การแยกส่วนประกอบ และการย่อยปัญหา
จุดประสงค์ของบทเรียน 1. วิเคราะห์องค์ประกอบของสิ่งของ ต่าง ๆ ในการพัฒนาผลงานใหม่ 2. ใช้ทักษะการคิดแบบแยก ส่วนประกอบและการย่อยปัญหา แก้ปัญหา ในชีวิตประจาวัน
สถานการณ์ชวนคิด สถานการณ์ที่ 1 ชายผู้ร่ารวยคนหนึ่งตัดสินใจมาใช้ชีวิตลาพังในกระท่อมกลางป่า โดยใช้ บริการจัดส่งอาหาร หนังสือพิมพ์ และจดหมายต่าง ๆ เช้าวันพฤหัสบดี บุรุษไปรษณีย์มาส่งจดหมาย และพบว่าประตูกระท่อม เปิดอยู่ เมื่อชะโงกหน้าเข้าไปดูจึงเห็นว่าชายคนนี้กลายเป็นศพนอนจนกองเลือด เสียแล้ว เมื่อตารวจมาถึงที่เกิดเหตุ ก็เริ่มสารวจไปรอบ ๆ กระท่อม และพบปิ่นโต อาหารที่ ยั งอุ่ น อยู่ บนระเบี ย งหน้ า กระท่ อ ม หนั ง สื อ พิ ม พ์ฉ บั บวั นจั น ทร์ และ จดหมายที่ยังไม่ได้เปิด หากนักเรียนต้องสืบคดีนี้ นักเรียนจะช่วยตารวจหาตัวคนร้ายได้หรือไม่ ว่าคนร้ายคือใคร
สถานการณ์ชวนคิด สถานการณ์ที่ 2 ชายวัยกลางคนขับรถมากับครอบครัวรวม 4 คน พบกับกลุ่มวัยรุ่น 10 คน ที่โดยสารมากับรถตู้ และมีปากเสียงเรื่องที่จอดรถ กลุ่มวัยรุ่นทั้งหมดรุมล้อมรอบ รถ มีการตะโกนด่าทอ และทุบรถ ชายวัยกลางคนจึงหยิบปืนในกระเป๋าที่อยู่ใต้ เบาะออกมายิง 3 นัด กระสุนโดนกลุ่มวัยรุ่นจานวน 1 นัด ได้รับบาดเจ็บและ เสียชีวิตในเวลาต่อมา ถามว่าชายวัยกลางคนผิดหรือไม่ นักเรียนคิดว่าศาลควร สอบสวน หาข้อเท็จจริงด้วยกระบวนการใด เพื่อให้การตัดสินเป็นธรรม (สืบสวนเพิ่มเติมโดยการแยกประเด็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น สภาพแวดล้อม พยาน หลักฐานต่าง ๆ)
การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา (Decomposition) เป็นการพิจารณาเพื่อแบ่งปัญหาหรืองานออกเป็นส่วนย่อย ทาให้ สามารถจัดการกับปัญหาหรืองานได้ง่ายขึ้น
กิจกรรมที่ 3 แยกส่วนและสร้างใหม่
ให้นักเรียนลองจินตนาการนาส่วนประกอบย่อยที่แยกส่วนจากวัตถุต่างๆ มาประกอบกันเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่
ผู้เรียน ทาใบงาน เรื่อง “แยกส่วนและสร้างใหม่”
การแยกส่ ว นประกอบนั้ น ไม่ ไ ด้ ท าเฉพาะกั บ วั ต ถุ ห รื อ สิ่ ง ของเท่ า นั้ น แต่ ยั ง สามารถท าได้ กั บ กระบวนการและขั้ น ตอนวิ ธี ด้ ว ย ซึ่ ง มนุ ษ ย์ ใ ช้ ทั ก ษะนี้ ตลอดเวลาจนแทบไม่ได้สังเกต เช่น ในการเดินทางจาก บ้ า นไปโรงเรี ย น อาจแบ่ ง ขั้ น ตอนการเดิ น ทางด้ ว ยรถ ประจาทางเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้ 1. เดินทางออกจากบ้านไปยังรถประจาทาง 2. เดิ น ทางด้ ว ยรถประจ าทางจนถึ ง บริ เ วณ โรงเรียน 3. เดินทางจากรถประจาทางไปยังโรงเรียน ในแต่ละขั้นตอนย่อยอาจจะแบ่งเป็นขั้นตอนที่ ละเอี ย ดลงไปได้ อี ก เช่ น ขั้ น ตอนสองขั้ น ตอนแรก สามารถแบ่งย่อยได้ดังนี้
1. เดินทางออกจากบ้านไปยังรถประจาทาง 1.1 เดินจากห้องพักไปยังประตูบ้าน 1.2 เปิดประตูบ้าน 1.3 เดินออกนอกรั้วบ้าน 1.4 เดินไปยังป้ายรถประจาทาง 1.5 รอรถประจาทาง 1.6 เมื่อรถประจาทางสายที่ต้องการมาถึง ให้โบกและขึ้นรถประจาทาง 2. เดินทางด้วยรถประจาทางจนถึงบริเวณโรงเรียน 2.1 หาที่นั่งหรือหาตาแหน่งยืน 2.2 ชาระค่าโดยสาร 2.3 อยู่ในรถประจาทางจนกระทั่งถึงบริเวณโรงเรียนแล้วลงจากรถ
ในบางขั้นตอน สามารถแบ่งย่อยให้เห็นรายละเอียดได้อีก เช่น ขั้นตอนที่ 2.1 หาที่นั่งหรือหาตาแหน่งยืน 2.1.1 มองหาตาแหน่งที่ว่าง 2.1.2 ถ้ามีที่นั่งว่างให้เดินไปนั่ง 2.1.3 ถ้าไม่มีให้หาตาแหน่งยืนที่ปลอดภัย และอย่าลืมหาที่ จับให้มั่นคง ในการแบ่งขั้นตอนเป็นขั้นตอนย่อย ๆ และการพิจารณาลงใน รายละเอียดนั้นสามารถเลือกระดับของความละเอียดได้ตามความเหมาะสม
ผู้เรียน ทาใบงาน เรื่อง “ชีวิตประจาวันกับ การแยกส่วนประกอบ” การทาข้อสอบแบบเลือกตอบ
การเตรียมเสื้อกีฬาสี
การวางแผนไปทัศนศึกษา
การขายสินค้าออนไลน์
การรับประทานอาหารกลางวันที่โรงเรียน
สัปดาห์ต่อไป การหารูปแบบและการคิดเชิงนามธรรม (abstraction)