเลีย้ ง เราขอ ยืนยันวา เรายังเหนื่อยเพียงเสี้ยวทีช่ าวบานไดรับ เราขอนับถือหัวใจของชาวบานทุกคนที่สูอยาง สุด มือ แลวเราจะรีบกลับไป เพื่อแบงปนโชคดีของเรา

บทเรียนจากน้าํ น้ํา : ตอนที่ 2 การจัดถุงยังชีพ เรื่องของน้ําใจที่ตอ งใชสมองเยอะ เรื่องของจําเปนและไมจําเปนในถุง เนีย่ ประสบการณที่ผานมาพบวา ถุงของบางองคกรมีตนทุนถึง 500 บาท และในถุงนั้นมีของที่ไมได ใชในภาวะฉุกเฉินจากนั้นทวม คือ มี แปรงสีฟน ยาสีฟน สบู ขันน้ํา รองเทาแตะชางดาว ฯลฯ ก็ไมใชวา มันจะใชไมไดคือการใหมัน ก็ดี เพิ่งแต ถาเอามูลคาของของที่วานี่มารวมกัน(เอาแบบของธรรมดาราคาถูกแบบปกติแลว นะ)จะพบวา แปรงสีฟน 20 บาท ยาสีฟน 40 บาท สบู 20 บาท ขันน้ํา 20 บาท รองเทาแตะชางดาว 60 บาท ทั้งหมดรวมเปนเงิน 160 บาท เงิน 160 บาท สําหรับภาวะปกติ ก็ถือวาไมมาก แตถามาลองคิดดูวา เงิน 160 เนี่ย ซื้อขาวสารถุงละ 5 กิโล ซึ่งมันถุงละ 80 ไดตั้ง 2 ถุง ก็ผูประสบภัยเองก็ซาบซึ้งใจในความหวังดี เพียงแตถา 160 บาทนี้จะซือ้ ขาวสารไปใหบานที่ยังไมมีใครเขาไปถึง เพียงแตถาเงิน 160 บาท จะไปซื้อโทนาฟ สัก 3 หลอด ซื้อพาราสัก 3 แผง เงินนั้นจะมีคุณคามากๆ คนใหก็เต็มใจให คนรับก็เต็มใจรับนะ ไมปฏิเสธเลย เพียงแตในใจแอบคิดวา เอารองเทาแตะกับยาสีฟนอะ ไปแลกผาอนามัยไดปะ หรือเอาเกิบแตะเนี่ยไปแลกมามาไดมั้ย สัก 4 หอก็ยังดี เออจะวาไปในถุงยังชีพเนีย่ ใสโจกซองแบบเทน้ํารอน ปนแทนมามามาก็ได เพราะลูกเล็กเนี่ย กินโจกได


31

(สวนตัวผูเขียนแคอยากจะบอกเล็กๆ วา เพราะงานนี้มันเปนน้ําทวม ไมใชสึนามิที่น้ําซัดไป ทั้งหมดไง สบู ยาสีฟน รองเทามันยังอยู หนวยงานที่จัดใหตองมีการปรับตัว เรื่องการจัดการ ความรู อยายึดติดการประสบการณที่เคยมี จนมองไมเห็นความจําเปนที่แทจริงในหนางาน เพราะวาชาวบานตองการกินขาว ไมไดตองการกินยาสีฟน ชวยเอาเงินที่เคาชวยกันบริจาค ดวยความศรัทธาและความเชื่อมั่นวา คุณจะชวยชาวบานไดมีประสิทธิภาพที่สุด ไปใชใหเกิด ประสิทธิภาพที่สุดดวยเถิด)

บทเรียนจากน้าํ น้ํา : ตอนที่ 3 : อยากบริจาคอะไปไหนดี นอกจากปญหาการเดินทางที่ขาดเรือ และ เดินทางดวยเรือไดทางเดียวเทานั้น เรายังเจอปญหาเรื่องการจัดการของบริจาควา ถาไมมีแกนนํา อาสาสมัครหรือ ผูนําชุมชน ออกมารับของ "คนในหมูบาน ก็จะไมไดรับของบริจาค" ก็อยางที่บอก เพราะวาไมมคี นมาขนไปนัน่ แหละ และเนื่องจากชุมชนจะอยูลกึ เขาไปจากถนนคันคลองเสนหลัก ที่ตองขามสะพานมาอีกที การจะ เขาออกมันก็ยาก

หนาเขานูนยังมีอีกหมูบานนึง

เลยสะพานนี่ไปนูนนนน ลิบๆ ก็ยังมีอีกหมูบานนึง

และอยางที่รูเวลาของบริจาคมาลงในชุมชน ของมันมาพอครบจํานวนกับคนทั้งตําบลในครั้งเดียว ซะเมื่อไร ทีนี้ผูใหญบานไหนไมอยูตอนของมาลงก็ขามไป ผูใหญบานไหนอยูตรงศูนยรับนั่นก็ได ไป


32

และที่เห็นแคหอประปานี่ยังเรียกวาชุมชนที่อยูใกลถนนนะ ที่จริงมันก็ไมใชความผิดของผูใหญที่อยู หรือ คนที่ไมอยูรอรับของ เพราะในขณะนั้น ใครจะยอมใหลูกตัว ลูกบานตัวอดโซ ชีวติ มันตองเจอปญหาทั้งในบานและหนาบาน ไหนน้ําจะทวมของ ไหนจะกลัวของหาย ไหนจะ ตอนวัวขึ้นที่สงู ไหนจะคอยคุมเด็กที่บานไมใหเลนน้ําเนากันจนเปอย แลวจะแยกรางที่ไหนมารับงานทั้งสองหนางานได แคคิดก็เหนื่อยแทน สิ่งเหลานี้ ปญหายังกอใหเกิดความขัดแยงระหวางหมูบาน การไดของไมเทากัน มันมีทั้งไดไมครบทุกบาน และถึงไดครบทุกบาน พอบานอื่นมาเห็นอีกหมูบาน ไดถุงยังชีพทีม่ ีตนทุนสูงกวา อีกบานก็เคืองกันอีก ผูใหญแกบางทานดวยการตัดปญหา (ตัดใจ) ปลอยไป ไมเขาไปวุน วายหัวใจ จายของตอไปตาม ทะเบียนบานใหครบ วาไป.. แลวเราจะชวยใหเขาลดปญหาพวกนีไ้ ดยังไง อืม ไมควรไปแจกตรง? ผูบริจาคควรเอาของไวที่กองกลาง (เตนทตรงตีนสะพานหรือทางเขาหมูบานนั่นแหละ) เพื่อให แกนนําหรือตัวแทน รับไปจัดการจายของใหเทาเทียมกัน (จงเชื่อใจและไวใจ แมวาจะไมคอย เขาใจก็ตาม)


33

คือ ถาทีมคุณมีของมากพอสําหรับหนึ่งหมูบาน (300 ชุด ขึ้นไป) ก็วากันแตถาคุณมีไมถึง แลว คุณแจกบานนี้ๆ บานโนน บานนั่น แลว อาว บานตอไปหมดพอดีเปนบานเรา เราก็นอยใจนะวา ไมวะ ทําไม ไมถึงบานเรา ฝนตกไมทวั่ ฟาอีกแลวจะโทษเทวดาองคไหนดี ที่จริง หลังจากนี้เราวา เราควรจะสรางวัฒนธรรมการบริจาคใหมีแบบแผน คือ สะทอนบทเรียน ใหผูบริจาคเขาใจปญหาที่มันตามมาอะนะ ในขณะเดียวกัน ชุมชนเองก็ตองมีระบบกองกลางที่ซื่อตรง ทําหนาที่รับมือสําหรับคนที่ไมรูจะไป บริจาคปลายทางที่ไหน ทีจ่ ะรับเอาของมาลงที่สวนกลาง แลวก็ชว ยกันคัดแยก จัดการของบริจาคของตัวเองใหเทาเทียมกันตอไป ชวยคํานวนให (อีกละ) ถา จะบริจาคลงพื้นที่เลยตองคิดวาจะใหในระดับใด เพื่อที่จะใหกระจายไปไดถวนทั่วและถึงเร็ว เพราะผูใหญบานจะตองแจกของใหชาวบานไดเทากันและไดพรอมกัน ดังนั้นคํานวณใหฟง หนึ่ง หมูบาน (ขนาดกลาง) จะมีจํานวนครอบครัว ประมาณ 300- 400 ครัวเรือน นี่แปลวา ของประมาณ 400 ชุด จะใหคน ไดประมาณ 1 หมูบาน เพื่อลดความปวดกบาลของแกนนําชุมชน และลดการจัดการ เราควรจะ จัดของเปนชุดใหเรียบรอย (ขาวสาร มามา ปลากระปอง ใสถุงมัดจัดใหเสร็จสําหรับหนึ่ง ครอบครัวใหพอ ) แลวนําไปบริจาคที่ผุใหญบานหรือแกนนําทีละหมูไ ปเลย หรือถามีสายปาน ใหญกวานั้นก็บริจาคใหระดับตําบลไปเลย หนึ่ง ตําบลจะมีประมาณ 7-12 หมูบาน ประชากรก็ 2,000 คน โดยประมาณออ แตเช็คกอนก็ ดีกวา ตําบลนีโ้ ดนน้ําทวมกี่หมู เดี๋ยวจะระดมไปเกอ เอ แตถาเกอก็ไมเปนไร ขนไปใหตําบลอื่นตอไปก็ได ถามีรถบรรทุกก็ขนมาลงทีเ่ ต็นทประจําตําบลแลวแจงกํานัน ผุใหญ หรือแกนนําชุมชนให ประกาศเสียงตามสายเรียกลูกบานมารับไดเลย ...จัดไป......................

แทบทุกหมูบานที่บานหมี่ จะมีเตนท (ยืมวัดมา) มาตั้งเพื่อประสานความชวยเหลือ และรับของบริจาคแบบนี้แหละ


34

บทเรียนจากน้าํ น้ํา ตอนที่ 4 : ก็อยากทํากับขาวเองเหมือนกัน แตครัวมันอยูใ ตน้ํา เลยตองทําโรงครัวหมูบา น

สมตํา ขาวเหนียว ไขเจียวภาพนี้ ขโมยมาจากอัลบั้มใน Facebook ของเอก กระจกเงา ตอง ขอขอบคุณไว ณ ที่นี้ แมสมตําจานนี้จะไมไดกินในหองหรู แตขอบอกวา อรอยน้ําใจ ของ แมบานผูประสบภัยที่ตําใหกินอยางเหลือประมาณ (ขนาดปกติไมกินปลารา ยังกินอยางอรอย) น้ําทวมงวดนี้ แนนอนวา ไมใชเรื่องที่ภาครัฐจะจัดการแตเพียงฝายเดียว แตก็ไมใชวาจะโทษ เทวดาแตฝายเดียวก็ตองรับมือดวยกันทุกฝาย ทั้งชาวบาน พี่มารค และเทวดา เมื่อคืนกอน เพื่อนถามวา "การที่เราเขาไปใหของหรือชวยทําโรงครัวชุมชนแบบทีท่ ํามานี่ มันถือเปนการแทรกแซงรึเปลา" เราตอบวา"ทีจ่ ริงแลว ระบบหรือแบบแผนที่มีเนี่ยมันก็ถูกของมันนะ แตเมื่อสภาพความเปนจริง มันเกินคาด เราวา เราก็จําเปนจะตองเขาไปทําในสวนที่มันนอกเหนือจากที่คาดไวคะ " ขอเลาภาพการจัดการของที่บานใหฟงวา ที่อําเภอจะมีศูนยรับบริจาค ที่ทางอําเภอและกิ่งกาชาดประจําอําเภอ เปนผูบริหารจัดการ พอของบริจาคมา ของก็จะมาลงที่นี่ พอขาวกลองเสร็จ คนก็จะมาเอาจากที่นี่โดยจะจายของไป เมื่อผูนําชุมชน ไดแก อบต. หรือ กํานัน หรือ ผูใหญบานแจงความตองการของบริจาคและความ ชวยเหลือมารับเอาไป


35

แนนอนวา ของนะพอ แตการจัดการไมมีวันพอ เพราะปญหามันไมมีวันหยุด เสาร - อาทิตย เหมือนคนทํางาน ก็เหตุการณมันใหญและกวางเกินที่มือของคนใหญที่อยูขางนอกจะไปควาไวถึง ดังนั้นใครที่อยูใกลมือ หรือ อยูในชุมชนเองพวกเขานัน่ แหละที่จะตองจัดการ ชวยตัวเองกอนและ การที่เราไปสนับสนุนใหเขาชวยตัวเองได มันก็เปนการหนุนเสริมที่ถูกตอง ไมเห็นจะผิดตรงไหน หรือถาจะเรียกวา เปนการแทรกแซง ก็เปนการแทรกแซงที่บริสุทธิใ์ จ เพื่อมนุษยธรรมอยางศูนย ขาวกลอง หรือ โรงครัวชุมชน ที่เราไปชวยชาวบานตัง้ เนี่ย มีคําถามวาเปนการแทรกแซงชุมชน หรือ แทรกแซงการจัดการของภาครัฐมั้ย เราก็ตองมอง ยอนปญหากลับที่ดู วา ชาวบานเองอยากทํากับขาวเองเหมือนกัน แตครัวมันอยูใตน้ํา แลวจะให ทําไงเตาก็อยูใ ตน้ํา แกสก็จม ถานก็เปยก ทางออกที่ทําไดคือ ไปใชครัวทีว่ ัด เพราะที่วัดมีหมอ พรอม มีเตาพรอม มีถานพรอม มีจานพรอม ชอนพรอม พอที่จะรองรับคนจํานวนมากกกกกก ไดอยูแลว ยอดเลย ที่นี่แหละทําโรงครัวหมูบานไดเลย เพราะความจําเปนแรกในชีวติ ก็คือ การมีขาวกินนี่แหละ มี ขาวกิน มีเพื่อนที่มารวมตัวกัน ชวยกันคิดหาทางที่จะลงแรง แกปญหากันตอไปนี่แหละเราพบวา มันเปนการตอบโจทยย้ํา วาความตองการขอความชวยเหลืออันดับแรกๆ ตองเปนเรื่องอะไร


36

เรื่องเลาทิ้งทาย น้ําทวมงวดนี้จะสปอยลจนหนูเสียนิสัย หรือ จะสอนใหหนูลงมือเอง เรื่องที่จะเลาตอไปนี้ ถาไมทิ้งชวงเวลาไวสกั พัก ก็คงจะนึกไมออก มองไมเห็นวาที่จริงมันก็เปนปญหา มันเริ่มมาจากตั้งแต 15- 18 ตุลาคมที่ผานมา บานที่ อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี เจอฝนตกหนักตอกัน 3 วันติด ฟามันปดซะจนเรานึกวาจานดาวเทียมเสีย พอก็บนวา เถามันเทศของแมแก มันไปพันจานแดงของพอ (ในขณะที่จานเหลืองของแมไมยักกะมีปญหาสักเทาไร) เราดูภาพถายดาวเทียมก็เห็นแลวแหละ วาเมฆมันหนาซะขนาดนั้นสัญญาณมันจะผานลงมาหาจานแกไดยังไง แลวฉันก็หนีกลับไปกรุงเทพ พรอมกับขาวทีว่ ิ่งตามมาวา น้ําทวมที่จังหวัดซึ่งอยูตนน้าํ และทวมอําเภอเราเกิดดวย ปนี้แลงนาน แตพอฝนมา ฝนก็ลงซะแรงเลย ชาวบานไมมีใครคิดวาเมฆกอนนั้น มันจะทําให บานเราแบงเปนฝงแหงและฝง waterworld ครึ่งๆกันไดขนาดนี้ ฉันกลับบานอีกครั้งใน 2 วันถัดมา ซึ่งเปนวันที่น้ําเขาสูงสุดจนถนนถูกปด เพราะน้ําเชี่ยวเซาะ เอาคอสะพานทรุด ทีมเพื่อน 2 ทีม ที่มาดวย ไดทําใหฉันเกิดจุดเปลีย่ นทางความคิด ทีมแรกซึ่ง เปนทีม survey และกูวิกฤตชีวติ ในชวง 1-3 วันแรก อันนี้ขอขามไปกอน ทีมที่ทําใหฉันตอง เขียนบทความนี้ คือ ทีมทีส่ องซึ่งเปนทีมกูวิกฤตอาหาร (Food crisis) ในชวง 3-7 วันถัดมา การกลับบานในมุมมองใหมครั้งนี้ ทําใหฉันไดเห็นทั้งเรื่องดีและเรื่องที่เปนดาบสองคมในบานของฉันเอง มีหมูบานสองหมูบานที่ฉันและทีมเพื่อนเอาถุงยังชีพไปลงในชุมชน ทั้งสองหมูบานเหมือนกันตรงที่มีอาชีพหลัก คือ ทํานา และอยูไกลถนนใหญ หมูบานแรก ฉันกาวเขาไปผานสายสัมพันธของนาซึ่งเปนพี่เลี้ยงสมัยเด็กๆ หมูบานที่สอง ฉันและเพื่อนกาวเขาไปผานขอความรองขอความชวยเหลือ จากนองคนหนึ่งซึ่งก็ไมรูจักกันมากอนได Facebook และโทรศัพททรี่ องขอใหมา (แลวก็ไดรตู อนตัววา นองเคาเปนรุนนองที่จบมัธยมโรงเรียนเดียวกับเรา)


37

เมื่อกาวลงไปถึงก็พบวา หมูบานที่สองมีทีมแมบานที่ตงั้ โรงครัวชุมชนตั้งแตวันแรก มีทีมพอบานที่จัดระบบของบริจาคและระดมแจกจายไดเพียงพอตอสมาชิกในชุมชน วางายๆคือ มีการจัดการตนเองไดอยางดี ในขณะที่หมูบา นแรก พอขึ้นไปบนศาลาวัดก็เห็นน้ําบริจาควางอยู 6 แพค และกวาจะเริม่ ตั้งโรงครัวชุมชนได กวาจะมีระบบจัดการของบริจาค ทั้งหมูบานก็โดนน้ําขังปาเขาไป 5 วันแลว สิ่งที่ทําให 2 หมูบานตางกันออกไปก็คือ ผูนําที่มีอยูในชุมชน สาเหตุที่หมูบา นแรก มีน้ําบริจาควางอยูแค 6 แพค นั่นเพราะ ผูใหญบานของเขาไมไดอาศัยอยูในชุมชน จึงไมสะดวกที่จะเขามาทํางานใหกับชุมชน และตัวลูกบานเองก็มีแตผูหญิงกับเด็กทีม่ ีภาระในบาน เลยขยับอะไรไมไดมากนัก สวนอีกหมูบานนั้นไมรูวาเชิงลึกนั้นผูใหญบานเขามีบทบาทมากนอยแคไหน แตเทาทีเ่ ห็น ลูกบานที่นี่เขาฟตกันทั้งทีม ทํางานเขาขากันเปนอยางดี ในภาวะที่การคมนาคมทางกายภาพถูกตัดขาด พวกเขาใชชองทางใดสื่อสารใหโลกภายนอกไดยินเสียงรองขอความชวยเหลือ หมูบานแรก นาใช Social Capital (ทุนทางสังคม) ดึงสัมพันธระหวางคนรูจัก ที่อยูในอําเภอเดียวกันฝงทีแ่ หง มาชวยฝง ที่เปยก หมูบานที่สอง มี gen Y ที่ใช Social Network เรียกคนที่ไมเคยรูจัก ใหเขามารูจักและมาชวยหมูบานของตัวเอง ตอนนี้หมูบานที่เปนหวงไมใชหมูบานแรก ฉันกลับเปนหวงหมูบานทีส่ องมากกวา แมวาทั้งพอบานและแมบานที่นี่จะเขาฟตและทํางานเขาขากันเปนอยางดี แตไมรูวา gen Y รุนถัดมา จะสปอยลไปแคไหนแลวไมรู เพราะ พฤติกรรมบน Social Network กับน้ําทวมในครั้งนี้ มันมีจุดที่นาสังเกตอยูวา คนที่ตะโกนดังสุด คนที่ TWIT ถี่สุด คนที่ Tag เคาเยอะสุด คนโพส Facebook แรงสุด คนนั้นจะไดความชวยเหลือเขาไปเยอะสุด มันนาตกใจตรงที่วา "เฮย นี่เรากําลังโหวต AF หรือชวยน้ําทวมกันวะเนี่ย" เอา แลวหมูบา นที่โดนตัดไฟ โทรศัพทหาย ไมมีอินเตอรเนท ไมมี BB ใชนี่จะทําไงกันเนี่ย แลว คิดยังไง ถึงไดเรียกคนที่ไมรูจักเขามาในบานกันเต็มไปหมดเลย


38

ทําไมตอง Twit กันไปขอขาวจากกรุงเทพ ทั้งๆที่รุนพี่ของเราในสมาคมศิษยเกาก็มีทั้งเจาของ โรงสีและสมาชิกหอการคาสารพัด ทั้งๆที่ เรามีเพื่อน มีพี่นอง มีญาติบานใกลในฝงที่ไมโดนน้ํา ทวมกันอยูตั้งมากตั้งมาย เรากลับลืมที่จะใชทุนทางสังคมเหลานี้ ในขณะเดียวกัน เราวา ผูทมี่ ีทุนทางสังคมเหลานี้ก็อาจจะถูกสปอยลไปแลวดวยไมตางกัน ก็ เพราะมีเรื่องน้ําทวมขึ้นมา ขาวของทั้งของหลวงและของราษฏร นานาคันรถ ก็ตางขนกันเขามา เสียจนเถาแกกงสีที่อีกบานแทบไมตองปนอะไรไป จนเดี๋ยวนี้ เวลามีชาวบานมาบอกวา โดนน้ําทวมอยูตรงไหน ขาดอะไร คนแถวบานเราซึ่งไมเปยกก็บอกวา "แลวจะบอกตอๆไปใหนะ" เราก็ เอา เฮย ไมใชตองชวยลงแรง เอาขาวไปสง ไปลงของใหหรอกเหรอ ทั้งหมดนี้ไมไดจะบอกวา การใหของจากกรุงเทพมันไมดีนะ การแบงปนโชคดีของเราจากฝงที่ น้ําไมทวม ไปให เพื่อน พอ แม พี่ นอง ที่แบงรับแบงสูก ันอยูขางหนามันดีอยูแลว เพียงแตอยาก เรียกรองบางอะไรบางวา อยาสปอยหนู และที่เลามานี่ เราแคกําลังเตือนคนรุนเราวา อยาลืมวานอกจากเราตองดูแลตัวเราเองแลว คนที่มีสัมพันธในสังคมใกลบานเราก็ยังมีอยูนะ เขาเองมีกําลังที่จะชวยเราไมตางกัน และคนใกลบานก็ตองไมลืมนะ วาบานนั้นกับเราก็อยูใกลกันแคนี้เอง ความชวยเหลือจากเรามันไมไกล ไปไดไวและยังไดใจวาเราชวยกัน


39

กระบวนการ “ สรางสายใยเครือขาย ทามกลางสายน้ํา...ทวม ” กรณี : เครือขายสิ่งแวดลอมชุมชนจังหวัดปทุมธานี


40

กระบวนการ “ สรางสายใยเครือขาย ทามกลางสายน้ํา...ทวม ” กรณี : เครือขายสิ่งแวดลอมชุมชนจังหวัดปทุมธานี เครือขายสิ่งแวดลอมชุมชน จังหวัดปทุมธานี เครือขาย ฯ เกิดจากการรวมตัวของ ชุมชนหลายๆ ชุมชนที่ อาศั ย ริมคู คลองจังหวัดปทุมธานี ตั้งแตป 2547 ที่ผานมามี การทํา กิจกรรมรวมกลุมในหลายๆเรื่อง เชน การออมทรัพย การฟนฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรมมอญ การ รณรงคใหทําถังบําบัดน้ําเสียราคาถูกในแตครัวเรือน การทําน้ําหมักชีวภาพเพื่อฟนฟูสภาพ แมน้ําลํ าคลอง จน “ ชุมชนคลองปรอก” ไดรับรางวัลจากกองทุนสิ่งแวดลอมโลก เปนพื้นที่ แลกเปลี่ยนเรียนรูของชุมชนตางๆ ในประเทศ และอยูระหวางความพยายามในการขยายออกสู ชุมชนอื่นๆ ใน 8 สายคลอง เขตจังหวัดปทุมธานี จํานวน 45 ชุมชน โดย แกนนําเครือขาย ซึ่ง เปนตัวแทนจากชุมชนตางๆทําหนาที่ในการดําเนินงาน มีนักจัดระบบชุมชน ( Oganizer ) จาก มูล นิ ธิ ชุ ม ชนไท เข า ไปสนั บ สนุ น กระบวนการทํ า งานแบบมี ส ว นร ว มของชุ ม ชน และ มี ก าร ประสานความรวมมือกับสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (พอช.) เพื่อสนับสนุนการแกปญหาที่อยู อาศัย รวมทั้งเครือขาย ฯ เปนสมาชิกสมัชชาสุขภาพจังหวัดปทุมธานี

หลังจากระดับน้ําในแมน้ําเจาพระยาขึ้นสูงและทะลักเขาบานเรือน แกนนําเครือขาย ฯ ได มี ก ารโทรนั ด ประชุ ม ด ว น และสรุ ป ข อ มู ล ว า มี 14 ชุ ม ชนที่ เ ดื อ ดร อ น จึ ง จั ด ตั้ ง ศู น ย ประสานงานและชวยเหลือสมาชิกที่ไดรับผลกระทบจากน้ําทวม ขึ้น โดยใช ศูนยประสานงาน และชวยเหลือผูประสบภัยน้ําทวม เครือขายสิ่งแวดลอมชุมชนจังหวัดปทุมธานี ตั้งอยู ตรงขามชุมชนวัดหงส อ.เมือง จ.ปทุมธานี ศูนย ฯ เริ่มดําเนินการเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2553 โดยแกนนําแตละชุมชนลงไปสํารวจ ความเดือ ดร อ นและความตอ งการเร ง ด ว นของสมาชิ ก หลัง จากนั้ น ได สง ข อมู ล ความ ตองการทางอีเมล ให แก กลุมเพื่อนๆที่อาสาระดมของช วยเหลื อน้ํ าทว ม การชวยเหลือ เบื้องตน เปนไปอย างดี มีการทําขอมูลทั้งการรับบริจาค การแจกจายที่เ ขาถึงผูประสบภั ย เพราะทีมแกนนําแตละชุมชนมาเปนแกนหลักในการแจกจาย ในขณะที่แกนนําจากชุมชนอื่นๆ ก็ตามไปหนุนชวยกัน ทําใหเกิดความสัมพันธที่ดีระหวางแกนนําในชุมชนกับสมาชิก และเกิด


41

การทํางานรวมกันระหวางชุมชนทั้ง 14 ชุมชน ถึงแมจะมีของจํานวนจํากัด แตตรงกับความ ตองการอยางแทจริง เชน ขาวสาร อาหารกลอง เรือทองแบน ไมทําสะพาน ยาน้ํากัดเทา สวมชั่วคราว เปนตน

ชุมชน ที่ไดรับความเดือดรอนจากผลกระทบน้ําทวมจํานวน 14 พื้นที่ จํานวน 1,241 หลังคาเรือน ประมาณ 4,900 คน แบงเปน อําเภอเมือง 8 พื้นที่ 1)ชุมชนเมือง 7 ชุมชน 318 หลังคาเรือน 2)ตําบลหลักหก หมู 2 หมูบาน จํานวน 150 หลังคาเรือน อําเภอสามโคก 4 พื้นที่ 1)ชุมชนตําบลกระแชง 3 หมูบาน 280 หลังคาเรือน 2)ชุมชนบางโพธิ์เหนือ อ.สามโคก 1 ชุมชน 75 หลังคาเรือน 3)บานปทุม หมู 2 หมูบาน 240 หลังคาเรือน 4)ชุมชนวัดราษฎรรังสรร 80 หลังคาเรือน อําเภอลําลูกกา 1 พื้นที่ 1) ชุมชนคูคตพัฒนา 38 หลังคาเรือน อําเภอธัญบุรี 1 พื้นที่ 1) ชุมชนริมคลองรังสิต คลองหนึ่ง คลองสอง 60 หลังคาเรือน


42

แผนที่แสดงพื้นที่บริเวณชุมชนน้ําทวมปทุมธานี ศูนยประสานงานน้ําทวมภาคประชาชน จังหวัดปทุมธานี บานปทุม ม. 1- ม.3 สามโคก 240 หลัง ชุมชนวัดราษฎรรังสรร 60 หลัง อบต.กระแชง 280 หลัง ชุมชนบางโพธิ์เหนือ 75 หลัง ชุมชนบางโพธิ์ใน 89 หลัง ชุมชนคลองพิกุล 45 หลัง ชุมชนวัดหงส 40 หลัง ชุมชนบางปรอก 20 หลัง ชุมชนริมคลองรังสิต 80 หลัง ชุมชนวัดโคก 30 หลัง ชุมชนโสภาราม 74 หลัง ชุมชนเทพพัฒนา 20 หลัง

ม.4 ,ม.5 ตําบลหลักหก 150 หลัง ชุมชนคูคตพัฒนา 38 หลัง

สรุปลักษณะปญหา 1. น้ําทวมขังสูง ตองใชเรือ เขาออก จํานวน 513 หลัง 2. น้ําทวมบางสวน ( ลุยนําเล็กนอย น้ําทวมบริเวณบานบางสวน ) จํานวน 650 หลัง 3. ไดรับผลกระทบพื้นที่ตอเนื่อง เชน น้ําทวมถนน ทางเดิน ทางเขาบาน 78 หลัง ลักษณะบานที่ไดรับผลกระทบจากน้ําทวม 1. บานมีเลขที่ จํานวน 1,087 หลัง 2. บานไมมีเลขที่บาน จํานวน 80 หลัง 3. บานเชา จํานวน 74 หลัง เวทีสรุปประสบการณทํางาน หลังจากระดับน้ําทรงตัว ยังคงมีทีมเฝาระวังระดับน้ํา ศูนย ฯ ยุ ติ ก ารทํ า อาหารเพื่ อ เลี้ ย งคนที่ ม าช ว ยทํ า กระสอบทราย มี ก ารจั ด พู ด คุ ย เพื่ อ สรุ ป การ ดําเนินงาน ที่ผานมา ดังนี้ - อาสาสมัครประจําศูนยเปนผูนําชุมชนตาง ๆ โดยเฉพาะชุมชนที่ไดรับผลกระทบโดยตรง จํานวน 20 คน หมุนเวียน - อาสาสมัครประสานงาน ชวยเหลือ จากพื้นที่น้ําทวม 14 พื้นที่ ๆ ละ 3 – 5 คน - การจัดตั้งศูนยเชิงรุก พรอมตั้งรับ มีขอมูล มีระบบการบริหารจัดการ โดยชุมชนเองเห็นวาดี มีประโยชนมาก และสามารถเขาถึงผูที่เดือนรอนจริง ๆ โดยไมตองแยงกัน - สนับสนุนตรงตามความตองการ และเรื่องที่ไมมีใครสนับสนุน เชน จัดหาอาหารผูที่มาเปน อาสาสมัครชวยทํากระสอบทราย ปองกันน้ําทวม หองน้ําเคลื่อนที่ เรือทองแบน ยาน้ํา กัดเทา ( มากกวาขาวสารอาหารแหง )


43

- เห็นศักยภาพของเครือขายชุมชนที่มีการรวมกลุมและทํากิจกรรมมาอยางตอเนื่อง พบ ภาวะวิกฤติ สามารถรวมตัวและชวยเหลือไดทันทวงที และไดรับการยอมรับจากชุมชน และ ภาคีฯ - ชาวบานที่ไมเดือดรอนมาก ก็มารวมบริจาคของดวย (ไมไชมารับแตเพียงอยางเดียว) - เห็ น ควรว า น า จะมี ก ารพั ฒ นาจากศู น ย ป ระสานงานและช ว ยเหลื อ เป น ศู น ย ประสานงานและปองกันภัยพิบัติภาคประชาชน ในการฟนฟูและปองกันในโอกาสตอไป ปญหาอุปสรรค การประสานงานหน ว ยงานราชการ เป น ไปได น อ ย มาก และ ขาดงบประมาณในการบริหารจัดการขับเคลื่อน กิจกรรม ที่เปนคาใชจาย เชน คานํามันรถ คามอเตอรไซด คา ถุงในการใสขอแจก เพราะผูบริจาคเปนสิ่งของ หรือเงิน ระบุ ของที่จะตองซื้อ เปนตน สรุปการชวยเหลือและขอบคุณผูสนับสนุน รายการ น้ําดื่ม ยาสามัญประจําบาน ขาวสาร เรือทองแบน ซีเลคทูนากระปอง ทูนาน้ําเกลือ ขนมปงแซนวิช บะหมี่สําเร็จรูป ไขเค็ม ไมกระดาน สุขาเคลื่อนที่(SCG) น้ําแกว (เอื้องธัญญ) กาแฟ แกว อาหารสด

จํานวน 10,800 ขวด 200 ชุด 1,590 กก. 5 ลํา 120 กระปอง 1,920 กระปอง 100 ชิ้น 260 ซอง 100 ฟอง 35 แผน 50 ชุด 5 ลัง 3 ชุด 20,000 บาท

ผูสนับสนุน การประปานครหลวง และสสส. การประปานครหลวง ธนาคารกรุงไทย (22,500 ) อื่นๆ ธนาคารกรุงไทย ลงพื้นที่ชวยชาวบาน - ทีมมูลนิธิ 1500 ไมล - ทีมมูลนิธิชุมชนไท - ขาวทีวีไท ขาวเที่ยง สกูปขาว - เครือขายสิ่งแวดลอมกรุงเทพฯ/ ปริมณฑล - อาสาชวยน้ําทวม อื่นๆ มูลนิธิชุมชนไท

นายอํานาจ จันทรชวง มูลนิธิชุมชนไท รายงาน


44

ประสบการณการรับมือภัยพิบัติ น้ําทวมใหญ 2010 และพายุดีเปรสชั่น บทเรียนจากภาคสาธารณสุข


45

ประสบการณการรับมือภัยพิบัติ น้ําทวมใหญ 2010 และพายุดีเปรสชั่น บทเรียนจากภาคสาธารณสุข นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ คศน.001 เรียบเรียง ป 2553 บทพิสูจนที่ชัดเจนวา โลกและประเทศไทยไดรับผลกระทบอยางชัดเจนจากภาวะโลกรอน และการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลกแลว น้ําทวมใหญป 2553 ที่เกิดขึ้นไลมาตั้งแตภาคเหนือตอนลาง มา ภาคกลาง ภาคอีสานและภาคใต ไดสรางความสูญเสียอยางมาก โรงพยาบาลชุมชนและสถานีอนามัยใน หลายพื้นที่ก็ไ ดรับผลกระทบอยางมาก ประสบการณการรับมือภัยพิบัติ น้ํา ทวมใหญ 2010 ของ 3 โรงพยาบาลในจังหวัดสงขลาคือโรงพยาบาลหาดใหญ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ณ อําเภอนาทวี และโรงพยาบาลจนะ รวมถึงประสบการณการเผชิญหนากับพายุดีเปรสชั่นของโรงพยาบาลสทิงพระ ที่ โรงพยาบาลเหลานั้นไดเขียนมาเลาสูกันฟง เปนบทเรียนที่เห็นภาพของความโกลาหลและการจัดการที่เปน ความรูฝงลึก ( tacit knowledge ) ที่นาสนใจยิ่ง

ภาค 1 : เมื่อน้ําทวมโรงพยาบาลนาทวี บทเรียนทีค่ วรแบงปน อําเภอนาทวี เปนอําเภอเศรษฐกิจดีอีกอําเภอของจังหวัดสงขลา เต็มไปดวยสวนยางและสวนผลไม มีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ณ อําเภอนาทวี ขนาด 120 เตียงตั้งอยู เปนโรงพยาบาลระดับ 2.2 ของกระทรวงสาธารณสุข คือมีแพทยเฉพาะทาง ในชวงที่ประสบเหตุน้ําทวมในวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2553 นี้ คุณหมอสุวัฒน วิริยพงษสกิจ ผูอํานวยการโรงพยาบาลนาทวี ไดถายทอดประสบการณไวอยางนาสนใจ

มุงสูนาทวี ตอนประมาณตี 4 ของวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 หนุมนอยชื่อ “ชาย” แฟนของนองเจาพนักงาน เภสัชกรรมไดโทรมาปลุกผม แจงวาน้ําขึ้นสูงมาก กําลังทะลักเขาโรงพยาบาลนาทวี ผมรับโทรศัพททีแรกยัง ไมเชื่อ เพราะสักเที่ยงคืน เพิ่งคุยกับทีมงานที่ดูแลเครื่องสูบน้ําของชลประทาน ซึ่งไดมาติดตั้งในโรงพยาบาล และเริ่มสูบน้ําไดตั้งแตชวงเย็นแลว ปกติถาเปนแบบนี้ก็จะอุนใจ เพราะเครื่องพญานาคทั้งสองตัวขนาด 12 นิ้ว ฝนตกหนักๆมาสักชั่วโมง อีก 2 ชั่วโมงก็แหง แตปรากฏวาฝนดันตกตลอด ผมคิดไดแตเพียงวา ใหกั้น กระสอบทรายที่พอมีใหสูงไวกอน สวนตัวเองจัดแจงหยิบเสื้อผาติดมือไปสองสามชุดกอน ระหวางทางฝนยังคงตกหนักตลอด ที่ปดน้ําฝนเรงเต็มสตีมแลวก็ยังตองคอยๆขับรถไปไดอยางชาๆ สายฝนที่เย็นฉ่ํา แตใจมันรอนรุม ความเร็วสัก 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง ดูมันชางชักชาเหมือนเตาคลานเลย ทีเดียว ผมเพิ่งทราบขอมูลเมื่อมาทบทวนเหตุการณวา “ฟารั่ว” ในชวง 2 วันนี้เปนอยางไร เชนที่อําเภอนาทวี ปกติฝนจะตกเฉลี่ยทั้งปที่ 1200-1500 มิลลิเมตร มาปนี้ แค 2 วัน 31ต.ค-1พ.ย. ตกไป 504 มิลลิเมตร เรียกวา เปน 1/3 ของฝนทั้งป ระหวางทางผมผานอําเภอจะนะกอน ดูปริมาณน้ําสองขางทางแลวมีลุนวา น้ําไมมากกระมัง หารูไม วา จะนะเปนสวนปลายน้ํา น้ํายังเดินทางมาไมถึง เวลาผานไปสัก 1 ชั่วโมง พอเริ่มเขาเขตอําเภอนาทวี ตอง เปลี่ยนใจครับ เริ่มเห็นชาวบานยาย วัว ควาย และขาวของมายังทองถนน ฝนเริ่มซาเม็ดลง เหยียบคันเรงเร็ว ขึ้นหนอย ใจเตลิดคิดไปถึงเรื่องอื่น คิดถึงการซอมแผนอุทกภัยที่เตรียมซอมกันในวันรุงขึ้นคือวันที่ 2 พ.ย. หรือเราจะไดเจอของจริงเลย


46

พอเขาเขตตลาดนาทวี ลงจากสะพานขามคลองนาทวี มองลงไป สามแยกวังโตยาวไปสุดลูกตา ตลอดทางไปอํ า เภอเทพา ผมไม เ ห็ น พื้ น ผิ ว ถนนแล ว เห็น มี ร ถกระบะวิ่ ง สวนมาได แสดงว า รถยั ง พอฝ า กระแสน้ําได เลี้ยวขวาที่สามแยกวังโต มุงหนาสู รพ.ระยะทางราว 1 กิโลเมตรถึงหนาสนามกีฬาเทศบาล สอง ขางทาง มีรถจอดซอนกัน 3 แถว ตรงนี้เปนเนินสูงหนอย ผูคนตางนํายานพาหนะจอดหนีน้ํากัน ผมขับรถ Volvo คูใจเกือบถึงหนา รพ. ลําบากเสียแลวละ น้ํามากจริงๆ ตองหันหัวรถกลับมาจอดหนาสนามกีฬาเหมือน คนอื่นๆบาง ผมเดินเทาสัก 200 เมตร จนถึงแนวรั้วรพ. หนารั้วโรงพยาบาลเห็นสมาชิกชาวโรงพยาบาลสัก 5-6คน รวมตัวกันอยูหลังแนวเขื่อนกระสอบ ทรายหนารพ. ถนนทางเขารพ.กระแสน้ําเชี่ยวมาก เจาหนาที่ตองใชรถกระบะคันหนึ่งจอดบนถนนใหญ ใช เชือกผูกกับรถยึดโยงกับเสาภายในรพ. เพื่อไวเกาะเดินเขาไปได แตก็ตองใชความระมัดระวังเปนอยางมากผม ตัดสินใจเดินเกาะเชือกฝากระแสน้ําโดยมีพนักงานขับรถคอยเดินขนาบเขาไปได สิ่งแรกผมที่ทําคือ ขี่จักรยานตระเวนดูรอบรพ. น้ําขึ้นเร็วมากจริงๆครับ รอบรพ.เรามีเขื่อนกั้นน้ําสูง ประมาณ 2 เมตร จุดต่ําสุดของเขื่อนอยูบริเวณฝงที่ติดกับสํานักงานขนสงจังหวัด เราประชาสัมพันธเสียงตาม สายระดมคนที่มีอยูในบานพักทั้งชายหญิงและญาติผูปวย ชวยกันบรรจุทรายใสกระสอบ ผมอาจจะใชคําผิด ครับ ใสถุงดํามากกวา เพราะกระสอบตามแผนเดิม จะเอาเขามาเตรียมในชวงสายของวันนี้ เพื่อจะซอมแผน ในวันรุงขึ้น นองรปภ.ประยุกตโดยใชถุงดําซอนกัน 3 ชั้นเพื่อปองกันการแตก ก็พอบรรเทาไปไดบาง เรา ชวยกันลําเลียงขนกระสอบถุงดําไปเสริมแนวเขื่อนฝงขนสง แตดูแลวยังไมเพียงพอแน ผมรองขอกระสอบไป ยังทานนายอําเภอและพี่ๆที่สสจ.สงขลา เผื่อวาจะยื้อกันลองดูสักตั้ง

ปฏิบัติการยายผูปวยกอนน้ําเขาโรงพยาบาล ประมาณ 10 โมงเชาทานนายอําเภอฝากระแสน้ําดวยรถขับเคลื่อนสี่ลอทรงสูง ผานมาทางประตู สํารองของรพ.มาได ผมวานใหทานชวยตรวจสอบปริมาณน้ําจากตนน้ํา ทั้งจากตําบลประกอบ ตําบลสะทอน และที่สําคัญคืออุทยานแหงชาติเขาน้ําคาง ทานบอกผมวา “น้ํายังมีอีกมากครับคุณหมอ” ผมตัดสินใจใชแผนขั้นสุดทายคือยายคนไขออกจากโรงพยาบาลทั้งหมด ถึงแมในขณะนั้นภายใน โรงพยาบาลยังแหง แตภายนอกโรงพยาบาลเราถูกรายลอมดวยน้ําหมดแลว อยูไดเพราะเขื่อนกั้นน้ําและ เครื่องสูบน้ําทํางานอยูตลอดเวลา ผมสั่งการใหหัวหนาพยาบาลและหัวหนาตึกเตรียมเคลื่อนยายผูปวย โดย set priority case เปนประเภทตามความเรงดวนไว ประมาณ 11 โมง ของวันที่ 1 พฤศจิกายน รถยีเอ็มซี 3 คันจากคายทหาร ร5 พัน3 โดยการ ประสานงานของทานนายอําเภอ พรอมกําลังเกือบ 20 นาย เริ่มมาลําเลียงยายผูปวย คนแรกที่ผมคิดถึงคือ กัลยาณมิตรคนสําคัญ คุณหมอสุภัทร ฮาสุวรรณกิจ ที่โรงพยาบาลจะนะ ซึ่งหางออกไป 20 กิโลเมตร จัดการ รับคนไขที่จําเปนตองนอนโรงพยาบาลตอ 35 คน ที่เหลือ ไป โรงพยาบาลสงขลานครินทร โรงพยาบาล หาดใหญ โรงพยาบาลนาหมอม รวมสงผูปวยไปทั้งหมด 44 คน ชุดแรกที่สงตอคือกลุมเด็กที่ตองใช incubator โชคดีมากครับ ที่เพิ่งซื้อตัวใหมมา 2 ตัว ราคาตัวละ 5 แสน รูเลยครับวาคุมกับการรักษาชีวิตเด็กตัวนอยๆไดอีก 2 คน การขนยายผูปวยเปนไปอยางตอเนื่องและ ทุลักทุเล เพราะไมใชยายแตผูปวย แตหมายถึงญาติและขาวของเครื่องใชของผูปวยดวย ผูปวยเที่ยวสุดทายถูกสงตอไปประมาณ 6 โมงเย็น พลทหารขับรถบอกผมขากลับเที่ยวสุดทายวา ขับไปก็นั่งภาวนาสวดมนตไป ใหปลอดภัยทุกๆคน ชื่นชมนองพยาบาลมาก เขาใหกําลังใจพลขับ พรอมดูแล คนไขระหวางทางไปดวย ทานที่นึกภาพไมออก ลองคิดดูวา ระยะทาง 50 กิโลเมตร ใชเวลาเดินทาง 4 ชั่วโมง เปนอยางไร


47

ปฏิบัติการสูส ักตั้ง สักบายโมงสิ่งที่เราหนักใจที่สุดคือเขื่อนบริเวณฝงสถานีขนสงนั้นทานความแรงของน้ําไมไหวแลว น้ําทะลายเขื่อนเขามาจนพังพินาศ เสียงน้ําตกไหลเขาโรงพยาบาลจนทีมงานสูบน้ําประสานมาวาขอหยุดสูบ เพราะสูไมไหวแลว ผมสั่งการทางวิทยุใหสูบน้ําตอ เพื่อยื้อกับเวลาที่เราตองยายคนไขและยายขาวของให ไดมากที่สุด ระหวางนี้การเคลื่อนยายทามกลางกระแสน้ําที่ขึ้น เชี่ยวและแรง เราใชเวลากวา 6 ชั่วโมง แบง กําลังกันยายขาวของสวนหนึ่ง ยายผูปวยอีกสวนหนึ่งที่ยังหลงเหลือ อุปกรณสวนที่ยายไมไดเปนอุปกรณตัวใหญ เชน ยูนิตฟน เครื่องนึ่ง เครื่องอบผา เครื่องซักผา ก็ พยายามถอดมอเตอรออก พนักงานชางมือสั่นพลางถอดอุปกรณพลาง พอสัก 4 โมงเย็น น้ําสูงมากจนพนแนวเขื่อนรอบโรงพยาบาล ถึงแมเราจะเรงบรรจุกระสอบทราย กลางสายฝน อุดรูรั่ว เสริมคันดินใหสูงขึ้น ยื้อเวลา เพราะคาดวามันไมนาจะสูงกวานี้ แตผิดคาด น้ํามามาก ทั้งเร็วและแรง คราวนี้เครื่องสูบน้ําทั้ง 2 เครื่องเอาไมอยู จนตองยอมแพ น้ําจึงเขาทวมโรงพยาบาลอยาง รวดเร็ว ระดับน้ําบริเวณตึกอุบัติเหตุ ราว 1 เมตร บานพัก 1.5-2 เมตรตองอพยพอยูตึกใหมทั้งหมด ในวันนั้นไฟดับทั้งอําเภอ ทีมงานยังชวยกันสรางเขื่อนปองกันโรงไฟฟาสํารองซึ่งเปนจุดสําคัญที่สุด ตอไป ชวยกันวิดน้ํา สูบน้ํา ผลัดเวรเฝากันทุกชั่วโมง จนถึงรุงเชา เพราะถาไมมีไฟ คนที่บนตึกในโรงพยาบาล 80 ชีวิตก็คงลําบาก ในจํานวนนี้มีคนไขที่แพทยอนุญาตใหกลับบานได แตเขากลับไมได เพราะน้ําทวมเมือง ไปหมดแลว หลังจากนั้นเราก็ลุนกันวา น้ําจะเขาตึกใหม 2 ชั้นที่เรากําลังอยูหรือไม โลงใจเอาตอนเที่ยงคืน น้ําเริ่ม ทรงตัว อีกแคคืบหนา เราอาจตองอพยพขึ้นชั้น 2 คืนนี้ชาวโรงพยาบาลนอนกันบนตึกใหมกันอยางอบอุน แต ทุกคนก็หลับๆตื่นๆ พะวงกับสถานการณที่คาดเดาไมได เนื่องจากการสื่อสารถูกตัดขาดหมด

น้ําลดกับภารกิจที่ยังรอคอย เชาวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 น้ําเริ่มลดระดับชาๆ พอระดับน้ําภายนอกเริ่มลดต่ํากวาภายใน โรงพยาบาล สมาชิกชวยกันกั้นกระสอบทรายใหม เริ่มระดมสูบน้ําออกอีกครั้ง แตมีโจทยใหญตามมาคือ น้ํามันสํารองใกลหมด ทั้งใชกับเครื่องปนไฟ และเครื่องสูบน้ํา หัวจายน้ํามันในปมน้ํามันไมทํางานเพราะยังไม มีไฟฟาใช กัดฟนวัดดวงเราใชเวลา 24 ชั่วโมง ก็สามารถทําใหน้ําภายในไมทวมในอาคาร แลวรีบลางโคลน ไมงั้นจะลางยากมาก จึงใชไดโวสูบน้ําที่กําลังลดนี่แหละฉีดลางเบื้องตน ไดผลดีมาก เรียกวาเอาเกลือจิ้มเกลือ สําหรับการบริการ ทีมงานโรงพยาบาลปรับแผนโดยแบงกําลังไปออกหนวยตั้งโรงพยาบาลสนาม โดยขอรถทหารลุยเขามารับคุณหมอกัมปนาท จันทนะ และคณะไปออกหนวยใหบริการชาวบานบริเวณชั้น สองธนาคารการเกษตรและสหกรณซึ่งอยูในเขตชุมชน อีกสวนหนึ่งเริ่มมีคนไขอาศัยรถยีเอ็มซีทหารเขามารับ บริการที่โรงพยาบาล เราปรับรูปแบบที่ตึกใหม ใหเปนทั้ง ER LR และOPD หองยาแบบยอสวน เปน 2 จุด ใหญที่ใหบริการประชาชน ชวงบายเจาหนาที่เริ่มลงไปสํารวจความเสียหายที่บานพักกัน โดนกันไปเต็มๆทุกบาน ทั้งรถยนต เครื่องใชไฟฟา ที่นอน โซฟา จมน้ําจมโคลนกันเห็นๆ วันนี้ระบบสื่อสารบางสวนเริ่มฟน สื่อหนังสือพิมพบาง ฉบับ ทีวี วิทยุหลายชองมาสัมภาษณ ถึงแมขาวจะไมคอยออก เพราะความสนใจไปอยูที่หาดใหญเปนหลัก แตพวกเราก็มีความสุขที่ฝาวิกฤติมาได คืนนี้นอนกันบนตึกใหมอีกเชนเคย เชาวันที่ 3 พฤศจิกายน เปนวันแหงการขัดลางโรงพยาบาล ระดมคนลงลางตามจุดสําคัญ โชคดี ว า ระบบประปาของโรงพยาบาลช า งเราซ อ มได แ ล ว เริ่ ม มี น้ํ า ใช บ า ง เจ า หน า ที่ โ รงพยาบาลที่ ติ ด น้ํ า อยู


48

ภายนอกเริ่มทยอยเขามาชวยขัดลาง โชคดีที่สองคือ ไดน้ํามันสํารองมาจากสงขลา โดยการประสานจากสสจ. รถทหารบรรทุกมาใหอุนใจไปอีกมาก ชวงเย็นนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสงขลามาเยี่ยมใหกําลังใจ หลังจากนั้นเราสรุปงานประจําวัน เราตั้งเปาวาพรุงนี้ตองเปดบริการในสวนหนา คือ OPD และ ER ใหได ในวันนั้นแมโรงพยาบาลจะยังไมเปด แตเราไมไดปดโรงพยาบาล คนไขที่หาทางมาจนได สวนใหญ จําเปนตองนอนโรงพยาบาลเกือบทั้งนั้น ในชวงวิกฤตินี้มีคนไขในสะสมเพิ่มขึ้นจนเกือบ 20 คน ถึงแมระบบ ออกซิเจนไมทํางาน X’ray ยังจมน้ํา หอง lab ก็จม แตทีมเจาหนาที่ก็สามารถดูแลไดตามสมควร 4 พฤศจิกายน สามารถเปด OPD ได 3 หอง ชวงสายๆทีม IT จัดการระบบใหใชงานไดบางสวน ทหารจาก ร.5 พัน 3 ทีมเทศบาล เจาหนาที่โรงพยาบาลลางโรงพยาบาลรอบที่ 3 ซึ่งยังมีโคลนติดอยูโดยรอบ อีกครั้ง ตองขอรถน้ําและรถดับเพลิงจากเทศบาลระดมมาชวยกัน อีกสวนก็เปดบริการไปดวย ถึงแมระบบยัง ไมพรอม เลยตองมาใชระบบมือ (manaul) ทั้งหมด ทีมจากศูนยชางคือศูนยวิศวกรรมจากสงขลาไดเขามากินอยูพักคางคืนตั้งแตเมื่อวาน มาดูเครื่องซัก ผา อบผาให ชวงเย็นสามารถงานอยางละ 1 เครื่อง ทางทีมซักฟอกจัดเวรเปนกะทํางานกัน 24 ชั่วโมง ทยอย ซักผาที่จมน้ํากองเปนภูเขานอยๆ คาดวาใชเวลาสัก 3 วัน นาจะบรรเทาไปไดบาง ทีม IT ก็ทํางานกันโตรุง ระบบบริการ HOSxp เริ่มใชการไดบริเวณ OPD หองยา ER จนใชไดสัก 60 % สวนระบบบริการเมื่อวาน ER เริ่มเปดเวรบาย WARD เปดไดทั้งหมด 60 เตียง ทยอยรับผูปวยจาก รพ.อื่นๆมาแลว LAB เริ่ม CBC UA ได วันนี้เราจัดการเรื่องขยะเปนหลัก ทีมเทศบาลมาชวยเก็บ เริ่มทยอย เก็บในสวนงานสนับสนุน ลางบริเวณคลังพัสดุ วันที่ 5 ทุกอยางเริ่มเขาที่ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ณ อําเภอนาทวี ไดผานวิกฤตและ เปดบริการเต็มรูปแบบแลว

ภาค 2 : ประสบการณวุนๆของโรงพยาบาลจะนะทีน่ ้ําเกือบทวม เหตุ ก ารณ น้ํ า ท ว มใหญ จั ง หวั ด สงขลาจากพายุ ดี เ ปรสชั่ น ที่ ขึ้ น ฝ ง ที่ จั ง หวั ด สงขลาในวั น ที่ 1-3 พฤศจิกายน 2553 ที่ผานมา ลุมน้ํานาทวี เปนอีกลุมน้ําหนึ่งที่มีเรื่องราวน้ําทวมใหญมาเลาสูกันฟง อําเภอ นาทวีอยูบนเชิงเขา มีทางน้ําและคลองที่ไหลลงสูอําเภอจะนะ ดังนั้นหากน้ําทวมอําเภอนาทวี น้ําก็จะทวม จะนะในอีกไมนาน

ความวุนวายกอนน้ําเขาเมือง ที่โรงพยาบาลจะนะน้ําเขามาที่สุดในประวัติศาสตรการตั้ง รพ.นับตั้งแตป 2516 ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 เมื่อน้ําปาไหลบาเขาตัวอําเภอนาทวี โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนา ณ อําเภอนาทวี ซึ่งเปน โรงพยาบาลขนาด 90 เตียงถูกน้ําทวม น้ําเขาตึกผูปวย ไฟฟาดับ ทําใหตองมีการทยอยขนคนไขกับรถทหาร มารักษาตอที่โรงพยาบาลจะนะรวม 35 คน กวาจะเสร็จก็ตกเย็น ทีมของโรงพยาบาลจะนะฝากขาวกลอง กลับไปกับรถทหารใหเจาหนาที่นาทวี 100 กลองเปนอาหารเย็นที่กินตอนค่ํา ยอดวันนั้นคนไขอยูที่ประมาณ 80 เตียง โชคดีที่จะนะน้ําขึ้นตอนค่ํา และสวนใหญรูตัวลวงหนาวาน้ําจากนาทวีซึ่งหางออกไป 20 กิโลเมตร มาแลว คนไขสวนหนึ่งก็รีบสมัครใจกลับบาน ไมมีใครอยากทิ้งบานในสถานการณวิกฤต คนไขคนเฝาคง


49

อยากกลับไปขนของหนีน้ํากัน ก็ถือวาโรงพยาบาลขนาด 60 เตียงมีคนไขไมแนนเกินไป ตอนนั้นหมอเภสัช พยาบาลจะนะก็ปนปวนกับคนไขที่ทะลักเขามาเหมือนน้ําปา พอตกค่ําเรื่องคนไขก็เขาที่เขาทาง ชวงเชาวันนั้น เมื่อคาดเดาไดวาน้ําทวมใหญแน ทางโรงพยาบาลก็มีการประสานรถเติมออกซิเจน เหลวใหเขามาเติมออกซิเจนเหลวใหเต็มเปนกรณีพิเศษโดยที่ยังไมถึงระดับที่ตองเติม ซึ่งบริษัทเขาอยูที่ หาดใหญก็ยินดีมาเติมให ชวงบายเจาหนาที่โรงพยาบาลไปตลาดตุนอาหารสดเพิ่มขึ้นอีก เผื่อวาจะทวม หลายวัน ตุนน้ํามันสําหรับรถทุกคันใหเต็มถัง สั่งกาซหุงตมถังใหญมาเพิ่มอีก 2 ถัง น้ํามันสําหรับเครื่องปน ไฟพรอมแลว ขาวสารอาหารแหงพรอมนานแลว เงินสดในมือก็พรอมมีเงินอยูเกือบ 50,000 บาท เพราะชวง น้ําทวมไฟดับ ธนาคารปด ATM ไมทํางาน เงินสดเทานั้นที่จะจับจายได ขาวน้ําจะทวมจะนะ ในบายวันนั้น ญาติคนไขก็พาคนไขขาประจํา 3-4 คน เชนคนไขถุงลมโปงพอง คนไขสูงอายุที่บานชั้นเดียว พามาฝากนอนที่โรงพยาบาล แบบนี้เรียกวา ชาวบานเขาทีการเตรียมตัว ตอนเย็นเลิกงาน เปนชวงวัดใจ น้ํากําลังเขาจะนะ ใครจะกลับบานเพราะหวงบานก็คงเดาไดวา คง กลับมาไมไดแลวในวันพรุงนี้ แตถาไมรีบกลับก็คงไมไดกลับ ผมเองก็ตัดสินใจแลววา ปนี้ดูทาน้ําสูงกวาทุก ครั้ง หมอที่อยูเวรก็เปนนองๆใชทุน ภรรยากลับบานแลว คงไปขนของที่รานขายยา ขออยูเปนกําลังใจและ อํานวยการตามหนาที่ใหโรงพยาบาลแลวกัน ก็เลยนอนที่โรงพยาบาล

โกลาหลเมื่อน้ําเริ่มเขาโรงพยาบาล ตกค่ําน้ําขึ้นเรื่อยๆ ขึ้นอยางนากลัว ในตลาดทวมหมดแลว แตตัวโรงพยาบาลตั้งในที่ที่สูงที่สุดของ ตลาด มองไปเห็นโรงพัก ที่วาการอําเภอ ทวมแลว น้ําเขาโรงพยาบาลเริ่มทวมโรงซักฟอก เครื่องซักผาเริ่ม จมไปสัก 1 ฟุต ก็ยังพอไหว สัก 3 ทุม ผูคนในโรงพยาบาลแตกตื่น เพราะกลัววาน้ําที่ทวมถนนใน โรงพยาบาล ซึ่งสูงกวาถนนภายนอกเปนฟุต แตน้ําที่สูงขึ้นจนนากลัววาจะทวมรถ จึงตองมีการจัดระเบียบ การจอดรถกับอยางโกลาหล ทั้งรถสวนตัวและรถโรงพยาบาล เอาขึ้นจอดตรงทางเชื่อมบาง ขึ้นที่สูงสักนิด บาง จนเรียกวามีรถจอดเต็มทางลาดที่เอาผูปวยเขาตึกบริการ หากมีคนไขมาตองกางรมแลวหามมาขึ้นทาง บันได เพราะรถจอดเต็มหมดแลว แตคืนนั้นคนไขนอยมาก สวนใหญคงโกลาหลกับการขนของหนีน้ํา และ ถนนเสนหลักน้ําทวมจนยากที่จะเดินทางแลว ตกค่ํานั้นเองไฟฟาก็ดับลงทั้งอําเภอ เครื่องปนไฟของโรงพยาบาลดังกระหึ่มในทามกลางความเงียบ สงัด แสงไฟทั้งอําเภอมีแตโรงพยาบาลเทานั้นที่สวาง มองไปจากชั้น 4 ของอาคารผูปวยในเห็นแตโรงแยก กาซจะนะ และโรงไฟฟาจะนะ ที่มีทองฟาสีสวาง ซึ่งแปลวาทั้งอําเภอนาจะมีเพียง 3 แหงที่มีไฟฟา เรียกวา โคตรนาอิจฉาที่สุดในอําเภอ สวนโรงพักและที่วาอําเภอที่ควรเปนศูนยอํานวยการชวยเหลือประชาชนนั้นมืด สนิท การสื่อ สารถู ก ตั ด ขาดหลั งไฟฟา ดับ ไมน าน เขา ใจวา เสารับ สงสั ญ ญาณมือถื อ คงแบตตารี่ ห มด โทรศัพทพื้นฐานใชไมได เปนคืนที่เงียบสงบ ดึกน้ําทรงตัว ไมทวมสูงจนเขารถที่จอดไว ทาทางจะไมวิกฤต กวานี้แลว มื้อเชาทุกคนไปกินขาวตมไกไดที่โรงครัว โรงครัวเลี้ยงอาหารทุกมื้อกับทุกคนในโรงพยาบาลทั้ง คนไข ญาติและเจาหนาที่ ถนนไมมีรถวิ่ง มีแตคนเดินลุยน้ําระดับเอวเดินชมเมืองในอีกบบรรยากาศ หมอ ในโรงพยาบาลวันนี้มีตั้ง 4 คน ชวยกันไป round ward 2 คน อีก 2 คนก็อยูเฝาหองฉุกเฉิน เปนวันที่มีคนไขมา โรงพยาบาลนอยที่สุด คือประมาณ 30 คน และไมนาเชื่อวายังมีคนเดินลุยน้ํามาโรงพยาบาลตั้ง 30 คน เกือบ ครึ่งหนึ่งคือคนไขกลุมสําคัญที่โรงพยาบาลจะนะใหบริการเขามายาวนาน คือคนไขกลุมที่ติดเฮโรอีน แลวมา รับยาเมธาโดนทดแทนทุกวันไมเวนเสารอาทิตย ไมนาเชื่อคนกลุมนี้แมน้ําจะทวม แตเขาก็บากบั่นลุยน้ํามา กินยา แสดงวาโรคสมองติดยานี้ทรมานจริงๆ น้ําทวมหากพอมาไดก็ยังมาดีกวาขาดยา


50

ฟอรมาลีนกับเรื่องราวที่นึกไมถึง ตอนเชานั้นเอง พยาบาลไดแจงวาคนไขบนตึกอาการหนัก เปนผูปวยชายสูงอายุที่มาจากนาทวี เปนโรคเสนเลือดในสมองแตก สงไปรักษาที่โรงพยาบาลสงขลานครินทรแลว กลับมานอนรักษาตอที่นาทวี ได 1 วันก็ตองยายหนีน้ํามาที่โรงพยาบาลจะนะ นายแพทยสุภัทร ฮาสุวรรรกิจ เลาวา ผูปวยอาการแยลง ซึม หายใจติดๆ คุยกับญาติวาคงไมไหว ญาติเขาใจลงความเห็นรวมกับหมอ วาไมสงตอ สภาพของผูปวยชัดเจนแลววาไมนานคงสิ้นลมแน ผมเลยถามหาฟอรมาลีนจากหองยา ปรากฏ วาไมมี ไมไดเตรียมไว ไปไดจากหอง lab ที่เขาไวดองชิ้นเนื้อมาแค 400 ซีซี ก็ยังดี โรงพยาบาลชุมชนไมมี ตูเย็นเก็บศพ หากเสียชีวิตอีกวันเดียวก็เนาเหม็นแลว พอเที่ยงผูปวยก็จากโลกนี้ไปอยางสงบ พยาบาลก็เริ่ม หยดฟอรมาลีนทางน้ําเกลือ เพื่อรักษาศพไว ไมรูเมื่อไรจะกลับบานไดในสภาวะที่น้ําทวมสูงเชนนี้ ชวงบาย 3 โมง รถทหารคันใหญมาสงยาน้ําทวม แลวเขาจะไปสงยาตอที่โรงพยาบาลนาทวีตอพอดี มีคนไขและญาติขอติดรถเสี่ยงไปลงกลางทางหลายคน ผมเลยขอฝากศพนี้ไปกับญาติฝากไปใหถึงตลาดนา ทวีดวย ปรากฏวาคนอื่นที่จะพลอยไปกลับรถขอลงหมดทั้งคัน ไมมีใครยอมไปดวยเลย โวยวายกันบาง ผม ก็บอกวา คนเปนไมเนารอได คนตายรอไมได กลับไปที่ตึกคนไขไปพักและหาขาวกินกอนแลวกัน แลวรถ ทหารที่ขนยาและศพก็ออกไปจากโรงพยาบาล คุณหมอที่อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลาก็มีคนไขเสียชีวิตในโรงพยาบาลตอนน้ําทวมอําเภอเชนกัน แตโรงพยาบาลรัตภูมิแกปญหาดวยการใหคนลุยน้ําไปยืมโลงเย็นมาจากวัดมาเสียบไฟฟาที่โรงพยาบาล รอ จนน้ําลดจึงสงมอบศพใหญาติไปทําพิธีกรรมตอไป

น้ําเริ่มลด ชีวิตแหงความวุนวายก็เริม่ ตน ในวันที่ 2 โรงพยาบาลตึกหนาไมมีน้ําใช เพราะเครื่องสูบน้ําบาดาลขึ้นหอถังสูงจมน้ําเมื่อคืนที่ผาน มา ซึ่งเราไมเคยนึกถึง มอเตอรเครื่ องสูบน้ําจมน้ํา แตตึกผูปวยในยังมีน้ําใช เพราะเปนคนละระบบกัน ความเดือดรอนจึงไมมาก เครื่องปนไฟยังทํางาน 24 ชั่วโมง น้ํามันที่มีพอใชอีก 2 วัน โรงพยาบาลกลายเปน ที่รับบริการชารจแบตตารีมือถือประจําอําเภอ คืนที่ 2 น้ําเริ่มลดลงในชวงค่ํา ฝนไมตกเพิ่ม น้ําทวมลดลงคนไขก็เพิ่มขึ้นทันที น้ําลดแลว การสง ตอผูปวยก็เริ่มขึ้น แตการสื่อสารยังแยมาก ทําใหการตรวจสอบเสนทางการสงตอยากลําบาก วาเสนทาง ไหนไปไดไปไมได หลักๆก็สงตอไปโรงพยาบาลสงขลา เพราะหาดใหญยังจมน้ําอยู ตกดึกการไฟฟาเริ่ม ปลอยกระแสไฟฟา แตการสื่อสารยังยากลําบาก ภาพรวมโรงพยาบาลก็มีอาคารซักฟอกจายกลาง อาคารกายภาพบําบัด ศาลาละหมาด ซึ่งเปน อาคารแนวเดียวกันที่ตั้งในที่ลุมที่สุดของโรงพยาบาลทวมระดับเกือบหัวเขา ความเสียหายมีเล็กนอยคื อ เครื่องซักผาเสีย เครื่องสูบน้ํา และเครื่อง compressor เปาลมของยูนิตทําฟน แตทั้งหมดนี้ซอมได วันที่ 3 น้ําในโรงพยาบาลแหงสนิทแลว ถนนเสนหลักเดินทางได มีแตบานที่อยูในที่ลุมที่ยังมีน้ํา ทวม คนไขเริ่มมาโรงพยาบาลมากกวาปกติ โดยเฉพาะคนไขเรื้อรังเบาหวานความดันที่ยาลอยไปกับสายน้ํา แลว หมอที่ติดน้ําอยูหาดใหญก็มาโรงพยาบาลไดแลว เจาหนาที่เพิ่มจํานวนขึ้นพอรับมือกับผูปวยไหว คนที่ อยูเวรสลับกันเฝาโรงพยาบาลมาตลอด 2 วันก็ไปพัก คนใหมมาทําหนาที่ทดแทน เพราะหมอในโรงพยาบาลจะนะมีนอย และชาวบานตองการยาพื้นฐานมากกวาตองการหมอ ทาง โรงพยาบาลและสาธารณสุขอําเภอเลยจัดหนวยพยาบาลออกไปกับรถพยาบาลฉุกเฉินไปแจกจายยา ออกไป เปน 3 สาย แวะเปนจุดจุดละสัก 1 ชั่วโมง แลวก็ไปตอจุดอื่น บางสวนก็ฝากยาสามัญประจําบานไวที่บาน อส


51

ม.ใหเปนจุดกระจายยา จัดบริการแบบนี้สัก 3 วันก็หยุดลงเพราะน้ําลด ชาวบานสวนใหญพึ่งตนเองและ เดินทางสะดวกแลว สภาพหลังน้ําทวม พบแตขยะทั้งอําเภอ บานชาวบานกวาครึ่งเปนบานชั้นเดียว น้ําทวมครั้งนี้สูง กวาทุกครั้ง ทําใหบานชั้นเดียวนั้นน้ําทวมสูงจนขาวของเสียหายหมด โดยเฉพาะรถเครื่องและเครื่องใชไฟฟา จมน้ําหมด เสื้อผาที่นอนหมอนฟูกเปยกน้ําจนแทบจะใชไมได ซึ่งชาวบานกลุมนี้มีความนาเปนหวงดาน สุข ภาพจิ ต มากเปน พิ เ ศษ แต แ ต ล ะชี วิ ต ก็ ต อ งดิ้ น รนกัน ต อ ไป คุ ณ หมอสุ ภั ท รบอกว า “ผมคิ ด เอาเองว า ชาวบานเขาเผชิญความทุกขยากมาทั้งชีวิต ความคิดฆาตัวตายหรือเครียดจัดจนตองมาหาหมอจึงไมมาก เหมือนคนเมือง” สุดทายตองขอบคุณบรรพบุรุษที่เลือกทําเลในการตั้งโรงพยาบาลจะนะไดเหมาะสมแลว

ภาค 3 : น้ําทวมหาดใหญ กับบริการปฐมภูมิกูภัยพิบัติแหงทศวรรษ อําเภอหาดใหญเปนอําเภอเศรษฐกิจของภาคใต น้ําทวมครั้งรุนแรงครั้งสุดทายคือป 2543 หรือ 10 ปกอนหนานี้ ในครั้งนี้ฝนที่ตกหนักตลอดลุมน้ําคลองอูตะเภา ซึ่งเปนคลองสายหลักที่ไหลผาเมืองเหมือน แมน้ําเจาพระยาแหงกรุงเทพมหานคร ไดลนตลิ่งทวมเมืองอยางรวดเร็วในค่ําคืนของวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 อุทกภัยในหาดใหญครั้งนี้น้ําทวมสูงอยางรวดเร็วมาก โรงพยาบาลหาดใหญตั้งอยูในทําเลที่คอยขาง ลุม ระดับน้ําสูงจนเขาอาคารผูปวนอก อาคารสนับสนุนตางๆหลายอาคารของโรงพยาบาลหาดใหญ บริเวณ ถนนน้ําเชี่ยวมาก ไฟฟาดับตอนกลางคืน สัญญาณโทรศัพทถูกตัดขาด เจาหนาที่ไมสามารถเดินทางเขาออก จากตัวอาคารได โรงพยาบาลปดโดยปริยาย โรงปนไฟถูกน้ําทวม จนตองมีการขนยายผูปวยหนักไปนอน รักษาตอที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร แตถึงกระนั้นในโรงพยาบาลหาดใหญที่ถูกน้ําทวม ก็ยังมีผูปวยและ ญาตินอนรักษาตัวอยูหลายรอยชีวิต

บันทึกจากหอผูปวยใน น้ําทวมเมืองกับคนไขในที่ยังตองดูแล ณ มุมหนึ่งของโรงพยาบาลหาดใหญ ที่อยูทามกลางความมืดปราศจากแสงสวางจากไฟฟา ซึ่งให ความสะดวกในการทํางานมาตลอดหลายป แตปจจุบันนี้แสงสวางดังกลาวไมมีแลว มีเพียงแสงเทียนและและ แสงจากไฟฉายกระบอกนอยที่ใหความสวางอยูในหอผูปวย ทามกลางความมืดรอบดาน ความกังวลและ ความกลัว ยอมเกิดขึ้นในใจของผูปฏิบัติงานในฐานะผูใหการดูแลผูปวยที่ไมมีแมเครื่องอํานวยความสะดวก และอุปกรณที่ทันสมัยใหใชในเวลานี้ แมมีเพียงแสงเทียนและไฟฉายที่ใหแสงสวางบุคลากรทางสาธารณสุข ไมวาจะเปนแพทย พยาบาล เภสัชกร และเจาหนาที่ทุกฝาย แทนที่จะทําใหทอแทหมดกําลังในการปฏิบัติ หนาที่ แตกลับเปนแรงเสริมใหทุกคนมีความเห็นอกเห็นใจ ชวยเหลือซึ่งกันและกันเพิ่มขึ้น พยาบาลยังคงใหการดูแลผูปวยที่นอนพักรักษาตัวอยูที่หอผูปวย ซึ่งยังมีผูปวยเปนจํานวนมาก สวนที่มีการขนยายผูปวยไปนั้น สวนใหญก็เปนกลุมผูปวยหนักที่ตองดูแลอยางซับซอน ตองใชเครื่องมือที่ พึ่งพากระแสไฟฟา แตผูปวยสวนใหญหลายรอยชีวิตของโรงพยาบาลยังไมไดเคลื่อนยายไปไหน ยังรับการ ดูแลรักษาทามกลางสายฝนและความมืดที่โรพยาบาลหาดใหญ แนนอนวา พยาบาลและเจาหนาที่ทุกฝายจะมีความกังวลใจและยากลําบากในการใหการปฏิบัติการ เปนอยางมาก เพราะไมมีแสงสวางที่เพียงพอในการดูแลผูปวย ไฟฉายจึงเปนอุปกรณที่ใหแสงสวางคูกายที่ พยาบาลจะตองนําติดตัวไปดวยทุกที่ ซึ่งพยาบาลหนึ่งคนจะมีไฟฉายคนละหนึ่งกระบอก เพื่อใหแสงสวาง


52

ในขณะใหการพยาบาล ในการฉีดยาผูปวย มือหนึ่งถือไฟฉายอีกมือหนึ่งถืออุปกรณสําหรับฉีดยาหรือใหสาร น้ํา ซึ่งเมื่อพยาบาลเดินไปถึงเตียงของผูปวย ญาติจะเปนผูชวยในการสองไฟฉายใหพยาบาลไดฉีดยาหรือ เปดเสนเพื่อใหสารน้ํา ในสวนลึกของจิตใจพยาบาลมีความกังวลอยูมาก กลัวจะเปดเสนใหน้ําเกลือไมได ทําใหยอนนึกไป ถึงตะเกียงที่ชาวสวนยางนําไปกรีดยาง ซึ่งจะตองสวมศีรษะไวและสามารถใชมือทั้ง 2 ขาง กรีดยางได โดย ที่ไมตองถือตะเกียงไว แตในเวลานี้มีเพียงกระบอกไฟฉายและแสงเทียนไขเทานั้น ซึ่งก็เพียงพอแลวหากมี ความมุงมั่นที่จะปฏิบัติหนาที่ใหดีที่สุด สําหรับผูปวยทีอยูในภาวะวิกฤตหรือใสทอชวยหายใจ ซึ่งมีความจําเปนจะตองมีการสังเกตอาการ อย า งใกล ชิ ด ก็ ยั ง คงมี ต กค า งอยู ที่ โ รงพยาบาลหาดใหญ อี ก จํ า นวนหนึ่ ง ผู ป ว ยที่ ใ ส ท อ ช ว ยหายใจนั้ น เครื่องชวยหายใจยังสามารถใชได เพราะมีกระแสไฟฟาจากเครื่องปนไฟบางเครื่องที่ยังไมจมน้ํายังทํางานได แตการดูดเสมหะมีความยุงยากมากเพราะระบบการดูแลเสมหะแบบ pipeline นั้น ไมทํางานเนื่องจากระบบ ดูดสุญญากาศเสียหายจากน้ําทวม ทั้งหอผูปวยมีเพียงเครื่องดูดเสมหะแบบโบราณที่เสียบปลั๊กไฟฟาไดเพียง เครื่องเดียว ในขณะเดียวกันมีผูปวยที่ใชเครื่องชวยหายใจประมาณ 10 คน ซึ่งไมเพียงพอตอความตองการ ในการใชแตละครั้งจะตองรอดูดเสมหะเปนราย ๆ ตองหมุนเวียนกันใช นวัตกรรมใหมๆแบบโบราณจึงเกิดขึ้น เมื่อมีความจําเปนที่จะตองดูดเสมหะพรอม ๆ กัน ทําให พยาบาลตองคิดวิธีการใหม ๆ ขึ้นมาใชทันที โดยการขอยืมลูกสูบยางแดงมาตอเขากับสายดูดเสมหะของ ผูปวยแลวดูดเสมหะออก วิธีนี้ก็สามารถชวยเหลือผูปวยไดเชนกัน เพียงแตตองเสียเวลาในการลางลูกสูบ ยางแดง ซึ่งตองใชเวลานานพอประมาณในการลางใหสะอาด แตก็นับเปนนวัตกรรมแปลกใหมแตสามารถ ใชไดจริง ๆ นาจะนําไปจดสิทธิบัตรไวใชในยามฉุกเฉิน หากผู ปว ยมีอ าการกํา เริบหรือมี อ าการรุน แรงขึ้น จํา เปน ที่ จ ะตอ งรายงานแพทย ทราบนั้ น ใน สถานการณ ป กติ แค ย กหู โ ทรศั พ ท ขึ้ น ก็ ส ามารถรายงานอาการแก แ พทย ไ ด ทั น ที แต ณ ป จ จุ บั น นี้ สถานการณน้ําทวมทําใหการรายงานอาการมีความยุงยากมากและตองใชเวลาในการเดินไปตามแพทยที่ หองพักแพทยทามกลางความมืด มีเพียงแสงสวางจากไฟฉายเทานั้น จินตนาการตาง ๆ ก็ผุดขึ้นมาในหัว สมอง ทําใหเกิดความกลัวขึ้นมา แตเมื่อเดินมาถึงหองพักแพทย เคาะประตูเรียกแพทยเพื่อไปดูอาการ ผูปวย ความกลัวนั้นก็จางหายไป เมื่อนึกถึงหนาที่ที่จะตองปฏิบัติและจะตองใหการดูแลผูปวย ทามกลางความมืดกิจกรรมตาง ๆ ดําเนินไปอยางเงียบ ๆ แตมีแนบแผนที่จะตองปฏิบัติ ยังคงมี การประเมินสัญญาณชีพผูปวยทั้งผูปวยที่วิกฤตและไมวิกฤต การบันทึกทางการพยาบาล การอาบน้ํา การ ทําแผล การใหอาหารทางสายยาง และกิจกรรมอื่นอีกมากมายที่จะตองปฏิบัติเพื่อใหผูปวยปลอดภัย และให กําลังใจญาติที่เฝาผูปวยเพื่อไมใหเกิดความเครียดและใหผานพนเหตุการณนี้ไปได ภายใตสถานการณที่อยูในความมืดหนึ่งวันหนึ่งคืนนั้น แมบรรยากาศภายนอกจะมืดมิด แตก็มี ความสวางในใจเกิดขึ้นแกทุกคนที่ประสบเหตุ แตทุกคนสามารถอยูรวมกันได และสามารถปฏิบัติกิจกรรม ตาง ๆ ไดอยางเปนปกติ หากทุกคนมีความเมตตา เอื้อเฟอเผื่อแผ การเห็นอกเห็นใจ ชวยเหลือกันและกัน

เหตุเกิดทีเ่ วชกรรม ในวันที่น้ําเขาโรงพยาบาลหาดใหญ ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 คุณหมอพณพัฒน โตเจริญวานิชย หัวหนากลุมงานไดรวบรวม สมาชิกแพทย พยาบาลกลุมงานเวชกรรมสังคม ที่ติดน้ําทวมอยูบนตึกเวชปฎิบัติครอบครัว ประกอบดวย หมออีก 3 คนและพยาบาล 2 คน นําชุดยาสามัญประจําบานจํานวน 240 ชุด ฝากไปกับเรือเร็วที่แลนเขามาสง ผูปวยที่โรงพยาบาลนําไปแจกจายใหผูประสบภัยในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ “เรือมีอยูไมกี่ลํา แลนมาที่


53

โรงพยาบาลแลวจะกลับมาอีกทีก็ตอนที่มีคนเจ็บนะหมอ น้ํามันเชี่ยวมาก วันนี้มีคนเรือโดนไฟชอตไปแลวดวย ไมคอยปลอดภัยครั บหมอ” เสียงคนเรือตอบ นั่นหมายความว าถานั่งไปกับเรือจะไดก ลับมาโรงพยาบาล เมื่อไหรก็ไมรู เมื่อคิดไดเชนนี้แลว ทุกคนจึงตัดสินใจกันวาเราควรจะรอตั้งหลักกันกอนดีกวา ออกไปคงเปน ภาระมากกวาจะไดประโยชนกับชาวบาน จึงตัดสินใจฝากยาไปกับเรือ ที่บังเอิญผานไปมาชาวบานก็จะตะโกน เรียกขอรับยาเปนจุดๆไป พุธที่ 3 พฤศจิกายน 2553 บริเวณดานหนาโรงพยาบาลหาดใหญ ระดับน้ําสูงถึงหนาอก น้ําประปา ไมไหล ไฟฟาดับ สัญญานโทรศัพทยังถูกตัดขาด คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวยังปดใหบริการ แตไดจัดเตรียม ชุดยาสามัญประจําบานตอไป เพื่อสนับสนุนหนวยบริการในอําเภอหาดใหญ หมอสองคนขยับไปชวยตรวจ ผูปวยนอกดานหนาตึกใหญของโรงพยาบาลที่ผูปวยสามารถเดินทางมารับบริการได อีกสวนเตรียมเสบียงยา สามัญประจําบาน ทีมแพทยนําโดยคุณหมอหทัยทิพย ธรรมวิริยะกุล จากเวชกรรมสังคมพรอมแพทยอาสา จากกลุมงานสูติฯหนึ่งทาน คือ นพ.จิตติ ลาวัลยตระกูล ลงเรือเคลื่อนที่เร็วรวมกับมูลนิธิสวางแผไพศาลซึ่ง อาสาเดินทางมารวมกูภัยน้ําทวมจากจังหวัดประจวบคีรีขันธ ออกเดินทางไปยังหมูบานจุฑาทิพย ชุมชนคลอง แหฝงตรงขามหางสรรพสินคา Big C ซึ่งขณะนั้นไดรับแจงจากทีมกูภัยวาวิกฤตมากเพราะน้ําทวมเกินระดับ ศรีษะ ชาวบานเริ่มขาดน้ํา อาหารและรองขอยา ขณะเดินทางโดยทางเรือไมเพียงแตตองระมัดระวังกระแสน้ําเชี่ยวกราด แตยังตองระวังสิ่งของ หรือ รถที่จอดจมอยูใตน้ําดวย บางครั้งลูกเรือก็ตองลงจากเรือไปถือหางเรือหรือลากไปวายน้ําไปเรือที่ใชจึงตองเปน เรือทองแบนและตองมีเครื่องยนตจึงจะสามารถเดินทางได สิ่งที่ควรเตรียมตัวเสมอเมื่อตองนั่งเรือไปชวยน้ํา ทวมคือ ชูชีพ โทรโขง รองเทาบูทสําหรับลุยน้ําและถุงยาที่กันน้ําเขาได ที่สําคัญที่สุดคืออยาลืมพกน้ําดื่มและ อาหารของตัวเองไปดวยเพราะนาทีนั้นคงไปหวังพึ่งใหใครหาอาหารและน้ําใหเราไมได เวลาหนึ่งวันผานไปอยางรวดเร็ว เวลาเลิกงานสําหรับการออกหนวยไมใชสี่โมงเย็นแตเปนเวลาพลบ ค่ําที่คาดเดาไมไดจริงๆ สําหรับชาวบานจะตองเตรียมหมาน้ํา (อุปกรณตักน้ําผูกเชือก) เอาไวหอยลงมาจาก หลังคาเพื่อรับของเสบียงหรือยาน้ําทวมไวดวย ไปแจกยาอาจจะตองฝกปรือฝมือในการโยนรับเหมือนเลนแชร บอลไปกอนดวยเพราะชาวบานลงมาหาเราไมไดเราก็ไมสามารถปนจากเรือไปบนหลังคาบานคนไขได รวม ภารกิจในวันนั้นไดแจกยาชุดผูใหญไป 300 ชุด ยาชุดเด็ก 200ชุด ชวงเย็นไดสํารวจพื้นที่ประสบภัยบริเวณเขต 8 และจันทรวิโรจน เนื่องจากในขณะที่ไปแจกยานั้น ชาวบานหลายคนมักถามเปนประโยคแรกวามีน้ํามาดวยมั้ย ทีมหนวยเคลื่อนที่ในวันนั้นจึงไดขอสรุปวาถาจะ ไปแจกยาชาวบานขอใหเตรียมน้ําไปดวย ดื่มน้ําจะไดกินยาไปดวยนั่นเอง ตกเย็น ตะวันโพลเพล ทีมกูภัย ลงทุนควักกระเปา หนึ่งพันบาทไปซื้อน้ํากลับเขาไปแจกที่หมูบานเพราะชาวบานคงรอคอยขามคืนไมไหว กลับไปในหมูบานรอบที่สองจึงไดเห็นวาชาวบานบางคนพยายามเปนตัวแทนลุยน้ําออกมาเพื่อมารับ ถุงยังชีพที่ตั้งจุดแจกจายอยูบนพื้นดินปากทางเขาหมูบาน คุณลุงคนหนึ่งรับถุงแจกแลวก็หอบหิ้วทั้งลากทั้งอุม ถุงจนขาดของหลนไปตามทางน้ํา ทีมกูภัยทนไมไดตองจอดเรือเอาถุงในเรือลงไปเปลี่ยนให คนแก และหนุม สาววัยกลางคน ไมวาชายหรือหญิง คอยๆเดินลุยน้ํา บางก็นั่งบนที่นอนที่ลอยน้ําออกมาพรอมเตียง เด็กๆ เกาะกะละมังลอยตามน้ําไมใหจม เพื่อความหวังขางหนาวาอาจจะมีน้ําแจก มีอาหารหรือเสบียงกลับไปใหคน ในครอบครัว แมจะทั้งเหนื่อยทั้งเพลียแตหมอสองคนก็ยังวางแผนตอวาพรุงนี้คงตองออกมาลุยอีกวัน คุณหมอจิตติอาจารยอาวุโสกลุมงานสูตินรีเวชซึ่งบานพักในโรงพยาบาลก็น้ําทวมไมนอยไปกวานอก โรงพยาบาลนัดหมายเปนเสียงแข็งวา “พรุงนี้ผมจะออกมาชวยอีก บานผมยังไงก็ยังไมมีน้ําลางบาน เก็บไว กอน เอาไวทีหลังละกัน ชาวบานลําบากกวามาก” ใครไดฟงก็จะรูสึกทึ่งไมรูลืม


54

ภารกิจหลังน้าํ ลด แจกยาดวยใจ พฤหัสบดีที่ 4 พฤศจิกายน 2553 โรงพยาบาลหาดใหญน้ําลดลงไมทวมขัง แตยังไมสามารถเปด บริการไดเนื่องจากบุคลากรขาดแคลน สวนหนึ่งประสบอุทกภัยหนักไมแพกัน จึงยังไมสามารถจัดระบบบริการ ในคลินิกได ขณะนั่งเตรียมจัดชุดยาสามัญประจําบานซึ่งมีคุณพยาบาลจิราภรณ จิตรากุล หรือ ภรณ เปนผู ควบคุมการผลิตยาชุดสามัญประจําบานสําหรับน้ําทวมมือหนึ่งของเวชกรรมสังคมหาดใหญอยูนั้น คุณหมอ หทัยทิพยกระหืดกระหอบกลับจากประชุม war room ของโรงพยาบาลหาดใหญมาขออาสาเจาหนาที่เวชกรรม สังคมที่พอมีอยูรวมออกหนวยแพทยเคลื่อนที่ ทันทีที่ถามทุกคนยกมือขึ้นอยางไมลังเล วันนี้จึงมีหลายคนเขา รวมใหบริการออกหนวยเคลื่อนที่เร็ว แพทย 3 คนรวมทั้งคุณหมอจิตติซึ่งไดตั้งใจไวอยางมุงมั่นวาจะไมนั่งรอ ผูปวยที่โรงพยาบาลหาดใหญอีกแลวแตจะออกไปชวยชาวบานถึงในพื้นที่ดีกวา และแพทยประจําบานสาขา เวชศาสตรครอบครัวอีก 2 ทานเขารวมดวยพรอมทีมพยาบาล โดยมีพยาบาล 2 คนอยูประจําสํานักงานเปนผู ประสานงานและเฝากองบัญชาการ นับเปนความโชคดีของคนโรงพยาบาลหาดใหญ ที่ถึงแมรถของโรงพยาบาลหาดใหญจะโดนน้ําทวม ไปจํา นวนกว า ครึ่ ง หนึ่งของรถที่มี อ ยู รวมทั้ ง คลังยาน้ํา ทว มที่ ก ลับโดนน้ํา ท ว มไปดวย แตเ ราก็ไ ดรับการ สนั บ สนุ น ความช ว ยเหลื อ ในระดั บ ปฐมภู มิ จ ากโรงพยาบาลต า งๆอย า งไม ข าดสายและทั น ท ว งที เช น โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลาและแพทยจากโรงพยาบาล ชุมชนตางๆรอบๆหาดใหญ ในวันนี้การออกหนวยเคลื่อนที่จึงใชรถจากโรงพยาบาลราชวิถีรวมกับทีมสุขภาพ และเวชภัณทที่นําติดมากับรถจากโรงพยาบาลราชวิถี นําทีมโดยนายแพทยไพโรจน เครือกาญจนา หัวหนา ทีมกูชีพโรงพยาบาลราชวิถีพรอมทีมแพทยพยาบาล ออกบริการตรวจรักษาผูปวย ทําแผลและฉีดยา 2แหง คือ มัสยิสยิดบานเหนือ จํานวน 147 ราย และ รัตนอุทิศ 3 จํานวน 174 ราย พบสวนใหญเปนผูปวยกลุม อาการคลายไขหวัดใหญ ปวดกลามเนื้อ มีบาดแผลและน้ํากัดเทา ในชวงเย็นไดจัดทีมพรอมรถฉุกเฉินลง แจกยาสามัญประจําบานใน ชุมชนบางแฟบนําโดยคุณหมอธาดา ทัศนกุล รวมทั้งวันแจกยาชุดไปจํานวน 760 ชุด

ปฐมภูมิเชิงรุก บุกถึงประตูบาน ศุกรที่ 5 พฤศจิกายน 2553 แบงทีมสนับสนุนจัดเตรียมเวชภัณท1ทีม อีกทีมใหบริการในคลินิกเวช ปฏิบัติครอบครัว เพื่อบริการประชาชนในพื้นที่ใกลโรงพยาบาลที่สามารถเดินทางมารับบริการไดเพราะน้ําลด แลว นอกจากนี้ยังจัดบุคลากรเปดใหบริการใน CMU ของโรงพยาบาลหาดใหญไดแก CMU 3 ตําบล และ CMU ควนลัง และอีกทีมของเวชกรรมโรงพยาบาลหาดใหญรวมกับทีมโรงพยาบาลราชวิถีออกหนวยแพทย เคลื่อนที่ โดยรถของโรงพยาบาลราชวิถี ตรวจรักษาโรคที่ตลาดพอพรหม ทีม ใชเวลารวมชั่วโมงในการเปลี่ยนสภาพสกปรกของตลาดหลังอุทกภัย ใหกลายมาเปนแคมป บริการผูปวยที่สมบูรณแบบ ทีมกูชีพดัดแปลงพื้นที่นําหินและเศษไมในตลาดมาเปนบันไดและราวเกาะให ผูปวยที่บาดเจ็บที่ขา มีรถเข็นใหผูปวยที่เดินไมไหวเพราะมีบาดแผลที่หัวเขาทําใหขอเขาอักเสบ ผูปวยสวน ใหญมีบาดแผลที่เทาจากของมีคมบาดหรือกระแทกของแข็ง รักษาจนยา Dicloxacilllin หมด ตองจาย Pen V แทน และมีผูปวยโรคเรื้อรังหลายราย เชน ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หอบหืด มาขอรับยาเพราะยาหายไป กับน้ําที่ทวมบานสูงถึง1-2 เมตร วันนี้มีผูปวยรับบริการทั้งสิ้น 230 ราย ฉีดวัคซีนปองกันบาดทะยัก(TT) 50 ราย สงไปเย็บแผลที่โรงพยาบาลหาดใหญ 1 ราย การออกหนวยแพทยเคลื่อนที่นั้นมีทั้งการตรวจรักษาในที่ตั้งหนวย และการออกแจกยาไปตาม ตรอกซอกซอยในเขตชุมชนทาเคียนดวย คุณหมอธาดาใชโทรโขงเชิญชวนพี่นองใหมารับยา ทีมงานอีก 4-5


55

คนรับหนาที่แจกยาอยูดานหลังรถอยางแข็งขัน ชุดยาฯผูใหญจํานวน 450 ชุด เด็กจํานวน 100 ชุด หมด ภายในหนึ่งชั่วโมง ชาวบานทั้งไหวทั้งน้ําตาคลอที่มีหมอมาแจกยาถึงบาน เดินมารับยาที่รถพรอมอวยพรหมอ กับทีมจนเราตื้นตันใจและหายเหนื่อยไปตามๆกัน นอกจากใหบริการยาชุดสามัญประจําบานแลว กอนพลบค่ํา หนวยแพทยเคลื่อนที่ไดเคลื่อนที่ฝากอง ขยะเขาไปฉีด TT ใหผูปวยที่นัดไวเมื่อวานบริเวณเดิมในชุมชนรัตนอุทิศ (ซอย3) หนวยฉีดวัคซีนบาดทะยัก เปดประตูรถตู ตั้งเปนจุดฉีดยาสําหรับผูมีบาดแผลและยังไมไดรับวัคซีนกระตุนบาดทะยัก แพทยคนที่หนึ่งมี หน าที่คัดกรองและตรวจดูแผล อีกคนมือถือโทรโขงประกาศให ผูที่กํา ลังลางซากปรักหักพังมารับบริก าร แพทยอีกทานใหบริการยาสามัญประจําบาน พยาบาลเตรียมอุปกรณพรอมฉีด งานนี้ใชแพทยเปลืองหนอย แตในเวลานั้นทุกคนตองทําหนาที่ใหไดทุกอยาง เพราะเรามีกันอยูเพียงแคนั้นจริงๆ เพียงครึ่งชั่วโมง TT 40 doses เทาที่มีถูกใชหมด ผูปวยดีใจมากที่ไมตองเดินทางไปฉีดที่โรงพยาบาลเพราะภาระหนาที่ที่ตองไปหาน้ํา ดื่มหรือหาน้ําอาบ หาขาวกลองที่ขาดแคลนใหคนที่บานก็วุนวายมากจนไมมีเวลาไปโรงพยาบาล

สงไมผลัด จากทีมไกลสูกองกําลังนักศึกษาแพทย การออกหนวยในวันหลังๆเวชภัณฑทุกอยางเริ่มขาดแคลนเพราะหองยาของโรงพยาบาลหาดใหญ ยังลมเพราะอุทกภัย ยาจึงมีไมเพียงพอ แตเหมือนมีโชคดีเปนครั้งที่สองที่ทีมกูชีพจากราชวิถี ไดประสานงาน กับทานผูอํานวยการโรงพยาบาลเด็กและ War Room ของกระทรวงสาธารณสุข ที่กรุงเทพทําใหไดรับการ สนับสนุนยาน้ําเด็ก ซึ่งเปนยาที่ขาดมากตั้งแตวันแรกที่น้ําทวมคลังยา จนไดรับยามาทางเครื่องบินอยาง รวดเร็วในวันตอมา หลังเสร็จภารกิจ โรงพยาบาลราชวิถีแจงวาจะถอนกําลังกลับกทม.เพราะสถาณการณเริ่ม คลี่คลายแลว ทีมหาดใหญเริ่มใจหายแตก็ตองทําใจใหเขมแข็งเพราะเขาก็รวมทุกขรวมสุขกันมาหลายวัน กลับจากออกหนวยคืนนั้นทีมเวชกรรมสังคมจึงตองประชุมวางแผนรับมือการทํางานเพื่อชวยเหลือ ประชาชนในวันเสารอาทิตยที่ 6-7 พฤศจิกายนกันใหมวาจะหายานพาหนะและบุคลากรที่ไหนมาชวยออก หนวย ทีมที่ออกหนวยกันมาแตแรกก็เริ่มเหนื่อยลา โชคดีค รั้งที่สามเกิดขึ้นขณะที่ ในชวงเวลาดังกลา วมี นักศึกษาแพทยชั้นปที่ 4 ขึ้นเรียนวิชาเวชศาสตรครอบครัวและชุมชนพอดี จึงเปนโอกาสดีของนักศึกษาที่จะ ไดมาเรียนรู การดูแลชุมชนในสถานการณที่มีภัยพิบัติ จริงๆแลวนองๆนักศึกษาแพทยชั้นปที่ 4 ทุกคนไดมา รวมกันเตรียมเสบียงยาจนค่ํามืดอยูทุกวัน แตวันพรุงนี้พวกเขากําลังจะไดออกไปปฏิบัติงานในพื้นที่จริงหลาย คนถึงกับแทบอดใจรอไมไหว วันเสารที่ 6 พฤศจิกายน 2553 สถานการณทั่วไปที่เวชกรรมสังคม ยังมีขยะบริเวณหนาอาคาร วันนี้ มีนักศึกษาแพทยชั้นป4จํานวน10 กวาคนมารวมทีมกับแพทยชุดเดิม เวลา 9.00น.เริ่มใหบริการหนวยแพทย เคลื่อนที่ไปยังชุมชนจันทรวิโรจน แตไดรับแจงจากเจาหนาที่ฝายปกครองทองถิ่นทานหนึ่งวา มีหนวยแพทย เคลื่อนที่จากร.พ.สงขลานครินทรมาใหบริการแลวในวันกอนหนานี้ วันนี้อาจมีชุมชนที่ลําบากกวา ทีมจึงยาย หนวยแพทยมาที่ชุมชนสําราญสุข ในพื้นที่เทศบาลคลองแห เนื่องจากการจราจรติดขัดมากกวาจะมาถึงพื้นที่ ออกหนวยตองใชเวลากวา 2 ชั่วโมงทั้งที่เวลาปกติเมื่อยังไมเกิดอุทกภัยใชเวลาเพียงประมาณ 15 นาที จน เริ่มมีฝนตกหนักหนวยแพทยฯตองตั้งอยูในเพิงหมาแหงนริมทาง เพราะพื้นที่มีแตซากบานเรือนที่ประสบภัย แมวาการใหบริการทําไดลําบาก แตสามารถใหบริการดานการตรวจรักษาและทําแผล ชาวบานไดถึง100 ราย ชวงบาย หมอธาดานํานักเรียนแพทยขึ้นรถออกแจกชุดยาสามัญประจําบาน ตามซอยใกลๆจนถึงเวลา 16.00 น.จึงเดินทางกลับสํานักงาน


56

นักศึกษาแพทยชั้นปที่ 4 เริ่มเรียนรูวาชีวิตจริงไมไดงายนักเหมือนในภาพยนตแตแทจริงแลวทั้ง เหนื่อยและลําบากปนกับความสุขใจที่ไดชวยเหลือชาวบาน นองๆหลายคนพูดเปนเสียงเดียวกันวาถาไมไดไป เห็นกับตาคงไปรูวาชาวบานลําบากกันขนาดนั้น วันอาทิตยที่ 7 พฤศจิกายน 2553 วันนี้นอกจากนศพ.ป 4 แลว ยังมีนักศึกษาแพทยป 5 ขอรวมออก หนวยฯดวย ทีมเวชกรรมสังคมลงพื้นที่ใหบริการ 2ชุมชน คือชวงเชาที่ชุมชนทุงเสา ใหบริการจนพักเที่ยง เสร็จ ก็ยายไปบริการที่ชุมชนคลองเตย แตดูเหมือนชาวบานยังเครียดกับการทําความสะอาดบานจึงมารับ บริการนอยกวาที่คาดการณไว หมอธาดาจึงขับรถคันเล็กประจําศูนยบริการสาธารณสุขคลองเตยพานักเรียน แพทย 6 คน ไปแจกยาชุดสามัญประจําบานตามตรอกซอกซอยในชุมชน สรางความครื้นเครงใหกับนักศึกษา แพทยเปนอยางมากจนเวชภัณฑจากสสจ.ทั้ง 200 ชุดหมด ไดรับการตอบสนองเปนอยางดีจากชาวบาน ทีมออกหนวยจึงไดประจักษวาถาไมประกาศใหไดรับขาวสารเปนรูปธรรม ชาวบานก็จะไมทราบวามี การตั้งจุดบริการหรือมีบริการดานสุขภาพดวย เพราะภาระงานดานปจจัย สามอยางคือ อาหาร เครื่องนุงหม บาน ยังไมเรียบรอย ยารักษาโรคจึงตามมาทีหลัง ประโยชนที่เหนือความคาดหมายที่สุดในวันนี้คือนักศึกษา แพทยตางไดรับประสบการณจากการปฏิบัติในพื้นที่ภัยพิบัติจริงจนเกิดความเขาใจมากขึ้นมีมุมมองที่ดีตอการ เสียสละ การเขาถึงชุมชนในอีกระดับหนึ่งและไดตระหนักจากการไดเห็นภาพจริงจากอาจารยวา Primary care doctor มีความสําคัญอยางไรตอชุมชน น้ําไดลดระดับลงไปแลว ยังคงไวแตรองรอยคราบดินโคลนและขยะเนาเหม็นที่ทําใหเมืองหาดใหญ ทั้งเมืองซึ่งเคยสวยงามนาเที่ยวชมกลายเปนเมืองลางซอมบี้มีแตซากปรักหักพัง สัตวเลี้ยงจมน้ําอืดไปทั่วเมือง อีกไมกี่วันนับจากน้ําลดหนอนแมลงวันก็จะเติบโตขึ้น หนอนแมลงหวี่จะกลายเปนตัวเต็มวัย ยุงลายที่ชอบน้ํา ขัง จะเริ่มแพรพัน ธุ ทํา ให เกิดป ญ หาโรคติดเชื้อและโรคระบาดตามมาได เวชกรรมสัง คมหาดใหญจึ ง ได ประสานกับกรมอนามัยสิ่งแวดลอม งานสุข าภิบาลและปองกันโรค กรมสุ ขภาพจิต ออกควบคุ ม โรคและ เยียวยาเมืองหาดใหญ ตระเวนพนยาฆาหนอนแมลงวัน กําจัดสัตวนําโรค และพนหมอกควัน รวมทั้งเติม คลอรีนในบอน้ําใช น้ําทวมหาดใหญครั้งนี้ทําใหคนหาดใหญไดรับมากไมแพกันกับน้ําที่ทวมคือน้ําใจ ที่ไดรับจากการ ชวยเหลื อของทีมตางๆทั้งจากในและนอกระบบสาธารณสุข อยางไมขาดสายรวมทั้งความอดทน มีน้ํา ใจ เอื้อเฟอตอกันของเจาหนาที่ในโรงพยาบาลในขณะที่เกิดอุทกภัยหนักมีมาก บทเรียนที่ไดจากเหตุอุทกภัยใน ครั้งนี้สมควรนําไปเปนสวนหนึ่งในการสรางการเตรียมพรอมตอการรับสถาณการณอุทกภัยหรือภัยพิบัติที่อาจ เกินขึ้นไดอีกในวันขางหนา

ภาค 4 : เพื่อพายุดีเปรสชัน่ กระหน่ําสทิงพระ อําเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ภูมิประเทศติดทะเลทั้งสองดาน ทิศตะวันออกติดฝงอาวไทย และ ทิศตะวันตกติดทะเลสาบสงขลา ปจจุบันสทิงพระเปนเมืองแหงหลังคาหลากสี หากคุณผานอําเภอสทิงพระ วันนี้คุณจะเห็นภาพ หลังคาที่ไมมีเหมือนเมืองใดในโลกนี้ หลังคาบานของประชาชน สถานที่ราชการ บานพัก โรงพยาบาลหรือ สถานีอนามัย ก็มีหลังคาหลากสี สีแดงบาง สีเขียว สีแดงสลับขาว กระเบื้องดินสลับกับสังกะสี ตนไมลม ระเนระนาด เสาไฟฟาโคนลม เกิดอะไรขึ้นกับเมืองนี้ 1 พฤศจิกายน 2553 เปนวันที่ชาวอําเภอสทิงพระไมเคยลืมคงจะเปนเรื่องเลาขานถึงอานุภาพ แหงพายุดีเปรสชั่นใหกับลูกหลานอยางไมมีวันลืม


57

คืนแหงความหฤโหดเริ่มขึ้นเมื่อ กรมอุตุนิยมวิทยา แจงเตือนวาจะเกิด พายุดีเปรสชั่นบริเวณ ภาคใตตอนลาง ขาวออกมาเปนระยะวาจะเกิดที่จังหวัดนครศรีธรรมราช แตอนิจจา.....ครึ่งชั่วโมงกอนเกิด ถึง ไดรับรูวาพายุไดเปลี่ยนทิศทาง ใจกลางพายุหมุนดวยความแรง 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง มาเขาที่อําเภอสทิง พระ ชาวบานที่ไดรับฟงขาวสารทางวิทยุ อบต./เทศบาล แจงเตือนประชาชนออกเสียงตามสายบางแหงที่ ไดรับขาวสาร วาประชาชนที่อาศัยอยูใกลริมทะเลใหอพยพมาอยูที่บริเวณหนาที่วาการอําเภอสทิงพระ ผล ปรากฎวา ชาวบานเชื่อนอยมากก็ยังอาศัยอยูในบานดังเดิมความรูสึกวาพายุ มันก็เกิดบอยที่สทิงพระ ก็ไม เห็นเปนอะไร เวลา 23.40น. ชาวสทิงพระตองตื่นตระหนกสุดขีด.....เสียงอะไรดังหวี๊ดๆๆๆๆๆๆๆเสียงสูงมาก ปนดวยเสียงวูๆๆๆๆๆๆๆๆ...ตามดวยลมกรรโชกอยางรุนแรง ฝนตกอยางหนักหนวง มองไปบนทองฟามี แสงสีแดง พายุหมุนเปนเกลียว เปนจุดๆ เสียงพายุเหมือนมัจจุราชรายที่โกรธใครมา หอบเอาหลังคาชาวบาน ที่อยูริมทะเลทั้ง 2ขาง ออกไปทิ้งนอกบาน ชาวบ า นที่คูขุ ด บอกว า พายุห อบหลั ง คาเขาไปบนท องฟ า เปด บ า นเขาออกมา ตามดว ยน้ํ า จาก ทะเลสาบสงขลาที่พายุหอบเอามาฝากสูงประมาณ 5 เมตร ผสมดวย โคลนสีดําจากทองทะเลลึก.. ปลา กุง นกกระยาง ถาโถมใสตัวบาน บานที่ยกพื้นสูง พังครืนลงมา เขากับแมลอยคอ กระเด็นออกจากบาน ลอย ไปติดอยูกับ กอตนลําพู น้ําไหลเชี่ยว ทั้งหนาวเหน็บตามตัว มีแผล เปนรอยขีดขวน เลือดไหลออกมาจนหยุด ไหลเอง ตัวซีดเย็น สงสารแมเหลือเกิน พายุสงบจึง พาแมมาขออาศัยอยูที่วัด เสื้อผาเปลี่ยนก็ไมมี ทุกอยาง หายไปกับพายุหมดแลว ตองใชจีวรพระหมตัว นายขนบอายุ 35ป คือผูปวย Home ward ที่ใสสายสวนปสสาวะคาไว ทีมพยาบาลลงไปดูแลที่ บา น ขนบเลา ให เราฟงวา เมื่อพายุ เกิด มั น ไดพัด บา นของเขาที่มุ งด ว ยจาก หลั ง คาเป ด ออกไป ฝนเท กระหน่ําลงมาบนตัวเขา บานเอนลง เอนลง หลังคาหลุดออกไปทีละอัน สองอัน เขานอนอยูคนเดียว อัมพาต ทอนลางหนีไปไหนก็ไมได ทั้งกลัวทั้งตกใจ..พอตั้งสติไดเขา ไดโทรศัพทไปบอกพี่ชายใหมาชวย แต อนิจจา พอพี่ชายมาถึง บานและหลังคา ก็พังมาทับตัวเขากับพี่ชาย ไปไหนไมได ตะโกนใหใครชวยก็ไมมี ฟาก็คําราม ฟาผาตลอดเวลา ฝนตกหนัก ลมพัดแรง ไฟดับ โทรศัพทก็เปยกน้ําสัญญาณก็ถูกตัด ใครเลาจะไดยิน ในเมื่อทุกคนตองประสบชะตากรรม แหงความโหดรายดวยกัน ทั้งเขาและพี่ชายก็มีแผลเลือดก็ไหลอยูตลอด ตะเกียกตะกายลากถูกันออกจากบาน ที่พัง ไปอาศัยที่โรงเคี่ยวน้ําตาล พอประทังชีวิตไปไดอยางทรมาน ทุกคนประสบชตากรรมเหมือนกัน เจาหนาที่ของเรา โรงพยาบาลเองก็ไมแตกตางจากชาวบาน เจาหนาที่ของเราหลายคน บานพังทั้งหลัง หลังคาถูกยกไปทิ้งไวไกลจากบานเปน 10 เมตร หมอหุงขาว เครื่องซักผาก็พังหมด ถูกพายุหมุนเขาบาน เสื้อผาก็ไมมีใส เชนพี่สิริพงศ ลูกจางโรงพยาบาลทําหนาที่ ซักฟอก ออกมาขอความชวยเหลือในตอนเชาที่โรงพยาบาลวาไปชวยแมของเขาที บานเขาพังหมดแลว หลังคาพังหมด น้ําฝนเทลงมาจากชั้นบนที่ไมมีหลังคา ลงมาบนเตียงแม มิหนําซ้ําน้ําก็ยังทวมมาจากดานลาง จนถึงเตียงนอนแมที่พิการอายุ 85 ป ชวยเอารถไปรับแมมาขออาศัยที่โรงพยาบาล สภาพที่ไปถึง คุณยายตัว เปยกชุมหนาวสั่น ญาติตองเอารมนั่งกางอยูทั้งคืน มันชางโหดรายอะไรเชนนี้ โรงพยาบาลสทิงพระก็พังเชนกัน บานพักก็พัง แรงพายุหมุนไดหอบเอาหลังคา ลานเอนกประสงค หลังโรงพยาบาล หอบไปทิ้งไวที่บนหลังคาหองฉุกเฉิน สนามหญา และถนนใหญหนาโรงพยาบาล เปนผลดี ที่ทําใหหลังคาหองฉุกเฉิน ไมถูกลมพัดพังไปดวย หลังคา OPD เพดานพังลงมา อุปกรณขาวของใชถูกพายุ หมุนกระจัดกระจาย เหมือเศษขยะ


58

น้ําเจิ่งนองโรงพยาบาล เจาหนาที่ชวยกันทําความสะอาด พวกเราที่อยูเวรเปนหวงชาวบาน พอแมพี่นองที่อยูขางนอก รวมถึงญาติๆ เปนอยางไรกันบาง คนที่มาผลัดเวรดึกก็มาไมได เจาหนาที่และ พยาบาลก็ตองอยูเวรบายตอเวรดึกโดยไมไดพัก พายุเกิดเวลาประมาณ 23.40 น. หมุนทําลายทุกอยางที่ขวางหนาอยูประมาณ 1 ชั่วโมงเสียงพายุ หมุนเหมือนเสียงกรีดรอง...ฝนตกหนักอยางบาคลั่ง เสียงลม แรงพายุหมุนแรงมาก ถอนตนไมที่อายุเปน รอยๆ ป ขนาดใหญแคไหนก็ลม บานหลายพันหลังพังเสียหายเกือบหมดทั้งอําเภอ เสาไฟฟาลมลงตั้งแตใกล โรงพยาบาลไปถึงหนาอําเภอ ประมาณ30 ตน ตนไมโคน ลม ขวางทางหลัก ไฟฟาดับทั้งหมด หลังพายุผานไป เงียบ เงียบจริงๆ เงียบจนนากลัว เหมือนไมมีอะไรเกิดขึ้น***** ประมาณตี 2 เศษ โรงพยาบาลของเราก็ตองทําภารกิจหนักอีกครั้ง ผูปวยหลายสิบรายเริ่มทยอยเขา มา ทุกคนมาในสภาพที่เปยกโชก เลือดไหล มีบาดแผลรอยขีดขวน แผลถูกของมีคมบาด กระเบื้องตกใส หลังคาทับ ตนไมตกใส รถชนตนไม พวกเราทีมสาธารณสุขมาชวยกันเย็บแผลใหการดูแลรักษาประชาชน จนถึงเชาโดยไมไดเปลี่ยนเวร ผูปวยที่อุบัติเหตุรถชนตนไม อาการหนัก ตองชวยชีวิต ใส ET tube มีอาการ ทางสมองตองสงไป รพ.สงขลา หรือรพ.มอ. ก็ไปไมได ในเมื่อหาดใหญก็น้ําทวมเหมือนกัน ชวยกันดูแลผูปวย จนถึงเชาถึงจะRefer ไปโรงพยาบาลที่จังหวัดสุราษธานีได รุงเชาขาพเจาขับรถออกจากโรงพยาบาลเพื่อไปดูความเสีย ก็ไดพบกับคุณหมอนครินทร ฉิม ตระกูลประดับ ผูอํานวยการโรงพยาบาลสทิงพระ ที่ขับรถออกไปดูสถานที่ตั้งแต 6โมงเชา ผอ.บอกวา ไปไดไมไกลตนไมเสาไฟฟาขวางทางอยู ใจกลางพายุนาจะอยูที่ตําบลกระดังงา เพราะตนไมไมลมแตถูกบิด ขาดออกไปจากแรงหมุนเปนวงกลม มองออกไปพบชาวบานชวยกันตัดตนไมบริเวณถนนสายหลักพื่อใหรถ สามารถผานได แตในตรอก/ซอยเขาไปไมได บนถนนมีแตเศษกระเบื้อง กิ่งไม ผอ.กลับไปบานพักเพื่อเปลี่ยนเสื้อผาชุดใหม กางเกงขาสั้น เสื้อยืดสีขาว มานําทีมเจาหนาทีที่มา ทํางานได เพียงฝายละไมกี่คน เริ่มจาก ทําความสะอาดจุดบริการผูปวย บริเวณหนา OPD ตัดตนไมที่ขวาง ถนนโรงพยาบาล หลังจากไปหากระเบื้องมามุงหลังคาบานพัก ใหเจาหนาที่นอนได มีเสื้อผาใสทํางาน แตพอ ไปถึงรานกระเบื้องก็พบกับชาวบานที่ไปรอซื้อกระเบื้อง คิวยาวมากๆ ชาวบานรอคิวซื้อกระเบื้องอยูประมาณ 300 คนรถจอดเต็มยาว 2 ขางถนน จะไปแยงกับชาวบานก็กระไรอยู ก็เลยใหคนขับรถไปซื้อที่อําเภอระโนด ไดกระเบื้องมาชวยกันซอมบานพักและโรงพยาบาล แตก็ทําเองไมได พี่ทีมชางขึ้นไปซอมแตดวยไมใชผู ชํานาญดานหลังคา เลยพลักตกจากหลังคา แตบุญยังชวย พี่ชางควาไมคานหลังคาหอยตองแตง ทุกคนตกใจมาก หากตกลงมาไมตายก็พิการ แนๆ ผอ.เลยบอกหยุดกอนรอตามชางในหมูบานมาซอม แตคิวชางก็ยาวมาก บานชางก็พังเหมือนกัน ผอ.เรียกทีมกรรมการบริหารโรงพยาบาลประชุมทีมนํา เพื่อวางแผนการใหความชวยเหลือประชาชน ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลไมได ผูปวยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ก็ไมไดมารับยาตามกําหนดนัด ผูปวย ของเราเปนอยางไรกันบาง ตําบลไหนลําบากมากที่สุด ติตตอเจาหนาที่ตางๆก็ไมได น้ํามันที่ใสเครื่องปนไฟ สํารองก็ใชไปเกือบหมดแลว การประชุมวางแผนงานก็เริ่มขึ้น สาธารณสุขอําเภอเขามาชวยหาน้ํามันสํารองเพราะหากโรงพยาบาลไมมีไฟฟาทุกอยางก็สะดุดหมด ผูปวยมาคลอดผูปวยหนัก ระบบออกซิเจนก็ใชการไมได น้ํามันไมมีเลยในอําเภอสทิงพระ เพาระปมก็ตองใช ไฟฟาในการดูดจาย พอไมมีไฟฟาก็ไมสามารถเติมน้ํามันได ปมน้ํามันก็เสียหายแตยังโชคดี ที่ไดไปซื้อที่ ปมน้ํามันหลอดของชาวบาน การไฟฟาก็เขามาบอกวาจะรีบตอไฟฟาใหโรงพยาบาลแตเสาไฟฟาลมกอนถึง โรงพยาบาล 30 ตน ก็คงตองรอ


59

เชาวันที่ 3 พฤศจิกายน 2553 หลังจากทีเราซอมโรงพยาบาลไปมากแลว พรอมใหบริการประชุมทีม ตามแผนการชวยเหลือ รวมกับทีมสถานีอนามัย ชาวบานสะทอนใหฟงวาไมเห็นมีใครมาชวยเราเลย ไมมีใครรู เลยวาชาวสทิงพระลําบากแคไหน ก็โทรศัพทไมมีสัญญาณ ไฟฟาไมมี พวกเรานอนอยูในความมืดมา 3 คืน แลว ขาวปลาอาหารก็แบงกัน เสื้อผาก็แบงกัน แตหลังคาก็ไมมี กระเบื้องก็ไมมีที่ซื้อ หมอมีผายางที่เปนปาย ไวนิลเหลืออยูบางไหม เอามาคลุมหลังคาใหบานลุงที ขาพเจาเสนอแนะกับผูนําชุมชนวาคงตองสะทอนใหโลก รับรูบางวาเราลําบากกันแคไหน หลังจากนั้นผูนําชุมชุมชนขับรถไปโทรศัพทในเมือง โทรหาสื่อวิทยุจึงไดมี เสียงสะทอนออกมาวาชาวสทิงพระประสบกับวาตภัยอยางรายแรง ตองไปอาศัยอยูที่วัด ชาวสทิงพรขอขอบคุณนักขาวทุกทานที่ชวยกระจายขาว วาชาวสทิงพระตองการกระเบื้องกับหลังคา แคไหน โดยเฉพาะนักขาวคุณสรยุทธ สุทัศนะจินดา จากสถานีโทรทัศนชอง3ที่ลงมาทําขาวถึงสทิงพระมาดู ความลําบากของพี่นองชาวสทิงพระดวยตัวเอง หลังสื่อกระจายเผยแพรออกไป ความชวยเหลือหลายๆ หนวยงานก็เขามาชวยเหลือประชาชน กระเบื้องหลังคาก็หลั่งไหลมายังสทิงพระ โรงพยาบาลตางๆก็เขามา ชวยเหลือ โรงพยาบาลและทีมงานสาธารณสุขของเราชวยชาวบานเต็มที่ แผนการดําเนินการของทีม นอกจาการการบําบัดรักษาผูบาดเจ็บและผูเจ็บปวยในสถานบริการ ก็ไดออกหนวยบริการหนวยเคลื่อนที่ ออก ตรวจสุขภาพในพื้นที่ครอบคลุมทุกตําบล ตั้งแตวันที่ 4 – 16 พ.ย. 53 รวม 18 ครั้ง มีผูมารับบริการจํานวน 1,803 ราย ยังมีการเยี่ยมผูสูงอายุ ผูพิการ หญิงตั้งครรภ ผูปวยเรื้อรัง ทุกรายโดยพยาบาลประจําบานและ เจาหนาที่สถานีอนามัย เยี่ยมผูที่บานพังทั้งหลังทุกคนพรอมประเมินสุขภาพจิต พบเครียดมาสงตอใหกับ ทีมงานสุขภาพจิต จัดทําทะเบียนผูที่ตองการชวยเหลือ จากการประเมินภาวะสุขถาพจิตและภาวะเครียด พบผูปวยวิตกกังวลสูงจํานวน 40 คน มีผูปวยภาวะซึมเศราที่ตองดูแลตอเนื่อง จํานวน 2 ราย นอกจากนี้ โรงพยาบาลยังมีการชวยเหลือดานอื่นๆ เชน บริการชารตแบตเตอรี่โทรศัพท ไฟฉาย, โคมไฟ,กลองถายรูป ตั้งแตวันที่ 3 – 5 พ.ย. 53 จํานวน 369 ราย เพราะไฟฟาดับทั่วทั้งอําเภอ ( ตั้งแตวันที่ 2 – 10 พ.ย. 53 : บางหมูบานไฟฟาดับถึง 10 วัน) ทําใหไมสามารถใชอุปกรณสื่อสาร / อุปกรณอิเลกโทร นิคที่จําเปนได โรงพยาบาลยังเปนศูนยรับบริจาคเสื้อผาจากผูมีจิตศรัทธาจํานวน 12 ราย นํามาแจกจายตอใหแก ประชาชนผูมารับบริการที่โรงพยาบาลสทิงพระ รวมถึงไดนําไปแจกจายแกประชาชนในหมูบานเปนจํานวน มาก มีเครือขายสนับสนุนเงินมาชวยชาวบานดวยจํานวน 12,000 บาท เจาหนาที่ตางชวยกันคนละมือ มีการใหความรูเสียงตามสายในรพ.เรื่อง การปองกันโรคที่มากับน้ํา ทวม การนจัดบอรดใหความรูเรื่องการปองกันโรคที่มากับน้ําทวม การแจกเอกสาร/คูมือ “สาธารณสุขหวงใย อยากใหคนไทยปลอดภัยในชวงน้ําทวม” ซึ่งไดรับจากกระทรวงสาธารณสุข การจัดรายการเสียงตามสาย รวมกับพยาบาลที่รับผิดชอบดานสุขภาพจิต บทเรียนจาก Depreession ที่เกิดที่สทิงพระครั้งนี้สงผลใหเกิดความเสียหาย ตอรางกาย ทรัพยสิน ที่อยูอาศัย หลังคาบานของเรามีสีสันที่หลากหลาย สีเขียว สีแดงสีขาว กระเบื้องดินสลับกับสังกะสี ฯลฯ ขอใหมีหลังคากันแดดกันฝน...... ชาวบานหลายคนที่หมดหวังกับชีวิต หวาดกลัว เพียงแคเห็นลมพัดหรือฝน ตกก็มีอาการกลัว นอนไมหลับ คงตองใชเวลาอีกหลายปถึงจะกลับมาเหมือนเดิม


60

กาวสูการจัดการพิบัติภัยในอนาคต ถึงวันนี้คงไมมีใครไววางใจสถานการณภัยพิบัติทางธรรมชาติไดอีกตอไป รวมทั้งอุบัติภัยหรือสา ธารณภัยในเมืองไทยดวย ความไมแนนอนคือสิ่งที่ตองยอมรับและเรียนรู เพื่อเตรียมมาตรการรับมือใน อนาคต การมีชองทางกระจายขอมูลขาวสาร ที่ตองพัฒนาจนสามารถวิเคราะหขอมูล สรางเปนสัญญาณ เตือนภัยเรงดวนแกประชาชนได ทุกหนวยบริการตองมีแผนรับสถานการณอุทกภัยและอุบัติภัยอื่นๆ ควรมี การจัดทําแผน, คูมือ, การสื่อสารกับเจาหนาที่ และสาธารณะ การซอมแผนรวมกับหนวยงานอื่นๆ การเตรียม ความพรอมอื่นๆ เชน การจัดหาเครื่องมือ, ยานพาหนะ ฯลฯ โรงพยาบาลชุมชนควรมีเรือทองแบนที่ปลอดภัย เสื้อชูชีพ เพื่อใชในการปฏิบัติการชวยเหลือประชาชน ซึ่งสามารถใชเงินบํารุงจัดหาได เจาหนาที่สาธารณสุข ตองเรียนรูเรื่อง “การตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข” (Public Health Emergency Response) แผนการสงตอในสถานการณวิกฤตก็ควรปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ อีกทั้งยังตองประสานแนวราบ กับสถานีอนามัย องคกรปกครองสวนทองถิ่น เพื่อชวยเหลือผูปวย คนชรา คนพิการ ออกจากจุดน้ําทวม ตอง พึ่งพาอาศัยรถและกําลังคนของหนวยทหาร หรือเรือกูภัยและยานพาหนะของหนวยงานอื่น หากจะตองสรางสถานบริการสาธารณสุขใหม ควรเลือกสถานที่ที่ปลอดภัย ควรตั้งอยูในที่ดอน ไม ควรใกลแหลงน้ําขนาดใหญ เชน แมน้ําลําคลอง มีระบบระบายน้ําเปนอยางดี มีระบบสํารองไฟฟาและประปา ที่เพียงพอ โรงไฟฟาสํารองตองยกใหสูงเพียงพอ ตองมีระบบการสื่อสารหลายชองทาง ทั้งวิทยุ โทรศัพท โทรศัพทไรสาย เปนตน ยังอีกมากมายการจัดการภัยพิบัติที่ตองลงมือทํา บทเรียนวันนี้ไมควรสูญเปลาใหประวัติศาสตรซ้ํารอย @@@@@@@@@@@@@@@


61

ขอขอบคุณ นักเขียนผูเขียนจากประสบการณจริง ที่เขียนเรื่องมาปะติดปะตอจนเปนบทความชิ้นนี้ - นายแพทยสุวัฒน วิริยพงษสุกิจ ผูอํานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินาถ ณ อําเภอนาทวี จังหวัดสงขลา - นายแพทยธาดา ทัศนกุล กุมารแพทย แพทยเวชศาสตรครอบครัว โรงพยาบาลหาดใหญ จังหวัด สงขลา - แพทยหญิงหทัยทิพย ธรรมวิริยะกุล แพทยเวชศาสตรครอบครัว โรงพยาบาลหาดใหญ จังหวัด สงขลา - นายแพทยวชิระ บถพิบูลย ผูอํานวยการโรงพยาบาลชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา - คุณสุรีย พีพะระพรรณ พยาบาลหอผูปวยใน โรงพยาบาลหาดใหญ จังหวัดสงขลา - ศิริลักษณ ชวงมี พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสิงพระ อ.สทิงพระ จ.สงขลา - นายแพทยสุภัทร ฮาสุวรรณกิจ ผูอํานวยการโรงพยาบาลจะนะ จังหวัดสงขลา


62

เครือขายอาสาสมัครจัดการภัยพิบัติจังหวัดสงขลา


63

เครือขายอาสาสมัครจัดการภัยพิบัติจังหวัดสงขลา โดย ชาคริต โภชะเรือง ผูจัดการมูลนิธิชุมชนสงขลา

สืบเนื่องมาจากการเกิดภัยพิบัติในพื้นที่จังหวัดสงขลา ซึ่งมีสาเหตุของความรุนแรงเกิด จากภาวะฝนตกหนักมากอนหนานี้ทําใหมีปริมาณน้ํามากและเมื่อวันที่ ๑ พ.ย ๒๕๕๓ เกิดพายุ ดีเปรสชันบริเวณอาวไทยตอนลาง มีศูนยกลางหางประมาณ ๓๕๐ กิโลเมตร ทางตะวันออก เฉียงใตของจังหวัดสงขลา เคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ผานบริเวณภาคใตตอนลาง โดยขึ้นฝงในพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระและอําเภอเมืองในบางสวน ความรุนแรงของทั้งกระแสลม และสายน้ํา สงผลใหเกิดความเสียหายเพิ่มขึ้นเปนทวีคูณ จังหวัดสงขลามีสถานการณน้ําทวมขังในพื้นที่ ๕ อําเภอ ๔๒ ตําบล ๓๐๙ หมูบาน ราษฎรไดรับความเดือดรอน ๔๗,๓๒๐ ครัวเรือน ๑๔๔,๘๔๑ คน บานเรือนราษฎรเสียหายทั้ง หลัง ๖๒๓ หลัง เสียหายบางสวน ๔๓,๓๓๑ หลัง อาคารพาณิชย ๑๕๕ หอง โรงงาน ๒๐ แหง โรงแรม ๑ แหง ยานยนต ๒๙,๘๙๖ คัน เรือประมงไดรับความเสียหาย ๕๐๓ ลํา ปศุสัตว ๙,๑๖๕ ตัว สัตวปก ๑๘๔,๒๐๗ ตัว บอปลา ๖,๔๘๒ บอ พื้นที่การเกษตร ๒๐๒,๔๙๙ ไร สิ่ง สาธารณประโยชนไดรับความเสียหาย ถนน ๑,๓๑๓ สาย สะพาน/คอสะพาน ๒๔๘ แหง ทํานบ/ พนังกั้นน้ํา ๔๗ แหง เหมือง ๒๑ แหง วัด/มัสยิด ๑๘๑ แหง โรงเรียน ๒๓๐ แหง สถานที่ ราชการ ๑๐๔ แหง บอน้ํา ๑,๓๖๗ แหง แนวกันคลื่น ๕ แหง ทอระบายน้ํา ๒๒๐ แหง มี ผูเสียชีวิต ๓๕ ราย (อ.เมือง ๓ ราย อ.สิงหนคร ๖ ราย อ.หาดใหญ ๑๗ ราย อ.จะนะ ๕ ราย อ. บางกล่ํา ๑ ราย อ.คลองหอยโขง ๑ ราย อ.นาทวี ๑ ราย อ.กระแสสินธุ ๑ ราย) โรงบุญรวมใจชวยผูประสบภัย ขณะเกิ ด เหตุ อุ บั ติ ภั ย ดั ง กล า ว มี ค วามช ว ยเหลื อ ทั้ ง จากภาครั ฐ ภาคเอกชน ภาค ประชาชนเพื่อชวยบรรเทาความรุนแรงที่เกิด มีตัวอยางอาสาสมัครที่เกิดขึ้นจากความคิดริเริ่ม ของภาคประชาชนที่นาสนใจ ดังเชน กรณีโรงบุญรวมใจชวยผูประสบภัย ซึ่งดําเนินการโดย อ.ภาณุ พิทักษเผาและทีมงานสมาคมเกษตรอินทรียวิถีไทสงขลา ใชหลักคิดทางศาสนาใน เรื่ องของการแบ งป น ชว ยเหลือเกื้อกูล กันและกัน ทําใหคนรูสึกว ามีที่พึ่ง และเปนการสราง ความสัมพันธในฐานะที่เกิดมาเปนเพื่อนพี่นองรวมชะตากรรม ไดเขามารวมชวยเหลือผูทุกขยาก ดวยการเปดโรงบุญเพื่อใหทานแกประชาชนที่ยังไมสามารถหาวัตถุดิบและไฟฟามาปรุงอาหาร ไดรับประทานอาหารเจสดใหม น้ําสะอาด โดยการชวยเหลือคนทุกชนชั้นไมวายากดีมีจนทั้ง ๓ มื้อตอวัน เริ่มตั้งแตเวลา ๗ โมงเชาจนถึง ๑ ทุมของทุกวันเปนเวลา ๗ วันติดตอกัน จํานวนคน ที่มาใชบริการไมต่ํากวาพันคนตอวัน


64

ในการดําเนินการดังกลาวไดรับความรวมมือจากโรงเรียนหาดใหญสมบูรณกุลกันยาได ให ใ ช ส ถานที่ บริ ษั ท หาดทิ พ ย อ นุ เ คราะห เ ต น ท สถานี วิ ท ยุ ม.อ.ช ว ยสื่ อ สารความต อ งการ เทศบาลนครหาดใหญ ใหรถสุขาและไฟฟา สาธารณสุขจังหวัด(สสจ.)ตั้งเต็นทนําเจาหนาที่จาก โรงพยาบาลจากอํ า เภอต า งๆหมุ น เวี ย นมาตรวจรั ก ษาพยาบาล เจ า ของบ อ น้ํ า บาดาลช ว ย สนับสนุนเรื่องน้ํา แลวก็มีอาสาสมัครจากในพื้นที่และทั่วประเทศเขามาชวยเหลือแบงเบาความ ทุกข บางคนมาชวยรองเพลง สรางสีสันคลายความทดทอในชีวิต ทุกคนที่มาทานอาหารที่โรงบุญ จะไดทานอาหารที่ยังรอน ไมบูดเนา ทีมงานจัดซื้อ วัตถุดิบอยางประณีต และจัดปรุงอยางถูกสุขลักษณะ ตองใชเงินซื้อวัตถุดิบวันละ ๑-๒ หมื่นบาท จากการทํางานดวยจิตแหงการใหเชนนี้ โรงบุญแหงนี้จึงมียอดบริจาคสูงถึง ๘ หมื่นกวา บาท ไมนับรวมการบริจาคที่เปนวัตถุดิบอีกรวมแสนบาท(ขาวสาร พืชผักผลไม) ซึ่งเงินจํานวน ดังกลาวก็ไดนําไปใชในการจับจายซื้อของ และนําไปชวยเหลือผูประสบเหตุที่จําเปนเรงดวน และในปจจุบันไดพัฒนาการตั้งเปน กองบุญฟนฟูชีวิตผูประสบภัยสงขลา มีเงินตั้งตนกวา ๑๘๐,๐๐๐ บาท นอกจากนั้นแลวสงขลายังมีวิทยุเครื่องแดงโดยการจัดตั้งของกองทัพภาคที่ ๔ รวมกัน แลวไมต่ํากวา ๑ หมื่นเครื่อง ในชวงเวลาปกติ ไดทําหนาที่เฝาระวังในดานความมั่นคง แตใน ภาวะอุ บั ติ ภั ย เช น นี้ ก็ มี บ ทบาทสํ า คั ญ ร ว มกั บ ศู น ย วิ ท ยุ อิ น ทรี ซึ่ ง ในภาวะปกติ ก็ มี ก าร ลาดตระเวนเมืองหาดใหญทุกศุกร-เสารรวมกับกองทัพ แลวก็ชวยเหลือประชาชนในทุกเรื่อง ไม วาจะรถกุญแจหาย ยางแบนฯลฯ ตามแนวทาง “เราพรอมรับใชสังคมดวยจิตอาสา” คุ ณ อนุ ช า อรรถธรรม ผู ป ระสานงานเล า ให ฟ ง ว า นี่ คื อ เครื่ อ งมื อ สื่ อ สารของภาค ประชาชนที่ทรงอานุภาพ “ประชาชนทุกคนมีสิทธิ์ใชวิทยุเครื่องแดง เพียงแคไปจดทะเบียนขอ อนุญาตใชและพกพาเทานั้น ที่กสช. เราก็สามารถพกติดตัวมาใชประโยชนได” น้ําทวมคราวนี้คุณอนุชาเอง ติดอยูในบาน อาศัยวิทยุเครื่องแดงนี่แหละที่ไดสื่อสาร และ มีบทบาทใหความชวยเหลือคนอื่นๆ วิทยุกระแสหลักของมอ. FM.88.00 MHz เปนอีกองคกรหนึ่งที่ชวยประสานความ ชวยเหลือสงตอความตองการไปยังผูที่ประสบเหตุและผูที่พรอมจะใหความชวยเหลือ หรือเปน กระบอกเสียงประชาสัมพันธ เฝาระวัง ติดตามขาวสารเพื่อการเตือนภัย ทั้งยังทําหนาที่สมกับ ความเปนสื่อ ในยามเกิดเหตุคับขัน กลายเปนชองทางหลัก เปนที่พึ่งใหกับคนสงขลาจํานวนมาก ไดรับฟงขาวสาร คุ ณ บั ญ ชร วิ เ ชี ย รศรี คุ ณ อรุ ณ รั ต น แสงละออง ทํ า หน า ที่ จั ด รายการ เป น สื่ อ กลาง กระจายความชวยเหลือไปใหผูที่เดือดรอน บางชวงเวลาที่คับขัน สถานีวิทยุแหงนี้ทํางานตลอด ๒๔ ชั่วโมง หลายเหตุการณที่เขาดายเขาเข็ม หรือระหวางความเปนความตาย การสื่อสารผาน สถานีก็เปนอีกตัวชวยทําใหสถานการณคลี่คลายไปได


65

ศูนยประสานงานชวยเหลือผูประสบภัยภาคประชาชนคาบสมุทรสทิงพระ ในพื้นที่ของคาบสมุทรสทิงพระ ซึ่งประกอบดวย ๔ อําเภอในจังหวัดสงขลา ไดแก อําเภอสิงหนคร อําเภอสทิงพระ อําเภอกระแสสินธุ และอําเภอระโนด ซึ่งเปนพื้นที่ตกสํารวจก็วา ได ที่นี่กําลังมีเรื่องที่นาชื่นชมเกิดขึ้นไมนอย ชวงแรกของการเกิดอุทกภัยและวาตภัยในวันที่ ๑ พฤศจิกายน แทบไมมีใครลวงรูความ เคลื่อนไหวหรือผลกระทบที่เกิดอยางกระจางชัดตอสายตาของผูคนละแวกนี้ เนื่องจากขาวสาร ถูกตัดขาด ทุกกระแสความสนใจมุงสูเมืองหาดใหญ จนกระทั่งหาดใหญน้ําลด ขาวคราวจาก คาบสมุทรสทิงพระจึงเริ่มปรากฏตอสาธารณะ และนั่นนํามาสูความตื่นตัวของผูที่เกี่ยวของ เมื่อหาดใหญเริ่มคลี่คลาย เราเองไดชักชวน เพื่อนๆพี่ๆนองๆในพื้นที่รวมกันจัดตั้ง "ศูนยประสานงานชวยเหลือผูประสบภัยภาค ประชาชนคาบสมุทรสทิงพระ" โดยรวมกับศูนยเรียนรูภูมิปญญาชาวบก(หมายถึงคาบสมุทร สทิงพระ) ของครูฑูรย (ไพฑูรย ศิริรักษ) ใชศูนยแหงนี้ซึ่งก็โดนแรงลมกระชากหลังคา ประตูฉีด ขาด เสียหาย ภายหลังซอมแซมครูฑูรย ตั้งใจจะใชเปนจุดรวมการชวยเหลือประชาชนในหมู ๗ ของตําบลสทิงพระ แตเราไปขอใชเปนศูนยประสานงานหลักระดับโซน รวมกับอีกหลายองคกรที่ เคยทํ า งานด ว ยกั น เช น เครื อ ข า ยสภาองค ก รชุ ม ชน เครื อ ข า ยชุ ม ชนเพื่ อ การฟ น ฟู ลุ ม น้ํ า ทะเลสาบโซนคาบสมุทรสทิงพระ การตั้งศูนยแหงนี้เกิดขึ้นบนความตั้งใจไมใชวาจะแยกสวนจาก องคกรภาครัฐหรือ ทองถิ่น เราตัง้ ศูนยแหงนี้เพื่อเสริมเติมอุดชองวางการทํางานที่มีอยู...ผนวกกับความกังวลหวงใย และความมั่นใจวาเรามีศักยภาพพอที่จะชวยเหลือชุมชนดวยกัน

ศูนยประสานงานชวยเหลือผูประสบภัยฯ

ผูมารอรับกระเบื้อง

ทีมงานกําลังอลวนกับขอมูล ประสานงาน


66

มีวิทยุชุมชนของเครือขายมาจัดรายการสด

ความเสียหายของบานเรือน

ความเสียหายจากวาตภัย หลายคนบอกเปนเสียงเดียวกันวาเปนปรากฏการณแรกในชีวิตที่ไดพบเจอ กระแสลม พายุงวงชางหมุนตัวเปนเกลียวพัดหวนถอนรากถอนโคนตนไมใหญลมทับหลังคาบาน ยกบาน ลอยทั้งหลังไปหลนหางออกไปเปนเมตร ผูเฒาบางคนตกใจจนถึงขั้นนอนปวยลุกไมขึ้น เหนือไปกวานั้นสายลมหอบเอาสายน้ําลอย ขามถนนมาทวมอีกฝงฟาก ทามกลางเสียง คํารามกูเกรี้ยวอันนาสะพรึงกลัว หางพายุกระชากสายน้ํา หอบเอาสาหรายใตทะเลสาบไปมวน พันกับเสาบาน กระเบื้องดินเผา กระเบื้องมุงหลังคาปลิววอน ตกรวงเกลื่อนพื้นดิน ดานหนึ่งของ คาบสมุทรติดกับทะเลสาบสงขลา น้ําจากหาดใหญ จากพัทลุงไหลมากองอยูที่นี่ ทวมทนเขาสู หมูบาน แลวไฟก็ดับ กวา ๒ หมื่นครัวเรือนโดยประมาณไดรับผลกระทบ หลายตําบลมีบานทั้งหลังพังพินาศ ชนิดแทบไมเหลือซาก เชน ตําบลกระดังงา มีกวา ๒๐ หลัง ตําบลครองรี มี ๒๕ หลังคาเรือน ตําบลกระแสสินธุ มีไมต่ํากวา ๑๐ หลัง ชาวบานไรที่อยู บางครัวตองอพยพไปอยูรวมกับญาติพี่ นอง คนรูจัก หลายคนอพยพไปกินนอนบนถนน ทั้งเฝาวัว สัตวเลี้ยง ลูกเล็กเด็กแดงกินนอน รวมกันเปนที่นาเวทนา


67

มูลนิธิชุมชนสงขลา ผมเองในฐานะที่ทํางานกับมูลนิธิชุมชนสงขลา ในชวงเกิดอุทกภัยมีโอกาสไดไปรวมกับ สถานีวิทยุ FM ๘๘.๐๐ MHz รวมจัดรายการกับพี่ๆนองๆในเครือขาย เปดสายรับขาวสาร รวม ไปถึงความตองการในการชวยเหลือผูประสบภัย ทําใหเห็นอิทธิพลของสื่อที่สามารถใชใหเปน ประโยชนกับสาธารณไดมาก วาตภัยคราวนี้ก็เชนกัน ผมพยายามใชสื่อที่มีทุกชองทางใหเปนประโยชนเพื่อสื่อสาร ความคิด มูลนิธิชุมชนสงขลาของเรา ไมอยากทํางานแคเพียงหาเงินแลวก็นําไปบริจาค หรือ ระดมหาวัสดุอุปกรณไปแจก ถายภาพแลวก็กลับ มูลนิธิฯตั้งใจที่จะเปนสื่อกลางประสานความ รวมมือใหผูใหและผูรับไดพบ กัน ขณะเดียวกันก็พยายามสรางแนวคิด...สงเสริมการใหที่มี คุณคาและรับอยางมีศักดิ์ศรี กระตุนใหชุมชนที่เปนผูรับ ไดมีสวนรวม ไดใชเงื่อนไขความ เดือดรอนเปนฐานสรางพลังรวม เชื่อมประสานทุกสวนในชุมชน จับมือกับภาคีหนวยงาน ภายนอก ชวยกันฟนฟูชุมชุมชนอยางมีศักดิ์ศรีเทาเทียมกับผูให ที่วาจะมาจากไหน หรือมาจาก องคกระดับใด มูลนิธิชุมชนสงขลา ไดรวมกับอีกหลายองคกรในพื้นที่ ทําหนาที่ประสานงาน ระดม ความชวยเหลือ พรอมทั้งจัดระบบใหกับอาสาสมัคร ชี้เปาใหกับองคกรหนวยงานตางๆที่ลงมา ชวยเหลือพื้นที่ ขณะเดียวกัน ก็ทําหนาที่ระดมทุน นําความชวยเหลือทั้งงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ แรงงาน ลงไปใหกับพื้นที่ เพื่อรวมกันฟนฟูชุมชนใหกลืบสูสภาพปกติ โดยเฉพาะเราได ร ว มกั บ กองทุ น รั ก ษ ค ลองอู ต ะเภา นํ า นั ก ศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย นราธิวาสราชนครินทร เขามาชวยเหลือคนสงขลา อาสาสมัครหัวใจแกรงจากมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร มหาวิทยาลัยแหงนี้เกิดขึ้นเมื่อป ๔๘รวมเอาสถาบันการศึกษาในพื้นที่ ไดแก วิทยาลัย พยาบาล วิทยาลัยเกษตร วิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยอาชีพตากใบ มายกระดับเปนมหาวิทยาลัย เนนการเรียนรูในสายวิทยาศาสตรสุขภาพและวิทยาศาสตรเทคโนโลยี ในครั้งนี้ไดชวยเหลือ ชุมชน จั ดตั้ งศู นย รับ บริ จาคในมหาวิทยาลัย นําสิ่งของไปบริจาคและลงมาตั้ งศู นย ใ ห ค วาม ชวยเหลือ


68

“นักศึกษาเหลานี้จะไดใชความรูที่ร่ําเรียนมาไดใชประโยชนใหเพื่อนมนุษย ผศ.ประทีป รองอธิการบดีกลาว วันที่ ๙ พฤศจิกายน เราไดนํานักศึกษาจํานวน ๘๐ คนเขาไปชวยเหลือชุมชนบานดอน คัน ตําบลคูขุด ซึ่งเราไดประสานแกนนําในพื้นที่คือครูปราณี มณีดุลย บอกวายังไมมีความ ชวยเหลือเขาไป หลังจากประสานกับพื้นที่ใหมีการเตรียมคน เตรียมวัสดุ โดยมีขอตกลงรวมกัน วา ทางแกนนําคือผูใหญบาน อบต.และชุมชนจะตองลําดับความสําคัญ จัดระบบการชวยเหลือ ประชาชนกันเอง ทางมูลนิธิชุมชนสงขลามีผูบริจาคเงินใหนําไปซื้อกระเบื้องมุงหลังคา เราได นําไปจัดซื้อแลวสงตอใหกับชุมชน สมทบกับกระเบื้องจากอบต. โดยชุมชนจะเปนผูออกในสวน ของขอเกี่ยวและตาปู ชวงเชาฝนตกหนัก แตก็เวนชวงใหไดพอหายใจ แลวก็ตกหนักลงมาอีก ไมมีวี่แวววาจะ หยุด รถของมหาวิทยาลัยวิ่งฝายสายน้ําที่สูงระดับหนาแขงเขาสูหมูบาน เห็นไดชัดวาชุมชนโดน กระหน่ําซ้ําทั้งจากน้ําทวมและลมพายุจนสะบักสะบอม เมื่อพบกันแกนนําชุมชน การชวยเหลือ จึงเริ่มตนขึ้นอยางรวดเร็วทามกลางสายฝนกระหน่ําหนัก แตก็ไมมีใครยั่น แววตานักศึกษาทุก คนกลับมุงมั่น สนุกสนานกับภารกิจ ทั้งผูบริหารและคณะอาจารยที่นําทีมมาจัดระบบการทํางาน อย า งยอดเยี่ ย ม นั ก ศึ ก ษามี อุ ป กรณ ป อ งกั น มี ร ถเดิ น ทางพร อ มอุ ป กรณ ก อ สร า ง มี อ าหาร เตรียมพรอมสําหรับนักศึกษามุสลิม รวมไปถึงที่พัก

เริ่มงานกลางฝนหนัก

ซอมหลังคากลางสาย

ฝน สภาพบานกลางน้ํา ตําบลคูขุด แหลงกําเนิด เทง...ตัวตลกหนังตะลุงชื่อ


69

ดัง ลุยงานกลางฝน

เราตกลงกันวาจะลุยเก็บงานไปทีละหมูบาน จนกระทั่งแลวเสร็จทางมหาวิทยาลัยให เวลาไมต่ํากวาสัปดาหที่จะชวยเหลือชุมชน... ชุดประจําที่ หมูบานดอนคัน และ ๒ชุด ประจําอยูที่บานดอนเค็ด ทั้งหมดตางรวมกัน ระดมชวยเหลือผูประสบภัย โดยจัดตั้งหนวยซอมแซมเครื่องใชไฟฟาที่เกิดความเสียหาย อาทิ เครื่องวิทยุ โทรทัศน เตารีด ฯลฯ เปนบรรยากาศที่คึกคักมาก รวมจํานวนผูขอความชวยเหลือ จํานวน ๒๙ ครัวเรือน นอกจากการซอมแซมแลว ทางศูนย ไดนําสิ่งของจําเปน และน้ําดื่มมอบ ใหกับบานเรือนที่เดือดรอนจากเหตุการณอุทกภัยในครั้งนี้อีกดวย นี่คือน้ําใจจากพื้นที่ซึ่งไดรับผลกระทบจากเหตุไฟใต เปนสวนหนึ่งของตัวอยางความ พยายามชวยเหลือตนเอง ชวยเหลือกันเองของประชาชนในพื้นที่ ชวยกันบรรเทาความทุกข หนักในขณะที่ความชวยเหลือจากภาครัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของยังไปไมถึง. ภาพถายครัวเรือนที่ไดรับกระเบื้องมุงหลังคาและไดรับการชวยเหลือจากนักศึกษาในการซอมแซมหลังคา


70

ปตตานี – หลังพายุ – สูการฟนฟู


71

หลังพายุใหญพาดผาน "อาวปตตานี" วันที่ 05 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ปที่ 33 ฉบับที่ 11957 มติชนรายวัน โดย ภาสกร จําลองราช padsakorn@hotmail.com เสียงดังโหวกเหวกดวยภาษามลายูทองถิ่นดังไมขาดสาย ทําใหบรรยากาศดูอบอุนมาตั้งแตเชา เนื่องจากผูมีน้ําใจ มากหนาหลายตาตางมารวมกันลงแรงสรางบานหลังใหมให กับชาวบานที่กําลังตกอยูในสถานการณยากลําบาก ผานไป 1 เดือนเศษแลวที่คนในหมูบานปาตา อําเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี ตองประสบภัยพิบัติ จากพายุและคลื่นทะเล จนทําใหบานเรือนและทรัพยสินเสียหายสิ้นบานปาตาเปนหมูบานเล็กๆ ริมอาวปตตานี ชาวบานสวนใหญมีอาชีพประมง เชนเดียวกับอีก 26 ชุมชนรอบอาว ซึ่งพายุ ใหญที่เกิดขึ้นเมื่อ วันที่ 1 พฤศจิกายน ทําใหหมูบานนับสิบชุมชนตางๆ ประสบความเสียหาย กันถวนหนา โดยมีบานเรือนที่พังยับและที่พังบางสวน รวมพันหลัง นอกจากนี้ เครื่องมือทํามาหากินตองสูญหายไปจํานวนมาก เชนเดียวกับเกลือที่กองรอขาย มูลคานับสิบลานบาทที่ตองละลายไปกับน้ํา จนเจาของนาตองสิ้นเนื้อประดาตัว ชุมชนปาตาแยกออกมาจากชุมชนตันหยง ลูโละ ซึ่งเปนหมูบานเกาแกและมีตํานานเลาวา เจา แมลิ้มกอเหนี่ยวมาสิ้นชีวิตที่นี่ และในอดีตชาวบานตันหยงลูโละก็อาศัยใชน้ําจากบอบานกรือเซะ ที่อยูหางออก ไป 2 กิโลเมตร เพราะดินที่นี่เปรี้ยวทําใหไมสามารถนําน้ํามาบริโภคได ชุมชนปาตามีบานไดรับความ เสียหาย 11 หลัง แตเนื่องจากที่ดินที่ ชาวบานอาศัยอยูเปนที่ดินสาธารณะ ซึ่งผูอาวุโสบานตันหยงลูโละเห็นวา ชาวบานจํานวนหนึ่งไมมีที่อยู จึง สนับสนุนใหยา ยมาอยูที่นี่ แตเมื่อ เกิดภัยพิบัติ ทําใหสวนราชการ กระอักกระอวนใจที่จะเขามาสราง บานใหมใหเพราะระเบียบของ ทางการที่เอื้อประโยชนเฉพาะที่ดินที่ ชาวบานตางถิ่นชวยกันสรางบานใหชาวปาตา มีเอกสารสิทธิ


72

ในที่สุด ชาวบานทั้งมุสลิมและพุทธตางรวมแรงรวมใจกันยกบานหลังใหมขึ้นมา ทําใหเจาของ บานพอที่จะยิ้มออกได ขณะที่ทหารที่รับผิดชอบพื้นที่ก็ไดรับมอบหมายใหสรางบานบางสวน ดวยเชน กัน แตความคึกคักดูเหมือนจะเทไปที่บาน "ชาวบานชวยชาวบาน" มากกวา เสียงเลาถึงเหตุการณ ในค่ําคืนนั้นดังไมขาดสาย ภัยธรรมชาติอันรุนแรงกลายเปนฝนรายที่ ชาวบานตางจดจําและเลาขานไปอีกนาน "น้ํา มาหลายระลอก ตอนแรกสูงแคเอว แลวก็ลงไป ครั้งสุดทายสูงมาก ทําใหบานพังหมด แต ผมพาครอบครัวหนีไปอยูที่บานใหญแลว" แวอาลี มะรอแม ยังคงมีน้ําเสียงตื่นเตนทุกครั้ง เมื่อ ถายทอดประสบการณหมาดๆ ใหเพื่อนๆ ตางถิ่นฟง "ตั้งแตเกิดมาไมเคยพบเหตุการณรุนแรง แบบนี้เลย เคยเจอพายุหมุนครั้งหนึ่งตอนยังเด็ก แตก็ไมมีน้ําทวมมากเหมือนครั้งนี้" บานของแวอาลีสรางดวยอิฐบล็อค แตความรุนแรงของคลื่นลมทําใหผนังอิฐทะลุและพังราบคาบ ในชีวิตเขาไมเคยคิดวา อาวปตตานีที่เคยคุมกายชุมชนมายาวนาน จะตองเผชิญชะตากรรม เชนนี้ หรืออาวปตตานีกําลังเปลี่ยนไป อาวปตตานีมีพื้นที่ 75 ตารางกิโลเมตร โดยมีแหลมยื่นไปในทะเลที่เรียกกันวาแหลมโพธิ์มีความ ยาว 22 กิโลเมตร ทุกตะกอนที่ไหลมาตามแมน้ําปตตานีและคลองยะหริ่ง สูอาวปตตานีทําใหเกิดนิเวศวัฒนธรรมที่ สั่งสมเปนแหลงอารยธรรมเกาแก และสําคัญแหงหนึ่งในแหลมมลายู หลายปมาแลวที่มะรอนิง ตานอ ชาวบานบูดีกัมปง ชุมชนปลายสุดของแหลมโพธิ์ ไดเขาไปมี สวนรวมในการพิทักษและดูแลทรัพยากรธรรมชาติในอาวปตตานี ในอดีตเขามีอาชีพหาปลาในอาวปตตานี ซึ่งมีรายไดเลี้ยง ดูลูก 9 คน อยางไมเดือดรอน ในยามขัดสนก็ยังจับหอยที่ มีอยูมากมาย ทั้งหอยแครง หอยขาว หอยตาควาย ขึ้นมาขายเปนรายไดเสริม สาวนอยเพลิดเพลินอยูบนกองผาที่ แตในชวงกวา 10 ปที่ผานมา ระบบนิเวศในอาวปตตานี ถูกนํามากองไวตั้งแตเกิดภัยพิบัติ เปลีย่ นไปมาก ทําใหทรัพยากรเสื่อมโทรมอยางรวดเร็ว "นาย ทุนเขามาจับจองพื้นที่ในอาวทําเปนที่เลี้ยงหอยแครงเยอะมาก พวกเราพยายามคัดคาน เพราะในอาวควรเปนพื้นที่สาธารณะ พวกเขาไมยอมเขาไปหากิน เขาคราดหอยทีก็ทําลายระบบ


73

นิเวศหมด" มะรอนิงสะทอนปญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนหนึ่งในหลากหลายรูปแบบที่รุกรานวิถีชีวิต ของชุมชน ในขณะที่ ปากอาวปตตานีกําลังแคบลงเรื่อยๆ เพราะแนวกันคลื่นที่ทําใหกระแสน้ํา เปลี่ยนทิศทาง พื้นที่หญาทะเลซึ่งเปนแหลงอาหารและอนุบาลสัตวน้ําที่สําคัญไดหดแคบลงมาก เชนเดียวกับการขุดลอกรองน้ําและโครงการถมทะเลเพื่อพัฒนาทาเรือ ซึ่งไมมีการศึกษาและทํา ความเขาใจในระบบนิเวศ ทําใหกลายเปนตัวเรงความเสื่อมโทรมเพิ่มขึ้น รอบๆ อาวยังมีโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้นมากมาย หลายแหงประกอบกิจการอยางมักงายโดย ปลอยน้ําเสียที่ไมไดบําบัดลงทองอาว "ทุก วันนี้หาปลาในอาวอยางเดียวไมพอกินหรอก เด็กๆ รุนใหมตางก็หนีไปหางานทําในมาเลย กันหมด ไปที่นูนรายไดดีกวาทํางานอยูแถวบานเยอะ" มะรอนิงเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้น ที่ชัดเจนคือในหมูบานโดยรอบอาวแทบไมมีกําลังแรงงานในวัยหนุมเหลืออยู เลยเพราะ พากันไปทํางานรานตมยํากุงในมาเลเซียกันหมด เมื่อหลายปกอน เขาและชุมชนรวมตัวกันสรางเขตอนุรักษหอยเพื่อใหชาวบานไดมีโอกาสใช ทรัพยากรในน้ํากันอยางทั่วถึง เชนเดียวกับชาวบานอีกหลายชุมชนที่พยายามลุกขึ้นมาปกปอง ทรัพยากรของตัวเอง ชุมชนรอบอาวปตตานีไดถักทอกันเปนเครือขายเพื่อรักษาและฟนฟู สภาพแวดลอมใหอยูยั่งยืน ขึ้นทามกลางสถานการณความรุนแรงของไฟใตที่ยัง ลุกโชน "เมื่อ 2-3 ปกอน พวกเราพยายาม จัดตั้งสภาอาวปตตานีขึ้นมา เพื่อใหพูดอะไร จะไดมีน้ําหนักขึ้น" เขาบอกถึงกลไกที่ชุมชนตางๆ รวมกันสรางขึ้น แมยังไมเปนรูปเปนรางมากนัก แตภัยพิบัติที่เกิดขึ้นครั้งนี้ ทําใหชาวบาน พยายามแปรวิกฤตใหเปนโอกาสโดยระดมความคิดเห็นและยกระดับการรวม ตัวของชุมชนให แนบแนนมากกวาเดิม กลไกที่ชาวบานสรางขึ้น ไมวาจะเปนในนามเครือขายอนุรักษหรือสภา อาว ไมเคยสรางปญหาหรือเกิดความขัดแยงกับฝายใด ไมวาจะเปนใตดินหรือบนดิน นอกเสีย จากพวกนักฉกฉวยผลประโยชนโดยมิชอบ "ผมอยากใหหอย ใหปลา กลับมาอยูในอาวอยางอุดมสมบูรณเหมือนเดิม" มะรอนิงสวดขอพร พระเจาอยูเปนประจํา สภาอาวปตตานีไดรับเสียงตอบรับจากเครือขายชุมชนตางๆ นักวิชาการใน มอ.ปตตานี และอีก หลายภาคสวนอยางคึกคัก ภาพความรวมแรงรวมใจกันสรางบานใหผูประสบภัย ตลอดจนการระดมสมองของชาวบาน ทํา ใหเกิดบรรยากาศอันอบอุนขึ้นมาในชุมชนอาวปตตานี หลังพายุใหญ ทองฟามักแจมใส และ ธรรมชาติก็ยังใหโอกาสมนุษยอยูเสมอแตที่นาหนักใจคือภัยจากฝมือมนุษยดวยกันเอง เพราะยิ่ง เลวรายมืดดําขึ้นทุกที และยังไมมีทีทาวาจะมีแสงใหพอมองเห็นอุนใจเหมือนฟาหลังฝนไดบาง เลยบางทีชุมชนอาจตองเปลงประกายขับไลความมืดกันเอง ///////////////////////////////////////////


74

ขอเสนอแนะในการฟนฟูชุมชน จากการประชุมระหวางนักวิชาการ NGOs และตัวแทนชาวบานจากชุมชนที่ประสบภัยพิบัติรอบอาวปตตานี วันเสารที่ 13 พฤศจิกายน 2553 ณ หองมะปราง ชั้น 2 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี พื้นที่ประสบภัย 4 กลุมยอยที่ไดรับผลกระทบจากดีเปรสชั่นครั้งนี้ประกอบดวย - ดาโตะ/บูดีกัมปง/ตะโละอาโหร - บางเขา (บานสายหมอ) /บางตาวา - แหลมนก/ตันหยงลูโละ - บางรพา/ทากําชํา ในการประชุมพบวาแนวทางการแกไขจะตองมีองคประกอบในการจัดการ คือ 1. ตองตั้งระบบชุมชน มองที่การตั้งกรรมการและการแบงงาน การรับผิดชอบ รวมกันแกปญหาน้ําทวมมาเปนจุด รวมในการรวมคน โดย NGOs เปนพี่เลี้ยง รวมเรียนรู ชวยเหลือตามภารกิจ โดยชาวบาน นํารวมหมู แบงงานกันรับผิดชอบ สังเกต คัดเลือกและพัฒนาผูนํารุนใหม สําหรับชุมชนที่ รวมตัวกันไมได นั่นเปนโจทย ไมใชเปนคําตอบ ชุมชนที่รวมตัวกันไมไดควรหาวิธีวาจะทํา อยางไร ที่จะชวยเขาได เชน ดูความพรอม อยางชุมชนทากําชํา บางรพา สายหมอ บางตา วา มีการจัดระบบกันกอนหนานี้แลวตั้งแตเรื่องถุงยังชีพ ชุมชนตะโละอาโหร รวมตัวไดดี ลาสุดมีโครงการไทยเขมแข็งลงไปก็จัดระบบแจกจายไดทั่วถึง ชุมชนดาโตะ ตันหยงลูโละ เปนแบบอยางที่นาจะไดเรียนรู วันแรก ๆ วุนวายมากแตจัดระบบไดคอนขางเร็ว แตก็ยัง ต อ งการความช ว ยเหลื อ ในการจั ด ระบบอยู ต อ งแบ ง กั น ตามไปดู ว า พื้ น ที่ ไ หนที่ ตั้ ง คณะทํางาน หรือศูนยประสานงานที่ชัดเจน ถาที่ไหนพรอมก็ใหไปเปดบัญชี เราก็มีเงื่อนไข วาเงินก อนแรกจะมี เ ท าไร และเงินกอนถัดไปควรจะมีเ งื่อนไขอะไรออกมา และขอใหมี คณะกรรมการตรงกลางเพื่อพิจารณาขั้นตนกอน 2. การแกปญหาในแตละประเด็น เรื่องอาชีพ การซอมเรือ สุขภาพ สิ่งแวดลอม ตามที่ชาวบานนําเสนอ ปริมาณความเสียหาย ไมเยอะ เปนการพัฒนากาวตอไปมากกวา ในการเขาไปสํารวจขอมูลตองพิจารณาเรื่อง ความตางในเพศสภาพเพราะที่ผานมา การจูนคลื่นยังไมคอยตรงกับชาวบาน ผูหญิงพูดตรง กับผูเก็บขอมูลมากกวาผูชาย ซึ่งขอมูลที่ไดมามีภาพรวม 2 มิติ คือ โดยใหการชวยเหลือ เชน เรื่องที่ดิน การตัดถนน เพื่อเปนเครื่องมือสรางความเขมแข็งระยะยาวของชุมชน 3. การระดมทรัพยากร เปนสิ่งที่จําเปนเกี่ยวเนื่องการกับแกปญหาในแตละประเด็น ทั้งการฟนฟูในเชิงกายภาพ ไม วาจะเปนการสรางบาน การซอมแซมสาธารณูปโภค และการสรางศักยภาพในการทํางาน


75

จากการจัดประชุม การจัดเวที โครงสรางพื้นฐานอื่น ๆ เชน ระบบการเงิน บัญชี ซึ่งควรใช เปนตัวชี้วัดความเขมแข็งของชุมชน 4. มีสวนรวมจากหลายหนวยงาน ทุ ก ภาคส ว นสามารถร ว มกั น ฟ น ฟู ไ ด ต ลอดทุ ก ระยะโดยชาวบ า นเป น แกนหลั ก ในการ ดําเนินงาน บทบาทที่แตละภาคสวนสามารถรวมมือดําเนินงานได คือ ชุมชน - ชาวบานตองมีขอมูลของตนเอง update ขอมูลใหทันสมัย ใหคนอื่นเขาถึง/เชื่อมตอได - อยากใหมีเจาภาพ/คณะกรรมการกลางที่ดูเรื่องขอมูล แลวแตใครจะเอาไปใชเพื่อ ประโยชนอะไร ขอใหชวยเรียงลําดับความเดือดรอนใหชัดเจน (พื้นที่ ความตองการ) เพื่อเปนขอมูล/ตอบโจทยสาํ หรับผูใหการชวยเหลือ ภาคประชาสังคม - ชุมชนควรรวมมือกับ NGOs และมหาวิทยาลัยเรื่องสิทธิในที่ดิน ที่อยูอาศัยของหมูบาน ชาวประมงชายฝง การฟนฟู เชน การปลูกปาชายเลน - การสรางความเขมแข็งขององคกรที่อยูในหมูบานทั้งนี้ การสนับสนุนงบประมาณบางกรณี อาจเปนลักษณะสมทบเพื่อไมใหเกิดความซ้ําซอน (เรือ-การประมง) และในระยะยาวตอง ประสานความรวมมือกับหนวยงานอื่น ๆ ที่กวางขวางขึ้นตอไป สถาบันการศึกษา - สามารถมีสวนในการชวยประสาน รวมเรียนรู ดู process/ศึกษา ระหวางราชการ ทองถิ่น - ชวย identify เรื่องที่ชาวบานตองการแตยังขาดและอุดชองวาง - ศูนยรวมการแจงขาว จัดระบบขอมูล ติดตามและประเมิน - ชวยระดมทุน/หรือสิ่งที่ชาวบานควรไดแตยังขาด - สรางการเรียนรูใหกับชาวบานในการรับมือภัยพิบัติ ภาครัฐ - จังหวัดให อสม. และเครือขายสํารวจขอมูลความเสียหายลงในแบบ สพ. 2 (ใสขอมูล ชื่อ เลขทีบ่ าน ลักษณะบาน จํานวนคนในครอบครัว ความเสียหาย) ประมงจังหวัดก็มี แบบฟอรมสํารวจ และหนวยงานตาง ๆ เขาไปทําขอมูลตามเปาหมายของตน ทั้งนี้ หมูบานที่ตั้งตัวติดแลวก็ใหมีการสํารวจภายในหมูบานตนเอง เชน ดาโตะ - เราจะมี ยุทธศาสตรอยางไร (ในแงมหาวิทยาลัย) เชน เลือกชวยหมูบานที่แยที่สุด หรือจะ ติดตามหมูบานระยะยาวซัก 7 หมูบาน เก็บขอมูลมาแลวเอามาทําอะไรตอ ?? - ควรมีใช GIS บอก location และใสขอมูลเชิงลักษณะเพิม่ จากการสํารวจภาคสนาม มี สถิติจากราชการ และติดตามเฉพาะขอมูลที่ active เพื่อยืนยันความถูกตองของขอมูล - ควรมีวทิ ยุเปนชองทางออกอากาศสื่อสาร update ขอมูลความเสียหาย การชวยเหลือ ทั้งจากชาวบาน หนวยงานราชการ และผูต องการใหความชวยเหลือ


76

สรุปบทเรียน

โดย อาสาสมัครทุกคน


77

บทที่ 1 Timeline เลาเรื่องรายวัน day by day ฉาย dynamic การปรับตัว การรวมตัว บทบาทของแตละฝาย ชวงที่ 0 กาวกอนเริ่ม การตั้งเคากลุมกอนนักเคลื่อนไหวทางสังคมทั้งภาคธุรกิจและนักพัฒนาฯ ที่กอการกัน จนเกิดศูนยอาสาสมัครประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ(ศอบ.)ในครั้งนี้ เริ่มมาจากการประชุมกัน 3 ครั้ง ที่ ธนาคารกรุงไทยในวันที่ 26 ตุลาคม ที่ สสส. ในวันที่ 28 ตุลาคม และที่ทีวีไทย ในวันที่ 1 พฤศิจกายน เพื่อรวมตัวกันหารือกันถึงแตละกาวที่แตละคนจะลงมือกับเหตุน้ําทวม ที่เริ่มฤดูของ ความแปรปรวนดวยจังหวัดที่ทวมนําไปกอน ไดแก ราชบุรี เพชรบุรีและโคราช ซึ่งเปนปฐมบทที่ ปลุกใหตื่นและมองเห็นไดแลววาจะมีทั้งน้ําและฝนอีกเปนกอนๆ กําลังจอคิวตามมา แมวาจะ “เงื้องาราคาแพง” ของการรวมตัวกันในการรับน้ํากอนนี้จะชาไปนิด แตเวลาของการเงื้อนั้นก็ทํา ใหผูกอการทั้งหลายไดเก็บชั่วโมง พิสูจนบทเรียนการรับบริจาคและชวยเหลือผูประสบภัย และ คัดกรองคนที่มีแนวคิดเดียวกันใหโดดลงมารวมวงเดียวกัน โดยมีดีเปรสชั่นที่ยกตัวขึ้นฝงของ ภาคใตในวันจันทรที่ 1 พฤศจิกายน เปนตัวเรงในการตัดสินใจ และมีเวทีระดมความคิดในชวง เย็นที่จัดขึ้นที่ทีวีไทย จนเกิดแนวคิดหลักในการดําเนินงานของเครือขายภาคประชาชนเพื่อ รับมือกับวิกฤตที่จะคุกคามทั้งผูใหความชวยเหลือและผูประสบภัย บทเรียนจากการทํางานฟนฟูบนความหลากหลายของสภาพภูมิศาสตรและวัฒนธรรม เปนสิ่งทําใหการทํางานแบบโครงขายในพื้นที่จําเปนตองถูกจัดตั้งขึ้น อาจารยยักษ (วิวัฒน ศัลย กําธร) ไดเสนอหลักการทํางานเพื่อชวยเหลือผูประสบภัยที่เขาถึงชุมชนในเชิงลึกและสรางความ เขมแข็งในการจัดการตัวเองไปพรอมๆกันวา การจัดการในระดับภาคประชาชนนั้น (ดังภาพที่ 1) จํ า เป น ต อ งมี ก ารทํ า งานแบบกระจายศู น ย (node) ออกไปแบบแบนราบในการให ค วาม ชวยเหลือและทรัพยากรจากสวนกลางที่ไปสูพื้นที่ปลายทาง ไปสูการจัดการดวยคนปลายทาง ซึ่งรูจักพื้นที่ของตนเองดีที่สุด

ภาพที่ 1 หลักการจัดการพื้นที่ประสบภัยตามแนวคิดภาคประชาชน


78

ที่จริงหลักการที่วามานี้ ไมไดมาจากความคิดของคนคนเดียว แตแนวคิดนี้ไดรับการ ทดสอบและยืนยันดวยบทเรียนจากการทํางานของภาคประชาชนที่ชุมฉ่ําจนถึงเปยกโชกกัน เกือบหนึ่งเดือนกอนหนา ประกอบกับบทเรียนจากน้ําทวมในปลายป 49 เหตุการณสึนามิในป 2546 องคกรภาคประชาชนทั้งหมดกวา 50 องคกร แทบทั้งหมดมีความคิดเห็นในปญหาและ การหาวิธีแกที่ตรงกันอยางที่ไมนาเชื่อวา การลดปญหาการเขาไมถึงชุมชนที่ตกคางและการให ความชวยเหลือที่ไมเทาเทียมนั้น ควรใหชาวบานหรือภาคประชาสังคมในพื้นที่ ทําหนาที่มดงาน ระดมกํ าลังจากพื้นที่ ใกลเ คีย ง ขนขาวขนของเขาไปจัดสรรและแบงปนในชุมชนของตนเอง เพราะมดงานเหลานี้รูจักทรัพยากรและรูจักพื้นที่ของตนเองดีที่สุด จึงควรใชการโยงใหชุมชนที่ ประสบภัยไดรับความชวยแบบชาวบานใหชวยชาวบานดวยกันเอง แมวาแนวคิดการจัดการแบบแบนราบสูทองที่ อาจมองไดวาเปนแนวคิดการจัดการแบบ แนวดิ่งในอีกรูปแบบหนึ่ง ผูเขียนบทความนี้ก็ขอยืนยันวา แนวความคิดการจัดการแบบแบนราบ ของกรุงเทพ ที่จะนําสิ่งของบริจาควิ่งไปสูแตละชุมชนโดยตรง ก็อาจเปนการจัดการสูปลายทาง แบบแนวดิ่งพื้นอีกรูปแบบหนึ่งดวยเชนกัน เพราะความคิดของมนุษยเรานั้นไมสมบูรณแบบ การ แสวงหาจุดรวมและการสงวนความแตกตาง ก็นับเปนการจัดการทางความคิดที่เราไมสามารถ เพิกเฉยไดอีกประการหนึ่ง ชวงที่ 1 Day1-day3 อุทกภัยทางความคิด และวิกฤติชีวิตในพื้นที่ประสบภัย หลังจากที่ดีเปรสชั่นมาถึงภาคใตฝงอาวไทยและเสร็จประชุมวันกอน ทีมขาวของทีวีไทย นําโดยพี่แวว (นาตยา แวววีรคุปต) และทีม Frontline ของ 1,500 ไมล นําโดยพี่โตง (รัฐภูมิ อยู พร อ ม) ก็ อ อกเดิ น ทางลงไปปลายทางหาดใหญ เ พื่ อ ลงสํ า รวจพื้ น ที่ พร อ มกั บ เช า วั น ที่ 2 พฤศจิกายน 2553 ที่การเตรียมศูนยรับมือวิกฤตที่กรุงเทพ ไดเริ่มขึ้นที่ชั้น 2 ของโรงแรมพินนา เคิล ลุมพินี ที่ ดร.วงษภูมิ วนาสิน ใหใชเปนที่ทํางานและที่พักสําหรับอาสาสมัครไดเปลี่ยนกะ ทํางานตอเนื่องกันไดตลอด 24 ชั่วโมง โดยมีพี่ลักษณ สมลักษณ หุตานุวัตร จาก SVN (Social venture network) คอยเปนแมบานและแมงานที่ดูแลศูนยอาสาประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ (ศอบ.) ซึ่ ง ปรั บ เปลี่ ย นชื่ อ มาหลายรอบจนได ชื่ อ นี้ ใ นป จ จุ บั น และยั ง มี สสส., ที วี ไ ทย และ www.thaiflood.com คอยใหการสนับสนุน สิ่งแรกที่ทําในการเริ่มศูนยวันนั้นคือ การสรางระบบการประสานขอมูลในฝายทั้ง 5 ที่ อาจารยยักษไดรางไวเมื่อวันกอนตอนประชุมที่ทีวีไทย คือ ฝายขอมูล-ขาว ฝายมวลชน ฝาย ทรัพยากร ฝายอาสาสมัคร ฝายบริหาร โดยการเสนอตัวของอาสาหนึ่งคนตอหนึ่งฝายขึ้นมาเปน เจาภาพหลักในการรวมขอมูลเพื่อที่จะตัดสินใจตอในฝายนั้น เพื่อลดความซ้ําซอนในการสื่อสาร ที่นี่เราเรียกระบบนี้วา Communications line พูดงายๆ คือ จะบอกเรื่องไหน ก็เดินไปหาคนนั้น โดยขอมูลที่จะเขาไปยังแตละฝายนั้นประกอบดวย 1. มวลชน (ชุ มชน/คนพื้ น ที่ ) เปน ตัว แทนคนในพื้ น ที่ ทํ า หน าที่ สื่ อสาร ช ว ยประเมิ น สถานการณและประสานความชวยเหลือ โดยมีพื้นฐานความเขาใจในพื้นที่ประสบภัย


79

และมี connection ศูนยประสานงานในระดับพื้นที่ สื่อสารเอาขอมูลมาแชรกับฝาย ทรัพยากรซึ่งเปนสวนตอไป 2. ทรัพยากร ทําหนาที่ระดมของบริจาค และประสานขอมูลความตองการความชวยเหลือ เชน พื้นที่ที่ตองการใหชวยประสานเรือที่จะอพยพ พื้นที่ที่ตองการอาหารสด พื้นที่ที่ ตองการถุงยังชีพ รวมไปถึงการประสานพาหนะสําหรับขนสงไปยังพื้นที่ประสบภัย ตอไป 3. ขอมูล–ขาว ทําเรื่องสถานการณพื้นที่ ระดับน้ํา ระดับความเสียหาย ความเสี่ยงที่จะ โดนซ้ําและการเตือนภัย เพื่อจัดลําดับการสงความชวยเหลือหรือแจงเตือนใหมีการ เตรียมพรอม 4. อาสาสมัคร ทําหนาที่จัดระบบคนที่เขามาทําใหศูนยลื่นไหล ไปยังตําแหนงตางๆที่มี ความตองการทั้งหนางาน (ในพื้นที่) และ หลังบาน (ที่ศูนยกรุงเทพ) 5. บริหาร แนนนอนวา War room ก็คือ หองแหงการบริหารจัดการ ทุกชวงเย็นผูใหญและ ผู ป ระสบการณ ทั้ ง หลายจะแวะเวี ย นมาแลกเปลี่ ย นความคิ ด ในการกํ า หนดทิ ศ ทาง รวมกันตอไป หลักการทํางานที่วาไปขางบนพอจะเขียนเปน Map ไดดังภาพนี้

ภาพที่ 2 โครงสรางการทํางานของศูนยอาสาสมัครประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ ชวงที่ฟาสวางของวันแรกทั้งวันนี่หมดไปกับการระดมความคิด จัดระบบ และอะไรอีก หลายอยางที่ไมลงตัว พอเขาสูชวงฟามืดนี่ยิ่งแยกวา เพราะตัวเมืองก็ถูกน้ําหลาก-น้ําทวมสูงเปน


80

เมตรทําใหไปไหนไมได พื้นที่ปลายทางถูกตัดไฟเพื่อปองกันไฟรั่ว เสนทางเดินรถก็ไปไดยาก เพราะตนไมลมระหวางทางปดถนนไปหลายจุด ระบบโทรศัพทลมเหลวเพราะชองสัญญาณเต็ม เนื่องจากมีผูใชบริการจํานวนมาก แมแตจะติดตอทีม Frontline เพื่อสื่อสารกันเองก็ทําไดยาก ตั้งแตฟามืดนี่ภารกิจหลักของเรา คือ ประสานตอหนวยฉุกเฉินเขากับความชวยเหลือที่รองขอ มาทั้งทาง Twitter บนหนาเว็บ Thaiflood และทางโทรศัพท เคสทุกเคสสะเทือนความรูสึกจนอยู นิ่งไมได อาสาสมัครซึ่งประสานงานในภาวะวิกฤติเปนครั้งแรกตางตื่นเตนและพยายามประสาน หน ว ยเคลื่ อ นที่ เ ร็ ว แทบทุ ก ชนิ ด ลงไปช ว ยในพื้ น ที่ คอยจดจ อ ความคื บ หน า ในการให ค วาม ชวยเหลือไมวาจะเปน เคสหญิงทองแกจะคลอดจนน้ําเดินแลวแตติดอยูในที่พัก หรือ เคสคนปวย เสนเลือดสมองตีบเจาะคอชวยหายใจที่ติดอยูในโรงแรมกําลังอาการทรุด ซึ่งญาติเลาสถานการณ ใหฟงดวยน้ําเสียงสั่นเครือ เรื่องราวเหลานี้ตอง recheck หลายครั้งเพื่อใหไดขอมูลที่ชัดเจน เรียกวา เจอขอมูลไหลเขามาทวมจนประสบอุทกภัยทางความคิดกันไปหมดเลยทีเดียว การทํางานอาสาสมัครในวันแรก จึงอยูในภาวะโกลาหลกันทั้งคืน หลุดไปจากเริ่มแรกที่ ตั้งใจวาจะประชุมสรุปงานกันทุก 3 ชั่วโมง เราตางก็ทําไมสําเร็จ และแมจะตั้งเปาวาจะทําหนาที่ ประสาน node สนับสนุนใหเกิดการเชื่อมโยงภายในพื้นที่นั้น เสียงรองขอความชวยเหลือจากคน แตละคนที่มีเครื่องมือสื่อสารเปนฟางเสนเดียว ก็ทําใหเราประสบอุทกภัยทางความคิดเอาใจไป ติดกับชีวิตจนไขวเขว ทํางานไมไดไปตามเปาที่ตั้งไวตอนหัววัน กระทั่งเชาวันที่สองพี่ลักษณถึงเรียกสติอาสาสมัครทั้งทีมคืนมาไดวา เปาหมายและ วิธีการทํางานของเราคืออะไร การทํางานอยางมีระบบจริงๆ ถึงไดเริ่มขึ้นเปนครั้งแรก เรียกไดวา เมื่อน้ํานิ่งคนก็เริ่มนิ่ง เพราะเมื่อโทรไปติดตามความคืบหนาในการชวยเหลือทั้งสองเคสที่เลาไป แลวในขางตนวา ไดรับความชวยเหลือและปลอดภัยแลว คนทํางานก็เริ่มมีสมาธิกับงานขางหนา มากขึ้น เมื่อความรุนแรงของกระแสน้ําเริ่มลดลง ความตองการตอจากการเอาชีวิตรอดใหไปอยู ในพื้นที่ปลอดภัยก็คือ การกิน อาหารสดหรือเรียกงายๆ วา “ขาวกลอง” เปนความตองการถัดมา หลังจากไดที่ปลอดภัย ใครบอกวาขาวกลองไมสําคัญ ผูเขียนขอบอกวา ขาวกลองเนี่ยสําคัญ มาก การจะดูแลกันตอไปของชุมชนเนี่ยขาวกลองถือเปนจุดเปลี่ยนของชุมชนเลยทีเดียว เพราะ ในปรากฏการณของพื้นที่ประสบภัย เราพบวา คนแตละคน หรือ แตละครอบครัว จะถูกซัดให กระจัดกระจายหรือถูกทําใหปลีกแยกออกไปจากสิ่งแวดลอมที่คุนชิน บางบานสูญเสียครัวและ อุปกรณทําอาหาร บางคนตองยายหนีไปอยูที่อื่นซึ่งไมรูวาจะไปหาอาหารไดที่ไหน การมีครัว รวมหรือครัวชุมชนเปนคําตอบที่จะทําใหผูประสบภัยซึ่งกําลังเควงอยู ไดมีอาหารกิน ไดพื้นที่ที่ จะรวมตัวกันพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่องราวที่เผชิญ ไปจนถึงหาทางที่จะจัดการกับภาวะที่แตละคน เผชิญอยู ซึ่งครัวรวมหรือครัวชุมชนนี้อาจเกิดขึ้นไดทั้งการลงแรงกันของชาวบานเองและการเขา ไปชวยตั้งโรงครัวจากคนนอกดวยการหาคนและหาวัตถุดิบตั้งตน อยาง น้ําปลา น้ํามัน พริก กระเทีย ม ผั ก หมู เห็ ด เป ด ไก สํา หรับ มื้ อ แรกๆ เข า ไปช ว ย เพื่ อที่จ ะชวนชาวบ า นเข า มา ชวยกันลงแรงตอไป ปรากฏการณในการบริจาคในครั้งนี้มีเรื่องนาดีใจ ที่คนไทยเขาใจลําดับ


81

ความสําคัญและความหมายของปจจัย 4 สําหรับผูประสบภัยมากขึ้น ครั้งนี้เราไมเห็นกองภูเขา เสื้อผา ครั้งนี้เรามองไมเห็นกองของบริจาคที่อยูนอกเหนือความจําเปน ครั้งนี้เราเห็นความเขาใจ ที่ดีขึ้นในการใหความชวยเหลือที่จะกอใหเกิดปญหาความขัดแยงระหวางชุมชนนอยลง ตอง ขอขอบคุณคนไทยที่เขาใจบทเรียนในการบริจาคจากประสบการณที่เรารวมทุกขรวมสุขกันมา กอนที่จะเตลิดออกอาวไทยไป ตอนนี้ขอกลับมาที่ศูนยฯกอน งานที่เริ่มมีบทบาทมากขึ้น ในชวงวันที่ 3 นี่คอยๆ เปลี่ยนจากการสื่อสาร มาเปนการระดมทรัพยากรและ logistic ในการ ประสานเรื่องอาหารสดหรือขาวกลองไปชวยผูประสบภัยที่ติดอยูในพื้นที่ ซึ่งงานนี้ทีมเจาหนาที่ จากมูลนิธิกระจกเงาก็ไดเดินทางลงพื้นที่หาดใหญเพื่อประสานการตั้งศูนยขาวกลองและ logistic ของบริ จ าคลงไปจากกรุ ง เทพ โดยมี ส ายการบิ น นกแอร อ าสาขนให ใ นภารกิ จ นี้ โ ดยเฉพาะ นอกจากนั้นวันนี้เรายังมีกลุมคนที่เราตองการที่สุดก็กาวเขามาในหอง พวกเขาคือ พี่ประยูร พี่ ยาและพี่มณเฑียร ซึ่งเปนชาวบานแกนนําในเครือขายองคกรชุมชนในภาคใตและมีประสบการ ในการฟนฟูชุมชนที่ประสบภัยสึนามิ ดวยการชวนของพี่ดวง มูลนิธิชุมชนไทย ใหเขามาลองดูวา จะชวยอะไรไดบางตั้งแตชวงเย็น ซึ่งพอกาวเขามาพี่ทั้งสามคนก็เห็นและรูทันทีเลยวา ทาจะตอง อยูยาวซะแลว เพราะคนที่จะประสานชุมชนไดมันขาดจริงๆ หลักจากจูนระบบและจูนความเขาใจเขาดวยกัน การทํางานในวันที่สามลงลึกไปในพื้นที่ ประสบภัยทั้ง 7 จังหวัด ไดแก ชุมพร สุราษฏรธานี นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง สงขลา และ ปตตานี จนสามารถคนพบคนที่จะเปนแกนในการประสานทองถิ่นไปไดอีกหลายพื้นที่ เพราะมี คนที่มี Connection และความเขาใจในทองถิ่นเขามารวมทีมดวยอยางเต็มตัว ชวงที่ 2 day4-day7 วิดขอมูลที่ทวมชีวิต แลวไปกูวิกฤติปากทอง คําถามที่มีอยูตลอดมาตั้งแตสมัยสึนามิ คือ เราจะลดปญหาความซ้ําซอนและการตก หลนในการใหความชวยเหลือในพื้นที่ประสบภัยพิบัติไดยังไง ก็หาคําตอบกันตอไป จนวันนี้ ปญหานี้ก็ยังเจอเรื่องนี้อยู แตในภาวะวิกฤตแบบนี้ สิ่งที่เราตองทําก็คือ ตองรูจักละและวางในสิ่ง ที่เรายังมองไมเห็นวาเราทําไดแคไหน แตขณะเดียวกัน เราก็จะทําเต็มที่ในสิ่งที่เราทําได และทํา ตอไปใหถึงที่สุด หลั ง จากที่ ศู น ย เ ริ่ ม เป น ที่ รู จั ก และมี ก ารส ง ข อ ความรั บ อาสาสมั ค รออกไป ช ว งนี้ อาสาสมัครก็เขามาชวยงานในศูนยเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก ความหลากหลายของอาสาสมัครได พัฒนาใหการทํางานคอยๆ เขารูปเขารอยมากขึ้นเรื่อยๆ ถึงกระนั้นงานในชวง 4-5 วันแรกก็ยัง ไมไดเปนไปอยางที่ตั้งใจหวังวาจะใหเกิด node ในการระดมทรัพยากรจากพื้นที่ใกลๆ มาชวย กันเอง เพราะเราเองก็ยังเปนการชวยเหลือจากขางบนแลวสงขึ้นเครื่องบินลงไปขางลาง และ ขางลางก็ยังไมสามารถตั้งตัวไดเชนกัน แตอยางนอยเราก็เริ่มมีผูประสานและ node ซึ่งเปนจุด เชื่อมตอที่ชัดเจนมากขึ้นในการประสานความชวยเหลือในลักษณะของใยแมงมุม ซึ่งถาพูดถึงใย แมงมุมนั่นก็แสดงวา มันตองมีตัวแมงมุม ถาเปรียบใหศูนย ศอบ. เปนตัวแมงมุม ชุมชนในพื้นที่ เปนศูนยประสานงานก็คงเปนขาแมงมุมที่โยงความชวยเหลือใหกันและกัน เชน ชวงที่คาบ


82

เกี่ยวกับระหวางวิกฤติปากทองกับวิกฤตชีวิตอยางชวงนี้ ตอนที่นครศรีธรรมราชโดนพายุเขา ถัดมาจากหาดใหญ เราไดทําหนาที่ประสานใหทางหาดใหญซึ่งน้ําลดคลี่คลายจนเรือเริ่มใช นอยลงแลว ใหหาดใหญสงเรือไปชวยนครฯที่กําลังน้ําเออ พรอมกันก็ไดชวยประสานเรื่องวิกฤต อาหาร พัทลุงมีโรงสีชุมชนมีขาวเล็บนก ซึ่งเปนขาวดีของทางใตที่ขายใหไดในราคาชวยเหลือ ผูประสบภัยและยังจัดสงใหฟรี เราก็เปนตัวประสานใหขาวจากพัทลุง(สวนที่ไมทวม)ไปชวย พัทลุงสวนที่ทวม ไปชวยหาดใหญ ไปชวยนครฯ ได การระดมทรัพยากรและ logistic ในการสงอาหารและยาลงไปในพื้นที่จึงเปนงานที่มี บทบาทสําคัญในชวงนี้ ระบบการจัดการของเราแบงแบบงายๆ ไดเปน 2 สวน คือ ฝงตนทางที่ กรุงเทพ และฝงปลายทางที่ทางใต ซึ่งสื่อสารจํานวนของที่ตองการโดยรวมขึ้นมา สวนเราก็ จัดหาของใหไดตามความตองการและตามจํานวนที่ตองการจัดเปนกลุมๆ แตละจังหวัด แลว ทยอยสงไป โดยมีสายการบินนกแอรเอื้อเฟอพื้นที่โกดังใหเราจัดของและเอื้อเฟอเครื่องบินขน ของใหในชวงที่ถนนยังถูกปดดวยน้ําและตนไมที่ลมขวางอยูระหวางทาง โดยการจัดการของ บริจาคในฝงกรุงเทพจะรับทั้งของที่เปนชิ้นยอยๆ จากผูบริจาคทั่วไปและของบริจาคลอตใหญๆ ที่มีผูบริจาคตรงจากโรงงาน ทั้งหมดจะถูกนํามาจัดแบงตามปริมาณที่แตละพื้นที่ตองการแลว สงไปยัง node ปลายทาง ดังรูปที่ 3

ภาพที่ 3 ระบบการจัดการของบริจาคและ logistic ไปยังพื้นที่ประสบภัย


83

การระดมทรัพยากรและ logistic นี่กวาจะลงตัวก็ปาเขาไปวันที่ 7 ตั้งแตเปดศูนย ระหวางทางนี่ เจอปญหาและอุปสรรคในการทํางานมากมายซึ่งเดี๋ยวจะขอเลาตอในสรุปบทเรียน ชุดถัดไปซึ่งจะเลาถึงรายละเอียดการของการทําแตละฝายอีกที วันที่ 7 ของการทํางานนี่ เพราะวาระบบงานเริ่มลงตัวแลว เราถึงไดขอปลีกตัวจากหอง สี่เหลี่ยมไปลงพื้นที่หนางานบาง ดวยความคิดเห็นที่ตรงกันทุกคนวา ถาคนที่ศูนยไมเขาใจ สภาพหนางาน การจัดระบบเพื่อพัฒนางานตอไปตามสภาวะที่เปนจริงมันจะเปนไปไดยาก เรา จึงเดินทางลงไปปตตานี โดยนั่งเครื่องบินไปลงหาดใหญแลวตอรถตูไปลงที่ ม.อ. ปตตานี ซึ่ง เปนสถานที่รวมพลของคนแกนหลักที่ประสานระหวางชุมชนกับสวนกลางที่จะเขาไปใหความ ชวยเหลือ เราหารือกันถึงกลุมกอนของคนทํางานที่เกิดขึ้นวาจะขับเคลื่อนกันตอไปอยางไรและ ขอลงไปสัมผัสพื้นที่บานดาโตะ อ.ยะหริ่ง จ.ปตตานี ซึ่งมีลักษณะเปนอาวที่ถูกขนาบดวยทะเล ซึ่งขอมูลที่ทางกรุงเทพไดรับคือ ในวันที่พายุเขา น้ําทะเลยกระดับสูงขึ้นเปนเมตรตั้งแตชวงบาย กอนที่พายุจะเขา ซึ่งขาวในทองที่ก็เตือนภัยแจงวาพายุจะเขาตอนกลางคืน แตขนาดฟายังไมมืด น้ํายังขึ้นสูงขนาดนี้ คนธรรมดาก็อยูนิ่งไมไดแลว ชาวบานก็เลยอพยพกันไปอยูในที่ปลอดภัย ทิ้งไวแตฝูงแพะและบานเรือน ความเสียหายจึงเกิดขึ้นกับทรัพยสินมากกวา พอไปถึงนั้นเรา พบวา ชุมชนนี้ประสบภัยไมตางจากบานน้ําเค็ม สมัยที่โดนสึนามิ คือ ขอ 1 บานถูกคลื่นซัดพัง เสียหาย ขอ 2 มีคนเขาไปในชุมชนมากมายคลายกรุปทัวรจนรถติดยาวกวา 5 กิโล ไปถึงปาก ทางเขาชุมชน ขอ 3 มีความชวยเหลือเขาไปอยางลนหลาม แตปญหาเรื่องการจัดการจนเกิดรอย ราวระหวางชุมชน

รูปที่ 4 สภาพชุมชนดาโตะ อ.ยะหริ่ง จ.ปตตานี ที่ไดรบั ความเสียหายจากดีเปรสชั่น


84

ทั้งกอนลงพื้นที่และหลังจากกลับมา มีคําถามและขอถกเถียงวาสิ่งที่สรางความเสียหาย ใหชุมชนนี่เปน Strom surge หรือไม จนวันนี้ก็ยังไมมีคํายืนยัน และผูเฒาผูแกในชุมชนก็ยังไม เคยเจอเหตุการณแบบนี้เลย ธรรมชาติในทุกวันนี้มันเปลี่ยนแปลงไป แลวเราจะรับมือยังไงกับ ความแปรปรวนที่นากลัว ชวงที่ 3 day7-day10 เฝาระวังภัยซ้ํา พรอมกับทําในสิ่งที่ทําได แมวาสถานการณน้ําหลากจะเริ่มเบาบางลง แตฝนที่ตกสะสมก็ยังมีความเสี่ยงตอการ เกิดภัยพิบัติซ้ํา ทั้ง landslide ในพื้นที่ลาดเอียงตามเชิงเขาและน้ําหลากตามพื้นที่รับน้ําทั้งหลาย ชวงนี้งานระดมทรัพยากรและ logistic เราก็ยังทําอยู แตสิ่งที่เพิ่มเขามาคือ เราเริ่มมีสติที่จะ ติดตาม ฝนตกสะสม ที่จะทําใหเกิดดินถลมซ้ํา โดยใชวิทยุสื่อสาร ว.ดํา ที่จริงบทบาทการทํางาน ของวิทยุสื่อสารกับงานภัยพิบัติในศูนยนี่เริ่มมีมาตั้งแตที่พี่ยา และ พี่มณเฑียร เดินเขามาในศูนย แลวทําใหเราพบวา การ recheck ขอมูลทั้งความเสียหายและความชวยเหลือที่ตองการจาก ปลายทางพื้นที่ประสบภัยนั้น สามารถทํารวมกันไดโดยใชโทรศัพท วิทยุสื่อสาร และ Social media อยาง Twitter ทั้ง 3 อยางรวมกัน เชน เมื่อเราพบการแจงของความชวยเหลือผาน Twitter เราก็จะโทรไปเช็คสถานะของคนโพส Twitter นั้นวา ขณะนั้นไดรับความชวยเหลือหรือ ยัง หากยังไมไดรับความชวยเหลือ เราก็จะไดวิทยุสื่อสารแจงขาวไปยังศูนยที่อยูใกลๆ ในพื้นที่ วาสามารถใหความชวยเหลือไดอยางไรบาง ดังรูป

รูปที่ 5 การใชเครื่องมือสื่อสารเพื่อประสานความชวยเหลือกับพื้นทีป่ ระสบภัย


85

โดยในสวนของวิทยุสื่อสารหรือ ว.ดํา นั้น เราใชโปรแกรม Echolink ซึ่งเปน VoIP ที่ เชื่อมสัญญาณวิทยุสื่อสารผานเขาคอมพิวเตอร ทําใหคนอยูที่ไกลอยางกรุงเทพยังสามารถรับ ขาวสารทันสถานการณไดพรัอมกับกลุมอาสาที่ใช ว.ดํา ในพื้นที่ประสบภัยทางใตดวย เลามาถึง ตรงนี้คงเริ่มมีคําถามอีกแลววา โทรศัพทก็มี อินเตอรเนทที่จะเอาไวใช Social network ก็มี ทําไมตองกลับไปใชวิทยุสื่อสารดวยละ เดี๋ยวคําถามนี้จะไปตอบอยางละเอียดในสรุปบทเรียนชุด ถัดไป โปรดติดตามชมอีกเชนกัน การขอความชวยเหลือที่ศูนยฯ นอกจากจะเขามาโดย connection ของผูประสานงาน พื้นที่แลว ก็ยังมีผูที่ตอสายเขามาโดยตรงผานโทรศัพทสวนกลางของศูนย มีอยูสายหนึ่งโทรแจง มาวา เปนผูประสบภัยอยูในพื้นที่ จ.อยุธยา ไมมีไฟฟาใชมากวาสัปดาหแลว อยากจะขอใหทาง ศูนยชวยเหลือดวย เมื่อนองอาสาสมัครไดรับสายนี้ นองก็เลาตอใหพี่ลักษณฟงและหารือวาเรา จะทําอะไรไดบาง ผูเขียนซึ่งเปนคนที่นั่งฟงทั้งสองคนอยูก็ทําไดเพียงคิดวา ก็คงตองรอใหทาง ไฟฟาเคาจัดการเอง แตดวยความคิดที่ไมเคยรั้งรอที่จะลงมือและความเปนอาสาสมัคร ทั้งสอง คนก็ประสานงานแจงปญหาที่ชาวบานไมมีไฟฟาใชตอการไฟฟาสวนภูมิภาคของทางจังหวัด ไป จนกระทั่งเคามองเห็นปญหาและชวยหาทางออกใหจนเจาหนาที่แจงวาจะไปติดตั้งอุปกรณไฟฟา ใหชาวบานไดมีไฟฟาใชไดในวันรุงขึ้น สําหรับผูเขียน เรื่องนี้เปนเรื่องราวเล็กๆ ที่นาภูมิใจวา การไมดูดายและไมรั้งรอของการ ขยับตัวจากฟนเฟองเล็กๆ ที่กาวขามความไมมั่นใจ สงเสียงไปบอกฟนเฟองขนาดใหญใหรูตัววา การขยับของเขาสามารถเปลี่ยนแปลง สวนอื่นๆใหดีขึ้นไดอยางไร มันชวยย้ําใหเรามั่นใจวา เรา ทุกคนที่เปนฟนเฟองทุกอันไมวาเล็กหรือใหญ หากเราเลิกปดกั้นตัวเองจากความกลัววาจะทํา ไมได แลวมาลงมือเอาแคเพียงเรื่องเล็กๆ ที่เราทําได เทานี้โลกก็คอยๆเปลี่ยนแลว สรุปยอย รอยเรียง Dynamic ความเปลี่ยนแปลงทัง้ 3 ชวง จากการทํางานทั้ง 3 ชวง จะเห็นไดวาคนที่มีบทบาทสําคัญในแตละชวงงานจะแบงเปน ชวงเตรียมการ งานดานวิชาการทั้งสายวิทยและสายสังคม ซึ่งอยูภายใตฝายขอมูลจะ เปนตัวกําหนดทิศทางการทํางานของศูนย ชวงเผชิญเหตุและเฝาระวังภัย งานดานสื่อสารซึ่งอยูภายใตฝายชุมชนจะมีบทบาท เดนกวาวิชาการ เพราะชุมชนซึ่งเปนผูเผชิญเหตุมีความเขาใจในบริบททางสังคมและภูมิศาสตร ของตัวเองดีที่สุด การสื่อสารโดยมวลชนเชื่อมโยงกันระหวาง Connection ที่เปนคนที่เคยรูจัก กั น มาก อ นแล ว ความเข า ใจและความไว ว างใจที่ มี อ ยู เ ป น กุ ญ แจสํ า คั ญ ของการชี้ ใ ห node ปลายทางไดเริ่มตนความรวมมือกันและไดชูใหเห็นวาแตละพื้นที่จะมีใครเปนแกนหลักที่จะ ทํางานในชวงถัดไป ชวงฟนฟู ฝายทรัพยากรและ Logistic จะมีบทบาทมากที่สุดชวงหลังเหตุฉุกเฉิน เพราะ ในชวงที่พื้นที่ประสบภัยปลายทางยังตั้งตัวไมได การเสริมกําลังและการเขาไปชวยตั้งตนการ จัดการโดยใชทรัพยากร ไมวาจะเปน ขาวกลอง น้ําดื่ม ยา หรือ ขาวสารที่จะตองใชบริโภค


86

ในชวงถัดไป ตางเปนสิ่งที่ใชแกไขสถานการณและสรางประสบการณในการลงมือจัดการตนเอง ในเวลาเดียวกัน นอกจากบทบาทในการนําของแตละฝายแลว เรายังพบวิวัฒนาการของการปรับตัว รวมตัว และการแตกหนอที่เกิดขึ้นระหวางการทํางานไปพรอมๆกัน งอกเปนภารกิจแยกยอยแต ละดานไปไดอีก คือ ดานขอมูล – ชุมชน เมื่อทํางานไปไดสักระยะ เราพบวาฝายขอมูลและฝายชุมชนนั้น แทบจะเปนฝายเดียวกัน เพราะพี่ยา พี่มณเฑียร ที่ทําหนาที่ในการประสานงาน node หรือ ชุ ม ชนปลายทางนั้ น ต อ งทํ า หน า ที่ ใ นการสื่ อ สารและการจั ด การข อ มู ล ที่ ชุ ม ชนแจ ง กลั บ มา กระจายสื่อสารภายในศูนยใหทุกคนไดรับขอมูลทราบทั่วกัน โดยภายในศูนยนองๆ อาสาสมัคร เปนผูชวยพิมพ/เขียนขอมูลที่ไดมาซึ่งตอนแรกเริ่มจากการรวมขอมูลเปนหนึ่งจังหวัด หนึ่ง A4 กอน ตอมาพอขอมูลเริ่มมีความเคลื่อนไหวเขามาในจํานวนมากและมีความเร็วเพิ่มขึ้น เราก็ เปลี่ยนใชไวทบอรดตีตารางแบงแตละจังหวัด แลวแปะ Notepad ขนาด ½ กระดาษ A4 แสดง ขอมูลความตองการของแตละพื้นที่ซึ่งเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา พรอมกับรายงานสถานะการ สง-รับ จํานวนสิ่งของที่สงเรียบแลวและคงคางกํากับไวในสวนทาย

รูปที่ 6 บอรดสื่อสารขอมูลความตองการและความชวยเหลือใหภายในศูนยทราบขอมูลโดยทั่วกัน

ดานทรัพยากร-logistic หลังจากที่มีการสื่อสารภายในวาความตองการของแตละพื้นที่ เปนอยางไร จํานวนเทาไร ฝายทรัพยากรและ logistic ซึ่งทํางานแทบจะเปนเนื้อเดียวกัน ก็จะ ประสานของบริจาคที่ระดมมาไดขนสงจากต นทางไปยังคลังสินคาหรือที่เรียกกันติดปากวา Cargo ที่ ส นามบิ น ซึ่ ง ที่ นั่ น จะมี ก ารคั ด แยก แบ ง ตามจํ า นวน โทรแจ ง ผู ป ระสานงาน Node ปลายทางวา เครื่องบินจะไปถึง flight ไหน และเช็ควารายการสิ่งของตรงตามความตองการ หรือไม จากนั้นจึงแพคใหเรียบรอยตามระบบการบิน ขนขึ้นเครื่อง จากนั้นจึงโทรเช็คซ้ําวาแจงผู ประสานงาน Node ปลายทางไดรับสิ่งของครบตามจํานวนหรือไม เพื่อที่จะไดแกปญหาในการ ระดมและการจัดสงตอไป ซึ่งทั้งฝายขอมูลชุมชนและฝายทรัพยากร-logistic นี้สามารถเขียน ภาพโยงความสัมพันธในการทํางานรวมกันไดเปนภาพที่ 7


87

ภาพที่ 7 กระบวนการทํางานรวมกันระหวางฝายขอมูลชุมชนและฝายทรัพยากร-logistic ดานการสื่อสาร สําหรับการสื่อสารภายในศูนยที่มีนองๆอาสาสมัครที่คอยวิ่งไปวิ่งมา เขียนแปะ เขียนแปะ และชวยประจํา Echolink เปลี่ยนกะชวยงานสื่อสารสูชุมชนแลว เรายังมี การสื่อสารสาธารณะไปสูภายนอกวาสถานการณพื้นที่ปลายทางและภารกิจที่ทางศูนยไดทําใน แตละวันนั้นมีอะไรลุลวงและยังตองสานตอไปอีกใหคนภายนอกไดรับรูการทํางานและชองทางที่ จะเขามามีสว นร ว มได จุ ดนี้ เ ปนสิ่ งที่เราออกแบบไววาอยากจะให มีการสื่ อสารสูภายนอกที่ ชัดเจน ฉับไวและตอเนื่อง แตเราก็ทํางานไดเต็มที่เพียงเทานี้จริงๆ เพราะกําลังคนของเราเองก็ ไมเพียงพอที่จะรับมือกับหนางานซึ่งประสานเขามาสิบทิศอยูแลว ชว งแรกเราจึงแทบจะไม สามารถสื่อสารสาธารณะออกไปสูภายนอกไดเลยวา เราไดสงความชวยเหลือไปใหใคร ที่ใด และ จํานวนเทาไรไดบาง ทําใหเราตองใชเวลาในการทําความเขาใจคนนอกและอาสาสมัครที่เขา มาใหมอยูพอสมควร ครั้งตอไปถามีอาสาที่มาชวยดานการสื่อสารสาธารณะไดโดยตรงนี่การ ทํางานของเราคงจะราบรื่นไดมากขึ้น สําหรับกระบวนการสื่อสารภายใน อยางที่เลาไปในขางตนวามีนองๆอาสาสมัครเขามา ชวยทําขอมูลขึ้นบอรดแสดงความตองการในแตละพื้นที่พรอมกับสถานะความชวยเหลือใหทุก


88

ฝายไดทราบขอมูลทั่วกันแลว ยังมีการสื่อสารภายในระหวางฝายที่ตองทํางานตอเนื่องกัน คือ เมื่อฝายขอมูล-ชุมชน ไดแจงตอฝายทรัพยากรวาตองการของสิ่งใดจํานวนเทาไรเรียบรอยแลว ฝายทรัพยากรซึ่งแทบจะเปนรางเดียวกับฝาย logistic ก็จะประสานการขนสงตอและเช็คซ้ําวา ปลายทางไดรับของเปนที่เรียบรอย แลวสื่อสารกลับ ฝายสื่อสารซึ่งทราบความคืบหนาของแตละ ฝายก็จะทําหนาที่คลายดาวเทียมกระจายขาวตอซึ่งเขียนแทบดวยรูปภาพไดดังนี้

ภาพที่ 7 ลําดับขั้นการสื่อสารระหวางฝายขอมูลชุมชนและฝายทรัพยากร-logistic ซึ่ ง แนวทางในการปรั บ ปรุ ง การทํ า งานของฝ า ยสื่ อ สาร คื อ นอกจากจะมี ค นที่ ดู แ ล อุปกรณ IT-support และวิทยุสื่อสารที่ใช Echolink ประสานกับทางชุมชนปลายทางแลว ยังควร จะมี ฝ ายสื่ อที่ ทํ าหนาที่ ชั ดเจนอยางนอยหนึ่งคน ที่ ทําหนาที่ประชาสัมพันธ Information ทํา หนาที่เขียนขาว press ขาว ถึงการประสานงานกระจายขาวระดมของ ระดมอาสา ไมควรเอาไป รวมกับการกรองขอมูลชุมชน หรือ การติดตามขอมูลสภาพอากาศ เพราะที่จริงมันคนละเรื่องกัน และคนที่ทํางานก็ควรจะโฟกัสและลงมือเรื่องใดเรื่องหนึ่งใหชัด ถึงจะไดทํางานใหสุด ในขณะที่ ฝายขอมูลซึ่งทําหนาที่วิชาการ เตือนภัย ดูฝน หรือปรึกษาเรื่องเฉพาะทางก็ควรตองมีคนที่มาทํา หนาที่ที่ชัดเจน นอกจากนั้นการถอดบทเรียนองคกรทุกฝายทั้งหมดก็ควรจะทําไปพรอมกันๆ ระหวางทํางานไปในตัว ดานการบริหารและดานอาสาสมัคร แมวาจะไมคอยมีใครกลาวถึง แตทั้งสองสวนนี้ แทจริงเปนกําลังหลักในการทํางานเลยทีเดียว เราโชคดีที่มีผูใหญที่ชวยตัดสินใจโฟกัสภาพรวม และเปนที่ปรึกษาที่ดีกับอาสาสมัครที่มาชวยงาน ระบบยังมีคนที่มีประสบการณในการจัดการ อาสาสมัครที่มองเห็นภาพรวมทั้งหมดและรูขอมูลทุกฝายวาใครขาดแรงที่จะเขาไปชวยดานไหน


89

และชวย recruit skill ของอาสา ใชเวลาและทําความรูจักแตละคน ซึ่งเราก็ยังเจอปญหาเดิม คือ เราดูแลเคาไดไมทั่วถึง มีเวลาเรียนรูกันนอยเกินไป เลยรูจักอะไรจากเคาไมไดมาก ตองทํางาน ดวยกันไปสักพักถึงจะมองเห็นทักษะออกมาจากสถานการณ ซึ่งพวกเอามักจะแสดงตัวออกมา เอง แลวเราคอยชอนเขาไปเขางาน จากการสรุปยอย รอยเรียง Dynamic ความเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 ชวงที่กลาวมาคงจะ พอที่จะทําใหเห็นบรรยากาศในการทํางานไปบางแลววา ความเปนจริงในการทํางานนั้นคนที่มา ทํางานภายใตภาวะวิกฤติจะตองทําตัวเองใหมีความยืดหยุนสูง สามารถปรับตัวเขากับเงื่อนไข ในการทํ า งานที่ เ ปลี่ ย นแปลงอยู เ สมอ ผู เ ขี ย นคิ ด ว า บทเรี ย นจากการลองผิ ด ลองถู ก ใน ประสบการณที่ผานมาและบทเรียนจากการทํางานในครั้งนี้ คงจะชวยฉายภาพโครงรางการ ทํางานของศูนยที่จะทําหนาที่เปน back office ในภาวะวิกฤต ใหคนที่จะเขามาเปนอาสาสมัคร เดิ น หน า การทํ า งานในครั้ ง ต อ ไป มุ ง ไปข า งหน า ได ใ นเส น ทางที่ ชั ด เจนขึ้ น ด ว ยแผนที่ จ าก ประสบการณที่เรารอยเรียงไวใหในครั้งนี้แลว


90

บทที่ 2 Part by part กาวยางแตละกาว เลาแบบ Part by part เลาการทํางานของแตละฝาย โครงสรางการทํางาน ในเชิงขอแนะนําการ ตั้งศูนย เรื่อง ฝายที่ 1 มวลชน - ดานมวลชนสัมพันธ - ดานการสื่อสาร ฝายที่ 2 ทรัพยากร-logistic - ดานการจัดหาทรัพยากร - ดาน logistic ฝายที่ 3 ขอมูล-ขาว - ดานสื่อ / การเผยแพรขาว - ดานวิชาการ - การจัดการขอมูลภายในศูนย ฝายที่ 4 อาสาสมัคร - Volunteer recruit ฝายที่ 5 บริหาร - สิ่งที่ตองมีตอนเริ่มศูนย บทสรุปและแนวทางการปรับปรุงโครงสรางศูนยในอนาคต


91

ฝายที่ 1 มวลชน หนึ่งเดือนที่ผานมากับงานอาสาสมัครใน ”ศูนยอาสาประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ” ระบบการดําเนินงานหลักของศูนยนี้มาจากไอเดียหลักของ อ.ยักษ วิวัฒน ศัลยกําธร คนอื่นมองศูนยนี้อยางไรไมรู แตผูเขียนคิดวามันควรจะ “เปนศูนยทเี่ กิดขึ้นมาเพื่อไมใหเกิดศูนย” คือ มันควรจะเปนโครงขายที่ทั้งโยงและกระจาย ความชวยเหลือใหปลายทางชวยเหลือตัวเองได โดยระบบมันทํางานดวยตัวของมันเองคือ “ชุมชนทํางานใหชุมชน” ดวยการกระจายขอตอ (node) ประสานความชวยเหลือออกไป การประสานงานในลักษณะในแมงมุมจึงเริ่มขึ้นตั้งแตวนั แรกที่มีศูนย โดยศูนยจะเปนตัวแมงมุม สวนทีมคนทํางานชุมชนในพื้น (หนาบาน) ก็เปนไดทั้งใยแมงมุมและเปนขาแมงมุมที่ทําหนาที่โยงความชวยเหลือ ใหแตละที่มองเห็นทรัพยากรหรือกําลังที่จะแบงปนกันได การใชมวลชนสัมพันธและการสื่อสาร จึงเปน 2 สิ่งที่เราใชถักโยง เกี่ยวเอามาเปนเครื่องมือเบิกทางสูการใหความชวยเหลือชุมชนปลายทาง ดานมวลชนสัมพันธ การเข ามาของอาสาสมัครคนใตอยาง พี่มณจากระนอง พี่ยาจากตรัง พี่ ป ระยูรจาก น้ําเค็ม ซึ่งเปนแกนนําชาวบานที่มีทักษะในการทํางานเชื่อมโยง เหตุการณนี้เปนจุดสําคัญที่ทํา ใหศูนยสามารถตอติดกับคนที่ทํางานในพื้นที่ได เพราะพี่ๆ ทุกทานมีคุณสมบัติ คือ 1. รูจักสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมของชุมชน 2. มีความเขาใจในบริบทของพื้นที่และมีสายสัมพันธ (Connection) รูจักกับพี่นองในชุมชน เครือขายที่ทํางานดวย 3. เขาใจสภาพการเมืองของทองถิ่น มีคนรูจักที่สามารถสงตอขอมูลความตองการและ กระจายขาวสารไดอยางรวดเร็ว กลไกของการประสานงานที่มีอยูไมอาจขับเคลื่อนได ถาไมมีคนที่คณ ุ สมบัติเหลานี้เขามา ชวยงาน ดานการสื่อสาร ถัดจากมีมวลชนสัมพันธแลว การสื่อสารตามมา การเชื่อมโยงเทคโนโลยีเขากับทองถิ่น ผานการใชโทรศัพท social network และวิทยุสื่อสาร เปนอีกปจจัยที่ใชในการดําเนินงาน


92

จากการดํ า เนิ น งานในครั้ ง นี้ เ ราพบว า เทคโนโลยี เ ป น ตั ว เร ง ที่ ทํ า ให ค วามช ว ยเหลื อ เข า ถึ ง ผูประสบภัยไดมากขึ้น อยางที่กลาวไปแลวในบทที่ 1 เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตอง จึงตองมีการ ตรวจสอบขอมูลซ้ําใหตรงกันอยางนอย 2 ใน 3 จากเครื่องมือสื่อสารทั้ง 3 ชนิดที่แจงขอมูลเขา มา ซึ่งขอมูลที่ไดรับนั้นมีทั้งการรองขอความชวยเหลือรายบุคคลจากหนาเว็บ Thaiflood การ แจงเหตุของ node จากชุมชน และการสงขอมูลความชวยเหลือที่ไดรับกลับมายังสวนกลาง สําหรับการประสานงานกับปลายทางนั้นยิ่งอยูในภาวะฉุกเฉิน จํานวนการสงขอมูลเขา มาก็จะมีมาก และขอมูลก็จะมีความเปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก การสื่อสารทุกสายจึงตองมีการ ตรวจสอบขอมูลใหมีความถูกตองอยูเสมอ การทํางานจึงตองเปนระบบ คือ 1. ผูประสานงาน node ปลายทางที่รวบรวมขอมูลประเภทสิ่งของที่ตองการและจํานวน สิ่งของที่ตองการเปนจํานวนถุงยังชีพหรือจํานวนครัวเรือนไว 2. ผูประสานงาน node ปลายทางแจงขอมูลในขอ 1) แกผูประสานมวลชนที่กรุงเทพพรอม ทั้งตรวจสอบความถูกตองของขอมูลกับเครือขายในพื้นที่ 3. ประสานมวลชนที่กรุงเทพ สงขอมูลใหกับฝายทรัพยากรใหระดมสิ่งของ และเมื่อได สิ่งของมาฝาย logistic ก็จะสงสิ่งที่ตามที่แจงมาในขางตนลงพื้นที่ จากนั้นจึงโทรไปเช็ค ซ้ําวาไดรับตรงตามความตองการหรือไม อยางไร

รูปที่ 8 เสนทางการสื่อสารระหวางสวนกลางกับ node และชุมชน


93

นอกจากสื่อสารเพื่อประสานของบริจาคแลว เรายังมีการสื่อสารเพื่อเฝาระวังภัยพิบัติซ้ํา ที่จะเกิดตอเนื่องจากฝนที่ตกสะสมตอเนื่อง หลักในการทํางานก็จะเปนแบบเดียวกัน คือ รับสาร และเช็คซ้ํา โดย 1. เมื่อนักวิชาการ แจงขอมูลพื้นที่เสี่ยงภัย เชน โคลนถลม หรือ น้ําปาไหลหลาก มายัง ศูนย ศูนยก็จะใชวิทยุสื่อสาร ตรวจสอบสถานการณกับเครือขายวา มีความเสี่ยง เชน มี ฝนตกตอเนื่องหลายวันหรือไม น้ําในลําหวยมีความขุนจากตะกอนดินผิดปกติหรือไม พื้นดินเชิงเขามีรอยดินแยกหรือไม 2. หากเครือขายในพื้นที่แจงกลับมาวามีความเสี่ยงดังกลาว ทางศูนยจะขอใหทางเครือขาย ดําเนินการแจงเตือนประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย 3. ระหวางนั้นจะมีการตรวจสอบซ้ําวา ในพื้นที่มีการแจงเตือนหรือมีการดําเนินการอพยพ ชาวบานหรือไม ซึ่งหากเครือขายปลายทางตองการใหเราสนับสนุนเรื่องใด ก็จะมีการ แจงกลับมาในขั้นตอนนี้ 4. เฝาติดตามผล วาสถานการณเรียบรอยดีหรือไม หลังจากภาวะวิกฤตผานไปแลว ทาง ชุมชนมีความตองการอะไรเพิ่มเติม ก็ขอใหทางเครือขายแจงมา สําหรับการสื่อสารเพื่อเตือนภัยนั้น นายอนนต อันติมานนท เสนอสิ่งที่ควรปรับปรุงเพิ่มเติม 3 เรื่อง วา ‐ คําศัพทที่ตองใชตรงกันทุกฝาย เชน ฝนตกระดับ 5 หาของที่ศูนยกับของในพื้นที่ไมมีใคร เทากันเลย เพราะฉะนั้น เราควรจะเรียกหนวยที่ใชในการวัดใหเทากัน ‐ ควรมีการวางแนวการสื่อสารลวงหนาวา อะไรควรใชวิทยุสื่อสาร อะไรควรใชโทรศัพท อะไร ควรใชอินเตอรเนทเพราะเมื่อตองเช็คเหตุในพื้นที่ฉุกเฉิน มันจะสับสน และทุกขายจะตองมี ระบบสื่อสารสํารองทันที และตองมีหนวยในการประสานงานมากกวาหนึ่งจุดในพื้นที่ ‐ สวนในการบันทึกเหตุ ที่ผานมามีการบันทึกขอมูลไมครบถวน เชน ฝนตกเทาไรปริมาณ เทาไร จะสงผลยังไง ระดับน้ําจุดไหน มันควรจะมีขอมูลที่ถูกตองที่ชวยเทียบเคียงได เรามี ภาควิชาการอยูระดับหนึ่งก็จริง แตถาเราเปนขอมูลที่ทางหนึ่งที่ถูกตองจากที่เคยเกิดขึ้น มาแลวนี่มันจะเทียบเคียงได


94

ฝายที่ 2 ทรัพยากร-logistic หากอยูในภาวะปกติการระดมทรัพยากรคงจะตองทําหนังสือขอความอนุเคราะห แจงจุดประสงค เปาหมาย วิธีการดําเนินงาน เพื่อใหไดความรวมมือมาอยางเปนขั้นตอน แตเพราะความเดือดรอนไมเคยรอใคร และเพราะผูใ หเขาใจในภาวะฉุกเฉิน ทําใหเราไดรบั ความรวมมือจากแหลงทุนเปนจํานวนมาก ซึ่งมาจากความสัมพันธระหวางภาคี โดยเฉพาะภาคธุรกิจ ที่กาวขามเงื่อนไขและขอจํากัดตางๆ ทําใหการสงทรัพยากรตางๆเปนไปดวยความคลองตัว แสดงใหเห็นถึงพลังในภาคประชาชนอยางที่เกิดขึ้นในชวงที่ผานมา ดานการจัดหาทรัพยากร กระบวนการระดมทรัพยากรหลักๆที่เกิดขึ้นในศูนยมาจากการใชความสัมพันธสวน บุคคลระหวางภาคีเครือขายอาสาสมัครแตละคน จากทุนทางสังคมในความเชื่อใจและความ ไว ว างใจที่ มี ต อ กั น นํ า เอาสิ่ ง ที่ แ ต ล ะคนมี โ ยงไปให ค วามช ว ยเหลื อ สู ชุ ม ชนปลายทาง เป น ความสัมพันธในรูปแบบใหมที่ใชทุนทางสังคมซึ่งเปนทั้งกาวในการเชื่อมโยงความชวยเหลือเขา ไปถึงกัน และเปนทั้งเกียรที่ขับเคลี่อนการทํางานใหคลองตัวกาวขามกฏเกณฑที่สรางขั้นตอน ตางๆกั้นไวไปดวยพรอมๆกัน

ภาพที่ 9 ภาพแสดงทุนทางสังคมที่ใชในการโยงความชวยเหลือในภาวะภัยพิบตั ิ


95

ดาน logistic กระบวนการขนสง หรือ logistic นั้นประกอบดวย 2 สวนหลักๆ คือ 1) การประสานผู บริจาคในการขนของจากแหลงทรัพยากรจากโกดังหรือคลังตางๆ ไมวาจะเปนกรุงเทพ อยุธยา ไปยังจุดจัดการ(รวบรวม) ของบริจาคที่สนามบินหรือขนสงก็แลวแต 2) การแพ็คของบริจาคตาม ความตองการในพื้นที่แลวนับจํานวนใหตรงกับความตองการในพื้นที่แลวสงตอไปยัง node ปลายทาง ขอมูลความตองการความชวยเหลือที่ node ปลายทางจะเปนตัวกําหนดการระดม ทรัพยาการ วาตองการของประเภทไหน จํานวนเทาไร ซึ่งจากการขนสงของ เราพบวาสิ่งที่มี การสงลงไปมากที่สุดการ คือ อาหาร ทั้งขาวสารและปลากระปอง รองลงมา คือ ยาสามัญประจํา บาน ซึ่งกระบวนการขนสงจากแหลงหนึ่งไปยังอีกแหลงหนึ่งเปนดังนี้ 1. เริ่มจากผูประสานงานมวลชน โทรแจงยอดรวมความตองการความชวยเหลือในแตละ node จังหวัด มาที่ฝายทรัพยากร 2. ฝายทรัพยากรจะประสานการขนสงสิ่งของจากโกดังตางๆ ลงไปยังจุดขนสงของฝงกรุงเทพ 3. ณ จุดขนสงของฝงกรุงเทพ เมื่ออยูภาวะในเรงดวน เราไดใชการขนสงโดยเครื่องบินเปน หลัก จนเมื่อภาวะเรงดวนผานไปก็จะกลับมาใชรถบรรทุกตามปกติ ซึ่งการจัดลําดับความ ชวยเหลือใหกอน-หลังนั้น ผูประสานงานจะ recheck กับผูประสานงานวาสถานการณใน พื้นที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม จํานวนความตองการยังคงเทาเดิมหรือไม 4. เมื่อ node ปลายทางไดรับของ ก็จะมีการจัดหารถขนสงของไปแจกจายตามชุมชนตอไป

ภาพที่ 9 การขนสงของบริจาคในภาวะฉุกเฉิน


96

ฝายที่ 3 ขอมูล-ขาว การสื่อสารขอมูลและขาวตางๆ ในระยะเริม่ ตนการทํางานนั้นมีขอจํากัดหลายประการ เพราะเราขาดอาสาสมัครที่มีทักษะและประสบการณดานสื่อ และยังขาดคนที่จะคอยโฟกัสขอมูลทั้งดานวิชาการและการ press ขาว เพื่อที่จะสื่อสารขอมูลภายในไปสูภายนอก ใหรับรูวาสิง่ ที่เรากําลังทําคืออะไร ดังนั้น ในการทํางานครั้งหนา เราควรจะแบงเปนการสื่อสารภายในศูนย สื่อสารชุมชน สื่อสารสาธารณะ โดยที่แตและสวนจะตองมีอาสาสมัครที่รับผิดชอบและสงตองานกันอยางตอเนื่อง ดานสื่อ / การเผยแพรขาว การประชาสัมพันธและ press ขาว ประสานงานกระจายขาวระดมของ ระดมอาสาเปน กิจกรรมที่เพิ่งลงตัวหลังวันที่ 8 ของการดําเนินงาน ซึ่งงานภาวะฉุกเฉินไดผานไป จากการ ดําเนินงาน เราพบวา ไมควรเอาในสวนนีไ้ ปทําหนาที่รวมกับการกรองขอมูลชุมชน หรือ การ ติดตามขอมูลสภาพอากาศ เพราะที่จริงมันคนละเรื่องกันและเปนการแบกภาระเยอะเกินไป ทํา ใหทํางานไดไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร ดานวิชาการ ขอมูลทางอุตุนิยมวิทยา เชน ปริมาณน้ําฝน ความเร็วลม และความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับ ชุมชน ทั้งน้ําหลากและโคลนถลมเปนInformation ที่เราประเมิน ตรวจสอบ และแจงเตือนชุมชน ถาตรงนี้มีคนของพื้นที่เองเลยการประเมินและประสานเรื่องตางๆ ก็จะแมนยํามาขึ้น สําหรับการ ทํางานที่ผานมาอาสาสมัครในศูนยจะไมไดเปนคนทําขอมูลเชิงรุกดานความเสี่ยงจากภัยพิบัติ เอง แตทางศูนยจะไดรับความชวยเหลือจาก นักวิชาการทั้งดร.รอยล จิตรดอน ผูอํานวยการ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร และคุณไกลกอง ไวทยการ หัวหนาฝายสงเสริม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มูลนิธิกองทุนไทย ไดสงประมวลผลและแจงเตือนใหเรา แจงเตือนชุมชนอีกที การจัดการขอมูลภายในศูนย การจัดการขอมูลภายในศูนย เริ่มจากภายในหองยังมีการหอยปายบอกชื่อฝายไวเหนือ หัว เพื่อใหสะดวกกับอาสาสมัครที่เขามาใหมจะไดรูวาฝายไหนอยูตรงไหนของหอง จะไดไป ประสานงานถูกซึ่งเมื่องานเขามาเราจะใชกระดาษ Notepad เขียนขอความ 1 แผน ตอ 1 เรื่อง เพื่อสะดวกตอการมองหา เชน เรื่องที่แจงเขามา 1 เคส ก็เขียน 1 เรื่องนั้น ลงบนกระดาษ 1


97

แผน หรือมีผูที่ประสงคจะบริจาคเขามา 1 ราย เราก็จะบันทึกไวบนกระดาษ 1 แผนเชนกัน แลว กระดาษเหลานี้ก็จะถูกแปะอยูบนบอรดหรือผนังหองแบงตามหมวดหมูของภารกิจ เชน วันแรก ที่โดนน้ําหลาก เรามีบอรด 2 บอรดที่อยูคูกันคือ บอรดแจงขอความชวยเหลือ และ บอรดแหลง ของหนวยกูภัย สวนวันที่ 2 บอรด 2 บอรดที่ตามมาคูกันคือ บอรดความตองการของบริจาค (need) และ บอรดแหลงผูใหของบริจาค(Give) วันที่ 3-4 มีบอรดผูประสาน node แตละจังหวัด รวมถึงการอัพเดทรายการใหความชวยเหลือและความตองการที่ยังรอคอย นอกจากนั้นยังมีการ แปะบันทึกการประชุมรายวันที่ถอดบทเรียนรายวันเอาไวใหเห็นความคืบหนาดวย

รูปที่ 11 บรรยากาศและการจัดการขอมูลในศูนยโดยใช notepad สําหรับนักจัดการมืออาชีพอาจจะมีขอสงสัยวาทําไมเราไมใชฐานขอมูลในคอมพิวเตอร หรือใช server แชรขอมูลกัน ผูเขียนขอแจงวา เหตุผลที่เราใชการสื่อสารขอมูลภายในดวย hard copy อยางบอรดหรือกระดาษนี้ ก็เพราะชวงแรกๆ เราขาดคนที่จะทํางาน It support ทั้งการ ติดตั้งคอมพิวเตอร ปริ๊นเตอร เซ็ทวง LAN แตเรายังขาดสิ่งที่ตองการมากที่สุด คือ intranet ที่ จะใชเก็บขอมูลและแชรขอมูลตรงกลางใหเห็นไดทั่วกัน ซึ่งเราเคยขอความเรื่องนี้จากองคกรแหง หนึ่งไปแลว แตเคาก็ไมสามารถจะใหบริการเราใชได เพราะติดปญหาเรื่องลิขสิทธ เราจึงได สื่อสารกันแบบ manual กันทั่วทั้งหอง ซึ่งนั่นก็ทําใหการทํางานของเรามีสีสันและมีความเปน มนุษยไปอีกแบบ


98

ฝายที่ 4 อาสาสมัคร เมื่อคนหนึ่งคนเดินเขามาเราจะใหเขาไปชวยงานอะไร เมื่อคน 4 คน เดินเขามา เราจะใหเขาไปชวยตอมือไดที่ฝายไหน เมื่อคนกลุมใหญๆ เขามาพรอมๆกัน เราจะทําใหเขาเขาใจสิ่งที่เรากําลังทําไดอยางไร Volunteer recruit เปนคําตอบของจัดการอาสาสมัคร Volunteer recruit การทํางานนี้ตองมีคนที่มองเห็นภาพรวมทั้งหมดและรูขอมูลทุกฝายวาใครขาดแรงที่จะ เขาไปชวยดานไหน และยังตองมีคนที่ recruit skill ของอาสาเปน ไมปลอยอาสาทิ้ง ตองใหเวลา และทําความรูจัก เพราะแตละคน เพียงแวบแรก เรารูจักอะไรจากเคาไมไดมาก เมื่อทํางาน ดวยกันไปสักพักทักษะจะแสดงออกมาใหเห็นจากสถานการณ แลวเราคอยชอนเขาไปเขางาน บทเรียนในครั้งนี้เผยใหเห็นขั้นตอนในการจัดการอาสาสมัครวาประกอบดวย 1. ดานแรก ตองมีโตะรับอาสาสมัครตั้งอยูหนาหอง เพื่อใหอาสาสมัครที่มาใหมไดลงทะเบียน กรอกชื่อ ที่อยู อีเมล เบอรโทรศัพท สําเนาบัตรประชาชนไว เพื่อเก็บไวเปนบันทึกสําหรับ การติดตามงานและการระดมอาสาสมัครครั้งถัดไป 2. ดานที่สอง พออาสาสมัครเขียนในลงทะเบียนเสร็จ ก็จะมีการปฐมนิเทศพรอมๆ กันวาศูนย เราทํางานเพื่ออะไร มีการแบงฝายการทํางานอยางไร มีกระบวนการทํางานอยางไร ระหวาง นั้นเราก็จะดูการตั้งคําถามของอาสาสมัคร ระหวางนั้นก็อานทักษะหรือความสามารถของ อาสาสมัครไปดวยวาเคามีพื้นฐานดานไหน 3. ดานที่สาม ถามอาสาสมัครแตละคนวาสมัครใจที่จะชวยงานดานใด และงานดานใดที่มี connection ในการระดมทรัพยากร หรือมีความสามารถพิเศษอะไรบาง 4. ดานที่สี่ ใหเขาลงไปทํางาน โดยเริ่มจากไปชวยคนที่ทํางานเปนตัวหลักอยูกอนแลว ใหคนที่ เปนตัวหลักเปนพี่เลี้ยง สอนระบบการทําและการเก็บขอมูลเพื่อสงตองาน ระหวางนั้นก็คอย ดูวาเขามีปญหาที่ตองการใหเราชวยเหลืออยางไรบาง หรืออบรมเฉพาะทางใหถาเคาพรอม 5. ดานที่หา เมื่อเสร็จภารกิจก็จัดการถอดบทเรียนอาสาสมัครรวมกัน แตจากการจัดกิจกรรม ไปแล ว เราก็ พ บว า อาสาสมั ค รยั ง ไม ไ ด รั บ การให ค วามสนใจเท า ที่ ค วร อาจเป น เพราะ กิจกรรมของเราสั้นและเราแจงการนัดประชุมกระชั้นเกินไป สําหรับการปรับปรุงการสงตองานของอาสาสมัครซึ่งจรมาและจรไปใหตอเนื่องนั้น มีผู เสนอความคิดวา ควรจัดตารางคนทํางานและแจงใหทราบเพื่อทราบเวรและงานในระยะยาว ควรจะมีการทําแฟมงานแตละ job หรือแตลพื้นที่ เหมือน log book ที่ใชบันทึกในการใชวิทยุ สื่อสาร ใหที่คนที่เขามาทํางานตอไดรูงานที่ทํามาแลวและเอาขอมูลมาทํางานไดทันทีไมตอง เสียเวลาไปคนหาดวยตัวเอง


99

บทที่ 5 บริหาร สํ า หรั บ การบริ ห ารจั ด การในศู น ย นั้ น เราโชคดี ที่ ไ ด ผู ใ หญ ม าช ว ยให ทํ า ปรึ ก ษาและ ตัดสินใจ โดยทําหนาที่โฟกัสภาพรวมแลวใหสิทธิ์การจัดการแกอาสาสมัครที่เยาวกวา โดยไมมี บทบาทแทรกแซงมากเกินไปไป มอบอํานาจการตัดสินใจใหคนทํางานอยางเต็มที่ ซึ่งการบริหาร จัดการศูนยนั้นยอมขึ้นอยูกับอัตลักษณของแตละคนที่มาทํางานบริหารอยูแลว บทความในสวน นี้จึงขอเสนอการเตรียมอาสาสมัครและอุปกรณที่จะใชในการบริหารศูนย เพื่อที่จะเปนคูมือใน การตั้งศูนยสําหรับการจัดการครั้งถัดไปนาจะเกิดประโยชนในเชิงรูปธรรมตอคนที่อาจตองเผชิญ ภาวะนี้อีกครั้งอยางแนนอน นอกจากทํางานกวางๆที่มีฝาพนังใหแปะงานและมีกระดานแลว วัสดุ อุปกรณสํานักงาน และอาสาสมัครแตละฝายที่เพียงพออยางนอยที่สุดควรจะมีในการเริ่มทํางานครั้งตอไปดังตาราง จํานวนอุปกรณที่ตองการในการเริ่มศูนย อุปกรณ จํานวน (ชิ้น) โตะประชุม 6 คอมพิวเตอร 4 Printer 2 Projector 1 โตะทํางาน 8 เกาอี้ 15 โทรศัพท 5 FAX 1 โทรทัศน 5 แผนที่จังหวัด n/a ปากกา/ดินสอ 30 Scotch tape 5 กระดาษ 3 รีม Flip board 3 high speed internet 2 ปลั๊กไฟ 5 Post it >10

จํานวนอาสาสมัครที่ตองการในการเริ่มศูนย อาสาสมัคร ฝายชุมชน ฝายสื่อสาร ฝายขาว ฝายวิชาการ ฝายทรัพยากร ฝาย logistic ฝายอาสาสมัคร ฝายสวัสดิการดูแลขาว/น้ํา ธุรการ / การเงิน

จํานวน (คน) 3 1 1 1 2 3 2 1 1


100

สวนเอกสารทีท่ างศูนยจะตองมีไวใชในการทํางานควรจะเริ่มดวย 1. ใบลงทะเบียนอาสาสมัคร รายละเอียดประกอบดวย ชือ่ เบอรโทร อีเมล ความถนัด เวลาสะดวก และมาจาก เครือขาย 2. เอกสารติดตามการขนสง เชน ตารางสายการบิน เวลาเครื่องออก การประสานรถที่จะขนสงสูป ลายทาง เพราะการ ของตองไปถึงกอนสนามบิน 3 ชั่วโมง การติดตอคนชวยขนของกอนเวลาเครื่องออก 4 ชั่วโมง ตองมีการประสานงานคนรับของที่สนามบินขาไปและปลายทาง โดยทราบชื่อ และ เบอรโทร เพื่อประสานงาน ขนสงทางรถติดตอจุดสงของและปลายทาง กําหนดจํานวนและ เวลา คนปลายทางที่จะมารับใหเบอรโทรทั้งสองฝายเพื่อติดตอกัน รายละเอียดของการ ขนสง ประกอบดวย - ประเภทของรถ (กระบะ 1-3 ตัน, รถ 6 ลอ 12-15 ตัน, รถ 10 ลอ 17-20 ตัน) - เวลาขนของ โดยประสานงานกับเจาของรถ และสถานที่ที่ไปรับ โดยใหเบอรทั้งสอง ฝาย เพราะอยางในกรุงเทพ รถ 10 ลอ จะมีปญหาในการวิ่งกลางเมืองกรุงเทพ เชน สี ลม สุขุมวิท ฯ - สถานที่ตาง ๆ เพื่อระบุเสนทางการเดินทาง เพื่อประหยัดเวลาและคาใชจาย - ขึ้นตารางของบริจาค ใหทราบน้ําหนัก เพื่อจัดรถใหอยางเหมาะสม เตรียมเอกสารที่ บรรจุไป และลงรายละเอียดสินคา รวมถึงคนปลายทาง โดยกําหนดคนรับ ทราบเบอร 3. เอกสารสําหรับฝายทรัพยากร - การหาของบริจาคตามตารางความตองการ / บันทึกของบริจาคและเงินสนับสนุน - ขึ้นกระดานและประสานงานกับการขนสง / บันทึกความตองการและปญหาของแตละ พื้นที่ - list เบอรโทรศัพทเครือขาย ฯ - list เบอรโทรศัพทผูสนับสนุน และ supplier 4. การจัดการของบริจาคและการขนสง - ตารางความตองการ แยกประเภทของ จํานวนที่ชัดเจนและพื้นที่ทตี่ อ งการ พรอม จํานวนคนที่เดือดรอนโดยมี ชื่อผูแจง เบอรโทร สถานที่หรือพิกัดที่ตองการ สินคาที่ ตองการ - ตารางสินคาทีบ่ ริจาค ระบุสินคา น้ําหนัก จํานวนชิ้น น้ําหนักรวม เพื่อสะดวกในการ ขนสง


101

- ระบุการขนสง วาสงมาเองพรอมคนที่ขนของหรือไม หรือใหเราดําเนินการขนหากให เราดําเนินการขนสง ติดตอหนวยหาของสนับสนุน เพือ่ ประสานกับคนที่ปลายทางที่ ตองการของขอทราบเบอรคนประสานงาน สถานที่และเวลาทีส่ ะดวก - ติดตามสินคาและการสงสินคา โดยมีเอกสารกํากับเปนรายละเอียดของ เพื่อใหตรงกับ ความตองการ ทําตารางการเดินทางและการขนสง โดยระบุสินคา คนติดตอปลายทาง คนที่ดูแลที่สนามบินวันนั้น บันทึกปลายทางรับของ รวบรวมตามเอกสารขึ้นตารางตาม วัน - นอกจากนั้นควรมีการถอดความรูเรื่องการแพคของบริจาควา ในสถานการณภัยไหน ควรแพคของที่จําเปนอะไรไปใหบาง และของแตละชนิดความมีจํานวนเทาไร ควรมี ปริมาณเทาไร ควรมีน้ําหนักเทาไร จึงจะเหมาะสมกับการขนสงและตอบสนองความ ตองการของผูประสบภัย - ตารางเงินที่บริจาค ระบุวันที่ เวลา ชื่อคน เบอรโทร เปาหมาย เพื่อดําเนินการ บทสรุปและแนวทางการปรับปรุงโครงสรางศูนยในอนาคต จากการระดมสมองเพื่อถกกันวาหากจะตองมี warroom ที่ประสานงานกับชุมชนใน ลักษณะ node แบบนี้อีก เราควรจะแบงฝายในการทํางานอยางไร เราก็ไดขอสรุปวา ควรมีอยาง นอยที่สุด 5 ฝายแบบนี้ ถือวาโอเคแลว แตถามีอาสาสมัครที่มีศักยภาพและมีจํานวนเพียงพอ (เนนวามีคนพอ) สําหรับทํางานระยะยาวหรือลงลึกไปกวานั้น เราควรจะแบงฝายในการทํางาน ออกเปน 10 ฝาย คือ 1. ฝายวิชาการ ดูแผนที่อากาศ รับขาว ประเมินความเสี่ยง หากสามารถทําไดควรจะจัดอบรมใหทุกคน ทั้งชาวบานและอาสาสมัครมีความรูดานการภูมิอากาศ ภูมิศาสตรและสื่อสารกันใน หนวยมาตราวัดเดียวกัน ไปจนถึงการติดตามขอมูลเพื่อเฝาระวังความเสี่ยงและ ตัดสินใจที่จะจัดการตนเองทั้งการปองกันภัยและการอพยพ โดยไมตองรอคําสั่งจาก ภายนอก 2. ฝายประชาสัมพันธ (PR เขียนขาว) ทําหนาที่กรองขาว รายงานขาวที่ไดรับจากภาคชุมชน กระจายไปยังสื่อสาธารณะวาเรา ทําอะไร กระจายความตองการ ไดรับของมาจากไหน ไดสงของไปไหน จํานวนเทาไร ชี้แจงเรื่องการเอาความชวยเหลือไปใช 3. ฝายขอมูล-ชุมชน ทําหนาที่ประสานงานองคกรพื้นที่ – เชื่อมโยงอํานาจจากสวนกลาง หากเปนไปไดควร ทํา map เครือขาย ชี้ใหเห็นความสัมพันธระหวางพื้นที่และประเด็นตางๆ โดยระบุ key


102

4.

5.

6.

7.

person วา คนติดตอที่ชื่อนี้ติดตอเรื่องอะไร สายใด โดยทําเปน plate เปน Area base เปนจังหวัด เปนทั้งแผนภาพ ไฟลงาน และทําเปนแฟม hard copy เชน เคส สุราษฏรธานีธานี ก็แฟมสุราษฏรธานีธานี เคสนครศรีธรรมราชก็แฟมนครศรีธรรมราช รายงานขอมูลขอเท็จจริงตางๆ เพื่อสะดวกที่สําหรับคนที่จะมาทํางานตอมือกัน ฝายทรัพยากร มีหนาที่หลัก คือ ระดมทรัพยากรจากแหลงทุน ประสานนําเขา สงตอทรัพยากรที่ไดไป ให logistic ซึ่งสําหรับการทํางานอีกในครั้งหนา เราคิดวาเราพบ Sequence จาก ประสบการณเดิมในครั้งนี้อยูแลว เราควรจะเตรียมการลวงหนาในพื้นที่เสี่ยง โดยเฉพาะ การประสานแหลงทุนหรือทรัพยากรในพื้นที่โดยมีการทําบัญชีเครือขายผูให (บริจาค) หรือมีกองทุนสําหรับชวยเหลือผูประสบภัย โดยกลุมคนที่ keep connection ใหรวมกัน ดวยประสบการณรวมในครั้งนี้ keep paper เอาทั้งคนและชุดความรู สําหรับ ปะติดปะตอประยุกตใชใหมในภาวะฉุกเฉินครั้งถัดไป ฝาย logistic ทําหนาที่จัดสงทรัพยากรจากแหลงทุน ไปยังจุดขนสงกรุงเทพ และประสานทรัพยากร จาก Node ไปสูปลายทาง ซึ่งการทํางานในครั้งถัดไปจะตองจัดลําดับพาหนะตาม ความสําคัญในการขนสง เชน จะใชเครื่องบิน ก็ตอเมื่อเสนทางเดินรถถูกตัดขาด ชุมชน ประสบภัยหนัก ตองการความชวยเหลืออยางเรงดวน ของที่จะสรางความเสียหายกับ เครื่องบินไวสงทางรถตามไปทีหลัง ฝายสื่อสาร (Communication) เปนฝายที่มีคนประจําเครื่องมือสื่อสาร ประสานวิทยุสื่อสาร ดูแลเครื่องมือสื่อสาร การ ทํางานครั้งตอไปจะตองกําหนดวาการสื่อสารประเภทใดเรื่องใดใชอุปกรณใดสื่อสาร เชน โทรศั พท ใ ชแจ งของอาหาร ขาวสาร นม, วิท ยุสื่อสาร ใช คุ ยแจ งการเตือนภัย เสื่ยง, Twitter ใชเช็คขอมูลการไดรับความชวยเหลือ คิดเหมือนกันครับจริงๆแลว มันควรจะมีใครแตละฝาย อยางฝายวิทยุที่ผมทําเนี่ย ขอมูล สงตอสถานการณสี่หาวันกอนที่ผมจะมาเนี่ยไมมี วาสามารถประสานงานที่ไหนไดบาง ซึ่งศักยภาพในการทํางานมันจะลดลงทันทีเลยเพราะมันไมรู ทีนี้ขอมูลพื้นฐานที่ทุกฝาย ตองมีอยางแฟมเนี่ย ขอมูลทางภูมิศาสตรมันควรจะมีทีมละชุดจะไดไมตองแยงกันดู มัน จะลดเวลาไปไดเยอะ ฝายอาสาสมัคร ทําหนาที่ recruit อาสาสมัครที่ walk-in เขามาใหไปถึงงานที่มีความตองการคนที่มี ทั ก ษะนั้ น การทํ า งานในครั้ ง หน า ควรมี presentation แนะนํ า อาสาสมั ค ร หรื อ มี โครงสรางที่ชี้แจงใหเคาเขาใจอยางชัดเจน Facebook แสดงโครงสรางใหเขาใจลวงหนา กอนอาสาเดินเขามาจะชวยลดเวลาในการสรางความเขาใจเรื่องศูนยของอาสาสมัคร ดวย


103

8. ฝายที่ปรึกษาประจําศูนย / อาสาเฉพาะทาง เชน แพทยที่ใหคําปรึกษาในภาวะที่ วิกฤตถึงชีวิต นักวิชาการดานอุตุนิยมวิทยา นักภูมิศาสตรที่ใหคําปรึกษาเรื่องแผนที่ ฝายเทคโนโลยี IT-support ดูแลอุปกรณ ทั้งโทรศัพทดาวเทียม และคอมพิวเตอร 9. ฝายธุรการและการเงิน ทําหนาที่ดูแลการใชเงินเพือ่ บริหารศูนยอาสาสมัครและการใชจายเงินบริจาค สราง ความโปรงใสในการใชเงิน โดยแจงวารับมาเทาไร ไปเทาไร ถึงไหนเทาไร รวมไปถึง อาจจะไปชวยคิดเรื่องการจัดการเงินเพื่อฟนฟูตนเองในระยะยาวของชุมชนตอไป 10. ฝายบริหาร ฝายเบรก และ ฟนธง ทําหนาที่ดูแลการดําเนินงานในภาพรวมของศูนยอาสาสมัคร ในอนาคตควรจะกําหนด วัฒนธรรมการทํางานใหมีการประชุมทั้งชวงเชาและชวงเย็นเปน Morning brief และ night brief อยางตรงเวลาและสม่ําเสมอ นอกจากนั้นยังจะตอง Chart organization โยง วาใครเชื่อมอะไรอยู เพื่อที่อาสาสมัครที่มาใหมจะไดทราบวาตองวิ่งไปหาวาใครสายไหน พัฒนาตอจาการ Post-it บนผนังซึ่งมองหาความเชื่อมโยงไมออก สําหรับการทํางานใน ฝายนี้ เราตองการคนที่มีประสบการณการทํางานในภาวะวิกฤตที่มที ักษะในการบริหาร คือ สามารถขับเคลื่อน เบรก ตัดสินใจ และฟนธงในงานตางๆ ไดอยางแมนยํา พรอมทั้ง มีสติในการทํางานดวย ซึ่งสําหรับฝายทั้งหมดที่กลาวมาผูเขียนคิดวา เราควรจะมีการตั้งวงเพื่อนที่มีสัญญาใจ รวมกันในอนาคต หากเกิดภาวะวิกฤตเชนนี้แลว เราจะมารวมตัวกัน ชวยเหลือกันแบบนี้อีก ผูเขียนขอตั้งชื่อกลุมที่เกิดขึ้นและจะเกิดขึ้นจาก warroom นี้วา “กลุมเพื่อนยามวิกฤต หรือ Crisis friend” เพื่อที่จะยึดโยงความทรงจําดีๆที่เราเคยสรางรวมกันไว และถามีภาวะที่ตองการ เราอีกเมื่อไร เราจะกลับมารวมตัวกัน


104

รูปที่ 12 กลุมเพื่อนยามวิกฤตทั้ง 10 ฝาย


105

(ราง) ขอเสนอเบื้องตนแผนงานปฏิรูปการจัดการน้ําอีสาน คณะอนุกรรมการปฏิรูปที่ดิน ทรัพยากร สิ่งแวดลอม และน้ํา


106

(ราง) ขอเสนอเบื้องตนแผนงานปฏิรูปการจัดการน้ําอีสาน คณะอนุกรรมการปฏิรูปที่ดิน ทรัพยากร สิ่งแวดลอม และน้ํา 1.หลักการและเหตุผล ทําไม ปฏิรูปประเทศไทย ตอง ปฏิรูประบบการจัดการน้ํา? น้ํา เปนสิ่งที่ขาดไมไดสําหรับทุกชีวิต มนุษยเปนผูมีสวนสําคัญที่ทําใหสมดุลของน้ําบน โลกเสียไป มนุษยใชน้ํามากเกินกวาความจําเปนพื้นฐานที่ควรจะใช กิจกรรมหลายๆ อยางของ มนุษยแยงน้ําไปจากปา แยงน้ําไปจากปลา และสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น และนับวันมนุษยจะเขาใจเรื่อง น้ําที่เชื่อมโยงกับฐานทรัพยากรอื่นนอยลงเรื่อยๆ หลายกรณีก็แกลงทําเปนไมรูไมชี้ หรือหา เหตุผลอื่นๆ มากลบเกลื่อน บายเบี่ยงเพื่อแยงน้ําไปจากสิ่งมีชีวิตอื่น หรือแยงไปจากมนุษยดวย กันเอง เพื่อผลประโยชนของกลุมตน น้ําบนโลกไมไดมีมากขึ้นหรือนอยลง แตวัฏจักรที่น้ําเคยหมุนเวียนเปนไอน้ํา น้ําแข็ง และของเหลวอยางสมดุลในระบบตางหากที่ผิดเพี้ยน ทําใหดูเสมือนวาทําไมบางพื้นที่แหงแลง ขึ้น แลงยาวนานขึ้น หรือบางแหงกลับมีน้ํามากเกินไปจนทวมซ้ําซาก หรือไปทวมเอาชวงเวลาที่ ไมควรจะทวม เปนตน เราคงปฏิเสธไมไดวากิจกรรมของมนุษยเปนสวนสําคัญที่ทําใหสิ่งเหลานี้ เกิดขึ้น ปญหาจึงใหญโตเกินกวามนุษยเพียงคนเดียว หรือประเทศหนึ่งๆ จะแกไขไดทั้งหมด แต อย า งน อยหลายๆ ชุ ม ชนบนโลกใบนี้ ก็ไ ดเ ลือ กใช วิ ถีชี วิ ต ที่เ อื้อ อํา นวยต อธรรมชาติ ม ากขึ้ น ดํารงชีวิตที่สมดุลอยูบนพื้นฐานของศักยภาพทรัพยากรที่ตนเองมี รวมไปถึงทรัพยากรน้ําที่เปน เรื่องสําคัญตอชีวิตและการผลิตอาหาร สถานการณปญหาในปจจุบัน การทบทวนอดีต หันกลับไปมองภูมิปญญาดั้งเดิม จึง ไมใชการจํายอม การสิ้นไรหนทาง หรือ การขาดซึ่งเทคโนโลยี แตเปนการมองอยางเขาใจวา บรรพบุรุษของเราอยูรอดมาไดอยางไรนับพันๆ ปทามกลางฝนแลง น้ําทวม โดยที่การจัดการใน อดีตนั้นไมไดมีเทคโนโลยีชั้นสูงอะไร แตมีปญญาที่จะเขาใจสภาพพื้นที่ เขาใจพฤติกรรมของน้ํา เขาใจรอบวัฏจักรของฤดูกาล แลวนํามาวางแผนจัดการชีวิต และจัดการการผลิตใหสอดคลองกับ สภาพดังกลาว จนกลายเปนวิถี มีการสั่งสม วิวัฒน สืบทอด จนกลายเปนวัฒนธรรมที่เชื่อมโยง ระหวาง มนุษย ธรรมชาติ และปรากฏการณเหนือธรรมชาติ หรือเรียกอยางสั้นๆ วา “นิเวศ วัฒนธรรม, ภูมินิเวศ หรือ ภูมิสังคม” แลวแตจริตจะนําไปใช แตความหมายก็คลายๆ กัน คือ ความเขาใจพัฒนาการของสังคมมนุษยผานความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษย มนุษยกับ ธรรมชาติ และมนุษยกับสิ่งเหนือธรรมชาติ


107

ดังนั้น ในภาคเหนือจึงมีระบบเหมืองฝายที่เหมาะสมกับพื้นที่สูงที่เต็มไปดวยปาเขาและ ภูดอยสลับซับซอน มีพื้นที่ราบนอย การมีลําเหมืองลัดเลาะไปตามไหลเขาซึ่งรับน้ํามาจากลําน้ํา ที่ ท ดให สู ง ขึ้ น เล็ ก น อ ยโดยฝายพื้ น บ า นที่ ทํ า มาจากวั ส ดุ ธ รรมชาติ เพื่ อ ส ง ไปตามลํ า เหมื อ ง กระจายไปสูแปลงนาเล็กๆ ตั้งแตที่สูงจนถึงที่ลุมควบคูกับการรักษาตนน้ํา ปาเขา นับเปนระบบ ที่เหมาะสม ขณะที่ภาคอีสานเปนพื้นที่แลงนาน เปนที่ราบกวางใหญสลับกับเนินดินเนินเขา เล็กๆ ตนน้ําของอีสานจึงไมไดมาจากบนภูสูงเทานั้น แตมาจากทุกพื้นที่ น้ําอีสานมาเร็ว ไปเร็ว และมีพื้นที่หลากทวมในฤดูฝนตามริมแมน้ํา และปากแมน้ําเชนปาบุง ปาทาม แตเกือบทั้งหมด ไหลไปลงแมน้ําโขง การจัดการน้ําของอีสานจึงมีความหลากหลายสูงมาก ตั้งแตการเลือกใชพันธุ ขาวที่อายุสั้นเก็บเกี่ยวเร็วในพื้นที่ดอน การเลือกใชความสูงของคันนาหลายระดับเพื่อเก็บน้ํา การทําฝายดิน ลําเหมือง ทํานบเบนน้ํา-เก็บน้ํา ระหัดวิดน้ํา การใชน้ําจากบึง หนอง บุง กุด เพื่อ ทํานาทาม รวมถึงการขุดสระ หรือ ตะพัง ในชุมชน เพื่อเก็บน้ําไวใชสอยในครัวเรือน การรอง น้ําฝนไวกิน และการขุดบอน้ําตื้นไวใช เปนตน สวนภาคกลางนั้นเปนที่ราบลุมดินตะกอนกวาง ใหญ สวนใหญเปนดินเหนียวอุมน้ําดี การรับน้ําหลากในหนาน้ํา แลวเลือกใชพันธุพืชที่สามารถ อยูกับน้ําไดเปนภูมิปญญาที่นาอัศจรรย โดยเฉพาะขาวขึ้นน้ําที่เปนพันธุขาวที่ดีที่สุดพันธุหนึ่ง ของโลก คือ ปนแกว การยกรองสวนที่เปนทั้งพื้นที่รับน้ํา ระบายน้ํา และเก็บน้ําไวใชในหนาแลง ไปในตั ว รวมถึ ง การขุ ด คลองเชื่ อ มต อ ในทุ ก พื้ น ที่ เ พื่ อ เก็ บ น้ํ า ระบายน้ํ า และเป น เส น ทาง คมนาคม การสรางเรือนยกพื้นใตถุนสูง ซึ่งเปนการแสดงใหเห็นถึงความออนนอมตอธรรมชาติ เปนภูมิปญญาที่มากกวาการจัดการน้ํา สวนภาคใตและภาคตะวันออกมีลักษณะที่คลายคลึงกัน คื อ มี ป ริ ม าณน้ํ า ฝนสู ง มี แ ม น้ํ า สายสั้ น ๆ ที่ ไ หลลงมาจากเทื อ กเขาแล ว ไหลลงทะเล มี พื้ น ที่ เชื่อมตอระหวางทะเลกับน้ําจืดเปนปาชายเลน ปาพรุตามที่ลุมและปากแมน้ํา ในอดีตการทํามา หากินตามฤดูกาลและเก็บเกี่ยวผลผลิตจากธรรมชาติเปนสิ่งที่เพียงพอแลวสําหรับพื้นที่ดังกลาว แมจะมีการปลูกพืชเพื่อขายเปนรายไดบางก็เปนพืชยืนตน เชน มะพราว ทุเรียน มังคุด และไม ผลอื่นๆ ที่ชาวบานปรับปรุงพันธุมาจากพืชดั้งเดิมมานับรอยๆ ป และก็เปนรูปแบบการผลิตที่ ผสมผสานเปนสวนเดียวกับปาธรรมชาติจนแยกแทบไมออกเชนสวนสมรมของภาคใต เปนตน จากที่กลาวมาทั้งหมดสะทอนใหเห็นวาการจัดการน้ําไมไดแยกออกจากการจัดการชีวิต การจั ด การระบบการผลิ ต และการจั ด การร ว มกั บ เรื่ อ งอื่น ๆ ซึ่ ง เป น การจั ด การรวมหมู แ ละ กระจายศูนย ตั้งแตระดับครัวเรือน ชุมชน หลายๆ ชุมชนรวมกัน และการจัดการในระดับลุมน้ํา ทั้งการรักษาตนน้ํา การฟนฟู การจัดสรรน้ํา และการชําระขอพิพาทเรื่องน้ํา ดังเชนในภาคเหนือ ซึ่ ง มี ก ฎกติ ก าที่ ทั้ ง หมดต อ งเคารพร ว มกั น คื อ การไม ล ะเมิ ด ต อ ธรรมชาติ จ นเกิ น พอดี แต หลังจากเรารับเอาแนวทางการพัฒนาประเทศจากตะวันตกเขามาพรอมกับความทันสมัย และ การจัดการแบบรวมศูนยอํานาจ ทําใหศักยภาพของชุมชนและทองถิ่นในการจัดการลดนอยลง ตลอดมา อํานาจในการจัดการ การกําหนดนโยบาย การใชงบประมาณ เพื่อสรางสิ่งแปลกปลอม ทางน้ําเกิดขึ้นนับหมื่นๆ แสนๆ โครงการ โดยมองไมเห็นหัวประชาชนผูอยูติดกับดินกับน้ํา การ ผูกขาดความรูในการจัดการ การเจาะจงเลือกใชเทคโนโลยีผานความเชี่ยวชาญทางชลศาสตร


108

และวิศวกรรมทางน้ํา วิศวกรรมชลประทาน ตามแบบแผนของการศึกษาสมัยใหมในตะวันตก ยิ่ง เบียดขับและเหลือชองทางใหภูมิปญญาดั่งเดิมนอยลงทุกที และสิ่งเหลานี้เองที่ไปทําลายระบบ นิเ วศลุมน้ําอยางมากมาย กลุมผูคนที่มุงหวั งเอาน้ําไปใชเ พื่อการเติบโตทางเศรษฐกิ จแบบ อุตสาหกรรมนํา ไดแยงเอาน้ําไปจากชาวไรชาวนาจนสุดจะทานทนในปจจุบัน การพัฒนาแหลง น้ําที่ใชงบประมาณมหาศาลในหวงเวลา 50 ปที่ผานมา จึงวนเวียนอยูที่การขุดลอกแมน้ําลําหวย การทําคันดินและถนนเลียบแมน้ําลําคลอง การสรางเขื่อน อางเก็บน้ํา คลอง ฝาย ประตูน้ํา และ มุ ง ไปสู ก ารผั น น้ํ า ข า มลุ ม น้ํ า ในอนาคต เพื่ อ รองรั บ การเติ บ โตของชุ ม ชนเมื อ ง การพั ฒ นา อุตสาหกรรม และเกษตรอุตสาหกรรม รวมถึงน้ําเพื่อผลิตกระแสไฟฟาดังเชนกรณีการผลักดัน ใหมีการสรางเขื่อนในแมน้ําโขง และแมน้ําสาละวินของการไฟฟาฝายผลิตฯ สิ่งที่เกิดขึ้นทั้งหมด อยูภายใตการจัดการของกลุมคนเพียงหยิบมือที่ดูเหมือนวาไดกลายเปนเจาของน้ําทั้งประเทศ ไปแลว ไดแก กรมชลประทาน การไฟฟาฝายผลิตฯ และกรมทรัพยากรน้ํา แตทั้งหมดมักจะไมรับผิดชอบใดๆ เมื่อเกิดภาวะวิกฤตขึ้น เชน เมื่อยามใดที่เกิดภัยแลง น้ําในเขื่อนไมพอก็อางวาฝนตกนอย เขื่อนไมมีน้ําพอสําหรับทั้งปนไฟ เกษตรกร เมือง และ อุตสาหกรรม ดังนั้น กลุมคนที่ถูกบังคับใหเสียสละชั่วนาตาปก็คือกลุมที่มีอํานาจตอรองนอยที่สุด นั่นคือชาวนา ในกรณีภาคกลางและภาคตะวันออกจะชัดเจนมาก จะมีการประกาศงดการปลอย น้ําและใหเกษตรกรงดทํานาปรังอยูเสมอ เพื่อรักษาน้ําไวใหเมืองและอุตสาหกรรม รวมทั้งปนไฟ ในภาคตะวันออกอางเก็บน้ําใหญๆ จะถูกจัดการโดยบริษัทเอกชนที่จายสัมปทานใหกับรัฐและสง น้ําไปขายตอเอากําไร และลูกคาที่มีกําลังจายไดก็ไมพนเมืองและอุตสาหกรรม น้ําจึงแทบไม เหลือมาถึงเกษตรกรชาวไรชาวสวน แมในภาวะน้ําทวม พื้นที่ซึ่งตองรักษาเอาไวไมใหประสบ ภัยก็คือ เมือง แหลงการคา และอุตสาหกรรม การทําใหเมืองปลอดภัยคือการสรางทํานบ การทํา พนังกั้นน้ําริมตลิ่งแมน้ํา การสรางทางเบนน้ําออกไปใหพนเมือง การปดประตูน้ําไมใหน้ําไหลเขา คลองมาในเมือง การตั้งสถานีสูบน้ําออกจากเมือง และเมื่อเมืองปลอดภัย เรากลับพบวาผูที่จม อยูใตบาดาลก็คือเกษตรกร ชาวชนบทและพื้นที่เกษตรกรรมที่อยูนอกเมืองนั่นเอง หากการจัดการน้ํายังเป นเชนทุกวันนี้ ในอนาคตก็ค งไมมีใครทําอาชีพเกษตรกรรม เพราะตองถูกบังคับใหเสียสละตลอดเวลา ทั้งยังมีความเสี่ยงสูง (ทั้งจากน้ําทวม ฝนแลง และ ราคาตกต่ํา) ชาวนามีอํานาจตอรองนอย เชน กรณีชาวบานรอบพื้นที่หนองหานกุมภวาป จ. อุดรธานี หนึ่งในโครงการโขง ชี มูล ที่ลมเหลว เรียกรองใหเจาหนาที่สูบน้ําออกจากพื้นที่น้ําทวม ขังเขาไปยังอางเก็บน้ํา และเปดประตูระบายน้ําจากอางลงสูแมน้ําใหญ เพราะน้ําทวมนาเสียหาย หนวยงานที่เกี่ยวของก็จะอางวา ไมมีงบประมาณสําหรับจายคาสูบน้ํา และเปดประตูน้ําไมได ตองไดรับการอนุมัติจากผูบังคับบัญชาในกรุงเทพฯ สิ่งเหลานี้เกิดขึ้นซ้ําซากมานับ 10 ป ตั้งแต โครงการนี้ดําเนินการมา การจัดการน้ําแบบผูกขาด รวมศูนย และความถือดีของหนวยงานที่เกี่ยวของกับน้ํา เปน ตัวการสําคัญในการทําลายระบบนิเวศลุมน้ํา ทําลายวิถีชีวิต วิถีการผลิต และภูมิปญญาของ ประชาชน การกาวไปขางหนาโดยโครงสรางเหลานี้ยังดํารงอยู ไมสามารถนําไปสูการสราง


109

ความเปนธรรมและการลดความเหลื่อมล้ํา ลดอํานาจรัฐ และเพิ่มอํานาจประชาชนใหเปนจริงได ขณะที่แนวคิดการกระจายอํานาจไปสูองคกรปกครองสวนทองถิ่น ก็ยังไมสามารถเปนความหวัง ไดมากนัก เพราะยังถูกครอบงําจากรัฐผานกระทรวงมหาดไทย รวมถึงแนวคิด องคความรูใน การจั ด การก็ ยั ง ปฏิ บั ติ ต ามแบบส ว นราชการ โครงสร า งการจั ด การและอํ า นาจในการสร า ง นโยบายตามที่ เ ป น อยู มี แ ต จ ะเป น เครื่ อ งมื อ ในการฉ อ ฉลให นั ก การเมื อ งและข า ราชการนํ า งบประมาณไปใชปูยี้ปูยําผานโครงการนอยใหญและสรางความปนปใหกับแหลงน้ําและสราง ความทุกขยากของประชาชนมากขึ้น การปฏิรูปการจัดการน้ําจึงตองสรางพลังการจัดการขึ้น ใหม ภายใตเงื่อนไขที่ตองยอมรับวา “น้ําเปนของทุกชีวิต น้ําเปนความจําเปนพื้นฐานไมใชสินคา ที่จะมาหากําไรเกินควร น้ําเปนเรื่องที่ทุกคนตองมีสวนในการบริการจัดการ ไมใชผูกขาดโดยรัฐ และการจัดการน้ําเปนวัฒนธรรมของมนุษยที่สะทอนใหเห็นถึงการอยูรวมกันระหวางมนุษยกับ ธรรมชาติอยางสมดุล ไมใชอยูบนพื้นฐานเพื่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและความเห็นแกตัว” 2.แนวคิดและกระบวนการในการขับเคลื่อนงาน “ปฏิรูปการจัดการน้ํา” การปฏิรูปการจัดการน้ํา ไมใชการทํางานเพียงเพื่อนําเสนอแนวทางการปฏิรูปตอรัฐบาล แตเปนกระบวนการเพื่อนําไปสูการเสริมสรางพลังอํานาจของประชาชนเพื่อนําไปสูเปาหมาย ของการปฏิรูป ซึ่งตองพิจารณาอยู 4 ประเด็น/ขั้นตอนสําคัญ คือ 2.1) วิเคราะหสถานการณปจจุบัน ณ สถานการณปจจุบัน น้ํา มีประเด็นความขัดแยง ในการจั ด การอย า งไร ทั้ ง ในระดั บ ท อ งถิ่ น ภู มิ ภ าค หรื อ ในระดั บ โลก ความเคลื่ อ นไหว สถานการณ ภาวะคุ ก คามต า งๆ ของการนํ า ไปสู วิ ก ฤติ น้ํ า หรื อ การแย ง ชิ ง น้ํ า และภายใต สถานการณเหลานี้มีกลไกทางสังคม และกลไกของรัฐอะไรบางที่เกี่ยวของกับการจัดการน้ํา ตั้ง แต ร ะดั บ นโยบาย ไปจนถึ ง การปฏิ บัติ ก ารในระดั บ พื้ น ที่ และกลไกเหล า นั้น ได ทํ า หน า ที่ อยางไร เกิดผลสําเร็จ ลมเหลว หรือมีปญหาอุปสรรคใดบางที่สงผลกระทบทั้งตอประชาชนและ ตอการแกไขปญหาของรัฐเอง และประชาชนไดใชกระบวนการอยางไรบางในการเขาถึงขอมูล ขาวสาร ไดเขาไปมีสวนรวมในการคิด วางแผน ตัดสินใจ วิพากษวิจารณ หรือคัดคานอยางไร บทเรียนที่ผานมาเปนอยางไร และความตองการของแตละภาคสวนที่เกี่ยวของกับการปฏิรูป ระบบการจัดการน้ําเปนอยางไร 2.2) การสนั บ สนุ น ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ สร า งพลั ง ความเปลี่ ย นแปลงและสรุ ป ประสบการณ-บทเรียนในพื้นที่รูปธรรม เพื่อใหไดผลสัมฤทธิ์และองคความรูบนฐานการ ปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการสราง-เพิ่มอํานาจภาคประชาชนในการแกปญหาของประชาชนในการ จัด การน้ํ า ตามสถานการณ สํ า คั ญ ที่ กํ าลั ง ดํ า เนิ น การอยู รวมทั้ ง ประสบการณ ด า นการสร า ง ทางเลือกที่เหมาะสมในการจัดการน้ําที่ประสบความสําเร็จ โดยคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานลง ไปรวมสังเกตการณ สนับสนุนกระบวนการ สรางเงื่อนไขแวดลอมที่เหมาะสมตอการแกปญหา แลวมีการสรุปเปนบทเรียนสําคัญ รวบรวมเปนองคความรูที่จะใชเปนขอเสนอในการปฏิรูปในขั้น ตอไป ทั้งนี้โดยใชพื้นที่ที่มีกระบวนการดําเนินการของชุมชนทองถิ่นดําเนินการกันอยู เชน กรณี


110

โครงการ โขง ชี มูล เขื่อนปากมูล กรณีประสบการณในการจัดการน้ําขนาดเล็กระดับไรนา ระดับชุมชนทองถิ่น หลายพื้นที่ 2.3) การสรางภาพอนาคต เปนการนําขอมูลมาประมวล วิเคราะห และนําไปสูการ พยากรณอนาคตวาจะเกิดอะไรขึ้นบางจากทางเลือก หรือเงื่อนไขตางๆ (scenario) เชน การไม ปฏิรูปปลอยใหกลไกปกติดําเนินไป การยกระดับการมีสวนรวมของประชาชนมากขึ้นโดยที่ไม เปลี่ยนแปลงโครงสราง หรือ การเปลี่ยนแปลงโครงสรางโดยลดอํานาจรัฐและเสริมสรางพลังของ ประชาชนในการจัดการตนเอง เปนตน เพื่อใหเห็นภาพอนาคตที่ชัดเจนซึ่งอาจจะเกิดขึ้นจาก สถานการณที่เปนอยูและสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป 2.4) การขับเคลื่อนไปสูการปฏิรูป เปนการวิเคราะหและเลือก scenario ที่เหมาะสม ที่ สุ ด ไปสู ก ารดํ า เนิ น การอย า งเป น รู ป ธรรมในการเปลี่ ย นแปลงให เ กิ ด ผล โดยใช พ ลั ง ของ ประชาชนในการสรางอํานาจตอรองกับรัฐในการแกปญหา หรือชะลอภาวะคุกคามตางๆ ในระยะ สั้ น และนําไปสูการเปลี่ยนแปลงในระยะยาว ทั้งในเชิงโครงสร าง กลไก นโยบาย และการ ปฏิบัติการในระดับทองถิ่น


111

3.สถานการณปจจุบันที่เปนบริบทของกระบวนการปฏิรูปการจัดการน้ํา 3.1) สถานการณน้ําทวมใหญในลุมน้ําชี มูล เจาพระยา ในเดือนตุลาคม 2553 โดย เปนที่ประจักษวาเกิดจากความผิดพลาดจากกระบวนการจัดการน้ําภาครัฐที่มี “เขื่อนขนาดใหญ” เปนเครื่องมือ ทั้งกระบวนการปองกันแกไขและเยียวยาผลกระทบที่ไมทันการ ไมทั่วถึงอันเกิด จากความเสื่ อ มของกลไกรั ฐ สถานการณ นี้ ส ะท อ นให เ ห็ น อย า งชั ด เจนถึง ความจํ า เป น ต อ ง เปลี่ ย นแปลงขนานใหญเ กี่ย วกับ ทิศ ทาง-นโยบายและกลไกการจัดการน้ํ า ของประเทศไทย อนุกรรมการควรใชสถานการณนี้เปนจุดเริ่มตนในการเชื่อมโยงไปสูการวิเคราะหปญหาทั้งระบบ ของการจัดการน้ํา 3.2) ปจจุบันมีการถกเถียง การแยงบทบาทกันเองระหวางหนวยงานที่รับผิดชอบ นโยบายในการจัดการน้ํา ระหวางกรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ํา ซึ่งทั้งสองหนวยงานเนนที่ นโยบายการจัดการน้ําขนาดใหญ ไมใหความสําคัญและกีดกันบทบาทหนวยงานที่สนับสนุน ทางเลือกการจัดการน้ําขนาดเล็กระดับไรนา-ระดับชุมชนทองถิ่น เชน กรมพัฒนาที่ดิน สถาบัน สารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร เปนตน สถานการณนี้เหมาะสมที่อนุกรรมการจะไดรับ ทราบจากหนวยงานรัฐเกี่ยวกับขอมูลขาวสาร เกี่ยวเนื่องกับวิธีคิด กระบวนการและเงื่อนไข สําคัญเกี่ยวกับกระบวนการและกลไกการจัดการน้ําของประเทศ เพื่อสรางชองทางที่จะสราง ความโปรงใส การมีสวนรวมและการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐดานนี้อยางจริงจัง 3.3) ปจจุบันมีการอนุมัติแผนงานตางๆ มากมายที่จะเตรียมการริเริ่มโครงการการ จัดการน้ําขนาดใหญ เชน ในภาคอีสาน มีการอนุมัติของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2552 ในการศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดลอม และการประเมินสิ่งแวดลอมระดับ ยุ ท ธศาสตร โครงการบริ ห ารจั ด การน้ํ า โขง เลย ชี มู ล โดยแรงโน ม ถ ว ง และเมื่ อ วั น ที่ 22 มิถุนายน 2553 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบใหกรมทรัพยากรน้ํา ดําเนินการศึกษาความเหมาะสมและ ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการระบบเครือขายน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 19 พื้นที่ พรอมทั้งศึกษาผลกระทบระดับยุทธศาสตรในพื้นที่ครอบคลุมลุมน้ํา โขง ชี มูล จะเห็นไดวา นโยบายการจัดการน้ํายังดําเนินไปตามทิศทางของการสราง เมกกะ โปรเจกต ใชทุนจํานวนมาก และไรการศึกษาหาทางเลือกอื่นๆที่เหมาะสมในการจัดการน้ํา ตลอดจนกระบวนการเปดเผยขอมูล – การมีสวนรวมอยางสิ้นเชิง อันเปนหนทางที่จะสรางให เกิดโครงการที่ไมมีความคุมคา และยังกอใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศและชุมชนทองถิ่นซ้ํา รอยการพัฒนาโครงการในระยะที่ผานมาอยางแทจริง อนุกรรมการควรไดมีการเรียกขอมูลและหนวยงานมาชี้แจง แลกเปลี่ยน ทบทวน ในกรณีดังกลาว พรอมมีความชอบธรรมที่จะเสนอใหมีการทบทวน ประเมินผล โครงการเดิมที่ ดําเนินไปแลว และเสนอใหหนวยงานที่เกี่ยวของรับผิดชอบ ในการแกไข ปองกัน เยียวยา และ ฟนฟูผลกระทบที่เกิดขึ้นใหครบถวนเสียกอน กอนการดําเนินการใดๆ ตอไป


112

4.แผนการดําเนินงานปฏิรูปน้ําอีสาน 4.1) รวบรวมขอมูล เอกสารวิชาการ งานวิจัย หนวยงานที่เกี่ยวของ เครือขายน้ํา-ทรัพยากร และสื่อตางๆ 4.2) สํารวจหรือรับฟงขอมูลระดับพื้นที่เพื่อศึกษาบริบทการจัดการน้ํา สถานการณ ปญหา ความตองการ และขอเสนอตางๆ รวมทั้งสนับสนุนกระบวนการการแกปญหา/สรางสรรค ทางเลือกการจัดการน้ําที่เหมาะสมในบางพื้นที่ที่เกิดองคความรูที่สําคัญ ใน 5 พื้นที่ ไดแก พื้นที่ ลุมน้ําชี (ชัยภูมิ ขอนแกน รอยเอ็ด), พื้นที่ลุมน้ํามูล (ราษีไศล หัวนา ปากมูน),พื้นที่ลุมน้ํา สงคราม,พื้นที่หวยหลวง-หนองหานกุมภวาป-ลําปาว ,พื้นที่ลุมน้ําโขง (ปากชม บานกุม) 4.3) จัดเวทีกลางรับฟงขอมูลจากหนวยงานที่เกี่ยวของกับการจัดการน้ํา ไดแก กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ํา กรมทรัพยากรน้ําบาดาล คณะกรรมการนโยบายน้ําแหงชาติ การประปานครหลวง-ส ว นภู มิ ภ าค สํ า นั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอม (สวนพื้นที่ชุมน้ํา และกองวิเคราะหผลกระทบ) 4.4) รับฟงขอมูลจากนักวิชาการและผูเชี่ยวชาญดานทรัพยากรน้ําจาก สถาบัน สารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร (สสนก.), โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ, ศูนย พลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร, ศูนยวิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อ ประเทศไทย, ศูนยเตือนภัยพิบัติแหงชาติ, สมาคมตอตานสภาวะโลกรอน เปนตน 4.5) ศึกษาพื้นที่รูปธรรมในการจัดการน้ําที่ยั่งยืนใน 5 ประเด็น ไดแก 1) พื้นที่สูง และตนน้ํา 2) การจัดการน้ําพื้นที่ราบลุมและปากแมน้ํา 3) การจัดการน้ําในพื้นที่แหงแลง และดิน เค็ม 4) การจัดการน้ําในระดับไรนาและกลุมผูใชน้ํา 5) การจัดการน้ําเพื่ออุตสาหกรรมและเมือง 4.6) ศึกษาดูงานการจัดการน้ําประเทศเพื่อนบานในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง เชน ลาว เวียดนาม กัมพูชา 4.7) การสร า งภาพอนาคต (scenario) จากการนํ า ข อ มู ล ทั้ ง หมดมาประมวล วิ เ คราะห และนํ า ไปสู ก ารพยากรณ อ นาคตภายใต เ งื่ อ นไขและทางเลื อ กต า งๆ และเลื อ ก scenario ที่นาจะนําไปสูความยั่งยืนที่สุดในการนําไปกําหนดเปนขอเสนอเพื่อการปฏิรูป ภายใต เงื่อนไขการลดอํานาจรัฐและเสริมสรางพลังของประชาชนในการจัดการทรัพยากรน้ํา 4.8) จัดเวทีนําเสนอขอมูล และรับฟงความคิดเห็นเพิ่มเติมจากทุกภาคสวน 4.9) การสื่อสารตอสาธารณะอยางตอเนื่อง พรอมทั้งการสรางความรูสูประชาชนใน วงกวางผานเครือขายในระดับพื้นที่ 4.10) การผลักดันขอเสนอสูรัฐบาผานเครือขายภาคประชาชน และประชาสังคม 4.11) การสรางกลไกภาคประชาสังคมในการติดตามตรวจสอบการแกไขปญหา เฉพาะหนาและการปฏิรูปในระยะยาวของรัฐบาล 4.12) การเสริมสรางรูปธรรมตนแบบในการจัดการน้ําอยางยั่งยืนและขยายผลสู พื้นที่เปาหมายหรือพื้นที่นํารอง .................................


0


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.