0
สรุปบทเรียน
โดย อาสาสมัครทุกคน
1
สารบัญ
บทที่
หนา
บทที่ 1 Timeline เลาเรื่องรายวัน day by day ฉาย dynamic การปรับตัว การรวมตัว บทบาทของแตละฝาย
2
บทที่ 2 Part by part กาวยางแตละกาว เลาแบบ Part by part เลาการทํางานของแตละฝาย โครงสรางการทํางาน ใน เชิงขอแนะนําการตั้งศูนย
15
บทที่ 3 Reflection สิ่งสะทอนจากตัวคน บทเรียนจากการทํางานของอาสาสมัคร
29
2
บทที่ 1 Timeline เลาเรื่องรายวัน day by day ฉาย dynamic การปรับตัว การรวมตัว บทบาทของแตละฝาย เรื่อง ชวงที่ 0 กาวกอนเริ่ม ชวงที่ 1 day1-day3 วิกฤติชวี ิต ชวงที่ 2 day4-day7 วิกฤติปากทอง ชวงที่ 3 day7-day10 เฝาระวังภัยซ้ํา สรุปยอย รอยเรียง Dynamic ความเปลี่ยนแปลงทัง้ 3 ชวง
หนา 3 4 7 3 11
3
ชวงที่ 0 กาวกอนเริ่ม การตั้งเคากลุมกอนนักเคลื่อนไหวทางสังคมทั้งภาคธุรกิจและนักพัฒนาฯ ที่กอการกันจนเกิด ศู น ย อ าสาสมั ค รประชาชนฟ น ฟู ภั ย พิ บั ติ ( ศอบ.)ในครั้ ง นี้ เริ่ ม มาจากการประชุ ม กั น 3 ครั้ ง ที่ ธนาคารกรุงไทยในวันที่ 26 ตุลาคม ที่ สสส. ในวันที่ 28 ตุลาคม และที่ทีวีไทย ในวันที่ 1 พฤศิจกายน เพื่อรวมตัวกันหารือกันถึงแตละกาวที่แตละคนจะลงมือกับเหตุน้ําทวม ที่เริ่มฤดูของความแปรปรวนดวย จังหวัดที่ทวมนําไปกอน ไดแก ราชบุรี เพชรบุรีและโคราช ซึ่งเปนปฐมบทที่ปลุกใหตื่นและมองเห็นได แลววาจะมีทั้งน้ําและฝนอีกเปนกอนๆ กําลังจอคิวตามมา แมวาจะ “เงื้องาราคาแพง” ของการรวมตัวกัน ในการรับน้ํากอนนี้จะชาไปนิด แตเวลาของการเงื้อนั้นก็ทําใหผูกอการทั้งหลายไดเก็บชั่วโมง พิสูจน บทเรียนการรับบริจาคและชวยเหลือผูประสบภัย และคัดกรองคนที่มีแนวคิดเดียวกันใหโดดลงมารวมวง เดียวกัน โดยมีดีเปรสชั่นที่ยกตัวขึ้นฝงของภาคใตในวันจันทรที่ 1 พฤศจิกายน เปนตัวเรงในการ ตัดสินใจ และมีเวทีระดมความคิดในชวงเย็นที่จัดขึ้นที่ทีวีไทย จนเกิดแนวคิดหลักในการดําเนินงานของ เครือขายภาคประชาชนเพื่อรับมือกับวิกฤตที่จะคุกคามทั้งผูใหความชวยเหลือและผูประสบภัย บทเรียนจากการทํางานฟนฟูบนความหลากหลายของสภาพภูมิศาสตรและวัฒนธรรมเปนสิ่งทํา ใหการทํางานแบบโครงขายในพื้นที่จําเปนตองถูกจัดตั้งขึ้น อาจารยยักษ (วิวัฒน ศัลยกําธร) ไดเสนอ หลักการทํางานเพื่อชวยเหลือผูประสบภัยที่เขาถึงชุมชนในเชิงลึกและสรางความเขมแข็งในการจัดการ ตัวเองไปพรอมๆกันวา การจัดการในระดับภาคประชาชนนั้น (ดังภาพที่ 1) จําเปนตองมีการทํางานแบบ กระจายศูนย (node) ออกไปแบบแบนราบในการใหความชวยเหลือและทรัพยากรจากสวนกลางที่ไปสู พื้นที่ปลายทาง ไปสูการจัดการดวยคนปลายทาง ซึ่งรูจักพื้นที่ของตนเองดีที่สุด
ภาพที่ 1 หลักการจัดการพื้นที่ประสบภัยตามแนวคิดภาคประชาชน
4
ที่จริงหลักการที่วามานี้ ไมไดมาจากความคิดของคนคนเดียว แตแนวคิดนี้ไดรับการทดสอบและ ยืนยันดวยบทเรียนจากการทํางานของภาคประชาชนที่ชุมฉ่ําจนถึงเปยกโชกกันเกือบหนึ่งเดือนกอน หนา ประกอบกับบทเรียนจากน้ําทวมในปลายป 49 เหตุการณสึนามิในป 2546 องคกรภาคประชาชน ทั้งหมดกวา 50 องคกร แทบทั้งหมดมีความคิดเห็นในปญหาและการหาวิธีแกที่ตรงกันอยางที่ไมนาเชื่อ ว า การลดป ญ หาการเข าไม ถึง ชุมชนที่ ต กค า งและการให ค วามชว ยเหลือ ที่ไม เ ท า เที ย มนั้น ควรให ชาวบานหรือภาคประชาสังคมในพื้นที่ ทําหนาที่มดงานระดมกําลังจากพื้นที่ใกลเคียง ขนขาวขนของเขา ไปจัดสรรและแบงปนในชุมชนของตนเอง เพราะมดงานเหลานี้รูจักทรัพยากรและรูจักพื้นที่ของตนเองดี ที่สุด จึงควรใชการโยงใหชุมชนที่ประสบภัยไดรับความชวยแบบชาวบานใหชวยชาวบานดวยกันเอง แมวาแนวคิดการจัดการแบบแบนราบสูทองที่ อาจมองไดวาเปนแนวคิดการจัดการแบบแนวดิ่ง ในอีกรูปแบบหนึ่ง ผูเขียนบทความนี้ก็ขอยืนยันวา แนวความคิดการจัดการแบบแบนราบของกรุงเทพ ที่ จะนําสิ่งของบริจาควิ่งไปสูแตละชุมชนโดยตรง ก็อาจเปนการจัดการสูปลายทางแบบแนวดิ่งพื้นอีก รูปแบบหนึ่งดวยเชนกัน เพราะความคิดของมนุษยเรานั้นไมสมบูรณแบบ การแสวงหาจุดรวมและการ สงวนความแตกตาง ก็นับเปนการจัดการทางความคิดที่เราไมสามารถเพิกเฉยไดอีกประการหนึ่ง ชวงที่ 1 Day1-day3 อุทกภัยทางความคิด และวิกฤติชีวิตในพื้นที่ประสบภัย หลังจากที่ดีเปรสชั่นมาถึงภาคใตฝงอาวไทยและเสร็จประชุมวันกอน ทีมขาวของทีวีไทย นําโดย พี่แวว (นาตยา แวววีรคุปต) และทีม Frontline ของ 1,500 ไมล นําโดยพี่โตง (รัฐภูมิ อยูพรอม) ก็ออก เดินทางลงไปปลายทางหาดใหญเพื่อลงสํารวจพื้นที่ พรอมกับเชาวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 ที่การ เตรียมศูนยรับมือวิกฤตที่กรุงเทพ ไดเริ่มขึ้นที่ชั้น 2 ของโรงแรมพินนาเคิล ลุมพินี ที่ ดร.วงษภูมิ วนาสิน ใหใชเปนที่ทํางานและที่พักสําหรับอาสาสมัครไดเปลี่ยนกะทํางานตอเนื่องกันไดตลอด 24 ชั่วโมง โดยมี พี่ลักษณ สมลักษณ หุตานุวัตร จาก SVN (Social venture network) คอยเปนแมบานและแมงานที่ดูแล ศูนยอาสาประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ (ศอบ.) ซึ่งปรับเปลี่ยนชื่อมาหลายรอบจนไดชื่อนี้ในปจจุบัน และยังมี สสส., ทีวีไทย และ www.thaiflood.com คอยใหการสนับสนุน สิ่งแรกที่ทําในการเริ่มศูนยวันนั้นคือ การสรางระบบการประสานขอมูลในฝายทั้ง 5 ที่อาจารย ยักษไดรางไวเมื่อวันกอนตอนประชุมที่ทีวีไทย คือ ฝายขอมูล-ขาว ฝายมวลชน ฝายทรัพยากร ฝาย อาสาสมัคร ฝายบริหาร โดยการเสนอตัวของอาสาหนึ่งคนตอหนึ่งฝายขึ้นมาเปนเจาภาพหลักในการรวม ข อ มู ล เพื่ อ ที่ จ ะตั ด สิ น ใจต อ ในฝ า ยนั้ น เพื่ อ ลดความซ้ํ า ซ อ นในการสื่ อ สาร ที่ นี่ เ ราเรี ย กระบบนี้ ว า Communications line พูดงายๆ คือ จะบอกเรื่องไหน ก็เดินไปหาคนนั้น โดยขอมูลที่จะเขาไปยังแตละ ฝายนั้นประกอบดวย 1. มวลชน (ชุมชน/คนพื้นที่) เปนตัวแทนคนในพื้นที่ ทําหนาที่สื่อสาร ชวยประเมินสถานการณ และประสานความชวยเหลือ โดยมีพื้นฐานความเขาใจในพื้นที่ประสบภัยและมี connection ศูนย ประสานงานในระดับพื้นที่ สื่อสารเอาขอมูลมาแชรกับฝายทรัพยากรซึ่งเปนสวนตอไป
5
2. ทรัพยากร ทําหนาที่ระดมของบริจาค และประสานขอมูลความตองการความชวยเหลือ เชน พื้นที่ที่ตองการใหชวยประสานเรือที่จะอพยพ พื้นที่ที่ตองการอาหารสด พื้นที่ที่ตองการถุงยังชีพ รวมไปถึงการประสานพาหนะสําหรับขนสงไปยังพื้นที่ประสบภัยตอไป 3. ขอมูล–ขาว ทําเรื่องสถานการณพื้นที่ ระดับน้ํา ระดับความเสียหาย ความเสี่ยงที่จะโดนซ้ําและ การเตือนภัย เพื่อจัดลําดับการสงความชวยเหลือหรือแจงเตือนใหมีการเตรียมพรอม 4. อาสาสมัคร ทําหนาที่จัดระบบคนที่เขามาทําใหศูนยลื่นไหล ไปยังตําแหนงตางๆที่มีความ ตองการทั้งหนางาน (ในพื้นที่) และ หลังบาน (ที่ศูนยกรุงเทพ) 5. บริหาร แนนนอนวา War room ก็คือ หองแหงการบริหารจัดการ ทุกชวงเย็นผูใหญและผู ประสบการณทั้งหลายจะแวะเวียนมาแลกเปลี่ยนความคิดในการกําหนดทิศทางรวมกันตอไป หลักการทํางานที่วาไปขางบนพอจะเขียนเปน Map ไดดังภาพนี้
ภาพที่ 2 โครงสรางการทํางานของศูนยอาสาสมัครประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ ชวงที่ฟาสวางของวันแรกทั้งวันนี่หมดไปกับการระดมความคิด จัดระบบ และอะไรอีกหลาย อยางที่ไมลงตัว พอเขาสูชวงฟามืดนี่ยิ่งแยกวา เพราะตัวเมืองก็ถูกน้ําหลาก-น้ําทวมสูงเปนเมตรทําใหไป ไหนไมได พื้นที่ปลายทางถูกตัดไฟเพื่อปองกันไฟรั่ว เสนทางเดินรถก็ไปไดยากเพราะตนไมลมระหวาง ทางปดถนนไปหลายจุด ระบบโทรศัพทลมเหลวเพราะชองสัญญาณเต็มเนื่องจากมีผูใชบริการจํานวน มาก แมแตจะติดตอทีม Frontline เพื่อสื่อสารกันเองก็ทําไดยาก ตั้งแตฟามืดนี่ภารกิจหลักของเรา คือ ประสานตอหนวยฉุกเฉินเขากับความชวยเหลือที่รองขอมาทั้งทาง Twitter บนหนาเว็บ Thaiflood และ ทางโทรศัพท เคสทุกเคสสะเทือนความรูสึกจนอยูนิ่งไมได อาสาสมัครซึ่งประสานงานในภาวะวิกฤติเปน
6
ครั้งแรกตางตื่นเตนและพยายามประสานหนวยเคลื่อนที่เร็วแทบทุกชนิดลงไปชวยในพื้นที่ คอยจดจอ ความคืบหนาในการใหความชวยเหลือไมวาจะเปน เคสหญิงทองแกจะคลอดจนน้ําเดินแลวแตติดอยูในที่ พัก หรือ เคสคนปวยเสนเลือดสมองตีบเจาะคอชวยหายใจที่ติดอยูในโรงแรมกําลังอาการทรุด ซึ่งญาติ เลาสถานการณใหฟงดวยน้ําเสียงสั่นเครือ เรื่องราวเหลานี้ตอง recheck หลายครั้งเพื่อใหไดขอมูลที่ ชัดเจน เรียกวา เจอขอมูลไหลเขามาทวมจนประสบอุทกภัยทางความคิดกันไปหมดเลยทีเดียว การทํางานอาสาสมัครในวันแรก จึงอยูในภาวะโกลาหลกันทั้งคืน หลุดไปจากเริ่มแรกที่ตั้งใจวา จะประชุมสรุปงานกันทุก 3 ชั่วโมง เราตางก็ทําไมสําเร็จ และแมจะตั้งเปาวาจะทําหนาที่ประสาน node สนับสนุนใหเกิดการเชื่อมโยงภายในพื้นที่นั้น เสียงรองขอความชวยเหลือจากคนแตละคนที่มีเครื่องมือ สื่อสารเปนฟางเสนเดียว ก็ทําใหเราประสบอุทกภัยทางความคิดเอาใจไปติดกับชีวิตจนไขวเขว ทํางาน ไมไดไปตามเปาที่ตั้งไวตอนหัววัน กระทั่ งเชาวันที่ สองพี่ลั กษณถึงเรียกสติอาสาสมัค รทั้งที มคื นมาไดว า เป าหมายและวิ ธี การ ทํางานของเราคืออะไร การทํางานอยางมีระบบจริงๆ ถึงไดเริ่มขึ้นเปนครั้งแรก เรียกไดวาเมื่อน้ํานิ่งคนก็ เริ่มนิ่ง เพราะเมื่อโทรไปติดตามความคืบหนาในการชวยเหลือทั้งสองเคสที่เลาไปแลวในขางตนวา ไดรับ ความชวยเหลือและปลอดภัยแลว คนทํางานก็เริ่มมีสมาธิกับงานขางหนามากขึ้น เมื่อความรุนแรงของกระแสน้ําเริ่มลดลง ความตองการตอจากการเอาชีวิตรอดใหไปอยูในพื้นที่ ปลอดภัยก็คือ การกิน อาหารสดหรือเรียกงายๆ วา “ขาวกลอง” เปนความตองการถัดมาหลังจากไดที่ ปลอดภัย ใครบอกวาขาวกลองไมสําคัญ ผูเขียนขอบอกวา ขาวกลองเนี่ยสําคัญมาก การจะดูแลกันตอไป ของชุมชนเนี่ยขาวกลองถือเปนจุดเปลี่ยนของชุมชนเลยทีเดียว เพราะในปรากฏการณของพื้นที่ประสบ ภัย เราพบวา คนแตละคน หรือ แตละครอบครัว จะถูกซัดใหกระจัดกระจายหรือถูกทําใหปลีกแยก ออกไปจากสิ่งแวดลอมที่คุนชิน บางบานสูญเสียครัวและอุปกรณทําอาหาร บางคนตองยายหนีไปอยูที่ อื่นซึ่งไมรูวาจะไปหาอาหารไดที่ไหน การมีครัวรวมหรือครัวชุมชนเปนคําตอบที่จะทําใหผูประสบภัยซึ่ง กําลังเควงอยู ไดมีอาหารกิน ไดพื้นที่ที่จะรวมตัวกันพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่องราวที่เผชิญ ไปจนถึงหาทางที่ จะจัดการกับภาวะที่แตละคนเผชิญอยู ซึ่งครัวรวมหรือครัวชุมชนนี้อาจเกิดขึ้นไดทั้งการลงแรงกันของ ชาวบานเองและการเขาไปชวยตั้งโรงครัวจากคนนอกดวยการหาคนและหาวัตถุดิบตั้งตน อยาง น้ําปลา น้ํามัน พริก กระเทียม ผัก หมู เห็ด เปด ไก สําหรับมื้อแรกๆ เขาไปชวย เพื่อที่จะชวนชาวบานเขามา ชวยกันลงแรงตอไป ปรากฏการณในการบริจาคในครั้งนี้มีเรื่องนาดีใจ ที่คนไทยเขาใจลําดับความสําคัญ และความหมายของปจจัย 4 สําหรับผูประสบภัยมากขึ้น ครั้งนี้เราไมเห็นกองภูเขาเสื้อผา ครั้งนี้เรามอง ไม เ ห็ นกองของบริ จาคที่อยู นอกเหนือความจํา เปน ครั้งนี้เราเห็ นความเข าใจที่ดีขึ้ นในการให ค วาม ชว ยเหลือ ที่จ ะกอ ให เ กิ ด ป ญ หาความขั ด แย ง ระหว า งชุม ชนน อ ยลง ต องขอขอบคุ ณคนไทยที่ เ ขา ใจ บทเรียนในการบริจาคจากประสบการณที่เรารวมทุกขรวมสุขกันมา กอนที่จะเตลิดออกอาวไทยไป ตอนนี้ขอกลับมาที่ศูนยฯกอน งานที่เริ่มมีบทบาทมากขึ้นในชวง วันที่ 3 นี่คอยๆ เปลี่ยนจากการสื่อสาร มาเปนการระดมทรัพยากรและ logistic ในการประสานเรื่อง อาหารสดหรือขาวกลองไปชวยผูประสบภัยที่ติดอยูในพื้นที่ ซึ่งงานนี้ทีมเจาหนาที่จากมูลนิธิกระจกเงาก็ ไดเดินทางลงพื้นที่หาดใหญเพื่อประสานการตั้งศูนยขาวกลองและ logistic ของบริจาคลงไปจากกรุงเทพ
7
โดยมีสายการบินนกแอรอาสาขนใหในภารกิจนี้โดยเฉพาะ นอกจากนั้นวันนี้เรายังมีกลุมคนที่เราตองการ ที่สุดก็กาวเขามาในหอง พวกเขาคือ พี่ประยูร พี่ยาและพี่มณเฑียร ซึ่งเปนชาวบานแกนนําในเครือขาย องคกรชุมชนในภาคใตและมีประสบการในการฟนฟูชุมชนที่ประสบภัยสึนามิ ดวยการชวนของพี่ดวง มูลนิธิชุมชนไทย ใหเขามาลองดูวาจะชวยอะไรไดบางตั้งแตชวงเย็น ซึ่งพอกาวเขามาพี่ทั้งสามคนก็เห็น และรูทันทีเลยวา ทาจะตองอยูยาวซะแลว เพราะคนที่จะประสานชุมชนไดมันขาดจริงๆ หลักจากจูนระบบและจูนความเขาใจเขาดวยกัน การทํางานในวันที่สามลงลึกไปในพื้นที่ประสบ ภัยทั้ง 7 จังหวัด ไดแก ชุมพร สุราษฏรธานี นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง สงขลา และปตตานี จน สามารถคนพบคนที่จะเปนแกนในการประสานทองถิ่นไปไดอีกหลายพื้นที่ เพราะมีคนที่มี Connection และความเขาใจในทองถิ่นเขามารวมทีมดวยอยางเต็มตัว ชวงที่ 2 day4-day7 วิดขอมูลที่ทวมชีวิต แลวไปกูวิกฤติปากทอง คําถามที่มีอยูตลอดมาตั้งแตสมัยสึนามิ คือ เราจะลดปญหาความซ้ําซอนและการตกหลนในการ ใหความชวยเหลือในพื้นที่ประสบภัยพิบัติไดยังไง ก็หาคําตอบกันตอไป จนวันนี้ปญหานี้ก็ยังเจอเรื่องนี้ อยู แตในภาวะวิกฤตแบบนี้ สิ่งที่เราตองทําก็คือ ตองรูจักละและวางในสิ่งที่เรายังมองไมเห็นวาเราทําได แคไหน แตขณะเดียวกัน เราก็จะทําเต็มที่ในสิ่งที่เราทําได และทําตอไปใหถึงที่สุด หลังจากที่ศูนยเริ่มเปนที่รูจักและมีการสงขอความรับอาสาสมัครออกไป ชวงนี้อาสาสมัครก็เขา มาชวยงานในศูนยเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก ความหลากหลายของอาสาสมัครไดพัฒนาใหการทํางาน คอยๆ เขารูปเขารอยมากขึ้นเรื่อยๆ ถึงกระนั้นงานในชวง 4-5 วันแรกก็ยังไมไดเปนไปอยางที่ตั้งใจหวัง วาจะใหเกิด node ในการระดมทรัพยากรจากพื้นที่ใกลๆ มาชวยกันเอง เพราะเราเองก็ยังเปนการ ชวยเหลือจากขางบนแลวสงขึ้นเครื่องบินลงไปขางลาง และขางลางก็ยังไมสามารถตั้งตัวไดเชนกัน แต อย า งนอ ยเราก็ เ ริ่ มมี ผู ป ระสานและ node ซึ่ง เป น จุด เชื่ อ มต อที่ ชั ด เจนมากขึ้ น ในการประสานความ ชวยเหลือในลักษณะของใยแมงมุม ซึ่งถาพูดถึงใยแมงมุมนั่นก็แสดงวา มันตองมีตัวแมงมุม ถาเปรียบให ศูนย ศอบ. เปนตัวแมงมุม ชุมชนในพื้นที่เปนศูนยประสานงานก็คงเปนขาแมงมุมที่โยงความชวยเหลือ ให กั น และกั น เช น ช ว งที่ ค าบเกี่ ย วกั บ ระหว า งวิ ก ฤติ ป ากท อ งกั บ วิ ก ฤตชี วิ ต อย า งช ว งนี้ ตอนที่ นครศรีธรรมราชโดนพายุเ ขาถัดมาจากหาดใหญ เราไดทําหนาที่ประสานใหทางหาดใหญซึ่งน้ําลด คลี่คลายจนเรือเริ่มใชนอยลงแลว ใหหาดใหญสงเรือไปชวยนครฯที่ กําลั งน้ําเออ พรอมกันก็ไดชว ย ประสานเรื่องวิกฤตอาหาร พัทลุงมีโรงสีชุมชนมีขาวเล็บนก ซึ่งเปนขาวดีของทางใตที่ขายใหไดในราคา ชวยเหลือผูประสบภัยและยังจัดสงใหฟรี เราก็เปนตัวประสานใหขาวจากพัทลุง(สวนที่ไมทวม)ไปชวย พัทลุงสวนที่ทวม ไปชวยหาดใหญ ไปชวยนครฯ ได การระดมทรัพยากรและ logistic ในการสงอาหารและยาลงไปในพื้นที่จึงเปนงานที่มีบทบาท สําคัญในชวงนี้ ระบบการจัดการของเราแบงแบบงายๆ ไดเปน 2 สวน คือ ฝงตนทางที่กรุงเทพ และฝง ปลายทางที่ทางใต ซึ่งสื่อสารจํานวนของที่ตองการโดยรวมขึ้นมา สวนเราก็จัดหาของใหไดตามความ ตองการและตามจํานวนที่ตองการจัดเปนกลุมๆ แตละจังหวัด แลวทยอยสงไป โดยมีสายการบินนกแอร เอื้อเฟอพื้นที่โกดังใหเราจัดของและเอื้อเฟอเครื่องบินขนของใหในชวงที่ถนนยังถูกปดดวยน้ําและตนไมที่
8
ลมขวางอยูระหวางทาง โดยการจัดการของบริจาคในฝงกรุงเทพจะรับทั้งของที่เปนชิ้นยอยๆ จากผู บริจาคทั่วไปและของบริจาคลอตใหญๆ ที่มีผูบริจาคตรงจากโรงงาน ทั้งหมดจะถูกนํามาจัดแบงตาม ปริมาณที่แตละพื้นที่ตองการแลวสงไปยัง node ปลายทาง ดังรูปที่ 3
ภาพที่ 3 ระบบการจัดการของบริจาคและ logistic ไปยังพื้นที่ประสบภัย การระดมทรัพยากรและ logistic นี่กวาจะลงตัวก็ปาเขาไปวันที่ 7 ตั้งแตเปดศูนย ระหวางทางนี่ เจอปญหาและอุปสรรคในการทํางานมากมายซึ่งเดี๋ยวจะขอเลาตอในสรุปบทเรียนชุดถัดไปซึ่งจะเลาถึง รายละเอียดการของการทําแตละฝายอีกที วันที่ 7 ของการทํางานนี่ เพราะวาระบบงานเริ่มลงตัวแลว เราถึงไดขอปลีกตัวจากหองสี่เหลี่ยม ไปลงพื้นที่หนางานบาง ดวยความคิดเห็นที่ตรงกันทุกคนวา ถาคนที่ศูนยไมเขาใจสภาพหนางาน การ จัดระบบเพื่อพัฒนางานตอไปตามสภาวะที่เปนจริงมันจะเปนไปไดยาก เราจึงเดินทางลงไปปตตานี โดย นั่งเครื่องบินไปลงหาดใหญแลวตอรถตูไปลงที่ ม.อ. ปตตานี ซึ่งเปนสถานที่รวมพลของคนแกนหลักที่ ประสานระหวางชุมชนกับสวนกลางที่จะเขาไปใหความชวยเหลือ เราหารือกันถึงกลุมกอนของคนทํางาน ที่เกิดขึ้นวาจะขับเคลื่อนกันตอไปอยางไรและขอลงไปสัมผัสพื้นที่บานดาโตะ อ.ยะหริ่ง จ.ปตตานี ซึ่งมี ลักษณะเปนอาวที่ถูกขนาบดวยทะเล ซึ่งขอมูลที่ทางกรุงเทพไดรับคือ ในวันที่พายุเขา น้ําทะเลยกระดับ สูงขึ้นเปนเมตรตั้งแตชวงบายกอนที่พายุจะเขา ซึ่งขาวในทองที่ก็เตือนภัยแจงวาพายุจะเขาตอนกลางคืน แตขนาดฟายังไมมืดน้ํายังขึ้นสูงขนาดนี้ คนธรรมดาก็อยูนิ่งไมไดแลว ชาวบานก็เลยอพยพกันไปอยูในที่ ปลอดภัย ทิ้งไวแตฝูงแพะและบานเรือน ความเสียหายจึงเกิดขึ้นกับทรัพยสินมากกวา พอไปถึงนั้นเรา พบวา ชุมชนนี้ประสบภัยไมตางจากบานน้ําเค็ม สมัยที่โดนสึนามิ คือ ขอ 1 บานถูกคลื่นซัดพังเสียหาย
9
ขอ 2 มีคนเขาไปในชุมชนมากมายคลายกรุปทัวรจนรถติดยาวกวา 5 กิโล ไปถึงปากทางเขาชุมชน ขอ 3 มีความชวยเหลือเขาไปอยางลนหลาม แตปญหาเรื่องการจัดการจนเกิดรอยราวระหวางชุมชน
รูปที่ 4 สภาพชุมชนดาโตะ อ.ยะหริ่ง จ.ปตตานี ที่ไดรบั ความเสียหายจากดีเปรสชั่น ทั้งกอนลงพื้นที่และหลังจากกลับมา มีคําถามและขอถกเถียงวาสิ่งที่สรางความเสียหายใหชุมชน นี่เปน Strom surge หรือไม จนวันนี้ก็ยังไมมีคํายืนยัน และผูเฒาผูแกในชุมชนก็ยงั ไมเคยเจอเหตุการณ แบบนี้เลย ธรรมชาติในทุกวันนี้มันเปลี่ยนแปลงไป แลวเราจะรับมือยังไงกับความแปรปรวนที่นา กลัว ชวงที่ 3 day7-day10 เฝาระวังภัยซ้ํา พรอมกับทําในสิ่งที่ทําได แมวาสถานการณน้ําหลากจะเริ่มเบาบางลง แตฝนที่ตกสะสมก็ยังมีความเสี่ยงตอการเกิดภัย พิบัติซ้ํา ทั้ง landslide ในพื้นที่ลาดเอียงตามเชิงเขาและน้ําหลากตามพื้นที่รับน้ําทั้งหลาย ชวงนี้งาน ระดมทรัพยากรและ logistic เราก็ยังทําอยู แตสิ่งที่เพิ่มเขามาคือ เราเริ่มมีสติที่จะติดตาม ฝนตกสะสม ที่ จะทําใหเกิดดินถลมซ้ํา โดยใชวิทยุสื่อสาร ว.ดํา ที่จริงบทบาทการทํางานของวิทยุสื่อสารกับงานภัยพิบัติ ในศูนยนี่เริ่มมีมาตั้งแตที่พี่ยา และ พี่มณเฑียร เดินเขามาในศูนย แลวทําใหเราพบวา การ recheck ขอมูลทั้งความเสียหายและความชวยเหลือที่ตองการจากปลายทางพื้นที่ประสบภัยนั้น สามารถทํา รวมกันไดโดยใชโทรศัพท วิทยุสื่อสาร และ Social media อยาง Twitter ทั้ง 3 อยางรวมกัน เชน เมื่อเรา
10
พบการแจงของความชวยเหลือผาน Twitter เราก็จะโทรไปเช็คสถานะของคนโพส Twitter นั้นวา ขณะนั้นไดรับความชวยเหลือหรือยัง หากยังไมไดรับความชวยเหลือ เราก็จะไดวิทยุสื่อสารแจงขาวไปยัง ศูนยที่อยูใกลๆ ในพื้นที่วาสามารถใหความชวยเหลือไดอยางไรบาง ดังรูป
รูปที่ 5 การใชเครื่องมือสื่อสารเพื่อประสานความชวยเหลือกับพื้นทีป่ ระสบภัย โดยในสวนของวิทยุสื่อสารหรือ ว.ดํา นั้น เราใชโปรแกรม Echolink ซึ่งเปน VoIP ที่เชื่อม สัญญาณวิทยุสื่อสารผานเขาคอมพิวเตอร ทําใหคนอยูที่ไกลอยางกรุงเทพยังสามารถรับขาวสารทัน สถานการณไดพรัอมกับกลุมอาสาที่ใช ว.ดํา ในพื้นที่ประสบภัยทางใตดวย เลามาถึงตรงนี้คงเริ่มมี คําถามอีกแลววา โทรศัพทก็มี อินเตอรเนทที่จะเอาไวใช Social network ก็มี ทําไมตองกลับไปใชวิทยุ สื่อสารดวยละ เดี๋ยวคําถามนี้จะไปตอบอยางละเอียดในสรุปบทเรียนชุดถัดไป โปรดติดตามชมอีกเชนกัน การขอความชวยเหลือที่ศูนยฯ นอกจากจะเขามาโดย connection ของผูประสานงานพื้นที่แลว ก็ ยั ง มี ผู ที่ ต อ สายเข า มาโดยตรงผ า นโทรศั พ ท ส ว นกลางของศู น ย มี อ ยู ส ายหนึ่ ง โทรแจ ง มาว า เป น ผูประสบภัยอยูในพื้นที่ จ.อยุธยา ไมมีไฟฟาใชมากวาสัปดาหแลว อยากจะขอใหทางศูนยชวยเหลือดวย เมื่อนองอาสาสมัครไดรับสายนี้ นองก็เลาตอใหพี่ลักษณฟงและหารือวาเราจะทําอะไรไดบาง ผูเขียนซึ่ง เปนคนที่นั่งฟงทั้งสองคนอยูก็ทําไดเพียงคิดวา ก็คงตองรอใหทางไฟฟาเคาจัดการเอง แตดวยความคิดที่ ไมเคยรั้งรอที่จะลงมือและความเปนอาสาสมัคร ทั้งสองคนก็ประสานงานแจงปญหาที่ชาวบานไมมีไฟฟา ใชตอการไฟฟาสวนภูมิภาคของทางจังหวัด ไปจนกระทั่งเคามองเห็นปญหาและชวยหาทางออกใหจน เจาหนาที่แจงวาจะไปติดตั้งอุปกรณไฟฟาใหชาวบานไดมีไฟฟาใชไดในวันรุงขึ้น สําหรับผูเขียน เรื่องนี้เปนเรื่องราวเล็กๆ ที่นาภูมิใจวา การไมดูดายและไมรั้งรอของการขยับตัว จากฟนเฟองเล็กๆ ที่กาวขามความไมมั่นใจ สงเสียงไปบอกฟนเฟองขนาดใหญใหรูตัววาการขยับของ เขาสามารถเปลี่ยนแปลง สวนอื่นๆใหดีขึ้นไดอยางไร มันชวยย้ําใหเรามั่นใจวา เราทุกคนที่เปนฟนเฟอง ทุกอันไมวาเล็กหรือใหญ หากเราเลิกปดกั้นตัวเองจากความกลัววาจะทําไมได แลวมาลงมือเอาแคเพียง เรื่องเล็กๆ ที่เราทําได เทานี้โลกก็คอยๆเปลี่ยนแลว
11
สรุปยอย รอยเรียง Dynamic ความเปลี่ยนแปลงทัง้ 3 ชวง จากการทํางานทั้ง 3 ชวง จะเห็นไดวาคนที่มีบทบาทสําคัญในแตละชวงงานจะแบงเปน ชวงเตรียมการ งานดานวิชาการทั้งสายวิทยและสายสังคม ซึ่งอยูภายใตฝายขอมูลจะเปน ตัวกําหนดทิศทางการทํางานของศูนย ชวงเผชิญเหตุและเฝาระวังภัย งานดานสื่อสารซึ่งอยูภายใตฝายชุมชนจะมีบทบาทเดนกวา วิชาการ เพราะชุมชนซึ่งเปนผูเผชิญเหตุมีความเขาใจในบริบททางสังคมและภูมิศาสตรของตัวเองดีที่สุด การสื่อสารโดยมวลชนเชื่อมโยงกันระหวาง Connection ที่เปนคนที่เคยรูจักกันมากอนแลว ความเขาใจ และความไววางใจที่มีอยูเปนกุญแจสําคัญของการชี้ให node ปลายทางไดเริ่มตนความรวมมือกันและได ชูใหเห็นวาแตละพื้นที่จะมีใครเปนแกนหลักที่จะทํางานในชวงถัดไป ชวงฟนฟู ฝายทรัพยากรและ Logistic จะมีบทบาทมากที่สุดชวงหลังเหตุฉุกเฉิน เพราะ ในชวง ที่พื้นที่ประสบภัยปลายทางยังตั้งตัวไมได การเสริมกําลังและการเขาไปชวยตั้งตนการจัดการโดยใช ทรัพยากร ไมวาจะเปน ขาวกลอง น้ําดื่ม ยา หรือ ขาวสารที่จะตองใชบริโภคในชวงถัดไป ตางเปนสิ่งที่ ใชแกไขสถานการณและสรางประสบการณในการลงมือจัดการตนเองในเวลาเดียวกัน นอกจากบทบาทในการนําของแตละฝายแลว เรายังพบวิวัฒนาการของการปรับตัว รวมตัว และ การแตกหนอที่เกิดขึ้นระหวางการทํางานไปพรอมๆกัน งอกเปนภารกิจแยกยอยแตละดานไปไดอีก คือ ดานขอมูล – ชุมชน เมื่อทํางานไปไดสักระยะ เราพบวาฝายขอมูลและฝายชุมชนนั้นแทบจะ เปนฝายเดียวกัน เพราะพี่ยา พี่มณเฑียร ที่ทําหนาที่ในการประสานงาน node หรือ ชุมชนปลายทางนั้น ตองทําหนาที่ในการสื่อสารและการจัดการขอมูลที่ชุมชนแจงกลับมา กระจายสื่อสารภายในศูนยใหทุกคน ไดรับขอมูลทราบทั่วกัน โดยภายในศูนยนองๆ อาสาสมัครเปนผูชวยพิมพ/เขียนขอมูลที่ไดมาซึ่งตอน แรกเริ่มจากการรวมขอมูลเปนหนึ่งจังหวัด หนึ่ง A4 กอน ตอมาพอขอมูลเริ่มมีความเคลื่อนไหวเขามาใน จํานวนมากและมีความเร็วเพิ่มขึ้น เราก็เปลี่ยนใชไวทบอรดตีตารางแบงแตละจังหวัด แลวแปะ Notepad ขนาด ½ กระดาษ A4 แสดงขอมูลความตองการของแตละพื้นที่ซึ่งเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา พรอมกับ รายงานสถานะการสง-รับ จํานวนสิ่งของที่สงเรียบแลวและคงคางกํากับไวในสวนทาย
รูปที่ 6 บอรดสื่อสารขอมูลความตองการและความชวยเหลือใหภายในศูนยทราบขอมูลโดยทั่วกัน
12
ดานทรัพยากร-logistic หลังจากที่มีการสื่อสารภายในวาความตองการของแตละพื้นที่เปน อยางไร จํานวนเทาไร ฝายทรัพยากรและ logistic ซึ่งทํางานแทบจะเปนเนื้อเดียวกัน ก็จะประสานของ บริจาคที่ระดมมาไดขนสงจากตนทางไปยังคลังสินคาหรือที่เรียกกันติดปากวา Cargo ที่สนามบิน ซึ่งที่ นั่นจะมีการคัดแยก แบงตามจํานวน โทรแจงผูประสานงาน Node ปลายทางวา เครื่องบินจะไปถึง flight ไหน และเช็ควารายการสิ่งของตรงตามความตองการหรือไม จากนั้นจึงแพคใหเรียบรอยตามระบบการ บิน ขนขึ้นเครื่อง จากนั้นจึงโทรเช็คซ้ําวาแจงผูประสานงาน Node ปลายทางไดรับสิ่งของครบตาม จํานวนหรือไม เพื่อที่จะไดแกปญหาในการระดมและการจัดสงตอไป ซึ่งทั้งฝายขอมูลชุมชนและฝาย ทรัพยากร-logistic นี้สามารถเขียนภาพโยงความสัมพันธในการทํางานรวมกันไดเปนภาพที่ 7
ภาพที่ 7 กระบวนการทํางานรวมกันระหวางฝายขอมูลชุมชนและฝายทรัพยากร-logistic ดานการสื่อสาร สําหรับการสื่อสารภายในศูนยที่มีนองๆอาสาสมัครที่คอยวิ่งไปวิ่งมา เขียนแปะ เขียนแปะ และชวยประจํา Echolink เปลี่ยนกะชวยงานสื่อสารสูชุมชนแลว เรายังมีการสื่อสารสาธารณะ ไปสูภายนอกวาสถานการณพื้นที่ปลายทางและภารกิจที่ทางศูนยไดทําในแตละวันนั้นมีอะไรลุลวงและยัง ตองสานตอไปอีกใหคนภายนอกไดรับรูการทํางานและชองทางที่จะเขามามีสวนรวมได จุดนี้เปนสิ่งที่เรา ออกแบบไววาอยากจะใหมีการสื่อสารสูภายนอกที่ชัดเจน ฉับไวและตอเนื่อง แตเราก็ทํางานไดเต็มที่ เพียงเทานี้จริงๆ เพราะกําลังคนของเราเองก็ไมเพียงพอที่จะรับมือกับหนางานซึ่งประสานเขามาสิบทิศ
13
อยูแลว ชวงแรกเราจึงแทบจะไมสามารถสื่อสารสาธารณะออกไปสูภายนอกไดเลยวา เราไดสงความ ชวยเหลือไปใหใคร ที่ใด และ จํานวนเทาไรไดบาง ทําใหเราตองใชเวลาในการทําความเขาใจคนนอก และอาสาสมัครที่เขามาใหมอยูพอสมควร ครั้งตอไปถามีอาสาที่มาชวยดานการสื่อสารสาธารณะได โดยตรงนี่การทํางานของเราคงจะราบรื่นไดมากขึ้น สําหรับกระบวนการสื่อสารภายใน อยางที่เลาไปในขางตนวามีนองๆอาสาสมัครเขามาชวยทํา ขอมูลขึ้นบอรดแสดงความตองการในแตละพื้นที่พรอมกับสถานะความชวยเหลือใหทุกฝายไดทราบ ขอมูลทั่วกันแลว ยังมีการสื่อสารภายในระหวางฝายที่ตองทํางานตอเนื่องกัน คือ เมื่อฝายขอมูล-ชุมชน ไดแจงตอฝายทรัพยากรวาตองการของสิ่งใดจํานวนเทาไรเรียบรอยแลว ฝายทรัพยากรซึ่งแทบจะเปน รางเดียวกับฝาย logistic ก็จะประสานการขนสงตอและเช็คซ้ําวาปลายทางไดรับของเปนที่เรียบรอย แลวสื่อสารกลับ ฝายสื่อสารซึ่งทราบความคืบหนาของแตละฝายก็จะทําหนาที่คลายดาวเทียมกระจาย ขาวตอซึ่งเขียนแทบดวยรูปภาพไดดังนี้
ภาพที่ 7 ลําดับขั้นการสื่อสารระหวางฝายขอมูลชุมชนและฝายทรัพยากร-logistic ซึ่งแนวทางในการปรับปรุงการทํางานของฝายสื่อสาร คือ นอกจากจะมีคนที่ดูแลอุปกรณ ITsupport และวิทยุสื่อสารที่ใช Echolink ประสานกับทางชุมชนปลายทางแลว ยังควรจะมีฝายสื่อที่ทํา หนาที่ชัดเจนอยางนอยหนึ่งคน ที่ทําหนาที่ประชาสัมพันธ Information ทําหนาที่เขียนขาว press ขาว ถึงการประสานงานกระจายขาวระดมของ ระดมอาสา ไมควรเอาไปรวมกับการกรองขอมูลชุมชน หรือ การติดตามขอมูลสภาพอากาศ เพราะที่จริงมันคนละเรื่องกันและคนที่ทํางานก็ควรจะโฟกัสและลงมือ เรื่องใดเรื่องหนึ่งใหชัด ถึงจะไดทํางานใหสุด ในขณะที่ฝายขอมูลซึ่งทําหนาที่วิชาการ เตือนภัย ดูฝน หรือปรึกษาเรื่องเฉพาะทางก็ควรตองมีคนที่มาทําหนาที่ที่ชัดเจน นอกจากนั้นการถอดบทเรียนองคกร ทุกฝายทั้งหมดก็ควรจะทําไปพรอมกันๆ ระหวางทํางานไปในตัว
14
ดานการบริหารและดานอาสาสมัคร แมวาจะไมคอยมีใครกลาวถึง แตทั้งสองสวนนี้ แทจริง เปนกําลังหลักในการทํางานเลยทีเดียว เราโชคดีที่มีผูใ หญที่ชวยตัดสินใจโฟกัสภาพรวมและเปนที่ ปรึกษาที่ดีกับอาสาสมัครที่มาชวยงาน ระบบยังมีคนที่มีประสบการณในการจัดการอาสาสมัครที่มองเห็น ภาพรวมทั้งหมดและรูขอมูลทุกฝายวาใครขาดแรงที่จะเขาไปชวยดานไหน และชวย recruit skill ของ อาสา ใชเวลาและทําความรูจักแตละคน ซึ่งเราก็ยังเจอปญหาเดิม คือ เราดูแลเคาไดไมทั่วถึง มีเวลา เรียนรูกันนอยเกินไป เลยรูจักอะไรจากเคาไมไดมาก ตองทํางานดวยกันไปสักพักถึงจะมองเห็นทักษะ ออกมาจากสถานการณ ซึ่งพวกเอามักจะแสดงตัวออกมาเอง แลวเราคอยชอนเขาไปเขางาน จากการสรุปยอย รอยเรียง Dynamic ความเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 ชวงที่กลาวมาคงจะพอที่จะทําให เห็นบรรยากาศในการทํางานไปบางแลววา ความเปนจริงในการทํางานนั้นคนที่มาทํางานภายใตภาวะ วิกฤติจะตองทําตัวเองใหมีความยืดหยุนสูง สามารถปรับตัวเขากับเงื่อนไขในการทํางานที่เปลี่ยนแปลง อยูเสมอ ผูเขียนคิดวาบทเรียนจากการลองผิดลองถูกในประสบการณที่ผานมาและบทเรียนจากการ ทํางานในครั้งนี้ คงจะชวยฉายภาพโครงรางการทํางานของศูนยที่จะทําหนาที่เปน back office ในภาวะ วิกฤต ใหคนที่จะเขามาเปนอาสาสมัครเดินหนาการทํางานในครั้งตอไป มุงไปขางหนาไดในเสนทางที่ ชัดเจนขึ้นดวยแผนที่จากประสบการณที่เรารอยเรียงไวใหในครั้งนี้แลว
15
บทที่ 2 Part by part กาวยางแตละกาว เลาแบบ Part by part เลาการทํางานของแตละฝาย โครงสรางการทํางาน ในเชิงขอแนะนําการตั้งศูนย เรื่อง ฝายที่ 1 มวลชน - ดานมวลชนสัมพันธ - ดานการสื่อสาร ฝายที่ 2 ทรัพยากร-logistic - ดานการจัดหาทรัพยากร - ดาน logistic ฝายที่ 3 ขอมูล-ขาว - ดานสื่อ / การเผยแพรขาว - ดานวิชาการ - การจัดการขอมูลภายในศูนย ฝายที่ 4 อาสาสมัคร - Volunteer recruit ฝายที่ 5 บริหาร - สิ่งที่ตองมีตอนเริ่มศูนย บทสรุปและแนวทางการปรับปรุงโครงสรางศูนยในอนาคต
หนา 16 16 19 20 21 21 21 23 24 26
16
ฝายที่ 1 มวลชน หนึ่งเดือนที่ผานมากับงานอาสาสมัครใน ”ศูนยอาสาประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ” ระบบการดําเนินงานหลักของศูนยนี้มาจากไอเดียหลักของ อ.ยักษ วิวัฒน ศัลยกําธร คนอื่นมองศูนยนี้อยางไรไมรู แตผูเขียนคิดวามันควรจะ “เปนศูนยทเี่ กิดขึ้นมาเพื่อไมใหเกิดศูนย” คือ มันควรจะเปนโครงขายที่ทั้งโยงและกระจาย ความชวยเหลือใหปลายทางชวยเหลือตัวเองได โดยระบบมันทํางานดวยตัวของมันเองคือ “ชุมชนทํางานใหชุมชน” ดวยการกระจายขอตอ (node) ประสานความชวยเหลือออกไป การประสานงานในลักษณะในแมงมุมจึงเริ่มขึ้นตั้งแตวนั แรกที่มีศูนย โดยศูนยจะเปนตัวแมงมุม สวนทีมคนทํางานชุมชนในพื้น (หนาบาน) ก็เปนไดทั้งใยแมงมุมและเปนขาแมงมุมที่ทําหนาที่โยงความชวยเหลือ ใหแตละที่มองเห็นทรัพยากรหรือกําลังที่จะแบงปนกันได การใชมวลชนสัมพันธและการสื่อสาร จึงเปน 2 สิ่งที่เราใชถักโยง เกี่ยวเอามาเปนเครื่องมือเบิกทางสูการใหความชวยเหลือชุมชนปลายทาง ดานมวลชนสัมพันธ การเขามาของอาสาสมัครคนใตอยาง พี่มณจากระนอง พี่ยาจากตรัง พี่ประยูรจากน้ําเค็ม ซึ่ง เปนแกนนําชาวบานที่มีทักษะในการทํางานเชื่อมโยง เหตุการณนี้เปนจุดสําคัญที่ทําใหศูนยสามารถตอ ติดกับคนที่ทํางานในพื้นที่ได เพราะพี่ๆ ทุกทานมีคุณสมบัติ คือ 1. รูจักสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมของชุมชน 2. มีความเขาใจในบริบทของพื้นที่และมีสายสัมพันธ (Connection) รูจักกับพี่นองในชุมชน เครือขายที่ทํางานดวย 3. เขาใจสภาพการเมืองของทองถิ่น มีคนรูจักที่สามารถสงตอขอมูลความตองการและกระจาย ขาวสารไดอยางรวดเร็ว กลไกของการประสานงานที่มีอยูไมอาจขับเคลื่อนได ถาไมมีคนที่คณ ุ สมบัติเหลานี้เขามาชวยงาน ดานการสื่อสาร ถัดจากมีมวลชนสัมพันธแลว การสื่อสารตามมา การเชื่อมโยงเทคโนโลยีเขากับทองถิ่น ผานการ ใชโทรศัพท social network และวิทยุสื่อสาร เปนอีกปจจัยที่ใชในการดําเนินงาน
17
จากการดําเนินงานในครั้งนี้เราพบวา เทคโนโลยีเปนตัวเรงที่ทําใหความชวยเหลือเขาถึงผูประสบภัย ไดมากขึ้น อยางที่กลาวไปแลวในบทที่ 1 เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตอง จึงตองมีการตรวจสอบขอมูลซ้ําให ตรงกันอยางนอย 2 ใน 3 จากเครื่องมือสื่อสารทั้ง 3 ชนิดที่แจงขอมูลเขามา ซึ่งขอมูลที่ไดรับนั้นมีทั้งการ รองขอความชวยเหลือรายบุคคลจากหนาเว็บ Thaiflood การแจงเหตุของ node จากชุมชน และการสง ขอมูลความชวยเหลือที่ไดรับกลับมายังสวนกลาง สําหรับการประสานงานกับปลายทางนั้นยิ่งอยูในภาวะฉุกเฉิน จํานวนการสงขอมูลเขามาก็จะมี มาก และขอมูลก็จะมีความเปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก การสื่อสารทุกสายจึงตองมีการตรวจสอบขอมูลใหมี ความถูกตองอยูเสมอ การทํางานจึงตองเปนระบบ คือ 1. ผูประสานงาน node ปลายทางที่รวบรวมขอมูลประเภทสิ่งของที่ตองการและจํานวนสิ่งของที่ ตองการเปนจํานวนถุงยังชีพหรือจํานวนครัวเรือนไว 2. ผูประสานงาน node ปลายทางแจงขอมูลในขอ 1) แกผูประสานมวลชนที่กรุงเทพพรอมทั้ง ตรวจสอบความถูกตองของขอมูลกับเครือขายในพื้นที่ 3. ประสานมวลชนที่กรุงเทพ สงขอมูลใหกับฝายทรัพยากรใหระดมสิ่งของ และเมื่อไดสิ่งของมา ฝาย logistic ก็จะสงสิ่งที่ตามที่แจงมาในขางตนลงพื้นที่ จากนั้นจึงโทรไปเช็คซ้ําวาไดรับตรงตาม ความตองการหรือไม อยางไร
รูปที่ 8 เสนทางการสื่อสารระหวางสวนกลางกับ node และชุมชน
18
นอกจากสื่อสารเพื่อประสานของบริจาคแลว เรายังมีการสื่อสารเพื่อเฝาระวังภัยพิบัติซ้ําที่จะเกิด ตอเนื่องจากฝนที่ตกสะสมตอเนื่อง หลักในการทํางานก็จะเปนแบบเดียวกัน คือ รับสารและเช็คซ้ํา โดย 1. เมื่อนักวิชาการ แจงขอมูลพื้นที่เสี่ยงภัย เชน โคลนถลม หรือ น้ําปาไหลหลาก มายังศูนย ศูนยก็ จะใชวิทยุสื่อสาร ตรวจสอบสถานการณกับเครือขายวา มีความเสี่ยง เชน มีฝนตกตอเนื่องหลาย วันหรือไม น้ําในลําหวยมีความขุนจากตะกอนดินผิดปกติหรือไม พื้นดินเชิงเขามีรอยดินแยก หรือไม 2. หากเครื อ ข า ยในพื้ น ที่ แ จ ง กลั บ มาว า มี ค วามเสี่ ย งดั ง กล า ว ทางศู น ย จ ะขอให ท างเครื อ ข า ย ดําเนินการแจงเตือนประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย 3. ระหวางนั้นจะมีการตรวจสอบซ้ําวา ในพื้นที่มีการแจงเตือนหรือมีการดําเนินการอพยพชาวบาน หรือไม ซึ่งหากเครือขายปลายทางตองการใหเราสนับสนุนเรื่องใด ก็จะมีการแจงกลับมาใน ขั้นตอนนี้ 4. เฝาติดตามผล วาสถานการณเรียบรอยดีหรือไม หลังจากภาวะวิกฤตผานไปแลว ทางชุมชนมี ความตองการอะไรเพิ่มเติม ก็ขอใหทางเครือขายแจงมา สําหรับการสื่อสารเพื่อเตือนภัยนั้น นายอนนต อันติมานนท เสนอสิ่งที่ควรปรับปรุงเพิ่มเติม 3 เรื่อง วา ‐ คําศัพทที่ตองใชตรงกันทุกฝาย เชน ฝนตกระดับ 5 หาของที่ศูนยกับของในพื้นที่ไมมีใครเทากันเลย เพราะฉะนั้น เราควรจะเรียกหนวยที่ใชในการวัดใหเทากัน ‐ ควรมีการวางแนวการสื่อสารลวงหนาวา อะไรควรใชวิทยุสื่อสาร อะไรควรใชโทรศัพท อะไรควรใช อินเตอรเนทเพราะเมื่อตองเช็คเหตุในพื้นที่ฉุกเฉิน มันจะสับสน และทุกขายจะตองมีระบบสื่อสาร สํารองทันที และตองมีหนวยในการประสานงานมากกวาหนึ่งจุดในพื้นที่ ‐ สวนในการบันทึกเหตุ ที่ผานมามีการบันทึกขอมูลไมครบถวน เชน ฝนตกเทาไรปริมาณเทาไร จะ สงผลยังไง ระดับน้ําจุดไหน มันควรจะมีขอมูลที่ถูกตองที่ชวยเทียบเคียงได เรามีภาควิชาการอยู ระดับหนึ่งก็จริง แตถาเราเปนขอมูลที่ทางหนึ่งที่ถูกตองจากที่เคยเกิดขึ้นมาแลวนี่มันจะเทียบเคียงได
19
ฝายที่ 2 ทรัพยากร-logistic หากอยูในภาวะปกติการระดมทรัพยากรคงจะตองทําหนังสือขอความอนุเคราะห แจงจุดประสงค เปาหมาย วิธีการดําเนินงาน เพื่อใหไดความรวมมือมาอยางเปนขั้นตอน แตเพราะความเดือดรอนไมเคยรอใคร และเพราะผูใ หเขาใจในภาวะฉุกเฉิน ทําใหเราไดรบั ความรวมมือจากแหลงทุนเปนจํานวนมาก ซึ่งมาจากความสัมพันธระหวางภาคี โดยเฉพาะภาคธุรกิจ ที่กาวขามเงื่อนไขและขอจํากัดตางๆ ทําใหการสงทรัพยากรตางๆเปนไปดวยความคลองตัว แสดงใหเห็นถึงพลังในภาคประชาชนอยางที่เกิดขึ้นในชวงที่ผานมา ดานการจัดหาทรัพยากร กระบวนการระดมทรั พ ยากรหลั ก ๆที่เ กิ ด ขึ้น ในศู นย ม าจากการใช ค วามสั ม พัน ธส ว นบุ ค คล ระหวางภาคีเครือขายอาสาสมัครแตละคน จากทุนทางสังคมในความเชื่อใจและความไววางใจที่มีตอกัน นําเอาสิ่งที่แตละคนมีโยงไปใหความชวยเหลือสูชุมชนปลายทาง เปนความสัมพันธในรูปแบบใหมที่ใช ทุนทางสังคมซึ่งเปนทั้งกาวในการเชื่อมโยงความชวยเหลือเขาไปถึงกัน และเปนทั้งเกียรที่ขับเคลี่อนการ ทํางานใหคลองตัวกาวขามกฏเกณฑที่สรางขั้นตอนตางๆกั้นไวไปดวยพรอมๆกัน
ภาพที่ 9 ภาพแสดงทุนทางสังคมที่ใชในการโยงความชวยเหลือในภาวะภัยพิบตั ิ
20
ดาน logistic กระบวนการขนสง หรือ logistic นั้นประกอบดวย 2 สวนหลักๆ คือ 1) การประสานผูบริจาคใน การขนของจากแหลงทรัพยากรจากโกดังหรือคลังตางๆ ไมวาจะเปนกรุงเทพ อยุธยา ไปยังจุดจัดการ (รวบรวม) ของบริจาคที่สนามบินหรือขนสงก็แลวแต 2) การแพ็คของบริจาคตามความตองการในพื้นที่ แลวนับจํานวนใหตรงกับความตองการในพื้นที่แลวสงตอไปยัง node ปลายทาง ขอมูลความตองการความชวยเหลือที่ node ปลายทางจะเปนตัวกําหนดการระดมทรัพยาการ วาตองการของประเภทไหน จํานวนเทาไร ซึ่งจากการขนสงของ เราพบวาสิ่งที่มีการสงลงไปมากที่สุด การ คือ อาหาร ทั้งขาวสารและปลากระปอง รองลงมา คือ ยาสามัญประจําบาน ซึ่งกระบวนการขนสง จากแหลงหนึ่งไปยังอีกแหลงหนึ่งเปนดังนี้ 1. เริ่มจากผูประสานงานมวลชน โทรแจงยอดรวมความตองการความชวยเหลือในแตละ node จังหวัด มาที่ฝายทรัพยากร 2. ฝายทรัพยากรจะประสานการขนสงสิ่งของจากคลังหรือโกดังตางๆ ลงไปยังจุดขนสงของฝงกรุงเทพ 3. ณ จุดขนสงของฝงกรุงเทพ เมื่ออยูภาวะในเรงดวน เราไดใชการขนสงโดยเครื่องบินเปนหลัก จนเมื่อ ภาวะเรงดวนผานไปก็จะกลับมาใชรถบรรทุกตามปกติ ซึ่งการจัดลําดับความชวยเหลือใหกอน-หลัง นั้น ผูประสานงานจะ recheck กับผูประสานงานวาสถานการณในพื้นที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม มี ความชวยเหลือเขาไปแลวแคไหน จํานวนความตองการยังคงเทาเดิมหรือไม 4. เมื่อ node ปลายทางไดรับของ ก็จะมีการจัดหารถบบรรทุกขนสงของไปแจกจายตามชุมชนตอไป
ภาพที่ 9 การขนสงของบริจาคในภาวะฉุกเฉิน
21
ฝายที่ 3 ขอมูล-ขาว การสื่อสารขอมูลและขาวตางๆ ในระยะเริม่ ตนการทํางานนั้นมีขอจํากัดหลายประการ เพราะเราขาดอาสาสมัครที่มีทักษะและประสบการณดานสื่อ และยังขาดคนที่จะคอยโฟกัสขอมูลทั้งดานวิชาการและการ press ขาว เพื่อที่จะสื่อสารขอมูลภายในไปสูภายนอก ใหรับรูวาสิง่ ที่เรากําลังทําคืออะไร ดังนั้น ในการทํางานครั้งหนา เราควรจะแบงเปนการสื่อสารภายในศูนย สื่อสารชุมชน สื่อสารสาธารณะ โดยที่แตและสวนจะตองมีอาสาสมัครที่รับผิดชอบและสงตองานกันอยางตอเนื่อง ดานสื่อ / การเผยแพรขาว การประชาสัมพันธและ press ขาว ประสานงานกระจายขาวระดมของ ระดมอาสาเปนกิจกรรมที่ เพิ่งลงตัวหลังวันที่ 8 ของการดําเนินงาน ซึ่งงานภาวะฉุกเฉินไดผานไป จากการดําเนินงาน เราพบวา ไมควรเอาในสวนนี้ไปทําหนาที่รวมกับการกรองขอมูลชุมชน หรือ การติดตามขอมูลสภาพอากาศ เพราะ ที่จริงมันคนละเรื่องกันและเปนการแบกภาระเยอะเกินไป ทําใหทํางานไดไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร ดานวิชาการ ขอมูลทางอุตุนิยมวิทยา เชน ปริมาณน้ําฝน ความเร็วลม และความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับชุมชน ทั้งน้ําหลากและโคลนถลมเปนInformation ที่เราประเมิน ตรวจสอบ และแจงเตือนชุมชน ถาตรงนี้มีคน ของพื้นที่เองเลยการประเมินและประสานเรื่องตางๆ ก็จะแมนยํามาขึ้น สําหรับการทํางานที่ผานมา อาสาสมัครในศูนยจะไมไดเปนคนทําขอมูลเชิงรุกดานความเสี่ยงจากภัยพิบัติเอง แตทางศูนยจะไดรับ ความชวยเหลือจาก นักวิชาการทั้งดร.รอยล จิตรดอน ผูอํานวยการสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและ การเกษตร และคุณไกลกอง ไวทยการ หัวหนาฝายสงเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มูลนิธิ กองทุนไทย ไดสงประมวลผลและแจงเตือนใหเราแจงเตือนชุมชนอีกที การจัดการขอมูลภายในศูนย การจัดการข อมูลภายในศูนย เริ่มจากภายในหองยังมี การห อยป ายบอกชื่ อฝ ายไวเ หนือหั ว เพื่อใหสะดวกกับอาสาสมัครที่เขามาใหมจะไดรูวาฝายไหนอยูตรงไหนของหอง จะไดไปประสานงานถูก ซึ่งเมื่องานเขามาเราจะใชกระดาษ Notepad เขียนขอความ 1 แผน ตอ 1 เรื่อง เพื่อสะดวกตอการมอง หา เชน เรื่องที่แจงเขามา 1 เคส ก็เขียน 1 เรื่องนั้น ลงบนกระดาษ 1 แผน หรือมีผูที่ประสงคจะบริจาค
22
เขามา 1 ราย เราก็จะบันทึกไวบนกระดาษ 1 แผนเชนกัน แลวกระดาษเหลานี้ก็จะถูกแปะอยูบนบอรด หรือผนังหองแบงตามหมวดหมูของภารกิจ เชน วันแรกที่โดนน้ําหลาก เรามีบอรด 2 บอรดที่อยูคูกันคือ บอรดแจงขอความชวยเหลือ และ บอรดแหลงของหนวยกูภัย สวนวันที่ 2 บอรด 2 บอรดที่ตามมาคูกัน คือ บอรดความตองการของบริจาค(need) และ บอรดแหลงผูใหของบริจาค(Give) วันที่ 3-4 มีบอรดผู ประสาน node แตละจังหวัด รวมถึงการอัพเดทรายการใหความชวยเหลือและความตองการที่ยังรอคอย นอกจากนั้นยังมีการแปะบันทึกการประชุมรายวันที่ถอดบทเรียนรายวันเอาไวใหเห็นความคืบหนาดวย
รูปที่ 11 บรรยากาศและการจัดการขอมูลในศูนยโดยใช notepad สําหรับนักจัดการมืออาชีพอาจจะมีขอสงสัยวาทําไมเราไมใชฐานขอมูลในคอมพิวเตอรหรือใช server แชรขอมูลกัน ผูเขียนขอแจงวา เหตุผลที่เราใชการสื่อสารขอมูลภายในดวย hard copy อยาง บอรดหรือกระดาษนี้ ก็เพราะชวงแรกๆ เราขาดคนที่จะทํางาน It support ทั้งการติดตั้งคอมพิวเตอร ปริ๊นเตอร เซ็ทวง LAN แตเรายังขาดสิ่งที่ตองการมากที่สุด คือ intranet ที่จะใชเก็บขอมูลและแชรขอมูล ตรงกลางใหเห็นไดทั่วกัน ซึ่งเราเคยขอความเรื่องนี้จากองคกรแหงหนึ่งไปแลว แตเคาก็ไมสามารถจะ ใหบริการเราใชได เพราะติดปญหาเรื่องลิขสิทธ เราจึงไดสื่อสารกันแบบ manual กันทั่วทั้งหอง ซึ่งนั่นก็ ทําใหการทํางานของเรามีสีสันและมีความเปนมนุษยไปอีกแบบ
23
ฝายที่ 4 อาสาสมัคร เมื่อคนหนึ่งคนเดินเขามาเราจะใหเขาไปชวยงานอะไร เมื่อคน 4 คน เดินเขามา เราจะใหเขาไปชวยตอมือไดที่ฝายไหน เมื่อคนกลุมใหญๆ เขามาพรอมๆกัน เราจะทําใหเขาเขาใจสิ่งที่เรากําลังทําไดอยางไร Volunteer recruit เปนคําตอบของจัดการอาสาสมัคร Volunteer recruit การทํางานนี้ตองมีคนที่มองเห็นภาพรวมทั้งหมดและรูขอมูลทุกฝายวาใครขาดแรงที่จะเขาไป ชวยดานไหน และยังตองมีคนที่ recruit skill ของอาสาเปน ไมปลอยอาสาทิ้ง ตองใหเวลา และทําความ รูจัก เพราะแตละคน เพียงแวบแรก เรารูจักอะไรจากเคาไมไดมาก เมื่อทํางานดวยกันไปสักพักทักษะจะ แสดงออกมาใหเห็นจากสถานการณ ซึ่งพวกเอามักจะแสดงตัวออกมาเอง แลวเราคอยชอนเขาไปเขา งาน บทเรียนในครั้งนี้เผยใหเห็นขั้นตอนในการจัดการอาสาสมัครวาประกอบดวย 1. ดานแรก ตองมีโตะรับอาสาสมัครตั้งอยูหนาหอง เพื่อใหอาสาสมัครที่มาใหมไดลงทะเบียนกรอกชื่อ ที่อยู อีเมล เบอรโทรศัพท สําเนาบัตรประชาชนไว เพื่อเก็บไวเปนบันทึกสําหรับการติดตามงานและ การระดมอาสาสมัครครั้งถัดไป 2. ดานที่สอง พออาสาสมัครเขียนในลงทะเบียนเสร็จ ก็จะมีการปฐมนิเทศพรอมๆ กันวาศูนยเรา ทํางานเพื่ออะไร มีการแบงฝายการทํางานอยางไร มีกระบวนการทํางานอยางไร ระหวางนั้นเราก็จะ ดูการตั้งคําถามของอาสาสมัคร ระหวางนั้นก็อานทักษะหรือความสามารถของอาสาสมัครไปดวยวา เคามีพื้นฐานดานไหน 3. ดานที่สาม ถามอาสาสมัครแตละคนวาสมัครใจที่จะชวยงานดานใด และงานดานใดที่มี connection ในการระดมทรัพยากร หรือมีความสามารถพิเศษที่จะชวยใหศูนยมันเปลี่ยนแปลงได 4. ดานที่สี่ ใหเขาลงไปทํางาน โดยเริ่มจากไปชวยคนที่ทํางานเปนตัวหลักอยูกอนแลว ใหคนที่เปนตัว หลักเปนพี่เลี้ยง สอนระบบการทําและการเก็บขอมูลเพื่อสงตองาน ระหวางนั้นก็คอยดูวาเขามีปญหา ที่ตองการใหเราชวยเหลืออยางไรบาง หรืออบรมเฉพาะทางใหถาเคาพรอม 5. ดานที่หา เมื่อเสร็จภารกิจก็จัดการถอดบทเรียนอาสาสมัครรวมกัน แตจากการจัดกิจกรรมไปแลว เราก็พบวาอาสาสมัครยังไมไดรับการใหความสนใจเทาที่ควร อาจเปนเพราะกิจกรรมของเราสั้นและ เราแจงการนัดประชุมกระชั้นเกินไป สําหรับการปรับปรุงการสงตองานของอาสาสมัครซึ่งจรมาและจรไปใหตอเนื่องนั้น มีผูเสนอ ความคิดวา ควรจัดตารางคนทํางานและแจงใหทราบเพื่อทราบเวรและงานในระยะยาว ควรจะมีการทํา แฟมงานแตละ job หรือแตลพื้นที่ เหมือน log book ที่ใชบันทึกในการใชวิทยุสื่อสาร ใหที่คนที่เขามา ทํางานตอไดรูงานที่ทํามาแลวและเอาขอมูลมาทํางานไดทันทีไมตองเสียเวลาไปคนหาดวยตัวเอง
24
บทที่ 5 บริหาร สําหรับการบริหารจัดการในศูนยนั้น เราโชคดีที่ไดผูใหญมาชวยใหทําปรึกษาและตัดสินใจ โดย ทําหนาที่โฟกัสภาพรวมแลวใหสิทธิ์การจัดการแกอาสาสมัครที่เยาวกวา โดยไมมีบทบาทแทรกแซงมาก เกินไปไป มอบอํานาจการตัดสินใจใหคนทํางานอยางเต็มที่ ซึ่งการบริหารจัดการศูนยนั้นยอมขึ้นอยู กับอัตลักษณของแตละคนที่มาทํางานบริหารอยูแลว บทความในสวนนี้จึงขอเสนอการเตรียมอาสาสมัคร และอุปกรณที่จะใชในการบริหารศูนย เพื่อที่จะเปนคูมือในการตั้งศูนยสําหรับการจัดการครั้งถัดไปนาจะ เกิดประโยชนในเชิงรูปธรรมตอคนที่อาจตองเผชิญภาวะนี้อีกครั้งอยางแนนอน นอกจากทํางานกวางๆที่มีฝาพนังใหแปะงานและมีกระดานแลว วัสดุ อุปกรณสํานักงาน และ อาสาสมัครแตละฝายที่เพียงพออยางนอยที่สุดควรจะมีในการเริ่มทํางานครั้งตอไปดังตาราง จํานวนอุปกรณที่ตองการในการเริ่มศูนย อุปกรณ จํานวน (ชิ้น) โตะประชุม 6 คอมพิวเตอร 4 Printer 2 Projector 1 โตะทํางาน 8 เกาอี้ 15 โทรศัพท 5 FAX 1 โทรทัศน 5 แผนที่จังหวัด n/a ปากกา/ดินสอ 30 Scotch tape 5 กระดาษ 3 รีม Flip board 3 high speed internet 2 ปลั๊กไฟ 5 Post it >10
จํานวนอาสาสมัครที่ตองการในการเริ่มศูนย อาสาสมัคร ฝายชุมชน ฝายสื่อสาร ฝายขาว ฝายวิชาการ ฝายทรัพยากร ฝาย logistic ฝายอาสาสมัคร ฝายสวัสดิการดูแลขาว/น้ํา ธุรการ / การเงิน
จํานวน (คน) 3 1 1 1 2 3 2 1 1
25
สวนเอกสารทีท่ างศูนยจะตองมีไวใชในการทํางานควรจะเริ่มดวย 1. ใบลงทะเบียนอาสาสมัคร รายละเอียดประกอบดวย ชือ่ เบอรโทร อีเมล ความถนัด เวลาสะดวก และมาจากเครือขาย 2. เอกสารติดตามการขนสง เชน ตารางสายการบิน เวลาเครื่องออก การประสานรถที่จะขนสงสูป ลายทาง เพราะการของตองไป ถึงกอนสนามบิน 3 ชั่วโมง การติดตอคนชวยขนของกอนเวลาเครื่องออก 4 ชั่วโมง ตองมีการ ประสานงานคนรับของที่สนามบินขาไปและปลายทาง โดยทราบชื่อ และเบอรโทร เพื่อประสานงาน ขนสงทางรถติดตอจุดสงของและปลายทาง กําหนดจํานวนและเวลา คนปลายทางที่จะมารับใหเบอร โทรทั้งสองฝายเพื่อติดตอกัน รายละเอียดของการขนสง ประกอบดวย - ประเภทของรถ (กระบะ 1-3 ตัน, รถ 6 ลอ 12-15 ตัน, รถ 10 ลอ 17-20 ตัน) - เวลาขนของ โดยประสานงานกับเจาของรถ และสถานที่ที่ไปรับ โดยใหเบอรทั้งสองฝาย เพราะอยางในกรุงเทพ รถ 10 ลอ จะมีปญหาในการวิ่งกลางเมืองกรุงเทพ เชน สีลม สุขุมวิท ฯ - สถานที่ตาง ๆ เพื่อระบุเสนทางการเดินทาง เพื่อประหยัดเวลาและคาใชจาย - ขึ้นตารางของบริจาค ใหทราบน้ําหนัก เพื่อจัดรถใหอยางเหมาะสม เตรียมเอกสารที่บรรจุไป และลงรายละเอียดสินคา รวมถึงคนปลายทาง โดยกําหนดคนรับ ทราบเบอร 3. เอกสารสําหรับฝายทรัพยากร - การหาของบริจาคตามตารางความตองการ / บันทึกของบริจาคและเงินสนับสนุน - ขึ้นกระดานและประสานงานกับการขนสง / บันทึกความตองการและปญหาของแตละพื้นที่ - list เบอรโทรศัพทเครือขาย ฯ - list เบอรโทรศัพทผูสนับสนุน และ supplier 4. การจัดการของบริจาคและการขนสง - ตารางความตองการ แยกประเภทของ จํานวนที่ชัดเจนและพื้นที่ทตี่ อ งการ พรอมจํานวนคนที่ เดือดรอนโดยมี ชื่อผูแจง เบอรโทร สถานที่หรือพิกัดที่ตองการ สินคาที่ตองการ - ตารางสินคาทีบ่ ริจาค ระบุสินคา น้ําหนัก จํานวนชิ้น น้ําหนักรวม เพื่อสะดวกในการขนส - ระบุการขนสง วาสงมาเองพรอมคนที่ขนของหรือไม หรือใหเราดําเนินการขนหากใหเรา ดําเนินการขนสง ติดตอหนวยหาของสนับสนุน เพื่อประสานกับคนที่ปลายทางทีต่ องการของขอ ทราบเบอรคนประสานงาน สถานที่และเวลาที่สะดวก - ติดตามสินคาและการสงสินคา โดยมีเอกสารกํากับเปนรายละเอียดของ เพื่อใหตรงกับความ ตองการ ทําตารางการเดินทางและการขนสง โดยระบุสินคา คนติดตอปลายทาง คนที่ดูแลที่ สนามบินวันนั้น บันทึกปลายทางรับของ รวบรวมตามเอกสารขึ้นตารางตามวัน - นอกจากนั้นควรมีการถอดความรูเรื่องการแพคของบริจาควา ในสถานการณภัยไหน ควรแพค ของที่จําเปนอะไรไปใหบาง และของแตละชนิดความมีจํานวนเทาไร ควรมีปริมาณเทาไร ควรมี น้ําหนักเทาไร จึงจะเหมาะสมกับการขนสงและตอบสนองความตองการของผูประสบภัย - ตารางเงินที่บริจาค ระบุวันที่ เวลา ชื่อคน เบอรโทร เปาหมาย เพื่อดําเนินการ
26
บทสรุปและแนวทางการปรับปรุงโครงสรางศูนยในอนาคต จากการระดมสมองเพื่อถกกันวาหากจะตองมี warroom ที่ประสานงานกับชุมชนในลักษณะ node แบบนี้อีก เราควรจะแบงฝายในการทํางานอยางไร เราก็ไดขอสรุปวา ควรมีอยางนอยที่สุด 5 ฝาย แบบนี้ ถือวาโอเคแลว แตถามีอาสาสมัครที่มีศักยภาพและมีจํานวนเพียงพอ (เนนวามีคนพอ) สําหรับ ทํางานระยะยาวหรือลงลึกไปกวานั้น เราควรจะแบงฝายในการทํางานออกเปน 10 ฝาย คือ 1. ฝายวิชาการ ดูแ ผนที่ อ ากาศ รั บ ขา ว ประเมิ น ความเสี่ย ง หากสามารถทํ า ไดค วรจะจั ด อบรมให ทุ ก คนทั้ ง ชาวบานและอาสาสมัครมีความรูดานการภูมิอากาศ ภูมิศาสตรและสื่อสารกันในหนวยมาตราวัด เดียวกัน ไปจนถึงการติดตามขอมูลเพื่อเฝาระวังความเสี่ยงและตัดสินใจที่จะจัดการตนเองทั้งการ ปองกันภัยและการอพยพ โดยไมตองรอคําสั่งจากภายนอก 2. ฝายประชาสัมพันธ (PR เขียนขาว) ทําหนาที่กรองขาว รายงานขาวที่ไดรับจากภาคชุมชน กระจายไปยังสื่อสาธารณะวาเราทําอะไร กระจายความตองการ ไดรับของมาจากไหน ไดสงของไปไหน จํานวนเทาไร ชี้แจงเรื่องการเอา ความชวยเหลือไปใช 3. ฝายขอมูล-ชุมชน ทําหนาที่ประสานงานองคกรพื้นที่ – เชื่อมโยงอํานาจจากสวนกลาง หากเปนไปไดควรทํา map เครือขาย ชี้ใหเห็นความสัมพันธระหวางพื้นที่และประเด็นตางๆ โดยระบุ key person วา คน ติดตอที่ชื่อนี้ติดตอเรื่องอะไร สายใด โดยทําเปน plate เปน Area base เปนจังหวัด เปนทั้ง แผนภาพ ไฟลงาน และทําเปนแฟม hard copy เชน เคสสุราษฏรธานีธานี ก็แฟมสุราษฏรธานี ธานี เคสนครศรีธรรมราชก็แฟมนครศรีธรรมราช รายงานขอมูลขอเท็จจริงตางๆ เพื่อสะดวกที่ สําหรับคนที่จะมาทํางานตอมือกัน 4. ฝายทรัพยากร มีหนาที่หลัก คือ ระดมทรัพยากรจากแหลงทุน ประสานนําเขา สงตอทรัพยากรที่ไดไปให logistic ซึ่งสําหรับการทํางานอีกในครั้งหนา เราคิดวาเราพบ Sequence จากประสบการณเดิมในครั้งนี้ อยู แ ล ว เราควรจะเตรี ย มการล ว งหน า ในพื้ น ที่ เ สี่ ย ง โดยเฉพาะการประสานแหล ง ทุ น หรื อ ทรัพยากรในพื้นที่โดยมีการทํ าบั ญชีเครือขายผูใ ห (บริจาค) หรือมีกองทุนสําหรับช วยเหลื อ ผูประสบภัย โดยกลุมคนที่ keep connection ใหรวมกันดวยประสบการณรวมในครั้งนี้ keep paper เอาทั้งคนและชุดความรู สําหรับปะติดปะตอประยุกตใชใหมในภาวะฉุกเฉินครั้งถัดไป 5. ฝาย logistic ทําหนาที่จัดสงทรัพยากรจากแหลงทุน ไปยังจุดขนสงกรุงเทพ และประสานทรัพยากรจาก Node ไปสูปลายทาง ซึ่งการทํางานในครั้งถัดไปจะตองจัดลําดับพาหนะตามความสําคัญในการขนสง เชน จะใชเครื่องบิน ก็ตอเมื่อเสนทางเดินรถถูกตัดขาด ชุมชนประสบภัยหนัก ตองการความ ชวยเหลืออยางเรงดวน ของที่จะสรางความเสียหายกับเครื่องบินไวสงทางรถตามไปทีหลัง
27
6. ฝายสื่อสาร (Communication) เปนฝายที่มีคนประจําเครื่องมือสื่อสาร ประสานวิทยุสื่อสาร ดูแลเครื่องมือสื่อสาร การทํางานครั้ง ตอไปจะตองกําหนดวาการสื่อสารประเภทใดเรื่องใดใชอุปกรณใดสื่อสาร เชน โทรศัพทใชแจง ของอาหาร ขาวสาร นม, วิทยุสื่อสาร ใชคุยแจงการเตือนภัยเสื่ยง, Twitter ใชเช็คขอมูลการไดรับ ความชวยเหลือ คิดเหมือนกันครับจริงๆแลว มันควรจะมีใครแตละฝาย อยางฝายวิทยุที่ผมทําเนี่ย ขอมูลสงตอ สถานการณสี่หาวันกอนที่ผมจะมาเนี่ยไมมี วาสามารถประสานงานที่ไหนไดบาง ซึ่งศักยภาพใน การทํางานมันจะลดลงทันทีเลยเพราะมันไมรู ทีนี้ขอมูลพื้นฐานที่ทุกฝายตองมีอยางแฟมเนี่ย ขอมูลทางภูมิศาสตรมันควรจะมีทีมละชุดจะไดไมตองแยงกันดู มันจะลดเวลาไปไดเยอะ 7. ฝายอาสาสมัคร ทําหนาที่ recruit อาสาสมัครที่ walk-in เขามาใหไปถึงงานที่มีความตองการคนที่มีทักษะนั้น การ ทํางานในครั้งหนาควรมี presentation แนะนําอาสาสมัคร หรือ มีโครงสรางที่ชี้แจงใหเคาเขาใจ อยางชัดเจน Facebook แสดงโครงสรางใหเขาใจลวงหนากอนอาสาเดินเขามาจะชวยลดเวลาใน การสรางความเขาใจเรื่องศูนยของอาสาสมัครดวย 8. ฝายที่ปรึกษาประจําศูนย / อาสาเฉพาะทาง เชน แพทยที่ใหคําปรึกษาในภาวะที่วิกฤตถึงชีวิต นั ก วิ ช าการด า นอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา นั ก ภู มิ ศ าสตร ที่ ใ ห คํ า ปรึ ก ษาเรื่ อ งแผนที่ ฝ า ยเทคโนโลยี ITsupport ดูแลอุปกรณ ทั้งโทรศัพทดาวเทียม และคอมพิวเตอร 9. ฝายธุรการและการเงิน ทําหนาที่ดูแลการใชเงินเพือ่ บริหารศูนยอาสาสมัครและการใชจายเงินบริจาค สรางความโปรงใส ในการใชเงิน โดยแจงวารับมาเทาไร ไปเทาไร ถึงไหนเทาไร รวมไปถึงอาจจะไปชวยคิดเรื่องการ จัดการเงินเพื่อฟนฟูตนเองในระยะยาวของชุมชนตอไป 10. ฝายบริหาร ฝายเบรก และ ฟนธง ทําหนาที่ดูแลการดําเนินงานในภาพรวมของศูนยอาสาสมัคร ในอนาคตควรจะกําหนดวัฒนธรรม การทํางานใหมีการประชุมทั้งชวงเชาและชวงเย็นเปน Morning brief และ night brief อยางตรง เวลาและสม่ําเสมอ นอกจากนั้นยังจะตอง Chart organization โยงวาใครเชื่อมอะไรอยู เพื่อที่ อาสาสมัครที่มาใหมจะไดทราบวาตองวิ่งไปหาวาใครสายไหน พัฒนาตอจาการ Post-it บนผนัง ซึ่งมองหาความเชื่อมโยงไมออก สําหรับการทํางานในฝายนี้ เราตองการคนที่มีประสบการณการ ทํางานในภาวะวิกฤตที่มที ักษะในการบริหารคือ สามารถขับเคลื่อน เบรก ตัดสินใจ และฟนธงใน งานตางๆ ไดอยางแมนยํา พรอมทั้งมีสติในการทํางานดวย ซึ่งสําหรับฝายทั้งหมดที่กลาวมาผูเขียนคิดวา เราควรจะมีการตั้งวงเพื่อนที่มีสัญญาใจรวมกันใน อนาคต หากเกิดภาวะวิกฤตเชนนี้แลว เราจะมารวมตัวกัน ชวยเหลือกันแบบนี้อีก ผูเขียนขอตั้งชื่อกลุมที่ เกิดขึ้นและจะเกิดขึ้นจาก warroom นี้วา “กลุมเพื่อนยามวิกฤต หรือ Crisis friend” เพื่อที่จะยึดโยง ความทรงจําดีๆที่เราเคยสรางรวมกันไว และถามีภาวะที่ตองการเราอีกเมื่อไร เราจะกลับมารวมตัวกัน
28
รูปที่ 12 กลุมเพื่อนยามวิกฤตทั้ง 10 ฝาย
29
บทที่ 3 Reflection สิ่งสะทอนจากตัวคน บทเรียนจากการทํางานของอาสาสมัคร เรื่อง อาสาสมัครประสานมวลชน พี่มณเฑียร จากระนองสูกรุงเทพ พี่ยา จากตรังสูกรุงเทพ พี่เอ จากกรุงเทพสูหาดใหญ จี จากกรุงเทพสูหาดใหญ อาสาสมัครทรัพยากร และlogistic นองมีน กาวเล็กๆ แตกาวจริงๆ พี่ใหม ประสานสิบทิศ ติ๊ก กอลฟ คนเล็กขนของใหญ อาสาสมัครขาว-ขอมูลและการสื่อสาร อู iCARE ใครไมแคร เราแคร ตาฟ วิทยุสื่อสารแกงคตัว ต. นองเตย เธอสรางปาฏิหาริยไดดวยเสาไฟฟา ตอง แฉแตเชา นองกอไผ เยาวชนราชพลี อาสาระยะไกล (node ปลายทาง) เสียงจาก สุราษฎรธานี เมืองรอยเกาะ เสียงจากเมืองคอน นครศรีธรรมราช
หนา
30
อาสาสมัครประสานมวลชน
31
พี่มณเฑียร จากระนองสูกรุงเทพ จากประสบการณของ นางมณเฑียร (พี่มน) เสียงสะทอนของผูประสานพื้นที่ปลายทางภาคใต จะดวยเหตุปจจัยหรือดวยความบังเอิญก็ตาม มณเฑียร ธรรมวัติ หรือ พี่มณ ที่ชาว ศอบ. เรียกกัน โดยไมเคยจําไดวาชื่อและนามสกุลจริงของเธอคือ อะไร หรือ “มณ” จะสะกดดวย “ณ” หรือ “น” ก็เขามาเปนสวนหนึ่งของอาสาสมัครผูทําหนาที่ประสานกับ ปลายทางจังหวัดภาคใต พี่มณเปนสมาชิกสภาการเมือง จังหวัดระนอง และเปนประธานสภาภาคใต ทํา ใหรูจักคนและเครือขายในพื้นที่เปนอยางดี วันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 ชวงเวลาที่กําลังเกิดวิกฤติน้ําทวม จากภาคเหนือ ภาคกลางและกําลังไหลบาลงมาภาคใต ซึ่งกําลังเผชิญกลุมฝนดีเปรสชั่นอยูแลว พี่มณมา ประชุมที่กรุงเทพฯ ดวยบทบาทและหนาที่ทําใหยังตองเขาประชุม แตดวยสํานึกของความเปนคนไทยที่ ทําใหตองติดตามขาวอยางใกลชิด และทําใหทราบวากําลังมีศูนยเฉพาะกิจตองการอาสาสมัครจํานวน มาก ที่โรงแรมพินนาเคิล ลุมพินี พี่มณเดินเขามาที่หองไมไทย ๒ แลวพบวามีทั้งคนทั้งของวุนวาย ขวักไขว พี่มณเอยคาถาวิเศษในชวงเวลาวิกฤติทางสังคมวา “มีอะไรใหชวยบางคะ” เทานั้น พี่มนก็ไดรับ พร คือ ทําหนาที่เปนผุประสานพื้นที่ปลายทาง เนื่องจากเปนผูที่รูจักคนและเครือขายภาคใตกวาใครๆ ในศูนย ทันทีที่ไดรับหนาที่ พี่มณก็พยายามทุกวิถีทางเพื่อติดตอสื่อสารกับคนและพื้นที่ปลายทาง แต การสื่อสารเดียวที่ทําไดในขณะนั้น คือโทรศัพทมือถือ ซึ่งในบางพื้นที่ก็ไมสามารถติดตอไดเนื่องจาก เครือขายลม อุปสรรคการสื่อสารทําใหพี่มณนึกถึงเพื่อนสมาชิกสภา คือ พี่ยา หรือ อารียา แกวสามดวง พี่ยาเปน สมาชิกวิทยุสมัครเลน ที่สมาชิกตองเรียกขานกันเปนภาษาเฉพาะ “โฮเทล เซรา ไนน อัลฟา...” เครือขาย ที่สื่อสารกันดวยระบบวิทยุผานอินเตอรเน็ทนี้ก็กลายเปนสื่อกลางที่ถายทอดความชวยเหลือและขอมูล ขาวสารจากศูนยประสานจากกรุงเทพฯสูปลายทางอยางมั่นใจและมั่นคง สัมภาษณ จากการทํางานที่ไดเจอกัน ทํางานดวยกันมา 10 วันกวาๆ อยากจะขอสัมภาษณพี่มนคะ วา สิ่งที่ทํา สิ่งที่คิด และสิ่งที่รูสึก เริ่มจากภารกิจที่ไดทํากอนนี่เปนอยางไรบางคะ พี่มณ พี่ทําอยูนิดเดียวคือ ประสานระหวางความตองการของพื้นที่ เรารูจักพื้นที่ ขางบนใครยินดีที่จะ ชวยเพื่อน แตไมรูจักพื้นที่ แตเรารูจักพื้นที่ ก็พยายามทําใหระบบการชวยเหลือเนี่ยเปนการชวยเหลือที่ ทําใหเคาสามารถชวยเหลือตัวเองได โดยที่ทําใหผูรับ รับอยางมีศักดิ์ศรีและผูรับ รับอยางมีคุณคา สัมภาษณ ตอนที่เขามาที่ศูนยนี่มีใครชวนเขามาคะ พี่มณ มีคนไปเลาใหฟง ตอนมาประชุมสภาพัฒนาการเมืองวันที่ 2-3 เสร็จแลวมีสภาชิกที่เปนรอง ประธานของภาคใตอยู เคาเลาใหฟงวาเคาประสานพื้นที่ภาคใตอยู เราก็อยากจะชวยเหลือบาง ก็เลยเขา มาดู มาเห็นวันแรก โกลาหลเลย ทําตัวเองไมถูกวาจะชวยอะไรยังไง แตสักพักก็เห็นวาที่นี่ขาดคน ประสานงานระหวางพื้นที่ คือ มีขอมูลคนที่จะชวย แตไมมีขอมูลโดยละเอียดวาที่ไหนเดือดรอน มีปญหา
32
ยังไง เราก็เลยมีโอกาสประสานพื้นที่วาที่ไหนยังไมไดรับความชวยเหลือ เสร็จจากตรงนั้นก็เลยกลายเปน ผูประสานหลักไปเลย สัมภาษณ นั่นก็คือ เหตุใน 2-3 วันแรก เหตุที่มักจะเจอใน 2-3 วันแรกนี่มีอะไรบางคะ พี่มณ ก็คือ รับขอมูลวาที่ไหนเดือดรอนหนัก ที่ไหนน้ําทวมหนัก ที่ไหนมีดินสไลด ขอความชวยเหลือ หลายพื้นที่เคาไมสามารถประสานงานที่อื่นได เคาสงขอมูลพื้นที่ขึ้นมา จากเดิมที่ไดขอมูลดานเดียว เรา ก็มีวิทยุสมัครเลนมาเพิ่มจากขอมูลพื้นที่โดยวิทยุอาสาสมัครตรวจสอบขอเท็จจริง แลวสงขอมูลยืนยัน ขึ้นมาทําใหเราเขาถึงพื้นที่เปาหมายและครอบคลุมมากขึ้น สัมภาษณ ความตองการหลักๆเกี่ยวกับขาวของที่เคาขอมานี่คืออะไรคะ พี่มณ น้ํา ขาวไมทัน น้ํ ากอนก็ยังดี อันดับที่สองคือ ไมมีขาวกิน ไมมีผาหม ไมมีเ สื้อผา บางบานนี่ เสียหายโดยสิ้นเชิงเลย ไมมีที่อยู แตวาสิ่งที่เราระดมไปชวยเหลือไดสวนใหญก็จะเปนอาหาร แตวา เสื้อผากับผาหมนี่ไมไดคอยได สัมภาษณ พี่มองเห็นอุปสรรควาทําไมที่นั่นเคาถึงไมสามารถไดรับความชวยเหลืออยางทั่วถึง พี่มณ มันเหมือนกับระบบการตั้งรับของบานเรามันยังไมมีพอ มันมีขอจํากัดการตัดสินใจอยูที่อํานาจขอ การเมือง มันก็เลยไมอิสระพอที่จะทําใหความชวยเหลือเขาไปไดอยางรวดเร็วและทันทวงที การเมืองก็ จะเปนระบบที่ตอบสนองของเคา ในขณะที่ชาวบานก็มีคนที่มีใจ แตไมรูจะประสานที่ไหน พอคนประสาน ลงไปก็จะเกิดการประสานไปเพิ่ม สิ่งหนึ่งคือ ภัยพวกนี้ มันอาจไมเปนภัยพิบัติก็ได ถาชาวบานรูลวงหนา และมีการจัดระบบที่ดีในการสื่อสาร รัฐควรจะสรางชองทางเชนการเฝาระวังและชองทางการสื่อสารที่ดี หรือสรางเครื่องมือสื่อสารที่ดีใหเคา มันก็อาจจะแคมีน้ําทวมแตไมเปนภัยพิบัติ แตตอนนี้มันกลายเปน ภัยพิบัติ เพราะขาดการเฝาระวังที่เปนจริง และสวนใหญพี่นองเราเองก็ไมเคยเจอ และการทํางานที่ผาน มาก็ข าดการยอมรั บ การแจ ง ไปเฉยๆ ก็ ไม ใ ช การไม เ ชื่ อถือ กั น ระหว า งราชการกับ ภาคประชาชน กอใหเกิดโศกนาฏกรรมอยางที่เห็น เราก็คิดวาถาหากจะใหเกิดผลสูงสุด มันควรจะใหชาวบานชวยเหลือ กันเอง แลวใหเคาตรวจสอบกันเองได แลวมันจะเกิดความไววางใจ สัมภาษณ จากตัวอยางเมื่อกี้เริ่มเห็นแลวเนาะวามีการจัดการตนเอง เลยอยากจะใหพี่สะทอนวา การ จัดการที่พบมาวามีที่ไหนที่มีความโดดเดนในการจัดการตนเองบางคะ พี่มณ เราทุกที่นะ แตที่ชาสุดก็เห็นจะเปนพัทลุง และลาสุดก็เปนปตตานีที่มีการชวยเหลือกัน เบื้องตน อาจจะทําอะไรไมถูก พี่นองชอค แตหลังจากที่เคาหายชอคอยาง ม.อ. เองซึ่งเปนฝายภาควิชาการ เครือขายพื้นที่เอง ที่เปนประชาสังคมในพื้นที่ และผูนําศาสนาเนี่ย เคาก็หันมาคุยกัน มาจัดระบบดวยกัน มีความขัดแยงกันบาง ความขัดแยงที่เกิด ถาเราฟงไปลึกๆ เนี่ย มาจากความชวยเหลือที่ไมเปนธรรม ไมกระจายเพียงพอ แลวก็เอาไปใหแบบตัวเองเปนผูเอาไปให
33
สัมภาษณ แบบคนนอกเขาไป พี่ ม ณ เที ย บกั บ ที่ เ ราเข า ไปคื อ เราเข า ไปให สิ ท ธิ์ ใ ห อํ า นาจในการตั ด สิ น ใจกั บ พื้ น ที่ ว า เค า ควรจะ ชวยเหลือใคร อันนี้ชวยลดความขัดแยง เพราะวา เคาไดรูวาบางทีบางบาน บานพังน้ําทวม แตบางที บานไมพัง น้ําไมทวม แตดินถลม มันก็ออกไปไหนไมไดเหมือนกัน เพราะฉะนั้นทุกคนอด เราบอกไมได วาใครเดือดรอนมากกวากัน คนที่ไมมีบาน ใชมันเดือดรอน เพราะมันไดรับความเสียหายโดยสิ้นเชิง แต มันก็ไดรับความชวยเหลือ แตคนที่บานไมเสียหายแตมันก็ไมมีขาวกิน ก็เดือดรอนเหมือนกัน ความ เสียหายเหลานี้ ถาเราใหคนในพื้นที่ชวยดูแลกัน มันจะเกิดระบบการตรวจสอบ การพูดคุยและการสราง ระบบการชวยเหลือกันอยางเปนธรรมและไมมีความเหลื่อมล้ําในพื้นที่ การที่คนนอกเขาไปเนี่ย เราเคา ไปโดยที่ไมมีฐาน โดยไมรูเคา บางทีมันก็เขาไปเปนการละเมิด หรือไปทําใหระบบอะไรบางอยางมัน เสียหาย ก็เปนบทเรียนวา การชวย ตองไวใจ ใหเคาจัดการกันเอง มีปญหาอะไรเคาจะตรวจสอบกันเอง แลวเราเปนผูหนุนที่ดี เราจะไมไปแบบอัศวินมาขาว แบบผูที่เจตนาดีแลวใหพื้นที่ชวยเหลือกันเอง สัมภาษณ จะเห็นไดวาปญหาที่เกิดขึ้นนี่มาจากการที่คนนอกเขามาดวยความหวังดีนะ แตเกิดสิ่งที่เคา ขัดแยงตามมา พี่คิดวา สิ่งที่ผูใหควรจะไดรับการเรียนรูและควรจะปรับปรุงเปนอยางไรบางคะ พี่มณ อยางแรก เคาควรจะมานั่งคุยกัน ตองมีทุกภาคสวน แลวจัดระบบการทํางานรวมกัน ใครมีความ ถนัดเรื่องอะไร ใครมีขอมูลเรื่องอะไร มาตรวจสอบและวางระบบรวมกัน เหมือนชวงนี้ หลังจากนี้คืองาน อะไร เราจะทําอะไรบาง และพื้นที่ตองการใหทําอะไรบาง การชวยเปนความหวังดี ตองทําใหเคาแข็งแรง ขึ้น ถาเคาแข็งแรง เคาก็จะชวยเพื่อนรอบขางใหแข็งแรงไปดวย เพราะงั้นเนี่ย ความหวังดีมันก็ประสงค รายไดดวย เราตองระวัง ตองคุยกันอยางเปนระบบไมใหซ้ําซอน แลวกระจายความชวยเหลือใหทั่วถึง ทั่วถึงหรือไมอยางไร เราใหพื้นที่เปนตัวตัดสิน ปญหาอยางไรเคาแกได แตเราตองไมไปลวงลูก เปน ผูสนับสนุน อํานวยความสะดวก ไมใชคิดจากเราแลวใสลงไป อาจจะไมตรงกับเคาได สัมภาษณ จากการทํางานมามองเห็นวาศูนยนี้มันควรจะมีการทํางานขางหนาตอไปอยางไรคะ พี่มณ ก็ตองบอกวา ขอบคุณที่ไดเดินเขามาในศูนยนี้ เราไดเห็นพลังในการทํางานของคนรุนใหม อาจจะ มี ผู ใ หญ บ า ง แต เ ราเห็ น พลั ง ของคนรุ น ใหม ที่ จั ด การศู น ย นี้ ไ ด ทั้ ง หมด พี่ มี ค วามหวั ง ว า ในใจยั ง มี ความหวังวา ถาผูใหญเลิกตีกัน เรื่องเหลานี้เด็กก็จะสามารถตัดสินใจได เปนพี่เลี้ยงคอยใหคําแนะนํา และรับฟงความคิดเห็นของเคา แลวพาไปใหถูกทาง ซึ่งจริงๆมีเคามีความสามารถพวกนี้เปนอยูแลว แต วาที่ผานมาผูใหญไดกลับมาฟงเคารึยัง นี่คือสิ่งที่อยากใหมองเห็น เด็กมีความสามารถ มีความคิด และมี ความคิดและกระบวนการที่แปลกใหม ทําใหสามารถประสบผลได ตรงนี้ผูใหญเองเนี่ย จากการทํางาน มาทั้งชีวิต อาจจะยาวนาน เราอาจจะมีกรอบ มีหมวก มี EGO ของตัวเองเขามา แตสําหรับเด็กทุกคนที่ เดินมาที่นี่ ทุกคนอาสา อาสาเขามาดวยใจ ไมมีกรอบ ไมมีตัวตน ไมไดหวังเขาชวยไปแลว ปลายทาง จะตองรูจักชั้น มันทําใหความชวยเหลือเขามาดวยความบริสุทธิ์ใจ และทุกคนทํางานกันเต็มที่ มันทําให รูสึกดีมาก จากความที่เราคิดวาเด็กบานเราเนี่ย ไมสาอะไร ภาษาใต คือไมไดเรื่อง ตอนนี้มีความหวังสูง มาก และหลังจากนี้คิดวาพลังของคนรุนใหมเนี่ย เปนคนรุนหนึ่งที่ผูใหญจะตองฟง แลวสรางโอกาสให เคากาวขึ้นมาขางหนาอยางมั่นคง แลวผูใหญก็เลิกทะเลาะกันไดแลว
34
เมื่อภาวะวิกฤติน้ําทวมและดินถลมผานไป ศูนยฯ จึงมุงงานฟนฟู และป องกั นภายในชุมชน พี่มณจึงลงพื้นที่จริงตามจังหวัดภาคใต เพื่อสํารวจวาเกิดอะไรขึ้นในชวงการสงความชวยเหลือและเกิด อะไรขึ้นหลังจากน้ํานิ่งดินแหง ยังมีสิ่งใดตองเรงกระทําตอ พี่มณพบวา เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งเชิง ความคิดและการกระทําของชาวบานในพื้นที่ ชาวบานรูสึกเจ็บปวดที่เห็นคนในชุมชนแยงของบริจาค เจ็บปวดที่ชวยเหลือตนเองไมได ทั้งมีมีทรัพยากรและความรูสั่งสมมานาน ชาวบานตองการพึ่งตนเองทั้ง ยามปกติและยามวิกฤติ ชาวบานรวมกลุมกันถอดบทเรียน โดยไมโทษกันและกัน พวกเขายอมรับวา บกพร อ งในเรื่ อ งการเตรี ย มตั ว พวกเขาต อ งการกลั บ สู วิ ถี ชุ ม ชนเดิ ม ที่ มี วิ ถี ชี วิ ต ดํ า เนิ น ไปตาม สภาพแวดลอม ผูเดือดรอนที่บานเรือนเสียหายทั้งหลังหันมาสรางบานตามแบบสังคมไทยคือใตถุนสูง ชาวบานกลับมาใหคากับความมั่นคงทางอาหารดวยวิถีพื้นบาน เชน การถนอมอาหารตามฤดูกาล “การ ถอดบทเรี ย นทํ าให ช าวบ า นพบว า หลัง จากนี้เ ขาจะพึ่ ง ตัว เองได อ ย า งไร และการสร า งระบบความ ชวยเหลือที่ไมสรางความเลื่อมล้ําและซ้ําซอนจะทําไดอยางไร พื้นที่จะตองลุกขึ้นมาชวยเหลือตัวเองกอน รอความชวยเหลือจากภายนอก” การเปลี่ยนแปลงอีกสิ่งหนึ่งก็คือ คนในพื้นที่เห็นความเชื่อมโยงกันระหวางสาเหตุของน้ําทวม ดินถลมวา ไมไดมาจากฝายใดฝายหนึ่ง ทุกภาคสวนในสังคมตางมีสวนในการทําเกิดภัยพิบัติจากน้ํา ไม วาจะเปนเรื่องนโยบายของรัฐ การวางผังเมือง การทําลายทรัพยากร รวมทั้งชาวบานเองที่ใชพื้นที่ของ ตนเองอยางไมยั่งยืน ขณะเดียวกัน พี่มณ ก็พบวาอาสาสมัครในพื้นที่ตองเสียสละทั้งแรงกายและกําลังทรัพยโดยไม ยอทอตัดพอ บางคนตองเจ็บปวยลมไขระหวางออกเดินทางลุยน้ําลุยฝนเพื่อนําความชวยเหลือไปสูผู เดือดรอนอยางแทจริง แตเมื่อไขซาขาก็กาวลุยน้ําฝาลมออกไปซ้ําไขไดอีก “อาสาสมัครบางคนตองไปกู เงินมาซอมรถ จนเปนหนี้สามสี่หมื่นบาท และก็ยังไมมีใครลงไปชวยเหลืออาสาสมัครเหลานี้ นับเปน จุดบกพรองของงานอาสาสมัครยามในอนาคตที่ตองคิดหาทรัพยากรและการสนับสนุนดานนี้“ สาเหตุที่ อาสาสมัครในพื้นที่ตองทํางานหนักมากก็คือ “คนที่เดือดรอนจริงๆ จะไมยอมทิ้งบาน ทิ้งไร ทิ้งสวน เพราะหวงกังวล แตคนที่เดือดรอนบางสวนจะสามารถออกมารอรับความชวยเหลือได” สิ่งที่ตามมาโดยไมคาดคิดในชวงฟนฟูคือ ความวังเวงที่กอตัวขึ้นหลังจากธารน้ําใจหลั่งไหลเขา มาเหมือนคลื่นใหญที่ซัดแรง และซึมซาบสูความเดือดรอนที่แหงเหือดอยางรวดเร็ว ทิ้งความรูสึกชุมชื่น ใจไวกอนจากไป แตหลังจากนั้นจะมีอะไรเติบโตขึ้นมาหลอเลี้ยงผุเดือดรอนได “โครงการสรางกําลังใจให ผูเ ดือดรอนเปนสิ่ งจํ าเปน อี กสิ่ง เรงด ว นในชว งฟ นฟูคือ อาชี พที่ ทํ ารายไดอย างรวดเร็ ว เพื่ อทํา ให ผู เดือดรอนตั้งตัวไดอยางรวดเร็วเชนกัน” พี่มณทิ้งทายสําหรับบทเรียนของงานอาสาสมัครในอนาคตคือ “เรื่องการจัดการกับอาสาสมัครที่ หลั่งไหลเขามาอยางทวมทน แตเรียกใชใหเกิดงานอยางมีระบบไมได จะตองมีระบบบริหารอาสาสมัคร ในชวงเกิดวิกฤติ เชน ตองมีระบบถายทอดขอมูลและการทํางานอยางรวดเร็วในภาวะวิกฤติ” “งานฟนฟูของ ศอบ. ในอนาคต คือ เขาพื้นที่ไปทํากระบวนการแลกเปลี่ยนประสบการณ ทํา อยางไรจะใหคนในพื้นที่ลุกขึ้นมาฟนฟุและปองกันตนเองได และใหชุมชนเปนผูวางแผนเองวาเขาจะ พึ่งตนเองไดอยางไร”
35
พี่ยา เสียงจาก เมืองตรัง จากประสบการณของ นางอารียา แกวสามดวง (พี่ยา) จังหวัดหนึ่งที่ประสบกับวิกฤตภัยพิบัติหนักหนาจังหวัดหนึ่ง ก็คือ จังหวัดตรัง ซึ่งตรังเปนจังหวัด ที่มีพื้นที่ติดทะเล เปนสถานที่ทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงพื้นที่หนึ่ง แตจากสถานการณวิกฤตดานภัยพิบัติที่ เกิดขึ้น ทําใหตรังเปนพื้นที่หนึ่งที่เดือดรอนมากจากน้ําที่ทวมขัง และมีฝนตกตลอดเวลา ศอบ.จึงตองเฝา ระวังและประสานงานกับพื้นที่อยางสม่ําเสมอ ผูประสานพื้นที่คนหนึ่งซึ่งศอบ.ไดติดตอและประสานงานโดยเฉพาะการเฝาระวังโดยใชเครือขาย วิทยุสื่อสาร ก็คือ พี่ยา พี่ยาไดนําเครือขายวิทยุสื่อสารมาใชกับศอบ. และยังทําใหทางศอบ.สามารถเชื่อ โยงกับพื้นที่ไดเปนอยางดีอีกดวย หลังจากที่วิกฤตบรรเทาลงไป ผูเขียนมีโอกาสที่จะพูดคุยกับพี่ยาอีกครั้งในภาวะที่สถานการณ เริ่มเขาสูภาวะปกติ จากการพูดคุย พี่ยาเลาใหฟงวา “ สถานการณในตอนนั้นกระทบหลายสวนมากโดยเฉพาะ ที่ หนักๆเลยคือ บานเรือนเสียหายอยางหนัก ขาวของสูญหาย แลวก็คนไมสามารถประกอบอาชีพ อยาง พื้นที่สวนยางพาราที่น้ําทวมขังสูงมาก ชาวบานก็ไมสามารถเขาไปทํางานได ตนยางก็ไมสามรถกรีดยาง ไดเพราะตนยางชื้นเกินไป นาขาวก็ไมสามารถเก็บเกี่ยวได เสียหายทั้งหมด รุนแรงที่สุดในรอบ 20 ป ตอนนี้ก็ยังประกอบอาชีพไมได ราชการก็ยังชวยเหลือไมทั่วถึง บางคนไมโดนก็ได ที่โดนไมไดก็ยังมีอยู ” แลวพี่ทํายังไงบางคะตอนนั้น ผูเขียนถามตอ “ ตอนแรกๆก็ประสานเรื่องขอมูลเพื่อบรรเทาทุกข เฉพาะหนา แลวก็เช็คขอมูลของที่สงไปวาถึงพื้นที่ไหนบาง พอมาในชวงหลังเขาพื้นที่เพื่อเช็คขอมูลวามี องคกรเครือขายอยางไรบาง แลวก็ดูวามีการทํางานฟนฟูตรงไหนบาง รวบรวมขอมูลไว สวนที่สามคือ เช็คตัวเองวาจะทํางานในพื้นที่ไหนไดบาง มีทีมมีคนทํางานที่ไหนอยางไรบาง ก็รวบรวมมา ซึ่งเดิมพี่ก็มี ทีมที่ทํางานตอเนื่องมาจากป 2547 อยูแลวดวย ” ซึ่งผูเขียนเองยังไมไดมีโอกาสลงไปหนางาน จึงถามตอดวยความอยากรูวา ชาวบานที่ไดรับ ความชวยเหลือ เปนอยางไร และสะทอนอะไรมาบาง “ ในตอนแรกชาวบานยังตั้งหลักไมได ก็จะชวยเหลือเยียวยากันไปทางจิตใจ มีปรับทุกขใหฟง บางเราก็รับฟงและปลอบใจไป ซึ่งตอนนี้การบรรเทาทุกขเฉพาะหนาก็ถึงชาวบานทั่วถึงดี ของที่ประสาน กับทางศอบ. ก็ลงไปชวยชาวบานไดมากเติมเต็มสวนที่ยังพรองอยู แตตอนนี้สิ่งที่ชาวบานตองการคง ไมใชถุงยังชีพ แตเปนเมล็ดพันธุขาว การรองรับน้ํายาง อุปกรณทําอาชีพซึ่งเสียหายไป และชาวบานก็ ตองไปเชื่อไวบาง ไปกูเงินนอกระบบบาง กอใหเกิดหนี้เรื้อรังระยะยาว กูนอกระบบดอกรอยละ50-60 บาท คือยืมเงิน100 ตองคืนประมาณ150-170 บาท ซึ่งหากแกไขปญหาตรงนี้ใหชาวบานได ก็เปนเรื่องที่ ทําใหชาวบานสามารถชวยตัวเองไดมากและยั่งยืนในอนาคต สวนนี้ควรจะเขามาอยูในกระบวนการฟนฟู ดวย”
36
ผูเขียนจึงถามตอถึงมุมมองที่มีตอศอบ. พี่ยาบอกกับเราวา “ ทางศอบ. คุณคากับชาวบานมากๆ เพราะวางานของราชการไมสามารถสงขาวถึงชุมชนไดเพราะไมรูจักชุมชน รูจักแตผูนําของรัฐ แตศอบ.มี ผูนําชุมชนเปนเครือขายในมือ อันที่2 ก็คือในทุกพื้นที่มีคนเคลื่อนไหวในเรื่องของการพัฒนาอยู ในสวน ของศอบ. ถาจะพัฒนาตอนะ ก็นาจะนําการเคลื่อนไหวที่มีอยูมาเปนฐานในการทํางาน และศอบ.ก็ดูแล และชวยเหลือในยามวิกฤตไดมาก หากจะทิ้งตรงนี้ไปก็เปนเรื่องนาเสียดาย ” แลวในอนาคต พี่ยามองการประสานงานในอนาคตไววา “ อันนี้พี่พูดรวมๆทั้งศอบ.และองคกร เลยนะคะวา เวลาที่ประเทศชาติวิกฤต ทุมเทชวยเหลือกัน ก็ตองคิดวาศอบ.จะทําอไร หลังจากวิกฤต ผานพนไป จะฟนฟูเยียวยามั้ย อยางไร แตประเด็นก็คือตองฟนฟูตัวเองได แลวก็ตั้งรับกับวิกฤตใน อนาคตที่คงตองเกิดขึ้นอีกแนนอน ไมอยากใหจบภารกิจก็จบไปเลย ตองเอาบทเรียนเอาขอมูลมาผนึก กําลังใหเหนี่ยวแนนไว แลวทํางานอยางตอเนื่อง พี่มองวาประชาชนเจอวิกฤตกี่ครั้งก็ตองเจอซ้ําๆอยู อยางงั้น มันไมมีการทํางานที่ตอเนื่องมันเหมือนตองเริ่มใหมทุกครั้งที่มีวิกฤต ” กอนลากันไป จึงอยากใหพี่ยาในฐานะคนในพื้นที่ ฝากอะไรเพื่อเปนบทเรียนกับสังคมจากวิกฤต ในครั้งนี้ “ อยากใหสังคม ในสวนที่ไมไดเจอวิกฤต แลวอยากจะชวย มองขามผานการแจกของ เพื่อ ชวยเหลือไปบาง เพราะเมื่อเกิดวิกฤต สิ่งที่สําคัญคือการเยียวยา ฟนฟูภายหลังในเขาชวยเหลือตัวเองได ตอไปในระยะยาว ใหสามารถประกอบอาชีพ เลี้ยงดชีวิตตัวเองและครอบครัวได ถุงยังชีพ 2-3 ถุงอาจไม เพียงพอที่จะใหเขามีชีวิตดํารงอยูรอด ในภาวะวิกฤตและหลังวิกฤตเชนนี้” การสนทนาเสร็จสิ้น แตดูเหมือนวา ภารกิจยามวิกฤตการณภัยพิบัติอาจยังไมเสร็จสิ้น เพราะ เมื่อวิกฤตผานพน ก็ยังคงมีซากปรักหักพังใหตองเยียวยากันตอไป....
37
พี่เอ จากกรุงเทพสูหาดใหญ จากประสบการณของ นายธนพล ทรงพุฒิ (พี่เอ) สัมภาษณ ขออนุญาตสัมภาษณเกี่ยวกับการดําเนินงานของศูนย ทําไมทีมของกระจกเงาถึงไดเดินทาง ลงไปประสานงานที่หาดใหญคะ พี่เอ คือเราพบวาการสื่อสารในหนางานที่หาดใหญที่ตองเดินทางลงไปนี่ ขอมูลในสวนกลางพรอมทั้งตัว กลุม node ตางๆ ขอมูลแนนหมดแลว เหลือเพียง cross check วาใครอยูที่ไหน ทําอะไร ตาม สถานการณที่เปลี่ยนไป สองแมแตการติดตั้งระบบ E-radio เองก็ไมสมบูรณ วันแรกที่ลงไปเนี่ย ทั้ง หาดใหญ ตรัง และพัทลุงก็ไมมีการใช E-radio ก็เลยตัดสินใจวาตองลงไปหนางานเทานั้น มันมีชุดคิดอยู วาการลงไปของเราเนี่ย ปญหาเรื่องการสื่อสารจากหนางานเปนปญหาหลักมั้ย ครึ่งๆ ระหวางจากที่ ประเมินวา 1,500 ไมลจะบุกหนางานและชี้เปา แตมันขาดเรื่องการประสานงานในพื้นที่ในการตั้ง node หรือ Hub เนี่ย มอ. หาดใหญ เหมาะที่เปนที่กระจายของในพื้นที่ พอเดินทางไปถึง มอ.หาดใหญเนี่ยการ สื่อสารมันเขาที่แลว AIS มาตั้งเสา Cell-site อินเตอรเนทในพื้นที่ก็กลับมาใชไดเหมือนเดิม พอไปถึงก็ แนะนําตัวกับรองอธิการ วาเราเคยทําอะไรมา วาเรามีวิธีคิดวา มอ.ควรเปน node กระจายของในพื้นที่ ใกลเคียงและเรื่องกิจกรรมอาสาสมัคร แตเคาก็ออกตัวคิดวาจะทําแค 3 วัน เพื่อใหนองนักศึกษาได กลับไปใชชีวิตการเรียน สัมภาษณ แลวทําจริงๆ กี่วัน พี่เอ 3-4 วัน ตามนั้น วันศุกร-เสารเปนวันสุดทายที่พานักศึกษา 200 คนไปลางถนน สัมภาษณ พี่คิดวาชวงเวลาที่เมืองมันหยุดชะงักเนี่ยกินเวลาไปกี่วัน พี่เอ ที่หยุดชะงักเลยเนี่ยมัน 2 อาทิตย แลวตอนที่เราลงไปเนี่ย ตอนที่เราลงไปตนเดือนเนี่ย น้ําลดแลว เพราะเทศบาลมาเอาเครื่องดันน้ํา 3-4 ตัวไปดันน้ําลงทะเลสาบสงขลา ตัวเมืองวันนั้นเกือบแหงแลวตอน ที่ลงสนามบินหรือภาพถายทางอากาศ ครึ่งซายนี่เปยกยันนูนเลย ครึ่งขวานี่แหง สัมภาษณ กิมหยงนี่น้ําหลาก พี่เอ ใช ขึ้นๆ ลงๆ พื้นที่ต่ําดวยละ ทางผานของน้ําดวย และเปนที่ผังเมืองดวย ปญหาเดิมกับป 46,43 แตปนี้น้ํามันเยอะกวาปกติ ตอนเขาไปใน มอ. เคาก็แนะนําใหรูจักอาจารยที่ทําเรื่องครัว เรื่อง Logistic ตอนเย็นก็เสนอวาอยากใหมี warroom เพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยน คือ เรื่องอาหารสดนี่นักศึกษา 300 คน ชวยทําอาหาร และมีชาวบาน 500 คนที่ตองการขาวกลอง นั้นแปลวา มื้อนึงตองทําอาหาร 800 กลอง เพื่อใหเด็กกินดวย เราเคยเสนอเรื่องการตั้งโรงครัวชุมชน แตวาเคาไมอิน เคาไมเขาใจ เราก็พยายาม เสนอวา เราทําขาวกลองใหกับเด็ก 300 คน ไดแตมันก็สิ้นเปลืองเลยนะ แตถาเราสงเด็ก 300 คนนี่ กระจายไปยังพื้นที่ตางๆ เพื่อทํา มันจะ success เรื่องการจัดการและระบบที่มันไมควรรวมศูนย แตสิ่งนี้ มันก็ไมไดเกิดขึ้น อาจารยคิดวา มันควรจะทําที่นี่แลวเอาไปแจก เราก็เสนอ 2-3 ไอเดียให
38
การใหการชวยเหลือจะใหการชวยเหลือเฉพาะแตคนที่มาแจง เดินเขา walk-in วาอยูบานนี้ เอา ขอมูลปกหมุดไวเสร็จก็ทําเรื่องไปเบิกขาวสงมาให สวนที่สอง อันนี้ขี่รถมานะ 15 กิโล รอบเมืองเทศบาล พอคนรูวามีการแจกอาหารของที่นี่คนก็แหกันมา มันมีศูนยรวมขาวกลองที่ทํากระจายอยูเหมือนกัน มี ทั้งหมด 4 ที่ เทศบาล สะพานดํา หนาโรงเรียนตํารวจ และ มอ. 4 จุดใหญๆ ที่ทําขาวกลองแจก หลาย คนถึงแหไป เอาแค มอ.กอน มอ. ตองเปนคนที่เดินทางเขามาลงทะเบียนปกหมุด ถึงจะเอาให รอบ ตอไปเคาก็จะหารถไปสง แต ตอวันมันซอนๆ ดูคือ ใครไมมาแจงก็ไมได ในละแวกนั้นก็ไมได เราก็มาดู พื้นที่รอบนอกที่คนเขาไมถึง เพราะคนไมมี หาเบอร อบต. ประสานงานและชี้จุดสงขาว เราออกไปนอก ม.ไมไดดวย ไมมีรถ ติดตอพี่โตง (1,500 ไมล) ก็ไมได ทําไดคือ Set up คนใน มอ. ใหประสานงาน ตอไป นี่คือ 3 วัน 2 คืน ที่ทําได สัมภาษณ หลังจากเผชิญเรื่องนี้มา คิดวาสิ่งเหลานี้มันกระทบกับความคิดของเรายังไงบางคะ พี่เอ เรื่องพวกนี้มันควรจะถูกเลาใหฟง ควรจะถายทอด เรื่องเหลานี้พอมันวิ่งเขาไปในหัวนะ มันก็จะรูอยู วาเมื่อเกิดวิกฤตขึ้นมันจะมองเรื่องอะไร มองเรื่องคิว มองเรื่อง Logistic มองเรื่องของ มองเรื่องที่มันเปน เรื่องปลีกยอย มันเลยทําใหเรารูสึกวา “บทบาทของเรามันคืออะไรวะ” คืออยางตอนลพบุรีเนี่ย อบต.หรือ ชุมชนเองก็ตั้งศูนยประสานความชวยเหลือใชมั้ย คนในพื้นที่เองก็พยายามซื้อขาวสารอาหารแหงมาชวย แตก็ชว ยเหลือไประดับนึง แลวมันเพียงพอมั้ยละ สัมภาษณ ประเด็นคือ หลายๆที่เนี่ย เรารูวาสุดทาย process มันไมไดอยูแควาน้ํามาทํายังไง แตที่เรา แชกันอยูนานกวาชวงน้ําหลากก็คือ ชวงที่ตองการจัดการเรื่องของ จัดการเรื่องคน จัดการเรื่องการ ปกครอง วาอีกหนอยคราวหนาใครโดนมัน ก็โดนเอง เคาชินแตประเด็นของเคา พี่เอ ถาเกิดคราวหนา เคาก็จะใช format เดิม เคาไมเปลี่ยนหรอก เชื่อวาไมเปลี่ยน confirm เพราะคิด วาไมมีประโยชนเปลี่ยนทําไม เคาก็ได ชาวบานไดรับการชวยเหลือ สัมภาษณ ประเด็นจะคือปลอย spoil ไป เพราะกระบวนการนี้ทําใหคน spoil พี่เอ นั่นมันก็เปนเรื่องของ spoil เราควรจะทําหนาที่สงเสียงออกไปสูสังคม แตเราก็ตองรับ feed back ออกไปดวยนะวาไมมีมนุษยธรรม สัมภาษณ เปนวิธีการสื่อสารยังไงใหเปนเชิงบวกจะดีกวา สวนเรื่องศูนยคิดเห็นยังไงกับการทําศูนย พี่เอ ศูนยตองไมใชศูนย บทบาทของศูนยเนี่ยมันเหมือน TVC (Tsunami volunteer Center) แตมีทั้งทํา เรื่องทรัพยากรและการจัดการ ตอนแรกมันไมไดคุยกันเรื่อง Roll ของศูนยใหชัด Roll มันทําใหไหลลื่น และคลี่คลาย ศอบ. มันตองเปนแบบไหน แตถาในความรูสึก ศูนยแบบนี้ดวยความหลากหลายของคนไป ทําตามหนาที่ของตัว สัมภาษณ ประเด็นคือจะสะทอนวา ที่เขาไปทํางานแลวมีชวง Fail เนี่ย คือ มีคําถามวา พวกเราเนี่ย spoil ชุมชนเอง ไมตางกันเลย พี่เอ มันก็เปนอยางนั้นนะแหละ เราจะแกไขเรื่องนี้ยังไง ไมมีไอเดียเลย บทเรียนมันเปนแคที่สอนเราให aware ระวัง จริงๆ อยากทํานะ เราเห็นวาเราไมควน spoil ชุมชน เราควรทําใหชุมชน Empower ตัวเอง
39
สง resource เขาไป ทําไดแคนี้ แตเอาเขาจริงแลว บทบาทแมแตกระจกเงา เมื่อเห็นปญหา มันอยากเขา ไปเลนปญหาและจัดการบางอยาง แตในกรณีที่ผานมาอยางในลพบุรี สัมภาษณ มันเปน scale เล็กอะ พี่เอ ใช มันคลองตัวและยืดหยุนสูง แตอยาง ศอบ. เนี่ยหลังจากนั้นมันควรแจกแยกตัวแลวทํางานของ ตัวเองซะ เปนอิสระในการทํางานนะดีแลว สัมภาษณ งั้นสุดทายคะ สําหรับภารกิจหาดใหญที่พี่ไดพบปะไดเจอ ในการเชื่อมโยงไดทํางานรวมกับ ใครหนวยไหนบางคะ นอกจาก มอ. กับ 1,500 ไมล พี่เอ ชาวบานไมเจอเลย เจอแตนักเรียนนักศึกษา เพราะเราไมไดออกไปไหนเลย แตวานอกจากไดคุย ทางโทรศัพทกับญาติของนองที่อยูแหลมโพธิ์ ถาเปน connection ใหมก็เปนนายกคณะเทคนิค การแพทย เด็กคนนี้เองก็บอกวา ถา มอ. ไมขยับเคาก็จะทําเอง เคาก็พอจะมีที่ มี connection อยู เด็ก มันอินกับเราอยู สวนทีม frontline ของ 1,500 ไมล ก็ไดคุยใน warroom ก็ไดเขาไปคนหาพื้นที่ดวย paramotor เพื่อชี้เปาวาตรงนี้มีคนติดอยูแลวใหความชวยเหลือ สัมภาษณ สิ่งดีๆที่ไดพบละคะ พี่เอ มันมีตัววเล็กตัวนอยที่ active อยางนักศึกษาใน มอ. มัน active จริงๆ นะ มันไมอยากทํากับขาว มันอยากออกขางนอก อยากจะมีบทบาทมากกวานี้ แลวก็ เราก็ไดทํางานทุกขั้นตอนไดเรียนรูพรอมกับ ไดทําตาม procedure ที่เรามีระหวางทาง ประสานงาน เช็คขอมูล ดึงทรัพยากร การหาขอมูล manage อะไรประมาณนี้ การหาขอมูลในเนท สัมภาษณ เรื่องการระดมทรัพยากรนอกจากกรุงเทพสงไปใหยังมีจากที่อื่นอีกมั้ย พี่เอ ในตัว มอ. เองมีคนเอาของมาบริจาคอยูแลว แตมันถูกขีดเสนใตวาตองใหในเทศบาลหาดใหญ เทาไร อาจารยคิดวาเอาแคตรงนี้กอนดีกวา เพราะหาดใหญก็หนัก ขนาดจะขอใหตั้ง node กระจายไป พัทลุง ไปที่อื่นยังไมไดเลย อาจารยไมอิน สัมภาษณ แลวมีอีกเรื่องนึงที่สงสัย ในวันที่ 2 ที่ไดยินเสียงจาก มอ. หาดใหญ วาขาวสาร อาหารแหง จะหมด ม.แลว แกส ก็จะหมด ขาวก็จะหมด ตอนที่อยูนั่นไดยินเสียงนี้มั้ย มันเกิดขึ้นจากกอะไร พี่เอ คือของเคาหมดสตอกจริงๆ ทําใหนักศึกษากิน 700 คน ชาวบาน 500 คน โรงอาหารเปดแลวแตก็ ยังกินขาวโครงครัวอยู สัมภาษณ แตไมรูจะรองทําไม BigC อยูหนา ม. พี่เอ BigC ก็หมด เพราะคนตุนไปหมดแลว ทั้ง มามา ปลากระปอง คือ หางนี้เปดไวให KFC ขายของ แลวรานขาวในเมืองนี่เปดไมกี่ที่ มอ.เนี่ยนาสนใจที่จะทําใหเปน node ในการจัดการคราวหนาเพราะ มัน ตองมีครั้งหนาแนนอน หาดใหญชวยพัทลุง ชวยเขาชัยสนได แตเราติดเรื่อง logistic ถาคราวหนาใชรถ Trailer ขับตรงจากกรุงเทพเลยใสมา 30 ตัน จบเลย สวนเรื่องน้ํานี่ยังหาฝายที่ทําน้ําไมเจอ ที่ที่ทําน้ํา ขวดขุนจากจังหวัดใกลเคียง
40
สัมภาษณ เออ เนี่ยเปนอีกประเด็นที่อยากทําคือ จังหวัดใกลเคียง หรือ ตําบลใกลเคียงเคามีแผนในการ จัดการยังไงบาง ตอนนี้เราถูกสรางสังคมที่ตางคนตางอยู ทั้งๆที่เมื่อกอนไมมีระบบแบบนี้ เรากลับอยู ชวงตัวเอง ชวยกันเองได ถูก spoil กันทั้งระบบ พี่เอ มันถูกพูดบอกวา ไปดูแลบานเคาทําไม บานเราก็โดน สัมภาษณ มันจะมีอะไรที่ไปเปลี่ยนแปลงเรื่องนี้มั้ย มีปญหานี้อยู แตทําไมเราถึงจะไปทําเรื่องอื่น ขอจํากัดเราคืออะไร แตทําไมทําไมไดไมรู พี่เอ มันตองถอดชุดความรูมากแลวไปทําตอ สัมภาษณ งั้นเราเปนภาคสมองให แลวภาคสนามวาไงตอ....
41
จี จากกรุงเทพสูหาดใหญ จากประสบการณของ นายกิติพงษ ประชุมพล(จี) สัมภาษณ อยากจะถอดความรูจากสิ่งที่ทํามาแลวและควรปรับปรุงจากศูนยที่พินนาเคิลไปจนถึงการ ประสานงานในพื้นที่หาดใหญคะ จี ก็อยางที่บอกในหองประชุม คือถาเรามารอจัดนูนจัดนี่ชาวบานก็อดตายพอดี ก็เลยอยากไป สัมภาษณ แลวพอไปแลว สิ่งที่คาดหวังกอนไปถึง กับพอไปเหยียบถึงแลวตางกันยังไง จี สิ่งที่คาดหวังคือ จริงๆ อยากลงไปในพื้นที่วิกฤต แตพอดีวาลงไปแลวดันมีเครือขายอยูที่นูนก็เลยตอง ไปอยูที่ศูนยมันก็เลยเกิดการจัดการอีกแบบขึ้นมา คือ คนพบวาเมื่อมันเกิดภาวะวิกฤตการลงไปโดยที่ ปลายทางมีศูนยอยูแลว สิ่งที่เราควรทําอาจจะไมใชงานแบบนั้นที่ไปทําก็ได สัมภาษณ แลวเราไปทําอะไรบาง จี ก็ไปจัดตั้งศูนยประสานงานนี่แหละ สัมภาษณ แลวไมซ้ําซอนเหรอคะ จี ไม เพราะที่นูนไมมีศูนยประสานงานกับตัวกรุงเทพ คือเคาเปน เคามีคือ เคามีสถานีวิทยุของตัวเอง เคาก็เลยระดมที่สถานีวิทยุของเคา สวนสิ่งที่เราคนพบที่หาดใหญที่นาถอดบทเรียนที่สุด คือ สถานีวิทยุ ของหาดใหญ เคาจะเปนตัวประสานงานกับหนวยงานในทองที่ NGOs กรุงเทพ ทุกอยาง แลวเคาก็ ทํางาน 24 ชั่วโมง สิ่งที่เราควรมีในภาวะวิกฤตก็คือ ชองทางสื่อ สําคัญมาก สัมภาษณ คือ เห็นวา เราประสานงานกับหลายๆทาง จี ถ า มองในมุ ม ของการบริ ห ารวิ ท ยุ ใ นท อ งถิ่ น มั น มี ม ากเลยนะ เพราะมั น เป น คลื่ น ความถี่ ต่ํ า ที่ ผูประสบภัยไดฟง เคาฟงขาวสารไดจากวิทยุ บางทีของที่จําเปนตองมีไวที่บานคือ วิทยุ กับ ไฟฉาย ใน การจัดตั้งศูนยมันสําคัญมาก สัมภาษณ มันคือ วิทยุ มอ. หาดใหญ ? จี ไมใช มันเปนวิทยุของหาดใหญเลย เปนวิทยุทองถิ่น แลวเคาตั้งศูนย 24 ชั่วโมง รองรับการ ประสานงาน พอชาวบานโทรไปแจง ไมมีไฟฟา เคาก็ติดตอการไฟฟาใหเลย ไฟฟามาแลวครับๆ ย้ํานะ ครับ ตรงนี้หมูนี้ เจงมาเลยวะ แต มอ.เราไมคอยไดฟง สัมภาษณ วิทยุหาดใหญนอกจากจะทําหนาที่รับขาวจากชาวบานแลวยังโทรตรงไปที่ผูมีความสามารถ ในการชวยเหลือ เรียกวาเปนปรากฏการณที่นาตื่นเตน วิทยุหาดใหญนี่เปน? จี วิ ท ยุ ชุ ม ชน เคเบิ ล ที วี ท อ งถิ่ น ด ว ย มี กั น ไม กี่ ค น สิ่ ง ที่ เ รามองเห็ น คื อ ถ า ชุ ม ชนเข ม แข็ ง และมี ระบบสื่อสารภายนอก แมกระทั่งผูประสบภัยเองเคาก็ยังดีใจนะที่รูวามีคนที่พยายามชวยเหลือเคาอยู
42
สัมภาษณ กลับมาเรื่องประสานและเชื่อมโยงกอน อยางใน ม. มีเต็นทความชวยเหลือกันทุกคณะเลย จี มันเปนจุดอพยพชั่วคราวเวย พวกที่เขามาอยู คนที่นั่นก็มาอยูแปปเดียว มาแลวก็ไป การจัดการจริงๆ ที่ศูนยของ มอ. จะเปนตรง ศูนยนิสิตที่หลายๆคณะเขามา มีเด็กหมุนเวียนมาเปนพันคน สวนเต็นทนี่ เปนที่พักชั่วคราว อยางที่คณะพยาบาลก็เปนที่พักผูปวยชั่วคราว สัมภาษณ ก็คือ เคาก็มีการบริหารที่เปนเอกภาพเหมือนกัน แลวในฐานะที่เปนคนนอกเนี่ย เราไดเขาไป แตะในจุดไหนบางคะ จี ไมไดแตะนะ เราไปเชื่อมโยงเคาเฉยๆ บทสรุปของเราคือวา เราไปบอกเคาวา เราอาจจะใหระดมของ แลวไปพักไวที่ node นั่น แลวก็มีการสงตอไปยังที่พัก แตเราไมไดไป sanction ระบบการทํางานของเคา นะ อาสาสมัครเคาก็จัดการเองได อะไรได แตวาคนพบอยางนึงวา ทําครัวแบบนี้เปลือง นักศึกษาพันคน ทําขาวกลองสองพันกลองใหชาวบาน ก็ตองทําสามพันกลอง สัมภาษณ เพราะตองกินเองดวย จี ถาเปนไปไดการเอาเขาไปทําเอง ทําครัวเองในชุมชนไดนี่ สัมภาษณ ทําไมมันถึงเกิดครัวชุมชนขึ้นไมได จี เราเขาพื้นที่ไมถึงหนางาน ไมเห็นหนางานจริงๆนะตอนไป เห็นแคตามริมถนน แตหนางานที่เคาติด อยูนี่เขาไปไมถึง สัมภาษณ keyword ในการจัดการชุมชน เราเห็นปญหาเยอะแยะเลย นี่ก็พยายามทําอยู แตจะสราง โครงงานในการแกปญหานี่ไดยังไง สมมุติมีตังคใหกอนนึง มีพื้นที่อยู จะสรางโครงการยังไงใหเกิดวิธีคิด หรือชุดคิดใหชุมชนจัดการตัวเองไดยังไง มีขอคิดเห็น ขอแนะนํามั้ย จี ตั้งแตสึนามิ ลับแลมา พอวิกฤตมาก็แตกหมดอะ มันตอง set up ในจุดเสี่ยงที่ยังไมเคยมี หรือเคยเกิด มากอน แตตอง set up ตั้งแตกอนเกิดเหตุ คือในระยะฟนฟู ที่ไมใชแคลางบาน สัมภาษณ ขอกด like จี การฟนฟูมันตองมองไปถึงทุกอยางเศรษฐกิจเคา ความเปนอยูหลังน้ําลด ปหนาจะปองกันยังไง จัดการตัวเองยังไง ในเมื่อบานตัวเองอยูในพื้นที่น้ําทวมแบบนี้ ถาเรารูสึกวามีคนมาชวยเรา มีกําลังใจที่ จะชวยคิดตอ แตมันก็ดูตลกๆนะ พอน้ําเขาทวมเสร็จก็ไปตั้งหองสอนจัดตั้งอะไร สัมภาษณ ก็ตองถอดบทเรียน จี หมายถึงวา พอน้ําลดเสร็จในระยะครึ่งเดือนเนี่ย มันยังไมใชชวงที่จะไปดึงอะไรกับชาวบาน สัมภาษณ แนนอนเคาตองหากินใหผานกอนอยูแลว มองอีก 6 เดือนขางหนา เพราะ loop ของความ หายนะมันจะสั้นกวาเดิม ไมใช ปตอปแลว หมดหนาหนาวแลวมันก็จะแลงจัดตอเลย พอถึงหนาฝนมันก็ จะเปนอะไรที่เหวี่ยงเลย จี ก็ประมาณนั้น คือ เราเห็นวาควรมีใครทําอะไรสักอยางที่ไมใชแค... แตก็นึกไมออกนะ แตคิดวาแคไป ลางบานมันไมพอ
สัมภาษณ แลวรูสึกยังไงกับงานที่ไดทํารวมกับศูนย
43
จี สวนตัวคิดวา มันดีที่มันมีแบบนี้ คืออยางนอยก็ไดเริ่มซะที ถึงมันจะเจอ conflict อะไร อยางนอยก็ ดีกวากระจายกันทํา ยังไมคุยเรื่องการจัดการนะ คุยเรื่องตัวศูนยนะ มันดีแลว มันเปนโมเดลที่นาทําตอ แตนาจะลดบทบาทมันลง สัมภาษณ มันควรจะ resize scale จี ใช มันควรจะเล็กลงแลว fade ไปทํางานกับชุมชนทําตอเรื่องฟนฟู อีกอยางเวลาทํางานคุยกันแบบมห ภาคมองหาวาตองทําใหไดผลที่ดีที่สุดในขณะที่มันเกิดวิกฤต แลวมันจะมา.. ไมเขาใจอะ ทําไปคูกันไมได เหรอ ตองรอใหทุกอยางมันลงตัวเหรอ สัมภาษณ กลับมาๆ เรื่องสิ่งดีๆที่พบจากการทํางานลงหาดใหญบาง จี มันเห็นการตื่นตัวของพื้นที่ ไมรูวาที่อื่นมันมีแบบนี้รึเปลานะ แตวาเทาที่รูมา มอ. ก็เปนศูนยที่จัดตั้ง โดยมหาวิทยาลัยที่มีรูปแบบและการจัดการที่ครบ ที่ลพบุรีและโคราชก็เปนปลอยตามธรรมชาติ ไมเห็น เรื่องพวกนี้ อาชีวะก็มาซอมๆ แลวก็บจบ ที่นี่มีการจัดการเรื่องปากทองครบ สัมภาษณ ประกอบดวยอะไรบาง จี ขาดเรื่องชุมชนอยางเดียว สัมภาษณ ใน ม. มีหมอ มีขาว มีรถ มีเรือ แลวอยางน้ําไหลไฟดับ ฝนตกไฟชอตนี่แจงไดมั้ย จี เคาก็ดูแลเรื่องรักษาพยาบาล สงหนวยเคลื่อนที่ไปดวย สัมภาษณ แตบทบาทที่เห็นสําคัญก็คือวิทยุหาดใหญ มันคือชองอะไรอะ ไมใชวิทยุมอ.เหรอ จี ดูทีวีเคเบิลทองถิ่นก็เจอ มีตั้งกลองเว็บแคมถายฝนใหดูดวย ออนแอรไปพรอมกับวิทยุ FM ดวย เราก็ เลยเบบปงแวบขึ้นมา นี่ก็สําคัญนี่หวา มันเปนชองทางที่ชาวบานจะรับรูขางนอกได เออ โทรศัพทมือถือ โทรไมไดก็ฟง FM ไดไมใชเหรอ สัมภาษณ คือถามีคนทํา มันก็จะมีคนตามมา จี ถาเราไปถอดบทเรียนที่นั่นจะไดเยอะ เคาก็ขาดๆเกินๆแหละ เพราะเคาไมเชี่ยวชาญเรื่องนี้ สัมภาษณ Twitter กับภัยพิบัติ ดูเหมือนจะเปนทั้งเรื่องดีและไมดี ในแงดีมองเห็นอะไรบาง จี ในแงดีคือ ความชวยเหลือมันเขาไปถึง จริง ในแงที่ไมดี อยางวา มันหลายคน เดี๋ยวนี้คนเขาถึง เทคโนโลยีได ก็จึ๊ก จึ๊ก จึ๊ก จนความชวยเหลือมันลน และยังขาวลือที่ไมอะไร ดูดิ มอ.ขาดแกสเหลือแกส สองถัง รถแกสมาเปนสิบคันรถสงให สัมภาษณ ก็ดีอะดิ จี แตคือวากรณีบริจาคอะ ถามันมากเกินไปมันก็ Chaos เหมือนกัน มันก็จะพังในอีกมิตินึง ผูชวยเหลือ เองก็มีปญหาถาไมมีการจัดการผูบริจาค สัมภาษณ นั่นก็อีกประเด็น น้ําทวมใชเวลาวุนวายหนึ่งวัน แตทวี่ นุ วายอีกไมรูกี่วันก็คือ เรื่อง logistic และการบริจาค ที่ผูบริจาคตองการใบเสร็จและภาพการสงของรับของถึงมือ จี นั่นแหละ มันนอกเหนือจากการจัดการอาสาสมัคร คือ เรื่องการจัดการผูบริจาค จริงๆแลวเคาตองเห็น ตัวเองในมุมทีไ่ มใชผูใจดีมีบญ ุ ชวยเหลือชาวบาน อยางในกรณีลพบุรชี าวบานเขาบานตองนั่งรอเรือที่จะ
44
เขาบานตัวเองจนเย็น เพราะผูบริจาคใชเรือเอาเรือไปสงของบริจาค 2 กลอง มันมากเกินความจําเปนกับ ทัศนคติเรื่องการทองเที่ยวภัยพิบัติ สัมภาษณ มันควรจะมีผูจดั การในระบบในชุมชนดวย สามารถลอคผูบริจาคและของบริจาคพวกนั้นวา ของสามารถวางไวที่ศูนยไดอยางไววางใจ เคาก็จะไมเขา ? จี ก็เรามองอยางนักจัดการไง แตตรงนั้นเคาเปนชาวบาน เคามาชวยบานเคาก็อยากเห็นวาลําบากนะ เกรงใจดวยอะไรดวย เคาเอาของมาให มาชวย สัมภาษณ คือ มันตองจัดเรือเที่ยวลํานึง เรือทํางานลํานึง จี ใช ก็นี่ไงเปนสิ่งที่มันก็ตองถอดเรื่องพวกนี้เปนความรูดวยแหละ ไมงั้นมันก็ chaos อยูแบบนีแ้ หละ แต หาดใหญไมไดเขาหนางานวะ ไมเห็นภาพวามีการจัดการแบบทีบ่ านหมี่รึเปลา แบบตั้งศูนยพนื้ ที่กันทํา สัมภาษณ แตไมไดซ้ําซอนกับเคาใชมั้ย เด็กเขาใจ ผูใหญรูเรื่อง จี ชวงแรกไมคอยรูเรื่อง เคาไมรูเราทําอะไร สัมภาษณ แลวไปทําไรไมไดบอกใคร ? จี บอกๆ แตมัน Chaos ไง อาจารยเคาก็เปลี่ยนเวรกันไปเรื่อยๆ ตอนหลังเขาไป warroom กับเคาเลยก็ จบ ตอนยังไมมี warroom มันก็ธรรมดาเนาะ แตเราโชคดีตรงที่พี่แวว ทีวีไทยอยูดว ย มันก็เลยดู เหมือนวา เรามาดวยกัน สัมภาษณ ปรากฏวา media นี่มีบทบาทเยอะเนาะ เคาสามารถ Deal ทั้งปตตานีและศูนยนไี้ ดนิ
45
อาสาสมัครทรัพยากร และlogistic
46
นองมีน อาสาลงตับ จากประสบการณของ นองมีน สัมภาษณ ขอสัมภาษณเลยละกันคะ ทํายังไงถึงไดเขามารวมงานในศูนยนี้ไดคะ นองมีน ก็จริงๆ เริ่มงาน volunteer ปกติคือ ทํากิจกรรมนักศึกษาอยูแลว และก็ไดรูจักพี่ๆ บางคนที่ ทํางานอาสาอยางพี่ตองเปนตน พี่ตองก็พูดใหฟงวาจะมีการตั้งศูนย จริงๆแลวมีนจะไปทําที่มูลนิธิปอ เตกตึ๊ง ตอนแรกมีนจะเขาไปทําตรงนั้น แตพี่ตองบอกวาถามาทําตรงนี้อาจจะเขามาชวยไดมากกวานะ มีนก็ไมเขาใจวาความหมายของคําวามากกวาคืออะไร แตอยางนอยไดทําประโยชนก็ดี จังหวะนั้นก็ยัง วางอยูดวย แลวก็คิดถาตัวเองมีประโยชนอะไรไดบาง ดีกวานั่งดูทีวีแลวก็ดูวาบานคนอื่นน้ําทวม แลวก็ คนตายกันไป ก็รูสึกวาคนเหลานั้นที่ประสบอุทกภัย ก็คงตองการใหใครมาชวยอยู นี่คะคือจุดเริ่มตน ซึ่ง มีนสามารถสานตอและชวยไดมีนก็เลยเขามาคะ สัมภาษณ ก็คือไดเขามาตัง้ แตวันอังคารที่สอง ภารกิจที่เขามาตั้งแตวันนั้นไดทําอะไรบางคะ นองมีน ขอเทาความนิดนึง วันที่หนึ่งที่ทีวีไทยก็ไดไปนั่งฟงที่เคาประชุมกันวาเกิดอะไรขึ้น มีความ เสียหายตรงไหน จะเริ่มแผนการยังไงประมาณนั้นคะ แตมันก็ยังไมเคลียร เพราะผูใหญก็ยังประชุมกันได ไมครบ แตพอวันที่สองเนี่ยก็คือ เราเริ่มรูแลววาจุดที่เริ่มตองทําคือตรงไหน คือการประสานงานคะ มันก็ เลยเปนจุดเริ่มตนที่นี่คะ สําหรับเหตุการณวันแรกมันคอนขางวุนวาย เพราะมันยังไมรู Position ที่ แนนอน แตรูสึกวางานที่ไดรับมามันเยอะมาก เหมือนกับวา หนึ่งไปสาม สามไปแปด แปดกลับมาสอง แบบนี้คะ ยกตัวอยางเฉยๆนะคะ แตวา ที่ไดรับงานดูเหมือนวาจะเปนการดูแลการรับการจายยาจาก องคการเภสัช นั่นเปนจุดแรก จากนั้นก็มีการขอของเหมือนกับประสานใหทางนูน เคาสงยาประมาณ 20,000 กวาชุด ใหสงไปกับทางใตคะ เพราะวาจริงๆ เคาบอกเคาสงไปทางอีสานดวย ทางเราก็ยัง ตองการเพิ่มเพราะมันยังขาดอยู หลังจากนั้นก็จะทําเกี่ยวกับประสานงานของแตละบุคคลที่รองขอความ ชวยเหลือผานทาง thaiflood ดูทั้ง Twitter และการโทรศัพท เปนตารางนะคะ เปนตารางเกี่ยวกับคนชื่อ นี้ๆ อยูที่อําเภอนี้ ตําบลนี้ เชน คุณใหม อยูที่หาดใหญ ประสบภัยอยูในบาน ไมไดกินอาหารมาสองวัน แลว ตองการความชวยเหลือประมาณนี้ หนูก็จะโทรประสานเทศบาลวาคนนี้ตองการความชวยเหลือมี รายชื่อ 20 กวา แตจริงๆ มันเยอะกวานั้น แตวาก็จะมีเคสนึงที่ประทับใจก็คือ ที่ไดชวยคนที่กําลังจะโคมา จากตลาดกิมหยง ที่หาดใหญ คือ ไดชวยเคาออกมาในนาทีระทึกวา เคาอาจจะชอคไดเพราะเคามีอาการ หลอดเลือดตีบตัน เราก็ประสานภาครัฐและภาคเอกชนนําเรือไปชวยเคาออกมาได นี่เปนภารกิจแรกที่ มีนประทับใจ วาการมีชีวิตอยูเพื่อคนอื่น มันมีคามากกวาการมีชีวิตเพื่อตัวเอง สัมภาษณ ถัดจากวันวิกฤติชวี ิต วิกฤติพวกนี้มานองไดทําอะไรตอคะ นองมีน วันที่สามเริ่มคลองตัวมากขึ้น อาสาสมัครมากขึ้น เริ่มรูตําแหนง มีการประชุมทุกสามชั่วโมง discuss กันและรายงานผล เปนขั้นตอนมากขึ้น ตัวมีนเองเนี่ยก็ดูแลเหมือนกับวา ประสานงานตามพื้นที่
47
เหมือนเดิม หนาที่หลักจริงๆ เริ่มเปนเรื่องของบริจาคมากขึ้น ใชการ logistic ของจากกรุงเทพไปใหพื้นที่ ประสบภัย ตัวมีนเองคิดวา งานนี้ยังไมมีคนอาสา มีนก็เลยอาสาที่จะทําเรื่อง logistic ขนสงของผานทาง เครื่องบินในวันที่ 4 ซึ่งวันที่ 3 ไดเตรียมการไวหมดเลย ทุกอยางตองเปะนิดนึง รูสึกวาทําจนถึงตีสาม แลวก็เหมือนกันนอนคอพับอยูประมาณครึ่งชั่วโมง ซึ่งคุณหมอตังก็เปนคนขับรถพามีนไปสนามบิน แลว หมอก็คอยดูชวงตนในกระบวนการวาการควบคุมยังไง และชวยเกริ่นนํามีนใหดวยวาเปนนักศึกษาที่เปน อาสาสมั ค ร แต ยั ง ไม เ คยทํ า งานฉุ ก เฉิ น เต็ ม ตั ว แบบนี้ ก็ เ ลยได รั บ คํ า แนะนํ า จากคุ ณ หมอตั ง เยอะ พอสมควร ประมาณตีสี่ครึ่งก็ถึงสนามบินก็คือ ไมไดนอนจริงๆ วันนั้น วันที่ 4 ก็คือ วันนั้นก็ไดเจอกับทางทีมงานนกแอร นกแอรเนี่ยเคาดูแลของบริจาคสงมา จากทุกสารทิศในกรุงเทพมากองอยูที่นกแอร สวนนกแอรจะมีผูสงของพวกนี้ไปยังภาคตางๆ ซึ่งมีนจะ ดูแลจุดผูรับและจํานวนของใหมันเคลียรและโปรงใสดวย เนื่องจากผูบริจาคเนี่ยเคาตองการใหของบริจาค มันถึงที่ถูกตอง แลวก็มีนก็เลยตองประสานงานไมวาจะเปนนกแอร คนในพื้นที่ หรือทางดานของวอรรูม เองดว ย เพราะมี นต อ งการสั มภาษณต ลอดเวลาว า เท า ไรแลว และมี ก ารช ว ยกี่ จํ า นวน คื อ ขาดตก บกพร อ งไม ไ ด แต ก็ ต อ งยอมรั บ อี ก ด ว ยว า มี ก ารเข า ใจผิ ด การหรื อ การสื่ อ สารที่ ผิ ด พลาดบางส ว น เนื่องจากมันเปนวันแรกที่เราทํา logistic เต็มตัว ก็มีขอขัดของเล็กนอย ถามวามันผานไปไดดีมั้ย เราก็ ทําตามกําลังและทําเต็มที่แลว เพราะวาของก็ไดถึงที่ทั้งนครศรีธรรมราช พัทลุง หาดใหญ ตรังและ ปตตานีดวยคะ และมีทางอีสาน ทางอุบล อุดร ขอนแกนดวยคะ อยางการสงของไปอุดรเนี่ย แตคนรับจะ เปนคนขอนแกน เราก็ตองละเอียดในการควบคุมดูแลใหดี ก็มีขอผิดพลาดที่บางสวนนกแอรเคาก็หวังดีที่ เราจะสงน้ํา 3,000 ขวด แตเคาสงให 3,500 ขวด คนรับเคาก็รับแค 3,000 ขวด ทางคนสงเคาก็สงสัยวา แลวอีก 500 ขวด มันไปไหน แตรูสึกวามันก็จะมีผูรับของทางนกแอรที่เคาติดตอไปแลวก็มีการ report back มาทีหลัง ถามวาเปนอุปสรรคมั้ย ตอบตรงๆ วามันก็ใชเพราะเราก็อยากใหมันโปรงใสอยางที่มัน ควรจะเปน สัมภาษณ Process หลักๆ ของการทํางาน logistic ลงใตนี่จากตนทางไปปลายทางนี่เปนยังไงคะ นองมีน ก็คือ อันดับแรก มีนจะไดรับเบอรโทรของผูรับปลายทางซึ่งเปนผูประสานในพื้นที่ อยางเชน ปลัดเบิรด มีนก็จะไดรับมาจากพี่ยา คือเคาจะมีคน contact อยูวาคนนี้จะมารับแลวสงของไปถึง ผูประสบภัยได แลวคนที่เดีอดรอนเคาไดรับจริงๆ แลวพอทางนูนเคาประสานแลววาใครเปนผูรับ เคาก็ จะสงชื่อกับเบอรโทรศัพท แลวมีนจะประสานติดตอทางพื้นที่เองเลย หลังจากนั้นก็จะโทรถามวาตองการ อะไรบาง เทาไร พื้นที่ไหน มีความจําเปนแคไหน เชน ขอมาเลย 4,000 ชุด จากของอาหาร 15,000 ครัวเรือน ถาเราใหหาดใหญแตลืมพัทลุง เราก็ทําไมได เราก็อยากจะใหมากแตจังหวัดอื่นก็ตองการ เชนกัน เราก็ตั้งชั่งน้ําหนักกอนเลยวา 4,000 ชุดนี่ เหมือนกับวาไมไดกินมา 3 วันรึเปลา รึวาไมไดกินมา วันนึง มีนก็ตองคุยวาตองการมากนอยแคไหน ทางนั้นก็จะบอกมาวาตองการ 2,000 แต 4,000 เนี่ยเผื่อ ไว มีนก็ตองบอกไปวา ของมีจํากัด มีก็ตองคํานวณดวยสวนหนึ่ง และจากสานสดวยสวนหนึ่ง แลวเฉลี่ย วาแตละพื้นที่ควรเปนเทาไร พอไดจํานวนแลวมีนก็จะติดตอทางนกแอร วาจํานวนนี้ตองลงไปที่นี่จํานวน เทานั้น มีนจะเปนสื่อกลางระหวาง warroom กับ นกแอร จริงๆ ของมันมาจากคนไทยทั้งประเทศ ที่ตอง
48
พูดถึงนกแอรบอยๆ นี่เพราะเคาใหเราใชสถานที่เลยตองพูดนิดนึง แลวพอมีนสงไปใหทางนกแอรแลว ทางนกแอรก็จะประสานงานอยางที่บอกไป พอเครื่องออกไปไดสักชั่วโมง มีนก็จะโทรไปที่ปลายทางวา เคามีรถขนาดที่จะมารับของใหญพอ หรือ คุมพอหรือไม และก็ตองโทรเช็ควาไดรับรึยัง ขาดตรงไหน บกพรองตรงไหน เปน record ตอไป สัมภาษณ เรื่อง process ก็ผานไป อยากจะรูวาจากการทํางานหามวัน หามคืน หามรุง หามเชา เราพบ สิ่งที่เปลี่ยนแปลงในจิตใจของเราระหวางกอนกับหลังทีม่ าทํา เราพบอะไรบาง นองมีน มันก็คงเปลี่ยนแปลงความคิดมัง้ วา หมายถึงวา ถาเราไดเห็นวิกฤตหรืออะไรที่เราสามารถยื่น มือเขาไปชวยได มีนจะไมรีรอเลยที่จะกระโดดเขาไป ทางที่บานเคาก็จะถามวา คือ เราสนใจทําไปเพื่อ อะไร เมื่อกอนเราคิดวา มันคืองานกิจกรรมงานนึง แลวมันก็ไดชว ยเหลือสังคมงานนึง ตอนนี้มีนเปลี่ยน ความคิดวา การชวยเหลือสังคม มันคือการชวยเหลือชีวิตคน แลวชีวติ ของเคา เราแคเปนเศษเสีย้ วหนึ่ง คือ เราอาจจะไมไดชวยชีวติ แบบเลือดตกยางออก แตเราชวยใหเคาไดหายใจตอไป มันเปนอะไรที่เหนือ ความบรรยายจริงๆ อยางที่มีนบอก มันทําใหมีนรูสึกวา ไมวาจะงาน volunteer อะไรอีก ถาสามารถทํา ไดเต็มที่ มีนก็จะกระโดดเขาไปโดดไมตองไตรตรองอะไรแลว สมัยกอนอาจจะตองมองวา สถานที่ เวลา อะไร ไปไดไกลแคไหน ตอนนี้แคถาเคาคิดวาเรามีประโยชนและเราทําไดดีที่สุด ก็ทําซะ ไมตองคิดอะไร มากมาย บางทีตรรกะก็อยูต ่ํากวาจิตวิญญาณ สัมภาษณ มันซึมลง DNA ไปแลวเหรอ นองมีน ประมาณนั้นเลย สัมภาษณ จากการทํางานมาเนี่ยคิดวาถาเกิดเหตุครั้งหนา เราควรจะปรับปรุงการทํางานยังไง นองมีน เราอาจจะตั้งหลักไดชากวาที่ควรจะเปน แตเราไดดีที่สุดแลว The best we can มีนคิดวามัน อาจจะเปนทรัพยากรตัวบุคคลมั้งคะ คนที่กาวเขามาบางทีก็ไมกลา นิสัยของคนไทยบางทีไมกลาบอกวา ถนัดงานไหน ทําอะไรไดดี มีนคิดวามันอาจจะเปนวัยวุฒิและปจจัยภายนอกที่ทําใหไมสามารถตอบ ความตองการทั้งสองฝายไดสมดุล มันยังมีคานเล็กๆ กันอยู เนื่องจากวาคนที่เดินเขามานี่ไมมีใครรูจัก กันมาก แบบรูจักกันมา 100% อยูๆก็เขามากันฟบ แบบจูเรนเจอร แลวก็ตอสูกับสัตวประหลาด ถากอน ทํางานเรามาทําความรูจักกันใหเต็มที่กอน ใหรูวาตรงไหนที่เชี่ยวชาญ เราก็จะไดประสานงานงายขึ้น วา คนนี้เคาเกงดานนี้ ถาตองการคน press ขาวก็วิ่งไปหาเคา แลวก็อยากใหมีบรรยากาศแบบเปนกันเอง เร็วขึ้นกวานี้ แบบวันนี้ที่เปนอยูก็รูสึกอบอุนแลว แลวก็มีความสุขกับทุกวันที่มาทํางาน สัมภาษณ แลวคนธรรมดาทั่วไปนี่จะชวยอะไรไดบาง นองมีน ถาเปนเรื่องปรับปรุงเนี่ย มันก็อาจจะไปสอดคลองกับขอแรก แลวก็สําหรับวัยรุนทุกคนนะคะ ถาคนอื่นตองการเขามาทําเนี่ยเคาจะเขามาไดยังไง ก็คงตองมีการกระจายขาวและขอความรวมมือจาก สื่อมวลชนมากกวานี้ ใหกระจายวาเราตองการคนจริงๆ ใหคนกลาที่จะเขามากับเรา เพราะวามันก็เปน
49
ธรรมชาติของมนุษยที่ไมกลวเขามาที่ใดที่หนึ่งโดยที่ไมรูจักใครสักคนเลย แตศูนยเราก็มีคนแบบนี้อยู เนาะ ไมวาจะเปนนักศึกษาหรือครูบาอาจารย มันก็มีคนสวนหนึ่งที่พรอมที่จะรบอะ แตเคาไมรูวาเคาจะ เขามายังไง มีนก็ขอพูดเกี่ยวกับเรื่องสื่อ ถามันกระจายไดทั่วถึง มันก็จะมีคนเขามา สัมภาษณ สุดทายมีอะไรอยากจะเลาตอ เรื่องอะไรหรือใครก็ไดมั้ยคะ นองมีน เรารูสึกวา เราอาจจะเหมือน Background แตไมใชหรอกนะคะ จริงๆแลวเราเปนฟนเฟองดีๆ นี่เองที่ทําใหเครื่องจักรทํางาน เราจะเห็นวาหุนยนตเนีย่ เฟองมันจะอยูขางในใชมั้ยคะ เฟองนี่มันมีคา มากกวาสีที่อยูรอบนอกหุนยนตที่คนมองดูแลวชื่นชมวา อุย มันสีนี้ แตจริงๆ แลวฟนเฟองอยางเรา อาจจะเปนสนิมอยูขางในอะ แตมีนคิดวาการมีสนิมมันก็ทําใหเครื่องจักรทํางานนะ มันก็มีคุณคามากกวา เปนสีภายนอกฉาบฉวยที่สวยงามที่ไมมีคุณคาอะไรเลยที่แทจริง มันก็คงเหมือนกับภาพงานที่มันสวยแต มันทําผิวเผิน แตอยางเรา แมจะเปนฟนเฟอง แมจะเจออะไร เรายังรูสึกวา เรายังมีน้ํามันจากแรงกาย แรงใจที่จะสูตอ ไป มันมีคุณคาของงานอาสาสมัคร มันไมใช Background ที่ไมมีอะไรเลย แตมันมีคุณคา มากกวาสิ่งทีค่ นภายนอกมอง แลวก็อยากใหคําวาอาสาสมัครอยูตลอดไป คือ คํานี้ไมจางหายไป เหมือนกับพจนานุกรมหรือที่ใดก็ตามเพราะภาษามันก็เปลี่ยนไปตามเวลา แตคํานี้ ความหมายมันแบบ ยากเกินที่จะพูดถึง อยากใหมันอยูตลอดไป แรงใจและการอยูเพื่อสวนรวมและตัวเราเองดวย มันมีคา อยากใหทุกคนรูวาอาสาสมัครมันไมใชจิ๊บๆนะ สัมภาษณ เยี่ยมเลยคะ ขอบคุณคะ
50
พี่ใหม ประสานสิบทิศ จากประสบการณของ นายวรวุฒิ ชูอาํ ไพ สัมภาษณ เรื่องของการจัดหา ในชวงแรกๆ ตั้งแต 1-3 วันแรก คุณใหมอยูฝายทรัพยากรใชมั้ยคะ ใน การระดมทรัพยากรจากที่ตางๆ นี่คุณใหมพบประสบการณยังไงบางคะ พี่ใหม ปกติการระดมทรัพยากรเนี่ยตองใช connection สูงทีเดียวแหละ เพราะวาอยูดีๆ ไปขอใครตอใคร มันก็ยาก มันตองใชสัมพันธที่มีความเชื่อถือสูง การขอความอนุเคราะหตามขั้นตอนมันจะไมทัน ไมงั้นก็ จะเปนแบบสวนบุคคลหรือ connection สวนตัวกันซะมากกวา ที่สงความชวยเหลือกันเขามาก็จะเปน แบบนั้น สัมภาษณ สะทอนใหเห็นวาการทํางานภาคประชาชนมันเปนความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษยซะ มากกวาการทํางานแบบ Partnership ใชมั้ยคะ พี่ใหม ใช เปนความสัมพันธกันแบบนี้ซะสวนมาก สัมภาษณ แลวฝายระดมทรัพยากรนี่ทํางานสัมพันธกับฝาย logistic ยังไงบางคะ ทําไมตองระดม ทรัพยากรดวย ทํา logistic ดวย พี่ใหม ก็ จริงๆ ถามันมีสองคนก็จะดีนะ ไมมีควรจะเปนคนเดียว เพราะมันไมสามารถแยกสติและสมาธิ สองอยางในเวลาเดียวกันได สัมภาษณ ที่จริงที่เราทําอยูก็คือ การประสานใหเคามาจากแหลงบริจาคไปที่สงตอไปปลายทางเลยใชมั้ย พี่ ใ หม แต มั น ก็ มี ป ญ หาเรื่ อ งการประสานต อ จากที่ ส นามบิ น ไปปลายทางหลายทางก็ เ ลยวุ น วาย พอสมควร ถามันมีหลายๆชวยกันก็จะดี สัมภาษณ คิดวาฝายระดมทรัพยากรครั้งหนานี่ ควรจะปรับปรุงการทํางานหรือปรับเปลีย่ นบทบาทยังไง บางคะ พี่ใหม ฝายนี้ที่จริงนะ สามารถทํางานที่ไหนก็ได เพียงแตมีโทรศัพทและมี connection ดีๆ แคนี้ก็อยูกับ บานแลวระดมทรัพยากรไดแลว จริงๆ ฝายนี้ควรเปนฝายที่มีคนเยอะที่สุด เพื่อจะโทรใช connection ใน การระดมทรัพยากรมา ซึ่งควรจะมีคนเยอะที่สุด และครั้งตอไปควรจะเปนคนที่มี connection กับภาค ธุรกิจที่ตัดสินใจได ทําอะไรไดทันทีมาชวยกัน สัมภาษณ ก็คือเหตุการณในครั้งนี้มันก็เปนสิ่งนึงที่ทําใหมีการโยงเบื้องตนวาครั้งนี้เรารวมมือกันครั้ง หนาเราคงไดเจอกันและรวมมือกันใหมใชมั้ยคะ พี่ใหม ใชครับ สัมภาษณ โอเค ขอบคุณคะ
51
ติ๊ก กอลฟ คนเล็กขนของใหญ จากประสบการณของ นางสาวกันยารัตน (กอลฟ) นางสาว x (ติก๊ ) สัมภาษณ คราวนี้จะขอถอดบทเรียนเกี่ยวกับที่เราไดรวมมือกันทํางาน logistic วาไดทําอะไรบางนะคะ ติ๊ก ก็ถาสําหรับที่นี่ เราตองชื่อ ยอๆ วา ศอบ.ใชมั้ย ตั้งที่พินนาเคิลใหม เพราะที่นั่นจะยืมใชคอมสองตัว พอยกคอมไปเสร็จปบ ดูจากการพูดทคุยแลวทาจะยาวเหยียดวันรุงขึ้นก็ไดมาเนอะ คืนแรกที่มาและได อยูก็มีอะไรหลายอยางที่ไดทํา ก็เห็นวาภาวะมันมีจริง มันเกิดปญหาในพื้นที่ ก็เห็นวาภาวะมันวิกฤต จริงๆ ทีนี้ดวยความที่เราเนี่ยทํางาน field มาตลอดเราก็จะรูจักคนในพื้นที่เยอะ ภาคใตก็จะมีปลัดเบิรด เปนเหมือนเครือขายเราที่อยูตรงนั้น ตอนแรกทําเปนประสานงานคนในพื้นที่ ตอนแรกก็ทําทาจะเปน แบบนั้น ใหม ตอนหลังไปเปนคนคุม ยัดของใสถุงทํา logistic อยู ติ๊ก แลวก็เรื่องมันมีอยูวาสุดทายก็ไปชวยทําเรื่องขนของ การแพ็คของเนี่ย กอลฟ เพราะวาการที่ของมันเปน bulb เปนลอตใหญๆเนี่ย เวลาไดของไปแลวเนี่ยมันแจกลําบาก ติ๊ก ใช พอมันไปเปนลอตใหญๆ เนี่ย... กอลฟ bulb แปลวาอะไร ติ๊ก แปลวา พยายามดึงทุกอยางมารวมๆกันขยุมๆ แลวก็สงไป กอลฟ No No No, bulb แปลวา ใหญ เต จํานวนใหญ จํานวนมาก ติ๊ก ก็เลยมาวิเคราะหปญหากับพี่กอลฟ กอลฟ ของไมครบ 2 ประเด็น ติ๊ก ก็คือ ประเด็นที่หนึ่งของมันไปไมครบตาม need ที่สงมา คือ ตองการพันชุด แตพอเปน bulb ไป เฉลี่ยแลวมันมาไมถึง พอเช็คปลายทางแลวของมันไดไมครบ เราก็เลยบอกวาที่ความตองการ need มัน เปนถุงยังชีพถูกมั้ย เราก็ควรสงออกไปเปนถุงยังชีพถูกมั้ย ทีนี้พอคิดแบบนี้ได มันก็เลยมาเช็คกับพี่ กอลฟแลวก็มาคุยขอความคิดเห็นกับผูใหญในวอรรูม กอลฟ หมอตังๆ คนเดียว ติ๊ก หมอตังคนเดียว ก็เลยเกิดสิ่งนี้ขึ้นมา ซึ่งเราสองคนไมรูวาหนางานมันเปนยังไงนะ ยังงั้นมันตองทํา packing station เพื่อออกเปนถุงยังชีพเลย เพราะเราจะรูวาตนทางที่สงไป สมมุติวามันสงไดแค 500 ชุด ปลายทางมี need อยู 2 พื้นที่ ที่นึง 300 ที่นึง 700 ชุด เมื่อเปนอยางนี้พูดถึงมันก็ชัดเจนวาลงไปได เทาไร มันก็ชัดเจนมากกวา แตพอเปนแบบนี้ มันก็จะเกิดปญหาอีก เนื่องจากในสวนของ Logistic ที่ยัง ไปไมถึง ก็โอเค พอวันที่ไดไปเจอหนางาน... กอลฟ ไม ไม ตองบอกกอนวาไปดูงานที่ดุสิตฯ
52
ติ๊ก เฮย เรา เรารูสึกพรุงนี้เราตองไป แตเรายังไมมีความรูเรื่องนี้เลย เลยตองไปศึกษาหนอย เราอยากรู วาในนั้นมีอะไรบางเลยไปขอเคาเปดดู กอลฟ คืนนั้นเราก็รูแลววา เคาไมอยากใหเกิด packing station ซ้ําซอน วาทําไมตองไปตั้งแขงกัน ติ๊ก ซึ่งเราก็บอกวา ถาตองการเปนถุงยังชีพเนี่ย ก็เอามาใหเคาแพคที่นี่ก็ได เอาที่นี่ออกไป ซึ่งที่ติ๊กแยง กลับไปก็คือวา ถาคุณไปทําที่หนา logistic ไดมันจะงายกวามั้ย มันไมตองมีคาขนสงไป ความตองการ มันสงไดเลยไมตองรอสามชั่วโมง กรุงเทพการจราจรมันขนาดไหน ณ ตรงนั้นที่หนา Cargo นกแอรเอง เราก็ใหเปนที่รับบริจาคอยูแลว ถาเราทําใหมันเสร็จ one stop ที่นั่นจบ มันก็งายใชมั้ย กอลฟ เราก็เลยกลับ ไมตองเรียนรูแลว เดี๋ยวไปดูเองขางหนาวาอะไรควรจะใสเทาไรอะไรอยางนี้ ก็โอเค แตก็เห็นนะวาของมันตองมีประเภทไหนบาง ติ๊ก พอวันรุงขึ้นตีหาครึ่งที่หนา Cargo เราก็ไปเดินอยูพรอมกับเจอของลอตใหญมาก ใหม เราก็ไมรู บอกหนางานวาจัดไปๆ ติ๊ก ประเด็นมันอยูที่วา เราเขาใจวา เราไดรับคําสั่งจากวอรรูมไปวา ณ ที่นั่นเราเปนคนดูแล ทุกอยาง เปนของภาคประชาชน แลวก็มีการสั่งการไปวาลงไปเทาไร เราเปนแคคนที่รับของเคามา แลวเอาของมา จัดเปนถุงยังชีพ แลวสงออกไปตามที่วอรรูมสั่ง นั่นเปนคําสั่งที่เราถือกําไวแนนเลยนะ แตปรากฏวา ปญหาหนางานมันมี กอลฟ อา เดี๋ยว แตพอไดรับการยอมรับและไดรับการรับรองโดยคุณนก ที่มาเดินกับเราตอนเชาวา “จัด เลย” เอาลงที่ไหนเอาเลย ใหม จัดเลย กอลฟ เคาก็จัดพื้นที่ให packing station เอาพนักงานมาใหเต็มที่ แตเราก็เจอปญหาวา พนักงานเคาก็ รูสึกวาเราไปเพิ่มงานเคา นี่คือวันที่สอง สัมภาษณ ปญหาทั้งหมดที่วามาเนี่ย มีแนวทางในการแกปญหาใหคราวหนามันดีขึ้นไดยังไงคะ ติ๊ก เรื่อง logistic เนี่ยนะ ติ๊กคิดอยูวา ในความคิดนะ มันอาจจะไมถูก พอเจอปญหาหนางานเนี่ย มัน อาจจะตองใชตัวหลักอยางนอยหนึ่งคนที่เคยทํางานนี้และเขาใจปญหาดี อยางเรื่องแพคของ มันตองชัด วา พอมันโหลดขึ้นเครื่องแบบนี้พวกน้ําเนี่ยตองแยกไป คือ น้ํามันก็มีออกมาเปนหออะไรแบบนี้ อยูแลว ลักษณะนั้นรึเปลา กอลฟ พี่วาปญหามันไมไดเปนปญหาวาเราแพคอะไร เพราะเราไมไดแพคน้ํา ใหม คราวหนาน้ําไมตองขึ้นเครื่องบินเลยนะ สงสิบแปดลอลงไปเลย คืนเดียวถึง ติ๊ก ใหบริษัทน้ําเคาจัดการไปเลย คนที่จะบริจาคน้ําใหเคาไปที่นูนเลย หรือไงก็แลวแต แตวาสวนของ การจัดสงเนี่ย คือ ถาเปนเครื่องบินเนี่ย มันอาจจะตองคุย Scope ใหชัด วาเคาทําอะไรไดแคไหน กอลฟ คุยใหเขาใจกันทั้งผูบริหารและพนักงาน สัมภาษณ ชวงเวลาของความสับสนนี่กินเวลาไปกี่วันคะ
53
ติ๊ก วันแรกวันเดียว กอลฟ เพราะวันที่สองเรายอมเคาทุกอยาง ติ๊ก แลวก็มีอีกเรื่องนึงคือ เรื่องของอาสา พอมันใชคําวาอาสาเขามามันก็คือความหลากหลายอะเนาะ แลวทุกคนที่มาเนี่ย พื้นที่แบบนี้มันยากตอการควบคุม กอลฟ เคาก็เดินวอน ติ๊ก เพราะมันเปนพื้นที่ที่เคาบอกวา รักษาความปลอดภัยสูงนะ มันใกลรันเวย มันหามเขา มันก็ยากที่จะ ควบคุม แตพอวันที่สองเราก็เรียกมาคุยกอนเลยวา แคนี่นะอยูใน AREA อะไรแคนี้ การอยูใกลขนสง มันดี แตถาเที่ยวหนา อยูดานนอกแถวลานจอดรถเลยดีมั้ย ใหม เอาเต็นทตั้ง อยูมันตรงนั้นแลวขนเดินขามกลับมา มันอยูนอกรั้วอีก step นึง สัมภาษณ แลวเราจะสามารถสราง process ที่ smooth ที่สุดไดยังไงบางคะ มันควรจะเริ่มจาก... กอลฟ ในความเห็นของกอลฟนะ กอลฟคิดวามันตองดูกอนเลยวาอะไรสมควรจะขึ้นโดยเครื่องบินบาง กอนเลย เอาพื้นที่หนางานมา หนางานตองการอะไร อะไรที่มันคุมคาในการเคลื่อนที่โดยเครื่องบิน ก็ เขาใจเคาอะนะ น้ํามันก็ไมไดถูก แลวแตละลอตเคาขนไดเทาไร จําไดมั้ย เคาบอกขนได 8 ตันเต็มลํา จริงๆแลวมันไมใช ลูกคาเคามีอีก คนที่วิเคราะหความเดือดรอนในพื้นที่ตองจัดระดับความเดือดรอนมา กอน ถาระดับ 5 มาปุบ ขนดวยเครื่องบินคุม ใหม ถาคราวตอไป ขนดวย C-130 มันขนไดเยอะ มันจายชั่วโมงละแสนกวาบาท กอลฟ ถึงงั้นก็ตองดูความคุมคานะ ไปทีไดสิบกวาตัน ถามันไมเรงดวนก็ไมจําเปน แตนกแอรเคามี requirement วาเคาจะบินและเคามีเหลือ เคาเลยตองจับยัด เพราะเคาอยากจะระบายของใหหมด ใหม ที่อื่นนะไมมีปญหา ยกเวนตอนที่หาดใหญที่มั่วมากเลยตองจัดใหหาดทิพยหาดใหญเปนคนรับของ ติ๊ก ถึงจําเปนตองเกิด node ไง ใหม คือหาดใหญ มันคนมันเยอะมาก แลวของหาย ของไมถึงมือ ก็วันนั้นที่ flight แรกที่ไปลงก็มีปญหา เรื่องผูรับของไมตรงกับที่แจงไวจากวอรรูม ติ๊ก ตอนนี้ติ๊กมองวา คือ ทุกคนมันเกิด มันถูกงอกขึ้นมาในภาวะวิกฤตกันหมด มันก็ยากที่จะบริหาร ถา เราวางแผนแตตนไดเนี่ย มี connection มี node มีคนนี้ที่เปน center รูจักทุกอยางในพื้นที่ เหมือนอยาง ที่ติ๊กตอพี่เบิรด เพราะไวไดพี่เบิรด แลวของทุกอยางไปลงทั้งลอตพี่เบิรดเปนคนรับแลวคนที่มี need ก็ มารับไป ใหม ที่เราคิดและแลดูจะเวิรคที่สุดนะ คือ หา node ขางลางแลวแพคขางลาง เพราะมาตรฐานการบินเคา ไมชอบนี้ ของเล็กมันเสียหายจุกจิก แตวาตองสงอุปกรณไปพรอมกันใหหมดนะ คิดเผื่อเลย พรอมถุง แลวจะเวิรคมาก คือ ตัดปญหาเรื่องการขนสง แลวเปนภาระที่ปลายทาง อยางคุณเบิรด คุณออฟ เนี่ย เคาก็รวมกัน บริจาคเปนบานๆ ได หยิบแจกๆ ไป สัมภาษณ แลวสิ่งดีๆ ที่ไดพบในการทํางานในครั้งนี้พบอะไรที่ทําใหใจชุมชื่นขึ้นมาบางคะ
54
ติ๊ก ถาถามติ๊กนะ ติ๊กรูสึกวาในวันที่มันแยที่สุด ธรรมชาติทํารายเรา หรือที่ทุกคนรูสึกสูญเสีย มันเกิด พลังบางอยาง วาจริงๆ แลวมันยังมีอยูอะ มันยังมีพลังแหงความหวงใยอยู เชื่อวามันไมหมดหรอก ใน วิกฤตมันยังมีสิ่งนี้เกิดขึ้นเสมอ ไดรูจักคนดีๆ เต ก็เหมือนที่พี่ติ๊กพูดแหละ ไดเจอคนดีๆเยอะ อารมณการทํางานถึงแมมันจะมั่ว แตมันมีความรูสึกดี มันรูสึกวาไมมีใครมาทํารายเรา มันรูสึกถึงพลังในการชวยเหลือกัน ผมรูสึกวาไดเจออะไรดีๆ ก็พอแลว ในชีวิตคนเราเกิดมาในแตละวันเจออะไรดีไมดีมากมาย มันก็ดีมากแลวที่ในหนึ่งวันไดเจออะไรดี ปญหา มันมี แตมันก็เจอมุมดีๆ มากมายจากความคิดที่มุงจะแกปญหาใหคน แลวก็คิดอยางจริงจังวาทุกคน พยายามแกปญหา มันหายากอะ ชีวิตนึงจะเอาอะไรมาก ใหม คุณใหมได Connection มาอีกตรึมเลย คือ เราทําอยูบนพื้นฐานที่วา ชวยเทาที่ชวยได เพราะไงก็รู วาเราไมมีทางขนไดตามที่เคาตองการจริงๆ เพราะมัน control ไมไดทุกอยาง เราควรทําเทาที่ทําได ไม ควรเก็บอะไรเขามาเปนอารมณวา ชวยไมได เราคิดกันวาเราทําดีที่สุดเทาที่ทําได ติ๊ก แตก็ไดเรียนรูนะวาควรจะใจเย็น และทําเทาที่ทําได กอลฟ กอลฟคิดวาการที่คนที่ไมรูจักกันเลย ทํางานตางสไตลกันเลย แลวก็ยังไมไดมีการจูนกันกอนเลย แลวเอาวิกฤตของคนเปนตัวตั้ง แลวก็ทํากันไดมีระบบพอสมควรขนาดนี้ มันก็ถือวาเปนจุดเริ่มตนที่ดี ของงานอาสาสมัครแลว แตมันก็เปนบทเรียนที่จะตองพัฒนาตอวา ตอนนี้มันกําลังกะทันหันมาก หนึ่งคือ ขอมูลไมเพียงพอที่จะประเมินสถานการณ และเราไมมีเวลาวางแผนรวมกันเลยวา การทํางานจะเปน อยางไร และตรงไหนคือ Priority ของงาน แตละคน มี Priority ของงานไมเหมือนกัน มันขลุกขลัก แตก็ เปนไปไดดวยดี ชาวบานเดือดรอนแตก็ไดรับความชวยเหลือไปพอสมควร สัมภาษณ แลวในความคิดเห็นคิดวา ศูนยนี้มันควรจะไปตอในทิศทางไหน ตอยอดไปยังไง เพราะ ความสัมพันธของเรามันเริ่มมาจากความสัมพันธระหวางคนตอคน กอลฟ ถาเราไมไดมองที่ปญหาเฉพาะหนา งาน long-term ในเรื่องของการฟนฟู เตรียมการทั้งหลาย แหละ ทําใหเคาสามารถพึ่งตนเอง ศูนยนมี้ ีเปาหมายสูงสุดเหมือนกัน ซึ่งงานพวกนี้มันเปนงาน longterm ที่ตรงนี้เรานาจะดึงเครือขายได ทําตอได ไมตองรอใหน้ําทวมแลวมาแก ทําใหเคามีความรูในการ พึ่งตนเองได ซึ่งทุกคนที่มีจิตอาสาก็ตองเห็น เราไมอยากจะสราง habit ใหชาวบาน spoil ดังนั้นการฝก ความรู ใหเคาพออยูพอกิน พอใช ปลอดหนี้ รูจักรักษาธรรมชาติดว ย ทําใหปญหาวิกฤตรุนแรงจนเกิน คาดเดา ถามีการรวมตัวกันในการโฟกัสที่จุดเริ่ม ไมใชปลายปญหา กอลฟวามันจะดีกับประเทศนี้มาก เลย
55
อาสาสมัครขอมูล-การสือ่ สาร
56
อู iCARE ใครไมแคร เราแคร จากประสบการณของ นายxx สัมภาษณ ไหนๆ ไดมาใหสัมภาษณแลวนะคะ ขอเริ่มเลยละกันวา ทําอยางไรถึงไดเขามาชวยงานที่ ศูนยนี้ไดคะ พี่อู นั่นสิ ผมเปนใคร ผมมาทําอะไรที่นี่ มันเริ่มมาจากเคาเชิญผมไปประชุมที่กรุงไทยกอนเรื่องน้ําทวม ในฐานะคนทํางานภาคสังคมเนาะ แตเราก็ทําแบบเมืองๆ ทํากับ icare มันก็คือ เอาเรื่องของคนภาค สังคมมาสื่อสารยังไงใหคนที่เคาทําเรื่องดีๆ อยูเนี่ยถูกบอกเลามากขึ้น ทีนี้งานที่เราทําอยูมันก็จะกรุงๆ เมืองๆ หนอย แตความเดือดรอนที่เกิดขึ้นเนี่ย มันคือของจริง มีความเดือดรอนอยู และมีอยูมากมาย แต สังคมรอบๆ เราเนี่ยไมมีใครรับรูเลยดวยซ้ําไป ยังชวนเพื่อนไปเที่ยวเขาใหญกันอยูเลยในวันที่น้ําทวม เนี่ยเนาะ ก็เลยคิดวาอยากทําอะไรบางอยางใหเกิดขึ้นกับตรงนี้ แลวก็เจอกับพี่สมลักษณมาหา Solution ดวยกัน ก็ยอมรับเลยวา Blank แตเอาตัวเขาบวกกอน แลวจะเปนยังไงคอยคิดกัน แลวหลังๆ ผูใหญก็ ชวยกัน ก็เลยเปนรูปเปนรางบาง สัมภาษณ ก็คือ Concept อยากจะทํากรุงไมใหเกรียน พี่อู ก็ไมใชอยางนั้นหรอก แตมันมีพื้นฐานอยูในใจของเราวา เราเห็นปญหาในประเทศเราในโลกเราแลว เราทําอะไรไดบาง เราสง SMS สิบบาทไดแคนั้นจริงเหรอ เราทําไดมากกวานั้นนา แคเราเห็นปญหารึ เปลา แลวเราถามรึเปลา ถามตัวเองนะไมไดถามใคร ถามตัวเองวาเราทําอะไรไดบาง แลวพอเรารูสึกวา เราทําอะไรได เราก็อยากทํา อืมนั่นแหละ สัมภาษณ งั้นก็เขามาสิ่งที่ไดทํา วันที่ 1 เคาประชุมที่ทีวีไทย วันที่ 2 ไดเขามาทําอะไรบาง พี่อู วันแรกที่จริงเขามาประชุมที่กรุงไทย วันนั้นนะ ถาพูดแบบในนามเด็กตัวเล็กๆ คนนึง คือ ผูใหญ EGO เยอะอะ แลวก็เอา EGOตัวเองมายุทธหัตถีกันบทเวทีหองประชุมแลวก็ มันไมเกิดประโยชนอะไร มันไมเกิดความรวมมือ เพราะทุกคนตางยึดมั่นถือมั่นในแบบของตัวเอง ในแบบของฉัน ฉันจะทําเชนนี้ ฉันจะทําแบบนี้ มันก็เกิดเปนสงคราม EGO อะ แตมันก็เกิดเครือขายอันนึง เกิดเมลกรุป มันก็ทํางาน ของมันอะไรนิดหนอยอะ ซึ่งที่สําคัญที่สุดเลยคือ มันไมเกิดภาพฝนที่เราอยากเห็นการทํางานอาสาสมัคร หรือการทํางานภาคประชาชน เกิดการประสานหรือถาภาษาภาครัฐกิ๊บๆ ก็คือ บูรณาการ ก็คือ มันเปน ตางคนตางทําจริงๆ ถาใครมี connection ตรงไหน ก็ใชตรงนั้นชวยกัน วันนี้มันเปนแบบนั้นมากๆ จน มันคอยๆ develop มีคนมาเติม มีคนมาชวย แลวมันก็ไดไอเดียที่สําคัญคือ มันจะตองมีเครือขายของคน ทําอาสาสมัคร เรื่องน้ําทวมเนี่ย สวนงานหลักๆ ที่นี่ก็ดูแลดานขาว เทานี้กอนละกันครับ
57
ตาฟ วิทยุสื่อสารแกงคตัว ต. จากประสบการณของ นายอนนท อันติมานานท (ตาฟ) สัมภาษณ จากการทํางานในศูนยนี้ เราไปโยงกับชุมชนและทองถิ่นในการพูดคุยกับเคาเรื่องความเสี่ยง ของทองถิ่นกับภัยพิบัติเนี่ย เราทําไดยังไงคะ เริ่มจากอะไรและไปสูปลายทางนี่เกิดอะไรขึ้นบางคะ ตาฟ ตองยอมรับกอนนะครับวาประเด็นที่เราทําคือ อุทกภัยหรือภัยพิบัติเนี่ย มันเปนประเด็นที่สะเทือน ใจ ทําใหหาความรวมมือไดงาย ในจุดนี้ในพื้นที่เนี่ย เคาจะมีเครือขายที่เฝาระวังหรือทําเรื่องนี้อยูแลว เราถึงแมวาจะไมไดทํางานแตก็ชี้ใหเห็นถึงความสําคัญไดงาย เราก็ไปชวนคุยทั้งโทรศัพทวา มีขอมูลมั้ย คอยๆ เชื่อมเขามา ทําเปนลิสต ขึ้นมาวาคนนี้ยืนตรงนี้ ถาอยากรูเรื่องนี้จะโทรหาใครไดบางแลวโยงเขา มาวาเคารูจักกันมั้ย เกิดเปนเครือขายยอยๆ สวนวิทยุสื่อสารอยาง Echolink ที่ใชอยูนี่ แมวามันจะติดตั้ง งายและเชื่อมงาย แตมันใชอินเตอรเนทเชื่อมทั้งสองจุด เราจึงตองเชื่อมเขากับวิทยุที่คนในพื้นที่มีมากสุด คือ CB ซึ่งมันตางจาก VR ซึ่งเปนวิทยุสมัครเลนกระจายตั้งแต 144-146 MHz ซึ่งวิทยุภาคประชาชน หรือ CB จะอยูที่ 245 MHz ซึ่งตางกันออกไป ถาเราสามารถออกอากาศดวย CB ไดดวยเนี่ย เราจะ เขาถึงเคาไดอยากมากทั้ง กํานันและ ปภ.ในพื้นที่เนี่ย ซึ่งเราก็เชื่อมเขามาเชน ศูนยทางสุราษฏร กระบี่ ตรัง และ ปตตานี ซึ่งเชื่อมจังหวัดใกลเคียงผาน Echolink ทําใหเราสามารถพูดคุยสถานการณในพื้นที่ได คอนขางครอบคลุมโดยอาศัยความรวมมือของเครือขายพวกนี้รวมกัน ว. จากนี้พื้นที่ก็มาแลว โทรศัพทก็ มารวมกัน รวมถึงคนในพื้นที่ก็สามารถที่จะเอาขอมูลในพื้นที่ทาง Twitter บาง Facebook บาง หรือจะ เปนอีเมล พอทั้งสามอยางมันสอดประสานก็จะไดขอมูลที่นาเชื่อถือมากพอที่พอจะไปหาทางชวยเหลือ จากทางอื่นมาครับ สัมภาษณ ทําไมเราถึงตองใชวิทยุสื่อสารและ Echolink ในการประสานงานภัยพิบัติคะ ตาฟ โดยธรรมชาติของคนที่เขามาใช Echolink เนี่ย คือจะตองเปนคนที่ผานการสอบการใชวิทยุ สมัครเลนชั้นตน ซึ่งมันมี 3 ชั้น คือ ชั้นตน ชั้นกลาง ชั้นสูง ซึ่งทุกคนอยางนอยๆ ตองเคยสอบ เพราะ ฉะนั้ น เนี่ ย ตรงนี้ ก็ จ ะมี ค วามแม น ยํ า ในระบบเพราะทุ ก คนที่ ก ระจายเสี ย งออกมาเนี่ ย ต อ งมี ค วาม รับผิดชอบ เพราะตองมีการแจงนามเรียกขานของตัวเองออกมากอน ก็ขอมูลก็เชื่อถือไดในระดับนึง ใน ภาวะปกติกลุมนี้ก็จะใช ว.สื่อสารกัน ในภาวะวิกฤตก็จะมารวมกันโดยธรรมชาติในการประสานงาน ประสานเหตุอยูแลวครับ สัมภาษณ ถาเกิดวาเราอยูในหองที่ไมสามารถใชโทรศัพท ไมมีอินเตอรเนท หรือ ไมมี ว. เปนของ ตัวเองปญหามันจะเกิดอะไรขึ้นบางคะ ตาฟ ถาเกิดวา ระบบที่เราใชถาไมมีวิทยุหรือไมมี ว.จริงเนี่ย หรือที่เชื่อมผาน Echolink เนี่ย มันทําให การเชื่อมตอสัญญาณคือ ถาปลายทางที่เราสื่อสารดวยเนทลมเนี่ย ระบบนี้ก็จะใชการไมได รวมถึง ปลายทางเนี่ย ถาเราตองการทราบสถานการณวาเกิดอะไรขึ้น เคาก็ตองเอาระบบ ว. ของเคาเชื่อมกับ
58
Echolink ซึ่งบางพื้นที่จะมีปญหากับ Repeater ในจังหวัด เชน ในกรณีของสุราษฏรธานี ซึ่งเคาใช repeater คูนึง ทีนี้พอเราเช็คสัญญาณที่ Echolink ภาคสงของเคากลายเปนภาครับของตัวเอง รวมถึง ภาคสงของเราไปมันก็จะกลายเปนภาคสงของเคา พองี้เราสงอะไรไปมันก็จะสงทวนกลับมาอีกรอบนึง มันเปนปญหาที่ Echolink กับในพื้นที่มันยังไม Support กันอยางแทจริง ซึ่งถาเรามี ว.จริงมันก็จะ support กันมากกวา นี้ สัมภาษณ งั้นระบบการทํางานของเราในการจะไดมาซึ่งขอมูลความเสี่ยงและความปลอดภัย เรามีระบบ ในการทํางานและการ recheck ขอมูลยังไงบางคะ ตาฟ ระบบการทํางานของเราก็จะมีทั้งหมดสามสวน สวนที่หนึ่งคือ Social Network ไมวาจะเปน Facebook หรือ Twitter อัพขอมูลจากพื้นที่ยังตออินเตอรเนทได สวนที่สองคือ เครือขายโทรศัพทใน พื้นที่ ซึ่งก็ไดจากการที่เรามี connection ตางๆ คนนี้รูจักคนนั้น รูจักใครอีก คนนี้อยูในพื้นที่นั้น มีทั้งที่ เราโทรเขาไปถามในพื้นที่ แลวก็จากพื้นที่โทรออกมาเพื่อรายงานใหทางศูนยทราบ สวนที่สามเราก็ใช เครือขายวิทยุผานระบบ Echolink ซึ่งเนนไปยังศูนยวิทยุในพื้นที่ ซึ่งก็จะมี ว.จริงเปนเครือขายในพื้นที่ ยืนยันเหตุ ตรงนี้เราจะใชยืนยันเหตุการณเปน 2 ใน 3 อยางนอยๆ คือตองไดรับการยืนยัน 2 ทางจากใน 3 ทาง ถาได 3 ทางเลยยิ่งดี คือ เราอาจจะรับแจงมาจากทางโทรศัพทอาจจะยืนยันทางวิทยุ หรือจากว ทางวิ ท ยุยืนยั นจากทางโทรศัพท หรือยืนยันทางเนทแลวเราโทรถามกลับไป ให ไดข อมู ล ที่ป องกั น Human Error และความตระหนกในเหตุการณ และไดขอมูลที่นาเชื่อถือที่สุดที่จะใหความชวยเหลือ กลับไป ไมวาจะเปนเสนทางในการใหความชวยเหลือ รวมถึงสถานการณอื่นๆ วาเปนยังไงวาแบบ Real-time มากที่สุดครับ สัมภาษณ อยากใหตาฟ เลาถึงเคสลาสุดที่ไดใชวิทยุสื่อสารในการชวยเหลือชุมชน วาไดทําอะไร เกี่ยวกับเรื่องนี้บางคะ ตาฟ ก็มีอยูหลายที่นะคับ ถาเราจะเลือกใชเนี่ย เหตุการณสวนใหญก็คือ การสื่อสารทางอื่นมันมีปญหา ลมทั้งระบบ เชนอยางที่ตรัง ลาสุด ที่ตองเฝาระวังกรณีฝนตกหนักและไฟฟาดับหลายพื้นที่ และมีวิทยุ สื่อสารเนี่ยเขาไปอัพเดทสถานการณ คือ กดครั้งเดียวแตมันไดยินออกอากาศตามรัศมีที่กระจายไป เราก็ จะไดยินสถานการณในพื้นที่ และชวยเสริมความตองการในพื้นที่ดวย ไมวาจะเปนกรณีลาสุดที่สุราษฏร ต.ปากหมาก อ.ไชยา ซึ่งเกิดแลนดสไลด ฟงไดนาทีตอนาทีเลยในพื้นที่ผาน Echolink เราจะเตรียมการ เรื่องอาหารหรือทีมรถ 4WD เฝาระวังไดพรอมกันเลยทีเดียว คือ โทรศัพทเราจะรูเรื่องกันสองคน แต วิทยุกดครั้งเดียวนี่รูกันหลายหนวยงาน เชน ในกรณีที่ไมมีสื่อในพื้นที่ เคาก็สามารถเอาขอมูลตัวนี้ไปใช เขารายการขาวของเคาได ถาเกิดบอกวาจะทํายังไงใหชาวบานเขาถึงเทคโนโลยีตัวนี้ คนในพื้นที่อาจจะ ตองจัดทําเหมือนกับเบอรโทรศัพทของตัวเอง หนวยงานที่มีวิทยุสื่อสาร จะตองนําออกมาใช หลายที่มี แตไมนําออกมาใช แทนที่จะมีจุดประสานงานได กลับหายไป โดยเหตุผลคือ ไมไดบํารุงรักษาบาง กลัว จะชํารุดบาง ซึ่งถาเอาออกมาจะเปนประโยชนกับประชาชนผูประสบเหตุมากกวา
59
สัมภาษณ จากการปฏิบัติหนาที่มาหลายวันเนี่ย ไดพบเห็นการปฏิบัติงานที่เชื่อมโยงกับเรายังไงบางคะ ตาฟ มันจะมีความแตกตาง เชน บางที่เปน อบต.ที่เขมแข็งในการวางแผนที่ชวยเหลือผูประสบภัย บาง หนวยเปน ปภ. บางหนวยเปนโรงเรียนที่ใหใชพื้นที่อพยพ ก็มีบทบาทขึ้นมา แตละพื้นที่ตองคนหาใหเจอ วามีทักษะและความพรอมในการชวยเหลือคือใคร บางครั้งจุดที่ปภ.ตั้งอยูก็อาจเปนพื้นที่ประสบภัยได ในพื้นที่อาจตองมีบูรณาการมีหนวยทดแทน หนุนเสริมกันตลอดเวลา สัมภาษณ คิดวาประเทศไทยเราเนี่ยมีเทคโนโลยีพอหรือยัง ตาฟ ดานการสรางความปลอดภัยในชุมชน ในตัวของเทคโนโลยีก็กําลังจะมี 3G ถามา มันก็จะเขามา เสริมเรื่องภาพงานสดๆ เขามา หรือ รายงานสถานการณเสียงพรอมภาพซึ่งตองการอินเตอรเนทที่มี ความเสถียรสูง รวมถึงเครื่องมือของเราเนี่ยก็มีจํานวนมาก เพราะมีการจัดซื้ออยูพอสมควรไมวาจะเปน ภาคปกครอง อาสาสมัครในพื้นที่ก็มีเยอะมากแตวา อาจจะไมไดบูรณาการกัน คนที่จะเขามาใชพวกนี้ ตองมีการเตรียความพรอมอยางเปนระบบ เชน ผูประสบภัยเนี่ย ตองพกวิทยุทรานซิสเตอรไวเพื่อฟง ขาวสารของราชการ แตไมไดมีการเตรียมวาใหฟงชองไหน ก็กลายเปนวาไมไดยินสิ่งที่จะบอกอีก และ นาจะบอกวาดวยวาใหฟงตอนไหน ตรงไหน สัมภาษณ โอเคงั้นขอ คําถามทิ้งทายนะคะ หลังจากปฏิบัติงานมาหลายวันนี่มองเห็นการสรางเครือขาย ตอยอดการทํางานหลังจากนี้ยังไงบางคะ ตาฟ สิ่งที่เราจะตองรูเทากันก็คือ ทักษะการใชเครื่องมือสื่อสารในภาวะฉุกเฉินไมวาจะเปนการตั้งสติให พรอมรับเหตุการณ คําศัพทในการสื่อสาร เชน เรียกฝนตกหนักในระดับนี้วาระดับใด ควรจะทําใหมัน ตรงกัน ซึ่งกระบวนการเหลานี้อาจตองใชการฝกอบรมเขามาชวย อาจตองมีสักหนวยงานเขามาดูเรื่องนี้ รวมถึ ง การให เ กิ ด การรวมตั ว กั น มากขึ้ น เพื่ อ ส ง เสริ ม ในการมี เ ครื่ อ งมื อ สื่ อ สารที่ ห ลากหลาย หรื อ เครื่องมือที่เซทไวประจําตําบล ไมวาจะเปนวิทยุความถี่คลื่นสั้น หรือจะเปนวิทยุดาวเทียม ถาเปนไปได เพราะอะไรก็เกิดขึ้นได ถาไฟดับอะไรที่เสียบปลั๊กมันก็ใชไมไดหมด ก็ถาจะเสริมอีกจุดก็คือเรื่องของ ความถี่ ซึ่งเราบังคับไดยากวา พนักงานในพื้นที่เกิดเหตุมีกี่คนมันยากมาก แตถาเกิดวา ความถี่กลางมัน อาจจะมีมากกวาหนึ่งความถี่เปนของภูมิภาค รายงานใหสวนกลางไดรับทราบ มันเปนไปไดไหม เชน ตรังจังหวัดเดียว แตพอฝนตก มันมีเหตุหลายอยาง เชน คนจะจมน้ํา สะพานจะขาด โคลนจะถลม ทุกจุด ตองการเรงดวนพอกัน แลวทุกคนสงหมด มันจะกลับกลายเปนเสียทุกเหตุไป ถาเกิดคิดภาพวายิ่งเปน ความถี่เดียวกันแลวสงทุกจังหวัดเนี่ย มันจะวุนวายแลววาจะจัดการอันไหนกอน มันควรจะแบงเปน ภูมิภาคหรือเปนชองสัญญาณไปครับ สัมภาษณ โอเค ขอบคุณคา
60
นองเตย เธอสรางปาฏิหาริยไดดวยเสาไฟฟา จากประสบการณของ นางสาวมนชนก (นองเตย) สัมภาษณ ตอนที่นองเตยไดเขามาในศูนย เขามาเจอพี่ๆ ตอนแรกนี่นองเตยไดทําตําแหนงอะไรบางคะ นองเตย พี่ตองเปนคนชวนเขามาคะ มาชวยในการทําขาวและขอมูล แลวก็เขามาตอนแรก พอมีตาฟมา ดวย ตาฟก็ทําเรื่องวิทยุ เราก็ทําเรื่องรวบรวมขอมูลและสถานการณ แรกๆ ก็เรียนรูระบบวาเคาทําอะไร กันบางอยางเดิมที่มีอยู เราก็จะไดทําดวย สัมภาษณ สิ่งที่หนูคิดวาในศูนยนี้ควรปรับปรุง สิ่งใดที่ควรปรับปรุงอยางแรงคะ นองเตย ถาในมุมของหนูที่จับเรื่องขอมูลมาคือ มันดีมากที่ทุกสิ่งทุกอยางแปะอยูบนฝาผนังคะ สัมภาษณ แต นองเตย แตมันปนกันมั่วเลยคะ คือบางที หนูตองเดินหาตั้งแตหนาหองยันหลังหอง แตปรากฏวามัน แปะอยูขางๆ บางทีขอมูลบางอยางขอมูลบางอยางมันก็จะซ้ํากันคือ มีติดอยูตรงนี้ แลวก็มีติดอีก แตไมรู วามันคืออันเดียวกันหรือเปลา แตมันมีขอดีคือ เวลาใครมารับงานตอ มันก็สื่อสารจากขอมูลที่อยูปนผนัง ไดเลย สัมภาษณ แลวสําหรับการประสานงานละคะ นองเตย ก็พอ ทํามาสักพักเนี่ยคะ งานในสภาวะที่ทุกคนอยากชวยเหลือ บางทีเราก็สับสน วาเราตอง ประสานเองเลย หรือประสานใหใคร เหมือนวาเรารับขอมูลมาจากประชาชนเรื่องความตองการที่เรงดวน บางทีเราก็ตัดสินใจไมไดวาจะทําเองเลย หรือประสานใหใครยังไง ถึงแมประสานไปแลวก็ตองติดตาม ดวยวาไปถึงไหนแลว โดยเฉพาะของบริจาคที่ไมไดอยูในมือ เชน ประสานไปบริษัทอาหารอะไรพวกนี้ เคาก็บอกวา มีแผนในการกระจายอยูแลว เคาก็ไดแตรับเรื่องไว มันก็ติดตามลําบาก สัมภาษณ จริงๆอยากจะถามวา กอนที่จะเขามากับตอนนี้ มีภาพของศูนยในความคิดกอนกับหลัง เหมือนกันมั้ยคะ คิดวาจะเจอคนแบบไหน เจองานแบบไหน นองเตย หนูคิดถึงบรรยากาศประมาณนี้แหละคะ ความแบบวา วุนวายแบบนี้ กําลังวุนวายกันมาก แต ชวงหลังนี่นอยนิดนึงก็ไดสัมผัสบรรยากาศแบบนั้นบาง ก็คือ มันก็เปนไปตามสถานการณ
รอสัมภาษณซอม
61
ตอง แฉแตเชา จากประสบการณของ นายวรภัทร (นองตอง) สัมภาษณ ขอใชคําถามเดียวกับนองเตยละกันนะคะ อยากจะรูวากอนที่จะเขามาที่ศูนยนี้กับหลังจากเขา มาชวยงานในศูนยจนถึงวานี้ ภาพของศูนยในความคิดและความรูสึกของเรานี้มันเปนยังไงบางคะ นองตอง คือแบบตอนแรก พอจะนึกภาพการทํางานออก แตไมคิดวามันจะเปนเรื่องเปนราวไดขนาดนี้ มันไมนึกวาจะจัดระบบเปนสัดเปนสวนเปนเรื่องเปนราวไดขนาดนี้ไง บางทีอาจจะคอนขางชินวา เวลา วิกฤตแบบนี้ ใครคิดอะไรไดก็ทําไปกอนเลยแบบนี้ แตอันนี้เนี่ยคอนขางเปนเรื่องเปนราวขึ้น มีโตะจัดหา ทรัพยากร โตะการขาว แบบชัดเจนขึ้น แตกอนเปนแบบคิดอะไรออกก็โทรหาคนนูนกอนเลย มันเปน ปรากฏการณที่รวมคนที่คิดตางในบางอุดมการณใหแบบมารวมกัน บรรยากาศแบบนี้ไมคอยจะไดเจอ บอย สัมภาษณ ถายอนเวลากลับไปไดอยากจะแกไขอะไรบาง หรือตัวเองก็ได นองตอง เรื่องของอารมณนี่แหละ จุดยืนที่ผมเนนย้ําอารมณนี่แหละ วา ชีวิตคนเปนเรื่องรอไมได กับ เรื่องไหนที่ตองคิดหนาคิดหลังใหดีนี่ก็ยังแบงแยกไมถูก มันก็เลยเจอเรื่องติดๆขัด บางทีมันเจอชวงที่มัน สภาวะวาจะเดินตอดีมั้ย วาคนอื่นจะเห็นดวยหรือเปลา เปนภาวะชะงักงันของการตัดสินใจวาจะใหมัน เด็ดขาดไปเลย หรือจะปรึกษาไปเลย เรื่องการตัดสินใจหนางานของแตละคน เชน บางเรื่องทําไมมันจะ ตัดสินกันตอนสองทุมทั้งๆ ที่มันตัดสินใจไดตั้งแตบายโมง เชน อยางงานหลักๆของผมเรื่องงานขาว วา จะแจงกันภายในกอน วาจะเปนแครับทราบกันภายใน หรือจะยิงออกชวงที่เรายังมีสถานะในการทํางาน ที่ไมชัดเจนกอนที่ผมจะทําหนาที่เขียนขาวและ press ขาวอยางชัดเจน ซึ่งตอนนี้มันไมมีแลว เพราะมี การรับเรื่องมาแลวเราก็ชวยกันตัดสินใจและสอบทาน เชน เรื่องนมผงเด็กที่รับทราบแจงเหตุ มีความ ตองการมาแลว แตก็ยังตัดสินใจไมได สัมภาษณ แลวจนถึงตอนนี้ไดอาสาทํางานมากี่ตําแหนงแลวคะ นองตอง วันแรกนี่จะเปนตําแหนงมวลชน คือ ประสานพื้นที่ ประสานใหภาคประชาชนเกิดศูนย เชน อยางหาดใหญ เราดึงบทบาทของอาจารย มอ. ในกรณีครัวหาดใหญ ใน มอ. ตอนที่ยังไมรูจะเชื่อมตอ ใครก็ใหอาจารยคนนั้นเปนตัวยืน ประสานใหทีม Frontline ของ 1,500 ไมล และ ทีมน้ําเค็ม ไดเจอกัน ในชวงทีย่ ังเปนภาวะฉุกเฉินมีทั้งคนปวยและคนจะคลอดลูก หลังจากชวงนั้นผมก็นอคแลวกลับมาทําอีก ทีในฝายขาว รายงานขาววาอะไรเกิดขึ้นใหสังคมไดรับรูวาในหองนี้เคาทําเรื่องอะไรกันไปบาง สัมภาษณ แลวความรูสึกที่ไดทํางานในชวงของความวุนวายนั่นเปนยังไงบางคะ นองตอง ถาเปนตอนชวงแรกๆ นี่ ทันทีที่ไดรับขอมูลมานี่ คือ แบบ ไมวาจะเปนขอมูลจากโทรศัพทใน พื้นที่ ขาวจากอีเมลมา หรือ ขาวใน Facebook เราจะตื่นเตนและเราจะลกไง แลวเราก็จะมีชวงที่
62
หงุดหงิดที่เคสมันคามืออยูเนี่ย แลวจะเอาไงตอหวา จะประสานเองหรือมีคนทําตอ แลวพอไมมีเราก็จะ อารมณเสีย ตอนนั้นมันมีกรณีคาอยูแลวเราไมรูวาคําตอบมันคืออะไร ศักยภาพที่เรามีอยูเราทําอะไรได บาง เราไมรูไง แลวสิ่งที่สงตอมา ผลมันจะหัวกอยยังไง พอไมรูมันก็หงุดหงิด คือ เราชินกับวา พอเรารับ ปญหามาเอง เราก็ยิงตอเองดวยมั้ง แตกรณีนี้มันไมเหมือนกับที่ผมเคยทํามาไง มันเปนปญหาเรือ่ งของ ประสบการณดวย วาเจอปญหานี้ไมรูจะตองติดตอใคร พอเราไมรู พอมองไมเห็นทางแลวเนีย่ เราก็ หงุดหงิดกับสิ่งที่เราไมรู แตพอหลังๆ เนี่ยพอเริ่มรู STEP มันจะไปยังไง เราก็ใจเย็นไดมากขึ้น สัมภาษณ แลวทํายังไงเราถึงไดใจเย็นลง มันมีจุดเปลี่ยนยังไง นองตอง ก็พอตอนหลังจากที่ผมหายไปแลวกลับมาเนี่ย บทบาทหนาที่ของผมมันชัดเจนขึ้นดวยมั้ง เรา รูวาขอบเขตทีเ่ ราทําไดมันอยูตรงไหน ขณะที่ฟงกชั่นตางๆมันชัดขึน้ และเรารู STEP วาถาตรงนี้ไมมี ใครทําแลว อะไรมันจะเดินตอไปยังไง สัมภาษณ ถาเกิดครั้งหนามีเหตุฉุกเฉิน หรือภัยพิบัติเกิดขึ้นอีกเนี่ยนองตองคิดวา การตั้งศูนยเนีย่ มัน ควรทําอะไร สําหรับสรุปบทเรียนนี้คิดวา มีขอเสนอแนะที่จะเปนบทเรียนยังไงบางคะ นองตอง สรุปเรื่องวิธีการ หนึ่งคือ ตองมีอะไรบาง ตองมีสถานที่ มีคนที่จะทํางาน มีลําดับขั้นตอนวิธี ทํางาน มาถึงก็เปดดูเลยวาควรมีอะไรกอน ตองทําอะไร มีคนรับขอมูลแบบไหน ประสานยังไง สัมภาษณ คือตองฝกและคัด skill คน คนที่จะเขามานี่คิดวาควรคัด skill เปนหลัก หรือ คัดอารมณเปน หลักคะ นองตอง ผมวา 60 : 40 ละกัน สําหรับ อารมณ 60 ทักษะ 40 ยังมีบทเรียนอีกเรือ่ งนึง ผมวาควรมีการ สรุปบทเรียนแบบเปนประวัตศิ าสตรเปนเรื่องราวการเกิดศูนย นาทีประทับใจและนาทีวิกฤตของศูนย เปนสรุปบทเรียนไวดวยแหละครับ
63
นองกอไผ เยาวชนราชพลี จากประสบการณของ น.ส.ชนากานต อาทรประชาชิต (กอไผ) ฉันรูจักศอบ.ครั้งแรกจากโทรศัพทที่ดังขึ้นกลางดึกในคืนวันจันทร ดวยเสียงจอแจที่ลอดผานสาย และคําชักชวนของพี่เตยวาตอนนี้กําลังชวยเหลือผูประสบภัยอยูขาดคนมากใหรีบมาชวยหนอย ทําใหฉัน นึกถึงตอนที่ไดไปชวยบรรจุถุงพระราชทานแกผูประสบภัยวาคงเปนหองใหญๆ ที่เต็มไปดวยคนและ สิ่งของที่จะเอาไปใหผูประสบภัย ดังนั้นกอนไปศอบ.ฉันจึงเตรียมอุปกรณซะเต็มที่กะวางานนี้จะเปนหนึ่ง ในใตหลาดานการแพ็คของเลยที่เดียว แตฉันกลับไมไดใช เปนเพราะ… เมื่อมาถึงศอบ.มันกลับไมเปนอยางที่ฉันคิด เปนหองที่ผนังมีกระดาษเขียนอะไรไมรูแปะเต็มไป หมด ดูปน ๆมั่ว ๆ ทั้งเบอรติดตอ สถานการณ ขอคิด รหัสแปลก ๆ ฯลฯ งานหลักของศอบ.คือการ ประสานงาน รับทราบสถานการณและความตองการการชวยเหลือ อาวุธคือโทรศัพท ตอนแรกฉันไม ค อ ยเข า ใจถึ ง ศอบ. ถึ ง งานที่ ต อ งทํ า ฉั น ไม รู ว า ฉั น จะทํ า อะไร ก็ เ ริ่ ม จากงานที่ ง า ยสุ ด ก อ น คื อ จด สถานการณลงบนกระดาษพรูฟที่แบงเปน 1วัน 1แผน ฉันพยายามอานขอความตาง ๆ ที่เห็นเผื่อจะได เขาใจการทํางานแตผูเขียนคงเปนเด็กแนวแนๆ ลายมือเลยแนวตามไปดวย -*- จากนั้นก็ไดโทรศัพทไป สอบถามเครือขายทางพื้นที่ งง ไมรูตองคุย อะไร ยังดีที่มีพี่สอนบาง งานที่ฉันทํามาตลอด 5 วันจะ เกี่ยวกับการประสานงาน สถานการณ และจดบันทึก ฉันขอยอมรับวายังทํางานไดไมโดนใจยังพลาดที่จะ เก็บรายละเอียดขอมูลที่สําคัญ ดังนั้นสิ่งที่ไดเรียนรูคือ 1. การมีสติ รูวากําลังจะทําอะไร รูวาตองการอะไร รูวาทําอยางไรใหไดมา รูวาจะนําไปใชอยางไรตอ การจดหัวขอกอนโทรไปก็พอชวยไดบาง 2. การทําใจใหสงบเพราะการพูดคุยอาจทําใหเราถูกชักจูงทางอารมณทําใหหงุดหงิด แทนที่เราจะทําให สถานการณมันดีขึ้นกลับแยลง เราควรเขาใจปญหาไมใชอยูในปญหา 3. การสังเกตและการริเริ่ม เชนแบบฟอรมบันทึกสถานการณ มันทําใหเขาใจงายขึ้น ตอนแรกฉันยังไม รูวามีเลยไมไดใช แตไมรูไมใชขออางหรอกนะ เราเปนคนทํางานนี้ อะไรที่เปนประโยชนอะไรที่เปน อุปสรรคยอมรูดีที่สุด ถาไมมีก็ทําขึ้นมาได หรืออยางสรุปสถานการณและความตองการ กระดาษ พรูฟที่เราบันทึกตามปกติอาจดูซ้ําซอนกัน แตเมื่อทําสรุปฯแลวทําใหเห็นที่มาที่ไปมากขึ้นทําใหระบุ ระดับความรุนแรงเรงดวนได รูสิ่งที่ชาวบานตองการจริง ๆ ที่สําคัญคือรูวาเคสนั้นลุลวงแลวรึยัง สําหรับฉันการทํางานแบบรับผิดชอบเคสนั้น ๆไป ทําใหงานเสร็จเร็วขึ้น งงนอยลง 4. ถาไมรูจริงอยาพูด อยารับปากในสิ่งที่ทําไมได มีในปรัชญาอาสาฯ 5. ความสําคัญของศูนยวิทยุสื่อสาร ในการตั้งวอรรูมนี่ควรเปนสิ่งที่นึกถึงเปนอัน ดับแรก ๆ แม เครือขายโทรศัพทลมก็ยังใชได ขาวสารก็มีความถูกตองแมนยํา และมีทุกจังหวัด สิ่งที่ตองมองควบคู กันคือนักวิทยุสมัครเลน อาสาสมัครควรจะมีความรูดานนี้บางจะลดความเสี่ยงที่จะขาดคนทําลงไป (ฉันไดลองชวยพี่ ๆ ฟงวิทยุอยูบาง เครียดเลย )นอกจากนี้ฉันยังไดเรียนรูอะไรอีกเยอะแยะในการ
64
ทํางานดานภัยพิบัติ ทําใหฉันเห็นความสําคัญของเครือขายมากขึ้น การมองเห็นปญหาก็สําคัญมาก บางอยางเราไมคิดวามันเปนปญหาแตกลับสรางความลําบากอยางใหญหลวงในภายหลังก็มี การ ชัดเจนในตัวเองวาเราเปนใครเราทําอะไรคุณทําอะไรจะสงผลตอแนวทางการทํางานและทิศทางของ เรา แมวาฉันจะไมไดรูจักกับทุกคนมากอนหนานี้ แตก็ทําใหรูสึกผูกพัน กิน นอน ทํางาน อยูรวมกัน น้ําอาบบางไมอาบบางก็ไดอารมณดี -_- ^ มีความสุขที่ไดเห็นคนไทยแบบนี้ ทําใหเห็นคุณคาในตัวเอง มากขึ้น วาแมเราจะเปนเด็กชาวบาน ๆ ก็สามารถเปลี่ยนแปลงสังคมได สามารถชวยชีวิตคนอื่นได ทั้ง ๆ ที่ เ ราไม ต อ งลงทุ น มหาศาลอะไรเลย แค สิ่ ง ที่ เ ราต อ งลงทุ น คื อ “ศรั ท ธา” การที่ ฉั น มาทํ า ศอบ. เปรียบเสมือนการทํางานพิเศษ รายไดที่รับมาก็คือความสุขของฉันและความยินดีในสุขของผูอื่นนั่นเอง การที่ศอบ.เกิดขึ้นมาไดและดําเนินงานไดเปนเพราะความรัก ตอเพื่อนมนุษย ตอประเทศชาติ ตอใน หลวง ตอตัวเอง ฉันปรารถนาเหลือเกินวามนุษยจะใชความรักกันเปนเสียที...
65
อาสาระยะไกล (node ปลายทาง)
66
เสียงจาก สุราษฎรธานี เมืองรอยเกาะ จังหวัดหนึ่งที่ประสบกับวิกฤตภัยพิบัติหนักหนาไมนอย ก็คือ สุราษฎรธานี ซึ่งมาหนักหนาใน ระลอก 2 มีการเฝาระวังดินถลมอยูตลอดเวลา ศอบ.จึงตองเฝาระวังและประสานงานกับพื้นที่อยาง สม่ําเสมอ และเขมขน ซึ่งในหลายๆพื้นที่ก็ยังประสบกับปญหาอยูและมีทีทาวาจะกินระยะเวลายาวนาน ออกไป ผูประสานพื้นที่คนหนึ่งซึ่งศอบ.ไดติดตอและประสานงานเชื่อมรอยอยางเหนียวแนนก็คือ พี่ติ๊ก มูลนิธิปาทะเลเพื่อชีวิต เรียกไดวาเปนโหนดหลักในจังหวัดสุราษฎรฯเลยทีเดียว ตั้งแตการเฝาระวังเตือน ภัย สอบถามขอมูลสถานการณ ตลอดจนการบรรเทาทุกขเฉพาะหนา หรือแมแตการแกปญหาน้ําเนาเสีย ภายหลังที่วิกฤตเรงดวนบรรเทาลงไป ผูเขียนก็ไดมีโอกาสที่จะพูดคุยมากขึ้น แตที่ตลกก็คือเรา พูดคุยและสนทนากันทั้งๆที่ไมเคยเห็นหนา รูแตเพียงชื่อและพื้นที่ ที่นาแปลกใจก็คือ ปราศจากอุปสรรค ด า นการสื่ อสาร เหมื อนว า เราสนิ ท รู จัก และเคยทํ า งานร ว มกั น ผู เ ขีย นคิ ด ว า สิ่งที่ สร า งสั ม พั นธ ก าร ติดตอสื่อสารใหราบรื่น ก็คือ จิตใจแหงอาสาสมัคร ที่มีอยูนั่นเอง จากการพูดคุย พี่ติ๊กเลาใหฟงวา “ ตอนที่โดนมรสุมในชวงแรกๆนั้นวิกฤตมาก ตอนนี้ก็ยังวิกฤต อยู ”(หัวเราะ) พี่ติ๊กพูดติดตลก “ ในหลายพื้นที่มีความเดือดรอน คือ โดนกันถวนหนา ซึ่งพี่ก็คิดวาลําพังสวนราชการทองถิ่น คง รับไมไหว ภาคประชาชนอยางเราๆคงตองชวยกันเพื่อใหเทาทันกับปญหาที่มี โดยเฉพาะน้ําทวม สูง ซึ่งเปนปญหาใหญ ชาวบานไมมีที่อยูอาศัย ไมมีอาหาร มันวิกฤตในทุกๆดาน ” แลวพี่ทํายังไงบางคะตอนนั้น ผูเขียนถามตอ “ เราก็อาศัยการที่รวมกลุมกันอยูแลว ประสานเช็ค ขอมูลความเสียหาย เดือดรอนเปนอันดับแรกๆ และชวยเหลือหลักๆอยู 2 อยาง คือ การชวยเหลือ เบื้องตนประเภทขาวสาร อาหารแหง ซึ่งตรงนี้ก็ไดประสานกับทางศอบ.ที่สงขาวสารลงไป ประเมินแลว คาดวาชวยเหลือไดหลายพันครัวเรือน นาจะไมต่ํากวา 3,500 ครัวเรือน ซึ่งทางพี่ก็จะทําบัญชีไวหมด สวนที่2 คือการชวยเหลือดานขอมูลขาวสาร ทั้งที่แจงตรงลงไปที่พื้นที่ประสบภัย และแจงประสานไปที่ บรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ซึ่งตรงนี้สําคัญมาก เพราะที่พี่ไดรับแจงจากศอบ.เกี่ยวกับการแจงเตือน ตางๆ รวมทั้งขอมูลดานสภาพอากาศ ซึ่งเหตุการณที่เกิดที่สุราษฎรฯ มันตรงกับที่ศอบ.แจงขอมูลมา ทั้งนั้นเลย เชน บอกวาวันนี้ฝนจะตก 70 มม. หรือ พื้นที่เฝาระวังน้ําทวมซ้ํา ตลอดจนพื้นที่เสี่ยงดินถลม เตรียมตัวเฝาระวัง เตรียมตัวอพยพ ตรงนี้ตรงหมดเลย เราสามารถที่จะแจงใหชาวบานและหนวยงานที่ เกี่ยวของเตรียมการไดลวงหนาทันทวงที ซึ่งเปนประโยชนมากในการชวยลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ถือวาตรงนี้นี่ สุดยอดมาก เยี่ยมๆๆ ” มาถึงตรงนี้ผูเขียนในฐานะสวนหนึ่งของอาสาสมัครศอบ. รูสึกภาคภูมิใจอยางประหลาด ไมนา เชื่อวา สิ่งเล็กๆที่ทําลงไปดวยใจอาสาสมัคร จะเปนสิ่งที่ยิ่งใหญสําหรับปลายทาง ในการที่ผูเขียนไมไดมี โอกาสลงไปหนางาน จึงถามตอดวยความอยากรูวา ชาวบานที่ไดรับความชวยเหลือ เปนอยางไร และ สะทอนอะไรมาบาง
67
“ ชาวบานก็ตอบรับดีนะ เคาก็ดีใจ เพราะวาระบบราชการจะชวยเหลือเฉพาะบานที่มีเลขที่ แตที่ ประสานความชวยเหลือกับศอบ.ลงไปเราจะดูที่ความเดือดรอน มีความรวดเร็ว ทันใจไมเยิ่นเยอ เขาถึง ชาวบานโดยตรง ตลอดจนผานผูใหญบานหรืออบต.บางพื้นที่ คือถาเราไดรับขอมูลมา ภายใน 1 ชั่วโมง ความชวยเหลือจะถึงทันที ซึ่งชาวบานเองก็ชื่นชมวาการทํางานของเรารวดเร็วและไมเลือกปฏิบัติไมแบง วานี่คือคนมีบานเลขที่ นี่คือคนที่ไมมีบานเลขที่ ดวยความที่เราเขาใจความเปนชุมชน เขาถึงชุมชน การ ทํางานจึงงายกวา ไมมีพิธีรีตองอะไร ” จะเห็นไดวาการทํางานในภาวะวิกฤตถามีความรวมเร็ว เทาทัน สถานการณก็จะสรางประโยชนไดมาก ผูเขียนจึงถามตอถึงมุมมองที่มีตอศอบ. พี่ติ๊กตอบวา “ ในดานขอมูล ถือวาโอเคมากมากเลยที่ ศอบ.ไดแจงเตือนมาในพื้นที่อะนะ สองก็คือการชวยเหลือเบื้องตนประเภทขาวสารอาหารแหง คิดวาทาง ศอบ.ก็สามารถชวยเหลือไดอยางเตมที่ สามารถเติมเต็มสวนที่ขาดหรือตกหลนไปไดมาก ยกตัวอยาง วันนี้มีชาวบานบานคลองมุย ม.3 อ.วิภาวดีมารับขาวสารประมาณ1,500กิโล แลวก็กระดาษ ทิชชู ขนม และยาน้ํากัดเทา เปนตน ” แลวในอนาคตละ พี่ติ๊กมองวา “ เรื่องการชวยเหลือเบื้องตนนะดีอยูแลว แตการชวยเหลือระยะ ยาวนาจะเปนเรื่องการเขาถึงขอมูลอยางรวดเร็ว การประสานงาน การเฝาระวังภัย ถาศอบ.จะทํางานตรง นี้ตอก็จะดีมาก เปนการสรางเครือขายระดับปฏิบัติการ และเครือขายขอมูลที่จะรองรับปญหาไดอยาง ทันทวงที ซึ่งทางศอบ.ก็ตองประชาสัมพันธตัวเองดวย” กอนลากันไป จึงอยากใหพี่ติ๊กในฐานะคนในพื้นที่ ฝากอะไรเพื่อเปนบทเรียนกับสังคมจากวิกฤต ในครั้งนี้ “ วิกฤตครั้งนี้มันเปนวิกฤตสิ่งแวดลอมที่เกิดจากน้ํามือของมนุษย อยากจะใหเราแกที่เหตุ เชน เวลาเมื่อเกิดภัยพิบัติ การที่เราชวยเหลือ ขาวสารอาหารแหง การเฝาระวัง ลวนเปนปลายเหตุทั้งนั้น ตองแกที่ตนเหตุคือตองชวยกันดูแลรักษาคุมครองสิ่งแวดลอมใหมากกวานี้ ปญหาตางๆก็จะไมเกิด ” การสนทนาเสร็จสิ้น แตอยางไรก็ตามภารกิจที่ยังคงตองสานตอรอยเรียงกันก็คงจะดําเนินตอไป สูเปาหมายเดียวกันในทายที่สุด....
68
เสียงจากเมืองคอน นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช เปนอีกพื้นที่หนึ่งที่ประสบกับปญหาหนักหนาเอาการ ซึ่งมีผูประสานงานใน พื้นที่ซึ่งก็คือ พี่ออฟ สมาคมดับบานดับเมือง พี่ออฟเปนหญิงสาวคนหนึ่งที่ทํางานอาสาสมัครในภาวะ วิกฤตครั้งนี้แลวสามารถประสานอยางเหนียวแนนกับ ศอบ. ไดเปนอยางดี สามารถตรวจสอบขอมูลได เกือบ 24 ชั่วโมง หลังจากวิกฤตเรงดวนผานพน เราจึงไดเริ่มคุยกันถึงสถานการณ วิกฤตที่ผานมา พี่ออฟเลาให ฟงวา “ น้ําเริ่มลงมาเขา เขาสูอําเภอเมือง แลวก็ไปแถวอ.ปากพนัง ทําใหเกิดน้ําทวมขังเปนบริเวณกวาง นอกจากนี้น้ํายังสูงและแรง ประชาชนไดรับความเดือดรอน ทางพี่ก็ไดประสานกับทาง ศอบ. ชวยเหลือ เบื้องตนในเรื่องของถุงยังชีพที่ถือวาเปนความเรงดวน อะนะคะ ” ผูเขียนจึงสงสัยวา ทางศอบ.และพี่ออฟ รูจักและประสานกันไดอยางไร “ ทางศอบ.ประสานมา คือโทรศัพทเขามาหาพี่ ซึ่งพี่ก็คิดวาเปนการดีถา หากเราจะมีภาคีชวยเหลือกันมากๆ ” แลวชาวบานที่พี่ไดประสานเรื่องความชวยเหลือ มีเสียงสะทอนวา อยางไรบางคะ ผูเขียนถามตอ “ ก็ชาวบานเคาก็ดีใจอะคะ เหมือนกับวาสวนหนึ่งเหมือนถูกทอดทิ้งจากราชการ อาจเพราะเปน บานที่อยูในพื้นที่ลึกๆ ตกหลนจากการสํารวจบาง พอเราเอาขาวสาร อาหารสําเร็จรูป ขาวกลอง ปลา กระปอง และน้ําที่ไดจากการประสานกับศอบ. ลงไปใหก็ดีใจมากกับการมาของพวกเรา เพื่อนที่อยูรวม พื้นที่เดียวกัน คือจังหวัดเดียวกัน มาชวยเหลือกันตรงนี้ ตอนนี้สถานการณก็นาจะกําลังดีขึ้นมา ” ผูเขียนจึงถามตอถึงมุมมองที่มีตอศอบ.วาเปนอยางไรบาง “ การชวยของรัฐคอนขางมีขอจํากัด แตการชวยเหลือในภาคประชาชนมีความไหลลื่นกวา และสามารถชวยไดถึงสวนที่เดือดรอนจริงๆ ไมใช วาชวยเหลือตามพิธีรีตอง สิ่งเหลานี้มีประโยชนตอประชาชนมากกวา ” สุดทาย พี่ติ๊กไดทิ้งทายไวนาสนใจวา........ “ ถาอยากที่จะชวยเหลือดวยใจอาสาสมัครจริงก็ไมควรรีรอ วาจะมีใครมามอบ มีสื่อมารึเปลา เดี๋ยวผูใหญมาใหมาพรอมผูใหญ สิ่งเหลานี้มันไมถูกเพราะจากสถานการณมันมีความเรงดวน ชาวบาน เคาเดือดรอนกันมาก พูดแลวพี่อยากจะรองไห แตพี่รูสึกภูมิใจนะที่ไดชวยชาวบาน พี่นองของเรา ” “ วิกฤตการณภัยพิบัติ ความเดือดรอนที่เกิดขึ้นนั้น ไมสามารถที่จะรีรออะไรได เพราะ ทุกนาทีคือลมหายใจ คือชีวิตของพี่นองของเรา ”