a day BULLETIN LIFE issue 76

Page 1

TODAY EXPRESS PRESENTS

ISSUE 76 I 21 - 27 AUGUST 2015

DISCONNECT TO RECONNECT


ปีที่ 2 ฉบับที่ 76 วันที่ 21 - 27 สิงหาคม 2558

NOTE ON LIFE

Disconnect to Reconnect ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อว่า รอบตัวเราทุกวันนี้มีคนเป็นจ�านวนมากที่เสพติดเทคโนโลยีหรือโซเชียลเน็ตเวิร์ก มากจนเกินพอดี ทั้งโดยรู้ตัวและไม่รู้ตัว ก็ไม่รู้ด้วยความคิดชนิดไหนที่ทา� ให้คนเราใช้โทรศัพท์ตลอดเวลาขนาดนี้ เช่น กลัวตามข่าวสารไม่ทัน กลัวพลาดโอกาสรับรู้เรื่องราวของเพื่อนฝูง หรือกลัวความโดดเดี่ยวท่ามกลางผู้คน ฯลฯ ถึงท�าให้เรารูส้ กึ ว่าตัวเองจ�าเป็นต้องติดต่อและต่อติดกับโลกภายนอกตลอดเวลา Jon Kabat-Zinn ปรมาจารย์ดา้ นการฝึกสมาธิ เคยกล่าวไว้วา่ “All the suffering, stress, and addiction comes from not realizing you already are what you are looking for.” ทุกความทรมาน ความเครียด และอาการเสพติด มาจากการที่เราไม่ตระหนักว่าเรามีในสิ่งที่เราก�าลังมองหาอยู่ เพื่อน ความรัก ความใส่ใจ คือสิ่งที่เราเชื่อว่าหาได้ในโซเชียลเน็ตเวิร์ก ทั้งที่ถ้ามองดีๆ เราก็มีมันอยู่แล้วในชีวิตจริง แต่เราอาจไม่ค่อยได้สนใจ เลยไปจนถึงมองไม่เห็นค่า เมื่อไม่เห็นก็มองหา เพราะคิดว่าไม่มี แล้วสุดท้ายเราก็ไม่ได้ติดต่อกับเพื่อนอย่างที่เราคิดจริงๆ แต่เราก�าลังขาดการติดต่อนานเกินไปต่างหาก ล�าพังแค่การกดไลค์และคุยสั้นๆ อาจไม่ได้แปลว่าคิดถึงเสมอไป มันอาจเป็นแค่การนึกขึ้นได้ว่าหายไปนาน มากกว่านั้น... เรายังขาดการติดต่อกับตัวเอง ซึ่งเป็นเพื่อนแท้ที่สุดในชีวิต เพราะเรามัวแต่คิดว่ามีเพื่อนที่เข้าใจรออยู่ ในโลกของโซเชียลเน็ตเวิร์ก ทั้งที่ถ้าเรายังไม่มีความสุขกับการอยู่กับตัวเอง แล้วใครจะอยากอยู่กับเรา อาจจะดีกว่า... ถ้าลองขาดการติดต่อกับทุกสิง่ ทีเ่ สมือนจริง แล้วกลับมาต่อให้ตดิ ในสิง่ ทีจ่ า� เป็นกับชีวติ จริงของเราให้ได้อกี ครัง้ วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม บรรณาธิการบริหาร Twitter : @khaopan www.facebook.com/adaybulletin

CONTENTS

4 The Stuff

6 Feature

14 Calendar

16 18 Supermarket Make a Dish

19 The 5ive

30 Every Down's สารพั ด สิ่ ง รอบตั ว เหตุผลดีๆ มากมาย ใคร ท�าอะไร ที่ไหน ฉวยตะกร้ า คว้ า หนึ่งจานอร่อยจาก เพลง 5 อัลบัม้ ทีส่ ร้าง แ ง ้ ม ดู บ ้ า น ข อ ง ของเก่าร้อยกว่าปี เพราะเราเชื่ อ ว่ า Story

เรา ทีเ่ ล่าผ่านตัวเลข ของคน 4 คน ทีไ่ ม่ยอม เช็กดูได้ สุดสัปดาห์นี้ ร ถ เ ข็ น แ ล ้ ว ไ ป ร้านดังที่เราอยาก ความสุนทรียใ์ นการให้ตัวเองผู ก ติ ด กั บ จ ะ ไ ด ้ ไ ม ่ พ ล า ด เดินเล่นจับจ่ายกับ ชวนคุ ณ ไปลิ้มลอง เดินทางของ วสุพล โลกโซเชียลมีเดีย เรื่องราวสนุกๆ เราใน Supermarket เกรียงประภากิจ แห่งนี้

20 HOME MADE

22 Selective

26 Out There

ธีรทัศน์ แผ่สุวรรณ ทีด่ี งึ ดูดให้ ภัศนันท์ โลกใบนี้ มี ส ถานที่ ครีเอทีฟไดเร็กเตอร์ ธ ร า จ รั ส พั ฒ น ์ มากมายรอให้ ไ ป เอเจนซี ทีเ่ ป็นแหล่ง หลงใหลอยู่เสมอ ค้นหา แรงบันดาลใจชั้นดี

‘เพราะเป็ น คนธรรมดามันง่ายไป’ ทุ ก เรื่ อ งราวพิ เ ศษ ที่ คุ ณ ไม่ เ คยรู ้

LETTER ขอบคุณส�าหรับการเล่าเรื่องอย่างตรงไปตรงมาใน Everyday Story ของ คุณวงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ ได้อ่านแล้วรู้สึกว่าชีวิตมีทางเลือก ท�าให้มีก�าลังใจมากขึ้น ทั้งเรื่องราวในฉบับที่ 72 และ 73 เรื่อง ‘หนังสือที่เราลงมือเขียนเอง’ กับ ‘หนึ่งวันเปลี่ยนชีวิต’ ที่เราเชื่อว่าคงมีคนอ่าน หลายๆ คนได้แรงบันดาลใจและก�าลังใจจากบทความนี้ด้วยเหมือนกัน อีกอย่างคงเพราะเราก�าลังเปลี่ยนงานด้วยก็เป็นไปได้ ถึงได้รู้สึกอินกับเรื่องนี้มาก - ณัฏฐ์กานต์ ธนันกิตติพงศ์

ส่งจดหมายติชม ทักทาย และให้คา� แนะน�า a day BULLETIN LIFE มาได้ที่ adaybulletinmagazine@gmail.com และสามารถติดตามความเคลือ่ นไหวและกิจกรรมดีๆ ได้ที่ Facebook/Twitter: a day BULLETIN และ Instagram: adaybulletinlife

A TEAM ทีป่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผูพ ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย บรรณาธิการอ�านวยการ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สงิ ห์ บรรณาธิการบริหาร วิไลรัตน์ เอมเอีย่ ม ซับเอดิเตอร์ / นักเขียน วสิตา กิจปรีชา บรรณาธิการบทความ ประพัฒน์ สกุณา เอกพล บรรลือ กองบรรณาธิการ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ไอรดา รืน่ ภิรมย์ใจ ปริญญา ก้อนรัมย์ พิมพ์อร นทกุล นภษร ศรีวลิ าศ บรรณาธิการภาพ นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย ช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกติ ติบตุ ร ภาสกร ธวัชธาตรี วงศกร ยีด่ วง มณีนชุ บุญเรือง บรรณาธิการศิลปกรรม วีระยุทธ คงเทศน์ ศิลปกรรม กิตติ ศรีวเิ ชียร เอกพันธ์ ครุมนต์ตรี จิตต์โสมนัส กองแสง พิสจู น์อกั ษร หัสยา ตัง้ พิทยาเวทย์ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ไม้ลา� ดวน ธมนวรรณ กัวหา ฝา่ ยผลิต วิทยา ภูท่ อง ทศพล บุญคง ทีป่ รึกษาฝา่ ยโฆษณา ศรวณีย ์ ศิริจรรยากุล ผูอ้ า� นวยการฝ่ายโฆษณา นุจนารถ สินธนาภัทร ผูจ้ ดั การฝา่ ยโฆษณา ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ 09-2964-1635, วราพร วิทยารุง่ เรืองศรี 08-9169-9509, พงศ์ธดิ า อังศุวฒ ั นากุล 09-4415-6241 ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา วาณี กนกวิลาศ 09-5592-9419, มาสสุภา เอีย่ มมงคลศิลป์ 08-5056-0083 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ธนาภรณ์ ศรีจฬุ างกูล 08-1639-1929, สุธาวัลย์ สุวรรณสิงห์ 08-1304-7070 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ผูจ้ ดั การ จัณฑรัศมิ์ เกียรติยศ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ ณัฐธยาน์ อึง้ ตระกูลนิธศิ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม ผูผ้ ลิต บริษทั เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วจิ ยั 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล adaybulletinmagazine@gmail.com เว็บไซต์ www.daypoets.com, www.godaypoets.com ฝ่ายสมาชิก นริศรา ธาระพุฒ โทร. 0-2716-6900 ต่อ 412


STUFF

LUGGAGE ‘All my bags are packed. I’m ready to go.’ ทุกครั้งที่ลงมือจัดกระเป๋าก่อนออกเดินทาง เราเป็นต้องนึกถึงเพลง Leaving on a Jet Plane เวอร์ชันใดเวอร์ชันหนึ่งเสมอ ความตื่นเต้นปนความกลัวคือจุดเริ่มต้นของประสบการณ์ที่สุดท้ายแล้วเรามักจะเก็บใส่กระเป๋ากลับบ้านมาเป็นของฝาก และเป็นทุกครัง้ ทีป่ ดิ กระเป๋าอีกเช่นกัน ทีค่ วามรูส้ กึ หวิวๆ จะค่อยๆ ก่อตัวขึน้ ไม่วา่ การออกเดินทางครัง้ นัน้ จะเพือ่ อะไรก็ตาม ‘Oh baby, I hate to go.’ Bernard Sadow เจ้าของ U.S. Luggage บริษทั ผลิตกระเป๋าเดินทางของสหรัฐอเมริกา เข้าใจถึงความยากล�าบากในการหิ้วกระเป๋า เดินทางไปมา หลังเดินทางกลับจากอารูบา พร้อมครอบครัวในปี ค.ศ. 1970 เขาออกแบบ กระเป๋าเดินทางทีม่ ลี อ้ ขึน้ แต่เมือ่ เขาน�าไปเสนอ ขายตามห้างสรรพสินค้ากลับไม่มีใครสนใจ มันเลยแม้แต่นิดเดียว

45 กิโลกรัม คือน�้าหนักโดยประมาณของ กระเป๋าเดินทางในช่วงกลางของศตวรรษที่ 19 ซึ่งมีลักษณะเป็นหีบขนาดใหญ่ เทอะทะ พกพา ไม่สะดวก ท�าให้คนมีเงินส่วนใหญ่จ้างพนักงาน มาส�าหรับขนกระเป๋าโดยเฉพาะ

เคล็ดลับของการรักษากระเป๋าเดินทางให้อยู่ในสภาพ ที่ปลอดภัยที่สุดในการใช้บริการเครื่องบินโดยสารคือ ใช้กระเป๋าเดินทาง 4 ล้อ ส�าหรับกระเป๋าทีต่ อ้ งการโหลด ลงใต้ ท ้ อ งเครื่ อ ง เพราะเจ้ า หน้ า ที่ ต ้ อ งเข็ น กระเป๋ า ไปกับพืน้ ถ้ากระเป๋าเดินทางมีเพียงสองล้อหรือไม่มลี อ้ เลย พนักงานอาจจะใช้วิธีโยนหรือเตะแทน

หลังจากเกิดเหตุการณ์ ไฟไหม้ที่โรงงานผลิตกระเป๋าเดินทางของ ริชาร์ด โมส์เซ็ก วาเรนไซเซน และพอล พ่อของเขา พบว่าวัสดุที่ใช้ในการท�ากระเป๋าถูกท�าลายทั้งหมด เหลือเพียงแต่อะลูมิเนียม เท่านั้น จึงเป็นที่มาของกระเป๋าเดินทางที่ขึ้นชื่อในเรื่องความคงทน รูปลักษณ์สุดคลาสสิก และราคา ที่สูงลิบลิ่วอย่าง RIMOWA ใบแรกในปี ค.ศ. 1937

จอห์น ไมเคิล ชาวแคนาดา ผูค้ ดิ ค้นไอเดียการติดป้าย ที่ ก ระเป๋ า เดิ น ทางของ สายการบิน จดสิทธิบัตร สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ดั ง กล่ า ว ในวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1882 ป้ า ยติ ด กระเป๋ า แบ่งออกเป็นสองส่ว นที่ แ ย ก อ อ ก จ า ก กั น ไ ด ้ ส่วนหนึ่งติดไว้ที่กระเป๋า อี ก ส่ ว นหนึ่ ง ให้ เ จ้ า ของ ติ ด ตั ว ไว้ โดยใช้ เ ชื อ ก ผู ก ป้ า ยไว้ กั บ กระเป๋ า หลั ง จากนั้ น พบว่ า ป้ า ย มักจะหลุดออกจากตัวเชือก ขณะเดินทางเสมอ จึงเป็น ที่มาของป้ายติดกระเป๋า เดินทางทีท่ า� จากกระดาษ ทีข่ าดได้ยากอย่างทีใ่ ช้กนั ในทุกวันนี้

สมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศได้กา� หนดขนาดมาตรฐานของ กระเป๋าเดินทางทีส่ ามารถหิว้ ขึน้ เครือ่ งและเก็บไว้ในเคบินได้ จะต้องมีขนาด 56x45x25 เซนติเมตร แต่ทั้งนี้อาจแตกต่างกันไปตามสายการบิน

มีเรื่องเล่าต่อๆ กันมาว่า หลังเกิดเหตุการณ์เรือไททานิกล่มในปี ค.ศ. 1911 มีการค้นพบกระเป๋าเดินทางแบรนด์ Louis Vuitton ใต้ท้องทะเลลึก โดยไม่มีน�้าซึมเข้าไปภายในกระเป๋าเลยแม้แต่น้อย


FEATURE

Disconnect to Reconnect คงปฏิเสธไม่ได้ว่าโซเชียลเน็ตเวิร์กได้กลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจ�าวันของคนส่วนใหญ่ไปแล้ว ซึ่งหลายๆ ครั้งเราจะเห็นพลังของโซเชียลเน็ตเวิร์กในด้านที่สร้างสรรค์ แต่เมื่อมีด้านบวกก็ย่อมมีด้านลบ หลายคนเลือกจะเอาชีวิตไปผูกติดกับโซเชียลเน็ตเวิร์กจนท�าให้บางครั้งอาจแยกแยะโลกจริงและโลกออนไลน์ ได้อย่างพร่าเลือน น�าพาชีวิตไปสู่ความวุ่นวายที่เกินพอดี a day BULLETIN LIFE จึงอยากน�าเสนอชีวิตอีกด้านของคน 4 คน ที่เลือกจะไม่เอาชีวิตตัวเองไปผูกติดกับโซเชียลเน็ตเวิร์กใดๆ เราอยากรู้ว่าเวลาที่เขาไม่ได้ออนไลน์เหมือนเช่นคนอื่นๆ เขาท�าอะไร และใช้ชีวิตอย่างไรให้มีความสุขแบบไม่ตามกระแสโซเชียลฯ ซึ่งเราเชื่อว่าคงมีแต่พวกเขาเท่านั้นที่ตอบได้

THANAPOB LEERATANAKAJORN เรื่อง : นภษร ศรีวิลาศ, พงศธร ทองยี่สุ่น ภาพ : วงศกร ยี่ดวง

เมื่อนึกถึงคนรุ่นใหม่ที่ไม่เล่นโซเชียลเน็ตเวิร์ก ชื่อของ ‘ต่อ’ - ธนภพ ลีรัตนขจร นักแสดงดาวรุ่งจากซีรีส์ ฮอร์ โมน วัยว้าวุ่น ก็เด้งขึ้นมาในหัวเราเป็นคนแรก และถ้าใครไม่ได้เป็นแฟนคลับที่ติดตาม เรื่องราวของเขาคนนี้เป็นประจ�า คงไม่รู้ว่านักแสดงหนุ่มคนนี้ไม่มีชื่อบัญชีในโซเชียลมีเดีย จึงเป็นที่มาของแฮชแท็กตลกๆ ว่า #ต่อผู้ ไม่มีอินสตาแกรม เราจึงสงสัยว่าเพราะอะไรที่ท�าให้เด็กหนุ่มวัยว้าวุ่นคนนี้ ขอถอนตัวออกมาจากสังคมออนไลน์ ในวันที่โซเชียลเน็ตเวิร์กได้เป็นเครื่องมือสื่อสารที่ส�าคัญแห่งยุค และการไม่ใช้โซเชียลมีเดียนั้นสร้างความว้าวุ่นใจในชีวิตของเขาบ้างหรือเปล่า


STARTING POINT :

แคร์ความรู้สึกคนอื่นด้วย ถึงแม้ว่าจะเป็น ก่อนหน้านีเ้ ราเคยเล่น Hi5 มาก่อน ซึง่ ใน เรื่องส่วนตัวก็ตาม ตอนนัน้ ถือเป็นโซเชียลเน็ตเวิรก์ ยอดฮิตทีเ่ ด็ก ทุกคนต้องเล่น แต่เราไม่ค่อยเข้าไปดูเท่าไหร่ DISCONNECT TO RECONNECT : ผมรู้และยอมรับว่าโซเชียลฯ มีประโยชน์ สองสามเดือนถึงจะเข้าไปโพสต์ตอบเพื่อน สักครัง้ หนึง่ เมือ่ ไม่คอ่ ยได้เล่นได้ใช้ พอยุคสมัย ซึง่ ในวันหนึง่ เราก็อาจลุกขึน้ มาเล่นก็ได้ แต่ถงึ ผ่านไปเรือ่ ยๆ เริม่ มีโปรแกรมหรือแอพพลิเคชัน อย่างนั้นเราก็คิดว่าชีวิตในโลกความเป็นจริง อะไรเยอะแยะตามมา เราเองก็ไม่ทนั ได้ตดิ ตาม เป็นสิ่งส�าคัญกว่า เราไม่ควรลืมท�าสิ่งที่เป็น แล้ว ไม่ใช่ว่าเราพยายามถอยห่าง เราแค่อยู่ หน้าที่ในชีวิตประจ�าวัน และโอเคที่โซเชียลฯ ตามปกติของเรา ไม่ได้เข้าไปหาหรือเข้าไป อาจท�าให้เรารู้สึกใกล้กัน แต่มันไม่ได้ท�าให้ ติดตามอะไรมากมายขนาดนัน้ มากกว่า ผมว่า เราใกล้มากขึน้ กว่าเดิมจากการมีหน้าเขาปรากฏ ทุกคนมีสิทธิที่จะเลือกเล่นหรือไม่เล่น และ อยู่บนสิ่งที่เราถือตลอดเวลา เพราะอย่างไร สามารถค้นหาเหตุผลของการท�าสิ่งนั้นได้ มันก็ไม่ใช่ตวั เขาอยูด่ ี แค่เป็นเครือ่ งแทนใจหรือ เครือ่ งแทนความรูส้ กึ ดีๆ ให้เราได้ชวั่ ขณะหนึง่ ด้วยตัวเองอยู่แล้ว CONNECT OR DISCONNECT :

YOUR WORLD, MY world :

ผมไม่อยากให้มองว่าการไม่เล่น ไม่ใช้ โซเชียลเน็ตเวิรก์ แบบคนทัว่ ไป คือความติสต์ ผมก็แค่ผชู้ ายคนหนึง่ ทีไ่ ม่มอี นิ สตาแกรมแค่นนั้ มีบา้ งทีข่ อเพือ่ นดู แต่กไ็ ม่บอ่ ยนะ นานๆ ดูที แต่สงิ่ ทีไ่ ด้พบเห็นบ่อยๆ ก็คอื เหตุการณ์เกิดขึน้ ด้วยความรูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์ ซึง่ ไม่จา� เป็นว่าต้อง เป็นคนในวงการบันเทิงเท่านัน้ ด้วยทีผ่ ดิ พลาด ได้ หรือที่เห็นบ่อยๆ คือการแสดงความเห็น ของคนทัว่ ไปทีอ่ าจแสดงความคิดเห็นส่วนตัว จนเกิดเหตุการณ์ดราม่าต่างๆ นานาขึ้นมา ก็มาจากการใช้โซเชียลฯ นีแ่ หละ ถ้าเราจะใช้ ก็ต้องรู้จกั ขอบเขต และระมัดระวัง ท�าอะไรก็ คิดก่อน แม้เราจะรู้สึกว่านี่คือพื้นที่ของเรา อยากโพสต์อะไรเราก็จะโพสต์ บางครัง้ ก็ตอ้ ง

เราไม่ได้แอนตีห้ รือปฏิเสธการใช้โซเชียลฯ แบบเต็มตัว ไม่ได้มคี วามคิดทีถ่ งึ ขัน้ พูดเต็มปาก กับตัวเองได้ว่า ‘เราไม่เล่นโซเชียลเน็ตเวิร์ก’ เพราะเรายังใช้ LINE ในการติดต่อสื่อสาร คุยงานอยู่ ส่วนพวกข้อมูลและข่าวสารในเรือ่ ง ทีเ่ ราสนใจ เราก็ยงั ใช้อนิ เทอร์เน็ตในการสืบค้น จริ ง อยู ่ ที่ เ ราไม่ ไ ด้ ติ ด ตามเรื่ อ งราวต่ า งๆ ผ่านโลกของโซเชียลเน็ตเวิร์ก แต่ก็ไม่ได้แปล ว่าเราไม่ตามโลก เรายังคงได้รบั ข่าวสารจาก ทางโทรทัศ น์ บ ้ า งหากเราได้ เ ดิน ผ่ า นพอดี และใช้ วิ ธีฟ ั ง จากที่ เ ขาพู ด กั น ถึ ง เรื่ อ งที่ อ ยู ่ ในกระแส ถึงบางข่าวเราจะรู้ช้ากว่าคนอื่น ก็ไม่ได้แปลว่าไม่รู้นะครับ (หัวเราะ)

OFFLINE MODE

“เราจะใช้เวลาดูซีรีส์ ทั้งฝรั่ง เกาหลี ญี่ปุ่น ตอนนี้เราชอบ Sherlock เป็นพิเศษ เพราะ เบเนดิกต์ คัมเบอร์แบตช์ เล่นดีมาก แค่ในตอนแรก ที่เปิดเรื่องมาที่เบเนดิกต์ต้องพูดบทยาวขนาด 3 หน้าติด แล้วยังสามารถท�าให้เรารับรู้ถึงคาแร็กเตอร์ของ เชอร์ล็อก โฮล์มส์ เวอร์ชันนี้ ได้ในรวดเดียว ปฏิกิริยาของเราที่นั่งดูอยู่หน้าจอตอนนั้นมันค้างเลยจริงๆ เขาแสดงเก่งมาก เห็นแล้วอยากท�าได้แบบนั้นบ้าง”


WISSUTA PRASERTPOL เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : มณีนุช บุญเรือง

ในชีวติ จริง การทีเ่ ราจะเป็นเพือ่ นกับใครสักคนต้องใช้เวลา และการพูดคุย เพือ่ ให้รวู้ า่ คนคนนัน้ จะเข้ากับเราได้มากน้อยแค่ไหนก็ตอ้ งผ่านการพบปะกันระดับหนึง่ แต่เมือ่ โซเชียลเน็ตเวิรก์ เกิดขึน้ มา ท�าให้เราสามารถเป็นเพือ่ นกับใครก็ ได้อย่างง่ายดาย และรวดเร็ว จนเกิดเป็นค�าถามส�าคัญส�าหรับ ‘ปุน่ ’ - วิสสุตา ประเสริฐผล นักวิจัยจากศูนย์วิจัยเชิงยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ว่าความสัมพันธ์ที่ฉับไวแบบนี้เป็นสิ่งที่ตัวเองต้องการจริงๆ หรือเปล่า


STARTING POINT :

DISCONNECT TO RECONNECT :

เราเคยใช้เฟซบุ๊กช่วงประมาณปี 2007 แล้วก็เลิกเล่นมาได้ปกี ว่าๆ แล้ว แต่เราก็จะใช้ ผ่านคอมพิวเตอร์ ไม่ได้ใช้ผ่านสมาร์ตโฟน เพราะรูส้ กึ ว่าถ้าใช้งานผ่านสมาร์ตโฟนด้วยแล้ว จะท�าให้การติดต่อสื่อสารระหว่างคนจริงๆ ค่อยๆ เลือนหายไป โดยเฉพาะตอนนี้ที่ใครๆ ต่างก็ตดิ โซเชียลเน็ตเวิรก์ กันเยอะมาก ท�าให้เกิด การแชร์ข้อมูลที่ไร้คุณภาพเยอะขึ้น และเป็น เรือ่ งของความเห็นของคนโพสต์เสียเยอะ ไม่ได้ เป็นการแชร์ขอ้ มูลทีน่ า่ สนใจจริงๆ จากทีเ่ มือ่ ก่อน เราเป็นคนใช้โซเชียลมีเดีย แต่ตอนนี้เหมือน กับโซเชียลมีเดียก�าลังใช้งานเราแทน ทัง้ เรือ่ ง ของการโฆษณา การเลือกฟีดข้อความมาให้ เราอ่ า น หรื อ เรื่ อ งของการกดไลค์ ก็ ต าม เลยคิดว่าควรถอนตัวออกมาดีกว่า

เราคิดว่าโซเชียลเน็ตเวิร์กมีไว้ส� าหรับ ฆ่าเวลา แต่กย็ อมรับว่าการจัดการของเฟซบุก๊ นัน้ เก่งมาก ที่ท�าให้สื่อแบบโซเชียลมีเดียกลาย เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตคนได้ แต่ส�าหรับเรา การคุยกันผ่านอีเมลนั้นเราว่าก�าลังดี เพราะ จะเลือกอ่านตอนไหนก็ได้ ว่างก็คอ่ ยตอบกลับ ไม่เหมือนกับการส่งข้อความทางโซเชียลเน็ตเวิร์กที่เหมือนถูกบังคับกลายๆ ว่าต้อง ตอบทันที และการคุยกันผ่านอีเมล เราจะมี เวลาเรียบเรียงความคิดในเรือ่ งทีจ่ ะคุยกันด้วย ถ้าคุยกันทางเฟซบุก๊ จะมีความรูส้ กึ ว่าการคุยกัน จะสะดุดๆ กระตุกๆ อยู่เหมือนกัน

CONNECT OR DISCONNECT :

ส�าหรับเรา โซเชียลเน็ตเวิรก์ ได้เปลีย่ นค�าว่า Friend หรือเพือ่ นไปในอีกทาง เราก็รวู้ า่ คนทีส่ ง่ ค�าขอเป็นเพือ่ นเข้ามาเขาก็ไม่ได้เป็นเพือ่ นเรา ในชีวติ จริง เดีย๋ วนีใ้ ครๆ ก็ Add Friend กันง่ายๆ ทัง้ ๆ ทีเ่ จอกันแค่ไม่กนี่ าที ซึง่ โซเชียลเน็ตเวิรก์ ไม่ได้ผิด แต่เราคิดว่าการมีตัวตนในโลกของ โซเชียลเน็ตเวิร์กก็เหมือนกับมีบ้านที่ไม่มีรั้ว ใครอยากจะเดินเข้ามาก็ได้ แม้กระทัง่ บางครัง้ เราก็ตอ้ งกดรับเขาเป็นเพือ่ นด้วยความเกรงใจ ก็มี และกลายเป็นว่าคนที่เราเคยเจอกันแค่ ครั้งเดียว แต่เรากลับไปรู้เรื่องส่วนตัวเขา เสียอย่างนัน้ ท�าให้เรารูส้ กึ แปลกๆ อยูเ่ หมือนกัน จะอันเฟรนด์กไ็ ม่ได้ เดีย๋ วเป็นประเด็นกันไปอีก

YOUR WORLD , MY world :

เวลาเห็นคนนั่งเล่นโทรศัพท์เราก็ไม่ได้ มองว่ า เขาเสพติ ด โซเชี ย ลเน็ ต เวิ ร ์ ก หรอก เขาอาจจะก�าลังอ่านข่าว หรือส่งงานอยู่ก็ได้ เพียงแต่โซเชียลเน็ตเวิร์กไม่ได้ตรงกับความต้องการของเรา บางคนใช้เพื่อแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกัน แต่โซเชียลเน็ตเวิร์กก็ทา� ให้ คนต้ อ งมาคิ ด ว่ า วั น นี้ เ ราจะโพสต์ อ ะไรดี เราจะหาเรื่องอะไรมาโพสต์ ไปจนถึงเราต้อง สร้ า งคอนเทนต์ ขึ้ น มาเพื่ อ ให้ มี เ รื่ อ งโพสต์ ซึ่งในความคิดของเรา ชีวิตมีเรื่องที่ต้องท�า อะไรขนาดนั้นด้วยเหรอ ถ้าคุณไม่ได้เป็น นักเล่าเรื่องจริงๆ เราเลยเลือกที่จะหย่อนตัว ลงไปนั่ ง สบายๆ แล้ ว คิ ด ถึ ง เรื่ อ งต่ า งๆ ในแต่ละวันที่ผ่านมาเงียบๆ มากกว่า

OFFLINE MODE

“เวลาว่างๆ เราจะออกไปปั่นจักรยาน ซึ่งอาจจะลองไปค้นหาเส้นทางใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยไปมาก่อน เราชอบตรงความรู้สึกที่เป็นอิสระ ได้ผจญภัย และได้สังเกตสิ่งต่างๆ ที่อยู่ข้างทาง ดูตึกรามบ้านช่อง ป้ายโฆษณา หรือวิถีชีวิตของคน บางครั้งก็ปั่นไปไกลๆ ที่ผ่านมาเคยปั่นไปถึงจังหวัดพระนครศรีอยุธยา”


YUTTANA PUANGKLANG เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : มณีนุช บุญเรือง

โซเชียลเน็ตเวิร์กอาจเป็นเครื่องมือส�าคัญส�าหรับคนที่ท�างานในวงการบันเทิงเพื่อใช้กระชับความสัมพันธ์กับแฟนๆ ให้ใกล้ชิดกันมากขึ้น แต่ส�าหรับ ‘ตูมตาม’ - ยุทธนา เปื้องกลาง นักร้องและนักแสดงที่มีผลงานล่าสุด กับซิตคอมเรื่อง มือปราบกุ๊กกุ๊กกู๋ คนนี้ กลับขอเลือกถอนตัวเองออกมาจากสังคมออนไลน์ ด้วยเหตุผลส่วนตัวว่า ถ้าเรายอมแลกบางอย่างเพื่อให้ ได้เห็นอะไรที่เคยพลาดไป ก็น่าจะเป็นบททดสอบที่วัดความเป็นผู้ใหญ่ส�าหรับตัวเขาเอง


STARTING POINT :

การเข้ า ไปอยู ่ ใ นโลกของโซเชีย ลเน็ต เวิร ์ ก ไม่ ใ ช่ จุ ด ประสงค์ ใ นการใช้ ชี วิ ต ของผม ผมอยากท�าความรู้จักกับคนจริงๆ มากกว่า ตามดูรปู เขาในอินสตาแกรม หรือพอถึงวันเกิด ก็แท็กข้อความไปหาเขา ทัง้ ๆ ทีเ่ ราติดต่อสือ่ สาร กันได้มากกว่านั้น วันที่ผมตัดสินใจลบบัญชี ทัง้ หลายในโซเชียลเน็ตเวิรก์ ไป ผมพบว่าตัง้ แต่ ก้าวแรกทีผ่ มเดินออกจากบ้าน สิง่ ต่างๆ ทีเ่ ราเคย เดินผ่านทุกวัน เรากลับไม่เคยมองเห็นมาก่อน เลย ผมได้เห็นนกทีเ่ กาะอยูบ่ นเสาไฟ ผมได้สมั ผัส กับอากาศทีส่ ดชืน่ ในตอนเช้า ท�าให้รวู้ า่ ทีผ่ า่ นมา เราใช้ชีวิตที่รวดเร็วเกินไป และไม่น่าเชื่อว่า พอเลิกเล่นโซเชียลเน็ตเวิร์กแล้วผมมีเวลา ให้ตวั เองเยอะมากขึน้ จากทีเ่ คยคิดว่าแต่ละวัน เวลาผ่านไปเร็วเหลือเกิน แต่ตอนนีม้ ีเวลาแค่ ชัว่ โมงเดียวผมก็มโี อกาสได้มองเห็นสิง่ รอบตัว CONNECT OR DISCONNECT : เยอะมาก เยอะจนต้องบอกกับตัวเองเลยว่า ผมก็เคยเสพติดการเล่นโซเชียลเน็ตเวิร์ก เราพลาดเรื่องดีๆ พวกนี้ไปได้อย่างไร อย่างหนักจนแทบไม่เงยหน้ามองใครเลย จนในที่สุดก็คิดว่าเราต้องจัดการกับตัวเอง YOUR WORLD, MY world : มีเรื่องบางเรื่องที่ผมเห็นเป็นประจ�าแต่ ได้แล้ว โดยเฉพาะตอนที่ทุกคนเริ่มซีเรียส กับโลกของการฟอลโลว์กนั จนถึงขัน้ เกิดค�าถาม ไม่เคยสนใจเลยตอนที่ติดโซเชียลเน็ตเวิร์ก ว่าท�าไมเธอถึงไม่กดติดตามฉัน ท�าไมเธอ เช่น เรื่องที่ใกล้ตัวที่สุดก็คือ ตื่นขึ้นมาแล้ว อันฟอลโลว์เรา เพื่อนรอบตัวผมก็เริ่มหายไป เดินลงมาข้างล่างผมก็เห็นคุณพ่อกับคุณแม่ สมาธิก็ไม่ค่อยดีแบบแต่ก่อน มัวแต่ห่วงเล่น นัง่ หยอกล้อกันอยูห่ น้าบ้าน ซึง่ เป็นภาพทีเ่ รา หรือคิดว่าจะลงรูปอะไรดี ลงรูปแล้วจะใส่ ไม่ได้เห็นมานานมาก หรือวันที่ผมตัดสินใจ ข้อความว่าอะไรอีก กลายเป็นขัน้ ตอนทีย่ งุ่ เหยิง เลิกเล่น ผมนัง่ อยูท่ า่ มกลางคนทีก่ ม้ หน้าก้มตา ในชีวติ จนต้องถามตัวเองว่าความสุขทีแ่ ท้จริง เล่นโทรศัพท์ก็รู้สึกว่าตัวเองแปลกแยกอยู่ เหมือนกัน (หัวเราะ) แต่กเ็ ข้าใจว่าโซเชียลเน็ตเวิรก์ ของเราคืออะไร เป็นสิง่ ทีท่ า� ให้หลายๆ คนมีความสุขในการใช้งาน DISCONNECT TO RECONNECT : แต่สังคมในโลกใบนั้นไม่ได้มีความส�าคัญ ผมพบว่าความสุขเกิดขึ้นได้จากค� าว่า อะไรกับผมแล้ว ‘พอ’ เมือ่ เราเข้าใจตัวเอง เราก็จะเห็นความสุข ที่เกิดขึ้นได้โดยที่ไม่ต้องพึ่งเครื่องมืออะไร ผมรู้สึกว่าตัวเองอยู่กันคนละฝั่งกับโลก ของโซเชียลเน็ตเวิร์กอยู่แล้ว ผมชอบการคุย กับคนอืน่ ๆ แบบเจอตัวกันตรงหน้า ได้ยนิ เสียง ได้เห็นหน้าเห็นตากัน พอเข้ามาท�างานใน วงการบันเทิงก็รู้ว่าแฟนๆ ของผมอยากรู้ว่า ผมท� า อะไรอยู ่ ก็ เ ลยสมั ค รใช้ ท วิ ต เตอร์ และพบว่าก็เป็นเครื่องมือในการสื่อสารที่ดี แต่ ค วามรู ้ สึ ก ที่ ท�า ให้ อ ยากเลิ ก เล่ น กลั บ มี เข้ามาเป็นระยะ เพราะยอมรับว่าเมื่อก่อน จะเข้าใจว่าโซเชียลเน็ตเวิร์กคือพื้นที่ของเรา เราจะโพสต์ อ ะไรก็ ไ ม่ ผิ ด จนลื ม คิ ด ไปว่ า ไม่มีพื้นที่ส่วนตัวจริงๆ หรอกในอินเทอร์เน็ต ในที่สุดผมก็ถามตัวเองว่า ถ้าเราไม่ชอบแล้ว จะเล่นไปท�าไม

OFFLINE MODE

“ผมเพิ่งกลับมาจากไปเที่ยวที่บ้านแม่ก�าปอง จังหวัดเชียงใหม่ ผมชอบความเรียบง่ายและจังหวะชีวิตของคนที่นั่นซึ่งยังคงเหมือนกับเมื่อก่อน และผมเชื่อว่าใครก็ตามที่เบื่อความเร่งรีบวุ่นวายในเมืองหลวงก็คงจะมีความสุขกับที่นั่นแน่นอน และวิถีชีวิตในบ้านแม่ก�าปองก็ยิ่งตอกย�้ากับสิ่งที่ผมคิดว่า ความสุขที่ผมต้องการจริงๆ ก็แค่รู้จักกับค�าว่า ‘พอ’ เท่านั้นเอง”


SUNISA SUKBOONSUNG เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : วงศกร ยี่ดวง

เพราะถูกสปอตไลต์ส่องมาตั้งแต่เริ่มเข้าสู่วัยรุ่น จึงเป็นธรรมดาที่ท�าให้ ‘ดีเจอ้อม’ - สุนิสา สุขบุญสังข์ จากคลื่น Chill FM 89 หวงแหนพื้นที่ส่วนตัว ของตัวเองอย่างมาก และคิดต่างจากคนทั่วไปที่ล้วนเห็นว่าโซเชียลเน็ตเวิร์กนั้นเป็นเครื่องมือที่ใช้กระชับความสัมพันธ์กับคนอื่นๆ ได้อย่างแท้จริง โดยเฉพาะในยุคนีท้ ที่ กุ อย่างดูเร่งรีบสับสนวุน่ วายไปเสียหมด การที่ได้รบั รูอ้ ะไรช้าลงในบางเรือ่ ง เมือ่ ชัง่ น�า้ หนักดูแล้วกลับส่งผลดีให้กบั ตัวเราได้มากกว่าทีค่ ดิ อีกด้วย


STARTING POINT :

เราไม่ได้เล่นเฟซบุก๊ หรือทวิตเตอร์เลย แต่ เราเคยเล่นอินสตาแกรมในยุคที่ยังไม่เฟื่องฟู เราใช้ในการถ่ายรูป ใส่ฟลิ เตอร์เพือ่ ความสวยงาม แต่สุดท้ายก็เลิกเล่นเพราะจ�าพาสเวิร์ดไม่ได้ (หัวเราะ) แต่อีกเรื่องที่ท�าให้เลิกเล่นเพราะ จุดประสงค์ในการเริม่ เล่นอินสตาแกรมของเรา กั บ ตอนนี้ ไ ด้ เ ปลี่ ย นไป เราเริ่ ม ต้ น ใช้ เ พื่ อ การถ่ายรูป แต่ตอนนี้ยุคสมัยได้เปลี่ยนให้ อิ น สตาแกรมไม่ ใ ช่ ช ่ อ งทางที่ ดึ ง ดู ด ให้ ค น มาชื่ น ชมความงามของรู ป ภาพอี ก ต่ อ ไป แต่ ก ลายเป็ น การพู ด ถึ ง กิ จ วั ต รประจ�า วั น หรือค�าคมต่างๆ ซึง่ เราไม่ได้สนใจเรือ่ งเหล่านี้ CONNECT OR DISCONNECT :

เราเข้ามาท�าอาชีพนักจัดรายการวิทยุ ซึง่ การเป็นดีเจส�าหรับเราถือว่าเป็นอาชีพที่อยู่ ตรงกลางระหว่างการท�างานเบื้องหน้าและ เบือ้ งหลัง ซึง่ เราเลือกทีจ่ ะถอยออกมาอยูข่ า้ งหลัง เราเลือกที่จะเป็นแบบนี้ เพราะเมื่อไหร่ที่เรา พาตัวเองไปใส่ไว้ในโซเชียลเน็ตเวิร์ก เมื่อนั้น เราจะไม่สามารถปิดกัน้ ให้ใครเข้ามาไม่ได้อกี ต่อไป แต่การทีเ่ ราไม่มโี ซเชียลเน็ตเวิรก์ ก็ทา� ให้ เราอาจจะเสียโอกาสในการรับรูข้ า่ วสารทีเ่ ขา ส่งต่อกันในขณะนัน้ ซึง่ บางเรือ่ งก็มปี ระโยชน์ นั่นก็มาจากการที่เราปิดประตูบานนี้ให้กับ ตัวเอง แต่เมื่อถามตัวเองว่าประตูบานนั้น เราต้ อ งการมากหรื อ น้ อ ยแค่ ไ หน เรามี ช่องทางอื่นในการรับข่าวสารหรือไม่ ถ้ามี แต่ช้าไปสักหน่อยก็ไม่เห็นจะเป็นไร DISCONNECT TO RECONNECT :

เราเลือกที่จะอยู่กับความเป็นจริงของ ชีวติ กับสิง่ ทีอ่ ยูต่ รงหน้า ซึง่ ความเป็นจริงทีอ่ ยู่ ตรงหน้าเราแท้ๆ นี่ บางครั้งเราก็ยังรับมือ ไม่ไหวเลย ยิ่งถ้าเราพาตัวเองเข้าไปไหล

ตามกระแสของโซเชียลเน็ตเวิร์กด้วยก็จะยิ่ง ไปกันใหญ่ เรารับมือกับมันไม่อยูห่ รอก เราเจอ สิง่ ทีเ่ ข้ามากระทบตัวเราได้ตลอดเวลา กินข้าว ไม่อร่อยก็รู้สึกแล้ว วันนี้ง่วงจัง ท�างานแล้วก็ งอแง ขับรถโดนปาดหน้า นายด่า เพือ่ นไม่สนใจ แค่นี้เราก็รู้สึกหงุดหงิดกันได้แล้ว แล้วท�าไม เราต้องไปสร้างพลังความเหนื่อยเพิ่มให้กับ ตัวเองอีก (หัวเราะ) แต่บางคนเขาก็รสู้ กึ อบอุน่ เวลาที่มีคนโพสต์ข้อความให้ก�าลังใจถึงเขา เราก็ เ ข้ า ใจ เพราะเรื่ อ งแบบนี้ ก็ ต ้ อ งเป็ น การเกื้อกูลกันและกัน ส�าหรับคนที่ชอบให้ และชอบรั บ ข้ อ ความกั น แบบสาธารณะ แต่เราชอบที่จะโทรศัพท์หาหรือไปพูดคุยกัน แบบตัวต่อตัว เพราะได้นา�้ ได้เนื้อมากกว่า YOUR WORLD, MY world :

โซเชี ย ลเน็ ต เวิ ร ์ ก กลายเป็ น เครื่ อ งมื อ สนองอั ต ตาของคน จนท� า ให้ ห ลายครั้ ง เรากลายเป็ น คนใจร้ อ น ถ้ า เป็ น เมื่ อ ก่ อ น เราจะมีโอกาสคิดในสิง่ ทีต่ วั เองจะพูด หรือถ้า หงุ ด หงิ ด อยู ่ ก็ ยั ง มี โ อกาสคิ ด ว่ า เราจะพูด กับเขาดีไหม หรือจะตอบไปอย่างไรดี แต่ตอนนี้ โอกาสคิดได้น้อยลง เพราะเราเห็นว่าเขา ออนไลน์ อ ยู ่ ก็ พิ ม พ์ ล งไปเลยเดี๋ ย วเขาก็ ได้อา่ น ขอให้ฉนั ได้ดา่ ก่อน ก็พมิ พ์สง่ ไปเป็นชุด พอเขาด่ากลับมาก็เป็นเรือ่ งเป็นราวกันขึน้ มา เราทะเลาะกันง่ายขึน้ เพราะอารมณ์มนั เร็วขึน้ การไตร่ ต รองช้ า ลง ซึ่ ง เรื่ อ งนี้ น ่ า เป็ น ห่ ว ง โดยเฉพาะประเด็นที่เรามักได้ยินกันเสมอว่า ท�าไมอ่านแล้วไม่ตอบ ก็โปรแกรมขึน้ สัญลักษณ์ ว่าเธออ่านข้อความแล้ว บางทีการรู้มากไป ก็ท�าให้เราประสาทเสียไปเอง หรือเบาหน่อย ก็คอื เราจะชอบเหลือบมองโทรศัพท์ตลอดเวลา ว่ามีการแจ้งเตือนอะไรเข้ามาหรือเปล่า ซึง่ ข้อนี้ เราก็เป็น และคิดว่าเป็นอาการป่วยที่น่าวิตก อยู่เหมือนกัน

OFFLINE MODE

“ตอนนี้เราก�าลังอ่านหนังสือ ชีวประวัติของข้าพเจ้า โดย มหาตมะ คานธี ซึ่งเป็นคนที่ทั้งโลกชื่นชม เชิดชู และยกให้เป็นมหาบุรุษคนนี้ กลับออกมายอมรับว่า เขาก็เป็นคนที่มีข้อผิดพลาด ซึ่งนี่แหละคือคนที่ยิ่งใหญ่จริงๆ และนักต่อสู้ในแบบอหิงสาที่น่าเชิดชูคนนี้ ก็ยังมีเรื่องราวเล็กๆ น้อยๆ ที่น่ารักในชีวิตของเขาที่น่าเรียนรู้ และให้เราได้คิดตามอีกเยอะมากๆ”


CALENDAR FRI

MON

24

OUROBOROS นิ ท ร ร ศ ก า ร ศิ ล ป ะ ‘งูกินหาง’ โดยคณาจารย์ นักออกแบบ กลุม่ แต่งแต้ม น� า เสนองานออกแบบ และแอนิ เ มชั น ที่ ไ ด้ รั บ แรงบั น ดาลใจมาจาก การละเล่ น งู กิ น หางของ ไทย เปรียบดังการร่วมกัน แลกเปลี่ ย นแนวคิ ด ใน การท�างานต่อกันเป็นทอด ที่อ้างอิงจากความรู้และ ประสบการณ์ส่วนบุคคล เกิดเป็นผลงานสร้างสรรค์ ที่ ห ลากหลาย วั น นี้ ถึ ง 1 8 กั น ย า ย น 2 5 5 8 ณ ห อ ศิ ล ป ์ จ า ม จุ รี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-3709

TUE

25

POETIC ABSTRACTIONS FROM ISTANBUL IN BANGKOK ร ่ ว ม ส� า ร ว จ เ มื อ ง อิสตันบูลผ่านสายตาของ เ ด ฟ ริ ม เ อ อ ร ์ บิ ล ปรมาจารย์ ศิ ล ปะตุ ร กี ร่ ว มสมั ย ชั้ น น� า ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรับนับถือมากทีส่ ดุ ของตุ ร กี ในนิ ท รรศการ ศิลปะ ‘จิตรกรรมนามธรรม จากอิสตัน บู ลสู ่ กรุง เทพ’ วันนี้ถึง 13 กันยายน 2558 ณ หอศิ ล ปวั ฒ นธรรม แห่งกรุงเทพมหานคร โทร. 0-2214-6630-8 (เว้นวันจันทร์)

WED

26

TRUE FRIENDS เชิ ญ ชมภาพยนตร์ เรือ่ ง ‘True Friends’ “ในชีวติ เราพูดกันได้ทกุ อย่าง” นีเ่ ป็น สิ่ ง ที่ วอลแตร์ ออร์ ซี นี ประกาศกับทุกคน แต่เขา เป็นเพียงคนเดียวที่เคารพ หลักการนี้ เมื่อเป็นเช่นนี้ วอลแตร์ จ อมพู ด มาก จะท�าตัวอย่างไรเมือ่ ได้รวู้ า่ คนที่เขารักโกหกเขาอย่าง ไร้ ย างอาย ชมฟรี วั น นี้ เวลา 19.00 น. ณ สมาคมฝรั่ ง เศสกรุ ง เทพ โทร. 0-2670-4231

THU

21

SAT

22

SUN

23

27

EVIL QUEEN THE MUSICAL เ ชิ ญ ช ม ล ะ ค ร เ ว ที ‘Evil Queen the Musical’ ที่ ห ยิ บ จั บ เรื่ อ งราวของ เจ้าของวลีฮติ “Mirror mirror on the wall, who is the fairest of them all.” จากเทพนิยาย ชื่อดังสโนว์ไวต์มาเล่าขาน ในรู ป แบบใหม่ ที่ ทุ ก คน ไม่เคยรู้มาก่อน วันนี้ถึง 2 9 สิ ง ห า ค ม 2 5 5 8 รอบการแสดง 13.00 และ 19.00 น. ณ วิ ท ยาลั ย ดุ ริ ย างคศิ ล ป์ ม.มหิ ด ล จ� า ห น ่ า ย บั ต ร ที่ โ ท ร . 08-3095-0775

THE ENGRAVINGS OF MY HEART นิ ท ร ร ศ ก า ร ศิ ล ป ะ ‘ภาพพิมพ์ใจหทัยทวยราษฎร์’ โดย พินิตย์ พันธประวัติ น�าเสนอผลงานภาพพิมพ์ แม่ พิ ม พ์ แ กะสลั ก ภาพ พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็จ พระเจ้าอยูห่ วั และพระบรมวงศานุวงศ์แห่งราชวงศ์จกั รี และภาพทิ ว ทั ศ น์ แ ละ สถานที่ ส� า คั ญ ต่ า งๆ ซึ่ ง เต็ ม เปี ่ ย มไปด้ ว ยความงดงาม วันนีถ้ งึ 4 ตุลาคม 2558 ณ อาร์เดล แกลเลอรี ออฟ โมเดิ ร ์ น อาร์ ต ถ.บรมราชชนนี โทร. 0-2422-2092 (เว้นวันจันทร์)

HI-5 HOUSE OF DREAMS ปาร์ ตี้ ค รั้ ง ใหญ่ กั บ 5 หนุ ่ ม สาวมากความสามารถ Ainsley, Dayen, Mary, Stevie และ Tanika ทั้งร้อง เต้น และการแสดง ม า ย า ก ล อี ก ม า ก ม า ย พร้อมแสงสีเสียงสดใสและ โปรดั ก ชั น อั น น่ า ตื่ น เต้ น ใน ‘Hi-5 House of Dreams’ วันนี้ถึง 23 สิงหาคม 2558 ณ บางกอกคอนเวนชั น เซ็นเตอร์ เซ็นทรัล ลาดพร้าว ติดตามรอบการแสดงและ จ�าหน่ายบัตรทีไ่ ทยทิกเก็ตเมเจอร์

วันสละโสด กับโจทก์เก่าๆ

เ ชิ ญ ช ม ล ะ ค ร เ ว ที ‘วันสละโสดกับโจทก์เก่าๆ’ เรื่ อ งราวความรั ก ของ สถาปนิ ก หนุ ่ ม เจ้ า เสน่ ห ์ ที่ ก� า ลั ง จ ะ จู ง มื อ ส า ว นั ก เรี ย นนอกแสนสวย เข้าพิธีวิวาห์ แต่แล้วก็เกิด เหตุ ก ารณ์ ไ ม่ ค าดคิ ด เมื่อวันสละโสดแสนหวาน ก�าลังจะเกิดเรือ่ งวุน่ ๆ เพราะ บรรดาโจทก์ เ ก่ า สุ ด แสบ วันนี้ถึง 30 สิงหาคม 2558 ณ เมืองไทยรัชดาลัยเธียเตอร์ ติดตามรอบการแสดงและ จ�าหน่ายบัตรทีไ่ ทยทิกเก็ตเมเจอร์ (งดการแสดง วันจันทร์และอังคาร)


State of the Arts

The Pain of Love under the Subconscious ทิวาพร ด้วงสีดา ศิลปินสาวทีเ่ ติบโตมาอย่างเรียบง่ายในบรรยากาศของชนบท ซึง่ เหตุผลในการแต่งแต้มพูก่ นั ลงบนผืนผ้าใบของเธอ ก็เพราะว่าต้องการระบายความเก็บกดที่มีอยู่ภายใน จนกลายมาเป็นผลงานศิลปะที่เต็มไปด้วยเรื่องราวเช่นนี้ ผลงานชิ้นนี้ได้รับเลือก ให้รว่ มแสดงในนิทรรศการของการประกวดจิตรกรรมยูโอบี (UOB Painting of the Year) เมือ่ ปี 2557 ทีผ่ า่ นมา

Tiwaporn Duangseeda acrylic on canvas 130 x 150 cm

Behind the Picture : “มนุษย์ทกุ คนมีความรัก ความรูส้ กึ และความปรารถนา ต่อเพศตรงข้าม อารมณ์ความรู้สึกเป็นส่วนส�าคัญที่กระตุ้น สภาวะจิตใต้ส�านึกของเราออกมา ภาพนี้จึงเป็นเหมือน การส�ารวจความรู้สึกภายในจิตใจ และพยายามถ่ายทอด เรื่ อ งราวจากประสบการณ์ ต รงถึ ง ความเจ็ บ ปวดจาก การไม่สมหวังในความรัก จนท�าให้เกิดสภาวะทุกข์”

THE ARTIST : “ส่วนตัวเป็นคนชอบศิลปะมาตั้งแต่เด็ก เติ บ โตมาจากวิ ถี ชี วิ ต เรี ย บง่ า ยแบบชนบท ความสุขในตอนเด็กเลยเป็นการที่ได้วาดภาพ โดยเฉพาะชอบวาดรูปผูห้ ญิง ซึง่ เราเองเป็นเด็ก ที่เก็บกดจากปัญหาทางบ้าน ท�าให้ชอบที่จะ ระบายอารมณ์ใส่กระดาษ พอได้มาเรียนศิลปะ จึงรู้สึกว่า ศิลปะตอบโจทย์ทุกค�าถามในจิตใจ เลยน� า ความรู ้ สึ ก ต่ า งๆ ไม่ ว ่ า ทั้ ง ดี ห รื อ ร้ า ย มาถ่ายทอดผ่านงานศิลปะของเราแทน”

การประกวดจิตรกรรมยูโอบี (UOB Painting of the Year) คือการประกวดผลงานจิตรกรรมระดับอาเซียนที่จัดโดยกลุ่มธนาคารยูโอบี เปิดกว้างส�าหรับศิลปินอาชีพ และศิลปินใหม่หรือ สมัครเล่น โดยไม่จ�ากัดอายุ เปิดรับผลงานระหว่างวันที่ 12-16 กันยายน 2558 ณ จุดรับผลงานทั้งสี่แห่งที่กรุงเทพฯ เชียงใหม่ ขอนแก่น และสงขลา ชิงเงินรางวัลรวม 1,680,000 บาท พร้อมโอกาสในการประกวดระดับอาเซียน และการเป็นศิลปินในพ�านัก ณ พิพิธภัณฑ์ศิลปะเอเชีย ฟุกุโอกะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นเวลาหนึ่งเดือน รายละเอียดเพิ่มเติม www.uobpoy.com 15

Reflections : “ศิลปะเป็นสิ่งที่ช่วยขัดเกลาจิตใจของเรา สอนให้เรารูจ้ กั มองข้อผิดพลาดของตัวเองแล้วน�า มาแก้ไข ทุกครัง้ ทีเ่ ราท�างานศิลปะออกมาสักชิน้ ก็เพื่อ ถ่ ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ในช่ วงนั้น ผ่านงานศิลปะโดยไม่ตอ้ งใช้คา� พูด ซึง่ เราอยาก แสดงให้ผู้คนได้รับรู้ถึงความงามของศิลปะใน แต่ละรูปแบบ”


SUPERMARKET

In the Blue Sapphire วัตถุดิบและเครื่องปรุงต่างๆ นอกจากจะน�ามาปรุงรสหรือท�าอาหารได้แล้ว ประโยชน์ของมันยังมีอีกมากมาย และถ้าใครที่ชื่นชอบประวัติความเป็นมาของเครื่องดื่มประเภทต่างๆ วันนี้เราจะมาชวนคุณท�าความรู้จักที่มาของเครื่องดื่มจินยี่ห้อดัง ที่ชื่อ Bombay Sapphire ซึ่งใช้ส่วนผสมทั้งหมดนี้ช่วยให้เครื่องดื่มมีกลิ่นรสที่เป็นเอกลักษณ์ ไม่เหมือนใคร

Coriander seed

Orris root

Cubeb

Almond

Juniper Berry

Liquorice

Angelica root


Cassia Bark

Grains of Paradise

Lemon Peel

Alcohol

Almond อัลมอนด์ ถั่วเปลือกแข็งที่เรานิยมน�ามาทานเล่น ใส่ในช็อกโกแลต และเป็นส่วนผสมของเบเกอรี ต่างๆ ซึง่ สารสกัดจากอัลมอนด์นนั้ ก็มคี นน�ามาใช้ ท�าประโยชน์มากมาย เช่น เครือ่ งส�าอาง สบู่ แชมพู น�้าหอม รวมถึงการผลิตจินด้วยเช่นกัน Lemon Peel เปลือกเลมอน พืชสารพัดประโยชน์ทนี่ อกจากจะให้ น�้าที่รสชาติอร่อยแล้ว เปลือกของมันก็ยังใช้งาน ตัง้ แต่อาหารคาว ขนม เครือ่ งดืม่ น�า้ หอม เพราะ ด้วยน�า้ มันหอมระเหยทีแ่ ทรกซึมอยูอ่ ย่างเต็มเปีย่ ม แค่หยิบมาดมก็ยังรู้สึกหอมชื่นใจเลย Liquorice ลิเคอริซ หรือชะเอมเทศ เป็นพืชสมุนไพรที่ใช้ ส่วนรากและล�าต้นมาท�ายา ซึ่งจริงๆ แล้วการใช้ ประโยชน์จากชะเอมเทศนั้นมีหลากหลายมาก เนื่องจากมีรสหวาน อย่างเช่น น�ามาท�าลูกอม และน�ามาแต่งรสในการท�าเครื่องดื่มอีกด้วย Juniper Berry จูนิเปอร์เบอรี มีรูปร่างเหมือนผลเบอรี นิยมน�ามา ใช้เป็นเครื่องเทศ โดยใช้ได้ทั้งแบบสดและแห้ง และน�ามาใช้ทา� น�า้ มันหอมระเหย โดยจูนเิ ปอร์เบอรีนี้ คือส่วนผสมส�าคัญที่สร้างรสชาติเฉพาะของจิน Orris Root รากออริส รากของดอกไม้ชนิดหนึ่ง น�ามาใช้ใน การท�ายาแผนโบราณ ท�าหัวน�า้ หอม ท�าเครือ่ งดืม่ ประเภทจิน รวมไปถึงเป็นเครือ่ งเทศในการท�าอาหาร แถบตะวันออกกลาง แอฟริกาเหนือ Angelica Root รากแองเจลิกา หรือรากโกฐสอ เป็นพืชสมุนไพร ทีน่ า� มาใช้ทา� ยาแผนโบราณ ใช้แก้ได้หลายอาการ เช่น ไซนัส แก้ไข้ แก้ริดสีดวง นอกจากท�ายาแล้ว ก็ ยั ง น� า ไปใช้ เ ป็ น ส่ ว นผสมของเครื่ อ งส� า อาง และใช้เป็นส่วนผสมในการท�าเครื่องดื่มด้วย Coriander Seed ลูกผักชี เครื่องเทศที่เราคุ้นเคยกันดี ปกติก็จะ น�ามาใช้ปรุงอาหารคู่กับยี่หร่า แต่ส�าหรับการท�า เครื่องดื่ม ลูกผักชีก็เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ เพราะด้วย คุณสมบัติที่มีน�้ามันหอมระเหย จึงมีการน�ามา ใช้ ผ สมผสานเพื่ อ เพิ่ ม กลิ่ น ที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ เฉพาะตัว Cassia Bark เปลือกต้นแคสเซีย หรืออบเชยจีน เป็นต้นไม้ที่อยู่ ในตระกูลเดียวกับอบเชย จะมีความแตกต่างกัน เพียงเล็กน้อย และมีหลายสายพันธุ์ เช่น อบเชยจีน อบเชยญวน อบเชยชวา Cubeb ชือ่ ไทยว่าพริกหาง หรือ tailed pepper มีถนิ่ ก�าเนิด ในประเทศอินโดนีเซีย เมื่อได้ผลที่แก่จัดจะน�าไป ตากแห้ง ก็จะได้พริกหางทีม่ ลี กั ษณะเป็นลูกกลมๆ ที่มีส่วนก้านติดอยู่ด้วย จุดเด่นของมันคือจะมี น�้ามันระเหยออกมา Grains of Paradise เกรนออฟพาราไดส์ เป็นพืชตระกูลขิง มีถนิ่ ก�าเนิด ในแอฟริกาตะวันตก ซึง่ ดัง้ เดิมจะเป็นการน�าเมล็ด มาใช้ปรุงอาหารในแถบนี้ ต่อมามีการแพร่หลาย ไปกับขบวนคาราวานที่ผ่านทะเลทรายซาฮารา และปัจจุบันก็มีการน�าไปใช้ปรุงรสในเครื่องดื่ม หลายๆ ประเภท Alcohol แอลกอฮอล์ ส่วนผสมหลักของเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ทั้งหลาย โดย Bombay Sapphire นั้นจะมีปริมาณ แอลกอฮอล์อยู่ที่ 40% ซึ่งกระบวนการกลั่นนั้น ก็ จ ะมี ก ารน� า แอลกอฮอล์ ไ ปผ่ า นส่ ว นผสมทั้ ง 10 อย่างข้างต้น เพื่อให้กลิ่นและรสชาติของ เครื่ อ งเทศท� า ปฏิ กิ ริ ย าจนได้ ก ลิ่ น และรสชาติ ออกมา


HOME MADE

Love it, Live it เรื่อง : นภษร ศรีวิลาศ ภาพ : วงศกร ยี่ดวง

เพียงครัง้ แรกทีก่ า้ วเท้าเข้าเขตบ้านของ ‘บาส’ - ธีรทัศน์ แผ่สวุ รรณ ครีเอทีฟ ไดเร็กเตอร์แห่ง SWAT Thailand ก็รสู้ กึ ราวกับต้องมนตร์ เหมือนหลุดเข้าไปในอยูใ่ น Pinterest โซเชียลมีเดียสุดฮิตของคนสายงานครีเอทีฟทีร่ วบรวมผลงานออกแบบและความคิดสร้างสรรค์มากมายอย่างไรอย่างนัน้ ทัง้ บรรยากาศของสวนสวยรสนิยมดีทที่ กุ อย่างจัดเรียงอย่างลงตัว และตัวบ้านที่โทนสีของแต่ละห้องตอบรับเป็นอย่างดีกับแสงธรรมชาติที่สาดส่องเข้ามา ท�าให้ต้องรีบกด Pin it เก็บเข้าอัลบั้ม Reference โปรดแบบรัวๆ

“ที่เก็บของที่เราชอบ”


พบกับ a day BULLETIN และ a day BULLETIN LIFE ุงเทพฯ ได้แล้ววันนี้ที่สตาร์บัคส์ 40 สาขาทั่วกร

จุดเริ่มต้นของบ้านหลังนี้ “ก่ อ นหน้ า นี้ เ ราอยู ่ คอนโดมิเนียมมาก่อน พอโตขึน้ เราก็รสู้ กึ ว่าทีแ่ คบ ลง เพราะเราเก็บของเยอะมาก เก็บทัง้ ของเก่าและ ของสะสม จึงเริ่มต้นมองหาบ้านแบบทาวน์เฮาส์ โดยคิดไว้ว่าอยากจะปลูกต้นไม้ให้ล้อมๆ บ้าน เวลามองไปทางไหนก็เจอสีเขียวๆ และได้ใช้เป็น ทีบ่ งั ตาไปด้วย พอได้มาเจอกับทีน่ กี่ ช็ อบ จึงลงมือ รี โ นเวตใหม่ โ ดยที่ เ ราไม่ ไ ด้ มี ส ถาปนิ ก หรื อ นักออกแบบภายในมาช่วย เราคิดเองท�าเองหมด คิดจากของทีเ่ ราเก็บสะสมไว้ และตรงไหนในบ้าน ที่ เ ราพอท� า อะไรได้ ก็ ค ่ อ ยๆ คิ ด ค่ อ ยๆ ท� า ไป ตอนที่ท�าบ้านหลังนี้ ช่างมาอยู่มานอนกันที่นี่ เกือบปี เพราะพอเรานึกอะไรออก หรือเห็นแบบ ที่ชอบในหนังสือหรือในอินเทอร์เน็ต และดูแล้ว มีความเป็นไปได้ ก็จะให้ช่างช่วยประเมินให้ว่า ต้องใช้อุปกรณ์อะไร เท่าไหร่บ้าง แล้วเราก็ไปซื้อ ของมาให้เขาท�าให้ (หัวเราะ)” บ้านที่เปรียบเสมือนห้องเก็บของ (ที่รัก) ขนาด ใหญ่ “คงเพราะเราเรียนมาทางศิลปะ และนักเรียน ศิ ล ปะทุ ก คนจะชอบอะไรที่ มั น ไม่ เ หมื อ นใคร อยู่แล้ว ซึ่งพอเราเห็นอะไรที่ท�าให้รู้สึกว่าน่าจะมี ชิ้นเดียว อย่างพวกภาพเขียนหรือพวกเขาสัตว์ ที่มีรูปทรงเป็นเอกลักษณ์ในแต่ละชิ้น เราก็จะซื้อ มาเก็บสะสมไว้ ตอนที่อยู่คอนโดฯ เราก็ติดผนัง หรื อ กองไว้ บ ้ า ง แต่ พ อย้ า ยมาอยู ่ บ ้ า นหลั ง นี้ นอกจากเราจะมีทจี่ ดั วางของแต่ละชิน้ แล้ว เรายัง เก็บสะสมพวกชิ้นใหญ่เพิ่มขึ้นด้วย” บรรยากาศของบ้านและมุมโปรด “เพราะเราชอบ ปลูกต้นไม้ เราจึงจัดสรรพื้นที่ชั้นล่างให้เป็นสวน ส่วนในตัวบ้านมีหอ้ งครัวและห้องนัง่ เล่น ชัน้ ทีส่ อง

เป็นห้องนอนและห้องท�างาน ชั้นที่สามเป็น ห้องเก็บของกับพืน้ ทีซ่ กั ผ้าและตากผ้า แน่นอน ส่วนของบ้านที่เราชอบมากที่สุดก็คือในสวน และแม้ว่าเราจะใช้เวลาท�างานอยู่ข้างนอก เสียเยอะ แต่หากวันไหนที่อยู่บ้านเราก็มัก จะอยูใ่ นสวนซึง่ มีอะไรให้ท�าเยอะนะ อย่างแยก ต้นไม้ที่มันออกลูกแตกหน่อ เปลี่ยนกระถาง และอื่นๆ ที่ต้องใส่ใจดูแลกันไป” ความสุขจากบ้านหลังนี้ “บ้านหลังนีต้ อบโจทย์ ชีวิตเรา ทั้งเรื่องความเงียบ มีพื้นที่ปลูกต้นไม้ มีพื้นที่ส�าหรับเก็บของเก่า ส�าหรับเราแค่นี้ก็ เพียงพอแล้วนะ ในชีวติ คนเราจะต้องการอะไร (หัวเราะ) และเพราะหน้าทีก่ ารงานของเราทีต่ อ้ ง คิดตลอดเวลา การได้มาอยูใ่ นบ้านหลังนีก้ ท็ า� ให้ เราคิดอะไรออกเยอะขึน้ เหมือนกับว่าหันไปเจอ สิง่ นีก้ ค็ ดิ ออก หันไปอีกทางเจอกับสิง่ นัน้ ก็คดิ ออก ซึ่งทุกส่วนในบ้านล้วนมีสิ่งละเล็กละน้อยที่มา รวมกันและสะท้อนความเป็นตัวเรา อย่างสีผนัง แต่ละห้องเราก็เลือกเองและทาสีเอง และทีส่ า� คัญ คงเป็นเพราะสเปซที่มีมากขึ้นด้วย”

• ของยึ ด เหนี่ ย วทางใจที่ ส ะสมไว้ ... ภาพเขียนของอาจารย์และศิลปินชาวไทย ซึ่งเรารักและเคารพทุกท่าน ท่านที่ชอบ เป็นพิเศษ คือ อาจารย์ประทีป คชบัว • ตลาดต้นไม้แหล่งโปรด... ถ้าก�าลัง มองหาต้นไม้ แนะน�าให้ไปที่คลอง 15 ทีน่ ครนายก เขาขายต้นไม้กนั เป็นต�าบลเลย ใหญ่มากๆ ขนาดประมาณ 50 เท่าของ สวนจตุจกั ร เป็นตลาดต้นไม้ทจี่ ริงจังมาก • ของสะสมทีข่ ดั กับบุคลิก... snow globe เป็นของสะสมทีเ่ พือ่ นๆ ซือ้ มาฝากเราเสมอ โดยเราจะเขียนชื่อผู้ให้และสถานที่นั้น ไว้ใต้ลูกแก้วด้วย

••เซ็เซ็นนทรั ทรัลลลาดพร้ ลาดพร้าาววชัชั้น้น22 ••เซ็เซ็นนทรั ทรัลลพระราม พระราม99ชัชั้น้น11 ••สยามพารากอน สยามพารากอนชัชั้น้น11 ••สยามพารากอน สยามพารากอนชัชั้น้น33 ••สยามเซ็ สยามเซ็นนเตอร์ เตอร์ชัชั้น้น33 ••เซ็เซ็นนทรั ทรัลลเวิเวิลลด์ด์ชัชั้น้น33โซน โซนAA ••Big BigCCเอกมั เอกมัยย ••เอ็เอ็มมโพเรี โพเรียยมมทาวเวอร์ ทาวเวอร์ ••เอ็เอ็มมโพเรี โพเรียยมมมอลล์ มอลล์ชัชั้น้น55 •• จีจีเเอ็อ็มมเอ็เอ็มมแกรมมี แกรมมี่ ่เพลส เพลส •• ทองหล่ ทองหล่ออ (ระหว่ (ระหว่าางทองหล่ งทองหล่ออซ.11 ซ.11และ และ13) 13) •• มาร์ มาร์เเก็ก็ตตเพลส เพลส ทองหล่ ทองหล่ออซ.4 ซ.4 ••เอ็เอ็มมไพร์ ไพร์ทาวเวอร์ ทาวเวอร์ชัชั้น้นGG ••ออล ออลซีซีซซันันเพลส เพลส ••อาคารอื อาคารอือ้ อ้ จืจืออเหลี เหลียยงงชัชัน้ น้ GG ••หลั หลังงสวน สวน ••สีสีลลมคอมเพล็ มคอมเพล็กกซ์ซ์ ••ไทมส์ ไทมส์สแควร์ สแควร์ซ.สุ ซ.สุขขมุ มุ วิวิทท12 12 ••ไทยพาณิ ไทยพาณิชชย์ย์ปปาร์ าร์กกพลาซ่ พลาซ่าาชัชั้น้น11 ••จามจุ จามจุรรีสีสแควร์ แควร์ ••The The19th. 19th.ชิชิดดลม ลม ••อาคารเมื อาคารเมือองไทยภั งไทยภัททรคอมเพล็ รคอมเพล็กกซ์ซ์ ••IDEO IDEOพญาไท พญาไท ••โรงพยาบาลบำ โรงพยาบาลบ�าารุรุงงราษฎร์ ราษฎร์ชัชั้น้น11 ••โรงพยาบาลบำ โรงพยาบาลบ�าารุรุงงราษฎร์ ราษฎร์สกายล็ สกายล็ออบบี บบี้ ้ชัชั้น้น10 10 ••โรงพยาบาลสมิ โรงพยาบาลสมิตติเิเวช วชซอยสุ ซอยสุขขุมุมวิวิทท49 49 ••โรงพยาบาลกรุ โรงพยาบาลกรุงงเทพ เทพชัชั้น้น11 ••โรงพยาบาลรามาธิ โรงพยาบาลรามาธิบบดีดี ••โรงพยาบาลพระราม โรงพยาบาลพระราม99 •The •TheCrystal Crystal ••CDC CDC ••RCA RCA ••นวมิ นวมินนทร์ ทร์ซซิติตี้อี้อเวนิ เวนิวว ••นวมิ นวมินนทร์ ทร์ททาวน์ าวน์เเซ็ซ็นนเตอร์ เตอร์ ••The TheNine NineCenter Center ••Terminal Terminal21 21 ••The TheWalk Walkเกษตร-นวมิ เกษตร-นวมินนทร์ ทร์ ••The ThePromenade Promenade ••The TheScene Sceneทาวน์ ทาวน์ออินินทาวน์ ทาวน์

aaililaanndd •• SSOOHHOOTThh งง ถถนนนนบบำา�ารรุงุงเมเมือือnnถถนนนนจจนั นั ททนน์ ์ ••VVaannillillaaMMooooaarere11 ••SSiaiammSSqquu าามมยย่า่านน ••I’I’mmPPaarkrkสสMMaallllววัชัชรรพพลล ••PPleleaarnrnaaryry ังังหหินิน ••TThheeJJAASSวว ••ทท่า่ามมหหาารราาชช าาววเวเวออรร์ ์ ••ออาาคคาารรซซันันททุลุลรราาฮฮิมิมเพ เพลลสส ••ออาาคคาารรออับับดดรรททาาววเวเวออรร์ ์ ••ออาาคคาารรสสินินธธลลพพญญาาไทไท22 ••โรโรงงพพยยาาบบาา rr ••EEmmQQuuaartrtieieรรซซิติตี้ที้ทาาววเวเวออรร์ ์ ••ออาาคคาารรสสาาธธ RRiviveerrWWaalklk imaann ••YYooddppim รระระราามม99 la la ••UU--PP cceeพพ


MAKE A DISH

Crunchy Prawn Quinoa Salad เรื่อง : ไอรดา รื่นภิรมย์ ใจ ภาพ : มณีนุช บุญเรือง

หลังจากเดินช้อปปิ้งในห้างดิ เอ็มควอเทียร์ จนอ่อนแรง แวะเข้ามาเติมพลังกายและก�าลังท้องได้ที่ร้าน Vanilla Cafeteria ร้านน้องใหม่จากเครือร้านวานิลลา ภายในร้านตกแต่งสไตล์เรียบง่าย มีความคลาสสิกแต่ยังคงทันสมัย สั่ง สลัดคีนัวและกุ้งเทมปุระ อาหารคลีนๆ ที่มีความกรุบกรอบของคีนัว ผักและกุ้งเทมปุระอย่างครบรส นอกจากเรื่องรสชาติแล้ว หน้าตาของอาหารจานนี้ก็ยังดูน่ารักน่าทานเสียจนต้องหยิบกล้องขึ้นมาแชะแบบรัวๆ เลยทีเดียว

Chef

วัลยาพร กะลัมพะเหติ

CRUNCHY PRAWN QUINOA SALAD ราคา : 480 บาท

INGREDIENTS คีนัว / กุ้ง / ร็อกเก็ต / ไวด์ ร็อกเก็ต / บลูเบอรี / ฟักทอง / พริกหวาน / แครอต / น�้าสลัด

CHEF's Inspiration เทรนด์ของการรักษาสุขภาพและทานอาหารเฮลตี้เริ่มมีให้เห็นตามเมนู ในร้านอาหารต่างๆ เยอะขึ้น เราจึงคิดจะท�าเมนูเฮลตี้บ้าง แต่ยังอยากจะให้ เป็นเมนูที่ทานอร่อย ก็เลยเลือกใช้คีนัว ธัญพืชที่ก�าลังเป็นที่นิยมอยู่ในตอนนี้ มันมีความทานง่ายในสไตล์แบบฝรัง่ ผสมผสานกับความเป็นญีป่ นุ่ ทงั้ กุง้ เทมปุระ แบบกรอบๆ และไข่ปลาทาราโกะ ก็ยิ่งเพิ่มความกรุบกรอบในปากมากขึ้น

TIPS การต้มคีนวั ไม่ได้ท�ากันง่ายๆ เราต้องใส่นา�้ ให้พอดีกบั ปริมาณคีนวั ทีต่ ม้ เพือ่ ให้คนี วั ดูดซับน�า้ เข้าไปอย่าง พอดี ไม่แฉะมากเกินไป แล้วก็ต้อง ต้มในเวลาที่เหมาะสมด้วย


THE 5IVE

Nothing Better เรื่อง : ไอรดา รื่นภิรมย์ ใจ

ไม่มีอะไรจะดีไปกว่าการเปิดเพลงที่ชอบฟังระหว่างการเดินทาง ให้เสียงเพลงและสถานที่เหล่านั้นท�าหน้าที่เป็นตัวเปลี่ยนอารมณ์และความรู้สึกของเราให้ลอยไหล ไปยังดินแดนแห่งความสุนทรีย์ เช่นเดียวกันกับเพลงทั้ง 5 อัลบั้มของ ‘มอร์’ - วสุพล เกรียงประภากิจ นักร้องน�าจากวง Ten to Twelve ที่เลือกฟังเพลงจากความรู้สึก และชอบหยิบเพลงเหล่านี้มาฟังในวันที่ร่างกายเคลื่อนไปข้างหน้า ออกเดินทาง ขับรถ หรือแม้แต่ฟังระหว่างที่วิ่งก็ตาม 1. DEJA ENTENDU : BRAND NEW

“ช่วงที่เรียน ม.5 เราชอบฟังเพลงของวงอีโม ส�าหรับวงนี้เขามีการเขียนเนื้อเพลงที่ไม่ใช่วิธี แบบเพลงพ็อพ เขาเขียนเพลงที่เราฟังแล้วเห็นภาพหรือเป็นการอธิบายอะไรบางอย่างแบบกวี เล่าเรื่องอ้อมๆ แต่เข้าใจ อย่างเช่น Every picture you paint, I will paint myself out. เนื้อเพลงนี้ มันใช้คา� ธรรมดาแต่มันให้ความรู้สึกที่สวยงาม” Recommended Tracks : The Boy Who Blocked His Own Shot, The Quiet Things That No One Ever Knows และ Jaws Theme Swimming

"I'LL GROW OLD. START ACTING MY AGE. I'LL BE A BRAND NEW DAY IN A LIFE THAT YOU HATE." THE BOY WHO BLOCKED HIS OWN SHOT - BRAND NEW

2. Torches : Foster the people

“ เ ห ตุ ผ ล คื อ ช อ บ (หัวเราะ) ตอนทีฟ่ งั ครัง้ แรก แ ล ้ ว คิ ด ว ่ า มั น ดี ม า ก แต่ คิ ด ในใจว่ า ท่ า จะดั ง ยากน่ า ดู ตั ด ภาพไปคื อ เพลงมั น ดั ง มาก คื อ มั น เป็ น การผสมผสานของ ความพ็ อ พและความเอาแต่ ใ จตั ว เองได้ อ ย่ า ง ลงตัว” Recommended Tracks : Pumps up Kicks, Waste และ I Would Do Anything For You

3. ROMANTIC COMEDY: Apartment Khunpa “อพาร์ตเมนต์คุณป้าเป็นวงที่เราชอบมากตั้งแต่ ช่วงมหาวิทยาลัยแล้ว ฟังครั้งแรกคือรู้สึกว่าเป็นวงที่ ไม่เหมือนวงไหนในประเทศไทยเลย ไม่มใี ครเขียนเนือ้ เพลง แบบนี้ เรารูส้ กึ กับเพลงของเขามากๆ ในอัลบัม้ Romantic Comedy เราชอบเพลงที่เป็นภาษาอังกฤษของพี่ตุล มาก มันมีความ abstract แต่เรารู้สึกและเข้าใจได้” Recommended Tracks : ไม่รู้จักฉัน ไม่รู้จักเธอ, You could be My Friend และ Is She Me?

"THE BOUNDARIES OF LANGUAGE I QUIETLY CURSED. ALL THE DIFFERENT NAMES FOR THE SAME THING."

DIFFERENT NAMES FOR THE SAME THING - DEATH CAB FOR CUTIE

4. YES! : JASON MRAZ

“เขาไปไกลมากกว่าการท�าเพลงพ็อพ ที่เพราะแล้ว เราว่าเขาท�าเพลงเพื่อโลก ล่ า สุ ด เราเพิ่ ง ไปเดิ น ขึ้ น ภู ก ระดึ ง มา แล้วตอนที่เดินมันเหนื่อยมาก เราก็เปิด เพลงอัลบั้มนี้ฟังแล้วรู้สึกว่ามันดีจังเลย รู้สึกว่ามันเป็นเพลงที่ไปไกลกว่าเพลง ทั้ ง หลาย เป็ น เหมื อ นยาที่ ฟ ั ง แล้ ว ผ่อนคลาย” Recommended Tracks : Hello, You Beautiful Thing และ You Can Rely on Me

5. PLANS : DEATH CAB FOR CUTIE

“เป็ น อั ล บั้ ม หนึ่ ง ที่ เ ราฟั ง บ่ อ ยที่ สุ ด ในรอบสามปี ที่ ผ ่ า นมา เนื้ อ เพลงมั น มี ความเป็นกวี ทั้งสวยงามและสละสลวย ถื อ เป็ น เพลงที่ ฟ ั ง เพื่ อ การพั ก ผ่ อ นที่ ดี ชุดหนึ่งของเราเลย พอฟังหลายๆ ครั้ง ภาพในหัวเรา ความหมาย และความรู้สึก ก็เปลีย่ นไปเรือ่ ยๆ ตามสถานที่ เป็นอัลบัม้ ทีเ่ ราชอบฟังระหว่างการเดินทางในหลายๆ รูปแบบ ทั้งวิ่ง ขับรถ หรือเดิน” Recommended Tracks : Different Names for the Same Thing, Summer Skin และ Your Heart is an Empty Room


SELECTIVE

Once Upon a Time เรื่อง : ไอรดา รื่นภิรมย์ ใจ ภาพ : มณีนุช บุญเรือง

การไปเดินเล่นช้อปปิ้งใน flea market แบบท้องถิ่นในต่างประเทศ เป็นสิ่งที่ ‘แนต’ - ภัศนันท์ ธราจรัสพัฒน์ ดีไซเนอร์เจ้าของแบรนด์แว่น Rosemanclub ชื่นชอบ โดยเฉพาะปารีสและบรู๊กลิน ดินแดนที่เต็มไปด้วยของเก่าคุณภาพดีและมีเสน่ห์จนท�าให้เธอได้ของติดไม้ติดมือกลับมาด้วยเสมอ ยืนยันความชื่นชอบของเก่าได้จากสิ่งของที่เธอเลือกมาบอกเล่ากับเราในหน้ากระดาษแผ่นนี้

2

1

3

5

4

7

6 11

10 8

13 12

9

1. นาฬิกาข้อมือ “นาฬิกาเรือนนีเ้ ป็นของคุณพ่อ หน้าปัดท�ามาจากทองแท้ทพี่ อ่ เล่าว่าสมัยนัน้ ทองยังราคาแค่ไม่กบี่ าทเอง” 2. ชุดเรขาคณิต “หาอุปกรณ์แบบนีไ้ ด้ยากแล้วในปัจจุบนั ” 3. เครือ่ งพิมพ์ดดี Royal “เราไปเจอเครือ่ งพิมพ์ดดี นีท้ ปี่ ารีสก็เลยซือ้ มาแล้วก็เอามาซ่อมทีเ่ มืองไทย ข้างๆ ตัวเครือ่ งเป็นกระจกคริสตัลทีส่ ามารถมองเห็นกลไกระหว่างทีพ่ มิ พ์ได้” 4. โบไท “สี crimson red มันสามารถแมตช์กบั เสือ้ ผ้า ทุกชุดได้” 5. กล้องกระโปรง “แม้วา่ กล้องตัวนีจ้ ะใช้ไม่ได้แล้ว แต่เราชอบรูปทรงของมัน ก็เลยยังเก็บไว้” 6. กล้องส่องทางไกล “เราสัง่ ซือ้ กล้องตัวนีม้ าจากอินเดีย ชอบในความเล็กและรูปร่างของมัน” 7. ไฟแช็ก Dupont 8. ตัวปัม๊ postal “เจออันนีก้ ว็ งิ่ เข้าไปซือ้ เลย เพราะเรารูส้ กึ ว่าของเก่ามันคุณภาพดี” 9. หนังสือปกแดง “เราชอบหยิบจับมันมาดูเล่น” 10. Money clip 11. หนังสือท�าแว่น “เนือ้ หาก็เล่าเรือ่ งการท�าแว่น” 12. แว่นกันแดด “เป็นแว่นของ Rosemanclub ซึง่ เราชอบรูปทรงของมัน” 13. แว่น Bianco “เป็นยีห่ อ้ ทีป่ จั จุบนั ปิดตัวไปแล้ว มันเป็นแบรนด์ทมี่ เี อกลักษณ์มาก ถ้าเจอแว่นแบรนด์นที้ ไี่ หนก็จะซือ้ เก็บไว้ตลอด”


Lady Season

ยินดีตอนรับสูเดือนสุภาพสตรียิ้มหวาน ดวยโปรโมชั่นสําหรับสาวรักการอาน ตลอดเดือนสิงหาคมนี้ เฉพาะสั่งซื้อออนไลนที่ godaypoets.com เทานั้น FOR ALL

S A L E U P % T O 35 o f f


PRESENTS

N U R 5 201

G N I N N U R KEEP

30.08.15

เตรียมชุดวิ่งให้พร้อม ผูกเชือกรองเท้า แล้วก้าวขาออกจากบ้านมาท้าทายตัวเองพร้อมกัน ในงาน HUMAN RUN 2015 มหกรรมการวิ่งประจำาปีของนิตยสาร a day ซึ่งปีนี้มาในธีม KEEP RUNNING ที่จะชวน คนทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ ให้ออกวิ่งอย่างต่อเนื่องเพื่อไปให้ ไกลกว่าที่เคย เพราะเราเชื่อว่า หากไม่หยุดวิ่ง ขาทั้งสองข้างของเราจะพาเราไปสู่ชีวิตที่ดีกว่าในอนาคต


DISTANCE RUNNING

ออกวิ่งในระยะทางที่ ไกลกว่าที่เคย โดยงานวิ่งครั้งนี้มีให้เลือกตั้งแต่

5 10 21

FUN RUN

MINI MARATHON

HALF MARATHON

กิโลเมตร

กิโลเมตร

กิโลเมตร

30.08.15 มาพ�สจู นความอึดพร้อมกันทีส่ นามฟ�ตบอลมหาวิทยาธรรมศาสตร ท่าพระจันทร งานนี้นอกจากนักวิ่งทุกระยะจะได้รับเสื้อยืดและเหรียญรางวัล พร้อมสุขภาพที่ดี ยังมีบูทอาหารและเครื่องดื่มเย็นสดชื่นมากมายไว้ต้อนรับนักวิ่งที่เส้นชัยด้วย

*** รับสมัครจํานวนจํากัด 4,000 คน

สมัครผานระบบ online ที่ www.gotorace.com โดยทุก 100 บาทของคาสมัครตอ 1 คนจะบร�จาคใหกับมูลนิธิสืบนาคะเสถียร ตั้งแต 23 กรกฎาคม 2558 ถึงวันที่ 2 สิงหาคม 2558 (หร�อจนกวาจะเต็ม)

adaymagazine daypoets.com

ติดตามรายละเอียดการสมัครและรวมเปนสวนหนึ่งใน

การไฟฟานครหลวง Presents HUMAN RUN 2015

EXPO DAY 22-23.07.15 EDEN 3 CENTRAL WORLD co-sponsors

วันรับเสื้อและหมายเลขว�่ง

นำาเอกสารยืนยันการชำาระเงินในอีเมลจาก gotorace.com พร้อมบัตรประจำาตัวประชาชนแสดงต่อเจ้าหน้าที่เพื่อรับเสื้อ และหมายเลขวิ่ง

เวลา

11:00-20:00 running partners


OUT THERE

Cusco ไม่มีดวงอาทิตย์ ไม่มีชีวิต นี่คือสิ่งที่ชาวอินคาต่างเชื่อกันมาตั้งแต่เมื่อ 5,000 ปีก่อนคริสตกาล ในศตวรรษที่ 10 อาณาจักรอินคาอันกว้างใหญ่มีความเปลี่ยนแปลงครั้งส�าคัญ เหตุเพราะชาวเมืองต้องเผชิญกับความแห้งแล้ง ดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดอย่างเมืองกุสโกจึงได้เป็นเมืองหลวงที่ส�าคัญขึ้นมา ปัจจุบันกุสโกคือเมืองส�าคัญของประเทศเปรู เพราะเป็นเมืองมรดกโลก ที่ตั้งของมาชูปิกชู และเป็นเมืองแห่งประวัติศาสตร์ที่บอกเล่าความรุ่งเรืองของชนชาวอินคาในอดีต หากในชีวิตอยากสัมผัสความมหัศจรรย์ ของหนึ่งในอารยธรรมที่เคยรุ่งเรืองบนโลกใบนี้ ควรเดินทางมาเยือนเมืองกุสโก เมืองหลวงในอดีตของชาวอินคา


The city Facts กุสโกเป็นเมืองโบราณของเปรูทตี่ งั้ อยู่ ทางตะวันออกเฉียงใต้ ในอดีตเคยเป็น เมื อ งหลวงของชาวอิ น คามาตั้ ง แต่ ต้นคริสต์ศตวรรษ ก่อนทีช่ าวสเปนจะเข้ามา รุ ก รานและย้ า ยเมื อ งหลวงมาที่ ลิ ม า เพราะกุสโกเคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักร อินคามาก่อน ดังนั้น ที่นี่จึงเต็มไปด้วย สิง่ ก่อสร้างยุคโบราณหลายแห่ง บางแห่ง ยั ง คงสมบู ร ณ์ แ บบและน่ า มหั ศ จรรย์ เนือ่ งจากไม่เคยผ่านการยึดครองจากสเปน อย่างเช่น มาชูปกิ ชู เมืองบนหน้าผาทีห่ ลายคน รูจ้ กั บางแห่งก็คงเหลือแต่รอ่ งรอยในอดีต เพราะมีการสร้างโบสถ์ชาวคริสต์ทบั เอาไว้ แต่ถึงอย่างไรการมาเยือนกุสโกก็ยังให้ ความพิเศษแตกต่างจากเมืองไหนๆ ในโลก

ใจกลางเมืองกุสโกเป็นที่ตั้งของสิ่งก่อสร้างที่ส�าคัญหลายแห่ง เช่น จัตุรัสอาร์มาส ที่นี่เป็นศูนย์กลางของอาณาจักรอินคามาตั้งแต่ยุคโบราณ มีความส�าคัญด้านการค้า ศิลปวัฒนธรรม และการจัดพิธีกรรมหลายอย่าง ของชาวอินคา ว่ากันว่าในอดีตหากเดินทางมายังทีจ่ ตั รุ สั แห่งนี้ จะเห็นสีทอง เหลื อ งอร่ า มจากวิ ห ารและสิ่ ง ก่ อ สร้ า งโดยรอบที่ ห ่ อ หุ ้ ม ด้ ว ยทอง อันแสดงให้เห็นถึงความมั่งคั่งของอาณาจักรอินคาในอดีต


ปัจจุบนั ใจกลางเมืองกุสโกจะมีโบสถ์ชาวคริสต์ ที่ส�าคัญๆ หลายแห่ง โบสถ์เหล่านี้สร้างขึ้นโดย ชาวสเปนทีเ่ ข้ามายึดครองอินคาในช่วงปี ค.ศ. 1531 โดยสร้างทับวิหารเทพเจ้าของชาวอินคาเอาไว้ โบสถ์ที่ควรไปเยือนอย่างเช่น มหาวิหารกุสโก ซึ่งเคยเป็นวิหารเทพเจ้าของชาวอินคา ภายใน ประดับด้วยทองและเพชรรวมถึงของมีคา่ มากมาย เมือ่ ชาวสเปนเข้ายึดครองก็ได้ขนทรัพย์สมบัตเิ หล่านี้ ไปจนหมด และได้สร้างโบสถ์ทับวิหารเทพเจ้า ปั จ จุ บั น ยั ง คงมี ร ่ อ งรอยความสวยงามของ วิหารเทพเจ้าอยู่


"GOING TO PERU IS, WELL, IF YOU EVER HAVE AN OPPORTUNITY IN YOUR LIFE TO GO THERE, YOU SHOULD DO IT BECAUSE IT IS ABSOLUTELY MIND BOGGLING." DEAN STOCKWELL, AN AMERICAN ACTOR

โบสถ์ซานโต โดมิงโก ก็เป็นอีกสถานทีห่ นึง่ ทีช่ าวสเปนมายึดครองแล้วสร้างโบสถ์ทบั วิหารสุรยิ เทพทีช่ อื่ ว่า คอริกนั ชา วิหารแห่งนี้ ชาวอินคาสร้างขึน้ เพือ่ บูชาสุรยิ เทพ และยังเป็นทีอ่ ยูข่ องนักบวชและผูถ้ กู เลือกส�าหรับการประกอบพิธกี รรมบูชาต่างๆ ความพิเศษอย่างหนึง่ ของวิหารแห่งนีค้ อื จะมีแสงอาทิตย์ลอดผ่านได้ทกุ ประตู ปัจจุบนั ก็ยงั คงเหลือร่องรอยสิง่ ก่อสร้างส�าคัญในอดีตอยูม่ าก และโบสถ์แห่งนี้ ก็ได้น�าเอาอิฐเก่าๆ ของวิหารมาเป็นวัสดุในการก่อสร้างด้วย ซึ่งเป็นการผสมผสานได้อย่างสวยงามและลงตัว โบสถ์ส�าคัญอื่นๆ ก็อย่างเช่น Church of the Society of Jesus โบสถ์สไตล์บาโร้กทีส่ ร้างในปี ค.ศ. 1576

และทีเ่ ป็นเหมือนเพชรยอดมงกุฎของเมืองกุสโก เลยก็คือเมืองโบราณมาชูปิกชู ที่ตั้งอยู่ในหุบเขา แห่งลุม่ น�า้ อูรบู มั บา สร้างขึน้ โดยจักรพรรดิปาชากูตี ที่เคยปกครองดินแดนอินคาในช่วงปี ค.ศ. 1450 นักโบราณคดีเชื่อกันว่ามาชูปิกชูสร้างขึ้นเพื่อเป็น พระราชวังฤดูร้อนของจักรพรรดิและคนส�าคัญ ของอาณาจักร โดยมีการแบ่งพืน้ ทีเ่ ป็น 3 ส่วน คือ ส่วนเพาะปลูก ส่วนอาศัย และส่วนประกอบพิธกี รรม บู ช าสุ ริ ย เทพ และเป็ น เพี ย งเมื อ งเดี ย วใน อาณาจักรอินคาทีย่ งั คงความสมบูรณ์ไม่ถกู ท�าลาย เพราะเมื อ งนี้ ไ ม่ ไ ด้ ถู ก ชาวสเปนค้ น พบในช่ ว ง การยึดครอง และกว่าที่จะมีคนค้นพบเมืองนี้ก็ใน ปี ค.ศ. 1911 โดยนักประวัติศาสตร์ชาวอเมริกัน ชื่อ ไฮแรม บิงแฮม ทีส่ าม ปัจจุบนั ขึน้ ทะเบียนเป็น มรดกโลกทีจ่ า� กัดผูเ้ ข้าชมวันละ 500 คนเท่านัน้ ในช่วงเดือนมิถนุ ายนของทุกปี เมืองกุสโกจะมี การจัดงานบูชาสุริยเทพขึ้นเพื่อเป็นการจ�าลอง พิธกี รรมในอดีต ซึง่ ถือว่าเป็นงานพิเศษทีจ่ ะท�าให้ นั ก เดิ น ทางได้ เ ห็ น วั ฒ นธรรมและวิ ถี ชี วิ ต ของ ชาวอินคาได้เป็นอย่างดี การเดินบนเส้นทาง Inca trail ก็เป็นหนึง่ ในกิจกรรมทีน่ กั เดินทางส่วนใหญ่เลือกท�า นอกจากนั้นยังมีเส้นทางเดินขึ้นไปยังมาชูปิกชู อันเป็นหนึ่งในความท้าทายของผู้รักการผจญภัย ทีไ่ ม่อยากนัง่ รถไฟไปถึงในคราวเดียว สิง่ เหล่านีค้ ณ ุ จะได้พบในกุสโก และจะสร้างความประทับใจให้คณ ุ ไม่รลู้ มื WHAT YOU NEED TO KNOW สถานทูตเปรู ประจ�าประเทศไทย ชั้น 16 อาคารกลาสเฮาส์ 1 ซอยสุขุมวิท 25 วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0-2260-6243, 0-2260-6245 ประเทศเปรูยกเว้นวีซ่าส�าหรับคนไทย การเดินทาง สายการบินไทย www.thaiairways.co.th สายการบินเคแอลเอ็ม www.klm.com สายการบินลุฟท์ฮันซา www.lufthansa.com สายการบินแอร์ฟรานซ์ www.airfrance.com ใช้ระยะเวลาในการเดินทางประมาณ 36 ชั่วโมง


EVERY DOWN'S STORY

“ลองมองที่ปลายฟ้า มองให้สุดสายตา สิ่งที่เรามองเห็น เป็นเพียงแค่เส้นตรงที่เท่ากัน ไม่ต่างจากเธอฉัน เราเป็นเพียงแค่คนเช่นกัน” ส่วนหนึ่งจากเพลง ‘สุดสายตา’ เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง เดอะดาวน์ เนื้อร้อง / ท�านอง / เรียบเรียง : อภิชัย ตระกูลเผด็จไกร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.