lesson learn

Page 1

บันทึกการรับมือสถานการณน้ําทวมภาคประชาชน 10-11-11 บันทึกการรับมือกับวิกฤติน้ําทวมโดยภาคประชาชนฉบับนี้มีจุดมุงหมายที่จะนําเสนอถึงกลไกที่ ภาคประชาชนดําเนินงานคูขนานไปกับการทํางานของภาครัฐ ไมวาจะเปนการเผยแพรขอมูลวิชาการ เกี่ยวกับสถานการณน้ํา การเตรียมพรอมรับมือของชุมชน การประสานการอพยพกูภัย การประสาน ความชวยเหลือและศูนยพักพิงเพื่อรองรับผูประสบภัย ผูเขียนขอเลาเนื้อหาในการดําเนินงานแบงเปน 2 สวน คือ 1) Timeline การทํางานสอดประสานและแนวคิดการทํางานในระยะตางๆ และ 2) Function ภารกิจในการดําเนินงานที่เกิดขึ้น 1. Timeline การทํางานสอดประสานและแนวคิดการทํางานในระยะตางๆ 1.1 หาวันแรกที่ ศปภ ภาคประชาชน ในการจัดการภัยพิบัติภาคประชาชนเพื่อรับมือกับน้ําทวมในชวงเดือน ตุลาคม 2554 นี้ ศูนยแรกที่เกิดขึ้นในวันที่ 6 ตุลาคม 2554 ก็คือ ศปภ ภาค ประชาชน ที่สนามบินดอนเมือง โดยมูลนิธิกระจกเงาและ Thaiflood ระยะแรกมี ภารกิจหลักที่สอดรับกับ ศปภ รัฐบาล คือ การรับเคสที่ตองการความชวยเหลือ เรงดวนหรือเคสที่ลนจากขีดความสามารถในการรับมือของ Call Center 1111 ในเคสการอพยพและให ความชวยเหลือตางๆ เริ่มจากสถานการณที่เกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาแตก Æ นครสวรรคลม Æ บางบัวทองทวม

ภาพที่ 1 บรรยากาศ Call Center ภาคประชาชน


จึ ง มี ก ารลงพื้ น ที่ ไ ปศึ ก ษาป ญ หาหน า งาน ว า ช อ งว า งของการจั ด การที่ ทํ า ให ก ารให ค วาม ชวยเหลือเปนไปไดอยางลาชา บทสรุปนั้นพบวา ระบบการจัดการแบบรวมศูนยที่ภาครัฐใชรับมือกับการ จัดการภัยพิบัตินั้นไมสอดคลองกับการจัดการภาวะวิกฤตอยางที่ควรจะเปน อยางกรณีอยุธยา เมื่อ อําเภอพระนครศรีอยุธยาลม การสื่อสารที่จะสั่งการออกจากศูนยกลางคือ ศาลากลางจังหวัด ก็ลมตามไป ดวย ขอมูลความตองการความชวยเหลือที่สื่อสารลงไปในพื้นที่ก็กระจุกตัว ไมสามารถสื่อสารตอไปยัง หน ว ยให ค วามช ว ยเหลื อ ที่ มี ย านพาหนะที่ เ คลื่ อ นที่ เ ร็ ว ที่ จ ะเข า ไปชาร จ ผู ป ระสบภั ย ได ที ม งานจึ ง แกปญหานี้โดยสงกองหนาลงไปหนางาน ลวง Contact ของหนวยใหความชวยเหลือหนางานและ Contact จากศาลากลาง เพื่อสงขอมูลประสานความชวยเหลือโดยตรง

ภาพที่ 2 บรรยากาศพื้นที่ปฏิบัติงานตามแนวคิด ศปภ ตําบล จากปญหานี้เมื่อดําเนินงานไปไดสักระยะ วันที่ 11 ตุลาคม 2554 ศปภ ภาคประชาชน ก็ราง แนวคิด “ศปภ ตําบล” ขึ้นมาดวยความตั้งใจที่ตองการจะคนหาปญหาและศักยภาพที่มีอยูในพื้นที่ยอย ของแตละตําบล โดยสรางระบบเจาภาพเปนตัวแทนติดตอระหวางผูใหความชวยเหลือจากสวนกลาง โดยตั้ งกลุมผูประสานที่ ศปภ ดอนเมือง โทรศัพทไปประสานแตละหมูบ านในตําบล ค นหากลุมที่ มี ศักยภาพในการแกปญหาและใหความชวยเหลือกันเองในพื้นที่ ไมวาจะเปนองคกรชวยชาวบานหรือ เพื่อนบานชวยกันเอง พรอมกับประสานองคกรภายนอกเขาไปชวยหนุนเสริมในกรณีที่จําเปน สงเสริมให ชุมชนสราง mapping เชื่อมโยงขอมูลชุมชนของตนเองตามแนวคิดการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเปน ฐาน รวมกับการสนับสนุนองคกรพัฒนาเอกชน และความรวมมือจากภาครัฐ ลดการตกหลนของพื้นที่ที่ ไมไดรับความชวยเหลือ เชื่อมโยงความชวยเหลือจาก สวนกลางผาน Call Center กลับลงพื้นที่ได 1.2 สิบวันตอมา กับการขยายวงภาคประชาชน ผานไปสิบวัน ปญหาการบริหารจัดการภัยพิบัติโดย ภาครัฐยิ่งชัดเจน ไมวาจะเปนการขาดการแจงเตือนภัยตอ พื้น ที่ที่ มวลน้ํ า จะไปถึง และแม ว า ทุ ก โรงเรี ย นของรั ฐ และ สํ า นั ก งานเขตใน กทม จะเป ด เป น ศู น ยพั ก พิ ง แต ก าร เตรี ย มพร อ มก็ ยั ง มี ไ ม ม ากนั ก อี ก หนึ่ ง วงภาคประชาชนจึ ง มี ก ารหารื อ และรวมตั ว กั น เกิ ด เป น ศู น ย ThaiPBS ฝาวิกฤตน้ําทวม ในวันที่ 17 ตุลาคม 2554 เพื่อทําหนาที่ในการสื่อสารถึงขอเท็จจริงของ สถานการณน้ําทวมและประสานความชวยเหลือไปยังพื้นที่วิกฤต


อาสาสมัครที่เขามาในศูนยนี้มีทั้งประชาชนทั่วไป และ คนในหมวกองคกรตางๆทั้ง สสส., สช, สอช., พอช. และ มูลนิธิชุมชนไท มาชวยกันรวบรวมขอมูล ทําฐานขอมูลชุมชนที่เปนภาคีกับองคกรของ ตนเอง พรอมกับประสานชุมชนในเครือขายตามแนวคิด “จับคูชุมชน” ที่มีนักจัดระบบชุมชน หรือ Organizer จากองคกรตางๆซึ่งมีประสบการณการทํางานสรางเครือขายชุมชนมากอน ชวยโยงชุมชนที่ น้ําไมทวมและมีศักยภาพในการใหความชวยเหลือ เชน มีรถ 4WD มีเรือ มีเสบียง ไปชวยอพยพกูภัย หรือตั้งโรงครัวใหชุมชนที่ประสบภัย ตัวอยางของชุมชนที่จับคูความชวยเหลือในสามวันแรกที่ศูนย ThaiPBS ฝาวิกฤตน้ําทวมไดโยงความชวยเหลือเขาดวยกันเปนดังตารางดานลาง พื้นที่เดือดรอน พื้นที่หนุนเสริม ปทุมธานี บานน้ําเค็ม เครือขายสิ่งแวดลอมปทุมธานี เครือขายผูประสบภัยสึนามิ เชื่อมโยง โดย เครือขาย คปสม / มูลนิธิชมุ ชนไท สิงหบุรี นครศรีธรรมราช อบต.หัวไผ ตําบลสุขภาวะ เครือขายทองถิ่นนาอยูภาคใต เชื่อมโยงโดย สสส ต.บางระกํา นครปฐม ต.หนองสาหราย จ.สุพรรณบุรี เชื่อมโยงโดย พอช,สสส และ สสส. อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี เชื่อมโยงโดย bangkok forum และ ชุมชนไท เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร สันติอโศก เชื่อมโยงโดย สสส อางทอง เพชรบุรี สมัชชาสุขภาพอางทอง สมัชชาสุขภาพเพชรบุรี เชื่อมโยงโดย พอช และ สสส. สิงหบุรี กาญจนบุรี เครือขายวิทยุชุมชนสิงหบุรี เครือขายวิทยุชุมชนกาญจนบุรี เชื่อมโยงโดย สปร ภาพที่ 3 ตารางแสดงการจับคูชุมชนเชื่อมโยงความชวยเหลือระหวางพื้นที่ จะเห็นวาการเชื่อมโยงแตละกรณีมี organizer จากองคกรตางๆ เชื่อมใหผูเดือดรอนมาพบ ผูสนับสนุน มีทั้ง oraganizer ที่เชื่อมภายในเครือขายเดียวกัน และ ตางองคกร ตางเครือขายใหไดมาพบ กัน ซึ่งตางองคกรนั้นตางก็มีความสัมพันธรูจักเคยรวมงานกันมากอน มีความไววางใจในการทํางาน รวมกัน จากความเปนภาคี และความเชื่อใจในผูประสาน


เมื่อแนวคิดนี้ Run ไปไดสักระยะ มวลน้ําทวมก็เริ่มประชิดเขามาในเขตกรุงเทพมหานครมากขึ้น พรอมกับพบวา เมื่อน้ําเริ่มเขาถึงพื้นที่ศูนยพักพิงตางๆ ก็ทยอยปดตัวลง การสื่อสารใหทั้งผูประสบภัย และวาที่ผูประสบภัยอพยพไปนอกกรุงเทพ จึงเปนคําตอบที่ควรจะผลักดันใหสื่อสารออกไปมากกวาจะ ใหผูประสบภัยอยูลําบากทั้งการใชชีวิตและการกินอยูกับน้ําที่จะทวมขังอีกเปนเดือน 1.3 สิบหาวันตอมา กับฐานขอมูลศูนยพักพิง ขาวศูนยพักพิงทั้งของภาครัฐ ของสถาบันการศึกษา และ ของชุมชน ทยอยปด เพราะน้ําทวม ศูนย จึงมีการระดมความคิดจากสมัชชาสภาองคกรชุมชนจาก 30 เขต ใน กทม. มาถกกันเรื่องปญหาที่ ชุมชนเคยพบ การรองรับการตั้งศูนยพึ่งพาตนเองของชุมชน การเตรียมความพรอมรับมือ เชน - กระบวนการแจงเตือน : ตองมีการออกเสียงตามสาย, ตองมีเอกสารแจกใหกรรมการชุมชนอาน พวกที่ใกลพนังกั้นน้ํา ตองมีทีมเฝาพนังกั้นน้ํา - การเตรียมตัว : ตองยายปลั๊กไฟขึ้นที่สูง - การอพยพ : ควรยายเมื่อไร เชน สําหรับบานชั้นเดียวน้ําแคเขาก็ควรยายแลว บานสองชั้นน้ํา 1 เมตร ควรยายแลว และควรยายทั้งชุมชนเมื่อน้ําสูงกวา 1 เมตร เพราะจะถูกตัดน้ําและตัดไฟ ที่ สําคัญที่สุดคือ บานที่มีเด็ก คนแก คนปวย คนทอง คนพิการ พอรูวาน้ําจะมาตองไปกอน ถัดจากที่หารือกับเรื่องศูนยพักพิงโดยชุมชนใน กทม. ไป ทีม สช. ก็ขยายวงเรื่องการเตรียมพรอมศูนย พักพิง โดยตั้งวงคุยที่นครปฐมวา แตละที่จะรองรับคนกรุงเทพและปริมณฑล ไดจํานวนเทาไร งาน ตอๆมาก็ขยายวงตอไปดวยการอัพเดทวา ศูนยในแตละจังหวัดมีอยูกี่ศูนย รับผูประสบภัยไปแลวเทาไร และ ยังรับเพิ่มไดอีกเทาไร ตองการการสนับสนุนทรัพยากรอะไรบาง ซึ่งระบบในการโยงการทํางานแต ละฝายที่สนับสนุนศูนยพักพิงเปนดังนี้

ภาพที่ 4 ผังแสดงการจัดระบบขอมูลศูนยพักพิง


ภาพที่ 5 บรรยากาศการทํางานในศูนย ThaiPBS ฝาวิกฤตน้ําทวม จากการทํางานที่เลามาในขางตนจะเห็นวา ในศูนยมีหลายฝายที่ทํางานประสานกัน โครงสราง การสื่อสารและระบบการทํางานของศูนยนี้ปรับปรุงมาจากการทํางานของ ศอบ ในปที่แลว โดยการ ประสานกันของ 5 ฝายหลักๆ คือ ฝายนโยบายและวิชาการ : ติดตามสถานการณน้ําโดยใชขอมูลจากนักวิชาการทุกสาขา เพื่อ เสนอทางเลือกในการแกปญหาและทางเลือกในการตัดสินใจรับมือของพื้นที่ที่น้ําจะไปถึง จากนั้นจึงสง ขอมูลการแจงเตือน/รับมือไปยังชุมชนและสงขอมูลใหฝายสื่อนําเสนอไปในทิศทางเดียวกัน ฝายทรัพยากร : ประสานความตองการจากชุมชนและศูนยพักพิง ไปสูชุมชนที่พรอมสนับสนุน หรือระดมทรัพยากรจากภาคธุรกิจ รวมถึงจับคูการ logistic ลงพื้นที่ไปพรอมกัน โดยมีหลักคือ ไมทําถุง ยังชีพ แตจะสงของตามความตองการเปนอยางๆใหกับศูนยของชุมชน เพราะวาจากการสํารวจความ ตองการในพื้นที่ สวนใหญเมื่อผาน 3 วันแรกไปแลว ถุงยังชีพมักจะไดรับกันทุกบานแตวาของบางอยาง หมด เชน น้ําดื่ม หรือ ขาวสาร หรือตองการสวมลอยน้ําประจําชุมชน ฝายชุมชน : ประสานชุมชนในเครือขาย สนับสนุนการอพยพและความชวยเหลือดานทรัพยากร เพื่อใหเกิดการจัดการตนเอง ตามที่ไดเลาตัวอยางการจับคูชุมชนไปแลวใน หัวขอ 1.1) ฝายขอมูลศูนยพักพิง : สนับสนุนขอมูลการอพยพ โดยลงไปประสานแตละจังหวัดที่มี เครือขายรวบรวมรายชื่อศูนยพักพิงที่ตั้งขึ้น พรอมกับติดตามอัพเดทจํานวนรองรับ วามีผูเขาพักจํานวน เทาไร และรองรับไดอีกเทาไร เพื่อเปนฐานขอมูลสงใหองคกรหรือชุมชนในพื้นที่ประสบภัยไดแจงให สมาชิกในชุมชนตัดสินใจที่จะยายเขาไปอยู ฝายสื่อ : สงตอขอมูลการทํางานและประเด็นใหทีมนักขาว ThaiPBS และ Social media โดย ยอยขอมูล ไดแก วิชาการสถานการณน้ําและการเตรียมรับมือ ผลักดันการออกไปอยูนอกกรุงเทพกอนที่ จะเปนผูประสบภัยในแคมเปญ “พักรอน พักผอน หรือ พักยาว”, นําเสนอการจัดการชุมชน ไมวาจะเปน การเตรียมอพยพ การอยูกับน้ําโดยรวมกลุมกันในชุมชน หรือ การชวยเหลือกันจากชุมชนที่แหงไป ชุมชนที่เปยกใหเปนตนแบบที่จุดประกายการสนับสนุนกันระหวางชุมชน ซึ่งการเชื่อมโยงการสื่อสาร และประสานกันของศูนยฝาวิกฤตน้ําทวม ThaiPBS เปนสามารถแสดงไดดังภาพขางลาง


ภาพที่ 6 ผังแสดงการสื่อสารและโยงการทํางานภายในศูนย 1.4 ยี่สิบหาวันหลัง ของภาคประชาชน - การสอดประสาน จนยายฐานเพราะน้าํ ทวม ตั้งแตวันที่ 6 ตุลาคม ที่ตั้ง ศปภ ภาคประชาชน ที่สนามบินดอนเมือง กระทั่งมีการตั้งศูนย ฝา วิกฤตน้ําทวม ที่สถานีโทรทัศน ThaiPBS ภาพรวมที่ทั้งสองสวนไดดําเนินงานคูกันมา คือ ศปภ ภาค ประชาชน ที่สนามบินดอนเมือง ใชแนวคิด ศปภ ตําบล ประสานชุมชนในเขตปริมณฑลที่อยูในพื้นที่ เสี่ยงและรับเคสการขอความชวยเหลือ สวน ศูนยฝาวิกฤตน้ําทวม ThaiPBS ก็จับคูชุมชนโยงความ ชวยเหลือระหวางชุมชนและรวบรวมขอมูลศูนยพักพิงทั้งที่จัดตั้งโดยชุมชนและโดยภาครัฐ ซึ่งทั้งสอง ศูนยนี้ใชฐานขอมูลรวมกันผาน google document

ภาพที่ 7 แนวคิดหลักในการดําเนินงานศูนยประสานงานน้ําทวมภาคประชาชน


เนื่องจากทั้งสองศูนยตั้งอยูบนถนนวิภาวดีซึ่งเปนจุดที่ไดสัมผัสมวลน้ํากอนกรุงเทพชั้นใน จึง หนีความเปนจริงไมพนวาน้ําตองทวม สําหรับทางหนีทีไลของศูนยฝาวิกฤตน้ําทวม ThaiPBS ทีม อาสาสมัครไดเลือกไปตั้งศูนยอยูที่สนามกีฬาจังหวัดราชบุรี โดยออกเดินทางตั้งแตวันที่ 28 ตุลาคม กอนที่น้ําจะทวมถนนวิภาวดีสวนที่ผานหนา ThaiPBS ขณะที่ศูนย ศปภ ภาคประชาชน ยังอยูที่ สนามบินดอนเมืองจนวันที่ 30 ตุลาคม ซึง่ มีการปดศูนยอยางเปนทางการเพราะน้ําทวมสูงจนมีปญหา กับระบบน้ําและระบบไฟฟา จึงยายมาตั้งตัวที่มลู นิธิกระจกเงา สามวันตอมาน้ําก็ทวมผาน ม.เกษตร ตามมาถึงมูลนิธิกระจกเงา ออฟฟศจึงยายไปอีกครั้งอยูที่สนามศุภชลาศัย เขตปทุมวัน ภาพขางลางเปน Timeline แสดงจุด checkpoint ใน 1 เดือนแรกของการทํางานภาคประชาชน กับการรับมือน้ําทวม ซึ่งจะกินเวลายาวนานตอไปอีกนับเดือน สวนความเคลื่อนไหวของเดือนตอไปจะ เปนอยางไร โปรดติดตามชม

ภาพที่ 8 Timeline การเกิดและยายศูนยประสานงานน้ําทวมภาคประชาชน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.