รายงานภาวะเศรษฐกิจและ สังคมไทยปี พ.ศ. 2554 สานั กงานสภาที ป่ รึก ษาเศรษฐกิจ และสังคมแห่ งชาติ
รายงานภาวะเศรษฐกิจและ สังคมไทยปี พ.ศ. 2554 สานักงานสภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
คานา รายงานภาวะเศรษฐกิจและสังคมของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ปี พ.ศ.๒๕๕๔ จัดทาขึน้ โดยความร่วมมือระหว่างสานักงานสภาทีป่ รึกษา เศรษฐกิจ และสัง คมแห่ ง ชาติ และศู น ย์บ ริก ารวิช าการเศรษฐศาสตร์ คณะ เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการศึกษาวิจยั เพื่อการพยากรณ์ทางเศรษฐกิจและวิเคราะห์ภาวะสังคม โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ ศึกษา รวบรวมและประมวลเป็น ดัชนี /ตัวชี้วดั ทางเศรษฐกิจและสังคมที่ส ามารถ สะท้อนผลของการพัฒ นาประเทศตามแนวทางการพัฒนาที่ย ั ่งยืน และน าผล การศึกษามาสังเคราะห์ทดลองนาร่องเสนอในรูปรายงานภาวะเศรษฐกิจและสังคม ประจาปี รายงานภาวะเศรษฐกิจและสัง คมไทย ปี พ.ศ.๒๕๕๔ฉบับนี้ มีประเด็น ส าคัญ คือ ๑) ผลกระทบของเศรษฐกิจ ไทยจากมหาอุ ท กภัย และวิก ฤต ั หา เศรษฐกิจ โลก ๒) การพัฒ นาสุ ข ภาวะต้อ งเท่ า เทีย มและยั ่งยืน ๓) ป ญ ความท้าทายต่อการบริหารจัดการภาครัฐ สานักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติขอขอบคุณบุคคลและหน่ วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชนที่ได้ให้ความ อนุเคราะห์ขอ้ มูล ตลอดจนความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการจัดทารายงานฉบับ นี้ ซึง่ หวังเป็นอย่างยิง่ ว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ทางวิชาการต่อผู้ท่สี นใจ ศึกษาค้นคว้าเพิม่ เติมต่อไป
สานักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิ จและสังคมแห่งชาติ
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
สารบัญ หน้า บทสรุปผูบ้ ริหาร
ก
Executive Summary
ค
บทที่ 1 ผลกระทบของเศรษฐกิจไทยจากมหาอุทกภัย และวิกฤติเศรษฐกิจโลก
1
บทที่ 2 การพัฒนาสุขภาวะต้องเท่าเทียมและยังยื ่ น
25
บทที่ 3 ปญั หาสิง่ แวดล้อมและภัยพิบตั ิ ความท้าทายต่อการบริหารจัดการของภาครัฐ
49
บทที่ 4 บทส่งท้าย
65
บรรณานุกรม
67
ภาคผนวก
68
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
บทสรุปผูบ้ ริหาร สภาวะเศรษฐกิจไทยในปี พ.ศ. 2554 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) เติ บ โตในอั ต ราเพี ย งร้ อ ยละ 0.73 ระดั บ ของผลิ ต ภัณ ฑ์ ม วลรวม ภายในประเทศต่อประชากรมีมลู ค่าเท่ากับ 71,784 บาทต่อปี อยู่ท่อี นั ดับ 96 จาก ทัง้ หมด 190 ประเทศ โดยการสารวจของธนาคารโลก (World Bank) อัตราการ ว่างงานเฉลีย่ ทัง้ ปียงั อยูใ่ นระดับต่าทีร่ อ้ ยละ 0.66 อัตราเงินเฟ้อทั ่วไปเฉลี่ยเท่ากับ ร้อยละ 3.80 อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 2.36 ซึ่งยังคงอยู่ในกรอบ เป้าหมายเงินเฟ้อของธนาคารแห่งประเทศไทยทีร่ อ้ ยละ 0.5 – 3.0 ขณะทีร่ ะดับหนี้ สาธารณะของประเทศไทยในปีน้ีเพิม่ ขึน้ จากปีท่แี ล้ว แต่อย่างไรก็ตามสัดส่วนหนี้ สาธารณะต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเท่ากับร้อยละ 40.31 ยังคงอยู่ต่า กว่ากรอบความยั ่งยืนทางการคลังที่กาหนดให้ค่าสัดส่วนดังกล่าวต้องไม่เกินร้อย ละ 60 สภาวะสังคมไทย พบว่า จานวนแพทย์มไี ม่เพียงพอกับประชากร ซึ่งแสดง โดยอัตราส่วนประชากรต่อแพทย์ทส่ี งู ถึง 4,000 ต่อ 1 ในเรื่องครอบครัวแหว่งกลาง ภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ มี อ ัต ราส่ ว น ครอบครัว แหว่ ง กลางสู ง ที่ สุ ด คื อ ร้ อ ยละ 10 – 12 รองลงมาคือ ภาคเหนื อ (ร้ อ ยละ 8-9) และน้ อ ยที่สุ ด ใน กรุงเทพมหานครซึง่ มีสดั ส่วนเพียงร้อยละ 1-2 เท่านัน้ ขณะที่โอกาสในการศึกษา ของเด็กไทย พบว่าระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีอตั ราการคง อยูส่ งู กว่าร้อยละ 99 และร้อยละ 90 ตามลาดับ แต่ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับปริญญาตรีมอี ตั ราการคงอยู่ลดลงเป็นสูงกว่า ร้อยละ 60 และร้อยละ 30 ตามลาดับ นอกจากนี้ในด้านคุณภาพชีวติ ของแรงงาน พบว่า ยังมีความเหลื่อมล้า ระหว่างความปลอดภัยของแรงงานในระบบและนอกระบบอยู่มาก โดยเฉพาะการ เข้ารับการรักษาจากโรงพยาบาลที่แรงงานนอกระบบยังคงไม่ได้รบั สิทธิเทียบเท่า กับแรงงานในระบบ
ก
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
สาหรับสภาวะสิง่ แวดล้อมในปี พ.ศ. 2554 ด้านมลภาวะทางอากาศวัดโดย ปริมาณฝุน่ ละอองในอากาศ โอโซนระดับพืน้ ดิน ไนโตรเจนไดออกไซด์ และซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ พบว่า ส่วนใหญ่มคี ่าไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่ประกาศโดยกรมควบคุม มลพิษ ยกเว้น จังหวัดสมุทรปราการและนครราชสีมา ที่มรี ะดับฝุ่นละอองเกินกว่า เกณฑ์ ในด้านขยะจากข้อมูลปี พ.ศ. 2549 – 2553 ปริมาณขยะเฉลี่ยทัง้ ประเทศ อยูท่ ่ี 0.64 กิโลกรัมต่อหัวต่อวัน แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายภาคพบว่า ปญั หาขยะเพิม่ สูงขึน้ ในกรุงเทพมหานคร ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ด้านคุณภาพน้ า ผิวดินจากการวัดโดยดัชนีคุณภาพน้ าทั ่วไป (WQI) พบว่า โดยรวมในปี พ.ศ. 2554 ประเทศมีแหล่งน้ าที่มคี ุณภาพดีเพิ่มขึ้นและมีแหล่งน้ าคุณ ภาพเสื่อมโทรมที่ลดลง เมื่อ เทีย บกับ คุ ณ ภาพของแหล่ ง น้ า ผิว ดิน ในปี พ.ศ. 2550 เมื่อ พิจ ารณาการให้ ความส าคัญ กับการดูแลสิ่ง แวดล้อมจากภาครัฐ โดยวัดจากงบประมาณ จะพบว่า งบประมาณด้านสิง่ แวดล้อมต่องบประมาณรวมในปี พ.ศ. 2554 เหลือเพียงร้อยละ 1.79 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2550 ทีส่ ดั ส่วนหนี้มคี ่าเท่ากับร้อยละ 3.01 ประเด็นสาคัญของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2555 ที่ต้องจับตาการมอง ได้แก่ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายหลังวิกฤตอุทกภัย ผลกระทบจากนโยบายการขึน้ ค่าแรง 300 บาท ทีอ่ าจจะกระทบต่อการจ้างงานและการปิดกิจการ ผลกระทบของเศรษฐกิจ โลกทีจ่ ะกระทบต่อการส่งออกของไทย จากวิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรปและการฟื้นตัว ของเศรษฐกิจทีย่ งั เปราะบางของสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงการเตรียมความพร้อมและ ป้องกันไม่ให้เกิดวิกฤตมหาอุทกภัยเหมือนอย่างในปี พ.ศ. 2554 ทีผ่ ่านมา
ข
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
Executive Summary In 2011, Thailand is ranked the 96th out of 160 countries around the world in terms of GDP per head. An average Thai citizen earns about 71,784 THB per year. This number has grown at the rate of 0.73 per cent from the year before. According to surveys conducted by the National Statistical Office and data collected by the World Bank, Thailand’s unemployment rate is very low (around 0.66 percent). In addition, the inflation rate has been kept under the target set by the Bank of Thailand-- the headline inflation rate has been around 3.80 per cent, while the core inflation rate has been around 2.36 percent. The level of public debt in 2011 was about 40.31 percent. This level is still under the universal conservative benchmark of 60 percent of GDP. Overall, the 2011 main economic indicators suggest that Thailand has been progressing on a reasonably secured path. Nonetheless, the flagging signs of economic and social trade-offs has become more and more perceptible. Economics development comes with a higher cost of living. This leads more and more family breadwinners to relocate themselves to where jobs are relatively easy to find and money are relatively easy to earn. Most often than ever, the breadwinners don’t bring their children with them. The proportion of children under 15 living without parents had been constantly growing from 35.49 percent in 2006 to 40.29 percent in 2011. We also see geographical disparity in that children living in the rural area of the Northeastern region are the least likely to get to live with parents, while children living in Bangkok are the most likely to get to live with parents. As for education, the school attendance rates (both at the elementary and secondary level) have been high. In 2011, about 99 percent of children aged between 7-12 reported that they were attending elementary school, while about 90 percent of children aged between 13-15 reported that they were attending secondary school. Despite this satisfying statistics, we still lag miles behind our Asian peers. According to an assessment conducted by the OECD Programme for International Student Assessment (PISA), Thai students’ test scores on mathematics, reading and writing were only about 80 percent of those earned ค
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
by Japanese, South Korean and Chinese (Shanghai province) students. For Thailand, there is still a lot of room for improvement in terms of education quality. Considering health, we have seen that Thai doctors and nurses have been burdened with growing responsibility. In 2011, the number of population per doctor is 4,000:1 compared with only about 500:1 in most developed world. Despite the provision of universal health coverage by the government, it would not be surprising to see a high discrepancy in terms of health services and outcomes between the rich and the poor. In addition to the above issues, we also see a constant inequality in job safety between formal and informal workers. According to the Labor Force Survey conducted by the National Statistical Office, informal workers have been more likely to be injured from their jobs, but have been less likely to receive a proper hospital care from their injuries. Moving on to environmental issues, the statistics on air pollution suggest that the levels of fine particles, Nitrogen dioxide and Sulfur dioxide have been normal by international standards except for in the Samutprakarn and Nakhon Ratchasrima provinces. In addition, the water quality has been normal by international standards. As for the level of waste, Thailand’s level of waste per head is about 0.64 kilogram per day, while the level of waste had been growing in Bangkok and the Northeastern region. Although none of the environmental statistics look alarming, one important concern on this issue is that the government have been cutting the budget spent on environment, e.g. from 3.01 per cent of GDP in 2007 to only 1.79 per cent of GDP in 2011. Having briefly reviewed the big picture of Thailand’s current situation, we can see that most problems are concerning social issues. This finding, however, is common to all emerging economies that are becoming more industrialized. Here, to achieve sustainability, sound government policies are crucial. It is important to strike a balance between economic growth and social/environmental welfare. As of now, the government is facing burning issues regarding economic restoration after the great flood in late 2011, side-effects of a big jump in the minimum wage policy (300 THB/day across the country), global trade slow-down from the chronic European debt crisis. As abovementioned, a challenging task is not only to handle these burning issues very well, but also to maintain a stable improvement on the social and environmental welfare. ง
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
บทที่ 1
ผลกระทบของเศรษฐกิจไทยจาก มหาอุทกภัย และวิกฤติเศรษฐกิจโลก
ในปี พ.ศ. 2554 เศรษฐกิจของประเทศไทยมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ ณ ราคาคงที่ปี พ.ศ. 2531 เท่ ากับ 4,599,655 ล้านบาท โดย แบ่งเป็นมูลค่าการใช้จ่ายเพื่ออุปโภคและบริโภคของภาคเอกชนเท่ากับ 2,392,719 ล้านบาท มูลค่าการใช้จ่ายภาครัฐ เท่ ากับ 461,516 ล้านบาท มูลค่าการลงทุ น ภาคเอกชนเท่ากับ 986,500 ล้านบาท มูลค่าการส่งออกสินค้าและบริการเท่ากับ 3,471,347 ล้านบาท และมูลค่าการน าเข้าสิน ค้าและบริการเท่ากับ 2,747,348 ล้านบาท ในด้านสัดส่วนของมูลค่าการใช้จ่ายแต่ละประเภทต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ จะพบว่า การใช้จ่า ยเพื่อ อุป โภคและบริโ ภคของภาคเอกชน มีสดั ส่วนเท่ากับร้อยละ 52.02 การใช้จ่ายภาครัฐมีสดั ส่วนเท่ากับร้อยละ 10.03 การลงทุ นภาคเอกชนมีส ดั ส่วนเท่ากับร้อยละ 21.45 ขณะที่การค้าขายระหว่าง ประเทศสุทธิมสี ดั ส่วนเท่ากับร้อยละ 15.74 ขณะที่ร ะดับของผลิต ภัณ ฑ์ม วลรวมภายในประเทศต่อ ประชากรของ ประเทศไทย ณ ราคาคงที่ มีมูลค่าเท่ากับ 71,784 บาทต่อปี ซึ่งในปี พ.ศ. 2554 ประเทศไทยมีระดับผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อประชากรอยู่ท่อี นั ดับ 96 จากทัง้ หมด 190 ประเทศ โดยการสารวจของธนาคารโลก (World Bank) เมื่อพิจารณาภาวะเศรษฐกิจของประเทศเป็นรายไตรมาส ในช่วง 3 ไตร มาสแรกของปีอยูใ่ นเกณฑ์ท่ดี ี โดยสามารถเติบโตได้ในอัตราเฉลี่ยสามไตรมาสที่ ร้อยละ 3.20 แม้มอี ตั ราการเติบโตทีต่ ่ากว่าเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการเติบโตของ ช่วงเดียวกันในปี พ.ศ. 2553 ทีเ่ ติบโตได้ในอัตราเฉลีย่ ร้อยละ 9.28
1
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
อย่างไรก็ตาม ในช่วงไตรมาสที่ 4 ได้เกิดวิกฤตมหาอุทกภัยขึน้ กับประเทศ ไทย ซึ่ง สร้างความเสียหายต่ อทัง้ พื้น ที่เ กษตรกรรมและพื้น ที่นิ คมอุ ตสาหกรรม รวมถึงการคมนาคมขนส่งอย่างมาก ผลกระทบจากวิกฤตอุทกภัยดังกล่าว ส่งผลให้ เศรษฐกิจของประเทศในไตรมาสที่ 4 เติบโตติดลบถึงร้อยละ 8.8 และเมื่อรวมทัง้ ปี ทาให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโตในอัตราเพียงร้อยละ 0.73 ดังแสดงในรูปที่ 1.1
2
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
รูปที่ 1.1 อัตราการเติ บโตผลิ ตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ราคาปี ฐาน พ.ศ. 2531 ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2551 - 2554 15
1.2
10 5 0.2
%
ล้ านล้ านบาท
0.7
0
-0.3
-5
-0.8
-10
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (แกนซ้ าย)
อัตราการเติบโตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (แกนขวา)
ทีม่ า : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (พ.ศ. 2551-2554)
กล่องที่ 1.1 วิ กฤตอุทกภัยในประเทศ
นิ ค มฯ บางกระดี, นิ ค มฯ บางปะอิน , นิ ค มฯ สหรัตนนคร, นิคมฯ ไฮเทค, นิคมฯ นวนคร และ นิคมฯ แฟคตอรี่แลนด์ รวมถึงส่งผลกระทบต่อ พื้น ที่การเกษตรได้ร บั ความเสียหายกว่า 11.20 ล้านไร่ บ่อปลา/บ่อกุ้ง/หอย 231,919 ไร่ ปศุสตั ว์ 13.41 ล้านตัว และมีผเู้ สียชีวติ กว่า 800 ราย*
ไทย
ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2554 ประเทศไทย ได้เผชิญกับวิกฤตอุทกภัย ที่ร้ายแรงที่สุดในรอบ 50 ปี ซึง่ เริม่ ขึน้ ในช่วงฤดูมรสุม โดยได้รบั อิทธิพล จากพายุนกเตน ส่งผลให้เกิดพายุฝนตกหนักทาง ภาคเหนื อ และภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ ของ ธนาคารโลกได้ ป ระเมิ น มู ล ค่ า ความ ประเทศ เสียหายจากอุท กภัยครัง้ นี้สูงถึง 1.44 ล้านล้าน อุทกภัยดังกล่าวรอบคลุมพื้นที่กว่า 2 ใน บาทเมื่อเดือนธัน วาคม ปี พ.ศ. 2554 และจัด 3 ของประเทศ และได้สร้างความเสียหายให้แก่ อัน ดับให้ภยั พิบตั ิครัง้ นี้ สร้างความเสียหายมาก นิคมอุตสาหกรรม 7 แห่ง ได้แก่ นิ คมฯ โรจนะ, ทีส่ ุดเป็นอันดับ 4 ของโลก *ทีม่ า: ศูนย์ปฏิบตั ิการรองรับเหตุฉุกเฉิน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย, สรุปสถานการณ์ สาธารณภัย ประจาวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554
3
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ดัชนี ผลผลิ ตอุตสาหกรรมดิ่ งรับน้าท่วมในช่วงท้ายปี “ดัช นี ผลผลิ ต ภาคอุต สาหกรรม ดิ่ ง ลงที่ ร ะดับ ต่า สุด ของปี ที่ ร ะดับ 103.40 ในเดือนพฤศจิกายน ถือเป็ นค่าดัชนี ที่ตา่ ที่สดุ ในรอบ 123 เดือน” เมื่อพิจารณาดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมซึง่ คานวณขึน้ จากผลผลิตทีค่ รอบคลุม สาขาอุ ตส าห ก ร รม ก าร ผ ลิ ต ต่ างๆ ดั ง รู ป ที่ 1.2 จ ะพ บว่ า ดั ช นี ผ ล ผ ลิ ต ภาคอุตสาหกรรมได้รบั ผลกระทบจากวิกฤตน้ าท่วมอย่างเห็น ได้ชดั เนื่ องจากนิคม อุตสาหกรรมหลายแห่งถูกน้าท่วม โดยส่วนใหญ่เป็น อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า ขณะที่นิคมซึ่งไม่ถูกน้ าท่วมก็ได้รบั ผลกระทบไป ด้วยจากการขาดแคลนชิ้น ส่วนการผลิต ท าให้ค่าดัช นีของเดือนตุลาคมได้ปรับตัว ลดลงจากเดือนก่อนหน้ าอย่างมาก จาก 201.08 ในเดือนกัน ยายน เป็ น 132.34 ในเดือนตุลาคม และดิ่งลงที่ระดับต่าสุด ของปี ในเดือนพฤศจิกายนที่ร ะดับ 103.40 หรือคิดเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงจากปีก่อนหน้าเท่ากับติดลบร้อยละ 48.21 ซึ่งถือ เป็นค่าดัชนีท่ตี ่ าที่สุดในรอบ 123 เดือน ก่อนจะฟื้นตัวกลับมาที่ระดับ 151.68 ใน เดือนธันวาคม ซึง่ โรงงานทีถ่ ูกน้าท่วมบางแห่งสามารถกลับมาผลิตได้
รูปที่ 1.2 ดัชนี ผลผลิ ตอุตสาหกรรมและอัตราการเปลี่ยนแปลง ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 - 2554 50
150
30
50
10 Nov-54
Sep-54
Jul-54
May-54
Mar-54
Jan-54
Nov-53
Sep-53
Jul-53
May-53
Mar-53
Jan-53
Nov-52
Sep-52
Jul-52
May-52
Mar-52
Jan-52
Nov-51
Sep-51
Jul-51
May-51
-150
Mar-51
-50
Jan-51
%
250
-250
-10 -30 -50
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (แกนซ้ าย)
อัตราการเปลีย่ นแปลงจากปี ก่อนหน้ า(แกนขวา)
ทีม่ า: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (พ.ศ. 2551-2554)
4
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ภาวะการทางานของประชากรยังอยู่ในเกณฑ์ดี อัตราการว่างงานและอัตราการทางานต่าระดับ 1 ของประเทศในช่วง 5 ปีท่ผี ่าน มาอยู่ใ นระดับ ที่ต่ า ซึ่ง แสดงดัง รูป ที่ 1.3 โดยจะพบว่า มีแ นวโน้ ม ลดลงเรื่อ ยๆ ภายหลังวิกฤตเศรษฐกิจโลกในช่วงปี พ.ศ. 2551 – 2552 เมื่อรวมอัตราการว่างงาน และอัตราการทางานต่าระดับเข้าด้วยกันก็ยงั คงมีระดับทีต่ ่าโดยส่วนมากมีค่าน้อยกว่า ร้อยละ 3 ซึง่ แสดงถึงปญั หาการว่างงานทีต่ ่าของประเทศไทย รูปที่ 1.3 อัตราการว่างงานและอัตราการทางานตา่ ระดับ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 - 2554 6
%
4 2
อัตราการว่างงาน
อัตราการทางานต่าระดับ
Nov-54
Sep-54
Jul-54
May-54
Mar-54
Jan-54
Nov-53
Sep-53
Jul-53
May-53
Mar-53
Jan-53
Nov-52
Sep-52
Jul-52
May-52
Mar-52
Jan-52
Nov-51
Sep-51
Jul-51
May-51
Mar-51
Jan-51
0
รวมอัตราการว่างงานและอัตราการทางานต่าระดับ
ทีม่ า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ และธนาคารแห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2551-2554) 1
จากนิยามของธนาคารแห่งประเทศไทย อัตราการทางานต่าระดับ คือ ผูท้ มี่ งี านทาแต่ทางานน้อยกว่า 35 ชัวโมงต่ ่ อสัปดาห์และพร้อม
5
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ขณะที่ในปี พ.ศ. 2554 มีค่าอัตราการการว่างงานและอัตราการทางานต่ า ระดับรวมเฉลีย่ ทีร่ อ้ ยละ 1.59 จากผลกระทบของอุทกภัย ทาให้อตั ราการว่างงานและ อัตราการทางานต่าระดับรวมปรับตัวเพิม่ ขึน้ สูงกว่าค่าเฉลี่ยของปีในเดือนกันยายน – พฤศจิกายน ก่อนจะลดลงกลับมาที่ระดับ ร้อยละ 1.18 ในเดือนธันวาคม แสดงถึง แรงงานเริ่ม กลับ มาท างานอีก ครัง้ หลัง โรงงานต่ า งๆ เริ่ม ทยอยเปิ ด ดาเนิ น การ ซึง่ เป็นไปในทิศทางเดียวกันดับค่าดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม
ธุรกิ จได้รบั ผลกระทบจากน้าท่วม แม้ว่าภาพรวมยังคงขยายตัว สาหรับจานวนนิตบิ ุคคลจดทะเบียน พบว่าในช่วง 11 เดือนแรกของปียกเว้น เดือนกุมภาพันธ์ มีการจดทะเบียนนิตบิ ุคคลมากว่าจดทะเบียนเลิก ทาให้ จานวนนิติ บุคคลคงค้างเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง และเพิม่ ขึน้ เมื่อเทียบกับปีท่แี ล้วด้วย ดังแสดงใน รูป ที่ 1.4 ที่ม ีอตั ราการเปลี่ยนแปลงเมื่อ เทีย บกับ ปี ก่ อนเป็ น บวก แต่ใ นเดือ น ธันวาคมมีจานวนนิตบิ ุคคลคงอยูล่ ดลงจากเดือนก่อนหน้าจานวน 2,341 ราย คิดเป็น อัตราการเปลี่ยนแปลงติดลบร้อยละ 0.39 อย่างไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบจานวนนิติ บุคคลคงอยูข่ องเดือนธันวาคมปี พ.ศ. 2554 เทียบกับเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 แล้ว ยังคงมีอตั ราการเติบโตอยูท่ ร่ี อ้ ยละ 2.45 รูปที่ 1.4 จานวนนิ ติบคุ คลจดทะเบียนและอัตราการเปลี่ยนแปลง ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 - 2554 6 4.0
4
-1.0
May-51 Jul-51 Sep-51 Nov-51 Jan-52 Mar-52 May-52 Jul-52 Sep-52 Nov-52 Jan-53 Mar-53 May-53 Jul-53 Sep-53 Nov-53 Jan-54 Mar-54 May-54 Jul-54 Sep-54 Nov-54
%
0 Jan-51 Mar-51
แสนราย
2
-2 -4
-6.0
-6
จานวนนิติบุคคลคงอยู่ (แกนซ้ าย) อัตราการเปลีย่ นแปลงจากเดือนก่อนหน้ า (แกนขวา) ทีม่ า: กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (พ.ศ. 2551-2554)
6
อัตราการเปลีย่ นแปลงจากปี ก่อนหน้ า (แกนขวา)
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ภาวะราคาสิ นค้าและนโยบายการเงินของประเทศ ระดับการเพิม่ ขึน้ ของราคาสินค้าทีป่ ระชาชนและผูม้ รี ายได้น้อยเผชิญ วัดได้โดย ใช้อตั ราเงินเฟ้อทั ่วไปและอัตราเงินเฟ้อทั ่วไปสาหรับผูม้ รี ายได้น้อย ดังรูปที่ 1.5 โดย จะพบว่าระดับการเปลี่ยนแปลงของราคาสิ้นค้าที่วดั จากอัตราเงิน เฟ้อทัง้ สองแบบ มีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน แต่ระดับของอัตราเงินเฟ้อที่ผู้มรี ายได้น้อย เผชิญจะมีค่าสูงกว่า แสดงถึงผลกระทบจากการเพิม่ ของราคาสินค้าที่ผู้มรี ายได้น้อย ได้ร ับ มีม ากกว่า ประชาชนกลุ่ม ทั ่วไป นอกจากนี้ เ มื่อ พิจ ารณาในปี พ.ศ. 2554 อัต ราเงิน เฟ้ อของประเทศอยู่ใ นระดับ ค่อ นข้า งสูง โดยตลอดโดยเฉพาะในช่ ว ง ไตรมาสที่ 2 และไตรมาสที่ 3 ของปี
7
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ด้วยเหตุดงั กล่าว นโยบายการเงินของประเทศในปี พ.ศ. 2554 จึงมีทศิ ทาง ของการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นช่ วงขาขึน้ จากรูปที่ 1.5 จะพบว่าธนาคาร แห่งประเทศไทยได้ปรับขึน้ ดอกเบีย้ นโยบายรวมทัง้ สิ้น 5 ครัง้ ในช่วง 3 ไตรมาสแรก ของปี จากระดับดอกเบีย้ ทีร่ อ้ ยละ 2.25 ในเดือนมกราคม สู่ระดับสูงสุดของปีทร่ี ้อยละ 3.50 ในช่วงเดือนสิงหาคม – ตุลาคม เพื่อควบคุมระดับราคาสินค้าให้ อยู่ในกรอบที่ ก าหนดไว้ แต่ ภ ายหลั ง จากการเกิ ด วิ ก ฤตอุ ท กภั ย ท าให้ ใ นการประชุ ม คณะกรรมการนโยบายการเงิน ครัง้ สุ ด ท้า ยของปี ธนาคารแห่ง ประเทศไทยได้ ตัดสิน ใจปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงมาที่ร้อยละ 3.25 เนื่ องจากแรงกดดัน จากการ เพิม่ ขึน้ ของราคาสินค้าได้ลดลงแล้ว และขณะเดียวกัน เพื่อเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจ ให้ฟ้ืนคืนจากภาวะอุทกภัยอีกด้วย รูปที่ 1.5 อัตราเงินเฟ้ อทั ่วไป และอัตราเงินเฟ้ อทั ่วไปสาหรับผู้มีรายได้น้อยปี พ.ศ. 2551 - 2554 10.0
Nov-54
Sep-54
Jul-54
May-54
Mar-54
Jan-54
Nov-53
Sep-53
Jul-53
May-53
Mar-53
Jan-53
Nov-52
Sep-52
Jul-52
May-52
Mar-52
Jan-52
Nov-51
Sep-51
Jul-51
May-51
-5.0
Mar-51
0.0 Jan-51
%
5.0
-10.0
อัตราดอกเบี ้ยนโยบาย ณ สิ ้นเดือน
อัตราเงินเฟ้อทัว่ ไป
อัตราเงินเฟ้อทัว่ ไป สาหรับผู้มีรายได้ น้อย
ทีม่ า: สานักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ (พ.ศ. 2551-2554)
การส่งออกเติ บโตในอัตราที่ลดลงจากผลกระทบน้าท่วม ภาวะการค้าระหว่างประเทศในช่ วง 3 ไตรมาสแรก การส่งออกสามารถ เติบโตได้ดโี ดยมีอตั ราการเติบโตเฉลี่ยที่ร้อยละ 15.10 ขณะที่การนาเข้ามีอตั ราการ เติบโตที่ ร้อยละ 17.32 แม้อตั ราการเติบโตของการส่ง ออกจะต่ากว่าอัตราการ เติบโตของการน าเข้า แต่อ ย่างไรก็ต ามมูลค่า ของการส่ ง ออกยัง คงสูง กว่า มูลค่ า การนาเข้า
8
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
จากเหตุการณ์ อุท กภัยในไตรมาสที่ 4 ซึ่ง ท าให้การผลิตภาคอุตสาหกรรม หยุดชะงัก ขณะเดียวกันผลผลิตภาคเกษตรก็เสียหาย การส่งออกจึงได้ปรับตัวลดลง มาก โดยมีอตั ราการเติบโตติดลบร้อยละ 6.43 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีท่ีแล้ว ด้วยเหตุดงั กล่าวจึงทาให้อตั ราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกในปี พ.ศ. 2554 ลด ต่าลงมาอยูท่ ร่ี อ้ ยละ 9.71 เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการเติบโตในปี พ.ศ. 2553 ซึ่งอยู่ ทีร่ อ้ ยละ 15.03 รูปที่ 1.6 มูลค่าการส่งออกและอัตราการเติ บโต ณ ราคาปี พ.ศ. 2531 ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 - 2554 15
40
0
%
แสนล้ านบาท
20 5
-5 -20
-15
-40
มูลค่าการส่งออก (แกนซ้ าย)
มูลค่าการนาเข้ า (แกนซ้ าย)
อัตราการเปลี่ยนแปลงการส่งออกจากปี ก่อนหน้ า(แกนขวา)
อัตราการเปลี่ยนแปลงการนาเข้ าจากปี ก่อนหน้ า(แกนขวา)
ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (พ.ศ. 2551-2554) 9
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554 ประเทศอื่น ๆ ในยู โ รโซนเองต่ างก็เ ผชิญ กับ สถานการณ์ทยี่ ากลาบากเช่นกัน จากอัตราการเติบโต ทางเศรษฐกิจ ที่ ต่ าและอัต ราการว่า งงานที่ย ัง อยู่ ใ น ระดับสูง ขณะทีไ่ ม่สามารถใช้นโยบายการคลังกระตุ้น เศรษฐกิจ ได้อ ย่ า งเต็ม ที่ เนื่ อ งจากภาครัฐ ต้ อ งการ ดาเนิ น นโยบายการคลัง แบบรัดเข็ม ขัดเพื่อ ประคอง ระดับหนี้สาธารณะไม่ให้เพิ่มขึ้นกว่านี้ ทาให้วกิ ฤตหนี้ ั หาที่ต้อ งได้ร บั การ สาธารณะในยุ โ รปยัง คงเป็ น ป ญ แก้ไขในอีกหลายปีขา้ งหน้า
กล่องที่ 1.2 วิ กฤตหนี้ สาธารณะในยุโรป วิกฤตหนี้สาธารณะยุโรป เริม่ ขึ้นตัง้ แต่ปลายปี พ.ศ. 2552 โดยประเทศที่ได้รบั ผลกระทบมากที่สุด ได้แก่ กรีซ ไอร์แลนด์และโปรตุเ กส ซึ่งแม้จะมีขนาด เศรษฐกิจ เพีย งร้อ ยละ 6 ของผลิต ภัณฑ์ ม วลรวม ภายในประเทศของกลุ่มยูโรโซน* แต่ปญั หาดังกล่าว ก็เป็นทีร่ บั รูแ้ ละส่งผลกระทบไปทั ่วยูโรโซน
ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 ที่ประชุมผูน้ าอียู มีมติเห็นชอบให้ประเทศในยูโรโซนรวมถึงสมาชิกอียู อื่นๆ รวมกัน เป็ นสหภาพการคลังด้วยนอกเหนือจาก สหภาพการเงิน อย่ างในปจั จุ บ นั เพื่อ ป้อ งกัน ปญั หา ขาดดุลงบประมาณขนานใหญ่ในอนาคต โดยจะเริม่ มี ผลตัง้ แต่เดือนมีนาคมปี พ.ศ. 2555
สถานการณ์ ในปี พ.ศ. 2554 เลวร้ายลงไปอีก เมื่ อ กรีซ ไม่ ส ามารถช าระหนี้ ไ ด้ จนต้ อ งขอความ ช่วยเหลือ ทางการเงิน ร่วมถึง การตัดลดมูลค่าหนี้ถึง จากภาคเอกชน ส่งผลให้ส ถาบันการเงินในยุโรปต้อ ง เพิม่ ทุนราว 1.06 แสนล้านยูโร
*ทีม่ า: "The Euro’s PIG-Headed Masters". Project Syndicate. 3 June 2011. เข้าถึงได้ที่ http://www.project-syndicate.org/commentary/rogoff81/English.
รูปที่ 1.7 สัดส่วนหนี้ สาธารณะต่อผลิ ตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของกลุ่มยูโรโซน สัดส่วน (%) หนี้สาธารณะต่อ GDP ของยูโรโซน (คาดการณ์ ปี พ.ศ. 2554)
ทีม่ า: คณะกรรมาธิการยุโรป
10
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
หนี้ สาธารณะของประเทศยังทรงตัวอยู่ในกรอบที่ตงั ้ ไว้ ระดับ หนี้ ส าธารณะของประเทศเป็ น ตัว สะท้อ นภาระภาษีของประชาชนใน อนาคต ซึง่ ตามกรอบวินัยทางการคลังของประเทศที่กาหนดโดยกระทรวงการคลัง จะต้องมีระดับหนี้สาธารณะต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ไม่เกินร้อย ละ 60 เพื่อให้เกิดความยั ่งยืนทางการคลัง และเป็นการป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิด วิกฤตหนี้สาธารณะเหมือนทีเ่ กิดขึน้ กับประเทศในกลุ่มยูโรโซน ระดับหนี้สาธารณะของประเทศไทยได้เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องในช่วง 4 ปีท่ผี ่าน มา ดังรูปที่ 1.8 โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2552 ที่สดั ส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ได้ ปรับตัวเพิม่ ขึน้ สูงสุดที่ระดับร้อยละ 45 อันเป็นผลมาจากระดับ GDP ที่ลดต่าลงใน ตอนนัน้ จากวิกฤตเศรษฐกิจโลก ในภายหลังจากนัน้ แม้ว่าระดับหนี้สาธารณะของ ประเทศจะเพิม่ ขึน้ ต่อเนื่องมาจนถึงปี พ.ศ. 2554 แต่สดั ส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ก็ ไม่ได้ปรับขึน้ มากนัก โดยยังคงระดับที่ร้อยละ 41 – 42 อันเป็นผลดีมาจากการ เพิม่ ขึน้ ของ GDP อย่างไรก็ตาม แม้ว่าระดับสัดส่วนดังกล่าวจะยังต่ากว่าร้อยละ 60 ตามกรอบ ของกระทรวงการคลัง แต่ในปี พ.ศ. 2555 ยังมีการใช้จ่ายด้านการลงทุนอีกมากที่รอ อยู่ รวมไปถึงภาวะเศรษฐกิจโลกทีย่ งั คงเปราะบาง เพราะปญั หาในยุโรปยังไม่ได้รบั การแก้ไขดี ทาให้ภาครัฐยังคงต้องระมัดระวังในการกูม้ าใช้จ่าย เพื่อสารองไว้สาหรับ ใช้กระตุน้ เศรษฐกิจในอนาคต
50
4.0
40
3.0
30
2.0
20
1.0
10
0.0
0
หนี ้สาธารณะคงค้ าง (แกนซ้ าย)
หนี ้สาธารณะคงค้ างต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (แกนขวา)
ทีม่ า: สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (พ.ศ. 2551-2554) 11
%
5.0
Jan-51 Feb-51 Mar-51 Apr-51 May-51 Jun-51 Jul-51 Aug-51 Sep-51 Oct-51 Nov-51 Dec-51 Jan-52 Feb-52 Mar-52 Apr-52 May-52 Jun-52 Jul-52 Aug-52 Sep-52 Oct-52 Nov-52 Dec-52 Jan-53 Feb-53 Mar-53 Apr-53 May-53 Jun-53 Jul-53 Aug-53 Sep-53 Oct-53 Nov-53 Dec-53 Jan-54 Feb-54 Mar-54 Apr-54 May-54 Jun-54 Jul-54 Aug-54 Sep-54 Oct-54 Nov-54 Dec-54
ล้ านล้ านบาท
รูปที่ 1.8 หนี้ สาธารณะคงค้างและสัดส่วนต่อผลิ ตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ปี พ.ศ. 2551 2554
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ความครอบคลุมของหลักประกันผู้สงู อายุ และหลักประกันการว่างงาน จานวนผูส้ งู อายุในประเทศไทยได้เพิม่ สูงขึน้ เรื่อยๆ จากข้อมูลล่าสุดโดยการ สารวจของสานักงานสถิตแิ ห่งชาติในปี พ.ศ. 2553 ได้รายงานจานวนผูส้ งู อายุท่มี อี ายุ มากกว่า 60 ปีขน้ึ ไปของทัง้ ประเทศเท่ากับ 7,493,227 คน ซึง่ เพิม่ ขึน้ ถึงเกือบ 1 ล้าน คน จากจานวนผูส้ งู อายุในปี พ.ศ. 2549 ทีจ่ านวน 6,533,470 คน ผูส้ งู อายุส่วนใหญ่เกษียณออกจากงานและมีระดับรายได้ลดลง หรืออาจไม่มี รายได้เลย ภาครัฐจึงควรจัดหาหลักประกันให้ผู้สูงอายุได้รบั การดูแล เพื่อไม่ให้เกิด ปญั หาสัง คมตามมา โดยในปจั จุบนั สามารถแบ่ง ประเภทหลักประกัน ที่ส าคัญ ซึ่ง ภาครัฐให้บริการสาหรับผูส้ งู อายุได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ การจ่ายเบี้ยยังชีพคนชรา, การจ่ายบาเหน็จบานาญให้กบั อดีตข้าราชการที่เกษียณแล้ว และการจ่ายบาเหน็ จ บานาญให้แก่ผปู้ ระกันตนของสานักงานประกันสังคมในกรณีชราภาพ
12
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
“ในช่วงปี พ.ศ. 2552 – 2553 สัดส่วนผู้สูงอายุที่เข้าถึงหลักประกันได้ปรับ เพิ่ มขึ้นถึ งร้อยละ 70 จากการเพิ่ มขึ้นของจานวนผู้สูงอายุที่ ขอรับเบี้ยยังชี พ คนชรา” ความครอบคลุมของหลักประกันดังกล่าว สามารถแสดงให้เห็น ดังรูปที่ 1.9 ซึ่ง พบว่า จานวนผูส้ งู อายุในช่วง 5 ปีท่ผี ่านมาเพิม่ ขึน้ เรื่อยๆ ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว โดย จานวน ผูส้ งู อายุทไ่ี ด้รบั หลักประกันดังกล่าวพิจารณาได้จากสัดส่วนผู้สูงอายุท่เี ข้าถึง หลักประกันอย่างใดอย่างหนึ่งจาก 3 ประเภททีไ่ ด้กล่าวไว้ขา้ งต้น ซึง่ จะพบว่า ในช่วง ปี พ.ศ. 2549 – 2551 สัดส่วนดังกล่าวอยู่ในระดับต่า โดยมีค่าประมาณร้อยละ 20 – 30 ภายหลังจากนัน้ ในช่วงปี พ.ศ. 2552 – 2553 ภาครัฐได้มีการส่งเสริมและ ประชาสัม พัน ธ์ใ ห้ผู้สูง อายุเข้ามาลงทะเบียนเพื่อรับสิท ธิประโยชน์ มากขึ้น ท าให้ สัดส่วนผู้สูง อายุท่เี ข้าถึง หลักประกัน ได้ปรับเพิม่ ขึ้น ถึง ระดับร้อยละ 70 โดยการ เพิม่ ขึน้ ดังกล่าวมาจากการเพิม่ ขึน้ ของจานวนผู้ขอรับเบีย้ ยังชีพคนชรา สะท้อนถึงผล การด าเนิ น งานที่ดีข้ึน ของภาครัฐ ที่ท าให้ ผู้สูง อายุ ส ามารถเข้า ถึง หลัก ประกัน จากภาครัฐได้มากขึน้
รูปที่ 1.9 จานวนผู้สงู อายุและสัดส่วนผู้สงู อายุที่เข้าถึงหลักประกัน ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 – 2553 10
100
5
30.52
74.45
50
30.15
%
ล้ านคน
74.32
20.34
0
0
2549
2550
2551
2552
2553
จานวนผู้สงู อายุที่เข้ าถึงเบี ้ยยังชีพคนชรา (แกนซ้ าย)
จานวนผู้สงู อายุที่รับราชการ ที่ได้ รับบาเหน็จบานาญ (แกนซ้ าย)
จานวนผู้ประกันตนที่ใช้ บริการ กรณีชราภาพ (แกนซ้ าย)
จานวนผู้สงู อายุมากกว่า 60 ปี (แกนซ้ าย)
สัดส่วนผู้สงู อายุที่เข้ าถึงหลักประกัน (แกนขวา)
ทีม่ า: สานักงานประกันสังคม, กรมบัญชีกลาง, สานักส่งเสริมและพิทกั ษ์ผสู้ งู อายุ และสานักงานสถิตแิ ห่งชาติ (พ.ศ. 2549-2553)
13
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ขณะทีห่ ลักประกันสาหรับผูว้ า่ งงาน สานักงานประกันสังคมได้เริม่ ให้สทิ ธิแก่ ผู้ประกัน ตนเพื่อใช้บริการในกรณี การว่างงานตัง้ แต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2547 เป็ น ต้น มา โดยจากรูป ที่ 1.10 จะเห็น ว่าในปี พ.ศ. 2547 ซึ่ง เป็ น ปี แ รกของการ ให้บริการกรณีว่างงาน มีจานวนผู้ว่างงานที่มาขอใช้ส ิทธิรบั บริการโดยเฉลี่ยเพียง 8,386 คน เท่านัน้ จากจานวนผูว้ า่ งงานเฉลีย่ ทีส่ งู ถึง 5.5 แสนคน หรือคิดเป็นสัดส่วน ผูว้ า่ งงานทีเ่ ข้าถึงหลักประกันเพียงร้อยละ 1.52 รูปที่ 1.10 จานวนและสัดส่วนผู้ว่างงานที่เข้าถึงหลักประกันปี พ.ศ. 2547 – 2554 80
50 38.25 26.12
27.63
30
40 20
1.52
5.9
3.35
20
12.64
9.77
40
10
0
0
2547
2548
2549
2550
2551
จานวนผู้ว่างงาน (แกนซ้ าย)
2552
2553
2554
จานวนผู้ใช้ บริการกรณีว่างงาน (แกนซ้ าย)
สัดส่วนผู้ว่างงานที่เข้ าถึงหลักประกัน (แกนขวา) ทีม่ า: สานักงานสถิติ และสานักงานประกันสังคม (พ.ศ. 2547-2554)
อย่างไรก็ตาม ในปีถดั มาหลังจากนัน้ จานวนผู้ว่างงานที่ขอใช้สทิ ธิรบั บริการ กรณีว่างงาน ได้ปรับเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง สังเกตได้จากสัดส่วนผู้ว่างงานที่เข้าถึง หลักประกัน ปรับตัวเพิ่ม ขึ้น อย่างต่อเนื่ อง โดยล่าสุดในปี พ.ศ. 2554 มีจานวน ผูว้ า่ งงานเฉลี่ย 254,445 คน ขณะที่มจี านวนผู้ว่างงานที่มาขอใช้สทิ ธิรบั บริการโดย เฉลี่ย 97,312 คน หรือคิดเป็น สัดส่วนผู้ว่างงานที่เข้าถึง หลักประกัน อยู่ท่รี ้อยละ 38.25 ซึ่ง แสดงถึงการได้รบั บริการที่ครอบคลุมมากขึน้ ของผู้ว่างงานในการเข้าถึง หลักประกันจากภาครัฐ
14
%
หมื่นคน
60
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ความเหลื่อมลา้ ของค่าจ้าง (Wage Distribution) ทั ่วไปมีแนวโน้ มลดลง “ในช่ ว งปี พ.ศ. 2544 – 2554 ภาคเกษตรกรรมมีความเหลื่ อมล ้าด้ าน ค่าจ้างลดลง ซึ่งต่างจากภาคธุรกิ จสถาบันการเงินซึ่งมีแนวโน้ มที่สงู ขึ้น” ตัวชีว้ ดั ดังกล่าวถูกใช้เพื่อวัดความเหลื่อมล้าของค่าจ้างแรงงานซึ่งอาจนาไปสู่ ปญั หาการกระจายรายได้ต่อไป ทัง้ นี้ความแตกต่างของอัตราค่าจ้างอาจพิจารณา ตามสาเหตุได้เป็น ความแตกต่างของค่าจ้างระหว่ างภูมิภาค, ความแตกต่างของ ค่าจ้างระหว่างธุรกิจ, ความแตกต่างของค่าจ้างระหว่างอาชีพ และความแตกต่างของ ค่าจ้างตามคุณวุฒิ เป็นต้น การกระจายค่าจ้างนัน้ วัด ได้โดยใช้อตั ราส่วนระหว่างจานวนของคนที่ไ ด้ร บั ค่าจ้างที่เปอร์เซ็นต์ไทล์2 (Percentile) ต่างๆเทียบกับจานวนของคนที่ได้รบั ค่าจ้าง ทีเ่ ปอร์เซ็นไทล์ท่ี 50 ทัง้ นี้การศึกษาการกระจายค่าจ้างยังสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม ย่อย ได้แก่
2
เปอร์เซ็นไทล์ เป็นค่าทีแ่ บ่งข้อมูลออกเป็น 100 ส่วนเท่าๆ กัน เมือ่ ข้อมูลถูกเรียงจากน้อยไปหามาก เปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 คือ ค่าทีม่ จี านวนข้อมูลน้อยกว่าค่านี้อยู่ประมาณ 50 ใน 100 ของข้อมูลทัง้ หมด 15
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
1) การกระจายค่าจ้างระดับบน จะใช้อตั ราส่วนค่าจ้างที่ เปอร์เซ็นไทล์ท่ี 75 และเปอร์เซ็นไทล์ท่ี 50 2) การกระจายค่าจ้างระดับล่าง จะใช้อตั ราส่วนค่าจ้างที่ เปอร์เซ็นไทล์ท่ี 50 และเปอร์เซ็นไทล์ท่ี 25 การกระจายค่าจ้างนัน้ จะมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 1 ซึ่งถ้าค่าการกระจาย ค่าจ้างมีค่าเข้าใกล้ 1 แสดงว่าการกระจายค่าจ้างค่อนข้างที่จะใกล้เคียงกัน แต่ถ้ายิง่ การกระจายค่าจ้างมีค่าห่างจาก 1 มากเท่าไหร่จะแสดงถึงการกระจายค่าจ้างที่ไม่เท่า เทียมกัน จากรูปที่ 1.11 ซึง่ แสดงการกระจายค่าจ้างระดับบนจะพบว่าค่าจ้างของกลุ่ม เกษตรกรรม การล่าสัตว์และปา่ ไม้มแี นวโน้มทีจ่ ะใกล้เคียงกันมากขึน้ โดยมีค่าเข้าใกล้ 1 ในปี พ.ศ. 2554 ในขณะทีก่ ลุ่มสถาบันการเงินมีแนวโน้มของความไม่เท่าเทียมกัน ในการกระจายค่าจ้างสูงขึน้ ซึง่ การกระจายค่าจ้างของอุตสาหกรรมนี้มคี ่าถึง 1.1 ในปี พ.ศ. 2554 ในขณะที่ภายใน 10 ปีท่ผี ่านมา กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตและกลุ่ม โรงแรมและภัตตาคารต่างมีการกระจายตัวที่ค่อนข้างคงที่ อยู่ในกรอบ 1.04 - 1.06 ซึง่ จัดว่าไม่ได้มแี นวโน้มทีส่ งู ขึน้ อย่างน่าเป็นห่วง รูปที่ 1.11 การกระจายของค่าจ้างระดับบน ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2544 – 2554 1.14 1.12 1.10 1.08 1.06 1.04 1.02 1.00 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 กลุ่มเกษตรกรรม การล่าสัตว์และปา่ ไม้ กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิต กลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร กลุ่มสถาบันการเงิน ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากการสารวจภาวะการทางานของประชากร (Labor Force Survey) (พ.ศ. 2544-2554)
16
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ในส่วนของการกระจายตัวของค่าจ้างในระดับล่างดังรูปที่ 1.12 พบว่าตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา กลุ่มสถาบันการเงินมีแนวโน้มการกระจายตัวของค่าจ้างทีด่ ขี น้ึ ซึง่ แสดงให้เห็นว่ามีแนวโน้มทีล่ กู จ้างระดับล่างในกลุ่มอุตสาหกรรมนี้จะได้รบั ค่าจ้างที่ ใกล้เคียงกัน มากขึ้น แต่ ถ้าพิจ ารณาในกลุ่ม เกษตรกรรมจะพบว่ามีแนวโน้ มการ กระจายตัวทีแ่ ย่ลงนั ่นคือห่างจาก 1 มากขึน้ สะท้อนถึงแนวโน้มความไม่เท่าเทียมกัน ในด้านรายได้ ในขณะที่กลุ่ม อุตสาหกรรมอื่น ๆ ได้แก่ การล่าสัตว์และป่าไม้ กลุ่ม อุตสาหกรรมการผลิต และกลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร จะมีการกระจายตัวของค่าจ้าง ทีแ่ กว่งตัวอยูใ่ นกรอบแคบๆ ( 0.02 ) ถ้ามองถึงในอนาคต ปี พ.ศ. 2555 - 2556 นโยบายค่าแรงขันต ้ ่า 300 บาทน่าจะ ช่วยให้การกระจายค่าจ้างระดับล่างดีขน้ึ (เข้าใกล้ 1) เพราะจะช่วยให้ลูกจ้างได้รบั ค่าแรงเพิม่ ขึน้ ส่งผลให้การกระจายตัวของค่าจ้างทุกอุตสาหกรรมเข้าใกล้ 1 มากขึน้ รูปที่ 1.12 การกระจายของค่าจ้างระดับล่าง ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2544 - 2554 1.12 1.10 1.08 1.06 1.04 1.02 1.00 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 กลุ่มเกษตรกรรม การล่าสัตว์และปา่ ไม้ กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิต กลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร
กลุ่มสถาบันการเงิน
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากการสารวจภาวะการทางานของประชากร (Labor Force Survey) (พ.ศ. 2544-2554)
17
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
การจ้างงานในอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขนั ้ สูงยังอยู่ในระดับตา่ (Employment in high or medium-high technology industries) ประเทศที่แ รงงานมีค วามรู้ ค วามสามารถจะท าให้ เ ศรษฐกิจ สามารถ เจริญเติบโตได้อย่างยั ่งยืน ค่าสัดส่วนการจ้างงานในอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขนั ้ สูง จะทาให้ทราบถึงจานวนผู้มคี วามสามารถในการทางานในอุตสาหกรรมที่ต้องใช้ เทคโนโลยี ซึ่ง มีความส าคัญ ต่อความสามารถในการแข่ง ขันของประเทศ ตัวชี้วดั ดังกล่าวยัง ทาให้ภาครัฐ สามารถมองเห็น ภาพรวมความสามารถของแรงงาน และ สามารถใช้เป็นข้อเสนอแนะในการออกนโยบายเพื่อกระตุ้นภาคการศึกษาในด้านที่มี การขาดแคลนแรงงานเฉพาะทางได้ ซึ่ง ประเภทของอุ ต สาหกรรมที่แ บ่ ง ตาม เทคโนโลยีสามารถแสดงได้ดงั ตารางที่ 1.1 (ภาคผนวก)
18
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
“แนวโน้ มการจ้างงานในอุตสาหกรรมขัน้ สูงลดลงเรื่ อยๆ ซึ่งไม่ส่งผลดี ต่อประเทศ” จากรูปที่ 1.13 พบว่าแนวโน้มการจ้างงานในอุตสาหกรรมขัน้ สูงจะลดลงเรื่อยๆ ซึ่งการลดลงของตัวเลขสามารถแสดงเป็นนัยได้ 2 ด้าน ในด้านแรกนั ่นคือประเทศ ไทยขาดแคลนแรงงานขัน้ สูง อีก ด้านหนึ่ ง โรงงานอุ ต สาหกรรมได้พ ัฒ นามาใช้ เครื่องจักรในการทางานแทนทีจ่ ะจ้างแรงงานมาทางานแทน อย่างไรก็ตาม แนวโน้ม การหดตัวของการจ้างงานนี้ ไม่ส่ง ผลดีต่อ ประเทศไทย เพราะแรงงานในกลุ่มที่ใ ช้ เทคโนโลยีน้ี จ ะเป็ น ตัวช่ วยผลักดัน ให้อุตสาหกรรมเจริญ ก้าวหน้ า อีกทัง้ แรงงาน เหล่านี้อาจได้รบั การถ่ายทอดเทคโนโลยี (Spillover effect) จากอุตสาหกรรมต่างๆ ก็ ให้เกิดการถ่ายทอดทักษะและเทคโนโลยีอนั จะนามาซึ่งแรงงานที่มคี ุณภาพเพื่อช่วย ขับเคลื่อนการเจริญเติบโตและเพิม่ ขีดความสามารถให้กบั ประเทศไทยได้ ทางออกโดยเร่งด่วนทีร่ ฐั บาลควรจะดาเนินการนั ่นคือออกมาตรการสนับสนุ นให้ มีการจ้างแรงงานในอุตสาหกรรมขันสู ้ ง ทัง้ ในส่วนของสนับสนุนบริษทั ต่างชาติโดยใช้ มาตรการทางภาษีหรือสนับสนุนแหล่งเงินทุนแก่บริษทั ไทยให้พฒ ั นาองค์ความรู้และ เทคโนโลยีขน้ึ มาเอง เพื่อก่อให้เกิดการจ้างงานในอุตสาหกรรมเหล่านี้ อย่ างยั ่งยืน ต่อไป รูปที่ 1.13 สัด ส่ว นการจ้างงานในอุตสาหกรรมขัน้ สูงต่ อการจ้างงานทัง้ หมด ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2548 - 2554 30.00
%
20.00 10.00 0.00
2548 2549 2550 อุตสาหกรรมที่ใช้ เทคโนโลยีขั ้นสูง อุตสาหกรรมบริการที่ใช้ ความรู้เข้ มข้ น
2551
2552 2553 2554 อุตสาหกรรมที่ใช้ เทคโนโลยีขั ้นกลาง-สูง
ที่ม า: คณะผู้ว ิจ ัย ค านวณจากส านั ก งานสถิ ติแ ห่ ง ชาติ แ ละการส ารวจภาวะการมีง านท า (Labor Force Survey) (พ.ศ. 2548-2554) 19
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ภาคอุตสาหกรรมยังมีการกระจุกตัวสูง “อุตสาหกรรมส่วนใหญ่ของไทยมีการกระจุกตัวที่ สูงคิ ดเป็ นประมาณ ร้อยละ 10 ของจานวนทัง้ หมด” การกระจุกตัวของธุรกิจสามารถวัดได้โดยใช้ตวั ชีว้ ดั ทีช่ ่อื ว่า เฮอร์ฟินดาร์ล เฮิรช์ แมน (Herfindahl – Hirschman Index: HHI) ดัชนีน้ีจะมีค่าตัง้ แต่ 0 ถึง 1 ยิง่ ค่า ดัชนีดงั กล่าวมีค่าสูงขึน้ เพียงใด การกระจุกตัวของหน่วยธุรกิจในอุตสาหกรรมก็จะ สูงขึน้ นั ่นหมายถึงอุตสาหกรรมนัน้ มีการแข่งขันทีน่ ้อย ซึง่ อาจนาไปสู่การผูกขาดใน การตัง้ ราคาสินค้าและสวัสดิการสังคมทีแ่ ย่ลงได้ ในประเทศสหรัฐอเมริกา กลุ่มดูแล ด้านการผูกขาด กระทรวงยุตธิ รรม (Antitrust Division Department of Justice) ได้ ใช้ดชั นีน้ีเป็นแนวทางในการวัดการแข่งขันของแต่ละอุตสาหกรรม โดยกาหนดให้ อุตสาหกรรมทีม่ กี ารกระจุกตัวสูงมีค่า HHI สูงกว่า 0.25 พิจารณาจาก 1,184 อุตสาหกรรมซึ่งจาแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจใน ประเทศไทยดังรูปที่ 1.14 พบว่าธุรกิจไทยจะมีลกั ษณะการกระจุกตัวแบบเบ้ขวา นั ่น คืออุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะมีการกระจุกตัวต่าโดยเฉลี่ยอยู่ท่ี 0.2 ซึ่งหมายความว่า อุ ต สาหกรรมส่ ว นใหญ่ ใ นประเทศไทยมีก ารแข่ ง ขัน ที่สู ง อย่ า งไรก็ต ามยัง มี อุตสาหกรรมจานวนมากที่มคี ่า HHI เข้าใกล้ 1 หรืออีกนัยหนึ่ง ประเทศไทยยัง มี อุ ต สาหกรรมที่ม ีล ัก ษณะกระจุ ก ตัว สู ง หรือ แข่ง ขัน ต่ า อยู่จ านวนมากกว่ า 100 อุตสาหกรรม หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 10 ของอุตสาหกรรมทัง้ หมด รูปที่ 1.14 การกระจุกตัวของธุรกิ จ ปี พ.ศ. 2550 คานวณจากยอดขายของ 1,184 อุตสาหกรรม
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากการสารวจสามะโนอุตสาหกรรม (พ.ศ. 2550) 20
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ตัวอย่างของอุตสาหกรรมทีน่ ่าสนใจแสดงอยูใ่ นตารางที่ 1.2 (ภาคผนวก) ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและการผลิต พบว่า อุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ จากเนื้อสัตว์ และการผลิตอาหารสัตว์สาเร็จรูปมีค่า HHI ที่ค่อนข้างต่า แสดงให้เห็น ว่าอุตสาหกรรมทัง้ 2 ประเภทนี้มีการกระจุกตัวที่ต่าหรือการแข่งขันที่ค่อนข้างสูง รัฐ บาลอาจจะไม่ ต้ อ งเข้า มาควบคุ ม หรือ ดู แ ลมากนัก อย่ า งไรก็ต ามถึ ง แม้ ว่ า อุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์จะให้ค่า HHI = 0.22 ซึ่งถือว่าต่า แต่เมื่อพิจารณาถึง ยอดขายรวมของอุ ต สาหกรรมนี้ ซ่ึง มีมูล ค่ า กว่ า 2.7 แสนล้ า นบาทจึง ท าให้ อุตสาหกรรมนี้จดั เป็นอุตสาหกรรมทีร่ ฐั บาลต้องให้ความสาคัญ โดยควบคุมให้มกี าร แข่งขันอย่างเป็นธรรม ส่วนอุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้จากการโม่ - สีธญ ั พืช และการผลิต ผลิตภัณฑ์ประเภทอบ (การอบ การผิง การปิ้ง) นัน้ ให้ค่า HHI สูงซึง่ รัฐบาลควรดูแล ให้อุตสาหกรรมเหล่านี้กระจายตัวมากขึน้ เพื่อประโยชน์ของผูบ้ ริโภค อุตสาหกรรมทีม่ ยี อดขายมากกว่า 1,000 ล้านบาทและมีการกระจุกตัวสูง สามารถแสดงได้ดงั ตารางที่ 1.3 (ภาคผนวก) ซึง่ พบว่าจะเป็นอุตสาหกรรมทีม่ กี าร ผูกขาด เช่น การผลิตผลิตภัณฑ์ยาสูบหรือเป็นอุตสาหกรรมต้องใช้เทคโนโลยีขนสู ั้ ง หรือเครื่องจักรขนาดใหญ่ เช่น การผลิตหลอดไฟฟ้าและเครื่องอุปกรณ์สาหรับให้แสง สว่าง เป็นต้น ในส่วนของตัวอย่างของอุตสาหกรรมทีม่ ยี อดขายมากกว่า 1,000 ล้านบาทและมี การกระจุกตัวต่าแสดงได้ดงั ตารางที่ 1.4 (ภาคผนวก) พบว่าอุตสาหกรรมการเลื่อยไม้ และการไสไม้จะให้ค่า HHI ทีต่ ่าทีส่ ุด นั ่นคือมีการกระจุกตัวต่า ส่วนอุตสาหกรรมทีใ่ ช้ พลาสติกเป็นองค์ประกอบเช่น การผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก รองเท้า และเส้นใย ประดิษฐ์ลว้ นแล้วแต่เป็นอุตสาหกรรมทีม่ กี ารแข่งขันกันต่าเช่นเดียวกัน
21
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ดัชนี ความมั ่นคงทางด้านเศรษฐกิ จ (Economic Security Index)3 ESI หรือดัชนีชว้ี ดั ความมั ่นคงทางเศรษฐกิจ เป็นดัชนีซง่ึ ถูกคิดค้นไม่นานมา นี้เพื่อใช้วดั ความไม่ม ั ่นคงทางเศรษฐกิจของประชากรในประเทศสหรัฐฯ ดัชนีดงั กล่าว สามารถคานวณจากสัดส่วนของประชากรที่มี “รายได้ท่ใี ช้ประโยชน์ได้” (Available Household Income) ลดลงอย่างน้อยร้อยละ 25 เมื่อเทียบกับรายได้จากปีทแ่ี ล้ว และ เป็นผูท้ ไ่ี ม่สามารถเข้าถึงบริการทางการเงินอย่าง “พอเพียง” เพื่อกู้ชดเชยรายได้ท่ี ขาดหายไปได้ซง่ึ “รายได้ทใ่ี ช้ประโยชน์ได้” หมายถึง รายได้ท่หี กั ค่าใช้จ่ายด้านการ รักษาพยาบาลและภาระหนี้สนิ แล้ว โดยผู้ท่สี ามารถเข้าถึงบริการทางการเงินเพื่อกู้เงินชดเชยรายได้ท่ลี ดลงได้ และผู้ เ กษี ย ณอายุ ง านในปี แ รกจะไม่ ถู ก นั บ รวมเป็ น ผู้ ไ ม่ ม ัน่ คง ทางเศรษฐกิจ (Insecure) เนื่องจาก ผู้เกษียณอายุงานในปีแรกสามารถคาดการณ์ได้ว่า ตนเองจะ เกษียณและมีรายได้ทล่ี ดลงจึงไม่ถอื เป็นผู้ไม่ม ั ่นคงทางเศรษฐกิจ ขณะทีภ่ ายหลังจาก เป็นผูเ้ กษียณแล้วให้ใช้เกณฑ์ปกติ คือ หากมีรายได้ทใ่ี ช้ประโยชน์ได้ลดลงร้อยละ 25 จากปีก่อนหน้า ก็จะถูกนับรวมเป็นผูไ้ ม่ม ั ่นคงทางเศรษฐกิจ 3
อ้างอิงจาก Hacker, Huber, Nichols, Rehm, and Craig (2012) เข้าถึงได้ที่ http://economicsecurityindex.org/assets/state_reports/ESI_cross_state.pdf 22
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ค่า ESIt ทีค่ านวณได้ จะมีค่าระหว่าง 0 ถึง 1 หากดัชนีมคี ่าเท่ากับ 0 หมายถึง ทุกครัวเรือนในระบบเศรษฐกิจมีความมั ่นคง แต่ถ้าดัชนีมคี ่าเท่ากับ 1 หมายถึง ทุก ครัวเรือนในระบบเศรษฐกิจมีความไม่ม ั ่นคง ดังนัน้ ยิง่ ค่าดัชนีมคี ่ามาก จะเป็นเครื่อง เตือนภาวะเศรษฐกิจให้ภาครัฐเร่งดาเนินแก้ไขปญั หา หรือออกนโยบายให้ทนั ท่วงที จากรูปที่ 1.15 แสดงตัวอย่างการคานวณค่าดัชนีความมั ่นคงทางด้านเศรษฐกิจ (Economic Security Index) โดยแบ่งการพิจารณาประชากรในประเทศเป็น 5 กลุ่ม ครัวเรือนทีม่ รี ะดับรายได้เรียงจากน้อยไปมาก (หมายเลข 1 แสดงกลุ่มผูม้ รี ายได้น้อย สุดของประเทศ) จากการคานวณสัดส่วนครัวเรือนที่มรี ะดับรายได้ลดลงมากกว่า ร้อยละ 25 เมื่อเทียบกับปีท่แี ล้ว หรือค่าดัชนี ESI สาหรับปี พ.ศ. 2549 – 2550 ดัง รูปที่ 1.15 พบว่า ค่าดัชนี ESI สาหรับกลุ่มผูม้ รี ายได้มากสุดของประเทศมีค่าสูงที่สุด ขณะที่ค่าดัช นี ESI ลดต่ าลงตามกลุ่มระดับรายได้ของประชากร หมายความว่า สัดส่วนครัวเรือนทีม่ รี ะดับรายได้มากสุดของประเทศมีระดับรายได้ลดลงมากกว่า ร้อย ละ 25 มีสูงกว่าสัดส่วนของครัวเรือนที่มรี ะดับรายได้ต่าสุดของประเทศที่มรี ายได้ ลดลงมากกว่าร้อยละ 25 หรืออาจกล่าวได้ว่า กลุ่มครัวเรือนที่มรี ะดับรายได้สูงจะมี ความไม่ม ั ่นคงทางด้านเศรษฐกิจสูงกว่ากลุ่มครัวเรือนทีม่ รี ะดับรายได้ต่า รูปที่ 1.15 อัตราส่วนครัวเรือนที่ประสบปัญหารายได้ลดลงอย่างมีนัยยะ ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2549 - 2550 45 40 35 30 %
25 20 15 10 5 0
1
2 2549
3 2550
4
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากการสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนแบบเก็บตัวอย่างซ้า (Panel Socio-economic Survey) (พ.ศ. 2549-2550) 23
5
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ขณะทีเ่ มื่อพิจารณาการฟื้นตัวของรายได้ครัวเรือนโดยแยกตามระดับรายได้ 5 กลุ่มครัวเรือนเช่นเดิม ดังรูปที่ 1.16 พบว่า ภายหลังจากการลดลงของรายได้ในปี พ.ศ.2549 ระดับรายได้ของทุกกลุ่มครัวเรือนได้มกี ารฟื้น ตัวขึน้ แต่ถึงกระนัน้ ก็ตาม ภายในระยะเวลา 4 ปีนับจากปีท่รี ายได้ลดลง รายได้ของครัวเรือนก็ยงั ไม่สามารถ เพิม่ ขึน้ กลับไปสู่ระดับเดิมก่อนการลดลงของรายได้ในปี พ.ศ. 2548 ได้ แสดงให้เห็น ั หาการลดลงของรายได้ของครัวเรือนเป็ น ประเด็นที่ม ีความส าคัญ ภาครัฐ ว่า ปญ ไม่ควรปล่อยให้เกิดการลดลงของรายได้ในครัวเรือน เพราะต้องใช้เวลานานในการ แก้ไขหากเกิดปญั หาขึน้
0
5000
10000 15000 20000 25000
รูป ที่ 1.16 แนวโน้ ม การฟื้ นตัว ของรายได้ ค รัว เรื อ นแยกตามระดับ รายได้ ครัวเรือนตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2548 - 2553
2548
2549
2550
2551
2552
year 1st Quintile (lowest) 3rd Quintile 5th Quintile (highest)
2nd Quintile 4th Quintile
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากการสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนแบบเก็บตัวอย่างซ้ า (Panel Socio-economic Survey) (พ.ศ. 2548-2553)
24
2553
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
บทที่ 2
การพัฒนาสุขภาวะต้องเท่าเทียม และยังยื ่ น ถึงแม้วา่ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ เช่น การมีรายได้เพิม่ ขึน้ ของประชากร จะมีผลโดยตรงต่อการอยู่ดมี สี ุข แต่การพัฒนาทางเศรษฐกิจไม่ใช่ปจั จัยเดียวที่ม ี ผลต่อการอยูด่ มี สี ุข อีกทัง้ การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ขาดการพิจารณาถึงมิตดิ ้าน สังคมและด้านอื่นๆนัน้ อาจจะไม่ได้นามาซึ่งความอยู่ดมี สี ุขที่ท ั ่วถึงและยั ่งยืนของ ประชากรในประเทศเสมอไป ยกตัวอย่างเช่น หากรัฐบาลมุ่งเน้นเพียงให้รายได้ ประชาชาติเพิม่ สูงขึน้ โดยไม่คานึงถึงความทั ่วถึงก็อาจจะเป็นผลให้ความอยู่ดีมสี ุข กระจุ กอยู่กบั คนบางกลุ่มและกระจายไปไม่ท ั ่วถึง คนอีกบางกลุ่ม หรือหากการ เติบโตอย่างรวดเร็วของรายได้ประชาชาตินนั ้ ต้องแลกกับการสูญเสียทรัพยากร และ/หรือ การสร้า งมลพิษ เป็ น จ านวนมากก็อ าจท าให้ป ระชากรต้อ งแบกรับ ผลกระทบทัง้ ในปจั จุบนั และอนาคตดังนัน้ การวิเคราะห์ความอยูด่ มี สี ุขทีท่ ั ่วถึงและ ยั ่งยืนจึงจาเป็นจะต้องพิจารณาถึงมิตทิ างด้านสังคมและสิง่ แวดล้อมควบคู่ไปด้วย อย่างสมดุล การติดตามผลการพัฒนาทางด้านสัง คมครัง้ นี้ ไ ด้ ศึกษาผ่านตัวชี้วดั 5 กลุ่มได้แก่ กลุ่มสุขภาพ กลุ่มการมีความรูแ้ ละการศึกษา กลุ่มความอยู่ดมี สี ุข กลุ่ม ความมั ่นคงและความปลอดภัย และ กลุ่มความมีสทิ ธิเสรีภาพและการมีส่วนร่วม ในภาพรวมพบว่าพัฒนาการในทัง้ 5 มิตขิ องสังคมนัน้ เป็นไปได้ดใี นระดับที่ผ่าน เกณฑ์ขนพื ั ้ น้ ฐาน คือ ประชากรไทยเกือบทัง้ หมดมีหลักประกันสุขภาพ และโดย เฉลี่ยมีสดั ส่วนรายจ่ายด้านสุขภาพค่อนข้างน้ อยเมื่อเที ยบกับรายได้ ส่วนด้าน การศึกษาพบว่าเด็กไทยเกินร้อยละ 92 สามารถจบการศึกษาชัน้ ประถมปีท่ี 6 และ ชัน้ มัธยมปีท่ี 3 ได้ตามเกณฑ์อายุ ในด้านการอยูด่ มี สี ุขพบว่าประชากรมีศกั ยภาพ ในบริโภคมากขึน้ มีสดั ส่วนหนี้สนิ เฉลีย่ คงตัว และมีอตั ราความเสีย่ งทีจ่ ะจนลดลง
25
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
(ตามรายงานของคณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) ครัวเรือนที่จดั ได้ ว่ามีความเสี่ย งที่จ ะจนคือครัวเรือนเรือนที่มีร ายได้เฉลี่ยต่ ากว่า ร้อยละ 60 ของ ค่ามัธยฐาน (Median) ของรายได้ครัวเรือนในประเทศ) ส่วนด้านความปลอดภัยใน ชีวติ และทรัพย์สนิ ก็มแี นวโน้มดีขน้ึ โดยพบว่าจานวนคดีป ล้นทรัพย์ ลักทรัพย์ ลักพา เรียกค่าไถ่ และวางเพลิงลดลง อีกทัง้ ยังพบว่ายอดประชากรที่เสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุ ทางรถยนต์กม็ แี นวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาข้ามผ่านความสาเร็จมูลฐานดังข้างต้น จะพบว่า ประเทศไทยยังมีจุดทีส่ มควรได้รบั การใส่ใจเพื่อพัฒนาอยูม่ าก โดยเฉพาะประเด็นเชิง คุณภาพ และประเด็นด้านการพัฒนาศักยภาพของประชากรเด็ก โดยในด้านสุขภาพ นัน้ พบว่าอัตราส่วนประชากรต่อแพทย์ไ ทยนัน้ สูงกว่าของประเทศที่พฒ ั นาแล้วอยู่ ประมาณ 7-8 เท่า แสดงว่าแพทย์ไทยรับภาระหนักซึ่งอาจส่งผลถึงคุณภาพ ส่วนใน ด้านการศึกษานัน้ ยังขาดตัวชีว้ ดั ทางด้านคุณภาพการศึกษาและวัฒนธรรมการศึกษา ที่ดี ดังนัน้ จึงอาจยังไม่ สามารถวัดระดับของคุณภาพออกมาได้อ ย่างมีรูปธรรม แต่ อย่างไรก็ตาม แนวโน้มของนักเรียนที่ต้องพึ่งโรงเรียนกวดวิชามากขึน้ และไม่ได้มี โอกาสใช้เวลาว่างในการเพิม่ เติมศักยภาพทางด้านอื่นๆ นอกเหนือจากในบทเรียน ก็ สามารถบ่งชีว้ า่ ระบบการศึกษาไทยนัน้ มีปญั หา นอกเหนือจากด้านการศึกษาแล้วยัง พบว่าเด็กไทยมีแนวโน้มจะได้อยู่กบั ทัง้ พ่อและแม่ลดลง โดยในปี พ.ศ.2553 พบว่า เพียงร้อยละ 59.7 ของเด็กไทยอายุต่ากว่า 15 ปีได้อยูบ่ า้ นเดียวกับทัง้ พ่อและแม่
26
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ด้านสุขภาพ "ผลลัพธ์ทางด้านสุขภาพและสวัสดิ การพัฒนาไปในทางที่ดีแต่บคุ ลากร สาธารณะสุขแบกรับภาระหนัก และพบว่าประชากรป่ วยทางจิตเพิ่ มขึ้น" ประชากรไทยมีแนวโน้มรับภาระค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพลดลงตามลาดับ สืบ เนื่ องมาจากการผลั ก ดั น นโยบายหลั ก ประกัน สุ ข ภาพทั ้ง จากการท างาน (ประกัน สังคม) และหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ า อย่างไรก็ตามข้อมูลด้านจานวน ประชากรต่อแพทย์แสดงให้เห็นว่าแพทย์และบุคลากรทางด้านบริการสุขภาพของไทย รับภาระทีค่ ่อนข้างหนัก และมีแนวโน้มจะหนักขึน้ เรื่อยๆ ส่วนแนวโน้มทางด้าน สุข-พลานามัยพบว่าประชากรมีความเครียดเพิ่มมากขึน้ โดยพบว่าอัตราผู้ผดิ ปกติ ทางจิต อารมณ์และเครียดมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 7-8 ต่อปีในช่วงสองปีท่ผี ่านมา เนื่องจากภาวะสุขภาพจิตมีแนวโน้มสวนทางกับการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในช่วงการเปลีย่ นผ่านจากประเทศกาลังพัฒนาไปสู่ประเทศพัฒนา ดังนัน้ ภาครัฐจึงควรให้ความใส่สาคัญกับสุขพลานามัยเพิม่ ขึน้ ในส่วนนี้
27
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
กล่องที่ 2.1 อัตราผู้ผิดปกติ ทางจิต อารมณ์ และเครียดเพิ่ มขึ้นอย่าง ต่อเนื่ อง ภาวะความผิดปกติทางจิต อารมณ์และเครียดนัน้ ส่งผลเสียต่อตัวผูป้ ่วย บางอาการอาจทาให้พิการ และเสียชีวติ ได้ ซึ่ง ทาให้สะท้อนถึงคุณภาพชีวติ ของคนในสัง คมนัน้ ๆอีกด้วย ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงอัตราของผูผ้ ิ ดปกติทางจิต ของไทยแล้ว พบว่ามี แนวโน้มสูงขึน้ เรือ่ ยๆ และถ้าพิจารณาเทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวทีแ่ ท้จริง (Real GDP per capita) ซึ่งเป็ น ตัวแทนของรายได้ต่อหัวของคนภายในประเทศ พบว่า การเพิม่ ขึน้ ของรายได้มแี นวโน้มสัมพันธ์กบั การเพิม่ ขึน้ ของอัตราผูผ้ ดิ ปกติ ทางจิต/อารมณ์/เครียด/แปรปรวน
230
7.2
210
7.0
190
6.8
170
6.6
150
6.4 2549
2550
2551
2552
2553
อัตราผูผ้ ดิ ปกติทางจิต/อารมณ์/เครียด/แปรปรวนรวม (แกนซ้าย) ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศทีแ่ ท้จริงต่อประชากร (แกนขวา) ที่มา: ข้อมูลจากสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2549-2553)
ด้านการมีความรู้ การศึกษา "เด็กไทยมีแนวโน้ มต้องออกโรงเรียนกลางคันลดลง มีอตั ราการจบชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 6 และ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ตามเกณฑ์เป็ นที่ น่าพอใจ แต่ยงั ไม่มี ข้อมูลด้านการประเมินคุณภาพและความเท่าเทียมของคุณภาพการศึกษาอย่าง มีคณ ุ ภาพและอย่างต่อเนื่ อง" อัตราการคงอยู่ใ นการศึกษาของนักเรียนในทุกช่วงอายุการศึกษา (ประถม, มัธยม, อุดมศึกษา) มีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือนักเรียนมีแนวโน้มออก จากการศึกษากลางคันน้อยลง ทัง้ ยังพบว่าอัตราส่วนของนักเรียนทีส่ ามารถจบ
28
หมื่นบาท
จานวนผู้ป่วย/ประชากรแสนคน
รูปที่ 2.1 อัตราผู้ผิดปกติ ทางจิ ต/อารมณ์ /เครียด/แปรปรวนรวม และผลิ ตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวที่แท้จริ ง
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
การศึก ษาระดับประถมศึกษาปี ท่ี 6 และมัธ ยมศึก ษาปี ท่ี 3 ของประเทศไทยนัน้ ค่อนข้างสูง คือสูงกว่าร้อยละ 92 และไม่มแี นวโน้มลดลง อย่างไรก็ตาม อัตราการจบการศึก ษาตามเกณฑ์ท่ีสูง ไม่ ไ ด้ห มายความถึง คุณภาพการศึกษาที่สูงและวัฒนธรรมการศึกษาที่ดเี สมอไป ส่วนหนึ่งอาจดูได้จาก โอกาสของเด็กนักเรียนที่จบจากโรงเรียนมัธยมที่ต่างโรงเรียนกัน อาจมีโ อกาสไม่ เท่ากันในการได้รบั เข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยชื่อดังระดับประเทศ แต่อย่างไรก็ดีรฐั ยัง ขาดหน่ วยงานที่เก็บข้อ มูลเพื่อติดตามคุณ ภาพการศึกษาของเด็กไทยอย่างมี คุณภาพและมีความต่อเนื่อง "เด็ก ไทยได้ ค ะแนนสอบ PISA น้ อยกว่ า เด็ก เกาหลี ใ ต้ ญี่ ปุ่ น จี น (มลรัฐเซี่ยงไฮ้ ) และ ประเทศในกลุ่มองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิ จ และการพัฒนา (OECD) อย่างน้ อยร้อยละ 15" การประมวลผลการศึกษาของเด็กไทยในช่วงอายุ 15 ปี จากคะแนน PISA (Programme for International Student Assessment) ที่จ ดั ทาโดยองค์การเพื่อความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) เมื่อปี พ.ศ. 2552 พบว่าคะแนนเฉลี่ย ในการสอบวิชาการอ่าน วิชาคณิตศาสตร์ และ วิชาวิทยาศาสตร์ของเด็กไทยนัน้ น้อย ว่าของเด็กเกาหลีใต้ ญี่ปุ่น จีน (มลรัฐเซี่ยงไฮ้) และ ประเทศในกลุ่ม OECD อย่าง น้อยร้อยละ 15 โดยคะแนนของประเทศที่เอามาเปรียบเทียบเหล่านี้จะเกาะกลุ่มกัน โดยจีน (มลรัฐเซีย่ งไฮ้) ได้คะแนนเฉลี่ยมากที่สุด (ดูขอ้ มูลเพิม่ เติมได้จาก “ตารางที่ 2.1 คะแนนสอบ PISA ของเด็กในประเทศต่างๆ” ในภาคผนวก)
29
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ด้านความมั ่นคงและความปลอดภัย "ประเทศไทยปลอดภัย ขึ้น ประชากรเสี ย ชี วิ ตด้ ว ยอุบ ตั ิ เ หตุน้อ ยลง เรื่อยๆ แต่แนวโน้ มอุบตั ิ เหตุบนท้องถนนจากการดื่มสุราและเมายาไม่ได้ลดลง ในด้า นความมั ่นคงปลอดภัย พบว่าประชากรไทยมีแ นวโน้ ม ที่จ ะมีก าร ดารงชีวติ อย่างปลอดภัยมากขึน้ โดย พบว่าจานวนคดีอาชญากรรม (ปล้นทรัพย์, ชิง ทรัพย์, ลักพาเรียกค่าไถ่ และ วางเพลิง) มีแนวโน้มลดลงตามลาดับ อีกทัง้ จากข้อมูล ของสานักงานตารวจแห่งชาติพบว่า อัตราการเสียชีวติ โดยอุบตั เิ หตุจราจรทางบกมี แนวโน้มลดลงเรื่อยๆจากประมาณ 12,693 รายในปี พ.ศ. 2549 มาเป็น 8,275 ราย ในปี พ.ศ. 2553 แต่อย่างไรก็ตามพบว่าอัตราการเกิดอุบตั เิ หตุจากการเมาสุราและ การเมาสารเสพติดไม่ได้มแี นวโน้มลดลง และบางปีจานวนเพิม่ ขึน้ กว่าเดิม รูปที่ 2.2 อัตราการเกิ ดคดีความ ้ านวนประชากรล้านคน ครัง/จ
1200 700 200
-300
2548
ปล้นทรัพย์ (แกนซ้าย)
2549
2550
2551
ชิงทรัพย์ (แกนซ้าย)
2552
ลักพาเรียกค่าไถ่ (แกนซ้าย)
2553
วางเพลิง (แกนซ้าย)
ทีม่ า: สานักงานตารวจแห่งชาติ (พ.ศ. 2548-2554)
"ด้านความปลอดภัยในการทางาน ยังมีความเลื่อมลา้ ระหว่างแรงงาน ในระบบกับแรงงานนอกระบบ" สาหรับความปลอดภัยในการทางาน พบว่ามีความเหลื่อมล้าระหว่างแรงงาน ที่อยู่ใ นระบบ (Formal Sector Employees) และแรงงานที่นอกระบบ (Informal Sector Employees) โดยจากข้อมูลสารวจภาวะการทางานของประชากรไทย
30
2554 (Q2)
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ที่ส ารวจโดยส านักงานสถิติแห่ง ชาติ พบว่า แรงงานนอกระบบที่มีอตั ราการได้ร บั อุบตั ิเหตุจ ากการท างานแต่ ไ ม่ไ ด้ไ ปรักษาที่โ รงพยาบาลสูง กว่าแรงงานในระบบ ประมาณ 3 เท่า หรือในปี พ.ศ.2553 พบว่าแรงงานนอกระบบและในระบบมีอตั ราการ ได้รบั บาดเจ็บจากการทางานแต่ไม่ได้รบั การรักษาที่สถานพยาบาลประมาณร้อยละ 14.36 และ ร้อยละ 4.38 ตามลาดับ และเมื่อพิจารณาถึงมิตขิ องสภาพแวดล้อมการ ทางาน พบว่าแรงงานนอกระบบมีแนวโน้มที่จะต้องทางานในสภาพแวดล้อมที่ไม่ดี มากกว่าแรงงานในระบบประมาณ 1 เท่าตัว (เช่น คับแคบ สกปรก มีกลิน่ เหม็น มี แสงไม่เพียงพอ มีเสียงดัง ) หรือในปี พ.ศ. 2553 พบว่าแรงงานนอกระบบและใน ระบบมีแนวโน้มจะต้องทางานในสภาพแวดล้อมที่ไม่ดปี ระมาณร้อยละ 10.31 และ ร้อยละ 5.67 ตามลาดับ โดยถึงแม้วา่ แนวโน้มของการทางานในสภาพแวดล้อมไม่ดนี ้ี จะลดลง แต่ความเหลื่อมล้าระหว่างแรงงานในและนอกระบบไม่ได้มแี นวโน้มจะลดลง
ด้านความอยู่ดีมสี ขุ "แนวโน้ มด้านรายได้ และการบริโภคพัฒนาไปไนทางที่ดี ครัวเรือนไทยมี ความเสี่ยงที่จะจนลดลง แต่ครอบครัวอบอุ่นลดลงด้วย" เมื่อกล่าวถึง ความอยู่ดีมีสุข พบว่าประชากรไทยมีความคล่องตัวในด้านการ จับจ่ายใช้ส อยเพิ่มขึ้น เห็นได้จากดัช นี ค้าปลีกผลิตภัณ ฑ์อาหารและดั ชนี ยอดขาย ห้างสรรพสินค้ามีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสะท้อนความอยู่ดกี นิ ดีท่เี พิม่ ขึน้ ในด้านของหนี้สนิ ครัวเรือน จากข้อมูลที่สารวจโดยสานักงานสถิตแิ ห่งประเทศไทย พบว่าในปี พ.ศ. 2554 ประชากรมีจานวนหนี้ สนิ เฉลี่ย 136,562 บาทต่อครัวเรือน และมูลค่านี้ม ีสดั ส่วนเฉลี่ยเป็น 6 เท่ าของรายได้ต่อปี ของครัวเรือน อย่างไรก็ตาม สัดส่วนหนี้สนิ เฉลีย่ ต่อรายได้เฉลีย่ ต่อครัวเรือนนี้ค่อนข้างทรงตัว ั หาความยากจน ในด้านความยากจนนัน้ ถึง แม้ว่าประเทศไทยได้ก้าวข้ามปญ สัมบูรณ์ หรือความอดอยาก (Absolute Poverty) ไปแล้ว แต่กไ็ ม่ได้หมายความว่าจะ ไม่มปี ญั หายากจนสัมพัทธ์ (Relative Poverty) ซึง่ ความยากจนสัมพัทธ์ในทีน่ ้ีจะใช้
31
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ดัช นี ค วามเสี่ย งที่จ ะจน 4 เป็ น ตัว สะท้อ น ซึ่ง จากการค านวณโดยใช้ข้อ มูล จาก สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ พบว่าประชากรไทยมีความเสีย่ งทีจ่ ะจนลดลงตามลาดับ เมื่อ พิจารณาแยกตามระดับการศึกพบว่ าความเสี่ยงนี้จะลดลงถ้าประชากรมีการศึกษา สูงขึน้ อย่างไรก็ตาม แม้จ ะพบพัฒนาการที่ดีใ นด้านการจับ จ่ายใช้ส อย การจบ การศึกษาตามเกณฑ์ และความเสีย่ งครัวเรือน แต่ครอบครัวไทยมีแนวโน้มจะอบอุ่น น้อยลง โดยอัตราส่วนเด็กไทย (อายุต่ากว่า 15 ปี) มีแนวโน้มจะได้อยู่บ้านที่มีทงั ้ พ่อ และแม่อย่างพร้อมหน้าลดลง โดยอัตราส่วนนี้ลดลงจากร้อยละ 64.5 ในปี พ.ศ. 2549 เป็ น ร้อยละ 59.7 ในปี พ.ศ. 2553 และมีแนวโน้มจะลดลงเรื่อยๆ ในอนาคต โดย สัดส่วนนี้จะต่าทีส่ ุดในชนบทของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4
ตามรายงานของประชาคมยุโรป (European Commission) ครัวเรื อนที่จดั ได้ ว่ามีความเสีย่ งทีจ่ ะจนคือครัวเรื อนเรือนที่มรี ายได้เฉลี่ย ต่ ากว่าร้อยละ 60 ของค่ามัธยฐานของรายได้ครัวเรือนในประเทศ
32
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
กล่องที่ 2.2 "ในปัจจุบนั จะต้องเรียนอย่างน้ อยระดับ ปวส. ถึงจะสามารถลดความเสี่ยงที่จะจนได้" รูปที่ 2.3 ความเสี่ยงที่จะจนของประชากรจาแนกตามระดับการศึกษา ความเสี่ยงที่จะจน (%)
60 40
23.34 20
11.12 3.68
8.9 4.53
2548 ต่ ากว่าประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย ปริญญาโท
2549
11.7 5.23
6.65
0 2550 2551 ประถมศึกษา ปวช. ปวส. ปวท. อนุปริญญา ปริญญาเอก
2552 2553 มัธยมศึกษาตอนต้น ปริญญาตรี ดัชนีความเสี่ยงที่จะจน
ที่มา: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม (SES)
จากรูปที่ 2.3 พบว่าประชากรไทยมีความเสีย่ งทีจ่ ะจนลดลงเรือ่ ยมา อย่างไรก็ตามประชากรกลุ่มที่มคี วามเสีย่ งที่ จนสูงสุดคือกลุ่มทีจ่ บการศึกษาต่ากว่าประถมศึกษา ตามมาด้วย ประถมศึกษา เรื่อยไปจนถึงปริญญาตรี อย่างไรก็ตาม พบว่าในช่วงปี พ.ศ. 2548 – 2550 ประชากรมีการศึกษาอย่างน้อยระดับมัธยมต้นจะมีเสีย่ งที่จะจนลดลงอย่างมาก แต่ สาหรับปี พ.ศ. 2553 การศึกษาระดับมัธยมต้นนัน้ ไม่เพียงพอทีจ่ ะลดความเสีย่ งที่จะจนแล้ว ประชากรจะต้องมีการศึกษา อย่างน้อยระดับ ปวช. จึงจะสามารถลดความเสีย่ งทีจ่ ะจนได้อย่างมีนยั ยะสาคัญ
ด้านความมีสิทธิ เสรีภาพ การมีส่วนร่วมและการมีธรรมาภิ บาล "ด้ยานธรรมาภิ บาล ประเทศไทยดี าค่กาารด เฉลีารงชี ่ยของประเทศในกลุ ในด้านความมั ่นคงปลอดภั พบว่าประชากรไทยมี แนวโน้มทีกจ่ ว่ะมี วติ อย่างปลอดภัย่มมากขึน้ โดย อาเซียนและจี ยกเว้ นความมั อง" พบว่าจานวนคดีอาชญากรรม (ปล้นนในทุ ทรัพกย์ด้, าชินงทรั พย์น, ลัด้กาพาเรี ยกค่า่นคงทางการเมื ไถ่ และ วางเพลิ ง ) มีแนวโน้มลดลง ตามลาดับ อีกทัง้ จากข้อมูในส่ ลของส านักงานต ารวจแห่บงาลได้ ชาติพนบว่ า อัตราการเสี ชีวติ โดยอุบตั านวณไว้ เิ หตุจราจรทาง วนของดั ช นีธรรมาภิ ามาจากดั ชนี ท่ธี ยนาคารโลกค เพื่อ บกมีแนวโน้มลดลงเรื 12,693่นรายในปี มาเป็น 8,275 รายในปีชนีพ.ศ. เปรี่อยยๆจากประมาณ บเทียบกับของประเทศอื ๆในโลกพ.ศ.2549 โดยพิจารณาธรรมาภิ บาลจากดั 6 ด้2553 าน แต่อย่างไรก็ตามพบว่ ดังานีอั้ ตราการเกิดอุบตั เิ หตุจากการเมาสุราและการเมาสารเสพติดไม่ได้มแี นวโน้มลดลง และบางปีจานวนเพิม่ ขึน้ 1)กว่การแสดงความเห็ าเดิม นและการรับผิดต่อการกระทา (Voice and Accountability) 2) ความมั ่นคงทางการเมือง (Political Stability/Absence of Violence) 3) ประสิทธิภาพของรัฐบาล (Government Effectiveness) 4) คุณภาพของการกากับดูแล (Regulatory Quality) 5) การมีหลักนิตธิ รรม (Rule of Law) 6) ยการปราบปรามคอร์ รปั ชัแนนวโน้ (Control ofกCorruption) ในด้านความมั ่นคงปลอดภั พบว่าประชากรไทยมี มทีจ่ ะมี ารดารงชีวติ อย่างปลอดภัยมากขึน้ โดย พบว่าจานวนคดีอาชญากรรม (ปล้นทรัพย์, ชิงทรัพย์, ลักพาเรียกค่าไถ่ และ วางเพลิง ) มีแนวโน้มลดลง ตามลาดับ อีกทัง้ จากข้อมูลของสานักงานตารวจแห่33งชาติพบว่า อัตราการเสียชีวติ โดยอุบตั เิ หตุจราจรทาง บกมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆจากประมาณ 12,693 รายในปี พ.ศ.2549 มาเป็น 8,275 รายในปี พ.ศ. 2553
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
โดยเมื่อ เปรีย บเทีย บดัช นี เ หล่ า นี้ ก ับ ประเทศอื่น ๆ ในกลุ่ ม อาเซีย นและ สาธารณรัฐประชาชนจีน พบว่าประเทศไทยอยู่ในระดับที่ดกี ว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ในกลุ่มอาเซียนและจีน ในทุ ก ด้า น ยกเว้น ด้า นความมั ่นคงทางการเมือง แต่ เมื่อ เปรีย บเทีย บกับ กลุ่ ม OECD จะพบว่า ประเทศไทยยัง สามารถพัฒ นาการมี ธรรมาภิบาลให้เพิม่ ขึน้ ได้อกี หลายระดับ
ขยายประเด็นครอบครัวอบอุ่น ในภาวะที่เ ศรษฐกิจ เจริญ เติบโตอย่างรวดเร็ว ความต้องการแรงงานใน ตลาดแรงงานนัน้ ก็ยอ่ มเติบโตเร็วเป็นเงาตามตัว อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเติบโต ของ GDP ในประเทศไทยทีผ่ ่านมาส่วนใหญ่จะอยูใ่ นภาคอุตสาหกรรมและบริการซึ่ง มีการกระจุกตัวเชิงพืน้ ทีค่ ่อนข้างสูง เช่น ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมถึง หัวเมืองใหญ่ตามภาคต่างๆ จึงทาแรงงานทีม่ ถี นิ่ ฐานอยูใ่ นชนบทจานวนมากต้องย้าย ออกจากบ้านเกิดเข้ามาทางานในเมือง แต่เนื่องจากค่าครองชีพในเมืองนัน้ สูง กอปร กับรัฐ ไม่มีส วัส ดิการเพื่อการเลี้ยงเด็กอ่อนที่เพียงพอ แรงงานส่วนมากจึง ไม่อาจ รับภาระนาบุตรมาเลี้ยงดูใ นเมืองได้และจาเป็น จะต้องทิ้งลูกไว้กบั ปู่ย่าตายายที่อยู่ บ้านเกิดให้เลี้ยงดู ซึ่งหากเราเชื่อว่าปู่ย่าตายายน่ าจะไม่สามารถดูแล และให้ความ อบอุ่นเสมือนพ่อ-แม่ของเด็กทีแ่ ท้จริงได้อย่างสมบูรณ์ คุณภาพและสวัสดิการของเด็ก ที่ไ ม่ไ ด้อยู่กบั พ่อ -แม่ จ ึง น่ าจะด้อ ยกว่าของเด็กที่ไ ด้อยู่กบั พ่อ -แม่ อย่างพร้อมหน้ า พร้อมตา เหตุการณ์ น้ี ม ีนัยยะต่อการพัฒนาระยะยาวของประเทศเนื่ องจากส่ง ผล กระทบโดยตรงต่อสวัสดิการและคุณภาพของประชากร จากรายงาน “ชีวิตคนไทยในสองทศวรรษของการพัฒนา: นัยยะต่อการ เปลี่ยนแปลงนโยบายสาธารณะสาหรับความเป็ นอยู่ของครัวเรือนไทย” โดย มูลนิ ธิส ถาบัน วิจ ยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ได้ใ ห้คาจากัดความของ ครอบครัวที่มปี ระชากรสองรุ่นคือ 1) รุ่นปู่ย่าตายาย และ 2) รุ่นหลาน ดังข้างต้นว่า ครอบครัวแหว่งกลาง ซึง่ พบว่าในรอบสองทศวรรษทีผ่ ่านมานัน้ สัดส่วนของครอบครัว แหว่งกลางได้เพิม่ ขึน้ เรื่อยๆ
34
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
“ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อมีสดั ส่วนของครอบครัวแหว่งกลางสูงกว่าภาค ต่างๆมาก โดยสูงถึงร้อยละ 12” รูปที่ 2.4 แสดงสัดส่วนของครอบครัวแหว่งกลาง (เป็นร้อยละ) แบ่งตามภาคของ ประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2549-2554 ซึง่ เป็นช่วงเวลาที่สนั ้ แต่ใกล้กบั ปจั จุบนั กว่า งานศึกษาของ TDRI ซึ่ง พบว่าสัดส่วนของครอบครัวแหว่ง กลางมีแนวโน้มคงตัว อาจจะลดลงหรือเพิม่ ขึน้ อย่างช้าในบางพืน้ ที่ ทัง้ นี้อาจจะเนื่องมาจากการที่เกิดวิกฤติ เศรษฐกิจ ขึ้น ทัว่ โลกในปี พ.ศ. 2551 ซึ่ง ประเทศไทยก็ไ ด้ร ับ ผลกระทบนี้ ั หาท าให้ต้องทยอยปลด เช่ นเดียวกัน บรรดาห้างร้านและอุตสาหกรรมประสบปญ พนักงาน ลดจานวนลูกจ้างลง จึง ท าให้พ่อและแม่ท่เี คยเข้า มาท างานในกรุ ง เทพ จาเป็ นต้องกลับไปยังภูมลิ าเนาต่างจังหวัดเพื่อประกอบอาชีพพื้นฐานดัง้ เดิม ผลที่ ตามมาก็คอื สัดส่วนครอบครัวแหว่งกลางไม่ได้เพิม่ ขึน้ อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาแบ่งตามภาคแล้วพบว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะ มีอตั ราส่วนนี้ สูงกว่าภาคต่างๆมาก กล่าวคือ ร้อยละ 10-12 ตามมาคือภาคเหนื อ (ร้อยละ 8-9) และน้อยที่สุดในกรุง เทพมหานครซึ่งมีสดั ส่วนครอบครัวแหว่ง กลาง เพียงร้อยละ 1-2 เท่านัน้ 35
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
รูปที่ 2.4 สัดส่วนของครอบครัวที่แหว่งกลาง แสดงเป็ นรายภาค %
14 12 10 8 6 4 2 0
12.49 9.87
1.11
1.19
2549
กรุงเทพ
2550
ภาคกลาง
11.16
10.96
10.86
1.07
1.19
1.14
2551
2552
ภาคเหนือ
2553
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
11.99
1.8
2554
ภาคใต้
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม (SES)
เมื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนนี้โดยใช้เขตเทศบาลเป็นเป็นเกณฑ์ (ดูรูปที่ 2.5) จะพบว่ากลุ่มครอบครัวทีอ่ ยูน่ อกเขตเทศบาลจะมีอตั ราส่วนครอบครัวแหว่งกลางที่สูง กว่า เนื่องด้วยสาเหตุทใ่ี กล้เคียงกับเหตุผลในการใช้ภาคเป็นเกณฑ์ นั ่นคือ ครอบครัว ทีอ่ ยูน่ อกเขตเทศบาลจะเข้ามาทางานในเขตเทศบาล ทาให้จานวนครอบครัวเด็กที่ได้ อยูพ่ ร้อมกับพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ในเขตเทศบาลน้อยกว่าจานวนครอบครัวนอกเขต เทศบาล รูปที่ 2.5 สัดส่วนของครอบครัวที่แหว่งกลางแบ่งตามเขตเทศบาล % 10
9.38
8.85
8.16
8
9.29
8.85
8.41
6 4
3.06
3.18
3.38
3.25
3.48
4.06
2 0 2549
2550
2551
2552
ในเขตเทศบาล
นอกเขตเทศบาล
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม (SES) 36
2553
2554
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
นอกเหนือจากการพิจารณาสถิตคิ รอบครัวแหว่งกลางแล้ว สถิตเิ ด็กที่ได้อยู่กบั ทัง้ พ่อและแม่ก็สามารถสะท้อนความอบอุ่นของครอบครัวได้ โดยรูปที่ 2.6 แสดง อัตราส่วนของเด็กทีไ่ ด้อยูก่ บั ทัง้ พ่อและแม่ และอัตราส่วนของเด็กที่ได้อยู่กบั พ่อหรือ แม่เพียง 1 คน ซึง่ พบว่าอัตราส่วนเด็กที่ได้อ ยู่กบั พ่อและแม่ (ทัง้ คู่) ลดลง ในขณะที่ อัตราส่วนเด็กทีไ่ ด้อยูก่ บั พ่อหรือแม่ (คนใดคนหนึ่ง) เพิม่ ขึน้ ซึ่งผลดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่าแนวโน้มความอบอุ่นของสังคมไทยจะลดน้อยลงเรื่อยๆ รูปที่ 2.6 อัตราส่วนของเด็กที่ได้อยู่กบั ทัง้ พ่อและแม่ และที่ได้อยู่กบั พ่อหรือแม่เพียง 1 คน % 70
64.51
62.77
61.85
61.69
61.33
59.71
16.01
15.01
16.18
16.90
17.22
16.98
60
50 40
30 20
10 0 2549
2550
2551
2552
เด็กทีไ่ ด้อยู่กบั พ่อหรือแม่ 1 คน
2553
2554
เด็กทีไ่ ด้อยู่กบั พ่อหรือแม่ 2 คน
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม (SES)
กล่าวโดยสรุป ประเทศไทยยังมีความเหลื่อมล้าด้านครอบครัวอบอุ่นอยู่มาก ซึ่ง เด็กทีอ่ ยูใ่ นชนบท โดยเฉพาะของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือจะมีโอกาส ที่ไ ด้อ ยู่ก ับพ่ อแม่ น้ อ ยกว่า เด็ กที่อ ยู่ใ นภาคอื่น ๆของประเทศ โดยถึง แม้ว่า การที่ ผู้ปกครอง (พ่อ-แม่) ได้ง านท าในเมืองอาจจะเป็น การเพิ่มรายได้ให้ครอบครัว แต่ ผลกระทบทางสังคมทีต่ ามมาคือครอบครัวไม่อบอุ่นหรือลูกๆไม่มโี อกาสได้อยู่กบั พ่อ ั หาหรือป้องกัน ปญ ั หานี้ใ นระยะยาว รัฐ ควรมีมาตรการ และแม่ ดัง นัน้ เพื่อแก้ปญ กระจายความเจริญไปสู่ขนบท เพื่อเพิม่ งานที่มผี ลตอบแทนดีขน้ึ ให้กบั ประชากรที่มี ถิน่ ฐานอยูใ่ นชนบท หรือหากการกระจายความเจริญดังกล่าวเป็นไปได้ยากในระยะ สัน้ รัฐควรจะให้มมี าตรการดูแลเด็กเล็กเพื่อเพิม่ แนวโน้มให้พ่อ -แม่-ลูก ได้อยู่ด้วยกัน อย่างพร้อมหน้ามากขึน้
37
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ขยายประเด็นความเท่าเทียมของโอกาสทางการศึกษาของเด็กไทย (Equal Opportunity in Education) ความเท่าเทียมของโอกาส (Equal Opportunity) นัน้ เป็นประเด็นใหม่ท่ไี ด้รบั ความสนใจจากทัง้ องค์การระหว่างประเทศ และองค์การการพัฒนาระดับประเทศของ หลายประเทศด้วยกัน ตัวอย่างเช่น ธนาคารโลก ได้จดั พิมพ์วธิ กี ารวัดความเท่าเทียม ของโอกาสในหนังสือชื่อ “Measuring Inequality of Opportunities in Latin America and the Caribbean” โดย Barros et al. (2008) ตัง้ แต่ พ.ศ. 2551 เป็นต้นมา ธนาคารโลกได้ทาการคานวณดัชนีวดั ความเท่าเทียมทางโอกาสในกลุ่มประเทศลาติน อเมริกา และหมู่เกาะแคริบเบียนทุกปีเพื่อวัดความคืบหน้าของการพัฒนาทางด้านนี้
38
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
สาเหตุสาคัญทีท่ าให้ประเด็นทางด้านความเท่าเทียมของโอกาส (ไม่ใช่ความเท่า เทียมของผลลัพธ์เพียงเท่านัน้ ) ได้กลายมาเป็นประเด็นทางการพัฒนาที่ได้รบั ความ สนใจก็เพราะโอกาสนัน้ เป็นประตูส่กู ารสร้างศักยภาพให้ประชากรแต่ละคนสามารถ ดารงชีวติ ในทิศทางที่ตนสามารถได้มาซึ่ง ผลลัพธ์ท่ดี ตี ่างๆ ต่อชีวติ เช่ น มีร ายได้ เพีย งพอในการด ารงชีว ิต มีอ าหารเพีย งพอในการด ารงชีว ิต มีศ ัก ยภาพพอ ทีจ่ ะจ่ายค่าท่องเทียวเพื่อความสุขตามอัตภาพ ฯลฯ ทัง้ นี้การให้ความเท่าเทียมทาง โอกาสนัน้ มักจะมาหลังจากที่สงั คมนัน้ ๆ พ้นจากปญั หาความยากจน และ ความอด อยากซึง่ เป็นประเด็นทีเ่ ร่งด่วนกว่า อย่างไรก็ตาม ในปจั จุบนั ประเทศส่วนใหญ่ได้ก้าว ข้ามปญั หาความยากจน และ ความอดอยากแล้ว จึงพากันหันมาให้ความสาคัญใน การพัฒนาความเท่าเทียมทางด้านโอกาสมากขึน้ การวัดความเท่าเทียมของโอกาสทางการศึกษาในที่น้ี จะใช้วธิ ขี องธนาคารโลก ซึ่งเขียนโดย Barros et al.(2008) ใช้ 5 ตัวแปรหลักคือ (1) สัดส่วนเด็กที่จบ ประถมศึกษาปี ท่ี 6 ภายในเกณฑ์ (2) สัดส่วนเด็กที่อายุ 10-14 ปี ที่กาลัง เรีย น หนังสือ (3) การมีน้ าสะอาดใช้ในบ้าน (4) การมีไฟใช้ในบ้าน และ (5) ลักษณะของ ที่อยู่อาศัยหรือความเป็นอยู่ท่ถี ูกสุขอนามัย อย่างไรก็ตาม เนื่องจากประเด็นการมี น้าสะอาดและมีไฟฟ้าใช้นนั ้ น่าจะไม่เป็นปญั หารุนแรงแล้วในประเทศไทย และข้อมูล ทางด้านลักษณะที่อยู่อาศัยเท่ าที่มีเก็บเป็น ประจาโดยสานักงานสถิติแห่ง ชาตินัน้ ไม่อาจสะท้อนคุณภาพของทีอ่ ยูอ่ าศัยได้ว่าลักษณะใดดีหรือไม่ดี การวิเคราะห์ครัง้ นี้ จึง เน้ น ที่ค วามเท่ า เทีย มทางด้ า นโอกาสในการศึก ษา ซึ่ง จะดูท่ีต ัว แปรการจบ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ภายในเกณฑ์ และ การจบมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภายในเกณฑ์
“โดยเฉลี่ยแล้วเด็กไทยร้อยละ 90 – 93 จบชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 6 ตาม เกณฑ์ และร้อยละ 91 – 94 จบชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ตามเกณฑ์” รูปที่ 2.7 แสดงสัดส่วนเด็กไทยทีจ่ บชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 และ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ตามเกณฑ์ แบ่ ง ตามในเขตและนอกเขตเทศบาลซึ่ง พบว่า โดยเฉลี่ยแล้ว เด็ก ประมาณร้อยละ 90-93 นัน้ จบ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ตามเกณฑ์ และร้อยละ 91-94 นัน้ จบ มัธยมศึกษาปี ท่ี 3 ตามเกณฑ์ แต่โ ดยรวมแล้วเด็กที่อยู่น อกเขตเทศบาลจะมี แนวโน้มจบตามเกณฑ์น้อยกว่าประมาณร้อยละ 1-2 39
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
เมื่อเทียบตัวเลขของไทยกับของประเทศแถบละติน อเมริกาและหมู่เกาะ แคริบเบียนในงานศึกษาของธนาคารโลกแล้ว สัดส่วนของประเทศไทยนัน้ ค่อนข้างสูง โดยค่าเฉลีย่ ของประเทศแถบละตินอเมริกาและหมู่เกาะแคริบเบียนนัน้ คือร้อยละ 68 ค่าต่าสุดคือประเทศบราซิล (ร้อยละ 38) และสูงสุดคือประเทศจาเมกา (ร้อยละ 97) (อ้างอิงจาก Molinas et al.(2010)) รูปที่ 2.7 สัดส่วนเด็กที่จบชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 6 และมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ตามเกณฑ์แบ่งตามใน เขตและนอกเขตเทศบาล จบชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 6 ตามเกณฑ์
จบชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ตามเกณฑ์
96.0% 94.0% 92.0% 90.0% 88.0% 86.0% 84.0% 82.0% 80.0%
96.0% 94.0% 92.0% 90.0% 88.0% 86.0% 84.0% 82.0% 80.0% 2549
2550
2551
2552
2553
2554
2549
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม (SES)
40
2550
2551
2552
2553
2554
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
อย่างไรก็ตามความเท่ าเทียมของโอกาสที่จะจบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 และ มัธยมศึกษาปี ท่ี 3 ตามเกณฑ์น้ีสามารถวัดได้ผ่าน D-index ซึ่งเทียบเคียงได้กบั ปริมาณของโอกาส (หน่ วยเป็นร้อยละของโอกาสทัง้ หมด) ที่เด็กที่มโี อกาสมากกว่า ควรจะแบ่งไปให้เด็กที่มโี อกาสน้อยกว่า ซึ่งจากการคานวณพบว่าค่าความแตกต่าง ระหว่ า งโอกาสทางการศึก ษาของไทย โดยใช้ ก ารจบชัน้ ประถมศึก ษาปี ท่ี 6 เป็นเกณฑ์นนั ้ มีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ ตัง้ แต่ร้อยละ 2.9 ในปี พ.ศ. 2549 มาเป็นร้อย ละ 2.4 ในปี พ.ศ. 2554 (ดูตารางที่ 2.1) ซึ่งตัวเลขนี้มคี ่าค่อนข้างต่าเมื่อเทียบกับ ประเทศในกลุ่มลาตินอเมริกา ตัวอย่างเช่นในปี พ.ศ. 2551 ค่า D-index ของประเทศ ต่างๆ มีค่าดังนี้ เม็กซิโก = 3, อาร์เจนติน่า = 3.9, บราซิล = 6.4, ชิลี = 3, โคลัมเบีย = 9.9, อุรุกวัย = 10.4 และ เปรู = 7.3 และค่าเฉลี่ยของ D-index ทางด้านนี้ ในประเทศลาติน อเมริกา และแคริบเบียนมีค่าเท่ ากับ 10.2 เป็ น ต้น (ดูเพิม่ เติมที่ Molinaset al.(2012)) ส่วนในแง่ของค่า D-index ของการจบชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ตามเกณฑ์นนั ้ พบว่ามีความแตกต่างกันน้อยกว่าระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 อีกด้วย ตารางที่ 2.1 ค่า D-index (หน่ วย: % ของโอกาส) ของความเหลื่อมลา้ ทางด้านโอกาสที่จะจบ ป.6 และ ม.3 ตามเกณฑ์ ปี 2549 2550 2551 2552 2553 2554
จบ ป.6 ตามเกณฑ์ 2.9 2.9 2.3 2.0 2.4 2.4
จบม.3 ตามเกณฑ์ 2.1 2.4 1.9 2.0 1.9 1.7
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม (SES)
สุดท้ายเพื่อให้สามารถวิเคราะห์สาเหตุของโอกาสที่เหลื่อมล้าได้ ตารางที่ 2.1 ได้แสดงค่า D-index (หน่ วยเป็น % ของโอกาส) ของความเหลื่อมล้าที่เกิดจากตัว แปรภายนอกต่างๆ แต่ละตัว โดยสมมติให้ตวั แปรในมิตอิ ่นื ๆ เท่ากัน ในเด็กทุกคน ตัวอย่างเช่น สาหรับโอกาสในการจบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ตามเกณฑ์หากดูในมิติ
41
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
การอยู่ใ นเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล (และสมมติให้เด็กแต่ละคนมี ปจั จัยในด้านอื่นเท่ากันหมด) พบว่ามีความเหลื่อมล้าร้อยละ 0.29 และถ้าดูในมิตขิ อง จานวนสมาชิกในบ้านที่อายุต่ากว่า 20 จะพบว่ามีความเหลื่อมล้าร้อยละ 0.35 โดย เมื่อประเมินผลของความเหลื่อมล้าจากตัวแปรภายนอกแต่ละตัวแล้วได้ขอ้ สรุ ปว่า ปจั จัยหลักทีม่ ผี ลทาให้โอกาสการจบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ตามเกณฑ์ไม่เท่าเทียม คือ 1) การอยูใ่ นเขตนอกเขตเทศบาล โดยเด็กทีอ่ ยูน่ อกเขตเทศบาลจะมีโอกาส ทีน่ ้อยกว่า 2) การมีเด็กวัยเรียน อายุน้อยกว่า 20 อยู่ใ นบ้านหลายๆคน หรืออีกนัย หนึ่งคือการมีพน่ี ้องหลายคน 3) ระดับรายได้ครัวเรือน เนื่องจากไม่มขี อ้ มูลด้านรายได้จงึ ใช้ขอ้ มูลระดับ รายจ่ายเป็นตัวแทน 4) ระดับการศึกษาของผูป้ กครอง ส่วนปจั จัยหลักๆ ทีม่ ผี ลทาให้โอกาสการจบชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ตามเกณฑ์ นัน้ เป็นปจั จัยเดียวกับของโอกาสการจบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ตามเกณฑ์ รูปที่ 2.8 ค่า D-index (หน่ วย: % ของโอกาส) ของความเหลื่อมลา้ ที่เกิ ดจากตัวแปรภายนอก ต่างๆ ระดับการศึกษาหัวหน้าครอบครัว
0.40
0.29
ระดับรายจ่าย (แทนระดับรายได้)
0.46
0.11
จานวนสมาชิกอายุต่ ากว่า 20 ในครัวเรือน
0.35
0.23
ที่บา้ นไม่ได้พูดภาษาไทย
0.80
0.44 0.04 0.00
อยูก่ บั ทัง้ พ่อและแม่ เขตเทศบาล
0.19 0.0
0.29
0.2
0.4
ป.6
ม.3
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม (SES)
42
0.6
0.8
1.0
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
กล่องที่ 2.3 ความสัมพันธ์ระหว่างความเท่าเทียมของรายได้และความเท่าเทียมของโอกาส ความเท่าเทียมของโอกาส หรือ equal opportunity นัน้ สามารถนาไปสูความเท่าเทียมทางรายได้ได้ในระยะยาว ทัง้ นี้ เ ป็ น เพราะหากประชากรมีโ อกาสในการพัฒ นาศักยภาพของตนที่ เ ท่ าเทีย มแล้ว ประชากรเหล่ านั น้ ก็น่ า จะมี ความสามารถในการหารายได้ และดูแลตนเองในด้านอื่นๆได้อย่างเท่าเทียมเช่นกัน โดยในปี ค.ศ. 2008 (พ.ศ. 2551) ธนาคารโลกได้ทาการศึกษาและวิเคราะห์เกีย่ วกับความเท่าเทียมของโอกาสในในประเทศลาตินอเมริกาและแคริบเบียน ซึ่งได้จาแนกความสัมพันธ์ระหว่างความเท่าเทียมของรายได้และความเท่าเทียมของโอกาสได้ว่า 1) หากประเทศใดมี ความเท่าเทียมของทัง้ ระดับรายได้และโอกาส ประเทศนัน้ ก็อยู่ในระดับที่มคี วามเท่าเทียมพอสมควร 2) โอกาสเท่าเทียม แต่รายได้ไม่เท่าเทียม ประเทศนัน้ กาลังอยู่ในระหว่างเปลีย่ นผ่าน 3) ทัง้ โอกาสและรายได้ไม่เท่าเทียม ประเทศนัน้ กาลังอยู่ ในกับดักความไม่เท่าเทียม 4) โอกาสไม่เท่าเทียมแต่รายได้เท่าเทียม ซึง่ ยังไม่สามารถหาเหตุผลอธิบายได้ (puzzling)
ระดับของโอกาส ไม่เท่าเทียม
ระดับของรายได้ เท่าเทียม Puzzling เอลซัลวาดอร์ Relative Equality อาร์เ จนตินา, คอสตาริกา, อุรุกวัย , เวเนซุเอลา
เท่าเทียม
ไม่เท่าเทียม Inequality trap โบลิเวีย, ฮอนดูรสั In transition บราซิล, ชิล,ี โคลัมเบีย
ทีม่ า: Barros et al. (2008)
ขยายประเด็นความเหลื่อมลา้ ด้านคุณภาพชีวิตของแรงงาน ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะมีพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 โดยมี จุดประสงค์เพื่อให้ผทู้ ท่ี างานในตลาดแรงงานไทยได้รบั การคุ้มครองในหลายๆ ด้าน ตัว อย่างเช่ น ด้า นวัน หยุด วัน ลา ชั ่วโมงท างาน ค่า จ้างขัน้ ต่ า ค่ าล่ วงเวลา และ สภาพแวดล้อมในการทางานทีไ่ ม่เป็นอันตราย เป็นต้น แต่ท่ผี ่านมากฎหมายนี้ยงั ไม่ สามารถบัง คับใช้ใ นการจ้างงานแบบไม่เ ป็ น ทางการ หรือนอกระบบ (Informal Employment) ได้เท่าที่ควร ซึ่ง เนื่องจากแรงงานส่วนใหญ่ใ นประเทศไทยนัน้ เป็ น แรงงานนอกระบบ รัฐจึงควรผลัดดัน ให้ได้รบั ความคุ้มครองแรงงานอย่างเต็มเม็ด เต็มหน่วยเช่นกัน
43
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
รูปที่ 2.9 แสดงอัตราการได้รบั บาดเจ็บจากการทางานแบ่งเป็นกรณีแรงงาน ในระบบ และแรงงานนอกระบบ โดยพบว่าสัดส่วนการได้รบั บาดเจ็บจากการทางาน จนต้องเข้ารักษาทีโ่ รงพยาบาลมีแนวโน้มลดลงตามลาดับ ซึ่งสัดส่วนนี้มกั จากลดลง สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจทีด่ ขี น้ึ แต่อย่างไรตาม เมื่อพิจารณาทีส่ ดั ส่วนการได้รบั บาดเจ็บจากการทางานแบบ ไม่ตอ้ งเข้ารักษาทีโ่ รงพยาบาลแล้วพบว่ายังมีความเหลื่อมล้าระหว่างความปลอดภัย ของแรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบอยู่มาก (สัดส่วนต่างกันร้อยละ 10 และ ความต่างนี้ไม่มแี นวโน้มจะลดลง) รูปที่ 2.9 อัตราการได้รบั บาดเจ็บจากการทางาน (ร้อยละ) รักษาที่โรงพยาบาล
ไม่ได้รกั ษาที่โรงพยาบาล 20 %
2.5 % 2 1.5 1
16.41 1.82
1.73 1.30
15 1.25
1.38
12.57
17.39
13.66
13.33
14.36
10 0.73
5 3.89
0.5
3.90
5.37
5.87 4.25
4.38
0
0
2549 2550 2551 2552 2553 2554
2549 2550 2551 2552 2553 2554
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะการทางานของประชากร (LFS)
เมื่อพิจารณาถึงสภาพแวดล้อมการทางานของแรงงานในระบบ เปรียบเทียบ กับแรงงานนอกระบบพบว่ามีความเหลื่อมล้าในด้านนี้เช่นกัน โดยแรงงานนอกระบบ นัน้ มีแนวโน้มจะทางานในสภาพแวดล้อมไม่ดี (เช่น คับแคบ สกปรก มีกลิน่ เหม็น ไม่ มีการระบายอากาศที่ดี) มากกว่าแรงงานในระบบ ซึ่งถึง แม้ว่าอัตราการทางานใน สภาพแวดล้อมไม่ดจี ะมีแนวโน้มลดลงตามการพัฒนาทางเศรษฐกิจทีเ่ พิม่ ขึน้
44
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
แต่ความเหลื่อมล้าระหว่างแรงงานในระบบกับนอกระบบไม่มแี นวโน้มจะลดลง ดังนัน้ รัฐจึงควรหันมาให้ความสาคัญกับสวัสดิการการทางานของแรงงานนอกระบบ มากขึน้ เพราะนอกจากแรงงานกลุ่มนี้จะเป็นแรงงานส่วนใหญ่ของประเทศแล้ว ก็ยงั เป็นแรงงานทีเ่ สียสละในการทางานทีย่ ากลาบากกว่างานในระบบหลายๆ ประเภทอีก ด้วย รูปที่ 2.10 อัตราการแรงงานที่ระบุว่าสภาพแวดล้อมการทางานไม่ดี เช่น คับแคบ สกปรก มีกลิ่ นเหม็น ไม่มีการระบายอากาศที่ดี 16 14 12 10 8 6 4 2 0
13.85 11.53
11.90
11.33
11.10
10.31
9.96
8.24
8.10
7.56
2549
2550
2551
6.58
2552
แรงงานในระบบ
แรงงานนอกระบบ
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะการทางานของประชากร (LFS)
45
5.67
2553
2554
รวม
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ขยายประเด็นธรรมาภิ บาล คุณลักษณะทีส่ ะท้อนถึงระดับธรรมาภิบาลที่ดปี ระกอบด้วย การมีวถิ ีในการ บริหารจัดการบ้านเมืองทีด่ ขี องรัฐบาล รัฐบาลมีความสามารถในการกาหนดนโยบาย ด้า นเศรษฐกิจ และสัง คมที่ม ีป ระสิท ธิภ าพและด าเนิ น การให้น โยบายที่ก าหนด สัม ฤทธิผ ล มีก ระบวนการได้ม าซึ่ง รัฐ บาลจะที่ ม าจากการเลือ กตัง้ ตามระบอบ ประชาธิปไตย มีการบริหารงานทีโ่ ปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ ประชาชนมีสทิ ธิ ในการแสดงความคิดเห็นและสื่อมวลชนมีเสรีภาพในการนาเสนอข่าวสาร
46
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ดัช นี ธรรมาภิบาลโลก (Worldwide Governance Indicators) จัดท าขึน้ โดย ธนาคารโลก เพื่อใช้ในการคานวณดัชนีธรรมาภิบาลโลกของประเทศต่างๆ กว่า 200 ประเทศทั ่วโลกดัชนีธรรมาภิบาลประกอบด้วย หลักธรรมาภิบาล 6 มิตยิ อ่ ย ได้แก่ 1. การแสดงความเห็น การรับผิดต่อการกระทา (Voice and Accountability) 2. ความมั ่นคงทางการเมือง (Political Stability/Absence of Violence) 3. ประสิทธิภาพของรัฐบาล (Government Effectiveness) 4. คุณภาพของการกากับดูแล (Regulatory Quality) 5. การมีหลักนิตธิ รรม (Rule of Law) 6. การปราบปรามคอร์รปั ชัน (Control of Corruption) ดัชนีธรรมาภิบาลของประเทศไทย 5 ใน 6 ด้านสูงเป็น อันดับที่ 4 ของกลุ่ม ประเทศในภูมภิ าคอาเซียนได้แก่ ดัชนีดา้ นการแสดงความเห็นและการรับผิดต่อการ กระทาดัชนีดา้ นประสิทธิภาพของรัฐบาลด้านคุณภาพของการกากับดูแล ด้านการมี หลักนิตธิ รรมและด้านการปราบปรามคอร์รปั ชัน ดัชนีทงั ้ 5 ด้านทีก่ ล่าวมาล้วนสูงกว่า ค่าเฉลี่ยดัช นี ในด้านต่างๆ ของประเทศในกลุ่มอาเซียนส่ วนดัช นี ด้านความมั ่นคง ทางการเมืองอยู่ในระดับต่ามากเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศต่างๆ ในกลุ่มอาเซียน และยังมีแนวโน้มลดลงอีกด้วย ทัง้ นี้เนื่องจากประเทศไทยมีรฐั บาลที่ขาดเสถียรภาพ มีรฐั ประหารบ่อยครัง้ และมีการก่อการร้ายอย่างรุนแรงที่เกิดขึน้ อย่างสม่าเสมอใน พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ นอกจากนี้ดชั นีด้านการปราบปรามคอร์รปั ชั ่นของ ประเทศไทยมีการพัฒนาในทางที่ดขี น้ึ เล็กน้อยแต่อนั ดับในดรรชนีช้วี ดั ภาพลักษณ์ คอร์รปั ชัน (Corruption Perception Index) ทีเ่ พิม่ ขึน้ ยังคงแสดงถึงการเกิดคอร์รปั ชัน ทีม่ แี นวโน้มเพิม่ ขึน้ แม้ว่าดัชนีธรรมาภิบาลของไทยอยู่ในระดับที่ดเี มื่อเปรียบเทียบ กับประเทศในกลุ่มอาเซียนและประเทศจีน อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาดัชนีธรรมาภิ บาลของประเทศไทยเปรียบเทียบกับกลุ่ม OECD ประเทศไทยยังสามารถพัฒนาการ มีธรรมาภิบาลให้เพิม่ ขึน้ ได้อกี หลายระดับ
47
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
รูปที่ 2.11 ดัชนี ธรรมาภิ บาลโลก (worldwide governance indicators) %
100 80 60 40 20 0
การแสดงความเห็น และการรับผิดต่อการกระทา
2549
2550
2551
2552
2553
ประสิทธิภาพของรัฐบาล
%
100
2549 100 80
60
60
40
40
20
20
0
0 2550
2551
2552
2553
การมีหลักนิตธิ รรม
%
100
2549 %
80
60
60
40
40
20
20
0
0
2549
2550
2551
2552
2553
ทีม่ า : คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลของธนาคารโลก
48
2551
2552
2553
2550
2551
2552
2553
การปราบปรามคอรัปชั ่น
100
80
2550
คุณภาพของการกากับดูแล
%
80
2549
ความมั ่นคงทางการเมือง
%
100 80 60 40 20 0
2549
2550
2551
2552
2553
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
บทที่ 3
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและภัยพิบตั ิ ความท้าทายต่อการบริหาร จัดการของภาครัฐ ตัวชี้วดั ด้านสิ่ง แวดล้อมช่ ว ยให้ร ฐั บาลและผู้ก าหนดนโยบายสามารถ ประเมินผลของการเปลี่ยนแปลงด้านสิง่ แวดล้อมอันส่งผลกระทบต่อมนุ ษย์ และ การเปลี่ยนแปลงของระบบนิ เวศน์ โดยที่ขอ้ มูลด้านสิ่ง แวดล้อมล่าสุดตลอดจน ั หาที่อาจจะทวีความรุน แรงมากขึ้น แนวโน้ ม การเปลี่ยนแปลงช่วยชี้ใ ห้เห็นปญ รายงานนี้นาเสนอตัวชี้วดั ด้านอากาศ น้ า ขยะ การเกษตร ก๊าซเรือนกระจก และ งบประมาณด้านสิง่ แวดล้อม ซึง่ สะท้อนผลกระทบทีอ่ าจเกิดกับสุขภาพอนามัยของ ประชาชน และความคงอยูข่ องระบบนิเวศน์ ในช่ ว งสี่ห้า ปี ท่ีผ่ า นมา ปริม าณมลพิษ ในอากาศโดยเฉลี่ย ของไทย มีแนวโน้มทีด่ ขี น้ึ แต่เมื่อพิจารณาเชิงพืน้ ทีพ่ บว่าหลายจังหวัด เช่น สมุทรปราการ นครราชสีมา ปทุมธานี อยุธยา และระยองยังมีปญั หาด้านอากาศมากกว่าจังหวัด ั่ บ อื่นๆ ในขณะทีน่ ้าผิวดินของไทยมีคุณภาพโดยรวมดีขน้ึ แต่น้าบริเวณชายฝงกลั ั หามากขึ้น เช่ น เดีย วกับ ปริม าณขยะต่ อ หัว ที่สูง ขึ้น ในด้า นการเกษตร มีป ญ การขยายตัวด้านการผลิตส่งผลต่อการใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมีทเ่ี พิม่ มากขึน้ ในด้าน อุต สาหกรรม ปริม าณก๊ าซเรือนกระจกที่ป ล่อ ยเข้า สู่บ รรยากาศมากขึ้น จาก แรงกดดันด้านสิง่ แวดล้อมที่เพิม่ ขึน้ กลับได้รบั การเอาใจใส่จากรัฐบาลในแง่ของ งบประมาณทีล่ ดลง
49
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
สุขภาพอนามัยของประชาชนที่เชื่อมโยงกับสิ่ งแวดล้อม “คุณภาพอากาศโดยทั ่วไปของไทยมีแนวโน้ มดีขึ้น แต่หากพิ จารณาใน รายจังหวัด หลายจังหวัดเช่ น ระยอง ปทุมธานี สมุท รปราการ นครราชสีมา และอยุธยามีปัญหาด้านอากาศที่รนุ แรงกว่าพื้นที่อื่น” องค์การอนามัยโลกประมาณการว่ามลภาวะทางอากาศเป็นสาเหตุของการ ตายก่อนวัยอันควรของประชากรโลกกว่าสองล้านคนในแต่ละปี ดังนัน้ คุณภาพอากาศ เป็นตัวชี้วดั หนึ่งที่ผู้กาหนดนโยบายต้องเฝ้าติดตามและควบคุม โดยที่กรมควบคุม มลพิษได้ออกระเบียบเกีย่ วกับมาตรฐานอากาศและคอยเฝ้าระวังคุณภาพอากาศ โดยตัว ชี้ว ดั ที่ใ ช้โ ดยทั ่วไป ได้แ ก่ ปริม าณฝุ่น ละอองขนาดเล็ก กว่า 10 ไมโครกรัม (PM10) ในอากาศ โอโซนระดับ พื้น ดิน ไนโตรเจนไดออกไซด์ และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ จากรูปที่ 3.1 จะเห็นได้ว่าปริมาณฝุ่นขนาดเล็กมีปริมาณ ลดลงจาก 51 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตรในปี พ.ศ. 2550 เหลือ 36 ไมโครกรัมต่อ ลูกบาศก์เมตร ในปี พ.ศ. 2554 ในขณะที่ โอโซนระดับพืน้ ดิน, ไนโตรเจนไดออกไซด์, และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไม่ได้เปลี่ยนแปลงมากนักในช่วงที่ผ่านมา และค่าดังกล่าว อยูใ่ นมาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ
part per billion
25
60
20 40
15 10
20
5 0 2550 2551 โอโซนระดับพื้นดิน [แกนซ้าย]
0 2552
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) [แกนซ้าย]
ไมโครกรัมต่อลูกบาศ์กเมตร
รูปที่ 3.1 ปริมาณมลภาวะทางอากาศเฉลี่ยทัง้ ประเทศ
2553 2554 ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) [แกนซ้าย] ปริมาณฝุน่ ละอองในอากาศ (PM10) [แกนขวา]
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากข้อมูลของสานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง, กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. 2550-2554)
50
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
หากพิจารณาในเชิงของพื้นที่ จากรูป 3.2 และ 3.3 จะเห็นได้ว่า ปริมาณฝุ่นสูง เกินกว่าค่ามาตรฐานในจังหวัดสมุทรปราการและนครราชสีมา ในขณะทีห่ ลายจังหวัด มีปริม าณฝุ่น ค่อนข้างสูง เช่น ปทุม ธานี ราชบุร ี ชลบุร ี และสระบุร ี ในขณะที่ก๊า ซ มลพิษ มีก ารความเข้ม ข้น ที่แ ตกต่ า งกัน ไปตามแต่ ละจัง หวัด เช่ น ไนโตรเจนได ออกไซด์ค่อนข้างสูงในปทุมธานี แต่ค่าดังกล่าวก็อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน รูปที่ 3.2 ปริมาณฝุ่ นละอองในอากาศ ปี พ.ศ. 2554 รายจังหวัด
ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
60 50
มาตรฐานกรมควบคุมมลพิษ
40
30 20 10 0
ทีม่ า: สานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง, กรมควบคุมมลพิษ
รูปที่ 3.3 ปริมาณก๊าซมลพิ ษ ปี พ.ศ. 2554 รายจังหวัด 35
part per billion
30 25 20 15
SO2 SO2
10
NO2 NO2
5
O3 O3
0
ทีม่ า: สานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง, กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. 2554) 51
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
สาหรับมลภาวะทางอากาศในช่วง 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2555 เทียบกับ 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2553 จะเห็นว่าปริมาณฝุ่นละอองส่วนใหญ่ มีแนวโน้มลดลงยกเว้นในจังหวัดนครราชสีมา ลาปาง และปทุมธานี ดังรูปที่ 3.4
ไมโครกรัมต่อลูกบาศ์กเมตร
รูปที่ 3.4 ปริมาณฝุ่ นเฉลี่ยในช่วง 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2553 - 2555 80 70 60 50 40 30 20 10 0
ค่ามาตรฐาน = 50
2553 2554 2555
ทีม่ า: สานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง, กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. 2553 – 2555) หมายเหตุ ไม่มขี อ้ มูลของนนทบุรแี ละปทุมธานี สาหรับปี พ.ศ. 2555 52
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ปริมาณขยะต่อหัวในกรุงเทพมหานคร ภาคเหนื อและภาค “ตะวันออกเฉี ยงเหนื อมีปริมาณขยะเพิ่ มมากขึ้น ในขณะที่สขุ าภิ บาลของ ไทยอยู่ในระดับที่เข้าใกล้เป้ าหมายเข้าถึงสุขาภิ บาลที่ดีทุกครัวเรือน” ปญั หาขยะที่เพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดการแพร่ กระจายของเชื้อโรคทัง้ น้ าที่ไ หลผ่าน สถานทีเ่ ก็บขยะ ดิน ตลอดจนกลิน่ รบกวนบริเวณใกล้เคียง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ของประชาชนซึง่ ปญั หาดังกล่าวจะลดลงได้หากมีการจัดเก็บขยะอย่างเหมาะสมและ มีการนากลับมาใช้ใหม่ ั หา ปริม าณขยะต่อหัวเป็ น ตัวชี้วดั ปริม าณขยะต่อตัววัดความรุน แรงของปญ เกี่ยวกับขยะที่ไทยกาลังเผชิญอยู่ ในช่วงเวลาปี พ.ศ. 2549 – 2553 ปริมาณขยะ เฉลี่ย ทัง้ ประเทศอยู่ใ นระดับ 0.64 กิโ ลกรัมต่ อหัวต่ อวัน แต่ห ากพิจารณาเป็ น รายภาคจะพบว่าปญั หาขยะเพิม่ ขึน้ สูงในเขตกรุงเทพมหานคร ภาคเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ส่งผลต่อความสามารถของโรงกาจัดขยะและพืน้ ทีฝ่ งั กลบ และ หากขาดการจัดการทีด่ จี ะส่งผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน รูปที่ 3.5 ปริมาณขยะต่อหัวในเขตเทศบาล รายภาค
กิ โลกรัมต่อหัว
1.6 1.4 1.2 1.0 0.8 2549
2550
กรุงเทพมหานคร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2551
ภาคกลางและภาคตะวันออก ภาคใต้
ทีม่ า: กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. 2549 – 2553)
53
2552 ภาคเหนือ
2553
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
การกาจัดขยะด้วยวิธกี ารทีเ่ หมาะสมสะท้อนโอกาสน้อยที่มนุ ษย์จะสัมผัสกับ เชือ้ โรคจากขยะมูลฝอยในเขตที่อยู่อาศัย ข้อมูลจากการสารวจภาวะเศรษฐกิจและ สังคม (SES) พบว่าการจัดการด้านขยะทีเ่ หมาะสมของครัวเรือนมีสดั ส่วนเพิม่ สูงขึน้ จากร้อยละ 52 ของครัวเรือนในปี พ.ศ. 2550 เป็ นร้อยละ 58 ในปี พ.ศ. 2554 อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาครัวเรือนนอกเขตเทศบาลจะเห็นว่าสัดส่วนยังค่อนข้างต่า คือ ร้อยละ 37 ของครัวเรือนมีการจัดการขยะอย่างเหมาะสม เมื่อพิจารณาในรายภาค จะเห็นว่าภาคที่ยงั มีส ดั ส่วนในการจัดการขยะที่เหมาะสมน้ อยคือภาคเหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้
54
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ความคงอยู่ของระบบนิ เวศน์ และการกากับดูแลภาครัฐด้านสิ่ งแวดล้อม มลภาวะต่างๆ นอกจากส่ง ผลต่อสุข ภาพของมนุ ษ ย์แล้ว ยัง ส่ง ผลต่อระบบ นิเวศน์ พืช และสัตว์ เช่น คุณภาพอากาศมีผลกระทบต่อป่าไม้ น้ าและการเกษตร ตัวอย่างเช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์เป็นตัวการหลักทีท่ าให้เกิดฝนกรด ซึง่ ส่งผลเสียต่อ ต้นไม้ การเพาะปลูก น้าและดิน คุณภาพของอากาศในรูปของก๊าซฝนกรดมีปริ มาณมากขึ้นส่ งผลเสียต่อ ระบบนิ เวศน์ของไทย ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และก๊าซไนโตรเจนออกไซด์เป็นปจั จัยที่สาคัญที่ทาให้เกิด ฝนกรด อันน ามาสู่การเสื่อมโทรมของป่า พืชผล ดิน และน้ า ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ต่อหัวปรับตัวเพิม่ สูงขึน้ จาก 7 และ 13.6 กิโลกรัมต่อหัว ตามลาดับ ในปี พ.ศ. 2549 เป็น 8.3 และ 14.2 กิโลกรัมต่อหัวในปี พ.ศ. 2553 ส่งผล ให้มแี นวโน้มทีจ่ ะส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ รูปที่ 3.6 ปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ต่อหัวประชากร
กิ โลกรัม
25
10 7
20
8.3
8.2
7.9
15 10
13.6
13.7
13.9
13.5
14.2
2549
2550
2551
2552
2553
NOx ต่อหัว
SO2 ต่อหัว
ทีม่ า กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พ.ศ. 2549 – 2553)
55
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
สารประกอบอิน ทรียร์ ะเหยเป็น ส่วนประกอบของอากาศพิษ ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของโอโซน และสุ ขภาพของมนุ ษ ย์ โดยกรมควบคุม มลพิษ ได้ร ะบุ สารประกอบอินทรีย์ 9 ชนิดทีต่ อ้ งเฝ้าระวัง โดยทีม่ สี ารประกอบอินทรียร์ ะเหย 3 ชนิด ที่อยู่ในเกณฑ์สูง กว่ามาตรฐาน ได้แก่ บิวทาไดอีน , คลอโรฟอร์ม และเบนซีน ใน รายงานฉบับนี้จงึ ติดตามการเปลีย่ นแปลงของเบนซีนในสถานีตรวจวัดซึง่ เป็นตัวแทน ของแต่ละภาค พบว่ามีค่าเกินมาตรฐานในทุกสถานี โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพ
ไมโครกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร
รูปที่ 3.7 สารประกอบอิ นทรียร์ ะเหย (Volatile Organic Compound) – เบนซิ น 8 6 4 ค่ ามาตรฐาน
2 0 2550 รพ.สต.มาบตาพุต
2551 รพ.จุฬา
2552 รพ. ยุพราช เชียงใหม่
2553 ขอนแก่น
ทีม่ า: กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. 2550 – 2554) หมายเหตุ: ค่ามาตรฐาน คือ 1.7 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
“คุณภาพน้าผิวดิ นมีแนวโน้ มดีขึ้น แต่คณ ุ ภาพน้าชายฝั ่งที่เสื่อมโทรมมี สัดส่วนสูงขึ้น” ดัชนี คุณ ภาพน้ าทั ่วไป (WQI) เป็ นดัชนี ท่สี ร้างจากค่าพารามิเตอร์ห้าตัว ได้แก่ ออกซิเจนละลาย (DO) ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD) การปนเปื้อน ของแบคทีเรียกลุ่ม โคลิฟอร์ม ทัง้ หมด (TCB) การปนเปื้ อนของแบคทีเรียกลุ่ ม ฟีคอลโคลิฟอร์ม (FCB) และแอมโมเนีย (NH3-N) กรมควบคุมมลพิษได้คานวณดัชนี คุณภาพน้ าและจัดกลุ่ม ของแหล่งน้ าผิวดิน (แม่น้ าและทะเลสาบ) เป็น แหล่ง น้ าที่มี ความเสื่อมโทรมมาก จนถึงดีมาก จากรูปที่ 3.8 จะเห็นได้วา่ แหล่งน้าผิวดินของไทยมี สัดส่วนของคุณภาพดีเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 19 ในปี พ.ศ. 2550 เป็นร้อยละ 32 ในปี พ.ศ. 2554 โดยทีแ่ หล่งน้าเสื่อมโทรมลดลงจากร้อยละ 46 เป็นร้อยละ 23 ในปี พ.ศ. 2554 56
2554 สงขลา
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
รูปที่ 3.8 คุณภาพน้าผิวดิ น (หน่ วย: ร้อยละของแหล่งน้า) 100
เพิ่มขึ ้นจากร้ อยละ 19 เป็ น 32
ร้อยละ
80 60 40
20
ลดลงจากร้ อยละ 46 เป็ นร้ อยละ 23
0 2550
2551 เสือ่ มโทรมมาก (0-25)
2552 เสือ่ มโทรม (>25-50)
2553 พอใช้ (>50-80)
2554 ดี (>80-90)
ทีม่ า: กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. 2550 – 2554)
ั ่ ่ง การ คุณภาพน้ าชายฝงั ่ เป็ นตัวชี้วดั ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรชายฝงซึ เปลีย่ นแปลงดังกล่าวกระทบต่อความสมดุลของระบบนิเวศน์ป่าชายเลน และบริเวณ ใกล้เคีย งเช่ น แนวปะการัง และหญ้า ทะเล สิ่ง แวดล้อ มทางทะเลและการประมง ั ่ ว วัด คุณ ภาพน้ าและรายงานดัช นี กรมควบคุม มลพิษ ได้สุ่ม ตัวอย่า งน้ า ชายฝ งแล้ คุณภาพน้าโดยแยกน้าเป็นกลุ่มเสื่อมโทรมมาก ถึงดีมาก
57
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
จากรูปที่ 3.9 จะเห็นได้วา่ สัดส่วนของตัวอย่างทีม่ คี ุณภาพน้าดีถงึ ดีมากลดลง จาก ร้อยละ 62 ในปี พ.ศ. 2550 เหลือร้อยละ 38 ในทางตรงข้ามน้ าที่มคี วามเสื่อม โทรมถึงเสื่อมโทรมมากเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 3 เป็นร้อยละ 12 ในปี พ.ศ. 2554 สะท้อน ั หาของน้ าชายฝ งที ั ่ ่คุณ ภาพแย่ลงซึ่งจะส่งผลต่อระบบนิเวศน์ ชายฝ งซึ ั ่ ่ง ให้เห็นปญ รัฐบาลจาเป็นต้องเข้ามาแก้ไขปญั หาดังกล่าว รูปที่ 3. 9 สัดส่วนของแหล่งน้าชายฝั ่งที่มีคณ ุ ภาพในกลุ่มต่างๆ (หน่ วย: ร้อยละ) 100
62 % ในปี 2550 เป็ น
80
ร้อยละ
60 40 20 0
2550
2551 เสื่อมโทรมมาก (0-25)
2552
2553
เสื่อมโทรม (>25-50)
พอใช้ (>50-80)
2554 ดี (>80-90)
ทีม่ า: กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. 2550 – 2554)
“กิ จกรรมด้ านการเกษตรยัง คงพึ่ ง พาสารเคมีกาจัด ศัตรูและปุ๋ยเคมี ค่ อ นข้ า งสูง ซึ่ ง สะท้ อ นให้ เ ห็นในปริ ม าณการน าเข้ า สารเคมี แ ละปุ๋ยเคมี ที่ เพิ่ มขึ้นอย่างต่อเนื่ องในช่วง 5 ปี ที่ผ่านมา มีแนวโน้ มให้เกิ ดความเสื่อมโทรมใน ทรัพยากรดิ นและน้า ตลอดจนเพิ่ มโอกาสให้เกิ ดการตกค้างในสิ นค้าเกษตร” สารเคมีกาจัดศัตรูพืช เป็ น ตัวชี้วดั ปจั จัยที่ส่ ง ผลกระทบต่อ ดิน และระบบ นิ เ วศน์ การใช้ป๋ ุ ยเคมีเ ป็ น ตัว ชี้ว ดั ปจั จัย ที่ส่ ง ผลกระทบต่อ ดิน และระบบนิ เ วศน์ เนื่องจากสารกาจัดศัตรูพชื และปุ๋ยเคมีท่เี กษตรกรใช้ส่วนใหญ่จาเป็นต้องนาเข้าจาก ต่างประเทศ ดัง นัน้ เราสามารถพิจ ารณาปริม าณการใช้ส ารเคมีและปุ๋ยเคมีจ าก ปริมาณการน าเข้าที่แสดงไว้ใ นรูปที่ 3.10 จะเห็น ได้ว่าปริมาณการใช้ส ารกาจัด ศัตรูพชื เพิม่ ขึน้ จาก 116,323 ตัน ในปี พ.ศ. 2550 เป็น 164,539 ตันในปี พ.ศ. 2554 ในขณะทีป่ ๋ ยเคมี ุ เพิม่ ขึน้ จาก 4,350,516 ตัน เป็น 6,149,288 ตัน
58
ดีมาก (>90-100)
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
รูปที่ 3.10 การนาเข้าสารกาจัดศัตรูพืชและปุ๋ยเคมี (ตัน) 2.0
ล้านตัน
แสนตัน
1.5 1.0 0.5
0.0
2550
2551
สารกาจัดแมลง สารกาจัดศัตรูพชื อื่นๆ
2552
2553
สารป้องกันและกาจัดโรคพืช ปุ๋ยเคมี (แกนขวา)
2554 สารกาจัดวัชพืช
ทีม่ า : [สารกาจัดศัตรูพชื ] ฝ่ายวัตถุมพี ษิ สานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร [ปุ๋ยเคมี] สานักงาน เศรษฐกิจการเกษตร (พ.ศ. 2550 – 2554)
เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ร ะหว่างขนาดของเศรษฐกิจภาคเกษตรซึ่งวัดด้วย GDP พบว่าการเติบโตของภาคการเกษตรไทยและการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพชื และ ปุ๋ยเคมีมแี นวโน้มไปในทิศทางเดียวกัน ดังนัน้ การขยายตัวของภาคการเกษตรโดยที่ ยังใช้เทคโนโลยีและกระบวนการผลิตเช่นปจั จุบนั ย่อมส่งผลให้เกิดการนาเข้าและใช้ สารเคมีและปุ๋ยเคมีเพิม่ ขึน้ อันจะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ในพื้นที่ท่ตี ่อเนื่องกับ พืน้ ทีเ่ กษตร ขณะเดียวกันผูบ้ ริโภคย่อมได้รบั ผลกระทบจากสารตกค้างที่เหลืออยู่ “การเปลี่ ย นแปลงด้ า นสภาวะอากาศยัง เป็ นปั ญ หาส าคัญ เนื่ องจาก ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็ นก๊าซเรือนกระจกของไทยยัง เพิ่ มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง” ั หาสิ่ง แวดล้อ มที่ส าคัญ และมี การเปลี่ย นแปลงด้า นสภาวะอากาศเป็ น ป ญ แนวโน้ ม ที่จ ะมีความรุ น แรงมากขึ้น ตัวอย่างเช่ น การเพิ่มขึ้น ของคลื่น ความร้อ น ความแห้งแล้ง ฝนตกหนักและน้าท่วมทีค่ วามถี่และความรุนแรงมากขึน้ IPCC(2007) ยืนยันว่าการเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์โดยรวม,
59
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
สุ ข ภาพของมนุ ษ ย์, ความคงอยู่ข องระบบนิ เ วศน์ , การผลิต อาหารและระบบ ชลประทาน อุณหภูมทิ ผ่ี ดิ ปรกติ และภาวะน้าท่วมหรือ ภัยแล้งส่งผลต่อการผลิตด้านการเกษตร รัฐบาลจาเป็นต้องออกนโยบายเพื่อ ลดต้น ตอของผลเสียต่างๆที่จ ะเกิดขึน้ โดยการติดตามการเปลี่ยนแปลง และออก นโยบายเพื่อลดก๊าซเรือนกระจก5 เมื่อพิจารณาปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อหัวซึ่งเป็นการวัด สิทธิในการปล่อยก๊าซ จะเห็นได้ว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นจาก 3.04 CO2-ตันต่อหัว เป็ น 3.31 CO2ตันต่อหัว ซึ่งปริมาณดังกล่าวแตกต่างจากเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือน กระจกที่อ าจจะต้อ งดาเนิ น การให้เ หลือ 1.78-2.02 CO2-ตัน ต่ อ หัว 6 ในขณะที่ สถานการณ์ ระหว่าง ปี พ.ศ. 2550 – 2554 ทิศทางของการปล่อยก๊าซมีแนวโน้มที่ เบีย่ งเบนออกจากเป้าหมายไปเรื่อยๆ ดังรูปที่ 3.11 หากพิจารณาจากที่มาของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จะเห็น ได้ว่าการปล่อย ก๊าซจากการผลิตไฟฟ้ามีอตั ราการเติบโตที่ค่อนข้างช้า โดยมีปริมาณการปล่อยก๊าซ 87.3 ล้าน CO2-ตัน ในปี พ.ศ. 2554 จาก 84 ล้าน CO2-ตัน ในปี พ.ศ. 2554 เมื่อ เทียบกับภาคอุตสาหกรรม ที่เพิม่ จาก 43 ล้าน CO2-ตัน ในปี พ.ศ. 2550 เป็น 54 ล้าน CO2-ตัน ดังนัน้ นโยบายของรัฐควรมุ่งเน้นไปยังการแก้ไขปญั หาการปล่อยก๊าซ ในภาคอุตสาหกรรมให้มากขึน้
5
ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญประกอบด้วย คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน และไนตรัสออกไซด์ ประเด็นท้าทาย ข้อเสนอเชิงนโยบายและการเจรจาของไทย เรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก, เอกสารสร้างสรรค์ปญั ญา: ชุด นโยบายสาธารณะ ลาดับที่ 22, สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.), หน้า 22 6
60
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
3.4
100
3.3 3.2
50
3.1 3 2.9
0
ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์
ตันคาร์บอนไดออกไซด์ต่อหัว
รูปที่ 3.11 การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
2550 2551 2552 2553 2554 ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อหัว (แกนซ้าย) ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการผลิตไฟฟ้า (แกนขวา) ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากภาคอุตสาหกรรม (แกนขวา)
ทีม่ า: สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน, กระทรวงพลังงาน (พ.ศ. 2550 – 2554)
“ความเสียหายจากภัยพิ บตั ิ เช่ น อุทกภัยและภัยแล้งมีความรุนแรงและ ความถี่ เพิ่ มมากขึ้น ในช่ ว งไม่กี่ ปีที่ ผ่า นมา รัฐบาลจาเป็ นต้ องวางแผนการ ดาเนิ นงานอย่างจริงจังในการลดความสูญเสียที่จะเกิ ดขึ้นจากภัยพิ บตั ิ ” จานวนและความเสียหายจากภัยธรรมชาติเป็นตัวชี้วดั หนึ่งที่ทางสภาที่ปรึกษา จะต้อ งติด ตามเนื่ อ งจากตัว ชี้ว ดั ดัง กล่ า วเกี่ย วเนื่ อ งกับการข้อ เสนอแนะในการ เตรียมพร้อมรับมือภัยพิบตั ขิ องรัฐ บาล เมื่อพิจารณาจากรูปที่ 3.12 จะเห็น ได้ว่า ความเสียหายจากภัยพิบตั ใิ นช่วงหลังมีจานวนที่สูงขึน้ กว่าในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา โดยที่ร ะหว่างปี พ.ศ. 2543 ถึงปี พ.ศ. 2553 มูลค่าความเสียหายเฉลี่ยที่สูงกว่า ในช่วงปี พ.ศ. 2532 ถึง พ.ศ. 2542 และมีความถี่ของการเกิดน้าท่วมทีม่ คี วามรุนแรง มากขึน้ 7
7
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยยังมิได้ประเมินความเสียหายน้าท่วมปี พ.ศ. 2554
61
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
รูปที่ 3.12 ความเสียหายจากภัยธรรมชาติ 20,000
ล้านบาท
15,000 10,000 5,000 2532 2534 2536 2538 2540 2542 2544 2546 2548 2550 2552 อุทกภัย ทีม่ า: กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (พ.ศ. 2532 – 2553)
62
ภัยแล้ง
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
การกากับดูแลภาครัฐด้านสิ่ งแวดล้อม (Government Governance) การจัดการสิง่ แวดล้อมโดยรัฐเป็นกระบวนการที่ใช้ในการควบคุมมลพิษ รักษา ธรรมชาติและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ผู้ดาเนินนโยบายจะใช้ก ฎหมาย การให้ แรงจูงใจ สนับสนุ นโครงการที่ให้เอกชนสมัครใจ หรือให้ความรู้เพื่อบรรลุเป้าหมาย ข้างต้น ในกรณี ของประเทศไทย รัฐ บาลได้ออกกฎหมายจานวนหนึ่ ง เพื่อ รักษา สิง่ แวดล้อม แต่อย่างไรก็ตามความซับซ้อนของปญั หาสิง่ แวดล้อมในปจั จุบนั ก็เพิม่ ขึน้ อย่างมากจนเกินกาลังของหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ
63
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
“แม้ปัญหาด้านสิ่ งแวดล้อมในหลายมิติยงั คงเพิ่ มความรุนแรงขึ้น ไม่ว่า จะเป็ นเรื่องขยะ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก หรือคุณภาพน้าชายฝั ่ง แต่สดั ส่วน ของงบประมาณที่ รฐั บาลจัดสรรให้กบั การใช้ จ่ายด้านสิ่ งแวดล้อมมีแนวโน้ ม ลดลงกว่าในช่วง 5 ปี ที่ผ่านมา” งบประมาณด้านการจัดการด้านสิง่ แวดล้อมของรัฐ เป็นตัวชี้วดั ที่ใช้ใ นการ ประเมินและทาความเข้าใจความพยายามของรัฐบาลในการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม สาหรับประเทศไทยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเป็นหน่ วยงานหลัก ในการติดตามและจัดการด้านสิง่ แวดล้อม รูปที่ 3.13 งบประมาณด้านสิ่ งแวดล้อมของไทย 4
ร้อยละ
3
3.06
3.01
2 1
0.56
0.55
0 2550
2551
2552
งบประมาณด้านสิง่ แวดล้อมต่องบประมาณรวม
1.73
1.79
1.79
0.35
0.3
0.35
2553
2554
งบประมาณด้านสิง่ แวดล้อมต่อ GDP
ทีม่ า: สานักงบประมาณ และสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สานักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2550 – 2554)
“สัดส่วนของงบประมาณสิ่ ง แวดล้ อมเที ย บกับงบประมาณรวมลดลง เหลือเพียงร้อยละ 1.8 ในปี พ.ศ. 2554 เมื่อเทียบกับร้อยละ 3 ในปี พ.ศ. 2550” รูป ที่ 3.13 แสดงสัด ส่ ว นของงบประมาณด้ า นสิ่ง แวดล้ อ มเทีย บกับ งบประมาณรวม และ GDP จะเห็นได้วา่ สัดส่วนของงบประมาณด้านสิง่ แวดล้อมลดลง จากร้อยละ 3 ของงบประมาณในปี พ.ศ. 2550 เหลือเพียงร้อยละ 1.8 ในปี พ.ศ. 2554 หากพิจารณาสัดส่วนของงบประมาณด้านสิง่ แวดล้อมเทียบกับ GDP จะเห็นได้ ว่าค่าดังกล่าวลดลงจากร้อยละ 0.55 ในปี พ.ศ. 2550 เป็นร้อยละ 0.35 ในปี พ.ศ. 2554 แสดงถึงรัฐบาลให้ความสาคัญกับการจัดการด้านสิง่ แวดล้อมทีล่ ดลง 64
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
บทที่ 4
บทส่งท้าย เศรษฐกิ จ ไทยมี ค วามแข็ง แกร่ ง และปรับ ตัว รับ กับ ภาวะภัย พิ บ ัติ แผ่นดิน ไหวประเทศญี่ ปุ่น และวิกฤติการเงินในกลุ่มประเทศสหภาพยุโ รปได้ดี แต่สถานการณ์มหาอุทกภัยที่รุนแรงที่สุดในรอบ 50 ปี เมื่อปี พ.ศ. 2554 ส่งผล กระทบอย่างรุนแรงต่อโครงสร้างการผลิต และระดับผลผลิตโดยเฉพาะอย่างยิง่ ภาคอุตสาหกรรม การขาดแคลนอุปทานส่ง ผลให้ร ะดับราคาสิน ค้าและบริการ ปรับตัวสูงขึ้น ในขณะที่ตวั เลขการปิดกิจการที่สูงขึน้ สะท้อนให้เห็นว่าภาคธุรกิจ ได้รบั ผลกระทบพอสมควร แนวโน้มในปี พ.ศ. 2555 ภาวะเศรษฐกิจขึน้ อยู่กบั ความเร็วในการฟื้นตัว จากวิกฤตมหาอุทกภัย และนโยบายการจัดการน้ าของภาครัฐ แนวโน้มเศรษฐกิจ โลกทีช่ ะลอตัวลงทัง้ ในยุโรป และสหรัฐอเมริกายังคงเป็นปจั จัยสาคัญที่จะส่งผลต่อ เสถียรภาพและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย นอกจากนี้ตวั ชี้วดั ทางด้าน ระดับของการแข่งขันและศักยภาพของภาคธุรกิจและแรงงานที่อยู่ในระดับต่ายัง สะท้อนให้เ ห็น ว่า ในระยะกลางและระยะยาวเศรษฐกิจ ไทยจาเป็ น ต้อ งมีการ ปรับปรุงด้านโครงสร้าง ทัง้ ในด้านการพัฒนาศักยภาพแรงงานและธุรกิจ รวมถึง การส่ ง เสริม ประสิท ธิภ าพของแรงงาน ร่ ว มถึง การยกระดับ เทคโนโลยีข อง อุตสาหกรรมไทย เพื่อสร้างมูลค้าเพิม่ ในระยะยาว เนื่องจากความอยูด่ มี สี ุขของประชากรคือจุดมุ่งหมายสาคัญของการพัฒนา การพัฒนาเศรษฐกิจนัน้ จึง อาจเรียกได้ว่าเป็น “หนทาง หรือ เครื่องมือ” นาไปสู่ ความอยูด่ มี สี ุขของประชากร โดยที่ผ่านมาประเทศไทยได้บรรลุเป้าประสงค์ทาง สังคมหลายประการซึง่ เป็นผลพวงจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ตัวอย่างเช่น เรา ไม่มคี วามยากจนแบบที่ประชากรต้องอดอยากอีกต่อปี เราสามารถให้การศึกษา แก่เด็กๆ ได้ฟรีจนถึงระดับมัธยมปลาย และเราสามารถผลักดันนโยบายประกัน สุขภาพถ้วนหน้าได้สาเร็จ เป็นต้น การพัฒนาเหล่านี้เป็นการพัฒนาเชิงการเข้าถึง
65
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
(access) หรือเชิง ปริม าณ (quantity) ซึ่ง อาจถือได้ว่าเป็น การพัฒนามาได้ครึ่ง ทาง เท่านัน้ ส่วนทีเ่ หลือจะเป็นการพัฒนาเชิงความเท่าเทียม (equality) และเชิงคุณภาพ (quality) ซึ่ง ในขณะนี้ หากดูจ ากดัช นี ท่ีใ ช้ช้วี ดั การพัฒนาเชิง คุณ ภาพต่างๆแล้ว พบว่าประเทศไทยยังคงต้องพัฒนาอีกมาก ตัวอย่างหนึ่งทีอ่ าจยกมาอธิบายประเด็นนี้ คือ ด้า นการศึก ษา โดยอาจเห็น ได้จ ากการที่ “ตัวแทน” เด็ก ไทยสามารถชนะ การประกวดโอลิมปิกทางวิชาการระดับมัธยมปลายทีม่ คี ่แู ข่งมาจากเกือบทุกประเทศ ทั ่วโลกได้ทุกปี แต่คะแนนเฉลี่ยในการสอบวัดผลโดยสถาบัน PISA ของเรานัน้ กลับ ด้อยกว่าของเด็กในประเทศเอเชียอีกหลายประเทศ ดังนัน้ เป้าหมายสาคัญของการ พัฒนาสังคมในตอนนี้น่าจะอยูท่ กี ่ ารพัฒนาคุณภาพและความเท่าเทียมของสวัสดิการ สังคมในด้านต่างๆ ซึง่ เป็นโจทย์ทที ่ า้ ทายแต่สาคัญเพราะถือว่าเป็นปจั จัยหลักของการ พัฒนาทีย่ ั ่งยืน สถานการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมโดยรวมของไทยใน หลายมิติ เช่ น สภาพอากาศ น้ า ผิว ดิน มีแนวโน้ ม ดีข้นึ ในช่ วง 5 ปี ท่ีผ่า นมา ในขณะเดียวกันเรายังเผชิญกับปญั หาสิง่ แวดล้อมในด้านปริมาณขยะทีส่ งู ขึน้ สารเคมี ทางการเกษตร และภาวะการเปลีย่ นแปลงทางภูมอิ ากาศ ซึง่ งานวิจยั จานวนมากชี้ว่า มีความเชื่อมโยงกับความเสีย่ งด้านภัยพิบตั ิ ผลผลิตด้านการเกษตร และมลพิษอื่นๆ นอกจากนี้แนวโน้มการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยก็ส่งผลให้ปริมาณก๊าซเรือน กระจกเพิ่มสูง ขึ้น ในอนาคต อีก ทัง้ มาตรการระยะสัน้ ของรัฐ บาล เช่ น นโยบาย รถคัน แรก หรือ การอุ ด หนุ น ราคาน้ า มัน ส่ ง ผลกระตุ้น การเพิ่ม ของปริม าณก๊ า ซ เรือนกระจกจากการขนส่ง จากสภาพการณ์ทเ่ี ป็นอยู่ รัฐบาลควรให้ความสาคัญอย่างจริงจังกับการแก้ไข ปญั หาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ผ่านกลไกการควบคุมและให้แรงจูงใจกับ ภาคเอกชนในการลดปริมาณมลพิษที่ปล่อยออกมาจากภาคอุตสาหกรรม ขนส่งและ การผลิตพลังงาน ตัวอย่างเช่นในกรณีของปญั หาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ รัฐบาลจาเป็นต้องสร้างระบบเตือนภัยที่เน้นความเชื่อมโยงระหว่างการเปลี่ยนแปลง ภูมอิ ากาศกับการลดปญั หาภัยพิบตั ิ นอกจากนี้จาเป็นต้องมีการสื่อสารกับประชาชน ในการปรับตัวเพื่อแก้ไขปญั หา ตลอดจนการใช้เครื่องมือเชิงนโยบายและการเงินใน การส่ง เสริมให้เ กิดการใช้พลัง งานทางเลือก ผ่ านการควบคุม หรือภาษีท่ี เน้ น ให้ ผูก้ ่อมลพิษเป็นผูจ้ ่ายภาษี รวมถึงมาตรการจูงใจอื่นๆ 66
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
บรรณานุกรม นิพนธ์ พัวพงศกร และคณะ (2555), "ชีวติ คนไทยในสองทศวรรษของการพัฒนา: นัยยะต่อการ เปลีย่ นแปลงนโยบายสาธารณะสาหรับความเป็นอยู่ของ ครัวเรือนไทย", สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย, กรุงเทพฯ. สานักงานกองทุน สนับสนุ น การวิจยั (2553), “ประเด็น ท้าทาย ข้อเสนอเชิง นโยบายและการเจรจาของไทย เรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ั ญา: ชุ ดนโยบายสาธารณะ ลาดับที่ 22, โลก”, เอกสารสร้างสรรค์ปญ กรุงเทพฯ. Hacker, J.S., Huber, G.A., Rehm, P., Schlesinger, M., and Valletta R., 2010. "The Economic Security Index: A New Measure of the Economic Security of American Workers and their Families", The Economic Security Index (ESI), USA. Available at: http://economicsecurityindex.org/assets/state_reports/ESI_cross_ state.pdf Barros, R., Ferreira, F., Vega, J. and Chanduvi, S., 2008. Measuring Inequality of Opportunities in Latin America and Caribbean. The World Bank, Washington D.C. Available at: http://siteresources.worldbank.org/LACEXT/Resources/25855312222 76310889/Book_HOI.pdf Molinas, J.R., Paes de Berros, R., Savedra, J., Giugale, M., Cord,L.J., Pessino, C.,and Hasan, A., 2010. Do Our Children Have A Chance? The 2010 Human Opportunity Report for Latin America and the Carribean, The World Bank, Washington D.C. Available at: http://siteresources.worldbank.org/INTLACREGTOPPOVANA/Resou rces/840442-1260809819258/66455531273515611898/Livro2010_ final1.pdf
67
ภาคผนวก ตารางข้อมูลด้านเศรษฐกิ จ ข้อมูลสาหรับรูปที่ 1.1 อัตราการเติ บโตของผลิ ตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาปี พ.ศ. 2531 ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 – 2554
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (ล้านล้านบาท) อัตราการเติบโตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (%)
2551 Q1 Q2 Q3 1.13 1.07 1.08 6.32 5.21 3.05
Q4 1.08 -4.13
Q1 1.05 -7.05
2552 2553 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 1.02 1.05 1.15 1.18 1.11 1.11 -5.15 -2.80 5.88 12.02 9.24 6.57
2554 Q4 Q1 Q2 Q3 1.19 1.22 1.14 1.16 3.80 3.17 2.73 3.72
Q4 1.08 -8.88
ทีม่ า : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (พ.ศ. 2551 – 2554) 68 2551 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปี ก่อนหน้า (%)
Jan 194.40 13.51
Feb 193.70 14.83
Mar 188.38 10.84
Apr 188.44 12.21
May 188.83 10.03
Jun 184.22 8.44
Jul 188.59 9.25
Aug 181.32 2.13
Sep 178.01 0.67
Oct 180.79 - 0.89
Nov 169.52 - 9.06
Dec 150.04 - 20.02
2552 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม
Jan 145.71
Feb 145.54
Mar 145.09
Apr 155.65
May 155.09
Jun 160.23
Jul 161.34
Aug 167.79
Sep 176.20
Oct 180.81
Nov 183.47
Dec 197.75
อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปี ก่อนหน้า (%)
- 25.05
- 24.86
- 22.98
- 17.40
- 17.87
- 13.03
- 14.45
- 7.46
- 1.02
0.01
8.23
31.80
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 1.2 ดัชนี ผลผลิ ตอุตสาหกรรมและอัตราการเปลี่ยนแปลง ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 - 2554
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปี ก่อนหน้า (%)
Jan
Feb
Mar
Apr
May
Jun
Jul
Aug
Sep
Oct
Nov
Dec
189.55 30.09
195.07 34.03
199.63 37.59
199.68 28.29
188.75 21.70
190.21 18.71
187.15 16.00
186.92 11.40
191.57 8.72
194.73 7.70
199.66 8.82
199.08 0.67
2554 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปี ก่อนหน้า (%)
Jan 202.10
Feb 196.47
Mar 191.40
Apr 180.33
May 174.44
Jun 195.96
Jul 189.05
Aug 204.77
Sep 201.08
Oct 132.34
Nov 103.40
Dec 151.68
6.62
0.72
-4.12
-9.69
-7.58
3.02
1.01
9.55
4.97
-32.04
-48.21
-23.81
Nov
Dec
ทีม่ า: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (พ.ศ. 2551 – 2554) 69 ข้อมูลสาหรับรูปที่ 1.3 อัตราการว่างงานและอัตราการทางานตา่ ระดับ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 - 2554 2551 Jan
Feb
Mar
Apr
May
Jun
Jul
Aug
Sep
Oct
อัตราการว่างงาน (%) อัตราการทางานต่ าระดับ (%)
1.72 1.84
1.53 1.26
1.52 1.37
1.46 1.30
1.47 1.27
1.16 1.08
1.27 0.97
1.16 1.11
1.14 1.13
1.19 1.29
1.38 1.48
1.40 1.48
รวมอัตราการว่างงานและอัตราการทางานต่ าระดับ (%)
3.56
2.79
2.89
2.76
2.74
2.24
2.24
2.27
2.27
2.48
2.86
2.88
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
2553
2552 Jan
Feb
Mar
Apr
May
Jun
Jul
Aug
Sep
Oct
Nov
Dec
อัตราการว่างงาน (%) อัตราการทางานต่ าระดับ (%)
2.36 2.26
1.90 1.54
1.89 1.61
2.14 1.85
1.71 1.36
1.40 1.01
1.21 0.91
1.15 1.12
1.19 1.80
1.07 1.80
1.01 1.78
0.90 1.09
รวมอัตราการว่างงานและอัตราการทางานต่ าระดับ (%)
4.62
3.44
3.50
3.99
3.07
2.41
2.12
2.27
2.99
2.87
2.79
1.99
2553 Jan 1.40
Feb 1.01
Mar 0.96
Apr 1.18
May 1.54
Jun 1.19
Jul 0.89
Aug 0.90
Sep 0.87
Oct 0.92
Nov 1.01
Dec 0.68
อัตราการทางานต่ าระดับ (%)
1.62
1.07
1.45
1.55
1.54
1.18
1.43
1.09
1.05
1.24
0.99
0.93
รวมอัตราการว่างงานและอัตราการทางานต่ าระดับ (%)
3.03
2.08
2.41
2.73
3.08
2.36
2.32
1.99
1.92
2.17
1.99
1.61
อัตราการว่างงาน (%)
70
อัตราการว่างงาน (%) อัตราการทางานต่ าระดับ (%) รวมอัตราการว่างงานและอัตราการทางานต่ าระดับ (%)
Jan 0.98 1.22
Feb 0.70 1.05
Mar 0.72 0.89
Apr 0.75 1.53
May 0.53 0.80
Jun 0.42 0.69
Jul 0.52 0.57
Aug 0.68 0.59
Sep 0.75 0.85
Oct 0.56 1.24
Nov 0.82 1.09
Dec 0.43 0.75
2.20
1.75
1.61
2.28
1.33
1.10
1.09
1.27
1.61
1.80
1.91
1.18
ทีม่ า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ และธนาคารแห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2551 – 2554)
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
2554
2551 Jan 577,255
Feb 580,144
Mar 579,597
Apr 581,852
May 580,330
Jun 580,781
Jul 584,015
Aug 586,941
Sep 589,439
Oct 591,452
Nov 592,386
Dec 586,467
อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปี ก่อนหน้า (%)
3.22
3.79
3.08
3.09
2.79
2.38
2.54
2.60
2.73
3.08
2.92
2.12
อัตราการเปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า (%)
0.52
0.50
-0.09
0.39
-0.26
0.08
0.56
0.50
0.43
0.34
0.16
-1.00
Jul 576,535 -1.28 -0.16
Aug 569,799 -2.92 -1.17
Sep 563,357 -4.42 -1.13
Oct 565,479 -4.39 0.38
Nov 566,296 -4.40 0.14
Dec 562,282 -4.12 -0.71
จานวนนิตบิ ุคคลคงอยู่ (ราย)
2552
71
จานวนนิตบิ ุคคลคงอยู่ (ราย) อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปี ก่อนหน้า (%) อัตราการเปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า (%)
Jan 588,304 1.91 0.31
Feb 589,877 1.68 0.27
Mar 590,588 1.90 0.12
Apr 588,920 1.21 -0.28
May 579,479 -0.15 -1.60
Jun 577,480 -0.57 -0.34 2553
จานวนนิตบิ ุคคลคงอยู่ (ราย) อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปี ก่อนหน้า (%) อัตราการเปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า (%)
Jan 565,400 -3.89
Feb 568,906 -3.56
Mar 572,382 -3.08
Apr 574,181 -2.50
May 575,996 -0.60
Jun 578,539 0.18
Jul 580,091 0.62
Aug 579,879 1.77
Sep 581,820 3.28
Oct 584,797 3.42
Nov 587,145 3.68
Dec 586,089 4.23
0.55
0.62
0.61
0.31
0.32
0.44
0.27
-0.04
0.33
0.51
0.40
-0.18
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 1.4 จานวนนิ ติบคุ คลจดทะเบียนและอัตราการเปลี่ยนแปลง ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 - 2554
2554 จานวนนิตบิ ุคคลคงอยู่ (ราย) อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปี ก่อนหน้า (%) อัตราการเปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า (%)
Jan 590,060 4.36 0.68
Feb 572,781 0.68 -2.93
Mar 576,575 0.73 0.66
Apr 580,903 1.17 0.75
May 584,870 1.54 0.68
Jun 588,944 1.80 0.70
Jul 592,522 2.14 0.61
Aug 596,101 2.80 0.60
Sep 599,512 3.04 0.57
Oct 601,517 2.86 0.33
Nov 602,768 2.66 0.21
Dec 600,427 2.45 -0.39
ทีม่ า: กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (พ.ศ. 2551 – 2554) ข้อมูลสาหรับรูปที่ 1.5 อัตราเงิ นเฟ้ อทั ่วไป และอัตราเงิ นเฟ้ อทั ่วไปสาหรับผูม้ ีรายได้น้อย ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2551 - 2554 2551
72
อัตราเงินเฟ้อทั ่วไป (%) อัตราเงินเฟ้อทั ่วไป สาหรับผูม้ รี ายได้น้อย (%) อัตราดอกเบีย้ นโยบาย ณ สิน้ เดือน (%)
Jan 4.27 3.85 3.25
Feb 5.41 5.72 3.25
Mar 5.38 5.58 3.25
Apr 6.13 7.13 3.25
May 7.58 8.67 3.25
Jun 8.77 9.17 3.25
Jul 9.17 9.58 3.50
Aug 6.52 7.82 3.75
Sep 6.08 8.08 3.75
Oct 3.85 6.22 3.75
Nov 2.17 5.42 3.75
Dec 0.39 3.94 2.75
อัตราเงินเฟ้อทั ่วไป (%) อัตราเงินเฟ้อทั ่วไป สาหรับผูม้ รี ายได้น้อย (%)
Jan -0.39 2.73
Feb -0.10 2.51
Mar -0.19 2.60
Apr -0.95 0.94
May -3.34 -1.56
Jun -4.03 -1.64
Jul -4.38 -2.00
Aug -1.04 0.28
Sep -1.03 -0.09
Oct 0.38 0.93
Nov 1.93 1.68
Dec 3.53 3.23
อัตราดอกเบีย้ นโยบาย ณ สิน้ เดือน (%)
2.00
1.50
1.50
1.25
1.25
1.25
1.25
1.25
1.25
1.25
1.25
1.25
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
2552
อัตราเงินเฟ้อทั ่วไป (%) อัตราเงินเฟ้อทั ่วไป สาหรับผูม้ รี ายได้น้อย (%) อัตราดอกเบีย้ นโยบาย ณ สิน้ เดือน (%)
Jan
Feb
Mar
Apr
May
Jun
Jul
Aug
Sep
Oct
Nov
Dec
4.10
3.67
3.41
2.93
3.42
3.30
3.46
3.30
3.03
2.86
2.79
3.05
4.11 1.25
3.92 1.25
3.48 1.25
3.13 1.25
3.95 1.25
4.00 1.25
4.28 1.50
4.37 1.75
4.02 1.75
3.59 1.75
3.68 2.00
3.62 2.00
2554 Jan
Feb
Mar
Apr
May
Jun
Jul
Aug
Sep
Oct
Nov
Dec
อัตราเงินเฟ้อทั ่วไป (%) อัตราเงินเฟ้อทั ่วไป สาหรับผูม้ รี ายได้น้อย (%)
3.03
2.87
3.14
4.04
4.19
4.06
4.08
4.29
4.03
4.19
4.19
3.53
3.64
3.35
3.87
4.92
4.96
4.70
4.78
5.09
4.84
5.20
5.13
4.51
อัตราดอกเบีย้ นโยบาย ณ สิน้ เดือน (%)
2.25
2.50
2.50
2.75
2.75
3.00
3.25
3.50
3.50
3.50
3.25
3.25
73
ทีม่ า: สานักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ (พ.ศ. 2551 – 2554) ข้อมูลสาหรับรูปที่ 1.6 มูลค่าการส่งออกและอัตราการเติ บโต ณ ราคาปี 2531 ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 - 2554 2551
2552
2553
2554
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
Q2
Q3
Q4
มูลค่าการส่งออก (แสนล้านบาท)
7.99
7.96
8.36
7.27
6.66
6.28
7.14
7.57
7.77
7.68
7.98
8.28
9.01
8.60
9.35
7.75
อัตราการเปลี่ยนแปลงการส่งออกจากปี ก่อนหน้า(%)
9.26 12.01
9.83
-9.33
-16.71
มูลค่าการนาเข้า (แสนล้านบาท)
6.10
6.28
6.78
6.17
4.21
อัตราการเปลี่ยนแปลงการนาเข้าจากปี ก่อนหน้า(%)
9.55
8.57
15.36
2.20
-30.93
ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (พ.ศ. 2551 – 2554)
-21.15 -14.61 4.72
5.23
4.02 16.61 5.73
5.61
-24.84 -22.93 -7.19 33.32
22.30 11.72 5.88
6.34
24.61 21.30
9.49 16.02 6.33
6.56
10.47 16.82
12.00 17.26 -6.43 6.77
7.61
6.54
15.07 20.07
3.28
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
2553
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 1.8 หนี้ สาธารณะคงค้างและสัดส่วนต่อผลิ ตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 - 2554 2551 Jan หนี้สาธารณะคงค้าง (ล้านล้านบาท) หนี้สาธารณะคงค้างต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ(%)
Feb
Mar
Apr
May
Jun
Jul
Aug
Sep
Oct
Nov
Dec
3.33
3.34
3.37
3.40
3.40
3.37
3.33
3.34
3.41
3.41
3.42
3.47
36.39
36.49
36.85
36.11
36.10
35.82
35.39
35.49
36.22
36.92
37.00
38.13
2552 Feb 3.60
Mar 3.69
Apr 3.80
May 3.83
Jun 3.83
Jul 3.98
Aug 4.02
Sep 4.00
Oct 3.99
Nov 3.97
Dec 3.97
หนี้สาธารณะคงค้างต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ(%)
39.31
39.93
41.81
43.02
43.41
43.61
45.35
45.70
45.55
45.83
45.56
43.85
Jul
Aug
Sep
Oct
Nov
Dec
74
หนี้สาธารณะคงค้าง (ล้านล้านบาท)
Jan 3.54
2553
หนี้สาธารณะคงค้าง (ล้านล้านบาท) หนี้สาธารณะคงค้างต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (%)
4.00 44.23
Feb 4.08 41.90
Mar 4.12 42.39
Apr 4.11 42.23
May 4.14 42.59
Jun 4.20 43.19
4.25 42.51
4.27 42.66
4.23 42.30
4.20 42.01
4.17 41.36
4.28 42.49
2554 หนี้สาธารณะคงค้าง (ล้านล้านบาท) หนี้สาธารณะคงค้างต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (%)
Jan 4.26
Feb 4.26
Mar 4.25
Apr 4.25
May 4.28
Jun 4.26
Jul 4.28
Aug 4.27
Sep 4.45
Oct 4.34
Nov 4.27
Dec 4.30
41.99
41.75
41.45
41.28
41.40
41.06
41.04
40.75
42.27
41.03
40.24
40.31
ทีม่ า: สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (พ.ศ. 2551 – 2554)
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
Jan
2549 จานวนผูส้ ูงอายุมากกว่า 60 ปี (ล้านคน) จานวนผูส้ ูงอายุท่เี ข้าถึงเบีย้ ยังชีพคนชรา (ล้านคน) จานวนผูส้ ูงอายุท่รี บั ราชการ ที่ได้รบั บาเหน็จบานาญ (ล้านคน) จานวนผูป้ ระกันตนที่ใช้บริการ กรณีชราภาพ (ล้านคน) สัดส่วนผูส้ ูงอายุท่เี ข้าถึงหลักประกัน (%)
2550
2551
2552
2553
6.53
6.71
6.90
7.18
7.49
1.07 0.19 0.07 20.34
1.76 0.21 0.08 30.52
1.76 0.24 0.09 30.15
4.97 0.27 0.10 74.32
5.17 0.29 0.11 74.45
ทีม่ า: สานักงานประกันสังคม, กรมบัญชีกลาง, สานักส่งเสริมและพิทกั ษ์ผสู้ งู อายุ และสานักงานสถิตแิ ห่งชาติ (พ.ศ. 2549 – 2553) ข้อมูลสาหรับรูปที่ 1.10 จานวนและสัดส่วนผู้ว่างงานที่เข้าถึงหลักประกัน ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2547 – 2554
75
2547 551827 8386 1.52
จานวนผูว้ ่างงาน (คน) จานวนผูใ้ ช้บริการกรณีว่างงาน (คน) สัดส่วนผูว้ ่างงานที่เข้าถึงหลักประกัน (%)
2548 665895 22294 3.35
2549 546742 32252 5.9
2550 501237 48951 9.77
2551 513713 64954 12.64
2552 571350 149211 26.12
2553 402562 111227 27.63
2554 254445 97312 38.25
ทีม่ า: สานักงานสถิติ และสานักงานประกันสังคม (พ.ศ. 2547 – 2554) ข้อมูลสาหรับรูปที่ 1.11 การกระจายค่าจ้างระดับบน(Log Scale) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2544 – 2554 อุตสาหกรรม กลุ่มเกษตรกรรม การล่าสัตว์และปา่ ไม้ กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิต กลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร กลุ่มสถาบันการเงิน
2544 1.04 1.06 1.06 1.08
2545 1.06 1.06 1.07 1.08
2546 1.04 1.07 1.06 1.08
2547 1.05 1.07 1.05 1.07
2548 1.05 1.07 1.06 1.06
ทีม่ า: คานวณจากการสารวจภาวการณ์ทางานของประชากร (Labor Force Survey) (พ.ศ. 2544 – 2554)
2549 1.06 1.07 1.06 1.08
2550 1.03 1.08 1.06 1.08
2551 1.06 1.07 1.06 1.08
2552 1.06 1.06 1.05 1.08
2553 1.02 1.05 1.07 1.11
2554 1.01 1.06 1.05 1.12
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 1.9 จานวนผูส้ ูงอายุและสัดส่วนผูส้ ูงอายุที่เข้าถึงหลักประกัน ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2549 – 2553
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 1.12 การกระจายค่าจ้างระดับล่าง (Log Scale) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2544 – 2554 อุตสาหกรรม กลุ่มเกษตรกรรม การล่าสัตว์และปา่ ไม้ กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิต กลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร กลุ่มสถาบันการเงิน
2544 1.00 1.04 1.06 1.06
2545 1.00 1.03 1.07 1.10
2546 1.03 1.03 1.08 1.10
2547 1.04 1.03 1.08 1.09
2548 1.04 1.04 1.06 1.11
2549 1.02 1.04 1.04 1.09
2550 1.05 1.03 1.05 1.11
2551 1.01 1.04 1.05 1.09
2552 1.02 1.04 1.07 1.09
2553 1.04 1.04 1.04 1.09
2554 1.05 1.05 1.05 1.07
ทีม่ า: คานวณจากการสารวจภาวะการทางานของประชากร (Labor Force Survey) (พ.ศ. 2544 – 2554) ข้อมูลสาหรับรูปที่ 1.13 สัดส่วนการจ้างงานในอุตสาหกรรมขันสู ้ งต่อการจ้างงานทัง้ หมด (%) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2548 - 2554 ตัวแปร อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขนั ้ สูง อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขนั ้ กลาง-สูง อุตสาหกรรมบริการที่ใช้ความรูเ้ ข้มข้น
2548 0.17 2.11 22.05
2549 0.18 2.19 22.69
2550 0.13 2.06 22.33
2551 0.12 1.92 22.28
2552 0.12 2.09 22.21
2553 0.14 1.91 22.29
2554 0.05 1.18 14.10
76
ทีม่ าของข้อมูล: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติและการสารวจภาวะการมีงานทา (Labor Force Survey) (พ.ศ. 2548 – 2554) หมวดอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขนั ้ สูง
อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขนั ้ กลาง-สูง
รหัสอุตสาหกรรมและรายละเอียด 21 การผลิตเภสัชภัณฑ์ เคมีภณ ั ฑ์ ผลิตภัณฑ์จากพืช/สัตว์ ใช้รกั ษาโรค 26 การผลิตผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ 30.3 การผลิตอุปกรณ์ขนส่งทางอากาศ ยานอวกาศ และอุปกรณ์ท่เี กี่ยวข้อง 20 การผลิตเคมีภณ ั ฑ์และผลิตภัณฑ์เคมี 25.4 การผลิตอาวุธและยุทธภัณฑ์ 27 การผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้า 28 การผลิตเครื่องจักรและเครื่องมือ ซึ่งมิได้จดั ประเภทไว้ในที่อ่นื 29 การผลิตยานยนต์ รถพ่วง และรถกึ่งพ่วง 30 การผลิตอุปกรณ์ขนส่งอื่นๆ ยกเว้น 30.1 การผลิตเรือ
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ตารางที่ 1.1 รหัสอุตสาหกรรมขันสู ้ งและรายละเอียด
อุตสาหกรรมบริการที่ใช้ความรูเ้ ข้มข้น
77
รหัสอุตสาหกรรมและรายละเอียด ยกเว้น 30.3 การผลิตอุปกรณ์ขนส่งทางอากาศ ยานอวกาศ และอุปกรณ์ท่เี กี่ยวข้อง 32.5 การผลิตและจัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์และทันตะ 50 การขนส่งทางน้า 51 การขนส่งทางอากาศ 58 การจัดพิมพ์จาหน่ายหรือเผยแพร่ 59 การผลิตภาพยนตร์ วีดที ศั น์ และรายการโทรทัศน์ 60 การจัดผังรายการและการแพร่ภาพกระจายเสียง 61 การโทรคมนาคม 62 การจัดทาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การให้คาปรึกษา 63 การบริการสารสนเทศ 64 กิจกรรมบริการทางการเงิน 65 การประกันภัย การประกันภัยต่อ และกองทุนบาเหน็จบานาญ 66 กิจกรรมสนับสนุนการบริการทางการเงินและการประกันภัย 69 กิจกรรมทางกฎหมายและการบัญชี 70 กิจกรรมของสานักงานใหญ่และการบริการให้คาปรึกษาด้านการบริหารจัดการ 71 กิจกรรมด้านสถาปตั ยกรรมและวิศวกรรม 72 การวิจยั และพัฒนาเชิงวิทยาศาสตร์ 73 การโฆษณาและการวิจยั ตลาด 74 กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิคอื่นๆ 75 การบริการรักษาสัตว์ 78 กิจกรรมการจ้างงาน 80 การบริการรักษาความปลอดภัยและการสืบสวน 84 การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสังคม 85 การศึกษา 86 กิจกรรมด้านสุขภาพมนุษย์ 87 กิจกรรมการให้การดูแลที่ให้ท่พี กั 88 กิจกรรมสังคมสงเคราะห์ท่ไี ม่ให้ท่พี กั 90 กิจกรรมการสร้างสรรค์ศลิ ปะและความบันเทิง
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
หมวดอุตสาหกรรม
หมวดอุตสาหกรรม
รหัสอุตสาหกรรมและรายละเอียด 91 กิจกรรมห้องสมุด หอจดหมายเหตุ พิพธิ ภัณฑสถาน และทางวัฒนธรรมอื่นๆ 92 กิจกรรมการพนันและการเสี่ยงโชค 93 กิจกรรมด้านการกีฬา ความบันเทิง และการนันทนาการ
ตารางที่ 1.2 ดัชนี วดั การกระจุกตัวของอุตสาหกรรมที่น่าสนใจ ปี พ.ศ. 2550 No. 1 2 3 4 5
อุตสาหกรรม การผลิตเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ การผลิตอาหารสัตว์สาเร็จรูป การผลิตยานยนต์ การผลิตผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้จากการโม่-สีธญ ั พืช การผลิตผลิตภัณฑ์ประเภทอบ (การอบ การผิง การปิ้ ง)
HHI 0.03 0.18 0.22 0.92 0.97
ยอดขาย (ล้านบาท) 554 2,330 270,000 292 1,420
ทีม่ า: การสารวจสามะโนอุตสาหกรรม (พ.ศ. 2550) 78 HHI 0.999 1.000 0.934 0.901 0.854
ยอดขาย(ล้านบาท) 1,160 8,400 5,920 2,730 45,000
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ตารางที่ 1.3 อุตสาหกรรมที่มียอดขายมากกว่า 1,000 ล้านบาทและมีการกระจุกตัวสูง ปี พ.ศ. 2550 No. อุตสาหกรรม 1 การผลิตเครือ่ งดื่มทีไ่ ม่มแี อลกอฮอล์รวมทัง้ การผลิตน้ าแร่บรรจุขวด 2 การผลิตสิง่ ของอื่นๆ ทีท่ าจากกระดาษ และกระดาษแข็ง 3 การผลิตหลอดไฟฟ้าและเครือ่ งอุปกรณ์สาหรับให้แสงสว่าง การผลิตเตาอบเตาเผา และเครือ่ งพ่นหรือเครือ่ งฉีดเชือ้ เพลิง 4 ของเตาเผา 5 การผลิตผลิตภัณฑ์ยาสูบ ทีม่ า: การสารวจสามะโนอุตสาหกรรม (พ.ศ. 2550)
HHI 0.015 0.022 0.024 0.031 0.033
ยอดขาย(ล้านบาท) 15,100 3,330 24,100 1,980 15,500
ตารางข้อมูลด้านสังคม ข้อมูลสาหรับรูปที่ 2.1 อัตราผู้ผิดปกติ ทางจิ ต/อารมณ์ /เครียด/แปรปรวนรวม และผลิ ตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวที่แท้จริ ง ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 - 2553 79
ตัวแปร ่ อัตราผูป้ วยที่มอี าการผิดปกติทางจิต/อารมณ์/เครียด/แปรปรวน(ต่อประชากรแสนคน) ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศที่แท้จริงต่อประชากร
2549 168.78 64,5000
2550 173.02 67,562
2551 174.19 68,857
2552 186.09 67,109
2553 201.3 71,951
ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (พ.ศ. 2549 – 2553) ข้อมูลสาหรับรูปที่ 2.2 อัตราการเกิ ดคดีความ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2548 - 2554 ตัวแปร ปล้นทรัพย์ ชิงทรัพย์ ลักพาเรียกค่าไถ่ วางเพลิง
ทีม่ า: สานักงานตารวจแห่งชาติ (พ.ศ. 2548 – 2554)
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554 (Q2)
216 422 184 94
189 353 168 73
140 307 318 87
107 260 240 31
99 241 105 38
70 173 104 34
30 11 59 28
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ตารางที่ 1.4 อุตสาหกรรมที่มียอดขายมากกว่า 1,000 ล้านบาทและมีการกระจุกตัวต่า ปี พ.ศ. 2550 No. อุตสาหกรรม 1 การเลื่อยไม้และการไสไม้ 2 การผลิตผลิตภัณฑ์อ่นื ทีท่ าจากไม้รวมทัง้ การผลิตสิง่ ของทีท่ าจากไม้ก๊อก ฟาง 3 การผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก 4 การผลิตรองเท้า 5 การผลิตเส้นใยประดิษฐ์ ทีม่ า: การสารวจสามะโนอุตสาหกรรม (พ.ศ. 2550)
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 2.3 ความเสี่ยงที่จะจนของประชากรจาแนกตามระดับการศึกษา ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2548 – 2553 ตัวแปร
2548 29 38.8
2549 28.09 37.57
2550 25.42 41.84
2553 24.47 31.85
35.41
34.26
31.12
29.68
16.89 11.12 3.68
12.24 8.9 4.53
10.67 11.7 5.23
20.08 23.34 6.65
1.12 0 0
4.27 0 0
0.32 0 0
0.63 0 0
ดัชนีความเสี่ยงที่จะจน ต่ ากว่าประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ปวช. ปวส. ปวท. อนุปริญญา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม (SES Panel) (พ.ศ. 2548 - 2553) 80 ตัวแปร อัตราส่วนครอบครัวแหว่งกลาง อัตราส่วนครอบครัวแหว่งกลาง กรุงเทพ อัตราส่วนครอบครัวแหว่งกลาง ภาคกลาง อัตราส่วนครอบครัวแหว่งกลาง ภาคเหนือ อัตราส่วนครอบครัวแหว่งกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อัตราส่วนครอบครัวแหว่งกลาง ภาคใต้
2549
2550 6.55 1.19 4.05 8.77 9.87 4.18
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม (SES) (พ.ศ. 2549 - 2554)
2551 7.41 1.11 4.08 8.81 12.49 4.40
2552 7.06 1.07 4.56 8.45 11.16 4.14
2553 7.04 1.19 4.49 8.30 10.96 4.73
2554 6.63 1.14 4.33 7.61 10.86 3.31
7.40 1.80 4.93 8.27 11.99 3.70
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 2.4 สัดส่วนของครอบครัวที่แหว่งกลาง แสดงเป็ นรายภาค ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 – 2554
ตัวแปร อัตราส่วนครอบครัวแหว่งกลาง ในเขตเทศบาล อัตราส่วนครอบครัวแหว่งกลาง นอกเขตเทศบาล
2549
2550 3.06 8.16
2551 3.18 9.38
2552 3.25 8.85
2553 3.38 8.85
2554 3.48 8.41
4.06 9.29
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม (SES) (พ.ศ. 2549 - 2554)
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 2.6 อัตราส่วนของเด็กที่ได้อยู่กบั ทัง้ พ่อและแม่ และที่ได้อยู่กบั พ่อหรือแม่เพียง 1 คน ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 – 2554 ตัวแปร อัตราเด็กที่ได้อยูก่ บั พ่อหรือแม่ 1 คน (%) อัตราเด็กที่ได้อยูก่ บั พ่อแม่ทงั ้ 2 คน (%)
2549
2550 16.01 64.51
2551 15.01 62.77
2552 16.18 61.85
2553
2554
16.90 61.69
17.22 61.33
16.98 59.71
2552 92.9% 93.9% 92.5% 91.5% 92.7% 90.9%
2553 92.4% 91.1% 93.0% 93.0% 94.2% 92.4%
2554 90.9% 91.4% 90.7% 93.1% 93.7% 92.8%
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม (SES) (พ.ศ. 2549 - 2554) 81 ข้อมูลสาหรับรูปที่ 2.7 สัดส่วนเด็กที่จบชัน้ ป.6และ ม.3ตามเกณฑ์แบ่งตามในเขตและนอกเขตเทศบาล ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 – 2554 ตัวแปร สัดส่วนเด็กที่จบชัน้ ป.6 ตามเกณฑ์ สัดส่วนเด็กที่จบชัน้ ป.6 ตามเกณฑ์ (ในเขตเทศบาล) สัดส่วนเด็กที่จบชัน้ ป.6 ตามเกณฑ์ (นอกเขตเทศบาล) สัดส่วนเด็กที่จบชัน้ ม.3 ตามเกณฑ์ สัดส่วนเด็กที่จบชัน้ ม.3 ตามเกณฑ์ (ในเขตเทศบาล) สัดส่วนเด็กที่จบชัน้ ม.3 ตามเกณฑ์ (นอกเขตเทศบาล)
2549 90.3% 91.6% 89.9% 91.9% 93.5% 91.3%
2550 90.7% 89.8% 91.0% 92.2% 92.9% 91.8%
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม (SES) (พ.ศ. 2549 - 2554)
2551 92.1% 92.3% 92.0% 91.8% 92.3% 91.7%
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 2.5 สัดส่วนของครอบครัวที่แหว่งกลางแบ่งตามเขตเทศบาล ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2549 – 2554
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 2.8 ค่า D-index (หน่ วย: ร้อยละของโอกาส) ของความเหลื่อมลา้ ที่เกิ ดจากตัวแปรภายนอกต่างๆ ตัวแปร
ป.6 0.40 0.46 0.35 0.80 0.04 0.29
ระดับการศึกษาหัวหน้าครอบครัว รายจ่ายครอบครัว (แทนระดับรายได้) จานวนผูม้ อี ายุต่ ากว่า 20 ปี ในครัวเรือนเดียวกัน ที่บา้ นไม่ได้พูดภาษาไทย มีทงั ้ พ่อและแม่>มีพ่อหรือแม่คนเดียว ในเขตเทศบาล>นอกเขตเทศบาล
ม.3 0.29 0.11 0.23 0.44 0.19
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม (SES)
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 2.9 อัตราการได้รบั บาดเจ็บจากการทางาน (ร้อยละ) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 – 2554 82
2549
2550
2551
2552
2553
2554
10.12 3.89 12.57
10.98 3.90 13.66
13.41 5.37 16.41
14.29 5.87 17.39
10.86 4.25 13.33
11.63 4.38 14.36
1.78 1.67 1.82
1.23 1.05 1.30
1.68 1.56 1.73
1.21 1.08 1.25
1.30 1.11 1.38
0.73 0.73 0.73
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม (SES) (พ.ศ. 2549 - 2554)
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ตัวแปร อัตราการได้รบั บาดเจ็บจากการทางาน ไม่ได้เข้า รพ. (%) รวม แรงงานในระบบ แรงงานนอกระบบ อัตราการได้รบั บาดเจ็บจากการทางาน เข้า รพ. (%) รวม แรงงานในระบบ แรงงานนอกระบบ
ตัวแปร อัตราการแรงงานที่ระบุว่าสภาพแวดล้อมการทางานไม่ดี (%) รวม แรงงานในระบบ แรงงานนอกระบบ
2549
2550 10.60 8.24 11.53
2551 10.30 7.56 11.33
2552 12.79 9.96 13.85
2553 10.88 8.10 11.90
2554 9.87 6.58 11.10
9.04 5.67 10.31
ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลสารวจภาวะการทางานของประชากร (LFS) (พ.ศ. 2549 - 2554) ข้อมูลสาหรับรูปที่ 2.11 ดัชนี ธรรมาภิ บาลโลก (Worldwide Governance Indicators) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 – 2553
83
ตัวแปร การแสดงความเห็น การรับผิดต่อการกระทา ไทย จีน OECD ASEAN ความมันคงทางการเมื ่ อง ไทย จีน OECD ASEAN ประสิทธิภาพของรัฐบาล ไทย จีน OECD ASEAN คุณภาพของการกากับดูแล
2549
2550
2551
2552
2553
28.4 6.3 91.6 23.76
30.8 4.8 91.2 24.34
31.3 5.8 91.3 23.95
33.2 5.2 91.2 25.97
30.3 5.2 91.1 26.33
16.3 6.3 91.6 36.73
14.4 4.8 91.2 34.76
12.5 5.8 91.3 35.24
12.3 5.2 91.2 34.41
12.7 5.2 91.1 34.53
65.4 58 91.1 51.13
65 63.1 90.9 52.08
61.7 59.7 90.9 51.35
60.8 59.8 90.5 50
58.4 59.8 90.6 50.33
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 2.10 อัตราการแรงงานที่ระบุว่าสภาพแวดล้อมการทางานไม่ดี เช่น คับแคบ สกปรก มีกลิ่ นเหม็น ไม่มีการระบายอากาศที่ ดี ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 – 2554
ตัวแปร
2549
84
2551
2552
2553
57.8 47.5 91.2 46.17
57.3 50 91.6 47.39
58.3 51.5 91.4 47.34
57.9 46.4 90.6 47.52
56.5 45 90.3 47.76
53.6 37.8 90.3 41.82
52.6 40.7 90.2 42.12
51.9 44.7 90.6 41.97
47.4 45.5 90.7 42.28
49.8 44.5 90.5 42.43
44.4 37.6 90.6 35.47
43.2 33 90.1 38.35
39.3 41.3 90.2 37.81
47.8 37.8 89.6 38.21
46.9 32.5 89.6 39.01
ทีม่ า : คณะผูว้ จิ ยั คานวณจากฐานข้อมูลของธนาคารโลก (พ.ศ. 2549 - 2553) ตารางที่ 2.1 คะแนนสอบ PISA ของเด็กในประเทศต่างๆ ปี พ.ศ. 2546, 2549 และ 2552 ตัวแปร คะแนนสอบการอ่าน คะแนนไทย คะแนนญี่ปนุ่ คะแนนเฉลี่ย OECD คะแนนจีน (มลรัฐเซี่ยงไฮ้) คะแนนไทยเทียบกับญี่ปนุ่ (% ของญี่ปนุ่ )
2546
2549
2552
420 498 494 84.34
417 498 492 83.73
421 520 493 556 80.96
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ไทย จีน OECD ASEAN การมีหลักนิตธิ รรม ไทย จีน OECD ASEAN การปราบปรามคอรัปชัน่ ไทย จีน OECD ASEAN
2550
85
คะแนนเฉลี่ย OECD คะแนนจีน (มลรัฐเซี่ยงไฮ้) คะแนนไทยเทียบกับญี่ปนุ่ (% ของญี่ปนุ่ ) คะแนนไทยเทียบกับ OECD (% ของ OECD) คะแนนไทยเทียบกับจีน (มลรัฐเซี่ยงไฮ้) (% ของจีน) คะแนนสอบวิ ทยาศาสตร์ คะแนนไทย คะแนนญี่ปนุ่ คะแนนเฉลี่ย OECD คะแนนจีน (มลรัฐเซี่ยงไฮ้) คะแนนไทยเทียบกับญี่ปนุ่ (% ของญี่ปนุ่ ) คะแนนไทยเทียบกับ OECD (% ของ OECD) คะแนนไทยเทียบกับจีน (มลรัฐเซี่ยงไฮ้) (% ของจีน)
2546 85.02 -
2549 84.76 -
2552 85.40 75.72
424 553 496 76.67 85.48 -
417 523 498 79.73 83.73 -
419 529 496 600 79.21 84.48 69.83
429 548 500 78.28 85.80 -
421 531 500 79.28 84.20 -
425 539 501 575 78.85 84.83 73.91
ทีม่ า: PISA, องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) (พ.ศ. 2546, 2549 และ 2552)
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ตัวแปร คะแนนไทยเทียบกับ OECD (% ของ OECD) คะแนนไทยเทียบกับจีน (มลรัฐเซี่ยงไฮ้) (% ของจีน) คะแนนสอบคณิ ตศาสตร์ คะแนนไทย คะแนนญี่ปนุ่
ตารางข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม ข้อมูลสาหรับรูปที่ 3.1 ปริ มาณมลภาวะทางอากาศเฉลี่ยทัง้ ประเทศ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2550 – 2554 ตัวแปร ปริมาณฝุน่ ละอองในอากาศ (PM10) [ไมโครกรัมต่อ m3] โอโซนระดับพืน้ ดิน [ppb] ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) [ppb] ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) [ppb]
2550 51.24 18.02 15.13 3.52
2551 41.86 19.36 15.19 3.56
2552 42.53 18.84 15.95 3.22
2553 39.92 19.55 15.65 3.40
2554 36.36 20.40 14.62 3.11
ที่มา: คานวณจากข้ อมูลของสานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง, กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. 2550 – 2554) ข้อมูลสาหรับรูปที่ 3.2 ปริ มาณฝุ่ นละอองในอากาศ ปี 2554 รายจังหวัด และ รูปที่ 3.3 ปริ มาณก๊าซมลพิ ษ ปี พ.ศ. 2554 รายจังหวัด จังหวัด
86
30.7 58.6 29.1 47.7 39.5 40.3 40.5 37.2 53.0 35.5 30.1 37.9 31.5 41.2
SO2(ppb) 3.4 3.3 3.0 2.1 4.8 4.3 3.8 4.7 1.4 2.3 0.9 1.8 4.2 4.9
NO2(ppb)
O3(ppb) 21.9 31.9 7.5 13.7 13.8 15.3 13.1 10.8 17.8 18.0 12.2 3.9 18.0 11.0
15.5 12.4 18.8 16.4 28.7 25.5 16.8 27.0 18.7 18.4 20.0 17.3 24.6 27.6
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา สระบุรี ชลบุรี ระยอง นครราชสีมา ขอนแก่น เชียงใหม่ ลาปาง นครสวรรค์ ราชบุรี
PM10(ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)
PM10(ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)
สมุทรสาคร ภูเก็ต สงขลา
SO2(ppb)
25.9 25.4 39.5
NO2(ppb)
6.8 1.5 0.8
O3(ppb) 21.0 7.8 7.8
19.9 24.7 16.9
ทีม่ า: สานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง, กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. 2554) ข้อมูลสาหรับรูปที่ 3.4 ปริ มาณฝุ่ นเฉลี่ยในช่วง 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2553 - 2555 2553
87
กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา สระบุรี ชลบุรี ระยอง นครราชสีมา ขอนแก่น เชียงใหม่ ลาปาง นครสวรรค์ ราชบุรี สมุทรสาคร ภูเก็ต สงขลา
ที่มา: คานวณจากข้ อมูลของสานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง, กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. 2553 – 2555)
2554 38.0 50.3 38.7 51.4 57.0 59.9 43.4 34.5 35.4 40.8 67.1 58.8 51.0 45.7 33.2 26.8 32.9
2555 32.0 63.2 33.0 61.4 47.5 47.8 47.6 44.6 60.8 38.9 39.6 42.0 21.8 47.3 28.2 24.9 39.0
37.6 47.8 31.7 . . 19.4 36.5 30.9 61.1 40.6 48.2 66.8 44.8 37.1 25.0 23.2 32.2
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
จังหวัด
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 3.5 ปริ มาณขยะต่อหัวในเขตเทศบาล รายภาค ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 – 2553 2549 กรุงเทพมหานคร ภาคกลางและภาคตะวันออก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้
2550 1.48 1.12 0.95 0.89 1.05
2551 1.49 1.13 0.97 0.92 1.06
2552 1.54 0.97 1.13 1.21 1.07
2553 1.55 1.00 1.04 1.10 1.04
1.54 0.99 1.06 1.11 1.04
ทีม่ า: กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. 2549 – 2553) ข้อมูลสาหรับรูปที่ 3.6 ปริ มาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ต่อหัวประชากรรายปี พ.ศ. 2549 – 2553 2549
88
895 462 13.6 7.0
2551 902 520 13.7 7.9
2552 923 663 13.9 10.0
2553 905 549 13.5 8.2
953 559 14.2 8.3
ทีม่ า กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พ.ศ. 2549 – 2553) ข้อมูลสาหรับรูปที่ 3.7 สารประกอบอิ นทรียร์ ะเหย (Volatile Organic Compound) – เบนซิ น ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2550 – 2554 สถานที่ รพ.สต.มาบตาพุต รพ.จุฬา รพ. ยุพราช เชียงใหม่ ขอนแก่น สงขลา
ทีม่ า: กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. 2550 – 2554) หมายเหตุ: ค่ามาตรฐาน 1.7
2550
2551 3.3 -
2552 2.9 6.1 4.2 -
2553 3.1 6.2 4.2 4.3 2.3
2554 3.8 4.5 4.3 3.5 1.8
2.8 6.1 3.2 3.3 2.3
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
NOx (พันตัน) SO2 (พันตัน) NOx ต่อหัว (กิโลกรัม) SO2 ต่อหัว (กิโลกรัม)
2550
เสื่อมโทรมมาก (0-25) เสื่อมโทรม (>25-50) พอใช้ (>50-80) ดี (>80-90)
2550 2 44 35 19
2551 0 24 54 22
2552 0 33 36 31
2553 0 39 39 22
2554 0 23 45 32
2553
2554
ทีม่ า: กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. 2550 – 2554)
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 3. 9 สัดส่วนของแหล่งน้ าชายฝั ่งที่มีคณ ุ ภาพในกลุ่มต่างๆ (หน่ วย: ร้อยละ) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2550 – 2554 2550
89
เสื่อมโทรมมาก (0-25) เสื่อมโทรม (>25-50) พอใช้ (>50-80) ดี (>80-90) ดีมาก (>90-100)
ทีม่ า กรมควบคุมสิง่ แวดล้อม (พ.ศ. 2550 – 2554)
2551 1 2 36 49 12
2552 1 6 29 48 16
5 5 34 51 5
5 6 34 47 8
3 9 50 36 2
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 3.8 คุณภาพน้าผิวดิ น (หน่ วย: ร้อยละของแหล่งน้า) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2550 – 2554
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 3.10 การนาเข้าสารกาจัดศัตรูพืชและปุ๋ยเคมี (ตัน) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2550 – 2554 ประเภทสารเคมี สารกาจัดศัตรูพชื รวม สารกาจัดแมลง สารป้องกันและกาจัดโรคพืช สารกาจัดวัชพืช สารกาจัดศัตรูพชื อื่นๆ ๋ปุยเคมี
2550
2551 109,908 25,332 11,255 68,825 4,497 3,797,749
116,323 21,590 10,626 79,239 4,869 4,350,516
2552 118,152 19,709 8,485 85,821 4,137 3,833,072
2553
2554
117,814 23,417 9,670 80,278 4,449 5,172,708
164,539 34,672 12,179 112,177 5,511 6,149,228
ทีม่ า : [สารกาจัดศัตรูพชื ] ฝ่ายวัตถุมพี ษิ สานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร [ปุ๋ยเคมี] สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (พ.ศ. 2550 – 2554) หมายเหตุ : สารกาจัดศัตรูพชื อื่น ได้แก่ สารชีวนิ ทรีย์กาจัดแมลง สารกาจัดไร สารกาจัดหนู สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช สาร กาจัดหอยและหอยทาก สารรมควันพิษ สารกาจัด ไส้เดือนฝอย และอื่นๆ 90 ตัวแปร ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อหัว (ตัน CO2 ต่อหัว) ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการผลิตไฟฟ้า (ล้านตัน CO2) ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากภาคอุตสาหกรรม (ล้านตัน CO2) ความเข้มข้นของการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (กิโลกรัม CO2 ต่อดอลลาร์สหรัฐ)
ทีม่ า: สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน, กระทรวงพลังงาน (พ.ศ. 2550 – 2554)
2550
2551 3.04 84.08 43.77 1.17
2552 3.06 85.23 48.00 1.16
2553 3.11 84.04 49.88 1.21
2554 3.27 90.63 53.51 1.19
3.31 87.83 54.12 1.20
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 3.11 การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2550 – 2554
2532
2533
2534
2535
2536
2537
2538
2539
2540
2541
2542
อุทกภัย
11,740
6,652
4,562
5,241
2,182
5,059
6,124
7,161
3,824
1,706
1,382
ภัยแล้ง
122
92
262
176
199
99
178
289
249
69
1,521
วาตภัย
14
172
76
193
204
120
100
336
519
371
192
2543
2544
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
อุทกภัย
10,033
3,666
13,385
2,050
851
5,982
9,627
1,688
7,602
5,253
16,339
ภัยแล้ง
642
72
509
174
191
7,566
495
198
104
108
1,415
วาตภัย
271
501
213
457
398
149
92
235
228
207
199
ทีม่ า: กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (พ.ศ. 2532 – 2553) 91
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 3.13: งบประมาณด้านสิ่ งแวดล้อม ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2550 – 2554 งบประมาณด้านสิง่ แวดล้อมต่องบประมาณรวม งบประมาณด้านสิง่ แวดล้อมต่อ GDP
2550 3.01 0.55
2551 3.06 0.56
2552 1.73 0.35
ทีม่ า: สานักงบประมาณ และสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สานักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2550 – 2554)
2553 1.79 0.30
2554 1.79 0.35
รายงานภาวะเศรษฐกิ จและสังคมไทยปี พ.ศ. 2554
ข้อมูลสาหรับรูปที่ 3.12 มูลค่าความเสียหายจากสาธารณภัย ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2532 – 2553
สานักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิ จและสังคมแห่งชาติ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2552 120 หมู่ 3 อาคารรัฐประศาสนภักดี ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10215 โทร. 0-2141-3333 โทรสาร 0-2143-9707-8 www.nesac.go.th