pladthin

Page 1

คนไทยพลัดถิ่น : เสียสัญชาติไทย : เพราะการแบงเสนเขตแดนระหวางไทยกับพมาใหม

1


คนไทยพลัดถิ่น : เสียสัญชาติไทย : เพราะการแบงเสนเขตแดนระหวางไทยกับพมาใหม รวบรวมโดย นางปรีดา คงแปน มูลนิธิชมุ ชนไท ที่ปรึกษาเครือขายการแกปญหาคืนสัญชาติคนไทย และเครือขายชุมชนเพื่อการปฏิรูปสังคมและการเมือง (คปสม.) ความเปนมา กลุมคนไทยพลัดถิ่น ในจังหวัดระนอง ชุมพร และประจวบคีรีขันธ ปจจุบันมีการเชื่อมโยงกันเปน “เครือขายการแกปญหาคืนสัญชาติคนไทย” แมคนกลุมนี้เปนคนที่มีเชื้อชาติไทย แตไมไดรับการรับรองใหมีสัญชาติ ไทย สาเหตุที่กลุมคนไทยพลัดถิ่น ยังไมไดรับสัญชาติไทย เนื่องจากการแบงเขตดินแดนระหวางประเทศไทยและ พมาในป พ.ศ. ๒๔๑๑ กอนที่รัฐบาลอังกฤษจะทําการแบงเขตดินแดนระหวางไทยและพมา ใหม พืน้ ที่ เมืองมะริด ทวาย และ ตะนาวศรี ฯลฯ ถือวาเปนเขตแดนของประเทศไทยมากอน มีชุมชนหมูบานคนไทยตั้งบานเรือนและทํามาหากิน อยู เมื่อมีการแบงเขตดินแดนในชวงแรกๆ ยังไมไดมีความเขมงวดเรือ่ งการเดินทางขามดินแดน ไปมาหาสูระหวาง ญาติพี่นอง ชุมชนคนไทยบางสวนก็ยังอาศัยในดินแดนพมา ไมไดโยกยายเขามาอยูใ นดินแดนไทย ซึ่งรัฐบาลพมา ก็ไมไดยอมรับใหเปนพลเมืองพมา ในบางชวงที่รัฐบาลพมาออกบัตรให ก็ระบุวาเปนคนไทย และคนกลุมนีย้ ังมีวิถี ชีวิต การใชภาษาสื่อสารเปนภาษาไทยสําเนียงภาคใต มีประเพณีและวัฒนธรรมแบบคนไทยภาคใต ที่สําคัญทุก บานมีรูปของในหลวง เปนสัญลักษณที่ยดึ มั่นในความเปนคนไทย เมื่อประมาณ ๓๐ ปที่แลว ในชวงระยะที่รฐั บาลพมาทําสงครามกับชาติพันธุในพมา คนไทยที่มีถิ่นกําเนิดใน มะริด ทวาย และตะนาวศรี ฯลฯ ไดรับการปฏิบัติที่ไมเปนธรรมจากพมา ถูกกดขี่ รังแก กลุมคนจํานวนหนึ่งจึง โยกยายถิ่นฐานเขามาอยูกับญาติพี่นองในประเทศไทย แตทวาสัญชาติของคนไทยกลุมนี้ไมชัดเจน จึงไมไดรับรอง วาเปนคนไทย บางคนตองถือบัตรที่ประเทศพมาออกให (ซึ่งในบัตรระบุวาเปนคนไทย) การกลับมาอยูอ าศัยในประเทศไทย ซึ่งเปนเวลากวา ๓๐ ปแลว ไมมีบัตรประชาชน ถูกจํากัดสิทธิทุกดาน ทั้งไมสามารถเดินทางออกนอกชุมชนที่อาศัยอยูได ไมมีสิทธิ์แจงเกิด ไมมีสิทธิ์แจงตาย ไมมีสทิ ธิ์แจงความกรณี ถูกรังแกเอาเปรียบ ถูกกดหรือถูกโกงคาแรงเปนประจํา ไมไดรับสวัสดิการขั้นพืน้ ฐานทุกดาน เด็กไทยพลัดถิ่นที่ เกิดในเมืองไทย ก็ไมไดใบเกิด ไมสามารถขอรับทุนการศึกษาได เรียนจบแลวสมัครงานไมไดเพราะไมมบี ัตร ประชาชน ทํางานไดเพียงการเปนแรงงานไรฝมือ ที่อยูอาศัยและที่ทาํ กินไมมั่นคง และมักถูกขมขูขูดรีดเรียกเก็บ เงิน โดยเฉพาะการเรียกเก็บเงินเกีย่ วกับการขึ้นทะเบียนสถานะบุคคล การเดินทางไปทํางานนอกชุมชน และอืน่ ๆ

2


ประมาณการวา คนไทยพลัดถิ่นถูกรีดไถไมต่ํากวา๑๕,๐๐๐ บาทตอคนตอป จากการศึกษาเบื้องตนประมาณ การวามีคนไทยพลัดถิ่นกระจายในจังหวัดประจวบ ระนอง ชุมพร ประมาณ ๒๐,๐๐๐ คน ในดานผลกระทบตอสุขภาพ เนื่องจากกลุมคนไทยพลัดถิ่นไมมีบัตรประชาชน ซึ่งเชื่อมโยงไปสูการมีบัตร ประกันสุขภาพ จึงมีความยากลําบากในการเขารักษาพยาบาล รวมถึงการปองกันและรักษาสุขภาพ แตกอนที่จะมี ระบบประกันสุขภาพ (บัตรทอง ๓๐ บาท) คนไทยพลัดถิ่นสามารถซื้อบัตรสุขภาพรายปไดในราคา ๕๐๐ บาท หลังจากที่ระบบประกันสุขภาพถาครอบครัวไหนตองการซื้อบัตรสุขภาพตองไปซื้อบัตรที่เปนของกลุมแรงงาน ตางชาติ ในราคา ๑,๓๐๐ บาท ซึ่งเปนราคาที่สูง ขอมูลคนไทยถิ่นพลัด คนไทยถิ่นพลัดที่เดินทางกลับเขามาอยูเมืองไทย ประมาณการกวา ๒๐,๐๐๐ คน แตที่รวมตัวกันเปน เครือขายและทํากิจกรรมรวมกันโดยตลอด ในระยะ ๖ ปมีสมาชิก ฯ จํานวน ๑, ๒๗๕ ครอบครัว จํานวน ๕,๐๗๓ คน มีบัตรประชาชน ๑,๐๘๒ คน ไมมีบัตรประชาชนหรือไรสัญชาติ ๔,๗๔๒ คน แบงการทํางานออกเปนกลุม ยอย 25 กลุม ดังนี้ 1. คนไทยถิ่นพลัดจังหวัดระนอง สมาชิกของเครือขาย ๗๓๑ ครอบครัวจํานวน ๓,๐๑๙ คน มีบัตร ประชาชน ๘๐๘ คน สวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม อาชีพ ทําการประมง ,รับจางทั่วไป , ทําสวน มีรายไดไม แนนอนอาศัยกระจายอยูใน ๑๘ หมูบาน ดังนี้ กิ่งอําเภอสุขสําราญ บานทากลาง บานทาคึกฤทธิ์ บานบางกลวย บานไรใต บานปากเตรียม (คุระบุรี) อําเภอกะเปอร ประกอบดวย บานบางเบน บานบางลําพู อําเภอเมือง ประกอบดวย บานชางแหก บานหวยมวง บานยางคต บานทาฉาง บานซอยสิบ บานสํานักสงฆ สะพานปลา บานหินชาง บานทรายดําหนานอก บานเกาะสิน บาน เกาะตาครุต 2. คนไทยถิ่นพลัดชุมพร สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ อาชีพ ทําสวนยาง สวนปาลม ไรสัปปะรด และ รับจางทําสวนในพื้นที่ เปนกลุมที่มีสภาพความเปนอยูดีกวากลุมอื่นๆ (ยังไมมีการสํารวจ) 3. คนไทยถิ่นพลัดประจวบคีรีขันธ สมาชิกของเครือขาย ๕๔๔ ครอบครัว จํานวน ๒,๐๕๔คน มีบัตร ประชาชน ๒๗๔ คน สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ อาชีพ รับจางรายวัน เชน ปอกมะพราว เก็บสับปะรด กรีดยาง หากลวยไม ขายของ เจียระไนพลอย และทํางานในสวน อาศัยกระจายอยูใน ๗ หมูบาน ดังนี้ อําเภอบางสะพานนอย บานหินเทิน อําเภอบางสะพาน บานในล็อค บานหนองกลาง บานคลองลอย บานสํานักสงฆ บานทุงไทรทอง อําเภอทับสะแก บานทุงพุฒิ บานโปงแดง ประเพณีวัฒนธรรมและการแสดงพื้นถิ่น จากการศึกษาของนักวิชาการพบวาคนไทยพลัดถิ่นที่เคยอาศัยใน พมา มีวิถีปฏิบัติที่มีการอนุรักษประเพณีวัฒนธรรมและการแสดงพื้นถิ่นอยางเหนียวแนน ที่เปนทั้งเอกลักษณการ แสดงออกถึงความเปนไทย ภูมิปญญาและความผูกพันทางสังคม ไดแก การแสดงลิเกปา รํามะโนราห หนังตะลุง รําวงโบราณ กาหยง ลาอู การบวชพระ การทอดกฐิน ทอดผาปา ฯลฯ ซึ่งเปนประเพณีวัฒนธรรมแบบคนไทย ภาคใต นอกจากนี้เครือขาย ฯ ยังมีการฝกสอนและถายทอด การแสดงพื้นถิ่นสูกลุมเด็กและเยาวชน เพื่อใหมีการ สืบทอดตอไปในระยะยาว 3


ภูมิปญญา มีการสืบทอดหมอแผนโบราณมาจากบรรพบุรุษ เชน การตมยาสมุนไพรรักษาโรค นวดจับเสน แผนโบราณ หมอกระดูก การรักษาคนถูกงูกัด การอยูไฟหลังคลอด ทําจักสาน สานเสื่อ เครื่องมือประมง การ เย็บจาก ฯลฯ คนไทยพลัดถิน่ : และกิจกรรมรวมกลุมเปนเครือขายการแกปญหาคืนสัญชาติคนไทย คนไทยพลัดถิ่น รวมตัวกันเปน “ เครือขายการแกปญหาคืนสัญชาติคนไทย ” มีการรวมเปนองคกรเมื่อป พ.ศ. 2545 โดยการสนับสนุนของ โครงการปฏิบัติการชุมชนและเมืองนาอยู ( ป พ.ศ. ๒๕๔๕- ๒๕๔๗ ) โดย มูลนิธิชุมชนไท ภายใตความรวมมือ ของ สํานักงานสงเสริมสุขภาพ (สสส.) สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการ มหาชน ) และภาคีความรวมมือหลายองคกร อาทิเชน มูลนิธิกระจกเงา ฯลฯ มีกิจกรรม ประกอบดวย การกลุม ออมทรัพย การฟนฟูอาชีพ การฟ นฟูศิลปวัฒนธรรม การปรับปรุงสภาพแวดลอมชุมชน การเขารว มกิจกรรม สาธารณะประโยชนข องหมูบา น การพั ฒ นาผูนํา เครื อ ข าย และการพัฒ นาเด็ ก และเยาวชน รวมถึง การจัด เวที สาธารณะเพื่อบอกเลาเรื่องราวของคนไทยพลัดถิ่น การสํารวจตรวจสอบขอมูลรวมกัน และทําการวิจัยศึกษาปญหา คนไทยพลัดถิ่น โดย ดร.ฐิรวุฒิ เสนาคํา นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ เพื่อการหาแนวทางการแกไขปญหา สัญชาติ สรุปขอเสนอของเครือขาย ฯ คือการออกกฎหมาย “ คืนสัญชาติไทย ใหคนไทยพลัดถิ่น ” และในระหวางที่ กําลังดําเนินการขอใหหนวยงานที่เกีย่ วของ ดูแลฟนฟูวิถชี ีวิต ความเปนอยูไมใหถูกเอาเปรียบ รวมทั้งใหเด็กเยาวชน ไดมีโอกาสเรียนหนังสือ เหมือนเด็กทั่วไป ปจจุบัน..แมวา เด็กไทยถิ่นพลัดจะไดเขาเรียนในโรงเรียน แตยงั ไมมีความชัดเจนในเรือ่ งวุฒิการศึกษา และในทางปฏิบัติ ครูมักทวง “ใบแจงเกิด หรือทะเบียน บาน ” ซึ่งทําใหเด็กรูสึกอับอาย ไมอยากไปเรียน และ หลายคนตัดสินใจออกจากโรงเรียนกลางคัน

การไมมีบัตร ทําใหไมมีสิทธิ์เปนเจาของบาน ตองอาศัยสรางบานในที่ตา งๆถูกไลที่บอยๆ “บาน” ไทยถิ่นพลัด ที่ถูกสึนามิ ไมมีบตั ร ไมไดรับการชวยเหลือ ตองใชไมค้ําและผูกโยง ดวยเชือก (ภาพบานหินชาง ระนอง ๔๘ )

4


9 ป กับความพยายามของ เครือขาย ฯ เพื่อ “ขอคืนสัญชาติไทย ” ดวยเหตุของการถูกเอาเปรียบรีดไถ และ ขอกังวลของหนวยงานที่เกี่ยวของ อาทิเชน กระทรวงมหาดไทย และสภาความมั่นคง ฯลฯ วาคนกลุมคนนี้ เปนคนไทยหรือเปนแรงงานพมาเขามาปลอมปนหรือไม ประกอบกับ ระยะเวลาของปญหาที่ทอดมาเนินนานกวา ๑๐๐ ป ทําใหเครือขาย ฯ คิดระบบการตรวจสอบขอมูล และรับรอง กันเองใหชัดเจน โดยใชการทํากิจกรรมรวมกลุมที่หลากหลาย เปนเงื่อนไขในการพบปะ รูจักและชวยกันตรวจสอบ มีสาระสําคัญ เชน มีการจัดทําทะเบียนประวัติ การจัดทําผังตระกูล ที่แสดงถึงคนรุนปูยาและลูกหลาน รวมถึงญาติ พี่นอง ตนตระกูล ที่อาศัยในประเทศไทย ถิ่นที่อยูเดิมในเขตแดนพมา แบบสํารวจกระกูลเครือขายการแกปญ  หาคืนสัญชาติคนไทยฯ แบบสํารวจคนไทยพลัดถิน่ (พอ) นายชวย นามสกุล กิง่ แกว (แม) นางหมาเอียด นามสกุล กิง่ แกว

(พอ) นายหนูขนิ นามสกุล หอมจันทร (แม) นางตมปด นามสกุล หอมจันทร

(พอ) นายตอย นามสกุล ศรีสงา (แม) นางจันทร นามสกุล ศรีสงา

(พอ) นายขอ นามสกุล แซฮอื่ (แม) นางตู นามสกุล แซฮอื่

(พอ) นายเพีย นามสกุล กิง่ แกว

(แม) นางเขิน นามสกุล หอมจันทร

(พอ) นายสมคิด นามสกุล ศรีสงา

(แม) นางจู นามสกุล แซฮอื่

หัวหนาครอบครัว ปจจุบนั

นาย สุทนิ นามสกุล กิง่ แกว ชาย/สะใภ

+

หญิง/เขย

ลูก

นายสุพร ศรีสงา

บุตร.........คน

ผูห ญิงเสียชีวติ แลว

ผูช ายเสียชีวติ แลว

นางขนิด นามสกุล ศรีสงา

น.ส.สุภาพร ศรีสงา

บุตร.........คน

ด.ญ.สายทอง ศรีสงา ด.ญ.สายใจ ศรีสงา

บุตร.........คน บุตร.........คน

การจัดตั้งกลุมออมทรัพย โดยแบงการทํางานออกเปน ๒๕ กลุมยอย และแบงออกเปน ๘ กลุมอําเภอ ปจจุบันมีสมาชิกเครือขาย ฯ จํานวน ๑,๒๒๕ ครอบครัว จํานวน ๕,๐๗๓ คน และ มีเงินออมทรัพยรวมกันกวา ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท มีการจัดสวัสดิการดูแลกันเอง เชน การชวยเหลือผูปวยที่ตองไปโรงพยาบาล การดูแลผูสูงอายุ ในป พ.ศ.๒๕๔๘ เครือขายฯ จัดสรรทุนการศึกษาใหแกเด็กนักเรียนที่เปนสมาชิก จํานวน กวา ๕๐๐ คน ฯลฯ รวมทั้งสนับสนุนใหจัดตั้งกลุมออมทรัพยวันละบาทเพื่อการศึกษาของเด็ก เครือขาย ฯ มีคณะกรรมการ จํานวน ๔๐ คน ที่มีผูแทนมาจากแตละกลุมอําเภอ ๆละ ๕ คน เพื่อทําหนาที่ ในการผลักดัน การแกปญหารวมกันในทุกดาน 5


ผังแสดงการเชื่อมโยงกันเปนเครือขายแกปญหาการคืนสัญชาติคนไทย กลุมอําเภอบางสะพาน กลุมอําเภอบางสะพานนอย ประจวบ ประจวบ กลุมอําเภอกระบุรี (๗๙) (๒๔๘) ระนอง (๒๖) กลุมอําเภอทับสะแก คณะทํางาน ประจวบ กลุมอําเภอสุขสําราญ (๒๑๗) เครือขาย ฯ กลุมละ ๕ คน ระนอง (๑,๒๗๕ ครัว) (๑๓๙) กลุมอําเภอเมือง ๑. ระนอง (๒๓๑)

กลุมอําเภอเมือง ๒ ระนอง (๒๖๕)

กลุมอําเภอกะเปอร ระนอง (๗๐)

ระยะที่ผานมา เครือขาย ฯ มีการติดตอประสานงานกับสือ่ มวลชน สถาบันวิชาการและหนวยงานที่เกี่ยวของ จนทําใหเรื่องราว ปญหาไดรับการเผยแพรออกสูสังคมเปนระยะ ดังเชน รายการสภาชาวบาน รายการสองโลก การ จัดทําสื่อวีดีทศั น และสื่อสิ่งพิมพตางๆ เชน หนังสือ ถิ่นพลัดไป ไทยพลัดถิ่น “บันทึกชีวิตเปลือยเปลา ไทยพลัดถิ่น” หนังสือเยือนไทยพลัดถิ่นในพมา และ การจัดทําสื่อรณรงคเพื่อสรางความเขาใจทีด่ ี ของสังคม ในบทเพลงคอย..ใน อัลบั้ม “ เสียงใจอันดามัน ” ในชวงประสบภัยสึนามิ ป ๒๕๔๗ คนไทยถิ่นพลัดจังหวัดระนอง ไมไดรับการชวยเหลือจากราชการ เพราะไมมีบัตรประชาชน แตไดรับงบประมาณสนับสนุนจากองคกรพัฒนาเอกชน ในการแกปญหาเบื้องตน จํานวน ไมมากนัก เพราะหลายองคกรยังไมเขาใจปญหานี้ และอาจเขาใจวาเปนคนผิดกฎหมาย อยางไรก็ตามธนาคารโลก และมูลนิธิโสสะแหงประเทศไทย ไดใหการสนับสนุนงบประมาณเพือ่ ฟนฟูผูประสบภัยสึนามิ แกเครือขาย ฯ โดย ผานมูลนิธิชุมชนไท นอกจากนี้ เครือขาย ฯ ไดประสานเชื่อมโยงกับเครือขายอื่นๆ โดยเปนสมาชิกเครือขายผูประสบภัยสึนามิ และรวมจัดตั้ง เครือขายชุมชนเพื่อการปฏิรูปสังคมและการเมือง (คปสม. ) รวมกับเครือขายองคกรชุมชนพื้นที่อื่นๆ ทั่วประเทศ ในวาระครบรอบ ๑ ปสึนามิ ป ๒๕๔๘ เครือขาย ฯไดมีการเสนอตอรัฐบาลในการแกปญหาคนไทยพลัดถิ่น รัฐบาลตั้งคณะกรรมการโดย มี พลอากาศเอก คงศักดิ์ วัทนา รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย เปนประธาน มีการ ประชุมเพียงครั้งเดียว และมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การแกปญหาจึงชงักไป ในป๒๕๔๙ เครือขายชุมชนเพื่อการปฏิรูปสังคมและการเมือง (คปสม.) ไดประมวลขอเสนอขององคกร เครือขาย ๔๕ เครือขายในการแกไขปญหาตางๆ ตอรัฐบาล โดยกรณีของกลุมคนไทยพลัดถิ่น มีขอเสนอใหคืน 6


สัญชาติไทย ดวยเงื่อนไขทางประวัติศาสตร และในระหวางกระบวนการตรวจสอบการคืนสัญชาติ ใหมีการรับรอง สิทธิขั้นพื้นฐานของคนเหลานี้ เชน การรับรองการเกิด การสมรส การรักษาพยาบาล การศึกษา การทํางาน ฯลฯ นอกจากนี้ คปสม. ไดรวบรวมประเด็นปญหาและขอเสนอการแกไขปญหาเสนอตอรัฐบาล ผานคณะกรรมการ แกปญหาสังคม กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ และหนวยงานที่ เกี่ยวของ ผังแสดงกิจกรรมและการเชื่อมโยงกับเครือขายอื่น เครือขายชุมชนเพื่อการ ปฏิรูปสังคมและการเมือง (คปสม.)

ศูนยประสานงานบานนําเค็ม ชุมชนในพังงา ๘ ชุมชน เครือขายฟนฟูเกาะลันตา จํานวน ๓๖ ชุมชน

รัฐธรรมนูญ พรบ.สภาชุมชน ทองถิ่น

เครือขาย ผูป ระสบภัยสึนามิ

เครือขายสิทธิคนจนพัฒนาภูเก็ต จํานวน ๒๕ชุมชน

แผนแมบท พัฒนาการเมือง แกปญหาที่ดิน

การคืนสัญชาติไทย

เครือขายแกปญหา การคืนสัญชาติไทย

คืนสัญชาติ การแกปญหาที่ดิน

การสํารวจขอมูล การฟน ฟูวิถีชีวิต ชุมชน

ออม ทรัพย

การฟนฟูวัฒธรรม

ที่อยูอาศัย/สภาพ แวดลอม

นโยบายที่กระทบ ชุมชน

เด็กเยาวชน การจัดสวัสดิการ

วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๐ ณ หองประชุมรัฐสภา นายภควินท แสงคง ที่ปรึกษาเครือขายการแกไขปญหา การคืน สัญ ชาติ ค นไทย ได นํ า เสนอป ญ หาการละเมิ ด สิ ทธิ คนไทยพลั ด ถิ่ น ในเวที รับฟ งข อ เสนอแนะของภาค ประชาชนและภาควิชาการในการจัดการปญหาความไรสถานะและสิทธิของบุคคลในประเทศไทย อาทิ คนพลัดถิ่น ถูกขมขื่น ไปแจงความกลับโดนขมขูและถูกแจงขอหาเขาเมืองผิดกฎหมาย เด็กในโรงเรียนถูกเพื่อนลอวาเปนพมา การถูกฉอโกงที่ดินทํากินเนื่องจากไมมีสิทธิถือครองอสังหาริมทรัพย เปนตน วันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๐ คณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปญหาและแนวทางแกไขการไรสถานะทาง กฎหมายและสิทธิของบุคคลในประเทศไทย สภานิติบัญญัติแหงชาติ ไดลงพื้นที่เพื่อศึกษาปญหาของคนพลัดถิ่นที่ จังหวัดระนอง พบวา กระบวนการจัดการตามมติคณะรัฐมนตรีตางๆ ยังไมแลวเสร็จ และมีความคืบหนาไมมากนัก โดยมีสาเหตุหลายประการ เชน หนวยงานที่รับผิดชอบมีขอจํากัด ความผันแปรทางการเมือง และที่สําคัญ คนไทย

7


พลัดถิ่น ไมยื่นคํารองขอแปลงสัญชาติจากพมามาเปนไทย กลับยอมที่จะมีสถานะเปนคนไรสัญชาติ เพราะยืนยัน วาบรรพบุรุษมีเลือดเนื้อเชื้อสายไทยและมีสัญชาติไทย วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๐ ที่ประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปญหาและแนวทาง แกไขการไร สถานะทางกฎหมายและสิทธิ ของบุคคลในประเทศไทย สภานิติ บัญญัติแหงชาติ ไดยกรางกฎหมายเพื่อแกไ ข ปรับปรุง พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. ๒๕๐๘ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ คณะกรรมาธิการวิสามัญ ฯ ดังกลาว ไดประชุมพิจารณาปรับปรุงราง พ.ร.บ.สัญชาติ ในวันที่ ๑๑ และวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ โดย ไดกําหนดแนวทาง การใหสถานะบุคคลแกคนไทยพลัดถิ่นไวในรางมาตรา ๒๒ ดังนี้ “มาตรา ๒๒ บรรดาบุคคลที่สืบสันดานจากบุพการีที่มีเชื้อสายไทยแตไมไดสัญชาติไทย โดยผลของ กฎหมายอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของประเทศ ถาเขามาอาศัยอยูจริงในราชอาณาจักรไทยโดยมีหลักฐาน ทางทะเบียนราษฎร และประสงคจะขอกลับคืนสัญชาติไทย ใหยื่นแสดงความจํานงตอพนักงานเจาหนาที่ การพิสูจนการเปนผูสืบสันดานจากบุพการีที่มีเชื้อสายไทยตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและ วิธีการที่รัฐมนตรีโดยความเห็นของคณะกรรมการตามมาตรา ๒๕ ประกาศกําหนด การอนุ ญ าตหรื อ ไม อ นุ ญ าตให ก ลั บ คื น สั ญ ชาติ ไ ทยตามวรรคหนึ่ ง ให ค ณะกรรมการตามมาตรา ๒๕ พิจารณาเสนอความเห็นตอรัฐมนตรีเพื่อมีคําสั่ง” แตดวยการปรับปรุงกฎหมายวาดวยสัญชาติในครั้งนี้ มีประเด็นตางๆถึง ๗ ประเด็น และเรื่องคนไทยพลัด ถิ่นเปนการขอคืนสัญชาติไทย เปนเรื่องใหมที่ยังไมมีในกฎหมายสัญชาติ และผูที่เกี่ยวของยังไมเขาใจมากนัก สภา นิติบัญญัติ ไดตัดสินใจตัดมาตรา ๒๒ ออกจากรางพระราชบัญญัติสัญชาติ อยางไรก็ตาม คณะกรรมาธิการฯ หลายทานไดอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกรณีคนไทยพลัดถิ่นอยาง กวางขวาง สวนใหญมีความเห็นวา การใหสถานะเกี่ยวกับสัญชาติแกคนไทยพลัดถิ่นไมควรใชหลักการแปลงสัญชาติ ผลสรุปของการพิจารณาเรื่องนี้ คณะกรรมาธิการฯ มีมติใหตั้งเปนขอสังเกตไวทายพระราชบัญญัติสัญชาติ ฉบับนี้ ซึ่งมี ๒ ขอ ไดแก ๑. ตามยุทธศาสตรของรัฐบาลที่เห็นชอบใหดําเนินการแปลงสัญชาติเปนไทยแกผูอพยพเชื้อสายไทยเพราะ เหตุการเสียสัญชาติไทยไปดวยเหตุการเสียดินแดนยังไมเหมาะสม กระทบตอความ รูสึกของกลุมบุคคลดังกลาว ควร ใหไดสัญชาติไทยกลับคืนมาโดยบทบัญญัติของกฎหมายอยางภาคภูมิใจ และไมอาจถูกถอนสัญชาติไทยเพราะ เหตุการแปลงสัญชาติเปนไทย รัฐบาลควรเรงศึกษาการตรากฎหมายคืนสัญชาติไทยใหแกกลุมบุคคลดังกลาวโดยเร็ว ตอไป ๒. รัฐบาลควรเรงรัดนโยบายและยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับการแกไขปญหาสถานะของผูอพยพเชื้อสายไทย ที่อาศัยอยูในประเทศไทยใหดําเนินการอยางเปนรูปธรรมโดยเร็ว ขอสังเกตดังกลาวไดผานความเห็นชอบในการประชุมสภานิติบัญญัติแหงชาติ วาระ ๒ และวาระ ๓ เพื่อสง ใหคณะรัฐมนตรีรับไปพิจารณาดําเนินการตอไป

8


 หาการคืนสัญชาติคนไทย ดร.ฐิ รวุ ฒิ วัน ที่ ๑๒ ธั น วาคม ๒๕๕๑ มูลนิธิชุมชนไท รวมกับ เครือขายแกปญ เสนาคํา และศ.ระพี สาคริ ก ได เ สนอหัว ข อ “ สุข ภาวะของคนไทยพลัด ถิ่น : คนไรสั ญ ชาติ ” ในการจัด ประชุมวิ ช าการของคณะกรรมการสุข ภาพแหงชาติ ในสมั ช ชาสุ ข ภาพแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ ณ อาคาร สหประชาชาติ ถนนราชดํา เนิน นอก กรุ งเทพ ฯ หลายฝา ยเห็น ควร ยกระดั บ การแกปญหาเรื่ อ งคนไทยพลั ด ถิ่น อยา งจริ ง จั ง วันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๒ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รวมกับภาคีตางๆ จัดสัมมนา หัวขอ “ ถึงเวลา คืนสัญชาติไทย ..ใหคนไทยพลัดถิ่น หรือยัง ” ดร.บรรเจิ ด สิ ง คะเนติ ยกตั ว อยาง เมื่ อเยอรมัน ปกครองดว ยรั ฐ บาลนาซี คนหนีอ อกนอกประเทศ จํา นวนมาก หลัง สงครามโลกครั้ งที่ ๒ เยอรมั น รา งรัฐ ธรรมนู ญเอาคนเยอรมั น กลับ ประเทศ “ ชาวเยอรมั น หมายถึ ง คนที่ มีสั ญชาติเยอรมัน หรือ เปน ผูลี้ภัย หรื อเปน ผูถู กขับ ออกจากประเทศ เยอรมัน หรื อเปน คู ส มรส หรื อ เปน ผูสืบ สัน ดาน บุค คลเหล า นี้ คื อคนที่มีสั ญ ชาติ เยอรมั น ” ผู มีสั ญ ชาติ เยอรมัน มา ก อน หากได เ สี ย สัญ ชาติ ด ว ยเหตุทางการเมื อง ทางเชื้ อ ชาติ ทางศาสนา ให ผู สื บเชื้ อสายยื่ น คํา ร องเพื่ อให ไ ด รับสั ญ ชาติคืน ไม ใ หถื อวา ถูก เพิก ถอนสั ญ ชาติ หากคนเหล า นั้น ไดกลับ มาอยู ใ นเยอรมั น อี ก ครั้ ง ดร.บรรเจิ ด สรุ ปว า เป น การสะท อ นความรับผิด ชอบของรัฐ บาลตอ คนของตน ต อเลื อ ดเนื้อเชื้อ ไขของตน ไมว าอยูที่ ไ หนในโลกนี้ หากกลับ มาคุ ณ มีสัญ ชาติเยอรมัน เห็น วา กฎหมายเปน เครื่ องมื อรั บ ใชค วาม ยุติ ธ รรมของมนุ ษ ยชาติ รั บ รองศัก ดิ์ศรี ค วามเปน มนุ ษ ย กฎหมายสั ญ ชาติ ที่ มี อยู การแปลงสั ญ ชาติ ไม อ าจนํา มาใชกั บ คนไทยพลัด ถิ่ น ได เพราะไมใ ชคนตา ง ดาว จึงตอ งร า งกฎหมายใหม การยอมรั บว าร า งกฎหมายคืน สั ญชาติ เทากั บการรับ รองวาเขามิใ ชตา งด า ว กรณีคนไทยพลั ด ถิ่น มิไ ดเ สี ย สั ญชาติ แตด วยสถานการณ บา นเมืองทํา ให “ การมีสั ญ ชาติพ รา มัว ” จึ ง ไมไ ดรับ สิท ธิเ หมือ นคนไทยทั่ ว ไป ภาคประชาชนควรเสนอร า งกฎหมายเอง หากราชการหรื อการเมือง ลาช า ตั ว รา งกฎหมายของประชาชนเปน ตัว กระตุ น และเปน การสรา งความเข า ใจ และสรา งกระบวนการมี ส ว นร ว มของภาคประชาชนในการผลั ก ดั น ใหต นเองได รับสิ ทธิ รวมทั้ง แสดงถึง การตื่น ตัว ของประชาชนที่ ตระหนั ก ว ารั ฐ ไทยควรให สัญ ชาติ กับ คนกลุ มนี้ ประเด็นที่ตองถกเถียงคือขอบเขตของบุคคล ใหมีความชัดเจน สามารถครอบคลุมกลุมเปาหมายได ในแง ของกระบวนการพิสูจนจะมีความตางจากกระบวนการของคนตางดาว สาระสําคัญมันไมเหมือนกัน จึงไปใชกม.เดิม ไมได ดังนั้น กระบวนการในการพิสูจน จึงควรตองมีดีกรีในการเรียกรองที่แตกตางกัน ทายที่สุด อยาใหกระบวนการทั้งหลายทั้งปวง ไปขึ้นกับดุลพินิจของเจาหนาที่ ที่อาจนําไปสูปญหา ในทางปฏิบัติ หมายความวา เกณฑจะตองมีความชัดเจน ที่ลดทอนดุลพินิจในบางสวน เพราะในทางปฏิบัติของ เจาหนาที่ ดุลพินิจนั้นเอง ที่อาจเปนตัวกอปญหา แตอยางไรก็ตาม การเขียนกม.จะไมมีทางเขียนใหชัดเจน แนนอน ตายตัว แตดุลพินิจจะตองสามารถแสดงในเชิงภาววิสัย ในเชิงประจักษได

9


กฎหมายแมบท ควรกําหนดกรอบกวาง และไปกําหนดรายละเอียดในระดับกลไกของกม.ลําดับรอง รวมถึง การนํากลไกของคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ที่จะชวยคลายความแข็งตัวของการใชอํานาจของรัฐมนตรี โดยใหการ พิสูจนไปผานจากเจาหนาที่ ที่มาจากหลายภาคสวน เพื่อใหเกิดการออนตัวในการทําความเขาใจสภาพการณตางๆ “ ผมขอสรุปวา คนเหลานี้เขามีความชอบธรรมโดยสมบูรณ ที่จะอยูในผืนแผนดินนี้ สิ่งที่เกิดขึ้น หาเปน ความผิดที่อยูในวิสัยที่เขาจะแกแกได เปนเพียงผลพวงของปญหา ในแงของรัฐไทยจึงตองอาศัยเครื่องมือของรัฐเพื่อการแกไขปญหาเหลานี้ เทากับเปนการลดทอนปญหาที่ อาจขยายตัวรุนแรงมากขึ้น ความขัดแยงตางๆ ทายที่สุดอาจขยายไปสูความขัดแยงในเชิงสังคมในเชิงการเมือง ในเชิง สงครามได ถารัฐไมตัดทอน ลดปญหา ซึ่งเปนความรับผิดชอบของรัฐไทย ที่ตองรับผิดชอบในผลพวงตางๆ เหลานี้ เพราะเขาเปนคนไทย เขามีความชอบธรรม กม.เปนเพียงเครื่องมือที่จะไปรับใชความเปนธรรมเทานั้น ผมไมคิดวาจะ มีอุปสรรคใดๆ ถากม.จะกอใหเกิดความเปนธรรมแกคนกลุมหนึ่ง ที่เขามีความชอบธรรมที่จะยืนบนแผนดินนี้อยาง ภาคภูมิใจ กม.ของรัฐจะตองเรงเขาไป ประเด็นสําคัญในรางกม.ที่จะเสนอ ก็คือ จะใหครอบคลุมใคร มีตัวเลขแนนอน มีหลักฐานการพิสูจนมาก นอยเพียงใด อันจะนําไปสูการกําหนดหลักเกณฑในรายละเอียดวาจะพิสูจนอยางไร หลักการใหญคือ ถาจะคืนสัญชาติ แลวคนที่จะรับคืนสัญชาติ คือใคร หลักฐานคืออะไรบาง มีจํานวนเทาไร ฯลฯ ตรงนี้เปนคําถามที่จะตองมาประชุม แลกเปลี่ยนในเชิงหลักการ ขอมูล หลังจากไดหลักเกณฑแลว จะตองเปดใหมีกระบวนการรับฟง การมีสวนรวมของภาคสวนตางๆ เพื่อรับฟง จุดออน จุดแข็งของรางฯ ของภาคประชาชน มีความเปนไปไดมากนอยเพียงใด >> นําขอเสนอแนะไปปรับปรุงราง ฯ จนไดขอยุติ >> เขาสูกระบวนการเขาชื่อของประชาชน (อาจดําเนินการในลักษณะคูขนาน คือ ประชาสัมพันธไป ลวงหนาเพื่อเตรียมรายชื่อ) เรื่องนี้ไมใชเรื่องของการไปออกกม.ที่จะไปบังคับใหรัฐมารับคนกลุมนี้ วาเปนคนไทย คนเหลานี้เปนคน ไทยอยูแลว แตความไมแจมชัดในทางกม. ในทางประวัติศาสตร ดวยเหตุตางๆ แลวกม.ฉบับนี้จะทําใหมันแจมชัด ขึ้นมา ในเชิงเนื้อหา วัฒนธรรม ประเพณี เรายอมรับวาเขาเปนคนไทยในจิตวิญญาณ แตไมปรากฎในเอกสารของ ทางราชการ กม.ฉบับนี้จึงไปคืนความยุติธรรมใหแกเขา ไมใชเปนการเขียนกม.เพื่อใหสัญชาติกับใครไมรู และนี่คือ ความชอบธรรมที่เกี่ยวกับหมวด ๓ เพราะมันเปนตนทางแหงการใชสิทธิตามรธน. เมื่อโดยจิตวิญญาณเขาเปนคน ไทย ไฉนเขาจึงไมมีสิทธิเทาคนไทย เอาอะไรมาอธิบาย ถาดูตามม.๓๐ แหงรธน. เพราะฉะนั้น เขาจึงโตแยงวา ทําไมเขาจึงไมมีสิทธิ ทั้งที่เขาไดรับการยอมรับวาเปนคนไทย ” วั น ที่ ๕-๗ กุมพาพัน ธ ๒๕๕๒ เครือ ข า ยแก ป ญ หาการคืน สั ญ ชาติคนไทย มี ก ารจั ด เวทีสรุ ป บทเรี ย นการทํา งานของเครื อข าย มีส มาชิก เข ารว ม 250 คน ณ วั ด ประชาสนธิ อ.ทั บ สะแก จ.ประจวบ ทา นเจ า อาวาส ไดก ลา วเป ด การประชุ ม และใหกําลั ง ใจคนไทยพลัด ถิ่ น ปลัด อํา เภอมาดู แลความ 10


เรี ย บร อ ยตั้งแต เ ช า ตํา รวจในพื้ น ที่นํา กลองวีดี โ อมาบัน ทึ ก ภาพ หน ว ยขา วกรองมาร ว มสั ง เกตการณ แ ละขอ เอกสารการประชุม จากการพูด คุย ก็มีค วามกังวลวา คนกลุมนี้ จ ะไปรวมกั บ การเคลื่ อ นไหวทางการเมื อง แต เห็ น ว า ควรออกกฎหมายคื น สัญ ชาติ ให ค นกลุมนี้ เหล านี้ เ ป น ความกั ง วลของเจ า หน าที่ใ นพื้ น ที่ ที่ ต อง ปฏิบั ติง านตามระเบีย บคํา สั่ ง มานาน ผลสรุ ป การสั มมนา จะมีก ารจัด เวทีทํา ความเข า ใจ การระดมความคิด เห็ น จากสมาชิ ก ในพื้ น ที่ต า งๆ เพื่อ ยกร า งกฎหมายการคื น สั ญ ชาติ และการสํา รวจจํานวนสมาชิ ก ทั้ ง ในและนอกเครื อข าย รวมทั้ งมี แผนการประสานและทํา ความเขา ใจกับ หนว ยงานตา งๆทั้ ง ในท อ งถิ่น และระดั บ นโยบายให ม ากขึ้ น เดือนเมษายน – เดื อนมิถุ น ายน ๒๕๕๒ เครือขายแกปญหาการคืน สั ญ ชาติ คนไทย จัด เวทีร ะดม ความคิ ด เห็ น จากสมาชิ ก ในเครื อขาย ฯ ในชุม ชนต างๆ รวม ๔๑ เวที สมาชิ ก เข ารว มกวา ๕,๐๐๐ คน เพื่อ หาแนวทางร า ง พ.ร.บ.คืนสัญชาติคนไทย โดย สรุปสาระสําคัญคือ ๑. พ.ร.บ. เรียกวา พ.ร.บ.คืนสัญชาติคนไทย กรณีคนไทยพลัดถิ่น ๒. “ คนไทยพลัดถิ่น ” หมายถึงบุคคลที่มีเชื้อสายไทย บรรพบุรุษอาศัยอยูบนดินแดนของไทย กอนการปกปน เขตแดนใหมระหวางไทยกับพมา และปจจุบันกลับอาศัยอยูในประเทศไทย อยางถาวร ๓. มีความเคารพ ศรัทธาในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยไทย และมีสํานึกความเปนไทย ๔. มีความเขาใจในภาษาไทย ภาคใต สามารถ พูด หรือ เขียน หรือ อานได ๕. มีความประสงคและความสมัครใจที่จะขอสัญชาติไทยคืน ๖. สามารถตรวจสอบเครือญาติและสายตระกูลได ๗. มีความยึดมั่นในวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวติ ของไทยภาคใต เชน การทําพิธไี หวเจาที่ ทําบุญเดือนสิบ เขาพรรษา สงกรานต ฯลฯ บทเฉพาะกาล • บุคคลที่แปลงสัญชาติไทยไปแลวหากอยูภ ายใต พ.ร.บ. นี้ใหมีผลตาม พ.ร.บ.นี้ดวย • พ.ร.บ.คืนสัญชาติคนไทย ใหมีการนํารอง คืนสัญชาติไทยใหแก สมาชิกเครือขายการแกปญหาคืนสัญชาติ คนไทย เปนลําดับแรกเพราะมีฐานขอมูลและมีกระบวนการทํางานรวม/การตรวจสอบที่ชัดเจนมากวา 5 ป • รัฐบาลควรจัดใหมีกระบวนการสํารวจขอมูลคนไทยพลัดถิ่นที่อาศัยในประเทศไทย ใหแลวเสร็จ โดย รวมมือระหวาง องคกรชาวบาน ฯ หนวยงานภาครัฐ หนวยงานภาคเอกชน นักวิชาการ ฯลฯ ขอเสนอ : ที่เครือขายการแกปญหาการคืนสัญชาติไทย เสนอตอรัฐบาล 1. เสนอใหมีการออกบัตรรับรอง ในระหวางการออกกฎหมายคืนสัญชาติ เพื่อปองกันการเอาเปรียบ และใหไดรับสิทธิขั้นพื้นฐาน เรื่องการรับรองการเกิด การศึกษา การรักษาพยาบาล การเดินทาง การทํางาน และการประกันสังคม การเปนเจาของ สังหาริมทรัพยและอสังหาริมทรัพย การไดรับ ความคุมครองตามกฎหมาย การสมรส การแจงความ 2. เสนอใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการรวม โดยมีตัวแทนจากหนวยงานรัฐ องคกรพัฒนาเอกชน นักวิชาการสาขาตางๆ และตัวแทนเครือขาย ฯ โดยระบุระยะเวลาในการดําเนินงานชัดเจน เพื่อ 11


- เพื่อศึกษาหาแนวทางการแกปญหารวมกัน รวมทั้งสนับสนุนการรางกม.คืนสัญชาติ - เพื่อตรวจสอบการขึ้นทะเบียนสํารวจและออกบัตรประจําตัวผูไมมีสถานะทางทะเบียน - เพื่อจัดกระบวนการสํารวจ ตรวจสอบ ขอมูลคนไทยพลัดถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ 3. สนับสนุนกองทุนการฟนฟูวิถีชีวิต กองทุนการศึกษาเด็กไทยพลัดถิ่น กองทุนการแกไขปญหา สัญชาติไทย กองทุนตรวจ DNA 4. สนับสนุนใหมีกฎหมายคืนสัญชาติไทยแกบุคคลที่ เสียสัญชาติโดยการเสียดินแดน โดยบรรดา บุคคลที่เคยมีสัญชาติไทย เดินทางกลับเขามาดินแดนไทยหลัง พ.ศ. ๒๔๑๑ ไดรับสิทธิ ในการคืน สั ญ ชาติ ไ ทย และ ควรมี ก ารรวมกลุ ม ที่ ต รวจสอบได โดยเฉพาะสมาชิ ก เครื อ ข า ย ฯ ที่ มี กระบวนการทํางานที่ชัดเจน มาเปนระยะเวลานาน 5. ดําเนินการคืนสัญชาติไทย “ ชีวิตคนไทย ที่ถูกแลกไปเพื่อเอกราช นับเวลาผานมาเปนรอยป ผูเสียสละ ทําไมไมมีสิทธิ

ใหไทยทั้งชาติเปนไทย อยางในวันนี้ คนไทยกลุมนี้ถูกทอดทิ้งพลัดถิ่นไทย แมจะคิด จะพูดในสิ่งที่หวัง ” อัลบั้มเสียงใจอันดามัน

preedakong@hotmail.com 16 กพ.52 อางอิงเอกสารและขอบคุณ 1. ศ.ระพี สาคริก 2. ดร.ฐิรวุฒิ เสนาคํา 3.ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ 4. ดร.พันธทิพย สายสุนทร ณ อยุธยา และทีมงาน 5. นายวีนัส สีสุข 6. เครือขายการแกปญหาคืนสัญชาติคนไทย 7. นางเตือนใจ ดีเทศน 8.นางมุกดา อินตะสาร

12


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.